The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2549 (ส่วนที่ 2) (ปี 2549)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

รวมระเบียบคำสัง่


กรมทีด่ นิ


ประจำปี ๒๕๔๙


กองแผนงาน กรมท่ดี นิ

บญั ชีรายชอ่ื หนงั สือเวยี น ระเบยี บ และคำส่งั ต่างๆ


สำนกั จัดการที่ดนิ ของรัฐ


ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๙


๑. เลขทห่ี นังสอื เวยี น

ลำดบั ที ่ ระเบียบ คำสง่ั ช่อื เรือ่ ง หน้า

๒. ลงวัน เดอื น ปี


๑. ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๑๗๗๘ แนวทางปฏบิ ัติ ในการออกหนังสอื
ลว. ๒๓ ม.ค. ๔๙ สำคญั สำหรบั ทห่ี ลวงในท่รี าชพัสด ุ



๒. ดว่ นที่สุด

ที่ มท ๐๕๑๑.๓/ว ๒๗๓ การรายงานผลการดำเนนิ โครงการ

ลว. ๒๖ ม.ค. ๔๙ ขดุ ลอกแหล่งน้ำฯเพื่อปอ้ งกัน และ
แก้ไขปัญหาอุทกภัยหรอื ภยั แลง้

๓. ดว่ นที่สุด

ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๓๐๐๐ แต่งตง้ั ประธานทปี่ รกึ ษานายกรัฐมนตร

ลว. ๓๑ ม.ค. ๔๙ และผ้อู ำนวยการศนู ย์เฉพาะกิจตาม

นโยบายเรง่ ด่วนของรฐั บาล

๔. ด่วนทส่ี ดุ

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๕๔๔๗ คำสั่งแตง่ ตง้ั ผู้ทรงคุณวฒุ เิ ป็นกรรมการ

ลว. ๒๑ ก.พ. ๔๙ ที่ปรกึ ษาศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพ่อื เอา

ชนะความยากจนแหง่ ชาติ และมอบ

อำนาจเพม่ิ เตมิ

๕. ดว่ นมาก

ท่ี มท ๐๘๙๑.๔/ว๖๕๘ แจง้ แนวทางการแกไ้ ขปัญหาความ

ลว. ๒๔ ก.พ. ๔๙ ยากจนของประชาชนโดยองคก์ ร

ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

๖. ดว่ นที่สุด

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๖๘๙๙ การมอบนโยบายและแนวทางการ

ลว. ๖ มี.ค. ๔๙ แกไ้ ขปญั หาความยากจนของ

นายกรฐั มนตรี และการจัดตัง้

ศตจ. ปชช.


461

บญั ชรี ายชือ่ หนงั สือเวยี น ระเบียบ และคำสงั่ ต่างๆ


สำนกั จัดการท่ีดนิ ของรฐั


ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๙


๑. เลขท่ีหนังสือเวียน

ลำดบั ที ่ ระเบียบ คำสงั่ ช่อื เรอื่ ง หนา้

๒. ลงวนั เดอื น ป


๗. ด่วนทสี่ ุด

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๗๕๑๓ การจัดทำสาธารณปู โภคในทด่ี ิน

ลว. ๘ ม.ี ค. ๔๙ สาธารณประโยชน์ตามแผนปฏิบตั ิการ
บรหิ ารจัดการท่ีดนิ ของรัฐกรณีมีการ

บกุ รกุ ทีด่ นิ สาธารณประโยชน์ เพ่ือแก้ไข

ปัญหาความยากจน

๘. ด่วนทส่ี ุด

ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๙๖๐๙ การส่งคนื ทร่ี าชพสั ดุเพอ่ื รองรับการ

ลว. ๒๗ มี.ค. ๔๙ ใชป้ ระโยชน์ตามนโยบายของรัฐบาล

๙. ที่ มท ๐๕๑๑.๓/ว ๐๙๗๗๑ แนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกบั การขออนุญาต

ลว. ๒๘ มี.ค. ๔๙ ดูดทราย

๑๐. ดว่ นมาก

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๐๕๙๒ การใหบ้ รกิ ารรับเรอ่ื งราวร้องทุกข์

ลว ๗ เม.ย. ๔๙ ความยากจนผ่าน Call Center ของ ศตจ.

๑๑. ด่วนที่สดุ

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๔๒๔ การเตรยี มความพร้อมในการจดั ทีด่ ิน

ลว. ๑ พ.ค. ๔๙ และจดั ทำสาธารณปู โภคตามโครงการ

บริหารจดั การทีด่ นิ ของรฐั กรณมี กี าร

บุกรกุ ทีด่ ินสาธารณประโยชน์

เพือ่ แก้ไขปัญหาความยากจน

๑๒. ดว่ นทีส่ ดุ

ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๕๖๕ การดำเนนิ การตามยุทธศาสตรแ์ กไ้ ข

ลว. ๑๕ พ.ค. ๔๙ ปัญหาความยากจนของกระทรวง

มหาดไทย


462

บญั ชรี ายชือ่ หนงั สือเวยี น ระเบียบ และคำสัง่ ต่างๆ


สำนกั จดั การทด่ี นิ ของรัฐ


ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๙


๑. เลขท่ีหนงั สอื เวียน

ลำดบั ท ่ี ระเบยี บ คำส่ัง ชือ่ เร่อื ง หน้า

๒. ลงวนั เดอื น ป


๑๓. ด่วนมาก

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๔๒๘๘ การจดั ตั้งศนู ยป์ ฏบิ ัติการตอ่ สูเ้ พอื่ เอาชนะ

ลว ๒๔ พ.ค. ๔๙ ความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด

๑๔. ดว่ นมาก

ท่ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๑๘๓๓ มาตรการเกย่ี วกับการอนุมัติ ให้ส่วน

ลว. ๓๑ พ.ค. ๔๙ ราชการใช้ท่ีดนิ สาธารณประโยชน์

๑๕. ด่วนท่สี ดุ

ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๕๙๕๒ แบบการบนั ทกึ ถอ้ ยคำเพอ่ื ประกอบการ

ลว. ๘ ม.ิ ย. ๔๙ สอบสวนตามโครงการบริการจัดการ

การใช้ประโยชน์ ในทด่ี นิ

สาธารณประโยชนท์ มี่ ีการบุกรุก

เพือ่ แก้ไขปญั หาสังคมและความยากจน

เชงิ บูรณาการและการจดั ทำประชาคม

เพิม่ เติม

๑๖. ดว่ นทส่ี ุด

ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๒๖๒๖ การมอบหมายผ้รู ับผิดชอบในการกำกับ

ลว. ๔ ส.ค. ๔๙ ดูแลการแจกเอกสารสทิ ธทิ ่ีดินทำกนิ เป็น

รายจังหวัด

๑๗. ดว่ นมาก

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๒๒๐๔๒ การแกไ้ ขปัญหาการบุกรุกทดี่ ินของรฐั

ลว. ๗ ส.ค. ๔๙

๑๘. ด่วนทส่ี ดุ

ที่ มท ๐๕๑๑.๓/ว ๒๘๗๗ การพิจารณานำหนังสืออนุญาตให้ใช้

ลว. ๒๒ ส.ค. ๔๙ ประโยชน์ในที่ดนิ ของรฐั ฯ แปลงเปน็ ทุน


463

บญั ชีรายช่ือหนังสือเวียน ระเบียบ และคำส่งั ตา่ งๆ


สำนกั จัดการท่ดี นิ ของรัฐ


ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๙


๑. เลขทหี่ นงั สือเวียน

ลำดับท่ ี ระเบยี บ คำส่งั ช่ือเร่ือง หนา้

๒. ลงวัน เดือน ป


๑๙. ดว่ นที่สดุ

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๓๖๗๙ การจดั ทีด่ ินตามแผนปฏิบตั กิ ารบริหาร

ลว. ๑๙ ต.ค. ๔๙ จัดการทด่ี ินของรัฐกรณีมีการบุกรกุ ทด่ี นิ
สาธารณประโยชน์ เพอ่ื แก้ไขปัญหา

ความยากจนปีงบประมาณ ๒๕๕๐

๒๐. ท่ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๓๓๗๐๒ แนวทางปฏบิ ตั ิราชการ

ลว. ๒๓ พ.ย. ๔๙

๒๑. ดว่ นที่สุด

ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๔๒๔๐ รายงานผลการแจกหนังสืออนญุ าตให้ใช

ลว. ๔ ธ.ค. ๔๙ ประโยชน์ท่ดี นิ ของรัฐ เปน็ การชัว่ คราว

ตามนโยบายแก้ไขปญั หาความยากจน

๒๒. ด่วนท่สี ุด
การจัดทำสาธารณปู โภคขัน้ พน้ื ฐานใน

ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๔๓๖๘ แปลงท่ดี นิ สาธารณประโยชน์ทจ่ี ัดให้

ลว. ๑๔ ธ.ค. ๔๙ ประชาชนตามนโยบายแกไ้ ขปัญหา

ความยากจน

การเปลยี่ นสภาพทด่ี นิ อันเปน็

๒๓. ที ่ มท ๐๕๑๑.๓/ว ๔๕๖๒ สาธารณสมบัติของแผน่ ดินสำหรับ

ลว. ๒๙ ธ.ค. ๔๙ พลเมอื งใช้รว่ มกัน จากการใชเ้ พ่อื

สาธารณประโยชน์อยา่ งหนึ่งเป็นอกี

อย่างหนง่ึ



464

(สำเนา)

ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๑๗๗๘ กรมท่ีดนิ

ถนนพระพิพธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๒๓ มกราคม ๒๕๔๙

เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ัติในการออกหนังสอื สำคัญสำหรบั ท่หี ลวงในที่ราชพัสดุ


รยี น ผ้วู า่ ราชการจงั หวัดทุกจังหวดั

ด้วยกรมที่ดินได้รับเร่ืองหารือจากจังหวัดหนองบัวลำภูเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติการ
แก้ไขปัญหาปฏิบัติการแก้ไขปัญหางานค้างในการดำเนินการออกหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวง
ในที่ราชพัดุ เน่ืองจากผลการรังวัดเพ่ือออกหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงได้เนื้อที่น้อยกว่าหลัก
ฐานทะเบียนที่ราชพัสด ุ โดยธนารักษ์พ้ืนท ี่ (ธนารักษ์จังหวัดเดิม) ได้แจ้งให้ทราบภายใน
กำหนด ๖๐ วัน วา่ ไม่สามารถกำหนดระยะเวลาในการแกไ้ ขขอ้ ขดั ข้องได้ และกรณีหลกั ฐาน
ทะเบียนท่ีราชพัสดุท่ีใช้เป็นหลักฐานในการขอออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง เป็นหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายท่ีดิน แต่ธนารักษ์พ้ืนท่ีไม่ได้นำเจ้าของท่ีดินมาจด
ทะเบียนโอนให้ทางราชการทำให้เกิดปัญหางานค้างการออกหนังสือสัญสำหรับท่ีหลวงในท่ีราช
พัสดุค่อนข้างถาวร เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เห็นควรจำหน่ายเรื่องการขอรังวัดออก
หนงั สอื สำคัญสำหรับทหี่ ลวงในทีร่ าชพสั ดุทีม่ ปี ญั หาขัอขัดขอ้ งออกจากบัญชีงานคา้ ง และให้รอ
เร่ืองไว้โดยไม่ถือเป็นงานค้าง แต่เน่ืองจากแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับเร่ีองดังกล่าว กรมที่ดินยัง
ไมเ่ คยวางแนวทางปฏิบตั ิไว้ จงึ หารอื มาเพ่ือเปน็ แนวทางปฏบิ ตั ติ อ่ ไป

กรมทดี่ ินพิจารณแลว้ มคี วามเห็นดงั น
้ี
๑. กรณีท่ีผลการรังวัดเพื่อออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวงได้เนื้อท่ีน้อยกว่าหลัก
ฐานในทะเบียนท่ีราชพัสุด โดยธนารักษ์พื้นที่ได้แจ้งให้ทราบภายในกำหนด ๖๐ วัน ว่าไม่
สามารถกำหนดระยะเวลาในการแก้ไขข้อขัดข้องได้น้ัน กรมท่ีดินได้หารือไปยังกรมธนารักษ์
เพ่ือทบทวนแนวทางปฏิบัติได้รับแจ้งว่าขณะน้ีได้มีระเบียบปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการ
คลัง ว่าด้วยการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา และการใช้ท่ีราชพัสด ุ พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนด
แนวทางปฏิบัติในกรณีดงั กล่าวไวแ้ ล้ว ดงั นี้

(๑) กรณีที่ได้ขอรังวัดออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงไป
กอ่ นระเบยี บฯ พ.ศ. ๒๕๔๖ ใชบ้ งั คบั จะต้องถือปฏบิ ัตติ ามนยั ข้อ ๑๐ ซ่งึ กำหนดใหก้ รมธนา
รักษ์หรือสำนักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีรับโฉนดท่ีดินหรือหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวงน้ันมาก่อน
แล้วดำเนินการตามข้อ ๘ โดยอนุโลมกล่าวคือหากโฉนดท่ีดินหรือหนังสือสำคัญสำหรับที่
หลวงน้ันรังวัดได้เนื้อท่ีน้อยกว่ารายการในทะเบียนที่ราชพัสดุหรือหลักฐานอ่ืน ให้นำเสนอ
อธิบดีกรมธนารักษ์พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยปัจจุบันกรมธนารักษ์ได้มอบอำนาจให้ผู้ว่า
ราชการจังหวัดตามระบบ บริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบใน
กรณีดังกล่าวได ้ ตามคำสั่งกรมธนารักษ์ท่ี ๖๒๖/๒๕๔๖ ส่ัง ณ วันท ่ี ๑๒ ธันวาคม
๒๕๔๖ ดังนั้น เพ่ือให้การปฏิบัติเป็นไปในทางเดียวกัน กรมธนารักษ์ได้สั่งการให้สำนักงาน

465

ธนารักษ์พื้นที่ทุกพื้นที่ขอรับโฉนดที่ดินหรือหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงท่ีได้ยื่นคำขอไว้ก่อน
ระเบยี บฯ ดงั กล่าว บังคบั มาก่อน แล้วจงึ ดำเนินการตามนัยข้อ ๘ โดยนำเสนอผูว้ ่าราชการ
จังหวดั พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบต่อไป

(๒) สำหรับการย่ืนคำขอรังวัดออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือสำคัญสำหรับท่ี
หลวงภายหลังระเบียบฯ ดงั กลา่ ว ใชบ้ งั คบั จะตอ้ งดำเนินการตามนยั ขอ้ ๙(๒) คอื สำรวจ
รังวัดที่ราชพัสดุเพื่อทราบอาณาเขตที่ดินก่อนยื่นคำขอ หากผลการสำรวจได้เนื้อที่น้อยกว่า
หรอื มากกวา่ เนือ้ ทีต่ ามรายการในทะเบยี นทรี่ าชพัสดหุ รอื หลักฐานอนื่ จะตอ้ งขออนุมัตใิ ช้เนื้อที่
นั้นเพื่อดำเนินการขอรังวัดออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงและแก้ไขทะเบียนท่ี
ราชพัสดุตามนัยขอ้ ๘ แหง่ ระเบยี บดงั กล่าว

๒. กรณีหลักฐานทะเบียนท่ีราชพัสดุท่ีใช้เป็นหลักฐานในการขอออกหนังสือสำคัญ
สำหรับท่ีหลวง เป็นหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินตามประมวลกฎหมายท่ีดิน แต่ธนารักษ์พ้ืนท่ีไม่
ได้นำเจ้าของท่ีดินมาจดทะเบียนโอนให้ทางราชการน ี้ ให้เจ้าหน้าท่ีผู้มีส่วนเก่ียวข้องสอบสวน
ข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานให้ได้รายละเอียดว่า ทางราชการได้ท่ีดินมาอย่างไร ตั้งแต่เมื่อ
ใด มหี ลกั ฐานการได้มาอย่างไร หรือไม่ ถา้ การสอบสวนไดค้ วามว่าท่ดี นิ ราชพัสดุท่จี ะขอออก
หนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดย
เฉพาะตามกฎหมาย จึงจะอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวงให้ได้ ทั้งน ้ี
การพจิ ารณาใหถ้ อื ปฏิบัติตามนยั หนังสือกรมท่ดี นิ ท่ี มท ๐๗๑๑/ว ๑๙๙๑๔ ลงวนั ท ี่ ๒๙
สิงหาคม ๒๕๒๙

อย่างไรกต็ ามหากสอบสวนแลว้ ขอ้ เท็จจริงปรากฏว่า เจา้ ของท่ดี ินเดมิ ได้ยกที่ดนิ ให้
เป็นของรัฐแล้ว แม้ยังไม่ได้จดทะเบียนโอนให้เป็นที่ดินของรัฐต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี การ
พิจารณาว่าท่ีดินดังกล่าวเป็นที่ราชพัสดุหรือไม่ เป็นหน้าที่ของกรมธนารักษ ์ จึงต้องให้กรม
ธนารักษ์พิจารณาให้เป็นท่ียุติเสียก่อน หากเป็นท่ียุติว่าเป็นที่ราชพัสดุก็ให้จัดนำขึ้นทะเบียนท่ี
ราชพัสดุ ตามพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ แล้วนำไปเป็นหลักฐานในการออก
หนงั สอื สำคญั สำหรบั ที่หลวงตอ่ ไป และให้รอเรอ่ื งไว้โดยไมถ่ ือเปน็ งานค้าง

จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดทราบ และแจง้ ให้เจา้ หน้าท่ถี อื ปฏิบตั ติ อ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงชือ่ ) สมศักดิ์ สลิลสิร

(นายสมศักด ์ิ สลลิ ศิร)ิ

รองอธบิ ดี ปฏิบตั ิราชการแทน

อธิบดกี รมทดี ิน

สำนักจัดการท่ีดินของรัฐ

โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๑๘๔๐ โทรสาร ๐ ๒๒๒๒ ๒๘๕๑

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ต่อ ๓๗๐


466

ด่วนที่สุด
(สำเ
นา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๒๗๓ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอษั ฎางค์ กทม. ๑๐๒๐๐

๒๖ มกราคม ๒๕๔๙

เรอ่ื ง การรายงานผลการดำเนินโครงการขุดลอกแหล่งน้ำฯ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา

อุทกภยั หรือภยั แลง้

เรยี น ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ทุกจังหวดั

อ้างถึง ๑. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการเกี่ยวกับการขุดลอกแหล่งน้ำ

สาธารณประโยชน์ทต่ี ื้นเขิน พ.ศ. ๒๕๔๗

๒. หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นที่สดุ ท ่ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๔๙๕

ลงวนั ที ่ ๑๑ กุมภาพันธ ์ ๒๕๔๗

สง่ิ ทสี่ ่งมาดว้ ย ๑. แบบสรปุ ผลโครงการขดุ ลอกแหลง่ น้ำฯ ประจำจงั หวดั

๒. ตวั อยา่ งการรายงานผลโครงการขุดลอกแหล่งนำ้ ฯ พร้อมคำอธบิ าย



ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายขุดลอกแหล่งน้ำสาธารณประโยชน ์ เพื่อ
เป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยหรือภัยแล้ง โดยให้จังหวัดจัดทำโครงการขุดลอก
แหล่งน้ำฯ และการดำเนินการให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยและหนังสือส่ังการ
ตามท่อี ้างถึง ๑ และ ๒ นน้ั

กระทรวงมหาดไทย ขอเรียนว่า การดำเนินโครงการขุดลอกแหล่งน้ำฯ เพื่อ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยหรือภัยแล้งตามนัยดังกล่าวข้างต้น น้ัน เป็นนโยบายของ
รฐั บาลและกระทรวงมหาดไทย ในการบำบัดทุกข์ บำรงุ สขุ ของราษฎร ซ่งึ ถอื เปน็ ภารกิจหลกั
อันสำคัญย่ิงของกระทรวงมหาดไทย จึงมีความจำเป็นที่จะต้องรับทราบผลการดำเนินการของ
แต่ละจังหวัดอย่างต่อเน่ืองและสม่ำเสมอ ดังน้ัน จึงขอให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินการให้
ทราบเปน็ ประจำ โดยให้รายงานภายในวันท ่ี ๕ ของเดอื นถดั ไป ตามแบบที่แนบมาพรอ้ มน
ี้

467

จงึ เรียนมาเพอื่ ทราบและขอให้สง่ั การเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบใหถ้ ือปฏิบัต ิ พรอ้ ม
ท้ังรายงานผลใหก้ ระทรวงมหาดไทยทราบ ภายในกำหนดโดยเครง่ ครดั ตอ่ ไป



ขอแสดงความนับถือ



(ลงชอ่ื ) สรุ อรรถ ทองนริ มล

(นายสุรอรรถ ทองนริ มล)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย

หวั หนา้ กลมุ่ ภารกจิ ดา้ นกิจการความมนั่ คงภายใน











กรมทด่ี นิ

สำนกั จัดการท่ดี ินของรฐั

โทร. ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๖๙ มท ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ต่อ ๓๖๕

โทรสาร. ๐ ๒๒๒๒ ๑๘๔๐




































468

สรปุ โครงการขดุ ลอกแหล่งนำ้ เพอ่ื ป้องกันและแก้ไขปัญหาอทุ กภัยหรือภยั แล้ง

ประจำจังหวดั .................................................................


ลำดบั ที่
ชือ่ แหลง่ นำ้
๑. หนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ วัตถปุ ระสงค์
๑. วธิ กี ารดำเนินการ
ปริมาตรวัสดุท่ีขุดลอก ประมาณการคา่ ใชจ้ ่ายใน มลู ค่า กรวด หิน ดิน ทราย
ค่าตอบแทนทผี่ ขู้ ุดลอก จำนวนเงิน
ผลการ

และบรเิ วณท่ีต้งั
ชอบโครงการ
ในการขดุ ลอก
๒. การจัดการวัสดทุ ี่ขุด (ลกู บาศกเ์ มตร)
การขดุ ลอก (รวมทง้ั ค่าขน ท่ขี ุดลอกได้ท่ใี ชเ้ ปน็ ค่าจา้ ง ตอ้ งจา่ ยคนื ใหท้ าง งบประมาณ
ดำเนนิ การ

๒. ระยะเวลา ในการ ลอกได้ (กรวด หนิ ยา้ ย) โดยคำนวณจากราคา เอกชน ในการขุดลอกตาม ราชการกรณกี รวด หนิ ท่สี ามารถ
เสรจ็ แลว้ หรือ

ดำเนินการ
ทราย)
กลางที่ใชใ้ นการว่าจา้ ง
นยั ระเบียบฯ ข้อ ๖ วรรค ดิน ทราย มีราคาเกิน ประหยดั ได
้ ระหวา่ งดำเนนิ การ

เอกชนมาดำเนินการ
สอง หรอื เป็นค่าตอบแทน กว่าคา่ จา้ ง ตามนัย
(บาท)
ตามข้อ ๕ ของระเบยี บ ระเบียบฯ ขอ้ ๖
(บาท)


(บาท)
วรรคสอง

(บาท)


469 หมายเหต


470 สรุปโครงการขดุ ลอกแหลง่ น้ำเพอ่ื ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาอุทกภยั หรือภัยแลง้

ประจำจงั หวดั .................................................................


ลำดบั ท
่ี ชอื่ แหลง่ นำ้
๑. หนว่ ยงานท่รี บั ผิด วัตถปุ ระสงค์
๑. วิธกี ารดำเนนิ การ
ปริมาตรวสั ดุทีข่ ุดลอก ประมาณการค่าใชจ้ ่ายใน มูลคา่ กรวด หนิ ดิน ทราย
คา่ ตอบแทนท่ผี ูข้ ดุ ลอก จำนวนเงนิ
ผลการ

และบริเวณทตี่ ัง้
ชอบโครงการ
ในการขดุ ลอก
๒. การจัดการวัสดทุ ีข่ ดุ (ลกู บาศกเ์ มตร)
การขดุ ลอก (รวมทงั้ คา่ ขน ที่ขุดลอกไดท้ ่ใี ชเ้ ปน็ ค่าจ้าง ตอ้ งจ่ายคนื ใหท้ าง งบประมาณ
ดำเนินการ

๒. ระยะเวลา ในการ ลอกได้ (กรวด หนิ ยา้ ย) โดยคำนวณจากราคา เอกชน ในการขุดลอกตาม ราชการกรณกี รวด หนิ ท่ีสามารถ
เสรจ็ แลว้ หรอื

ดำเนินการ
ทราย)
กลางท่ใี ชใ้ นการวา่ จ้าง
นยั ระเบยี บฯ ข้อ ๖ วรรค ดิน ทราย มีราคาเกิน ประหยัดได
้ ระหว่างดำเนนิ การ

เอกชนมาดำเนินการ
สอง หรอื เปน็ คา่ ตอบแทน กวา่ คา่ จา้ ง ตามนยั
(บาท)
ตามขอ้ ๕ ของระเบียบ ระเบยี บฯ ข้อ ๖
(บาท)


(บาท)
วรรคสอง

(บาท)


แม่นำ้ วงั ชว่ ง
๑.เทศบาลนคร
๑. ปอ้ งกนั
๑. จัดจา้ งตามระเบยี บฯ
๓๐๐,๐๐๐
๓๘.๐๔ บาท
ลูกบาศกเ์ มตรละ ๓ บาท
เป็นไปตามข้อบญั ญตั ิ
๙๐๐,๐๐๐ บาท
อย่รู ะหวา่ ง

ตัง้ แต่สะพาน ลำปาง
น้ำท่วมในฤด
ู พสั ด
ุ (ลูกบาศกเ์ มตร)
ต่อลูกบาศกเ์ มตร
เป็นเงนิ ๙๐๐,๐๐๐
จงั หวัด กรณอี อกตาม (เทา่ กับจำนวน
ดำเนินการ


สชุ าดาถงึ สะพาน ๒.ระยะเวลา
น้ำหลาก
๒. ใช้ดิน/ทราย
๑๑,๕๒๐,๐๐๐
(๓๐๐,๐๐๐ x ๓)
ความในมาตรา ๙ ทว
ิ มลู คา่ ของ

(๓๐๐,๐๐๐ x ๓๘.๐๔)
แหง่ ประมวลกฏหมาย
ดนิ /ทราย

บ้านศรี บ่อชยั ดำเนินการ ๑ ป
ี ๒. เพ่ือกักเก็บ
จา่ ยแทนคา่ จ้างตามนยั

ต.ชมพู อ.เมอื ง (๑ ม.ค.๔๙-๓๑ ธ.ค. นำ้ ไวใ้ ช้ใน
ขอ้ ๖ วรรคสอง
ที่ดิน
ทจี่ า่ ยเป็น

จ.ลำปาง
๔๙)
ฤดูแล้ง
ของระเบยี บกระทรวง
คา่ จา้ ง

๓. ขุดลอกวัชพชื มหาดไทย ว่าด้วยการ

ทกี่ ีดขวางการ เกย่ี วกบั การขดุ ลอก

ไหลของนำ้
แหลง่ นำ้
สาธารณประโยชน

ทีต่ ้นื ขืน พ.ศ. ๒๕๔๗


หมายเหตุ

คำอธิบายตารางสรุปผลโครงการขุดลอกแหล่งน้ำเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
อุทกภัยหรือภัยแลง้




๑. ลำดับที่ของโครงการ หมายถึง ลำดับท่ีของโครงการภายในจงั หวดั

๒. ชื่อแหล่งน้ำและบริเวณที่ตั้งของโครงการขุดลอก หมายถึง ชื่อและสถานที่ต้ัง
ของบรเิ วณทีท่ ำการขุดลอก

๓. ช่ือหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ และระยะเวลาในการดำเนินการขุดลอก
หมายถึง เจ้าของโครงการรับผิดชอบโครงการขุดลอก เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล.......
หรือ อำเภอ.......และระยะเวลาที่ให้ทำการขุดลอก โดยนับตั้งแต่วันท่ีเริ่มต้นโครงการ จนถึง
วนั ทสี่ น้ิ สุดโครงการ

๔. วตั ถปุ ระสงค์ในการขุดลอก หมายถึง เหตผุ ลที่จะตอ้ งทำการขดุ ลอก เช่น เพือ่
ขุดลอกสนั ดอนกลางน้ำหรอื ดนิ , ทรายทที่ ับถมในแมน่ ้ำ เพ่ือเปดิ ทางระบายนำ้ หรอื เพอื่ ขดุ ลอก
สระน้ำเพอ่ื กกั เก็บนำ้ ไวใ้ ชใ้ นฤดแู ลง้ เปน็ ตน้

๕. วิธีการดำเนินการ และการจัดการวัสดุที่ขุดลอกได้ (กรวด หิน ดิน ทราย)
หมายถึงการดำเนนิ การขดุ ลอกโดยวธิ ีใด เช่น การจดั จ้างโดยใช้ดินหรอื ทรายจ่ายแทนค่าจ้าง
(ตามนัยข้อ ๖ ของระเบียบ) การประกาศหาผู้ขุดลอกโดยใหผ้ ขู้ ุดนำดนิ หรือทรายไปเปน็ คา่
ตอบแทน โดยไม่มีการจัดจ้าง (ตามนัยข้อ ๕ ของระเบียบ) หรือการจัดจ้างโดยใช้เงินงบ
ประมาณ ให้ระบุเหตุผลด้วย และการจัดการกบั วสั ดทุ ีข่ ดุ ลอกได ้ เชน่ ให้ผู้ขดุ ลอกนำไปเป็น
ค่าตอบแทน หรือจ่ายแทนคา่ จา้ ง หรอื นำไปเป็นประโยชน์แก่ทางราชการ

๖. ปรมิ าตรวัสดุที่ขุดลอกได้ (ลูกบาศก์เมตร) หมายถึง จำนวนดนิ หรอื ทรายท่ีขุด
ลอกได้มีปรมิ าตรเทา่ ใดโดยคำนวนแบบขดุ ลอก

๗. ประมาณการค่าใช้จ่ายในการขุดลอก (รวมท้ังค่าขนย้าย) โดยคำนวณจากราคา
กลางทใี่ ชใ้ นการว่าจา้ งเอกชนมาดำเนินการ หมายถงึ หากการขุดลอกจะต้องวา่ จ้างเอกชนให้
รับเหมาขุดลอกจะต้องจา่ ยคา่ จ้างเป็นเงินเทา่ ใด

๘. มลู คา่ กรวด หนิ ดนิ ทราย ทข่ี ดุ ลอกได้ ท่ีใช้เปน็ คา่ จ้างเอกชนในการขุดลอกตาม
นยั ระเบยี บฯ ข้อ ๖ วรรคสอง หรอื เป็นค่าตอบแทนตามขอ้ ๕ ของระเบยี บ หมายถงึ หาก
เป็นกรณีที่ใช้ดินหรือทรายที่ขุดลอกได้ ให้เป็นค่าตอบแทนหรือจ่ายเป็นค่าจ้าง ผู้จัดจ้างจะตี
ราคาดินหรือทรายท่ีจ่ายว่าคิดเป็นเงินจำนวนเท่าใด โดยให้คำนวณตามอัตราในราคาไม่เกิน
บญั ชีทา้ ยประมวลฯ ตามนัยมาตรา ๙ ทวแิ ห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน โดยอนโุ ลม

๙. ค่าตอบแทนทีผ่ ขู้ ดุ ลอกต้องจ่ายคนื ใหท้ างราชการ กรณี กรวด หิน ดนิ ทราย ท่ี
ขดุ ลอก ได้มรี าคาเกินกว่าคา่ จา้ ง ตามนัยระเบยี บข้อ ๖ วรรคสอง (บาท) หมายถึง หาก
ดินหรือทรายที่ขุดลอกได้มีมูลค่าหรือราคา มากกว่าค่าจ้างที่ตกลงให้แก่กันแล้ว ผู้ขุดลอกต้อง
จา่ ยคนื แกอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ตามอัตราตามนัยมาตรา ๙ ทว ิ แห่งประมวลกฎหมาย
ทด่ี ิน


471

๑๐. จำนวนเงินงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ (บาท) หมายถึง เงินงบ
ประมาณท่ีผู้ว่าจ้างหรือเจ้าของโครงการไม่ต้องจ่ายแก่ผู้ขุดลอก แต่ใช้ดินหรือทรายจ่ายแทน
และเปน็ เงินจำนวนเดียวกันกับ ข้อ ๓.๘

๑๑. ผลการดำเนินการขดุ ลอก หมายถงึ การดำเนินโครงการไดด้ ำเนนิ การถึงข้นั
ใดแล้ว เชน่ อยู่ระหว่างดำเนินการ ดำเนินเสร็จแล้วตง้ั แตว่ ันที.่ ..................

๑๒. หมายเหตุ เพื่อแจ้งเหตุผลกรณีมีข้อมูลที่ต้องการช้ีแจงมากกว่าในตาราง
หมายถึง ข้อมูลที่ต้องการให้กระทรวงมหาดไทยทราบเพิ่มเติมจากการรายงานตารางปกติ
เช่น โครงการดังกล่าวไม่มีผู้แจ้งความประสงค์จะดำเนินการโดยนำดินหรือทรายแทนค่าจ้าง
จงึ ได้ใชง้ บประมาณจดั จ้าง เปน็ ตน้







472

ดว่ นที่สุด
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๓๐๐๐ กรมทดี่ ิน

ถนนพระพพิ ิธ กทม. ๑๐๒๐๐

๓๑ มกราคม ๒๕๔๙

เรอื่ ง แต่งตั้งประธานท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรีและผู้อำนวยการศูนย์เฉพาะกิจตามนโยบาย

เร่งด่วนของรฐั บาล

เรียน ผ้วู ่าราชการจังหวัดทกุ จังหวดั

ส่ิงทีส่ ง่ มาดว้ ย คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ท่ี ๕๑๖/๒๕๔๘ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม

๒๕๔๘ เร่ือง แต่งตง้ั ประธานท่ีปรึกษานายกรฐั มนตรแี ละผูอ้ ำนวยการศนู ย

เฉพาะกจิ ตามนโยบายเรง่ ดว่ น ของรัฐบาล



ด้วยสำนกั นายกรฐั มนตรไี ดม้ คี ำสั่ง ท่ี ๕๑๖/๒๕๔๘ ลงวนั ท่ี ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เร่ืองแต่งต้ังประธานท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรีและผู้อำนวยการศูนย์เฉพาะกิจตาม
นโยบายเรง่ ด่วนของรฐั บาล โดยมีรายละเอียดสรปุ ได ้ ดังน้

๑. ให้ยกเลิกคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ท่ ี ๒๗๒/๒๕๔๖ ลงวันท ่ี ๑๙
พฤศจิกายน ๒๕๔๖ เร่ืองจัดต้ังศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาต ิ
ทีแ่ ต่งต้ัง พลเอก ชวลิต ยงใจยทุ ธ รองนายกรัฐมนตร ี เป็นผ้อู ำนวยการศนู ย์

๒. ให้ยกเลิกคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตร ี ท ี่ ๑๕๒/๒๕๔๘ ลงวันท่ี ๒๓
เมษยน ๒๕๔๘ เร่ืองปรับปรุงการจัดตั้งศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาต ิ
ทแ่ี ต่งต้ัง พลตำรวจเอก ชติ ชยั วรรณสถติ ย ์ รองนายกรฐั มนตรี เป็นผู้อำนวยการศนู ย

๓. ให้ยกเลิกคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๓๖๖/๒๕๔๘ ลงวันท่ ี ๒๓
กันยายน ๒๕๔๘ เรื่อง แต่งตั้งที่ปรึกษาและรองผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือ
เอาชนะความยากจนเพ่ิมเติม ท่ีแต่งต้ังนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตร ี เป็นที่
ปรึกษาศูนย ์ และนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรี เป็นรองผู้อำนวยการ
ศนู ย

๔. แตง่ ตั้ง พลเอก ชวลติ ยงใจยทุ ธ เปน็ ประธานท่ีปรกึ ษานายกรฐั มนตรี
ด้านนโยบายขจัดความยากจน และเป็นผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความ
ยากจนแห่งชาติ (ศตจ.)

๕. แตง่ ตง้ั นายวนั มหู ะมัดนอร ์ มะทา เปน็ ประธานที่ปรึกษานายกรฐั มนตร ี
ด้านนโยบายขจัดยาเสพติดและเป็นผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด
(ศตส.)


473

รายละเอียดปรากฎตามสำเนาคำสั่งส่งมาพรอ้ มน้ี

จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดทราบ และแจ้งใหเ้ จ้าพนักงานท่ีดินจงั หวัดทราบ เพ่อื แจ้ง
ให้เจ้าหน้าทีท่ เี่ กย่ี วขอ้ งทราบต่อไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชอ่ื ) สมศกั ดิ์ สลิลสริ

(นายสมศกั ด์ ิ สลิลสิร)ิ

รองอธบิ ด ี ปฏิบัตริ าชการแทน

อธิบดกี รมที่ดิน











สำนกั จดั การทดี่ นิ ของรฐั

โทร. (โทรสาร) ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ตอ่ ๓๖๗,๓๖๙



















474

คำสั่งสำน(สกั ำนเานยาก)
รฐั มนตร


ที่ ๕๑๖/ ๒๕๔๘

เรอ่ื ง แต่งตงั้ ประธานทีป่ รกึ ษานายกรัฐมนตรแี ละผอู้ ำนวยการศูนย์เฉพาะกจิ


ตามนโยบายเรง่ ด่วนของรัฐบาล

-----------------------------

ตามที่รัฐบาลได้แถลงนโยบาลต่อรัฐสภา เม่ือวันที ่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๘ และ
กำหนดนโยบายเรง่ ดว่ นโดยจะระดมความรู้ ความคิด ทรัพยากร และสรรพกำลงั ทัง้ ปวงเพ่ือ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาสำคัญท่ีเกิดข้ึนในสังคม และก่อผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชนภายใต้ยุทธศาสตร์และยุทธวิธีท่ีเป็นแบบบูรณาการน้ัน บัดน ้ี สมควรกำหนดให้มี
ผู้ทรงคุณวุฒ ิ ซึ่งมีประสบการณ์ในการบริหารจัดการปัญหาดังกล่าว เป็นประธานท่ีปรึกษา
นายกรัฐมนตรีและทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยการศูนย์เฉพาะกิจที่ตั้งขึ้น เพื่อประสานงานเร่งรัด
กำกบั ดูแล ตลอดจนใหค้ ำแนะนำแกเ่ จ้าหนา้ ท่ีผเู้ กี่ยวขอ้ งในการดำเนินการ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑(๖) (๘) และ(๙) แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรจี งึ มีคำสัง่ ดงั ต่อไปนี้

๑. ให้ยกเลิกคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีท่ ี ๒๗๒/๒๕๔๖ ลงวันท่ ี ๑๙
พฤศจิกายน ๒๕๔๖ ท่ี ๑๕๒/๒๕๔๘ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๘ และวนั ที ่ ๓๖๖/
๒๕๔๘ ลงวนั ท ่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘

บรรดาคำสั่งอืน่ ใดซึ่งขัดหรอื แย้งกบั คำส่งั นี้ให้ใช้คำสง่ั น้แี ทน

๒. ให้พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรีด้าน
นโยบายขจดั ความยากจน

ให้จัดตั้งศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติขึ้นในสำนัก
เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี เพอ่ื ทำหนา้ ท่กี ำหนดนโยบาย ยทุ ธศาสตร ์ แนวทางและมาตรการ
ในการประสานงาน เร่งรดั กำกับดูแล และตรวจสอบการดำเนินการตามนโยบายรฐั บาลในการ
ขจัดความยากจน โดยไม่ขดั หรอื แยง้ ต่อ มติคณะรฐั มนตรี หรอื คำสั่งนายกรัฐมนตร ี และให้มี
อำนาจหน้าท่ีเสนอแนะต่อนายกรัฐมนตร ี ประสานการดำเนินการกับส่วนราชการและหน่วย
งานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสั่งการให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด
และไดร้ ับความเหน็ ชอบจากนายกรฐั มนตรแี ล้ว

ให้ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านนโยบายขจัดความยากจนเป็นผู้อำนวย
การศูนย์ดังกล่าว และมีอำนาจออกคำสั่งแต่งตั้งรองผู้อำนวยการศูนย ์ กรรมการเลขานุการ
และผูช้ ่วยเลขานุการไดต้ ามความจำเปน็ แลว้ รายงานให้นายกรัฐมนตรที ราบ

ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านนโยบายขจัดความยากจน มีอำนาจ
ปฏิบัติราชการท่ัวไปตามนโยบายรัฐบาลในการขจัดความยากจน และในฐานะผู้อำนวยการ
ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ มีอำนาจเรียกเจ้าหน้าท่ีของรัฐมาช้ีแจง

475

ส่งั การเจา้ หน้าท่กี ระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ให้ดำเนนิ การหรอื งดเวน้ การดำเนินการใดทีข่ ดั
ตอ่ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี หรอื คำสงั่ นายกรัฐมนตรี หรอื กอ่ ใหเ้ กิดความเดอื ดรอ้ นไม่เปน็
ธรรมแก่ประชาชน รับเรอ่ื งร้องเรียนจากราษฎรและดำเนินการตรวจสอบตลอดจนประสานการ
ดำเนินการระหว่างส่วนราชการหลายแห่งให้ร่วมกันปฏิบัติราชการอย่างเป็นบูรณาการ ใน
กรณีเห็นว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายและเป็นอุปสรรคต่อการแก้
ปัญหาให้รายงานให้นายกรัฐมนตรีทราบ เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินในด้านการขจัด
ความยากจนเป็นไปโดยรวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ ทไ่ี ม่ขัดหรือแยง้ กบั กฏหมาย

๓. ให้นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็นประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้าน
นโยบายขจดั ยาเสพตดิ

ให้จัดต้ังศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ โดยมี
ประธานท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านนโยบายขจัดยาเสพติดเป็นผู้อำนวยการศูนย์ดังกล่าวเพื่อ
ทำหน้าที่และมีอำนาจตามวรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ีของข้อ ๒ โดยอนุโลมเฉพาะใน
ส่วนของนโยบายขจดั ยาเสพตดิ

๔. ให้สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีอำนวยความสะดวกแก่ศูนย์ตามข้อ ๒
และขอ้ ๓ ในด้านงานธรุ การ การปฏบิ ัตหิ น้าท ่ี การประชมุ งบประมาณ และการจดั ใหม้ ี
บุคลากรมาช่วยงานตามความจำเปน็

ในกรณีมีปัญหาขัดข้อง ให้ประธานท่ีปรึกษานายยกรัฐมนตรี หรือ
เลขาธิการนายกรฐั มนตรีแล้วแต่กรณี รายงานให้นายกรฐั มนตรีทราบหรอื วนิ ิจฉยั

ทง้ั น้ี ต้งั แต่บดั น้ีเป็นต้นไป




ส่งั ณ วนั ท่ี ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘




(ลงชื่อ) พนั ตำรวจโท ทกั ษิณ ชนิ วตั ร

(ทกั ษิณ ชินวัตร)

นายกรฐั มนตร




476

ดว่ นท่สี ุด
(สำเนา)


ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๕๔๔๗ กรมทีด่ ิน

ถนนพระพิพธิ กทม. ๑๐๒๐๐
๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙

เรื่อง คำสั่งแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะ

ความยากจนแหง่ ชาติ และมอบอำนาจเพิม่ เติม

เรียน ผ้วู า่ ราชการจังหวดั ทกุ จังหวัด

อา้ งถึง หนังสือกรมที่ดิน ด่วนที่สุด ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/๓๐๐๐ ลงวันที่ ๓๑ มกราคม

๒๕๔๙ เรื่อง แต่งตั้งประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีและผู้อำนวยศูนย์เฉพาะกิจ

ตามนโยบายเรง่ ดว่ นของรัฐบาล

สงิ่ ทีส่ ่งมาด้วย ๑. สำเนาคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ท ี่ ๒๒/๒๕๔๙ ลงวันท ่ี ๒๔

มกราคม ๒๕๔๙ เรื่อง แต่งตั้งที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะ

ความยากจนแหง่ ชาติ

๒. สำเนาคำสง่ั สำนักนายกรัฐมนตร ี ท ่ี ๒๔/๒๕๔๙ ลงวนั ท ี่ ๒๗ มกราคม

๒๕๔๙ เรื่อง แต่งตั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการท่ีปรึกษา ศูนย์อำนวย

การตอ่ สเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแหง่ ชาต ิ และมอบอำนาจเพิม่ เติม



ตามหนังสือท่ีอ้างถึง แจ้งว่าสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีคำส่ัง ท ่ี ๕๑๖/๒๕๔๘ ลง
วันท ่ี ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๔๘ แตง่ ตั้ง พลเอกชวลติ ยงใจยุทธ เปน็ ประธานท่ีปรกึ ษานายก
รัฐมนตรี ด้านนโยบายขจัดความยากจนและเป็นผู้อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจน
แห่งชาต ิ (ศตจ.) และนายวนั มหู ะมัดนอร์ มะทา เป็นประธานทีป่ รึกษานายกรัฐมนตรี ดา้ น
นโยบายขจัดยาเสพติด และเป็นผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะยาเสพติด
(ศตส.) มาเพ่ือโปรดแจ้งให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด เพ่ือแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องทราบ
ตอ่ ไป นน้ั

บัดนี ้ นายกรัฐมนตรไี ดม้ คี ำส่งั สำนกั นายกรฐั มนตรี ท ่ี ๒๒/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๔
มกราคม ๒๕๔๙ เร่ือง แต่ง่ตั้งท่ีปรึกษาศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจน
แห่งชาต ิ ซ่ึงคณะรัฐมนตรีได้มีมต ิ เมื่อวันท่ ี ๒๔ มกราคม ๒๕๔๙ เห็นชอบด้วยแล้ว
รายละเอียดปรากฎตามส่งิ ทส่ี ง่ มาด้วย ๑


477

ต่อมานายกรัฐมนตรีไดม้ คี ำสัง่ สำนกั นายกรัฐมนตร ี ท ี่ ๒๔/๒๕๔๙ ลงวันท ี่ ๒๗
มกราคม ๒๕๔๙ เร่ือง แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการท่ีปรึกษาศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือ
เอาชนะความยากจนแห่งชาต ิ และมอบอำนาจเพิ่มเติม พร้อมท้ังยกเลิกคำสั่งสำนักนายก
รัฐมนตร ี ที ่ ๒๒/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๔๙ รายละเอยี ดปรากฏตามสิง่ ทสี่ ่งมา
ดว้ ย ๒

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และแจ้งให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดทราบ เพ่ือแจ้งให้
เจา้ หนา้ ท่ที ีเ่ กี่ยวข้องทราบตอ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชื่อ) สมศักดิ์ สลลิ สิริ

(นายสมศักด์ิ สลลิ สิริ)

รองอธบิ ด ี ปฏิบตั ริ าชการแทน

อธิบดีกรมท่ดี นิ











สำนกั จัดการท่ีดินของรฐั

โทร. (โทรสาร) ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ตอ่ ๓๖๗, ๓๖๙
















478

คำสัง่ สำน(สกั ำนเานยาก)
รัฐมนตรี

ท่ี ๒๒/๒๕๔๙

เรอื่ ง แตง่ ตงั้ ที่ปรกึ ษาศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพอื่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาต

------------------------------

ตามท่ีได้มีคำส่ัง สำนักนายกรัฐมนตรีท ี่ ๕๑๖/๒๕๔๘ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ แต่งต้ัง พลเอก ชวลติ ยงใจยุทธ เปน็ ประธานท่ีปรึกษานายกรฐั มนตรดี ้านนโยบาย
ขจัดความยากจนและผ้อู ำนวยการศนู ย์อำนวยการต่อสู้เพ่อื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ รวม
ทั้ง ให้จัดต้ังศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติข้ึนในสำนักเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรี ความละเอยี ดตามคำสง่ั ท่ีอ้างถึงข้างตน้ น้ัน

เพ่ือให้การดำเนินงานของศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ
เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อยและมปี ระสทิ ธภิ าพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑(๖) (๘)
และ (๙) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงแต่งต้ังท่ี
ปรึกษาศนู ยอ์ ำนวยการต่อสู้เพอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ ดังตอ่ ไปนี้

๑. รองนายกรัฐมนตร ี ทกุ ท่าน ทีป่ รึกษา

๒. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวง ทุกกระทรวง ทปี่ รึกษา

๓. ศาสตราจารย์ น.พ.ประเวศ วะส ี ทป่ี รึกษา

๔. นายธนินท์ เจียรวนนท ์ ทป่ี รึกษา

๕. พลเอกอทุ ยั ชนิ วัตร ที่ปรึกษา

๖. พลเอกสุรนิ ทร ์ พกิ ลุ ทอง ที่ปรึกษา

๗. พลเอกวชิ ิต ยาทิพย ์ ทป่ี รึกษา

๘. พลตำรวจเอกบุญฤทธ ์ิ รัตนะพร ท่ปี รึกษา

มีหนา้ ท่ีใหค้ ำปรึกษา สนับสนุน ชว่ ยเหลือการปฏบิ ัติงานของศูนย์อำนวยการตอ่ สู้
เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติให้บังเกิดผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายขจัดความยากจนของ
รัฐบาล

ทงั้ น ้ี ต้ังแต่บัดนเี้ ปน็ ต้นไป



สัง่ ณ วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙



(ลงชอ่ื ) พันตำรวจโท ทกั ษิณ ชนิ วัตร

(ทักษณิ ชนิ วตั ร)

นายกรฐั มนตร






479

คำสง่ั สำน(สกั ำนเานยาก)
รัฐมนตร

ที่ ๒๔/๒๕๔๙

เรือ่ ง แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเปน็ กรรมการท่ปี รึกษา

ศนู ย์อำนวยการต่อสู้เพอื่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ และมอบอำนาจเพม่ิ เติม

----------------------------------

ตามท่ีได้มีคำส่ังสำนักนายกรัฐมนตรีที ่ ๕๑๖/๒๕๔๘ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ แตง่ ต้งั พลเอก ชวลิต ยงใจยทุ ธ เป็นประธานทปี่ รึกษานายกรฐั มนตรดี า้ นนโยบาย
ขจัดความยากจนและผอู้ ำนวยการศูนย์อำนวยการตอ่ สเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาต ิ รวม
ท้ัง ให้จัดตั้งศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติข้ึนในสำนักเลขาธิการ
นายกรัฐมนตร ี นัน้

เพื่อให้การดำเนินงานของศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ
เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ (๖)
และ (๙) แหง่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ จงึ ให้ยกเลิกคำ
สงั่ สำนักนายกรัฐมนตรที ่ี ๒๒/๒๕๔๙ ลงวันที ่ ๒๔ มกราคม ๒๕๔๙ และมคี ำส่ัง ดังตอ่
ไปนี

๑. แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะ
ความยากจนแหง่ ชาติ ดงั น้

(๑) รองนายกรัฐมนตรี ทกุ ท่าน กรรมการท่ปี รึกษา

(๒) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง ทุกกระทรวง กรรมการทปี่ รึกษา

(๓) นายวนั มหู ะมัดนอร ์ มะทา กรรมการที่ปรึกษา

(๔) ศาสตราจารยป์ ระเวศ วะสี กรรมการทีป่ รึกษา

(๕) นายธนินท์ เจียรวนนท ์ กรรมการที่ปรกึ ษา

(๖) พลเอกอทุ ัย ชินวัตร กรรมการทปี่ รกึ ษา

(๗) พลเอกสรุ ินทร ์ พิกลุ ทอง กรรมการที่ปรึกษา

(๘) พลเอกวชิ ติ ยาทพิ ย์ กรรมการท่ปี รึกษา

(๙) พลตำรวจเอกบุญฤทธ ิ์ รัตนะพร กรรมการที่ปรึกษา

(๑๐) นายชวลิต วิชยสทุ ธิ์ กรรมการทปี่ รึกษา

ท้ังน ้ี ให้มีหน้าท่ีให้คำปรึกษา สนับสนุน ช่วยเหลือการปฏบัติงานของศูนย์
อำนวยการต่อสู้ เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติให้บังเกิดผลสัมฤทธ์ิตามนโยบายขจัดความ
ยากจนของรัฐบาล

๒. มอบอำนาจเพิม่ เติม

ให้ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติมี
อำนาจออกคำสงั่ แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรอื ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารระดบั ตา่ งๆ เพอ่ื

480

ชว่ ยเหลอื การปฏบิ ัตงิ านไดต้ ามความจำเปน็ แล้วรายงานให้นายกรัฐมนตรีทราบ

ทัง้ น้ี ตง้ั แต่บัดนเ้ี ป็นตน้ ไป




สง่ั ณ วนั ท่ี ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙




(ลงชอื่ ) พนั ตำรวจโท ทักษณิ ชินวัตร

(ทักษณิ ชนิ วตั ร)

นายกรฐั มนตร




481

ดว่ นมาก
(สำเนา)


ที่ มท ๐๘๙๑.๔/ว ๖๕๘ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอัษฎางค์ กทม. ๑๐๒๐๐

๒๔ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๔๙

เรื่อง แจ้งแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน โดยองค์กรปกครองส่วน

ทอ้ งถ่นิ

เรียน ผู้วา่ ราชการจังหวัดทุกจังหวดั

สงิ่ ทีส่ ่งมาดว้ ย แบบรายงานผลการดำเนนิ งาน จำนวน ๑ ชดุ



ตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้การแก้ไขปัญหาความยากจนเป็นปัญหาเร่งด่วนท่ีต้อง
รวมพลังทุกภาคส่วนในสังคมทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน
องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคประชาชนมาร่วมบูรณาการการแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดย
กำหนดเป็นยุทธศาสตร์สำคัญที่จะขจัดความยากจน ให้หมดส้ินไปภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยนำปรชั ญาพระราชทาน “เศรษฐกจิ พอเพียง” เป็นแนวทางหลักในการดำเนินงานภายใต้
หลักการ การลดรายจ่าย สรา้ งรายได้ ขยายโอกาส ให้แก่ประชาชนบนพ้นื ฐานความสมดลุ
ท้ังทางเศรษฐกจิ และสังคม

กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้วเห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นหน่วยงาน
สำคัญที่จะทำให้การแก้ปัญหาความยากจนประสบความสำเร็จโดยเร็ว จึงขอให้จังหวัดแจ้ง
แนวทางให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาดำเนินการ ดงั น้

๑. หลกั การดำเนินงาน

การแก้ปัญหาความยากจนเป็นภารกิจสำคัญของชาต ิ โดยมีศูนย์อำนวยการ
ต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.) ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจน
จังหวัด (ศตจ.จ.) และศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะ ความยากจนอำเภอ (ศตจ.อ./ก่ิง อ.)
เป็นองค์กรรับผิดชอบการปฏิบัติงานในแต่ละระดับ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ
ปลัดอำเภอผูเ้ ปน็ หัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ รบั ผิดชอบการดำเนนิ งานในระดับจังหวัด อำเภอและ
ก่ิงอำเภอ ตามลำดับ ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาความยากจนขององค์กรปกครองส่วนท้อง
ถ่ิน จึงขอให้พิจารณาให้ความร่วมมือกบั จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอ ดังน้

๑.๑ กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเอง มีหลักการดำเนินงาน
ดงั นี

(๑) นำข้อมูลผู้จดทะเบียนปัญหาความยากจนของศูนย์อำนวยการหรือ
ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารต่อสเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนจงั หวดั อำเภอ/กิ่งอำเภอ มาจดั ทำเป็นฐานข้อมูล
ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เพื่อกำหนดบคุ คล/ครวั เรือนเป้าหมายในการแก้ไขปญั หา โดย
ประสานกบั จงั หวดั และอำเภอ เพื่อให้การแกไ้ ขปญั หามีความสอดคล้องกัน


482

(๒) นำปัญหา ความต้องการจากแผนชุมชน แผนเศรษฐกิจพอเพียง
ระดับชุมชนท่ีเกินศักยภาพของชุมชนที่จะดำเนินการได้เองมาจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นและจัด
ทำงบประมาณใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ

(๓) เม่อื องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินมีแผนดำเนนิ การแลว้ ใหร้ วบรวมข้อมลู
ส่งให้จังหวัดอำเภอ/ก่ิงอำเภอ เพ่ือเป็นการประสานงานและแจ้งผลความก้าวหน้าและความ
สำเรจ็ ใหห้ นว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องทราบ

๑.๒ กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยสนับสนุน มีหลักการดำเนิน
การดังน
้ี
(๑) ให้การสนับสนุนหรือร่วมดำเนินการกับศูนย์อำนวยการหรือศูนย์
ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนจังหวัด อำเภอ/ก่ิงอำเภอ ในเรื่องที่กำหนดให้เป็น
อำนาจ หน้าที่ของศูนย์อำนวยการหรือศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนจังหวัด
อำเภอ/กง่ิ อำเภอ เชน่ การจดั ชุดปฏิบตั กิ ารคาราวานแก้จน เป็นตน้

(๒) สนับสนุนหรือร่วมมือกับหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ที่ดำเนิน
กจิ กรรมการแก้ปญั หาความยากจนในพน้ื ที่ เชน่ การจัดระบบสาธารณปู โภค สาธารณปู การ
เพ่ือสนับสนุน โครงการจัดทีด่ ิน ทำกนิ ให้ประชาชนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือการ
จัดใหม้ ีแสงสว่าง การจัดเก็บขยะสำหรบั โครงการบ้านเออื้ อาทรของการเคหะแห่งชาติ เป็นต้น

(๓) สนับสนุนหรือร่วมดำเนินการกับศูนย์ประสานงานต่อสู้เพื่อเอาชนะ
ความยากจนภาคประชาชน (ศตจ. ปชช.) องค์กรประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน และภาค
เอกชน เช่น การจัดทำแผนชุมชน แผนเศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชน โครงการพัฒนา
สวสั ดกิ ารชมุ ชน หรือโครงการบ้านมัน่ คง เปน็ ตน้

๒. แนวทางและวิธีการดำเนนิ งาน

๒.๑ ดา้ นการพฒั นาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ

(๑) การลดรายจ่าย ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนลดรายจ่ายในการ
ดำรงชวี ติ โดย

(๑.๑) ระดับบุคคลและครวั เรอื น

- สง่ เสริมให้ประชาชนมกี ารดำรงชวี ติ แบบพอเพียง เช่น
การให้ประชาชนจัดทำสมุดบันทึกรายรับ - รายจ่าย ครัวเรือน เพ่ือลดรายจ่ายท่ีไม่จำเป็นใน
ครัวเรือน

- ส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นท ี่ ๑ โดยแบ่งท่ีดิน
ทำไร่นาสวนผสม เลี้ยงเปด็ ไก่ และปลา เพอื่ ให้มผี ลผลติ ในการเลย้ี งครวั เรอื นกอ่ นและนำสว่ น
ที่เหลือส่งขายในชุมชนและนอกชุมชน หรือการส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัวบริเวณบ้าน
เพอ่ื ลดค่าใชจ้ ่ายในการดำรงชวี ิตประจำวัน

- ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีในภาค
การเกษตรเพือ่ ลดตน้ ทนุ การผลิตและเสรมิ สร้างสขุ ภาพอนามัยใหก้ ับประชาชน


483

- ส่งเสริม สนับสนุนเด็กเล็ก (๓ - ๕ ปี) เข้ารับการ
ดูแล และไดร้ ับการศกึ ษาในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ อย่างทัว่ ถงึ เพ่อื
แบง่ เบาภาระและลดคา่ ใช้จา่ ยในการเล้ียงดูเด็กให้กับประชาชน

(๑.๒) ระดับชมุ ชน

- ส่งเสริมการจัดหาแหล่งน้ำเพ่ือการเกษตร โดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนเครื่องจักร เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ คนและงบประมาณ
กอ่ สรา้ งปรับปรุงแหลง่ น้ำให้แก่เกษตรกร เชน่ ขดุ บอ่ น้ำตื้น บ่อบาดาล การขุดลอกแหล่งนำ้
สาธารณะ สระนำ้ การจดั ทำฝายต้นน้ำ หรอื การจดั ทำฝายกนั้ นำ้ ตามแหลง่ น้ำต่างๆ

- ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรดำเนินกิจกรรมเพื่อลดต้นทุนการ
ทำการเกษตร เช่น จดั ต้ังโรงงานผลิตปยุ๋ อนิ ทรีย ์ การสรา้ งลานตากข้าวชุมชน

- ส่งเสริมการรวมกลุ่มเพ่ือผลิตสินค้าที่จำเป็นในการดำรง
ชีวิตประจำวันเพื่อใช้ในชุมชน เช่น กลุ่มผลิตน้ำยาล้างจาน สบ ู่ ยาสระผม โดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินรณรงค์สร้างจิตสำนึก และค่านิยมให้ประชาชนใช้สินค้าที่ผลิตในชุมชน
เพื่อให้ธุรกิจหมุนเวียนอยู่ในชุมชนอย่างสมดุลทั้งในด้านปริมาณสินค้าและความต้องการของผู้
บริโภคและหากมคี วามต้องการจากตลาดภายนอกจะเป็นการเพิ่มรายไดใ้ หก้ ับชมุ ชน

(๒) การเพ่ิมรายได้ ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มข้ึนจากการ
ประกอบอาชีพ

(๒.๑) ระดบั บุคคลและครัวเรือน

- สำรวจความต้องการในการประกอบอาชีพของประชาชน
และความต้องการสินค้าท้ังในชุมชนและนอกชุมชน เพื่อจัดการฝึกอบรมความรู้วิชาชีพในแต่
ละดา้ นใหส้ อดคลอ้ งกับปรมิ าณความตอ้ งการสินค้าในชมุ ชน

- การจัดหาเครือ่ งมอื ในการประกอบอาชีพ สำหรับผูม้ ีฝีมือใน
แตล่ ะด้านทมี่ ีฐานะยากจน ให้สามารถประกอบอาชีพที่ชว่ ยเหลือตนเองได้

- การให้ประชาชนรับงานจากสถานประกอบการมาทำที่บ้าน
โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินขอความร่วมมือโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการ
ในพ้ืนท่ีซึ่งต้องใช้แรงงานประชาชนและเครือข่ายการผลิต โดยประชาชนสามารถนำวัตถุดิบ
หรือวัสดุไปประกอบการผลิตนอกโรงงานหรือบ้านพักอาศัยของตนเอง และให้โรงงาน
อุตสาหกรรมและสถานประกอบการจา้ งหรอื รับซอ้ื ผลิตภัณฑ์จากประชาชน

(๒.๒) ระดบั ชุมชน

- การส่งเสริมกล่มุ อาชีพทมี่ กี ารผลิตทเี่ กื้อกูลกัน เชน่ กลมุ่
เลี้ยงไหม และกลมุ่ ทอผา้ ไหม

- การส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มอาชีพท่ีตอบสนองต่อตลาดใน
ทอ้ งถิ่น เชน่ การตัดเย็บชดุ นกั เรียนใหก้ บั โรงเรียนในท้องถน่ิ โดยองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
จดั หาสถานท่ปี ระกอบการและสนับสนนุ เคร่ืองมือการตดั เย็บ

- การสง่ เสริมวสิ าหกจิ ชมุ ชน โดยให้ประชาชนรวมกันในการ
484

ประกอบการวิสาหกิจชุมชนที่เอ้ือต่อการประกอบอาชีพ เช่น การจัดตั้งโรงสีชุมชนในพ้ืนที่ท่ี
ประชาชนทำนา เพอื่ นำขา้ วเปลือกมาสีเปน็ ข้าวสารขายในชุมชนและตลาดนอกชมุ ชน การจดั
ต้ังโรงงานผลิตน้ำด่ืมชุมชนเพ่ือขายให้กับคนในชุมชนและนอกชุมชน การส่งเสริมให้ชุมชนนำ
ขยะอนิ ทรียม์ าจดั ทำเป็นปยุ๋ หมกั ปยุ๋ ชีวภาพ เพอื่ ขายในชมุ ชนและนอกชุมชน

- การส่งเสริมการตลาดและการแลกเปลี่ยนสินค้า โดย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเช่ือมโยงเครือข่ายสินค้ากับท้องถ่ินอ่ืน เช่น การดำเนินสินค้าไป
วางจำหน่ายในร้านจำหน่ายสินค้าหน่ึงตำบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
ร้านจำหน่ายสินค้าของหน่วยงานอื่นหรือของเอกชน โดยให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดทุก
จังหวัด เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงท้ังในด้านข้อมูลสินค้า และความต้องการสินค้าเพ่ือให้สินค้า
ของชุมชนสามารถผลิตและจำหน่าย ได้ตรงตามความต้องการ การติดต่อกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินอื่นเพื่อให้เกิดการซ้ือขายสินค้าในลักษณะของการแลกเปลี่ยน เช่น ส่งข้าวสาร
ของโรงสีชมุ ชนไปแลกเปลย่ี นกบั สินค้าอ่ืนๆ

- การส่งเสริมการตลาดสินค้าด้วยอินเตอร์เน็ตตำบล
โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำรายการสินค้าของชุมชน และสถานที่ติดต่อกับผู้ประกอบ
การในเว็บไซดข์ องทอ้ งถิน่



(๓) การขยายโอกาส ด้วยการดำเนนิ การหรอื สนบั สนุนกิจกรรมเพือ่ ให้
ประชาชนได้เขา้ ถงึ ปจั จยั ในการประกอบอาชีพ

(๓.๑) ระดบั บุคคลและครัวเรือน

- การแปลงสินทรัพย์เป็นทุน โดยองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินท่ีมีความพร้อมควรขยายผลโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน โดยกำหนดพ้ืนท่ีผ่อนผัน
เพ่ิมเติม เช่น ตลาดสาธารณะ ทางสาธารณะหรือสถานท่ีสาธารณะของส่วนราชการต่าง ๆ
ในพ้ืนท่ีที่ยินยอมให้เข้าไปจัดระเบียบ และดำเนินการให้การรับรองแผงค้าเพ่ือให้ผู้ค้าสามารถ
นำไปกู้เงินจากสถาบันการเงิน และดำเนินการจัดประชุมหรืออบรมผู้จำหน่ายสินค้าในพื้นที่
ผ่อนผัน เพ่ือให้มีความรู้ในการประกอบอาชีพ และการเพ่ิมคุณภาพสินค้า ซึ่งจะสร้างให้เกิด
ความม่นั คงในการประกอบอาชีพ

(๓.๒) ระดับชมุ ชน

- การจดั หาทดี่ นิ ทำกิน โดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
ปฏิบัติตามขั้นตอนของการใช้ประโยชน์ที่ดินในที่สาธารณะ ท่ีดินจากผู้บริจาค ท่ีดินจากหน่วย
งานของรัฐเช่นทรี่ าชพัสดุ การรถไฟ หรอื ท่เี อกชนเพ่อื ให้ประชาชนเข้าทำกนิ รว่ มกนั

- การส่งเสริมให้ภาคเอกชนลงทุนในพื้นท่ีท่ีมีศักยภาพ
ในการผลติ หรือการจา้ งงาน เช่น การเล้ียงปลาในกระชัง

๒.๒ ด้านการพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางสังคม เป็นการดำเนินงานเพื่อสร้าง
ภูมิคมุ้ กันท่พี รอ้ มรับผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงทางด้านตา่ งๆ รวมทง้ั การสร้างความมัน่ คง
ในการดำรงชวี ติ โดยดำเนนิ การ ดังนี


485

(๑) การรณรงค์ใหป้ ระชาชน ลด ละเลกิ อบายมุข และค่านยิ มทไ่ี ม่จำเปน็ ทาง
สังคม เช่น การพนนั หวย การเสพของมึนเมา และค่านิยมในการจัดงานทแ่ี ข่งขนั กัน เชน่ งาน
ฉลองตำแหน่ง งานวนั เกดิ งานบวช งานแตง่ งาน งานศพ

(๒) การแก้ปัญหายาเสพติด ดำเนินการตามแนวทางการป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพตดิ โดยการนำผ้เู สพผูต้ ดิ เขา้ รบั การบำบดั รกั ษา การแก้ไขปญั หาหม่บู า้ น/ชมุ ชน
ที่ยังมีปัญหายาเสพติดตามกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง การพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนท่ีมี
ความเข้มแข็งให้สามารถเป็นแบบหมู่บ้าน/ชุมชนอื่นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจ
ดำเนินการเองหรือจัดต้ังงบประมาณสนับสนุนศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะยาเสพติด
จงั หวดั (ศตส.จ.) อำเภอ/กิ่งอำเภอ (ศตส.อ./กงิ่ อ.)

(๓) จัดหาทอ่ี ยอู่ าศัยให้แก่ประชาชน โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ดำเนนิ
การ หรือสนับสนุนให้มีการดำเนินการก่อสร้าง จัดหา ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัยให้กับประชาชนผู้มี
รายได้น้อย ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในลักษณะให้เปล่าสำหรับผู้ที่ประชาคมเห็นว่าไม่สามารถช่วย
เหลือตนเองได้ หรือดำเนินการก่อสร้างท่ีอยู่อาศัยแล้วให้ผู้มีรายได้น้อยเช่าอยู่อาศัยระยะถาวร
ราคาถูก หรือก่อสร้างบ้านราคาถูกให้เช่าซ้ือและผ่อนชำระระยะยาว หรือก่อสร้างบ้านราคาถูก
ให้ประชาชนผู้มีรายไดน้อยที่มีท่ีดินเป็นของตนเอง โดยการผ่อนชำระระยะยาว ๑๐ - ๑๕ ปี
กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือสถาบนั การเงนิ

(๔) จัดหาอุปกรณด์ ำรงชพี สำหรบั ผพู้ กิ าร เช่น รถเขน็ ไมค้ ำ้ หรอื เครือ่ งมือ
ในการประกอบอาชีพให้พิจารณาจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้บุคคลเหล่านี้สามารถดำรงชีวิต
อย่แู ละประกอบอาชพี ได

(๕) การสงเคราะห์เบ้ียยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ป่วยโรคเอดส์
ท่ีมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ หรือถูกทอดท้ิง หรือขาดผู้อุปการะเลี้ยงดู หรือไม่
สามารถประกอบอาชีพเล้ียงตนเองได้ให้พิจาณาดำเนินการเพื่อให้ได้รับเบ้ียยังชีพจากเงิน
อดุ หนนุ ที่ไดร้ ับการจัดสรร หรืองบประมาณขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ อย่างเป็นธรรมและ
ทัว่ ถงึ

(๖) กรณที ค่ี รัวเรือนที่ยากจนและยงั ตอ้ งมภี าระดูแลคนพิการหรือผสู้ งู อายุ ขอ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่าย โดยอาจพิจารณาให้ทุนการศึกษาหรือ
ประสานหน่วยงานเพื่อให้ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียนในครอบครัวดังกล่าวและจัดหาอาชีพ
หรือดำเนนิ กิจกรรมทเ่ี พมิ่ รายไดใ้ ห้กับครัวเรือนนั้น

(๗) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาดำเนินการเพ่ือให้มีการจัดต้ัง
กองทุนหรือสมทบงบประมาณต้ังกองทุนเพ่ือการจัดสวัสดิการให้แก่ เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ
หรือผปู้ ่วยโรคเอดส

๓. ระยะเวลาดำเนนิ การ

ในการดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจน จำเป็นต้องสร้างความเช่ือมั่นให้กับ
ประชาชนว่าปัญหาความยากจนสามารถแก้ไขได้ จงึ กำหนดระยะเวลา ดังน
ี้
๓.๑ ปี ๒๕๔๙ เป็นระยะเร่งดว่ นและเป็นช่วงมหามงคลเฉลมิ ฉลองสริ ิ
486

ราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมใจกันแก้ไขปัญหาที่เป็นความ
จำเป็นเร่งด่วนให้กับประชาชนในระดับบุคคลและครัวเรือน เช่น ปัญหาท่ีอยู่อาศัย ดูแลเด็ก
คนชรา คนพิการและผู้ป่วยท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ การสร้างรายได้ให้กับคนยากจน
ให้เพยี งพอตอ่ การดำรงชพี การปลูกฝังความคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดบั บุคคลและครัวเรือน

๓.๒ ป ี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ เป็นระยะสร้างความม่ันคงย่ังยืน ให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินส่งเสริมระบบเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน ให้ทุกชุมชนมีแผนชุมชน
แผนชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มีแผนพัฒนาและเพิ่มรายได้ และนำแผนไปสู่การปฏิบัติโดย
ชมุ ชนและองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่

๔. การนำแผนส่กู ารปฏิบตั ิ

ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ กำหนดยุทธศาสตรก์ ารแกไ้ ขปัญหาความยากจน
ไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น เพ่ือนำไปสู่กระบวนการจัดทำงบประมาณ โดยประสานงานกับ
จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอ เพ่ือกำหนดกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องให้การ
สนับสนุนในระยะยาวต่อไป

๕. งบประมาณในการดำเนนิ การ

ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้พิจารณาสนับสนุนงบประมาณในการแก้ไข
ปัญหาความยากจน ทั้งในเร่ืองการพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมโดยมี
แนวทาง ดังน
้ี
๕.๑ ให้พิจารณาต้ังงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรืองบประมาณรายจ่ายเพ่ิม
เติมประจำป ี ๒๕๔๙ โดยกำหนดรายจ่ายประเภทแก้ไขปัญหาความยากจน แยกตามหมวด
รายจ่ายต่างๆ โดยคำนึงถึงสัดส่วนงบประมาณการแก้ไขปัญหาความยากจนให้มากกว่าราย
จา่ ยประเภทอืน่ ทส่ี ามารถ รอการดำเนินการไวก้ อ่ นได

๕.๒ ให้พิจารณา โอน แก้ไข เปล่ียนแปลง งบประมาณรายจ่ายประจำปี
๒๕๔๙ รายการที่ยังไม่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายไปเพ่ิมจ่ายรายการท่ีต้องสนับสนุน โดยถือ
ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
พ.ศ. ๒๕๔๗

๕.๓ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอาจใช้จ่ายจากเงินสะสม เพ่ือสนับสนุนการ
บริการชุมชนและสังคม หรือกิจกรรมท่ีจัดทำเพื่อบำบัดความเดือดร้อนของประชาชนตาม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่าย การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน
และการตรวจเงินขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (ฉบบั ท ี่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘

๖. การติดตามและรายงานผล

ให้จังหวัดติดตามให้คำแนะนำการดำเนินงานให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และรายงานผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินงานให้กระทรวง
มหาดไทยเป็นประจำภายในวันที่ ๕ ของทุกเดือน ตามแบบรายงานท่ีส่งมาพร้อมนี้หากมี
ปญั หาอุปสรคในการดำเนินงานให้แจง้ กระทรวงมหาดไทยทราบดว้ ย


487

จึงเรยี นมาเพื่อพิจารณา ดำเนนิ การตอ่ ไป



ขอแสดงความนับถอื



(ลงช่ือ) สมชาย สถนทรวัฒน์

(นายสมชาย สุนทรวฒั น)์

รฐั มนตรีช่วยวา่ การฯ ปฏบิ ตั ิราชการแทน

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย











กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน

สำนักส่งเสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คมและการมสี ว่ นร่วม

โทร. ๐ - ๒๔๑ -๙๐๐๐ ต่อ ๔๑๒๒ - ๔๑๒๓

โทรสาร ๐- ๒๒๔๑ - ๙๐๐๐ ต่อ ๔๑๐๒





















488

แบบรายงานผลการดำเนินกจิ กรรมแก้ไขปญั หาความยากจนโดยองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
แนบ ๑/๑

ดา้ นการพัฒนาและแก้ไขปญั หาทางเศรษฐกิจ (การลดรายจ่าย)


จงั หวัด................................................ประจำเดือน.............................................พ.ศ................................


อำเภอ/องค์กรปกครอง
การดำเนนิ การของ อปท.

ลำดับท่ี
ส่วนท้องถนิ่

โครงการ/กิจกรรม
กรณี อปท. ดำเนินการเอง
กรณี อปท. รว่ มกับหนว่ ยงานอ่นื
หมายเหต

(อบจ.,เทศบาล,อบต.)
(ปญั หา/

งบประมาณ
จำนวนผลผลติ
ผู้ไดร้ บั ประโยชน
์ งบประมาณ
จำนวนผลผลิต
หน่วยงานทีไ่ ด้
ผูไ้ ด้รบั ประโยชน
์ อปุ สรรค/

(บาท)
จากกจิ กรรม*
โดยตรง (คน)
(บาท)
จากกจิ กรรม*
รับการสนบั สนุน
โดยตรง (คน)
ขอ้ เสนอแนะ)


489 รวม

*จำนวนผลผลติ จากกิจกรรม อาทิ จำนวนบา้ นที่ปลูกสรา้ ง จำนวนแหล่งนำ้ จำนวนครั้งที่ประชาสัมพันธ์ ฯลฯ

490 แบบรายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมแก้ไขปัญหาความยากจนโดยองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
แนบ ๑/๒

ด้านการพฒั นาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกจิ (การเพิ่มรายได้)


จงั หวดั ................................................ประจำเดอื น.............................................พ.ศ................................


อำเภอ/องค์กรปกครอง การดำเนนิ การของ อปท.

ลำดบั ท
ี่ สว่ นทอ้ งถนิ่

โครงการ/กิจกรรม
กรณี อปท. ดำเนินการเอง
กรณี อปท. รว่ มกบั หน่วยงานอืน่
หมายเหต

(อบจ.,เทศบาล,อบต.)
(ปญั หา/

งบประมาณ
จำนวนผลผลิต
ผู้ได้รับประโยชน์
งบประมาณ
จำนวนผลผลติ
หน่วยงานทีไ่ ด้
ผู้ได้รบั ประโยชน
์ อปุ สรรค/

(บาท)
จากกจิ กรรม*
โดยตรง (คน)
(บาท)
จากกจิ กรรม*
รบั การสนบั สนุน
โดยตรง (คน)
ข้อเสนอแนะ)


รวม

*จำนวนผลผลิตจากกจิ กรรม อาทิ จำนวนบ้านทป่ี ลกู สรา้ ง จำนวนแหลง่ นำ้ จำนวนครั้งท่ีประชาสัมพันธ์ ฯลฯ

แบบรายงานผลการดำเนินกจิ กรรมแก้ไขปัญหาความยากจนโดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
แนบ ๑/๓

ดา้ นการพัฒนาและแก้ไขปญั หาทางเศรษฐกิจ (การขยายโอกาส)


จงั หวดั ................................................ประจำเดอื น.............................................พ.ศ................................


อำเภอ/องค์กรปกครอง การดำเนนิ การของ อปท.

ลำดบั ที
่ ส่วนทอ้ งถนิ่

โครงการ/กิจกรรม
กรณี อปท. ดำเนนิ การเอง
กรณี อปท. รว่ มกบั หนว่ ยงานอน่ื
หมายเหตุ

(อบจ.,เทศบาล,อบต.)
(ปญั หา/

งบประมาณ
จำนวนผลผลติ
ผไู้ ด้รบั ประโยชน
์ งบประมาณ
จำนวนผลผลิต
หนว่ ยงานท่ไี ด
้ ผ้ไู ด้รับประโยชน
์ อปุ สรรค/

(บาท)
จากกจิ กรรม*
โดยตรง (คน)
(บาท)
จากกจิ กรรม*
รบั การสนับสนุน
โดยตรง (คน)
ข้อเสนอแนะ)


491 รวม

*จำนวนผลผลิตจากกิจกรรม อาทิ จำนวนบ้านท่ีปลูกสรา้ ง จำนวนแหล่งนำ้ จำนวนครงั้ ทีป่ ระชาสัมพันธ์ ฯลฯ

492 แบบรายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมแก้ไขปญั หาความยากจนโดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

ด้านการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคม


จังหวดั ................................................ประจำเดือน.............................................พ.ศ................................


อำเภอ/องค์กรปกครอง
การดำเนินการของ อปท.

ลำดับท่ี
สว่ นท้องถิ่น

โครงการ/กจิ กรรม
กรณี อปท. ดำเนินการเอง
กรณี อปท. รว่ มกับหนว่ ยงานอ่ืน
หมายเหตุ

(อบจ.,เทศบาล,อบต.)
(ปญั หา/

งบประมาณ
จำนวนผลผลิต
ผู้ได้รบั ประโยชน
์ งบประมาณ
จำนวนผลผลติ
หน่วยงานที่ได้
ผไู้ ดร้ บั ประโยชน์
อปุ สรรค/

(บาท)
จากกิจกรรม*
โดยตรง (คน)
(บาท)
จากกจิ กรรม*
รบั การสนบั สนนุ
โดยตรง (คน)
ข้อเสนอแนะ)


รวม

*จำนวนผลผลิตจากกจิ กรรม อาทิ จำนวนบา้ นท่ปี ลกู สร้าง จำนวนแหล่งนำ้ จำนวนคร้งั ท่ีประชาสมั พันธ์ ฯลฯ

ด่วนท่สี ุด
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๖๘๙๙ กรมทด่ี ิน

ถนนพระพิพธิ กทม.๑๐๒๐๐

๖ มนี าคม ๒๕๔๙

เรอื่ ง การมอบนโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของนายกรัฐมนตรี และการ

จัดต้ัง ศตจ.ปชช.

เรียน ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวดั

ส่ิงทส่ี ่งมาด้วย ๑. บันทึกศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจน กระทรวง

มหาดไทย (ศตจ.มท.) ด่วนมาก ที่ ศตจ.มท./ว ๒๓

ลงวนั ท่ี ๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙

๒. สำเนาคำสงั่ ศูนย์อำนวยการต่อสูเ้ พอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาต ิ

ท่ี ๓ /๒๕๔๙ ลงวันที ่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๙ เรื่องการจัดตั้งศูนย

อำนวยการปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน

(ศตจ. ปชช.)



ด้วย ฯ พณ ฯ นายกรัฐมนตรีได้เป็นประธานการประชุมแก้ไขปัญหาความยากจน
เม่ือวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๔๙ ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล และเป็นประธานการ
ประชุมมอบนโยบายการขจัดความยากจนของศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจน
แห่งชาติ (ศตจ.) เมื่อวันท่ ี ๓๐ มกราคม ๒๕๔๙ ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส ์
กรุงเทพมหานคร ซึ่งศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจน กระทรวงมหาดไทย
(ศตจ.มท.) ได้สรุป นโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของนายกรัฐมนตรีดัง
กล่าว เพ่ือเป็นแนวทางในการดำเนินการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนในพ้ืนท่ ี รายละเอียด
ปรากฏตามสง่ิ ทีส่ ง่ มาดว้ ย ๑

และเพื่อให้การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาความยากจนในระดับพ้ืนท่ีบรรลุผลสำเร็จ
ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.) จึงได้มีคำส่ัง ท่ี ๓/๒๕๔๙
ลงวนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๙ จดั ตง้ั ศนู ยอ์ ำนวยการปฏิบตั กิ ารต่อส้เู พื่อเอาชนะความยากจน
ภาคประชาชน (ศตจ. ปชช.) ประกอบด้วย ที่ปรึกษา ประธานกรรมการร่วม คณะกรรมการ
และเลขานุการ ซ่ึงมีอำนาจหน้าท่ีประสานงานและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายองค์กร
ประชาชนทุกระดับ รายละเอียดปรากฎตามสิ่งที่ส่งมาดว้ ย ๒


493

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และแจ้งให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดแจ้งให้เจ้าหน้าที่ที่
เก่ียวข้องนำนโยบายและแนวทางดังกล่าว ไปดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจนให้บรรลุผล
สำเรจ็ ต่อไป



ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงช่ือ) สมศกั ด์ิ สลิลสิริ

(นายสมศกั ดิ ์ สลิลสิริ)

รองอธบิ ดี ปฏบิ ตั ิราชการแทน

อธิบดีกรมท่ดี ิน











สำนกั จัดการท่ดี ินของรฐั

โทร./โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ตอ่ ๓๖๗,๓๖๙




















494

ดว่ นมาก
บนั ทกึ ขอ้ ความ


สว่ นราชการ ศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพอื่ เอาชนะความยากจน กระทรวงมหาดไทย (ศตจ.มท.)
โทร. ๐ ๒๒๒๕ ๙๙๐๘

ท่ ี ศตจ.มท./ ว ๒๓ วันท ่ี ๑๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙

เรือ่ ง การมอบนโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของนายกรฐั มนตรี

เรียน รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ทุกท่าน อธิบดีกรมในสังกัดกระทรวงมหาดไทยท ี่

เก่ยี วขอ้ ง และหวั หน้าผูต้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย



ตามที่นายกรัฐมนตร ี ได้เป็นประธานการประชุมแก้ไขปัญหาความยากจน เม่ือวัน
เสารท์ ่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๔๙ ณ ตึกสันติไมตร ี ทำเนียบรัฐบาล และเปน็ ประธานการประชมุ
มอบนโยบายการขจัดความยากจนของศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ
(ศตจ.) เมอ่ื วนั จันทรท์ ี่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๙ ณ โรงแรมรามาการเ์ ดน้ ส์ กรุงเทพมหานคร
น้ัน

ในการนี้ ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจน กระทรวงมหาดไทย
(ศตจ.มท.) ได้สรุปนโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของนายกรัฐมนตรีดัง
กลา่ ว เพอ่ื เป็นแนวทางในการดำเนนิ การตอ่ สู้เพ่อื เอาชนะความยากจนในพน้ื ที่ ดังน
ี้
๑. การประชมุ แก้ไขปญั หาความยากจน

นายกรัฐมนตรี ได้นำผลการประชุมสรุปงานการสาธิตแก้ไขปัญหาสังคมและ
ความยากจนเชิงบูรณาการ อำเภออาจสามารถ เมื่อค่ำวันที ่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๙ ณ บ้าน
โหรา อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด มาเป็นหลักและแนวทางให้กับผู้เข้าร่วมประชุมซ่ึง
ประกอบด้วย ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (พลเอก
ชวลิต ยงใจยุทธ) คณะรัฐมนตรี ผู้บริหารระดับสูงทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ
ในส่วนกลาง รวมทั้งภาคเอกชนและองค์กรประชาชนที่เก่ียวข้อง เพ่ือนำไปดำเนินการแก้ไข
ปัญหาความยากจน ดงั น้ี

๑.๑ หลกั และแนวทางการแก้ไขปญั หาความยากจน

๑.๑.๑ เป้าหมายซ่ึงเป็นหัวใจสำคัญหรือเป็นจุดแตกหักของการแก้ไข
ปญั หาความยากจนอย่ทู ค่ี รวั เรือน โดยมอี งคก์ รการขบั เคลือ่ นทกุ ระดบั ท้ังระดับบุคคล ระดบั
ชมุ ชน และระดบั ประเทศ

๑.๑.๒ แนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของครัวเรือน คือ การ
เปลี่ยนภาระให้เป็นพลังโดยการลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ และขยายโอกาส อย่างน้อยที่สุดต้อง
ให้ครัวเรือนมีความพอเพียง

๑.๑.๓ ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงครัว
เรอื นที่ประสบปญั หาสงั คมหรือครอบครวั เชน่ คนเจบ็ คนป่วย คนชรา และคนพกิ าร โดย

495

ฟื้นฟ ู ดูแล บำบัดรักษา และให้การสงเคราะห์ เพื่อให้คนเหล่านี้ไม่เป็นภาระของครอบครัว
อกี ต่อไป

๑.๑.๔ ให้นายอำเภอเป็นหัวหน้าทีม และมีส่วนราชการต่าง ๆ
ประกอบเป็นทีมงานลงไปแก้ไขปัญหาและให้ความช่วยเหลือเป็นรายครัวเรือน โดยมี ศตจ.
เป็นผู้ประสานงาน และมหี น่วยราชการต่าง ๆ ให้การสนับสนุน

๑.๑.๕ ให้มีภาคีต่าง ๆ เข้าร่วมดำเนินการแก้ไขปัญหาความ
ยากจน คือ ส่วนราชการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และผู้นำชุมชนใน
พื้นที

๑.๑.๖ ให้สนับสนุนและส่งเสริมภาคเอกชนให้เข้ามามีส่วนร่วมกับ
การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยการสร้างงาน สร้างอาชีพ ท้ังภาคเกษตรกรรมและภาค
อตุ สาหกรรม เพื่อใหป้ ระชาชนมีอาชพี มรี ายไดเ้ พ่ิมมากขน้ึ

๑.๑.๗ ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่คนยากจน โดยถือว่าการแก้ไข
ปัญหาความยาจนเป็นส่วนหนึ่งของการเรยี นรู้ เชน่ ใหค้ นท่ีมีความรู้ หรือปราชญช์ าวบา้ น มา
ใหค้ วามรูใ้ นการประกอบอาชีพโดยอาศยั ประสบการณ ์ และการเรียนรู้ร่วมกัน

๑.๒ ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ สงั เกต และขอ้ สง่ั การของนายกรัฐมนตรี

ภายหลังจากท่ีได้รับฟังสรุปผลและแนวทางการขจัดความยากจนจาก
ผอ. ศตจ. และการบรรยายสรุปเส้นทางการพัฒนาสู่การพอเพียง กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหา
ความยากจน อำเภออาจสามารถ จากเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมท่ีเกี่ยวข้อง นายกรัฐมนตรี จึงให้ข้อ
เสนอแนะ ขอ้ สังเกต และขอ้ สง่ั การ แนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนดงั นี

๑.๒.๑ ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต เพ่ือเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ความยากจน

๑) ให้ภาคีและหน่วยงานต่าง ๆ ยึดหลักปฏิบัต ิ คือ ต้องมี
หัวใจรักประชาชน และมีความสุขท่ีได้ช่วยคนจน นายอำเภอซ่ึงเป็นหัวหน้าทีมต้องไม่เป็น
นายประชาชน และไม่รู้สึกว่าประชาชนจะขอความช่วยเหลือ นายอำเภอต้องเดินไปหา
ประชาชน อยา่ ใหป้ ระชาชนมาหา

๒) ให้ใช้เคร่ืองมือในการทำงาน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
และหน่วยงานต่างๆ มีทรัพยากรและเครื่องมือที่สามารถให้การช่วยเหลือคนยากจนตาม
ศักยภาพและตามความจำเป็น เช่น เงินทุนประกอบอาชีพ เอกสารสิทธิท่ีดินทำกิน และ
ความรู้ต่าง ๆ ในการประกอบอาชีพ เป็นต้น จึงขอให้ใช้เคร่ืองมือเหล่านี้แก้ไขปัญหาความ
ยากจนอยา่ งเต็มท
ี่
๓) ให้จัดทำแผนเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน โดยคนใน
ชุมชนรว่ มกนั วิเคราะห์ อปุ สงค ์ (Demand) และอปุ ทาน (Supply) เพ่อื ให้ชมุ ชนสามารถจัด
ทำแผนการผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ ได้อย่างพอเพียงในชุมชนน้ัน (Community Self
Contained) ซง่ึ หากมีเหลอื ก็ยงั สามารถนำไปจำหนา่ ยในพน้ื ทช่ี ุมชนอื่นๆ ได้อีกดว้ ย

496

๔) ให้คนยากจนช่วยเหลือและพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด โดย
มหี น่วยงานตา่ ง ๆ คอยอำนวยความสะดวก ส่งเสรมิ สนับสนุนดา้ นอาชพี รวมทัง้ รณรงค์ให้จดั
ทำบัญชรี บั - จ่าย เป็นรายครวั เรอื นอยา่ งตอ่ เน่ือง

๕) ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงต่าง ๆ รับผิดชอบพื้นท่ีตามท่ี
ได้รับมอบหมาย เช่นเดียวกันกับรองนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการประจำสำนักนายก
รัฐมนตรีท่ีมีพ้ืนที่จังหวัดรับผิดชอบเพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือ ศตจ. ในการแก้ไขปัญหาความ
ยากจนในพน้ื ท่ีระดับจงั หวัดและระดับอำเภอ

๖) ให้หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เป็น
ประโยชน์แก่ประชาชนได้เผยแพร่ความรู้และเทคโนโลยีดังกล่าวไปสู่ประชาชน เช่น จัดทำ
แผ่น C.D. แจกจา่ ย หรอื จดั ทำหลกั สูตรตา่ ง ๆ เพื่อใหป้ ระชาชนระดับรากหญา้ ไดศ้ ึกษา อบรม
และนำความร้เู หล่านี้ไปใช้ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี เพม่ิ รายได ้ เปน็ ตน้

๗) บริหาร Supply Side กับ Demand Side ให้มี
ดุลยภาพ นายกรัฐมนตรีได้ให้ข้อสังเกตว่า กระทรวงต่าง ๆ ยังมุ่งการบริหาร Supply Side
ซงึ่ เปน็ การมองแบบ Inside out กระทรวงต่าง ๆ ต้องค้นหา Demand for service โดยตอ้ ง
บรหิ าร Demand Side ด้วย ซง่ึ เปน็ การมองแบบ Outside in

๘) นายกรัฐมนตรีได้ให้ข้อเสนอแนะว่าควรปรับปรุงราคา
สินค้าการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ที่เพียงพอในการประกอบอาชีพ เนื่องจากปัจจุบัน
ต้นทนุ ราคาสนิ ค้าการเกษตรมีราคาสงู ตามการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ยและราคานำ้ มนั

๑.๓ ข้อส่งั การของนายกรัฐมนตรีกบั กระทรวงต่าง ๆ

๑.๓.๑ กระทรวงมหาดไทย

๑) ให้กระทรวงมหาดไทยร่วมกับทุกกระทรวงไปเตรียมการปรับ
โครงสร้างโดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงสร้างการมอบหมายอำนาจในการปฏิบัติงานระดับพื้นท่ี
จังหวัดและอำเภอ โดยการศึกษารวบรวมข้อมูลจากปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น แล้ว
ระดมความคิดเหน็ หรือหารอื รว่ มกนั หากไดข้ ้อสรปุ ท่ีแนช่ ัดกใ็ ห้นำเสนอคณะรัฐมนตรตี อ่ ไป

๒) ในการดำเนินงานคาราวานแกจ้ น นายอำเภอต้องให้ความสำคญั กับ
การแก้ไขปัญหาด้านสังคม เช่น คนเจ็บป่วย คนชรา คนพิการ ต้องให้การช่วยเหลือโดยนำ
ไปฟื้นฟู บำบัด ให้การรักษา และให้การสงเคราะห์ สำหรับเด็กท่ีอยู่ในวัยเรียนแต่ไม่ได้เรียน
หนังสือเพราะมีภาระท่ีต้องดูแลคนชรา คนพิการในครอบครัว ก็ให้ทุนการศึกษา รวมถึงต้องให้
คนยากจนได้มีโอกาสก้าวหน้าในการประกอบอาชีพหรือมีรายได้เพ่ิมมากขึ้น เพ่ือเป็นการสร้าง
ความหวังให้กบั คนยากจน

๓) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดดูแลอำเภอ โดยให้การช่วยเหลือและ
สนับสนุนเครื่องมือต่างๆ เพ่ือให้อำเภอสามารถนำเครื่องมือเหล่าน้ันไปใช้ในการแก้ไขปัญหา
ความยากจนในพ้นื ที่อย่างทัว่ ถงึ และมีประสทิ ธิภาพ

๔) ให้กระทรวงมหาดไทยจัดทำบัตร Smart Card กบั คนยากจนกอ่ น
เพราะทำให้การให้ความช่วยเหลือคนจนหรือให้ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียนที่ยากจนเป็นไป

497

อย่างทว่ั ถึง และรวดเรว็ มากย่งิ ขน้ึ

๑.๓.๒ กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์

ให้นำทฤษฎีใหม่ไปดำเนินการในพื้นที่โรงเรียนต่าง ๆ และหากเห็น
ว่าโรงเรียนใดมีศักยภาพในการเป็นแกนกลางในการเผยแพร่ความรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ก ็
ให้กระทรวงเกษตรฯและกระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนงบประมาณด้านวิชาการ พันธ์ุพืช
พันธ์ุสัตว์ เข้าไปชว่ ยเหลอื โรงเรียนเหล่าน้ใี หเ้ ป็นศนู ย์กลางถา่ ยทอดความรใู้ หก้ บั ประชาชน

๑.๓.๓ กระทรวงศึกษาธกิ าร

๑) ให้จัดลำดับการมอบทุนการศึกษาเพ่ือให้ลงไปที่ครอบครัวที่ยากจน
โดยเฉพาะอย่างย่ิงครอบครัวที่ยากจนท่ีต้องเล้ียงดูคนท่ีเป็นภาระ เช่น คนเจ็บ คนป่วย คน
ชรา และคนพิการ ท่ไี มส่ ามารถทำมาหากินได้ เพอื่ เปน็ การแบง่ เบาภาระของครอบครวั

๒) ให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล เป็นศูนย์เสริมสร้างภูมิปัญญาความรู้ให้กับท้องถิ่น โดยมีกรมการพัฒนาชุมชน
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมสินค้า OTOP ส่งเสริมสินค้า
หัตถกรรมในครวั เรอื น

๑.๓.๔ กระทรวงสาธารณสุข

๑) ให้ต้ังทีมวิจัยเพ่ือวิจัยสาเหตุของความพิการต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ
ป้องกัน ดแู ล ไมใ่ หเ้ กิดความพิการขึน้ มาได้

๒) ให้จิตแพย์เขา้ ไปบำบดั ดแู ล รกั ษา ผู้เจบ็ ปว่ ยที่ตอ้ งการ การบำบัด
ทางจิต ซึ่งยงั มอี ยูอ่ ีกเปน็ จำนวนมากในพนื้ ท่ีต่าง ๆ

๓) ให้กรมอนามยั รับผดิ ชอบ ดูแลสขุ อนามยั ตามพน้ื ทต่ี า่ ง ๆ ที่เป็นบอ่
เกดิ ของเช้อื โรคและพยาธิต่าง ๆ รว่ มกบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

๑.๓.๕ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์

ให้ทำการวิจัยเพื่อให้คนพิการมีความสามารถมากขึ้น โดยร่วมมือกับ
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน และกระทรวงสาธารณสุข คิดและประดิษฐ์เคร่ืองมือ
ต่าง ๆ ท่ีสามารถทำให้คนพิการช่วยเหลือตัวเองได้มากที่สุด เพ่ือให้คนพิการดูแลและช่วย
เหลอื ตัวเองได้ จะได้ไมเ่ ป็นภาระกับครอบครวั

๑.๓.๖ กระทรวงอุตสาหกรรม

ให้กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ศึกษาการแปรรูป
สินค้าเกษตร ให้เป็นการแปรรูประดับทุติยภูมิ เพ่ือให้มีราคาเพ่ิมสูงขึ้น โดยใช้เคร่ืองมือท่ีราคา
ไม่แพงมากนักสามารถประดิษฐแ์ ละทำเองได้ในท้องถน่ิ

๑.๓.๗ กระทรวงการคลงั

ในปัจจุบันประชาชนเร่ิมเข้าใจปัญหาความยากจนและเริ่มเห็นใจคนไทย
ด้วยกัน จึงต้องการท่ีจะช่วยเหลือคนยากจนโดยใช้เงินภาษีของตนท่ีจ่ายให้กับรัฐไป จึงให้
กระทรวงการคลังไปศึกษาแนวทางการเสียภาษี โดยคนที่เสียภาษีสามารถขอให้รัฐนำเงินที่
ตนเองเสียภาษีบางส่วนไปชว่ ยแก้ไขปัญหาความยากจนในพ้นื ที่ ทตี่ ้องการจะช่วยเหลอื ได้

498

๒. การประชมุ มอบนโยบายการขจดั ความยากจน

นายกรัฐมนตรีได้เป็นประธานการประชุมมอบนโยบายการขจัดความยากจน
ของศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.) โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม
ประกอบด้วย สมาชิกวฒุ ิสภา คณะกรรมการ ศตจ. ผู้ทรงคุณวฒุ จิ ากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
ผู้บริหารระดับสงู จากหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งในสว่ นกลาง ผู้วา่ ราชการจังหวดั องค์กรภาคเอกชน
และองค์กรประชาชนท่ีเกี่ยวข้อง เมื่อวันจันทร์ท่ี 30 มกราคม 2549 ณ โรงแรมรามา
การเ์ ดน้ ส์ กรงุ เทพมหานคร

๒.๑ การดำเนินการขจดั ความยากจนของ ศตจ.

ก่อนการประชุม พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการ
ต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาต ิ ได้บรรยายสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา ข้อขัดข้อง
ของการดำเนินการขจัดความยากจนที่ผ่านมา พร้อมท้ังนำเสนอแนวทางการขจัดความยากจน
ที่ ศตจ. จะดำเนนิ การตอ่ ไป ให้นายกรฐั มนตรที ราบ ดังน้

๒.๑.๑ ปลูกฝังหลักการ “เศรษฐกิจพอเพียง” ในระดับครัวเรือนและ
ชมุ ชน โดยเน้นให้ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลางในการแกไ้ ขปัญหา

๒.๑.๒ ปรับปรุงโครงสร้างการดำเนินงาน และพัฒนากลไกการปฏิบัติ
งานทีแ่ สดงให้เห็นถงึ แนวทาง กระบวนการ และวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาอย่างเปน็ ระบบ

๒.๑.๓ จัดให้มีโครงการภูมินิเวศน์ท่ีชัดเจนโดยให้อยู่ในระดับจังหวัด
และสามารถดำเนนิ การเป็น Contract ขนาดใหญเ่ ช่อื มโยงในระดับภมู ภิ าคและระดับชาตไิ ด

๒.๑.๔ จดั ตัง้ ศนู ยก์ ลางในการรวบรวม พฒั นา และถา่ ยทอดองค์ความรู้
และเทคโนโลยี เพื่อการแก้ไขปัญหาความยากจนสู่สากล

๒.๑.๕ ศตจ. จะดำเนินการขจัดความยากจนตามแผนการต่อสู้เพ่ือ
เอาชนะความยากจน (Roadmap) พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๑ โดยเน้นย้ำเป็นพิเศษ ในเร่ือง
ต่างๆ ดงั น
้ี
๑) ให้ ศตจ. เปน็ ศนู ย์รวมของนโยบาย แผนงาน งบประมาณ
บุคลากร เครื่องมือท่ีเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาความยากจนของกระทรวงและส่วนราชการ
ตา่ ง ๆ ของรัฐ

๒) ตรวจสอบข้อมลู คน้ หาคนจน แกป้ ัญหาเร่งด่วนของผู้จด
ทะเบียนแกไ้ ขปญั หาสงั คมและความยากจนเชงิ บรู ณาการ

๓) สร้างเสริมภูมิปัญญาให้กับคนยากจน โดยยึดหลักว่า
ปัญญาสำคัญกว่าเงินโดยเฉพาะการเผยแพร่โครงการตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ฯ และของสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ออกไปสู่ประชาชนอย่าง
กว้างขวาง

๔) ศตจ. จะผสมผสานและบูรณาการพลังท้ังสิ้นในสังคม
เพอ่ื เข้าตอ่ สกู้ ับความยากจนในชาติให้บรรลุเปา้ หมายตามทนี่ ายกรฐั มนตรไี ด้ตั้งเจตนารมณไ์ ว


499

๒.๒ การมอบนโยบายการขจดั ความยากจนของนายกรัฐมนตร

ภายหลังจากรับฟังการบรรยายสรุปของ ผอ.ศตจ. นายกรัฐมนตรไี ดก้ ล่าว
เนน้ ย้ำถงึ การต่อสเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนต้องมเี จา้ ภาพ เปรยี บเสมอื นการทำสงครามทม่ี ีจดุ
แตกหักอยู่ท่ีครัวเรือนและขอให ้ ผอ.ศตจ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันแก้ไขปัญหาให้
บรรลุผลสำเรจ็ พรอ้ มทั้งได้มอบแนวทางการขจดั ความยากจน ดังนี้

๒.๒.๑ เป้าหมายของการขจัดความยากจนอยู่ท่ีครัวเรือน ต้องให้ตนเอง
พอเพียงก่อนไปสู่ครัวเรือนพอเพียง ไปเลี้ยงตำบล ตำบลพอเพียงก็เลี้ยงอำเภอ อำเภอพอ
เพยี งกเ็ ล้ียงจังหวัด จังหวดั พอเพยี งก็เลีย้ งประเทศ จากนั้นกพ็ ัฒนาไปสู่ครัวของโลก

๒.๒.๒ ในภาพรวมของประเทศ การแก้ไขปัญหาความยากจน ต้อง
พัฒนาเศรษฐกิจในระดับมหภาค โดยเพ่ิมผลผลิต ขยายการผลิตเพิ่มข้ึน เพื่อเป็นการสร้าง
งาน สร้างอาชพี สร้างรายไดใ้ ห้กับประชาชนเพ่มิ มากขน้ึ

๒.๒.๓ ส่งเสริมให้ความร ู้ และฝึกอบรมวิชาชีพแก่คนยากจน เพ่ือให้คน
ยากจน มีอาชีพมรี ายได้ มงี านทำ ตลอดปี

๒.๒.๔ ระยะเวลา ๔ ปีน้ี (พ.ศ. ๒๕๔๘- ๒๕๕๒) รัฐบาลมุง่ มั่นทีจ่ ะ
สร้างสินทรัพย์ทางปัญญาให้กับปัจเจกบุคคล สร้างสินทรัพย์ทางวัฒนธรรมเพ่ือให้เกิดความ
ร่วมมอื กัน และสร้างสินทรัพย์ทางธรรมชาติให้กลับคนื สู่ระบบนิเวศน

๒.๒.๕ ให้ทุกคนม่ันใจว่า ความยากจนสามารถแก้ไขได้ การขจัดความ
ยากจนไมเ่ กินขดี ความสามารถของทุกคน หากทกุ คนผนกึ กำลงั และทมุ่ เทหัวใจกนั อย่างเตม็ ท
ี่
๒.๒.๖ การต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนเปน็ เร่อื งของทุกคนทีต่ อ้ งรว่ มกนั
ทำงานนี้ให้บรรลุผลสำเร็จ การแก้ไขปัญหาความยากจนไม่ใช่เร่ืองของฝ่ายใด และไม่ใช่เรื่อง
การเมอื ง แต่เป็นวาระแหง่ ชาติ

๒.๒.๗ ให้ผวู้ า่ ราชการจังหวัดนำพลังทงั้ หมดในจังหวัด คอื ผนู้ ำชาวบา้ น
ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการต่าง ๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้าร่วมถักทอ ร้อยรัด
เป็นเครือข่าย ขยายความร่วมมือ และผนึกกำลังร่วมกันแก้ไขปัญหาความยากจนให้บรรลุผล
สำเรจ็

จึงเรียนมาเพ่ือทราบ และแจ้งหน่วยงานในสังกัดท่ีเกี่ยวข้องได้นำนโยบายและ
แนวทางการขจัดความยากจนของนายกรัฐมนตรีดังกล่าว ไปดำเนินการแก้ไขปัญหาความ
ยากจนใหบ้ รรลุผลสำเร็จต่อไป







(ลงชอ่ื ) สุจริต ปจั ฉิมนันท์

(นายสุจริต ปจั ฉมิ นนั ท์)

ปลัดกระทรวงมหาดไทย

รองผอู้ ำนวยการศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพือ่ เอาชนะความยากจนกระทรวงมหาดไทย


500

(สำเนา)

คำส่งั ศนู ย์อำนวยการต่อสเู้ พื่อเอาชนะความยากจนแหง่ ชาต

ที่ ๓ / ๒๕๔๙

เรอ่ื ง การจดั ตัง้ ศูนยอ์ ำนวยการปฏิบัติการตอ่ สูเ้ พอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน
(ศตจ.ปชช.)

-----------------------------

ตามท่ีได้มีคำส่ังสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๕๑๖/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เร่ืองแต่งตั้งประธานท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรีและผู้อำนวยการศูนย์เฉพาะกิจตาม
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยให้มีการจัดต้ังศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจน
แห่งชาติ และคำสั่งสำนกั นายกรัฐมนตรที ี่ ๒๔/๒๕๔๙ ลงวันท ่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๔๙ เร่อื ง
แต่งต้ังผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการท่ีปรึกษาศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่ง
ชาติ และมอบอำนาจเพิ่มเติมให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือศูนย์ปฏิบัติการ
ระดับต่าง ๆ รายละเอียดตาคำสง่ั ที่อ้างถึงขา้ งต้น นัน้

อาศัยอำนาจตามคำส่ังสำนักนายกรัฐมนตรีข้างต้น จึงให้จัดต้ังศูนย์อำนวยปฏิบัติ
การต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน (ศตจ. ปชช.) ให้มีองค์ประกอบและอำนาจ
หนา้ ทด่ี ังต่อไปน ี้

๑. องคป์ ระกอบ

๑.๑ นายไพบลู ย ์ วัฒนศิริธรรม ท่ปี รกึ ษา

๑.๒ นายประยงค ์ รณรงค์ ทป่ี รึกษา

๑.๓ พลเอกสุรินทร์ พิกลุ ทอง ทปี่ รกึ ษา

๑.๔ นายกติ ติศักด์ ิ สนิ ธวุ ณิช ที่ปรึกษา

๑.๕ นายนิรนั ดร์ จงวฒุ เิ วศย ์ ท่ปี รกึ ษา

๑.๖ นายกฤษดา สมประสงค ์ ทป่ี รกึ ษา

๑.๗ นายกฤษฎา อุทยานนิ ทป่ี รึกษา

๑.๘ นายเอ็นน ู ซ่อื สวุ รรณ ทปี่ รกึ ษา

๑.๙ ดร.สลี าภรณ ์ บวั สาย ที่ปรึกษา

๑.๑๐ นายชัชวาลย์ ทองดีเลศิ ทป่ี รกึ ษา

๑.๑๑ นายสรุ ินทร ์ กจิ นจิ ชวี ์ ประธานกรรมการรว่ ม

๑.๑๒ นายแก้ว สงั ขช์ ู ประธารกรรมการร่วม

๑.๑๓ นายสังคม เจริญทรพั ย ์ ประธานกรรมการรว่ ม

๑.๑๔ นางพนั ทพิ ย ์ บตุ รตาด ประธานกรรมการรว่ ม

๑.๑๕ นายอดุลย ์ ยกคำจู ประธานกรรมการรว่ ม

๑.๑๖ ผู้อำนวยการสำนกั งานคณะกรรมการแหง่ ชาติ กรรมการ

ว่าด้วยผู้นำชุมชนท้องถ่นิ


501

๑.๑๗ นายแพทยพ์ ลเดช ปนิ่ ประทีป กรรมการ

สถาบนั ชุมชนทอ้ งถนิ่ พัฒนา

๑.๑๘ นายสนอง เนยี มเหลี่ยม กรรมการ

เครือข่ายแผนแมบ่ ทชมุ ชนภาคเหนอื

๑.๑๙ นางมกุ ดา อนิ ตะ๊ สาร กรรมการ

ศูนย์รวมน้ำใจธนาคารหมู่บ้าน จ.พะเยา

๑.๒๐ นายเกษตร ยศรงุ่ เรือง กรรมการ

เครือข่ายแผนแม่บทชมุ ชนภาคเหนอื

๑.๒๑ นายมะล ิ ทองคำปลิว กรรมการ

เครือข่ายทรัพยากรภาคเหนือ

๑.๒๒ นายสน รปู สงู กรรมการ

เครือขา่ ยเกษตรกร อ.แวงน้อย จ.ขอนแกน่

๑.๒๓ นายสมคิด สริ วิ ฒั นากุล กรรมการ

เครอื ข่ายแผนแมบ่ ทชมุ ชนอสี าน

๑.๒๔ นายไพศิษย ์ สภุ า กรรมการ

เครือขา่ ยเกษตรอนิ ทรีย์ จ.หนองบัวลำภ

๑.๒๕ นายสรุ พร ชยั ชาญ กรรมการ

เครอื ข่ายผสู้ งู อายุ จ.มกุ ดาหาร

๑.๒๖ นายพรมมา สุวรรณศร ี กรรมการ

เครอื ขา่ ยป่าชมุ ชนแมว่ งศ์ - แมเ่ ปิน

๑.๒๗ นางศิริวรรณ บตุ ราช กรรมการ

เครือขา่ ยชมุ ชนคนตราด

๑.๒๘ นายเสมยี น หงษ์โต กรรมการ

เครือข่ายเกษตรอนิ ทรยี ์ จ.สุพรรณบรุ ี

๑.๒๙ นายสมชาย นาคเทียม กรรมการ

เครือข่ายองคก์ รชมุ ชนภาคกรงุ เทพ/ปรมิ ณฑล

๑.๓๐ นายอำพร ดว้ งปาน กรรมการ

กลมุ่ ออมทรพั ย์ตำบลคลองเปียะ จ.สงขลา

๑.๓๑ นายโกเมศร์ ทองบญุ ช ู กรรมการ

เครือขา่ ยแผนแม่บทชุมชนภาคใต้

๑.๓๒ นายบุญยืน คงเพชรศักด ์ กรรมการ

โครงการจังหวัดบูรณาการ ประชาคมแม่ฮอ่ งสอน

๑.๓๓ นางสาวสมสขุ บญุ ญะบัญชา กรรมการและเลขานกุ าร

สถาบนั พฒั นาองคก์ รชุมชน




502

๒. อำนาจหน้าที่

๒.๑ ประสานงานและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายองค์กรภาคประชาชนทุก
ระดบั ให้เกิดความเขม้ แขง็ มีเอกภาพ ถักทอเชอ่ื มโยงให้สงั คม ชมุ ชนเขม้ แขง็ ให้ประชาชน
เป็นศูนยก์ ลางในการแก้ไขปัญหาความยากจน

๒.๒ ปฏิบัติการแก้ไขปัญหาความยากจนในระดับพ้ืนท่ี โดยผนึกกำลังร่วมกัน
ระหว่างหน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ผู้นำชุมชน กำนัน ผูใ้ หญ่บ้าน ตลอดจนเครอื ขา่ ยภาค
ประชาชนในพ้ืนท่ี เพ่ือให้การแก้ไขปัญหาความยากจนเป็นเร่ืองของทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมกันใน
การแกไ้ ขปญั หา

๒.๓ ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนท่ีได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้
เพือ่ เอาชนะความยากจน

ทงั้ นตี้ ้ังแต่บัดน้ีเปน็ ต้นไป




สัง่ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๙




(ลงชือ่ ) พลเอก ชวลติ ยงใจยทุ ธ

(ชวลิต ยงใจยทุ ธ)


ประธานท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรดี า้ นนโยบายขจัดความยากจน

ผูอ้ ำนวยการศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาต




503

ดว่ นที่สุด
(สำเนา)


ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๗๕๑๓ กรมทด่ี นิ

ถนนพระพิพธิ กทม.๑๐๒๐๐

๘ มีนาคม ๒๕๔๙

เรือ่ ง การจัดทำสาธารณูปโภคในท่ีดินสาธารณประโยชน์ ตามแผนปฏิบัติการบริหาร

จัดการท่ีดินของรัฐกรณีการบุกรุกท่ีดินสาธารณประโยชน์เพ่ือแก้ไขปัญหาความ

ยากจน

เรยี น ผ้วู ่าราชการจงั หวดั ทุกจงั หวดั

อา้ งถงึ หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นทสี่ ดุ ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๔๐๑๔

ลงวันท่ ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘



ตามหนังสือท่ีอ้างถึง ขอให้จังหวัดแจ้ง ศตจ.อ./ กิ่ง อ. ตรวจสอบแปลงท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมทั้งคัดเลือกจัดทำโครงการบริหารจัดการ
ที่ดินของรัฐ กรณีมีการบุกรุกท่ีดินสาธารณประโยชน์เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน รวมท้ัง
การจัดทำสาธารณูปโภคพ้ืนฐานในพ้ืนที่ส่งให้กรมที่ดินพร้อมรายละเอียดท่ีเก่ียวข้อง เพื่อ
จัดสรรงบประมาณในการดำเนินการต่อไป นนั้

ในปีงบประมาณท่ีผ่านมาในส่วนของการจัดทำสาธารณูปโภค กรมท่ีดินได้รับ
แจ้งจากสำนักงานที่ดินจังหวัดพ้ืนท่ีดำเนินการส่วนมากว่า ยังไม่มีความพร้อมท่ีจะดำเนินการ
ประกอบกับมีระยะเวลาอันจำกัด และมีการเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (งบลงทุน)
กรมท่ีดินจึงได้ประสานงานกับกรมการปกครอง ให้เป็นผู้ดำเนินการตามโครงการในส่วนของ
การจัดทำสาธารณูปโภค และรับเป็นหน่วยเบิกจ่ายแทนกรมที่ดิน สำหรับการดำเนินการใน
ปีงบประมาณ ๒๕๔๙ ได้รับทราบว่ามีบางจังหวัดที่สำนักงานที่ดินจังหวัดมีความพร้อมที่จะ
ดำเนนิ การ ดังนัน้ จึงขอใหจ้ ังหวัดแจง้ ใหเ้ จ้าพนกั งานที่ดนิ จังหวัดพิจารณาว่า โครงการฯ ใด
ที่สมควรต้องจัดทำสาธารณูปโภคในพ้ืนที่ และสำนักงานท่ีดินจังหวัดพร้อมดำเนินการ ให้แจ้ง
กรมที่ดินทราบโดยด่วน พร้อมทั้งจัดทำเอกสารรายละเอียดประกอบ ดังที่ได้สั่งการไว้แล้ว
ตามหนงั สือท่ีอา้ งถงึ
















504

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องทราบและถือปฏิบัติ
ต่อไป



ขอแสดงความนับถือ



(ลงชอ่ื ) พีรพล ไตรทศาวทิ ย์

(นายพีรพล ไตรทศาวิทย)์

อธิบดกี รมท่ดี นิ











สำนักจัดการท่ดี นิ ของรฐั

โทร. /โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ต่อ ๓๖๗ ,๓๖๙






















505

ดว่ นท่ีสุด
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๐๙๖๐๙ กรมท่ดี ิน

ถนนพระพพิ ิธ กทม.๑๐๒๐๐

๒๗ มีนาคม ๒๕๔๙

เร่อื ง การส่งคนื ท่ีราชพสั ดุเพ่ือรองรบั การใชป้ ระโยชน์ตามนโยบายของรฐั บาล

เรยี น ผู้ว่าราชการจังหวดั ทุกจังหวัด

ส่ิงทีส่ ่งมาด้วย หนงั สอื กรมธนารักษ์ ดว่ นท่ีสุด ที่ กค ๐๓๑๒/ว ๒๓

ลงวนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙



ด้วยกระทรวงมหาดไทยแจ้งว่า กรมธนารักษ์ได้มีหนังสือขอให้ส่วนราชการ/
หน่วยงานในสังกัดท่ีครอบครองที่ราชพัสดุให้ความร่วมมือในการสำรวจที่ดินท่ีราชพัสดุท่ีส่วน
ราชการ/หน่วยงานไม่ได้ใช้ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ไม่เหมาะสม หรือใช้ประโยชน์ไม่เต็มพื้นท่ ี
เพื่อกรมธนารักษ์จะได้นำที่ดินราชพัสดุเหล่าน้ันไปบริหารเพื่อรองรับนโยบายของรัฐบาลในการ
ขจัดความยากจน เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนมีท่ีดินทำกินและมีที่อยู่อาศัย เพ่ือยกระดับ
คุณภาพชีวิต ทำให้การบริหารท่ีดินราชพัสดุคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติและ
ประชาชน รายละเอียดปรากฎตามส่ิงท่ีส่งมาดว้ ย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจ้งให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ทราบ
เพื่อให้การสนับสนุน และสั่งการให้หน่วยงานในสังกัดที่ครอบครองที่ดินราชพัสดุให้ความร่วม
มือในการดำเนินการเพ่ือกรมธนารักษ์จะได้นำที่ดินราชพัสดุเหล่าน้ันไปบริหารเพื่อรองรับ
นโยบายของรัฐบาลในการขจดั ความยากจนตอ่ ไป



ขอแสดงความนับถอื



(ลงช่อื ) สมศักดิ์ สลิลศิร

(นายสมศักด ิ์ สลิลสิร)ิ

รองอธบิ ด ี ปฏบิ ตั ิราชการแทน

อธิบดกี รมท่ีดิน







สำนักจัดการทีด่ นิ ของรัฐ

โทร (โทรสาร) ๐ ๑๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ต่อ ๓๖๗ , ๓๖๙


506

ดว่ นทสี่ ุด
(สำเนา)


ที่ กค ๐๓๑๒ /ว ๒๓ กรมธนารักษ์

ถนนพระราม ๖ กรุงเทพ ฯ ๑๐๔๐๐

๒๓ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๔๙

เรื่อง การส่งคนื ท่รี าชพัสดุเพ่อื รองรบั การใชป้ ระโยชน์ตามนโยบายของรฐั บาล

เรยี น ปลัดกระทรวงมหาดไทย

สง่ิ ที่สง่ มาด้วย ๑. ประมาณการเบื้องต้นของการใช้ที่ดิน เพื่อรองรับการดำเนินโครงการ

ตามนโยบายของรฐั บาล

๒. แนวทางปฏบิ ตั แิ ละขัน้ ตอนในการดำเนินการขอคืนที่ราชพสั ด



ตามท่ีรัฐบาลกำหนดนโยบายบริหารราชการแผ่นดินเพื่อนำประเทศไปสู่ความ
สมดุล มั่นคงและย่ังยืน โดยวางนโยบายขจัดความยากจน พัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพ
ปรบั โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ให้สมดุลและให้แข่งขนั ได้ น้นั

กรมธนารักษ์ขอเรียนว่า การดำเนินโครงการต่าง ๆ ท้ังด้านสังคม สิ่ง
แวดล้อม และเศรษฐกิจตามนโยบายรัฐบาลดังกล่าว ปัจจัยสำคัญท่ีจะทำให้โครงการบรรลุเป้า
หมายจะต้องมีท่ีดินมารองรับโครงการดังนั้น กรมธนารักษ์ในฐานะผู้มีหน้าที่ในการบริหาร
จัดการท่ีราชพัสดุจึงได้เสนอกระทรวงการคลังเพ่ือเสนอมาตรการให้ส่วนราชการส่งคืนที่ราช
พัสดุเพื่อรองรบั การใชป้ ระโยชน์ตามนโยบายของรัฐบาลตอ่ คณะรัฐมนตรีเพ่อื พจิ ารณาให้ความ
เหน็ ชอบมาตรการให้ส่วนราชการสง่ คืนทีร่ าชพสั ดุ ดงั นี้

๑. ท่ีดินราชพัสดุท่ีอยู่ในความปกครองดูแลของกรมธนารักษ์มีประมาณ
๑๒.๕ ล้านไร่ แยกเปน็

- ที่ดินที่ใช้ประโยชน์ในราชการประมาณ ๑๒.๔ ล้านไร่ หรือประมาณ
ร้อยละ ๙๙.๒ โดยเปน็ ทด่ี ินทีส่ ว่ นราชการใช้ประโยชนท์ ัว่ ไป ประมาณ ๘.๒ ลา้ นไร ่ และ
ท่ีดินท่ีกระทรวงกลาโหมใช้ในราชการทหารท่ีเป็นความลับเกี่ยวเนื่องกับความม่ันคงของ
ประเทศ ประมาณ ๔.๒ ล้านไร

- ท่ีดินที่เหลือประมาณ ๐.๑ ล้านไร่ หรือประมาณร้อยละ ๐.๘ เป็น
ที่ดนิ เพอื่ ใช้จดั หาประโยชน

๒. กรมธนารักษ์ ไดจ้ ัดทำแผนยุทธศาสตร์ ๕ ปี (๒๕๔๘ - ๒๕๕๒) การ
บริหารท่ีราชพัสดุรองรับนโยบายของรัฐบาลในเร่ืองนโยบายขจัดความยากจนเพ่ือเป็นการ
สนับสนุนให้ประชาชนมีท่ีทำกินและท่ีอยู่อาศัย นโยบายพัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ เพ่ือ
เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต และนโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขัน และ
ได้ประมาณการเบื้องต้นของการใช้ท่ีดิน เพ่ือรองรับการดำเนิน โครงการตามนโยบายของ
รัฐบาล รวมทั้งสำรองไว้เพื่อใช้ประโยชน์ตามนโยบายประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ - ๑,๐๐๐,๐๐๐ ไร ่

507

รายละเอยี ดปรากฎตามสง่ิ ที่ส่งมาดว้ ย ๑

๓. เพ่ือให้มีที่ดินราชพัสดุที่มีความพร้อมที่จะนำมารองรับโครงการต่างๆ ดัง
กล่าว ให้ทุกส่วนราชการที่ครอบครองและใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุส่งคืนที่ราชพัสดุอย่างน้อย
ร้อยละ ๑๐ ของพื้นท่ีท่ีครอบครองใช้ประโยชน์ทั้งหมดในปัจจุบันให้แก่กรมธนารักษ์ภายใน
๑ ป ี โดยแบ่งการคืนพนื้ ที่ออกเป็น ๒ ระยะ คือ

ระยะแรก ส่งคนื ท่ีราชพสั ดรุ อ้ ยละ ๕ ภายใน ๔ เดอื น นบั แตว่ นั ที่
คณะรัฐมนตรีมีมตอิ นุมตั ิ

ระยะที่ ๒ สง่ คนื ท่เี หลอื อีกรอ้ ยละ ๕ ภายใน ๑ ป ี นบั แตว่ นั ท่คี ณะ
รฐั มนตรมี มี ตอิ นุมัต

๔. คณะกรรมการกล่ันกรองเร่ืองเสนอคณะรัฐมนตร ี คณะท่ี ๑ ได้ประชุม
พิจารณาเรื่องที่กระทรวงการคลังเสนอมาตรการให้ส่วนราชการส่งคืนที่ราชพัสดุ เพ่ือรองรับ
การใช้ประโยชน์ตามนโยบายของรัฐบาล เมื่อวันอังคารท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘ ณ ตึก
บัญชาการทำเนนียบรฐั บาล สรุปวา่

๔.๑ ในหลักการเห็นด้วยกับเน้ือที่ในการขอคืนที่ราชพัสดุ ซึ่งเป็นที่ว่างที่
ส่วนราชการเลิกใช้ประโยชน์หรือใช้ประโยชน์ไม่เต็มพ้ืนที่ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของ
ท่ีดินท่ีอยู่ในความครอบครองของส่วนราชการในภาพรวม หรือประมาณ ๘๑๑,๗๔๒ ไร ่
โดยไม่ตอ้ งเฉพาะเจาะจงว่าอยใู่ นความครอบครองของส่วนราชการใด

๔.๒ ให้กรมธนารักษ์สำรวจท่ีว่างเพิ่มเติมตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว ้ ใน
ข้อ ๔.๑ พร้อมจดั ทำรายละเอียดขอ้ มูลทีด่ นิ สำรวจใหช้ ัดเจนวา่ มคี วามเหมาะสม หรอื มีแผน
งาน โครงการจะนำไปใชป้ ระโยชนร์ องรบั โครงการตามนโยบายของรัฐบาลในดา้ นใด และเจรจา
กับส่วนราชการเพ่ือส่งคืนที่ดินให้กรมธนารักษ์ กรณีส่วนราชการใดไม่ยินยอมให้นำข้อมูลท่ีดิน
ที่สำรวจได้ พรอ้ มท้งั รายละเอยี ดแผนการใชท้ ่ีดินเสนอคณะรัฐมนตรเี พอ่ื พิจารณา

๕. เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามแนวทางของคณะกรรมการกลั่นกรองฯ
จึงได้กำหนดแนวทางปฏิบัต ิ ข้ันตอนในการดำเนินการขอคืนที่ราชพัสดุจากส่วนราชการ รวม
๕ ข้ันตอน และแบบสำรวจท่ดี นิ ราชพัสดุ รายละเอยี ดปรากฎตามส่งิ ทสี่ ง่ มาดว้ ย ๒

ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น กรมธนารักษ์จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องขอ
คืนที่ดินราชพัสดุท่ีส่วนราชการ / หน่วยงานไม่ได้ใช้ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ไม่เหมาะสม หรือ
ใช้ประโยชน์ไม่เต็มพื้นที่เพ่ือนำท่ีดินราชพัสดุมาบริหารให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
ประเทศชาติและประชาชน และเพ่ือสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล แต่การดำเนินการขอคืนท่ีดิน
ราชพัสดุจากสว่ นราชการ /หนว่ ยงานจะสมั ฤทธิผ์ ลได้ต้องได้รบั ความรว่ มมือจากทุกภาคสว่ นท่ี
เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงความร่วมมือจากส่วนราชการ/หน่วยงานในสังกัดที่ครอบครอง
ท่ีดินราชพสั ดใุ หค้ วามรว่ มมอื ในการดำเนินการดังกล่าวด้วย



508

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดำเนินการต่อไป กรมธนารักษ์หวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะ
ได้รับการสนับสนนุ ด้วยดเี ชน่ เดิม และขอบคุณมา ณ โอกาสนดี้ ้วย



ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงชอื่ ) วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ

(นายวิสุทธ์ิ ศรสี พุ รรณ)

อธิบดกี รมธนารกั ษ์











สำนกั บริหารจัดการฐานขอ้ มลู ท่รี าชพัสด

โทร. ๐ ๒๒๗๘ ๓๔๘๑

โทรสาร ๐ ๒๒๙๘ ๕๔๘๔








































509


Click to View FlipBook Version