The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2549 (ส่วนที่ 2) (ปี 2549)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบและแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบเพื่อใชเ้ ป็นตัวอย่างใน
การปฏิบัตงิ านต่อไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชอ่ื ) วา่ ที่ ร.ต. ขนั ธ์ชยั วจิ ักขณะ

(ขนั ธช์ ยั วิจกั ขณะ)

รองอธิบดี ปฏบิ ัตริ าชการแทน

อธบิ ดีกรมทีด่ ิน











สำนกั มาตรฐานการทะเบยี นทด่ี นิ

โทร. ๐ - ๒๒๒๒- ๖๑๙๖ โทรสาร ๐ - ๒๒๒๑ - ๓๘๗๓

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ตอ่ ๒๒๕




















811

ด่วนมาก
(สำเนา)


ท ่ี มท ๐๕๑๕/ว ๒๒๑๑๑ กรมทีด่ นิ

ถนนพระพพิ ิธ กทม. ๑๐๒๐๐

๗ สงิ หาคม ๒๕๔๙

เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญตั ิป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒

เรียน ผู้ว่าราชการจังหวดั ทกุ จงั หวดั

อ้างถงึ ๑. หนงั สอื กรมทด่ี ิน ท่ี มท ๐๗๑๐/ว๒๐๒๔๘ ลงวนั ที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๓

๒. หนงั สือกรมท่ดี ิน ท่ี มท ๐๗๒๘/ว๓๒๐๖๐ ลงวันท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๓

๓. หนงั สือกรมที่ดนิ ดว่ นทีส่ ุด ท่ี มท ๐๗๒๘/ว๓๘๑๑๘ ลงวันที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๔๓



ตามท่ีกรมที่ดินได้วางแนวทางปฏิบัติให้สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร สำนักงาน
ท่ีดินจังหวัด สำนักงานท่ีดินสาขา และสำนักงานท่ีดินอำเภอ มีหน้าที่ต้องรายงานต่อสำนักงาน
ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สำนักงาน ปปง.) เม่ือปรากฏว่ามีการจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ที่สถาบันการเงินมิได้เป็นคู่กรณี และท่ีมีลักษณะ
ดงั ตอ่ ไปน
้ี
๑. เมือ่ มีการชำระดว้ ยเงินสดเปน็ จำนวนเงนิ ตง้ั แต่สองล้านบาทหรือกว่านน้ั ข้ึนไป

๒. เม่ืออสังหาริมทรัพย์มีมูลค่าตามราคาประเมินเพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตั้งแต่ห้าล้านบาทหรือกว่าน้ันขึ้นไป เว้นแต่เป็นการโอนในทางมรดก
ใหแ้ กท่ ายาทโดยธรรม หรอื

๓. เมอื่ เป็นธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย

โดยใหส้ ำนกั งานทีด่ ิน ฯ สง่ สำเนาคำขอจดทะเบยี นสิทธแิ ละนติ กิ รรมทร่ี บั รอง

ถูกต้องท่ีทำข้ึนในระหว่างวันท่ี ๑ ถึงวันส้ินเดือนไปยังสำนักงาน ปปง. ภายในห้าวันนับแต่วัน
ถดั จากวนั สน้ิ เดือน

สำหรับกรณีการรายงานธุรกรรมท่ีมีเหตุอันควรสงสัยให้ส่งสำเนาคำขอจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมท่ีรับรองความถูกต้อง พร้อมทั้งบันทึกเหตุอันควรสงสัยไปยัง
สำนกั งาน ปปง. ภายในหา้ วันนบั แต่วันทีม่ เี หตุอนั ควรสงสยั ความละเอยี ดแจ้งอยแู่ ล้ว น้นั

เนื่องจากกรมที่ดินได้รับแจ้งจากสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินว่า
ในตน้ ปี ๒๕๕๐ กองทุนการเงนิ ระหว่างประเทศ จะดำเนินการประเมินหนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งกบั
การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน โดยใช้มาตรฐานสากลท่ีกำหนดโดยองค์กรต่อต้านการ
ฟอกเงินระหว่างประเทศ ซึ่งในการเข้ารับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลของกรม
ท่ดี ินน้ัน กองทุนการเงินระหว่างประเทศจะตรวจสอบว่า กรมท่ีดนิ ไดด้ ำเนนิ การตามมาตรา ๑๕
แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒ โดยเคร่งครัดหรือไม่
ประการใด ดังนั้น จึงเรียนมาเพื่อขอให้กำชับพนักงานเจ้าหน้าที่ถือปฏิบัติตามหนังสือที่อ้างถึง

812

โดยเคร่งครัด และรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับการดำเนินการดังกล่าวเตรียมพร้อมไว้ เพื่อใช้
ประกอบการตรวจประเมินของกองทนุ เงินระหวา่ งประเทศดว้ ย

จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดทราบ และแจ้งให้พนักงานเจา้ หน้าท่ที ราบและถือปฎบิ ตั ติ ่อไป



ขอแสดงความนับถือ



(ลงชอ่ื ) วา่ ท่ี ร.ต. ขันธช์ ยั วจิ กั ขณะ

(ขันธ์ชัย วจิ ักขณะ)

รองอธิบดี ปฏบิ ัติราชการแทน

อธบิ ดีกรมทีด่ ิน











สำนักมาตรฐานการทะเบียนท่ีดิน

โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๙๑๘๙ โทรสาร ๐ ๒๒๒๒ ๐๖๒๓

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ตอ่ ๒๓๗




















813

(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๒๒๒๓๕ กรมทีด่ ิน

ถนนพระพิพธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๘ สงิ หาคม ๒๕๔๙

เร่ือง การจดทะเบยี นโอนกรรมสิทธิ์หรอื สทิ ธิครอบครองในอสังหารมิ ทรัพย์ให้แก่ผู้ซอื้ ทรพั ย

ของตนเองได้จากการขายทอดตลาด

เรยี น ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ทกุ จงั หวัด

อ้างถงึ คำส่ังกรมท่ีดนิ และโลหกิจ ท่ี ๑๒/๒๔๗๘ ลงวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๔๗๘



ตามคำสั่งท่ีอ้างถึงวางทางปฏิบัติกรณี ศาลแพ่งมีคำสั่งให้เจ้าพนักงานท่ีดินโอน
กรรมสิทธิ์ท่ีดินให้แก่ผู้ซื้อทอดตลาด และผู้มีช่ือถือกรรมสิทธ์ิในทางทะเบียนกับผู้ซื้อทอดตลาด
เป็นบุคคลคนเดียวกัน ว่าให้เจ้าพนักงานที่ดินสอบถามศาลก่อน ถ้าศาลตอบยืนยันให้โอน ให้
รายงานไปยงั กรมทด่ี นิ นนั้ น้นั

กรมท่ีดินได้รับแจ้งจากกรมบังคับคดีว่า กรณีขายทอดตลาดทรัพย์ซึ่งมีช่ือลูกหน้ี
ตามคำพิพากษาเป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิ และลูกหนี้ตามคำพิพากษาเป็นผู้ซ้ือทรัพย์ได้เอง เช่น เจ้า
พนักงานบังคับคดีได้บังคับขายทอดตลาดที่ดินที่มีชื่อนาย ก. ถือกรรมสิทธ์ิ และนาย ก. เป็นผู้
ประมูลซื้อที่ดินน้ันได้เอง เช่นน้ี เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งให้เจ้าพนักงานท่ีดินโอน
กรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองให้แก่ผู้ซ้ือทรัพย์ดังกล่าว สำนักงานท่ีดินบางแห่งดำเนินการจด
ทะเบียนให้ แต่บางแห่งไม่ดำเนินการจดทะเบียนให้ ด้วยเหตุผลว่าบุคคลที่ซ้ือทรัพย์ได้กับ
บุคคลที่มีช่ือถือกรรมสิทธิ์เป็นบุคคลคนเดียวกันหาอาจเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนได้ กรมบังคับ
คดีจึงขอทราบทางปฏิบัติในเร่ืองน้ีไปยังกรมที่ดิน เพ่ือจะได้ชี้แจงให้จำเลยผู้ประสงค์จะซื้อ
ทรัพย์ของตนเองจากการขายทอดตลาดทราบ และเพื่อให้เจ้าพนักงานบังคับคดีถือปฏิบัติเป็น
ไปในทศิ ทางเดยี วกนั

กรมท่ีดินพิจารณาแล้วเห็นว่า การขายทอดตลาดในการบังคับคดีของศาลย่อม
ทำให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของบุคคลคนหนึ่งตกได้แก่บุคคลอีกคนหน่ึง ท้ังนี้ ตามมาตรา
๑๓๓๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้บังคับขายทอด
ตลาดทรัพย์ของจำเลย และจำเลยประมูลซ้ือทรัพย์น้ันได้ จำเลยย่อมได้ทรัพย์นั้นกลับคืนมา
เป็นของตนอีกคร้ังหนึ่งในฐานะผู้ซ้ือได้จากการขายทอดตลาด ซ่ึงถ้าไม่มีการจดทะเบียนการได้
มาให้ปรากฏ สิทธิของจำเลยเดิมมีอยู่อย่างไรก็คงมีอยู่อย่างน้ัน การจดทะเบียนก็เพื่อจะได้
ทราบสิทธิแห่งการได้มา จึงเห็นสมควรยกเลิกคำส่ังท่ีอ้างถึงและให้ถือปฏิบัติว่า เมื่อเจ้าพนัก
งานบังคับคดีแจ้งให้เจ้าพนักงานท่ีดินโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริทรัพย์ให้แก่
ผู้ซื้อทอดตลาด แล้วปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ซ้ือทอดตลาดกับผู้มีชื่อถือกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบ
ครองในอสังหาริมทรัพย์ที่ขายทอดตลาดเป็นบุคคลคนเดียวกัน พนักงานเจ้าหน้าที่ชอบท่ีจะรับ

814

จดทะเบียนใหไ้ ด้ โดยไมต่ ้องสอบถามศาลเพือ่ ใหศ้ าลแจ้งยนื ยันมาอกี แต่อย่างใด

จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ และสง่ั ใหเ้ จ้าหน้าทที่ ราบและถือปฎิบัตติ ่อไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชื่อ) วา่ ท่ี ร.ต. ขนั ธช์ ัย วิจกั ขณะ

(ขนั ธ์ชัย วจิ กั ขณะ)

รองอธิบดี ปฏิบตั ริ าชการแทน

อธิบดีกรมท่ีดิน











สำนกั มาตรฐานการทะเบียนทด่ี ิน

โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๖๑๙๖ โทรสาร ๐ ๒๒๒๑ ๓๘๗๓

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ต่อ ๒๒๕





















815

ดว่ นทสี่ ดุ
(สำเนา)


ท ่ี มท ๐๕๑๕/ว ๒๑๕๒๗ กรมที่ดนิ

ถนนพระพิพธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๑ สิงหาคม ๒๕๔๙

เรื่อง การยกเวน้ ภาษอี ากรการโอนอสังหาริมทรพั ย์และห้องชุด กรณีควบรวมกิจการตาม

แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

เรียน ผ้วู ่าราชการจงั หวดั ทุกจังหวัด

อ้างถงึ ๑. หนงั สือกรมท่ดี ิน ดว่ นท่สี ดุ ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๐๙๙๗๐ ลงวันที่ ๓๐ มนี าคม ๒๕๔๙

๒. หนงั สอื กรมท่ดี นิ ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๑๔๘๐๕ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙

สง่ิ ทสี่ ง่ มาดว้ ย สำเนาหนงั สอื กรมสรรพากร ที่ กค ๐๗๐๖/๖๐๓๒

ลงวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๙



ตามหนังสือที่อ้างถึง ๑. กรมที่ดินได้ส่งสำเนาประกาศกระทรวงมหาดไทยให้เรียก
เก็บคา่ ธรรมเนยี มจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิตกิ รรมตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ และตามกฎหมายว่า
ดว้ ยอาคารชดุ ร้อยละ ๐.๐๑ ในการจดทะเบียนโอนและจำนองอสงั หารมิ ทรัพยห์ รือหอ้ งชุด กรณี
การควบรวมกิจการตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะรัฐมนตรี
กำหนด ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งมีผลบังคับใช้ไปจนถึงวันท่ี ๓๑
กรกฎาคม ๒๕๔๙ มาเพื่อโปรดทราบ และตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๒. ได้ส่งสำเนาพระราช
กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับท่ี ๔๕๓)
พ.ศ.๒๕๔๙ ใหย้ กเวน้ ภาษีเงินไดน้ ิตบิ ุคคลหกั ณ ที่จา่ ย ภาษีธรุ กิจเฉพาะและอากรแสตมป์ ให้
แกส่ ถาบันการเงิน สำหรับเงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ รายรับ หรอื การกระทำตราสารท่ีเกดิ ขึน้ หรือเน่อื ง
มาจากการท่ีสถาบันการเงินดังกล่าวควบเข้าด้วยกันหรือโอนกิจการท้ังหมดหรือบางส่วนให้แก่
กัน ตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ทั้งนี้ เฉพาะการควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมด
หรือโอนกิจการบางส่วน ท่ีได้กระทำระหว่างวันที่ ๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๓๑
กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๙ ซงึ่ มปี ระเดน็ พจิ ารณาวา่ กรณสี ถาบันการเงนิ ได้ทำการควบเขา้ กนั หรือ
โอนกิจการท้ังหมดหรือบางส่วนให้แก่กันภายในระยะเวลาที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาดัง
กล่าวแล้ว แต่ได้ขอจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่กัน
ภายหลงั วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ จะยังคงไดร้ บั ยกเว้นภาษีอากรตามพระราชกฤษฎีกาฯ ท่ี
ส่งมาตามหนังสือที่อ้างถึง ๒ หรือไม่ ซ่ึงกรมท่ีดินแจ้งว่าอยู่ระหว่างหารือกรมสรรพากร เม่ือได้
รบั แจง้ ผลการพจิ ารณาจากกรมสรรพากรประการใดแลว้ จะได้แจง้ ให้ทราบต่อไปนนั้

บัดนี้ กรมที่ดินได้รับแจ้งผลการพิจารณาจากกรมสรรพากรแล้ว สรุปได้ว่า กรณี
สถาบันการเงินได้กระทำการควบเข้ากันหรือโอนกิจการท้ังหมดหรือบางส่วนให้แก่กันระหว่าง
วนั ที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๗ ถึงวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ แล้ว แม้การโอนกรรมสิทธห์ิ รือสทิ ธิ

816

ครอบครองในอสังหารมิ ทรัพยจ์ ะมีการจดทะเบยี นภายหลงั วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ สถาบัน
การเงินผู้โอนก็ยังคงได้รับสิทธิยกเว้นภาษีอากรตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับท่ี ๔๕๓)
พ.ศ.๒๕๔๙ รายละเอียดตามส่ิงที่ส่งมาด้วย ต่างจากค่าธรรมเนียมซ่ึงตามประกาศกระทรวง
มหาดไทยลงวันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๔๙ กำหนดให้เรียกเก็บร้อยละ ๐.๐๑ เฉพาะการจด
ทะเบียนโอนและการจดทะเบียนจำนองท่ีกระทำระหว่างวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๓๑
กรกฎาคม ๒๕๔๙ เท่าน้ัน เมื่อพ้นวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ไปแล้ว ผู้ขอจดทะเบียนย่อม
ตอ้ งเสยี คา่ ธรรมเนยี มตามปกติ

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและส่งั ให้เจ้าหนา้ ท่ที ่ีดนิ ทราบและถือปฎบิ ตั ิตอ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงช่อื ) วา่ ท่ี ร.ต. ขันธ์ชัย วิจกั ขณะ

(ขันธ์ชยั วิจกั ขณะ)

รองอธิบดี ปฏิบัตริ าชการแทน

อธิบดกี รมทด่ี ิน











สำนกั มาตรฐานการทะเบยี นท่ีดิน

โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๖๑๙๖ โทรสาร ๐ ๒๒๒๑ ๓๘๗๓

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ต่อ ๒๒๕















817

(สำเนา)


ท ี่ มท ๐๗๐๖/๖๐๓๒ กรมสรรพากร

๙๐ ซอยพหลโยธนิ ๗

ถนนพหลโยธนิ แขวงสามเสนใน

เขตพญาไท กท.๑๐๔๐๐

๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๙

เรอ่ื ง ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ กรณีสถาบัน

การเงินควบเข้ากันหรอื โอนกิจการใหแ้ กก่ นั ตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงนิ

เรียน อธบิ ดีกรมทีด่ ิน

อา้ งถงึ หนังสือท่ี มท ๐๕๑๕/๑๔๘๐๖ ลงวนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙



ตามหนังสือที่อ้างถึงแจ้งว่า กรมที่ดินขอหารือกรณีการยกเว้นภาษีอากรให้แก่
สถาบันการเงินท่ีควบเข้าด้วยกันหรือโอนกิจการให้แก่กันตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่
๔๕๓) พ.ศ.๒๕๔๙ โดยกรมที่ดินได้พิจารณาบทบัญญัติตามมาตรา ๕ และมาตรา ๖ แห่งพระ
ราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ ๔๕๓) พ.ศ. ๒๕๔๙ ซ่ึงกำหนดให้ยกเว้นภาษีอากรสำหรับเงินได้พึง
ประเมิน รายรับ หรือการกระทำตราสารท่ีเกิดข้ึนเนื่องมาจากการท่ีสถาบันการเงินควบเข้ากัน
หรือโอนกิจการทั้งหมด หรือบางส่วนให้แก่กันเฉพาะการควบเข้ากันหรือการโอนกิจการที่ได้
กระทำระหว่างวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ทำให้มีประเด็น
พิจารณาว่า กำหนดระยะเวลาดังกล่าวเป็นกำหนดระยะเวลาในการควบเข้ากันหรือโอนกิจการ
ให้แก่กันเท่านั้น หรือเป็นกำหนดระยะเวลาท่ีใช้สำหรับการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ
ครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ อันเน่ืองมาจากการควบเข้ากันหรือโอนกิจการให้แก่กันน้ันด้วย
กล่าวคือ กรณีสถาบันการเงินได้ควบเข้ากันหรือโอนกิจการท้ังหมดหรือบางส่วนให้แก่กัน
ภายในช่วงเวลาที่กำหนดในพระราชกฤษีกาแล้ว ส่วนการโอนอสังหาริมทรัพย์อันเน่ืองมาจาก
การควบเข้ากันหรือโอนกิจการให้แก่กัน ที่จะได้รับยกเว้นภาษีอากร จะต้องกระทำภายในวันที่
๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ด้วยหรอื ไม่ ดงั ความละเอยี ดแจง้ อยู่แล้วนน้ั

กรมสรรพากรขอเรียนว่า การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษี
ธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ให้แก่สถาบันการเงินจากการควบเข้ากันหรือโอนกิจการให้แก่
กันตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินตามาตรา ๕ และมาตรา ๖ แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ

818

(ฉบับที่ ๔๕๓) พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นการยกเว้นภาษีอากรให้แก่สถาบันการเงินซ่ึงได้กระทำควบ
เข้ากันหรือโอนกิจการให้แก่กันระหว่างวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๗ ถึงวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม
๒๕๔๙ แม้การโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์จะมีการจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมหลังจากวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ สถาบันการเงินผู้โอนก็ยังคงได้รับสิทธิ
ยกเว้นภาษอี ากรตามพระราชกฤษฎีกาฉบับดงั กล่าว



ขอแสดงความนับถือ



(ลงชอื่ ) ไพฑรู ย ์ พงษเ์ กษร

(นางไพฑรู ย์ พงษ์เกษร)

รองอธบิ ดี ปฏิบัติราชการแทน

อธิบดีกรมสรรพากร











สำนกั กฎหมาย

กลุ่มกฎหมาย ๑

โทร. ๐-๒๒๗๒-๘๒๘๗-๘


819

ดว่ นทสี่ ดุ
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๒๓๒๕๓ กรมทีด่ นิ

ถนนพระพพิ ิธ กทม. ๑๐๒๐๐

๑๖ สิงหาคม ๒๕๔๙

เรือ่ ง ขอความอนุเคราะหต์ รวจสอบทรพั ยส์ นิ ของลกู หนตี้ ามคำพิพากษา

เรียน ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดทกุ จงั หวดั

สงิ่ ท่ีส่งมาด้วย สำเนาหนงั สือสำนกั งานคดแี พง่ สำนกั งานอัยการสงู สดุ ดว่ นท่สี ดุ ที่ อส

(ศทบ.) ๐๐๐๔ / ๗๑ ลงวันท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๔๙



ด้วยสำนักงานคดีแพ่ง สำนักงานอัยการสูงสุด ได้มีหนังสือขอให้กรมท่ีดินแจ้ง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการตรวจสอบทรัพย์สินของบุคคลผู้เป็นลูกหนี้ตามคำพิ
พากษา ซึ่งในการดำเนินการดังกล่าว ก.พ.ร. ได้กำหนดวิธีการและข้ันตอนการทำงานไว้ให้
สำนักงานอัยการสูงสุดต้องดำเนินการร่วมกับหน่วยงานตัวความนำร่องที่เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิ
พากษา ซึ่งได้สำรวจคดั เลือกหนว่ ยงานตวั ความนำรอ่ งและประสานงานทจี่ ะดำเนินการร่วมกนั
แล้วจำนวน ๓ หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานตรวจแห่งชาติ กองทัพบก และกรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม ทั้งนี้เพ่อื ประโยชน์ในการพฒั นางานบงั คับคดใี นคดีรกั ษาผลประโยชน์ของรฐั โดย
รวม รายละเอยี ดปรากฎตามส่งิ ท่ีสง่ มาด้วย

กรมท่ีดินพิจารณาแล้ว เห็นว่า เพื่อเป็นการให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ
ทรัพย์สินของบุคคลผู้เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา ซ่ึงท่ีดิน โรงเรือน และอาคารชุด เป็น
ทรัพย์สินประเภทหน่ึงที่ต้องทำการตรวจสอบ จึงขอให้จังหวัดแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือใน
การดำเนินการดงั กล่าวโดยเรว็ ดว้ ย

จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดทราบ และแจง้ เจ้าหน้าทีท่ ี่เก่ียวขอ้ งทราบและดำเนินการต่อไป



ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงชื่อ) ว่าท ่ี ร.ต. ขนั ธ์ชัย วจิ ักขณะ

(ขันธ์ชยั วจิ ักขณะ)

รองอธบิ ดี ปฏิบัติราชการแทน

อธบิ ดีกรมทดี่ ิน



สำนักมาตรฐานการทะเบียนท่ดี ิน

โทร. ๐ - ๒๒๒๑ - ๖๑๘๖ โทรสาร ๐ - ๒๒๒๑ - ๕๘๒๓

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ต่อ ๓๓๙


820

ด่วนทสี่ ุด
(สำเนา)


ที่ อส (ศทบ.) ๐๐๐๔ / ๗๑ สำนกั งานคดีแพ่ง

สำนักงานอยั การสูงสดุ

ถนนรชั ดาภิเษก

กรุงเทพ ฯ ๑๐๙๐๐

๑ สงิ หาคม ๒๕๔๙

เร่อื ง ขอความอนุเคราะหต์ รวจสอบทรัพย์สนิ ของลกู หน้ตี ามคำพพิ ากษา

เรียน อธิบดีกรมท่ดี นิ



ด้วยตามคำรับรองการปฏิบัติราชการสำนักงานอัยการสูงสุดประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๙ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) ได้กำหนดให้ระดับ
ความสำเร็จของการพัฒนางานบังคับคดีในคดีรักษาผลประโยชน์ของรัฐเป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่งใน
มติ ิดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏบิ ัตริ าชการของสว่ นราชการ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใหร้ ฐั ได้รบั
ประโยชน์สูงสุดจากการดำเนินคดีรักษาผลประโยชน์ของรัฐอย่างเป็นรูปธรรมในฐานะท่ี
สำนักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่พิทักษ์ผลประโยชน์ของรัฐ ท้ังนี้ ตามแนวคิด
การบริหารภาครัฐแนวใหม่ท่ีมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน ซ่ึงในการดำเนินงานตามตัวช้ีวัดดัง
กล่าว กพร. ได้กำหนดวิธีการและข้ันตอนการทำงานไว้ให้สำนักงานอัยการสูงสุดต้องดำเนิน
การร่วมกับหน่วยงานตัวความนำร่องท่ีเป็นเจ้าหน้ีตามคำพิพากษาซ่ึงขณะนี้ได้สำรวจคัดเลือก
ได้หนว่ ยงานตวั ความนำร่องและประสานงานทจี่ ะดำเนินการรว่ มกันแล้วจำนวน ๓ หนว่ ยงาน
ไดแ้ ก่ สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ กองทัพบก และกรมสง่ เสรมิ อุตสหกรรม และตามระบบงาน
และแผนงานที่กำหนดข้ึน สำนักงานคดีแพ่งซ่ึงเป็นหน่วยงานของสำนักงานอัยการสูงสุดท่ีรับ
ผิดชอบดำเนินการตามตัวช้ีวัดนี้และหน่วยงานตัวความนำร่องจะต้องร่วมกันดำเนินการตรวจ
สอบทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา ซ่ึงท่ีดิน โรงเรือน และอาคารชุดเป็นทรัพย์สิน
ประเภทหนงึ่ ท่ีต้องทำการตรวจสอบ


821

สำนักงานคดีแพ่งจึงใคร่ขอความอนุเคราะห์ให้ท่านแจ้งหน่วยงานภายในของท่านท่ี
เกี่ยวข้องได้โปรดให้ความร่วมมือในการตรวจสอบทรัพย์สินของบุคคลผู้เป็นลูกหน้ีตามคำพิ
พากษาของหน่วยงานตวั ความนำรอ่ งโดยเรว็ ดว้ ย โดยสำนักงานคดีแพง่ และหรอื หน่วยงานตวั
ความนำร่องจะขอประสานงานในรายละเอียดกับสำนักงานเลขานุการกรมของท่านต่อไป ทั้งน้ี
เพ่ือประโยชน์ในการพฒั นางานบังคับคดีในคดีรกั ษาผลประโยชนข์ องรัฐโดยรวม

จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดพจิ ารณาใหค้ วามอนุเคราะหด์ ว้ ย จกั ขอบคุณยง่ิ



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชื่อ) ภราดร ศรศี ภุ รางคก์ ลุ

(นายภราดร ศรีศุภรางคก์ ลุ )

อธิบดีอยั การฝา่ ยคดีแพ่ง











ศนู ยศ์ ึกษาและประสานงานการทดลอง

รปู แบบการบังคบั คดใี นคดีรกั ษาผลประโยชน์ของรฐั

โทร. ๐ - ๒๕๑๕ - ๔๕๕๘ โทรสาร ๐ - ๒๕๑














๕ -๔๕๑๖


822

(สำเนา)




ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๒๔๕๔๖ กรมที่ดนิ

ถนนพระพพิ ิธ กทม. ๑๐๒๐๐

๒๘ สงิ หาคม ๒๕๔๙

เรื่อง การปรับปรุงเพิ่มเติมหนังสือคู่มือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินและ

อสงั หารมิ ทรัพย์อยา่ งอ่นื

เรยี น ผู้วา่ ราชการจงั หวัด ทุกจงั หวดั

อา้ งถงึ หนงั สอื กรมที่ดนิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๓๒๔๘๐ ลงวนั ที่ ๒๐ ตลุ าคม ๒๕๔๘

ส่งิ ท่ีส่งมาดว้ ย เอกสารปรับปรุงเพิ่มเติมหนังสือคู่มือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ฯ

จำนวน ชดุ



ตามท่ีกรมที่ดินได้ส่งหนังสือคู่มือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดิน
และอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ไว้ใช้ศึกษาค้นคว้าและเป็นแนวทางการ
พิจารณาในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนโดยถูกต้อง รวดเร็ว
และเป็นมาตรฐานเดียวกนั นัน้

บดั นี้ กรมที่ดนิ ไดด้ ำเนนิ การปรับปรุงเพิม่ เตมิ หนงั สอื คมู่ อื การจดทะเบียนสทิ ธิและ
นิติกรรมเก่ียวกับท่ีดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น ด้วยการจัดทำเป็นเอกสารปรับปรุงเพิ่ม
เติมประกอบด้วยระเบียบและหนังสือเวียนที่ใช้ในปัจจุบัน โดยแยกประเภทการจดทะเบียน
หัวข้อและระบุหน้าไว้ตามหนังสือคู่มือ ฯ เพื่อให้สำนักงานที่ดินนำไปใช้ปรับปรุงเพิ่มเติม
หนังสือคู่มือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอ่ืนให้มี
ความทนั สมยั เปน็ ปัจจบุ ันตลอดเวลา และสามารถนำมาใชป้ ฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถูกต้อง
และมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ี ขอให้แจกจ่ายให้แก่สำนักงานท่ีดินจังหวัดจำนวน ๕ ชุด
สำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา แห่งละ ๕ ชุด สำนักงานที่ดินส่วนแยก แห่งละ ๓ ชุด
สำนักงานที่ดินอำเภอและกิ่งอำเภอ แห่งละ ๑ ชุด และขอให้ส่ังสำนักงานท่ีดินทำการ
ปรบั ปรงุ เพ่ิมเตมิ หนังสือคมู่ อื ฯ ไวใ้ ห้พรอ้ มใชป้ ฏบิ ัตงิ าน ในการนี้ กรมทดี่ ินได้แจ้งใหผ้ ู้ตรวจ

823

ราชการกรมทด่ี นิ ได้ตดิ ตามการปรับปรุงเพิม่ เตมิ หนงั สอื คมู่ ือ ฯ ดงั กลา่ ว ในการตรวจราชการ
แต่ละสำนักงานที่ดนิ ด้วยแลว้

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและสัง่ ใหพ้ นกั งานเจา้ หน้าท่ีดำเนินการตอ่ ไป



ขอแสดงความนับถอื



(ลงชือ่ ) ว่าที่ ร.ต. ขันธ์ชัย วิจกั ขณะ

(ขันธช์ ยั วิจกั ขณะ)

รองอธบิ ดี ปฏิบตั ริ าชการแทน

อธบิ ดกี รมท่ดี นิ











สำนกั มาตรฐานการทะเบยี นท่ีดนิ

โทร. ๐ - ๒๒๒๒ - ๖๑๙๖ โทรสาร ๐ - ๒๒๒๑ - ๓๘๗๓

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ตอ่ ๒๒๕




































824

เอกสารปรบั ปรงุ เพมิ่ เติมหนังสือคูม่ ือการจดทะเบยี นสทิ ธิและนติ กิ รรม

เกยี่ วกับทดี่ นิ และอสงั หารมิ ทรพั ยอ์ ยา่ งอน่ื


----------------------


การจดทะเบียนขาย




หัวข้อสาระสำคัญ (หน้า ๑๗)

เพ่ิมเติมเน้ือหาไว้ก่อนหัวข้อแนวทางการวินิจฉัยที่สำคัญของกรมท่ีดินเก่ียวกับการจด
ทะเบียนขาย ดังน
้ี
- กรณีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
ท่ีดิน หรืออสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีกรณีต้องเรียกเก็บค่าธรรมเนียมและภาษีอากรแต่อย่างใดเลย
เนื่องจากมีกฎหมายยกเว้นการเรียกเก็บให้ผู้ขอจดทะเบียนแสดงจำนวนทุนทรัพย์ที่ขอจด
ทะเบียนตามปกติ แต่พนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ต้องประเมินราคาทุนทรัพย์ในคำขอจดทะเบียน
สทิ ธแิ ละนติ กิ รรม (ท.ด.๑, ท.ด.๑ ก) ชอ่ งราคาประเมินทุนทรพั ย์ให้ระบุขอ้ ความลงไว้ว่า “ไม่
ต้องประเมินราคาทุนทรพั ย์”

(หนงั สอื กรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๔๒๘ ลงวันท่ี ๙ มกราคม ๒๕๔๙)

- การจัดพิมพ์คำขอ สัญญา และบันทึกข้อตกลงด้วยระบบโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ ใหถ้ ือปฏิบตั ิดังนี

๑. กรณีท่ีสำนักงานท่ีดินประสงค์จะใช้ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์จัดพิมพ์
คำขอ สัญญา และบันทึกข้อตกลง ลงในกระดาษต่อเนื่องหรือกระดาษเปล่า ให้ใช้ระบบ
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ของกรมทด่ี นิ ทพี่ ัฒนาโดยสำนักเทคโนโลยสี ารสนเทศเท่าน้นั ซึง่ ได้แก

(๑) ระบบโปรแกรมท่ีใช้ในระบบคอมพิวเตอร์เพ่ือการจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมใช้กับเคร่ืองมินิคอมพิวเตอร์ พิมพ์ในกระดาษต่อเน่ืองขนาด ๙.๕” X ๑๔” (มี
ครุฑ) ขนาดตวั อกั ษร ๑๒” โดยให้ผใู้ ชก้ ำหนดรปู แบบตวั อกั ษรเปน็ Angsana New

(๒) ระบบโปรแกรมท่ีใช้ในสำนักงานท่ีดินที่จัดเก็บฐานข้อมูลทาง
ทะเบียนที่ดินแล้วใช้กับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ พิมพ์ในกระดาษต่อเน่ืองขนาด ๙.๕” X
๑๔” (มีครุฑ) หรือกระดาษเปล่าขนาด F๔ (อยู่ระหว่างการพัฒนาเพ่ิมเติมให้ใช้ได้กับ
กระดาษขนาด A๔) ขนาดตัวอักษร ๑๔” และหรือ ๑๖” โดยใช้รูปแบบตัวอักษรเป็น
Angsana New

(๓) ระบบโปรแกรมท่ีใช้ในสำนักงานท่ีดินที่ยังไม่มีข้อมูลทางทะเบียน
ท่ีดิน ใช้กับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ พิมพ์ในแบบพิมพ์ของกรมท่ีดิน หรือกระดาษเปล่า
ขนาด A๔ ขนาดตัวอักษร ๑๔” และหรือ ๑๖” โดยใช้รูปแบบตัวอักษรเป็น Angsana
New

๒. กรณีท่ีสำนักงานที่ดินได้พัฒนาระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใช้กับเคร่ือง
ไมโครคอมพิวเตอร์ข้ึนใช้เองโดยจัดพิมพ์ลงแบบพิมพ์ของกรมท่ีดิน ให้ใช้รูปแบบตัวอักษร

825

Angsana New และมขี นาดตวั อกั ษร ๑๔” และหรือ ๑๖”

๓. ในกรณีได้ใช้ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์พิมพ์คำขอ สัญญา และบันทึกข้อตกลง
แล้วระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เกิดขัดข้องทำให้รูปแบบของคำขอ สัญญา และบันทึกข้อ
ตกลงผิดไปจากที่ได้พัฒนาโปรแกรมไว้แต่แรก ผู้ใช้งานจะต้องรีบทำการแก้ไขทันทีไม่ปล่อย
ใหร้ ูปแบบคำขอ สัญญา และบันทึกขอ้ ตกลงที่ใชใ้ นการจดทะเบียนและนิติกรรมผดิ ไปจากรปู
แบบท่ีกรมที่ดินได้กำหนดไว้ ในกรณีท่ีเป็นระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของกรมที่ดิน ที่
พัฒนาโดยสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องรีบแจ้งให้สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ กรม
ทดี่ ิน ทราบเพอื่ ทำการแกไ้ ขโดยเร็ว

(หนงั สือกรมที่ดนิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๔๓๑ ลงวนั ท่ี ๙ มกราคม ๒๕๔๙)

- การสอบสวนการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เป็น
นิติกรรมสองฝ่ายพนักงานเจา้ หน้าท่ีจะต้องทำการสอบสวนคกู่ รณที ้ังสองฝา่ ยโดยถอื ปฏบิ ตั ติ าม
ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา ๗๔ ประกอบกับข้อ ๒ (๑) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗
(พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบญั ญัติให้ใชป้ ระมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
การที่พนักงานเจ้าหน้าท่ีสอบสวนคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพียงฝ่ายเดียวย่อมเป็นการกระทำที่ไม่
ชอบด้วยกฎหมาย ทำใหก้ ระบวนการจดทะเบียนสทิ ธิและนิตกิ รรมทง้ั หมดไม่ชอบไปด้วย

(หนังสือกรมท่ดี นิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๖๓๓๘ ลงวันที่ ๑ มนี าคม ๒๕๔๙)

- อธิบดีกรมที่ดินได้กำหนดแบบคำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด.๑,
ท.ด.๑ ก) เป็นระเบียบกรมท่ีดินว่าด้วยแบบคำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสำหรับที่ดิน
และอสังหารมิ ทรัพยอ์ ย่างอ่ืน พ.ศ. ๒๕๔๙ ทงั้ น้ี ระเบียบกรมทีด่ นิ ดงั กล่าวมผี ลบงั คบั ใช้ตง้ั
แต่วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๙ เป็นต้นไป รายละเอยี ดตามระเบียบกรมท่ดี ินแนบทา้ ย

(หนงั สอื กรมที่ดนิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๒๑๖๐๗ ลงวันท่ี ๒ สงิ หาคม ๒๕๔๙)

- เม่ือเจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งให้เจ้าพนักงานที่ดินโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบ
ครองในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้ซ้ือทอดตลาด แล้วปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ซื้อทอดตลาดกับผู้
มีช่ือถือกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ท่ีขายทอดตลาดเป็นบุคคลเดียวกัน
พนักงานเจา้ หน้าท่ีชอบท่จี ะรับจดทะเบียนให้ได้ โดยไมต่ อ้ งสอบถามศาลเพ่ือให้ศาลแจ้งยืนยนั
แตอ่ ยา่ งใด

(หนงั สือกรมทด่ี ิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๒๒๒๓๕ ลงวนั ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๙)



เพิ่มเติมหัวข้อและเน้ือหาไว้ก่อนระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิและ
นติ กิ รรมเกยี่ วกบั การขายที่ดิน ฯ พ.ศ. ๒๕๔๓ ในหนา้ ท่ี ๖๗ ดงั น
ี้
การลดค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนโอนและจำนองอสังหาริมทรัพย์และห้องชุดเพื่อ
สนับสนนุ การซื้อขายบา้ นมอื สอง

กระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การเรียกเก็บค่า
ธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีการสนับสนุน
การซ้ือขายและจำนองตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง ประกาศ ณ วันท่ี ๑๑
826

พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่า
ธรรมเนยี มการจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิตกิ รรมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณกี ารสนบั สนุน
การซ้ือขายและจำนองตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง ประกาศ ณ วันท่ี ๑๑
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ มผี ลใชบ้ ังคบั ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ถงึ วัน
ท่ี ๓๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

ข้อ ๑ ให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนโอนและค่าจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์ใน
อัตรารอ้ ยละ ๐.๐๑ ดังน้

(๑) การขายอสงั หาริมทรัพยท์ ่ีเปน็ บ้าน โรงเรือน หรอื สงิ่ ปลูกสร้างอน่ื หรือ
อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวพร้อมท่ีดิน ซึ่งใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยอันเป็นแหล่งสำคัญ โดยผู้ขายคนใด
คนหนึ่งต้องมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร เป็นเวลาไม่น้อย
กว่าหนึ่งปีนับแต่วันท่ีได้มาซ่ึงกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์น้ัน ไม่ว่าระยะ
เวลาดังกลา่ วจะตอ่ เน่ืองกันหรอื ไมก่ ต็ าม

(๒) การจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อมาตาม (๑) ในวัน
เดียวกนั เฉพาะจำนวนเงินจำนองที่ไม่เกนิ กวา่ ราคาซอ้ื ขายอสงั หารมิ ทรัพยน์ ั้น สว่ นจำนวนเงนิ
จำนองที่เกินกว่าราคาซ้ือขายให้เรียกเก็บตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยค่า
ธรรมเนียมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ทีด่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗

ขอ้ ๒ ให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนโอนและค่าจดทะเบียนจำนองห้องชุดในอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ดงั น
้ี
(๑) การขายห้องชดุ ทเ่ี ปน็ ที่อยู่อาศัยอันเป็นแหล่งสำคญั โดยผขู้ ายคนใดคน
หนึ่งตอ้ งมชี ่อื อย่ใู นทะเบียนบา้ นตามกฎหมายวา่ ด้วยการทะเบียนราษฎร เป็นเวลาไม่นอ้ ยกวา่
หน่ึงปีนับแต่วันท่ีได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในห้องชุดนั้น ไม่ว่าระยะเวลาดังกล่าวจะต่อเน่ืองกันหรือ
ไมก่ ต็ าม

(๒) การจดทะเบียนจำนองห้องชุดท่ีซ้ือมาตาม (๑) ในวันเดียวกันเฉพาะ
จำนวนเงินจำนองท่ีไม่เกินกว่าราคาซ้ือขายห้องชุดน้ัน ส่วนจำนวนเงินจำนองท่ีเกินกว่าราคา
ซ้ือขายให้เรียกเก็บตามอัตราท่ีกำหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยค่าธรรมเนียมเก่ียวกับอาคารชุด
ออกตามความในพระราชบัญญตั ิอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒

ทั้งนกี้ รมท่ดี ินไดเ้ วียนทำความเข้าใจดังน
้ี
๑. ตามความในขอ้ ๑ (๑) ท่ีระบุ “...โดยผ้ขู ายคนใดคนหนึ่งต้องมีชอ่ื อยู่ในทะเบียน
บ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี...” นั้น มิได้
หมายความว่าต้องมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านขณะจดทะเบียนขายเท่านั้น แม้ว่าขณะจดทะเบียน
ขายผู้ขายจะไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแต่ถ้าได้เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านช่ัวระยะเวลาหนึ่ง
หรือหลายระยะเวลารวมท้ังหมดถึงหนึ่งปี ก็อยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับลดค่าธรรมเนียมตาม
ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ

๒. การขาย หมายรวมถึง ขายตามคำส่ังศาล โดยผู้ขอจดทะเบียนต้องแสดงหลัก

827

ฐานทะเบียนบ้านหลังที่ขายซ่ึงมีช่ือผู้ขายอยู่ในทะเบียนบ้านตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดใน
ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ เพ่ือประกอบการขอใช้สิทธิลดค่าธรรมเนยี มด้วย

๓. ในการจดทะเบียนขาย และการจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์หรือห้องชุด ที่
ได้รับลดค่าธรรมเนียมตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ ที่ส่งมา ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีระบุ
ในคำขอจดทะเบียน ฯ (ท.ด.๑) (ท.ด.๑ ก) เร่ืองราวขอจดทะเบียน ฯ (อ.ช.๑๕) และ
หนังสือสัญญาขาย ว่า “การจดทะเบียนขาย / จำนอง รายนี้ได้รับลดค่าธรรมเนียมเหลือร้อย
ละ ๐.๐๑ ตามมาตรการส่งเสรมิ ตลาดบ้านมือสอง”

๔. เนื่องจากการลดค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนขายอสังหาริมทรัพย์ และห้องชุด
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ ท่สี ง่ มาน้ี กำหนดหลกั เกณฑว์ า่ ผ้ขู ายคนใดคนหนง่ึ ต้อง
มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปี
นับแต่วันท่ีได้มาซ่ึงกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ (หรือห้องชุด) ดังนั้น
การจดทะเบียนขายอสังหาริมทรัพย์ และห้องชุดท่ีได้รับลดค่าธรรมเนียมตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย ฯ ที่ส่งมาจึงได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ ทั้งน้ีตามหนังสือกรม
สรรพากร ด่วนทีส่ ดุ ท่ี กค ๐๘๑๑ / ๐๐๐๘๑ ลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๒ เวียนตาม
หนังสอื กรมท่ีดิน ด่วนท่ีสดุ มท ๐๗๑๐ / ว ๐๐๙๐๕ ลงวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๒

๕. การลดค่าธรรมเนียมการขายอสังหาริมทรัพย์ / ห้องชุด ตามประกาศกระทรวง
มหาดไทย ฯ ดังกล่าว เป็นคนละกรณีกับการยกเว้นภาษีเงินได้จากการขายบ้านเก่าซ้ือบ้าน
ใหม่ ฉะนั้น แม้ว่าการจดทะเบียนขายอยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับลดค่าธรรมเนียมตามประกาศ
กระทรวง มหาดไทย ฯ ท่ีส่งมา แต่พนักงานเจ้าหน้าที่ยังคงมีหน้าที่ต้องเรียกเก็บภาษีเงินได้
หัก ณ ท่ีจ่าย และอากรแสตมป์ ตามปกติ เน่ืองจากการขายอสังหาริมทรัพย์ท่ีจะได้รับ
ยกเว้นภาษีเงินได้กรณีขายบ้านเก่าซ้ือบ้านใหม่ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ.
๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดย
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๔๑ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ข้อ ๒ (๖๒) นั้น ตอ้ งเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์
วิธกี าร และเง่อื นไขทอี่ ธิบดกี รมสรรพากรประกาศกำหนดแลว้ จงึ จะอยู่ในหลกั เกณฑ์ท่มี ีสิทธิ
ไปยนื่ เรื่องขอคนื เงนิ ภาษเี สยี ไปตอ่ สำนกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีได

(หนังสือกรมท่ีดิน ด่วนที่สุด ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๓๕๒๘๗ ลงวันที่ ๑๖
พฤศจกิ ายน ๒๕๔๘)

- สรุปหลักเกณฑ์การลดค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนขายและจำนองตาม
ประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ กรณสี ่งเสริมตลาดบา้ นมอื สอง พร้อมด้วยคำถาม - คำตอบ



หลกั เกณฑ ์

๑. อสังหาริมทรัพย์ท่ีขายต้องเป็น บ้าน โรงเรือน หรือส่ิงปลูกสร้างอื่น หรือ
อสังหารมิ ทรพั ยด์ ังกล่าว พรอ้ มทด่ี ิน หรอื หอ้ งชุด ซึง่ ใชเ้ ป็นทอี่ ยูอ่ าศัยอนั เปน็ แหล่งสำคัญ

๒. “ส่งิ ปลกู สรา้ งอนื่ ” ตาม ๑. ต้องใช้เพ่อื เป็นที่อยอู่ าศัยเทา่ นัน้ ถา้ โดยสภาพไม่ได้
ใช้เพื่อเปน็ ที่อยอู่ าศัย เชน่ โกดงั เก็บของ ยอ่ มไมไ่ ด้รับลดคา่ ธรรมเนียม

828

๓. ผู้ขายต้องเป็นบุคคลธรรมดา เนื่องจากนิติบุคคลไม่สามารถมีชื่ออยู่อาศัยใน
ทะเบียนบา้ นได้

๔. ผู้ขายคนใดคนหนึ่งต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหลังท่ีขายตามกฎหมายว่าด้วยการ
ทะเบียนราษฎรเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปีนับแต่วันท่ีได้มาซ่ึงกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสังหารมิ ทรัพยน์ ั้น ไมว่ ่าระยะเวลา ดงั กล่าวจะตอ่ เน่อื งกันหรือไมก่ ็ตาม ซงึ่ หมายความดงั น้

๔.๑ คำวา่ “อสงั หาริมทรพั ย์” หมายถงึ บา้ น โรงเรอื น หรือส่งิ ปลูกสรา้ งอ่นื
หรอื ห้องชุดท่ีขายเทา่ นัน้ ไมร่ วมถงึ ท่ีดนิ

๔.๒ กรณีขายบ้าน โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างอ่ืน หรือห้องชุด เพียงอย่าง
เดียว และอสังหาริมทรพั ย์ดงั กลา่ วมีเจ้าของหลายคน และเจ้าของท้งั หมดขาย ไม่จำเปน็ ว่าผู้
ขายทุกคนต้องมีช่ือในทะเบียนบ้านหลังที่ขาย ผู้ขายคนใดคนหนึ่งมีชื่อในทะเบียนบ้านก็ได้รับ
สิทธ

ตวั อย่าง บ้านเปน็ ของ ก. ข. ค. รวมสามคน แตท่ ะเบียนบ้านมีชื่อ ก. เพียงคนเดียวและ
มีชื่อมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปีนับแต่วันท่ีได้มาซึ่งกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในบ้าน
ตอ่ มา ก. ข. ค. ขายบ้านร่วมกันในการจดทะเบียนขายยอ่ มได้รบั ลดคา่ ธรรมเนียมจากราคา
ประเมินบ้านท้ังจำนวน

๔.๓ กรณขี ายบา้ น โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสรา้ งอนื่ พรอ้ มท่ีดนิ ที่จะได้รบั สิทธิ
ผู้ขายต้องเป็นเจ้าของท่ีดินและเจ้าของบ้าน แต่ไม่จำเป็นว่าผู้ขายทุกคนต้องมีช่ือในทะเบียน
บา้ น ผู้ขายคนใดคนหนึง่ มชี ื่อในทะเบยี นบา้ น ก็ได้รับสิทธ

ตวั อย่างท ่ี ๑ ทด่ี นิ และบ้านเปน็ กรรมสิทธิข์ อง ก. ข. ค. แตท่ ะเบยี นบา้ นมชี อื่ ค. เพยี ง
คนเดียวและมีช่ือมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปีนับแต่วันที่ได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบ
ครองในบ้าน ต่อมา ก. ข. ค. พร้อมใจกนั ขายทด่ี นิ และบ้านดังกล่าว ในการจดทะเบยี นขาย
ยอ่ มได้รับลดคา่ ธรรมเนยี มการขายจากราคาประเมนิ ทนุ ทรพั ย์ท่ีดนิ และบา้ นทง้ั จำนวน

ตัวอย่างที่ ๒ ท่ีดินเป็นกรรมสิทธ์ิของ ก. ข. ค. ภายหลังมีการปลูกบ้านลงบนท่ีดินโดย
บ้านเป็นกรรมสิทธิ์ของ ค. เพียงคนเดียว และในทะเบียนบ้านก็มีชื่อ ค. เพียงคนเดียว
กรณี ก. ข. ค. ขายที่ดนิ พร้อมบา้ นในคราวเดียวกนั จะได้รับลดคา่ ธรรมเนียมเฉพาะท่ดี นิ และ
บ้านสว่ นของ ค. เนอื่ งจาก ก. กับ ข. ไมใ่ ช่เจา้ ของบา้ นทข่ี าย ส่วนของ ก. ข. จงึ เป็น
เรื่องขายแตท่ ดี่ ิน

ตัวอยา่ งที ่ ๓ ท่ีดินเป็นกรรมสิทธิ์ของ ก. ข. ค. ภายหลังมีการปลูกบ้านลงบนท่ีดินโดย
บ้านเป็นกรรมสิทธ์ิของ ค. เพียงคนเดียว แต่ ค. ไม่ได้ย้ายช่ือเข้าในทะเบียนบ้าน คงมีแต่
ก. กบั ข. เทา่ น้นั ทย่ี า้ ยชื่อ เขา้ อยู่ในทะเบียนบา้ น ถ้าต่อมา ก. ข. ค. ร่วมกันขายทดี่ นิ และ
บ้าน ก็ไม่ได้รับลดค่าธรรมเนียม เพราะแม้ ก. กับ ข. มีช่ือในทะเบียนบ้านแต่เม่ือไม่ใช่
เจ้าของบ้านก็มิใชผ่ ขู้ ายบ้าน ขายไดแ้ ตท่ ่ีดนิ สว่ น ค. แม้วา่ จะเป็นเจา้ ของท้งั ท่ีดินและบ้านแต่
เมื่อ ค. ผูข้ ายไมม่ ีช่อื ในทะเบียนบา้ น จึงไม่อยูใ่ น หลกั เกณฑ์ไดร้ ับลดค่าธรรมเนยี ม

๕. การลดค่าธรรมเนียมการจำนอง ต้องเป็นกรณีซื้อ บ้าน โรงเรือน หรือส่ิงปลูก
สรา้ งอน่ื หรืออสงั หาริมทรพั ยด์ ังกลา่ วพรอ้ มที่ดนิ หรือซื้อห้องชดุ ท่อี ยู่ในหลกั เกณฑไ์ ดร้ บั ลด

829

ค่าธรรมเนียมแล้วจดทะเบียนจำนองต่อไปในวันเดียวกัน โดยลดให้เฉพาะจำนวนเงินจำนองที่
ไม่เกินกว่าราคาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ หรือห้องชุด ส่วนจำนวนเงินจำนองที่เกินกว่าราคา
ซื้อขายเรียกเก็บตามอัตราปกต



การเรยี กเก็บภาษีธรุ กิจเฉพาะ

เน่ืองจากการจดทะเบียนขายอสงั หาริมทรพั ย์ และห้องชุด ทจ่ี ะไดร้ ับลดคา่ ธรรมเนียม
ตามมาตรการดังกล่าวต้องปรากฏว่าผู้ขายมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการ
ทะเบียนราษฎร เปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่าหน่ึงปนี บั แต่วันทีไ่ ดม้ าซงึ่ อสังหารมิ ทรัพย์ ส่วนการขาย
ซงึ่ ได้รบั การลดคา่ ธรรมเนียมตามมาตรการสง่ เสริมตลาดบ้านมือสอง จะได้รับยกเวน้ ภาษีธุรกิจ
เฉพาะด้วยหรือไม่ ต้องเป็นไปตามประมวลรัษฎากรและแนวทางปฏิบัติที่กรมสรรพากรแจ้งให้
ทราบและถอื ปฏิบตั ิ เชน่

(๑) กรณี นาย ก. ไดซ้ ื้อที่ดินพรอ้ มบ้านมานานกวา่ ๓ ปี โดยนาย ก. มชี อ่ื อยู่
ในทะเบยี นบา้ นมาแล้วไม่นอ้ ยกวา่ หนง่ึ ปนี บั แต่วันทไ่ี ดม้ าซึง่ ทด่ี นิ และบา้ น การจดทะเบยี นขาย
ท่ีดินพร้อมบ้านในกรณีน้ีจึงได้รับลดค่าธรรมเนียมเหลือร้อยละ ๐.๐๑ ตามมาตรการส่งเสริม
ตลาดบ้านมือสองและได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะด้วย ทั้งนี้ ตามข้อ ๔ (๓) ตามท่ีกรม
สรรพากรแจง้ ทางปฏบิ ัตใิ หร้ มท่ดี ินทราบตามหนงั สือกรมสรรพากร ดว่ นที่สดุ ท่ี กค ๐๘๑๑
/ ๐๐๐๘๑ ลงวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๔๒ เวียนตามหนังสือกรมท่ีดิน ด่วนท่ีสุด ท่ี มท
๐๗๑๐ / ว ๐๐๙๐๕ ลงวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๒

(๒) กรณี นาย ก. และ นาย ข. ร่วมกันซ้ือท่ีดินพร้อมบ้านมานานว่า ๓ ปี
โดย นาย ก. เพียงผู้เดยี ว มีชือ่ อยู่ในทะเบียนบา้ นมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ หนงึ่ ปนี ับแต่วนั ท่ไี ด้มา
ซ่ึงท่ีดินและบ้าน การจดทะเบียนขายท่ีดินพร้อมบ้านในกรณีน้ีจึงได้รับลดค่าธรรมเนียมเหลือ
ร้อยละ ๐.๐๑ ตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง แต่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
เน่ืองจากการถือกรรมสิทธิ์รวมเกิดข้ึนจากการทำนิติกรรมซื้อขายโดยเข้าถือกรรมสิทธิ์รวม
พรอ้ มกัน และได้ขายที่ดินพร้อมบ้านไปภายใน ๕ ปี นบั แตว่ นั ทไ่ี ดม้ าซึง่ กรรมสิทธิใ์ นท่ีดิน
และบ้าน อยู่ในหลักเกณฑ์ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะในฐานะห้างหุ้นส่วนจำกัดหรือคณะบุคคล
ทมี่ ิใช่นิตบิ ุคคล ตามขอ้ ๗ (๒) ตามหนังสือกรมสรรพากรและหนังสือกรมที่ดนิ ตาม (๑)



ภาษีเงนิ ได้หกั ณ ท่จี า่ ยและอากรแสตมป

การลดค่าธรรมเนียมการขายอสังหาริมทรัพย์ และห้องชุด ตามประกาศกระทรวง
มหาดไทย ฯ กรณีส่งเสริมตลาดบา้ นมอื สอง เปน็ คนละกรณกี บั การยกเว้นภาษีเงนิ ได้จากการ
ขายบ้านเก่าซ้ือบ้านใหม่ ฉะน้ันแม้ว่าการจดทะเบียนขายจะอยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับลดค่า
ธรรมเนียมตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ กรณีสง่ เสริมตลาดบา้ นมือสอง แตพ่ นกั งานเจา้
หน้าท่ียังคงมีหน้าที่ต้องเรียกเก็บภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และอากรแสตมป์ ตามปกติ
เนอ่ื งจากการขายอสงั หาริมทรพั ยท์ ีจ่ ะได้รับยกเว้นภาษเี งนิ ได้หัก ณ ท่จี ่าย และอากรแสตมป์
กรณีขายบ้านเก่าซ้ือบ้านใหม่ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีอธิบดีกรมสรรพากรประกาศ
830

กำหนด ทั้งน้ี ตามกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๒๔๑ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ออกตามความในประมวล
รัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร สำหรับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และตาม
พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับท่ี
๔๔๔) พ.ศ. ๒๕๔๘ สำหรับการยกเว้นอากรแสตมป์ ฉะน้ัน ผู้ขอจดทะเบียนจะต้องเสีย
ภาษีเงนิ ไดแ้ ละอากรแสตมปใ์ นขณะจดทะเบียน เมือ่ การขายอยู่ในหลกั เกณฑ์ได้รับยกเวน้ ตาม
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรจึงไปติดต่อขอคืนภาษีเงินได้และอากรแสตมป์กับสำนักงาน
สรรพากรพน้ื ที่ต่อไป



ประเด็นปัญหาที่มกี ารสอบถามจำนวนมาก

คำถามท่ี ๑ ท่ดี นิ เป็นของ นาย ก. ส่วนบา้ นเปน็ ของ นาย ข. และมชี ่ือนาย ข.
อาศัยอยู่ในทะเบียนบ้านมานานกว่าหน่ึงปีแล้ว ซึ่งตามหลักเกณฑ์ หากนาย ก. ขายเฉพาะ
ท่ีดิน ย่อมไม่ได้รับลดค่าธรรมเนียม ส่วน นาย ข. ขายบ้านย่อมได้รับลดค่าธรรมเนียนใน
ส่วนของบ้าน ปัญหาว่า หากเป็นกรณีที่นาย ก. และ นาย ข. ต้องการขายทั้งที่ดินและ
บา้ นพร้อมกนั โดยนาย ก. ให้ นาย ข. เขา้ ชื่อถอื กรรมสิทธ์ริ วมในทด่ี ินเพียงเลก็ นอ้ ย เพ่ือ
ใหไ้ ด้ชอื่ ว่าเป็นเจ้าของทีด่ ิน แลว้ ร่วมกันขายทดี่ ินและบา้ นจะไดร้ บั ลดค่าธรรมเนยี มการโอนทั้ง
ก. และ ข. หรอื ไม่

คำตอบ โดยหลักการ การขายท่ีดินพร้อมบ้านท่ีจะได้รับสิทธิลดค่าธรรมเนียมทั้งบ้าน
และที่ดินผู้ขายจะต้องเป็นเจ้าของบ้านและเจ้าของที่ดิน และผู้ขายคนใดคนหน่ึงจะต้องมีชื่ออยู่
ในทะเบียนบ้านเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปีนับแต่วันที่ได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง
ในอสังหาริมทรัพย์น้ัน ซึ่งคำว่า “อสังหาริมทรัพย์นั้น” ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
หมายถงึ บ้าน โรงเรือน หรือสงิ่ ปลกู สรา้ งอื่น (และหอ้ งชดุ ) ไมร่ วมถงึ ที่ดิน ดังนนั้ กรณนี ้ี
นาย ก. เปน็ ผู้ขายเฉพาะทีด่ นิ จึงไมไ่ ด้รบั ลดค่าธรรมเนียม ส่วน นาย ข. เมื่อเปน็ เจ้าของ
บ้านและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปี และเป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิใน
ท่ีดินด้วย จึงได้รับลดค่าธรรมเนียมการโอนบ้านและการโอนท่ีดินเฉพาะส่วนท่ีตนเข้าถือ
กรรมสิทธิร์ วม

คำถามท่ี ๒ กรณีขายให้ผู้อื่นเพ่ือนำเงินไปชำระหนี้สถาบันการเงินในกรณีของการ
ปรบั ปรุงโครงสร้างหน้ี ซึ่งปจั จุบนั การโอนและการจำนองกรณปี รับปรุงโครงสร้างหนี้ไม่ไดร้ ับลด
ค่าธรรมเนียม แต่ยังคงได้รับยกเว้นภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย และอากรแสตมป์ ปัญหาว่า
ถ้าการขายนั้นอยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับลดค่าธรรมเนียมตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง
ผู้ขอจะขอรับสิทธิลดค่าธรรมเนียมตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง และขอรับสิทธิ
ยกเวน้ ภาษเี งนิ ได้หัก ณ ทจ่ี า่ ย และอากรแสตมป์ตามมาตรการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งหน้ไี ดห้ รอื
ไม่

คำตอบ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยกรณีส่งเสริมตลาดบ้านมือสองไม่ได้กำหนด
ว่าการลดค่าธรรมเนียมและการยกเว้นภาษีอากรจะได้สิทธิต้องเป็นไปตามมาตรการเดียวกัน
เท่าน้ัน ดังนั้น การลดค่าธรรมเนียมและการยกเว้นภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย และอากร

831

แสตมป์ จึงอาจเป็นคนละมาตรการกันได้ กรณีตามคำถามผู้ขอจึงมีสิทธิเลือกได้ว่าขอรับลด
ค่าธรรมเนยี มตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสองและขอยกเว้นภาษีเงนิ ได้ หัก ณ ทจ่ี ่าย
และอากรแสตมป์ ตามมาตรการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดยพนักงานเจ้าหน้าท่ีบันทึกถ้อยคำ
ผู้ขอจดทะเบียนยืนยันไว้เป็นหลักฐานว่า ขอรับลดค่าธรรมเนียมและยกเว้นภาษีเงินได้และ
อากรแสตมปต์ ามมาตรการใด

คำถามท่ี ๓ กรณีที่ดินและบ้านได้มาระหว่างสมรส แต่สามีหรือภริยาเพียงคนเดียว
มีช่ือในหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน และภริยาหรือสามีอีกฝ่ายหน่ึงมีช่ือในทะเบียนบ้านมานาน
กว่าหน่ึงปี นับแต่วันท่ีได้มาซึ่งกรรมสิทธ์ิในบ้านและที่ดินน้ัน ในการขายท่ีดินพร้อมสิ่งปลูก
สร้างจะไดร้ ับลดค่าธรรมเนียมหรอื ไม

คำตอบ เมื่อท่ีดินและบ้านได้มาระหว่างสมรสถือเป็นสินสมรส แม้หลักฐานทาง
ทะเบียนจะมีช่ือสามีหรือภริยาถือกรรมสิทธ์ิแต่เพียงฝ่ายเดียว ก็ต้องถือว่าเป็นกรรมสิทธิ์ของคู่
สมรสทัง้ สองฝา่ ย การทสี่ ามหี รอื ภรยิ า ผูม้ ีชอื่ ในทางทะเบยี นทำการขายท่ีดนิ พร้อมบา้ นท่เี ปน็
สินสมรส จึงอยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับลดค่าธรรมเนียม อย่างไรก็ดี เพื่อให้ปรากฏสิทธิในทาง
ทะเบียน ควรแนะนำให้ผู้ขายจดทะเบียนลงชื่อคู่สมรสให้ปรากฏในทางทะเบียนเสียก่อน ซ่ึง
ในการจดทะเบียนลงช่ือคู่สมรสจะเสียค่าธรรมเนียมประเภทไม่มีทุนทรัพย์แปลงละ ๕๐ บาท
เมื่อจดทะเบยี นลงช่ือคู่สมรสแลว้ จึงให้สามภี รยิ าจดทะเบียนขายท่ดี นิ พร้อมสง่ิ ปลกู สรา้ งรว่ มกนั

คำถามท่ี ๔ กรณีซ้ือมาแต่ท่ีดินแล้วปลูกบ้านขึ้นเอง เม่ือขายท่ีดินพร้อมบ้านจะได้รับ
ลดค่าธรรมเนยี มท้งั ทีด่ ินและบ้านหรอื ไม

คำตอบ หากผู้ขายที่ดินและบ้านมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหลังที่ปลูกสร้างขึ้นเองเป็น
เวลาไม่น้อยกวา่ หนง่ึ ปี ย่อมอย่ใู นหลกั เกณฑไ์ ดร้ ับลดค่าธรรมเนียม

คำถามท่ ี ๕ กรณีซื้อที่ดินพร้อมบ้านได้จากการขายทอดตลาด ผู้ซ้ือไม่สามารถหา
หลักฐานทะเบียนบ้านของผู้ขายได้ จะนำแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูล
การทะเบยี น สำนักทะเบยี นกลาง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (ท.ร.๑๔ / ๑) มา
เป็นหลักฐานประกอบการขอรับลดค่าธรรมเนยี มไดห้ รอื ไม่

คำตอบ หากแบบรบั รองรายการทะเบยี นราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน สำนัก
ทะเบยี นกลาง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (ท.ร.๑๔ / ๑) ปรากฏหลักฐานเปน็ ที่
แน่ชัดว่า ผู้ขายมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านหลังที่ขายตามหลักเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ในประกาศ
กระทรวงมหาดไทย ผขู้ อสามารถใช้หลักฐานดังกลา่ วประกอบการขอรับลดคา่ ธรรมเนยี มได้

คำถามที่ ๖ กรณีซ้ือท่ีดินพร้อมบ้านได้จากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาล ผู้ซ้ือนำ
หลักฐานทะเบียนบ้านของผู้ขายมาแสดง ปรากฏว่า ผู้ขายเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหลังท่ี
ขายมาเป็นเวลานานกว่าหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้มาซ่ึงกรรมสิทธิ์ในบ้าน แต่ผู้ขายได้ถึงแก่กรรม
และถูกจำหน่ายช่ือออกจากทะเบียนบ้านไปก่อนท่ีจะมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิบ้านและ
ทีด่ นิ ใหแ้ ก่ผ้ซู ้อื ทอดตลาด ในการจดทะเบยี นโอนจะได้รับลดค่าธรรมเนียมหรอื ไม

คำตอบ กรณีน้ีแม้ผู้ขายจะถึงแก่กรรมไปก่อน ผู้ซื้อก็ชอบท่ีจะนำหลักฐานการซ้ือได้
จากการขายทอดตลาดมาขอจดทะเบียนเพียงฝ่ายเดียวได้ ดังนั้น เม่ือผู้ขายเคยมีช่ืออยู่ใน
832

ทะเบียนบ้านหลังที่ขายมาเป็นเวลานานกว่าหน่ึงปีนับแต่วันที่ได้มาซ่ึงกรรมสิทธ์ิในบ้าน แม้ผู้
ขายได้ถึงแก่กรรมและถูกจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านไปก่อนท่ีจะมีการจดทะเบียนโอน
กรรมสิทธ์ิที่ดินพร้อมบ้านให้แก่ผู้ซื้อทอดตลาดในการจดทะเบียนโอนย่อมได้รับลดค่า
ธรรมเนียม

คำถามที่ ๗ ก. ข. ค. เป็นเจ้าของทีด่ นิ รว่ มกัน ส่วนบา้ นในทีด่ ินเป็นของนาย ก.
แต่นาย ก. ไม่ได้ย้ายชือ่ เข้าทะเบยี นบา้ น มแี ต่นาย ข. และนาย ค. เท่านัน้ ที่ย้ายชือ่ เขา้
ทะเบยี นบา้ นหลังดงั กล่าวมากว่าหนึ่งปแี ล้ว ปัญหามวี ่าการทน่ี าย ก. นาย ข. และนาย ค.
ขายทดี่ ินพรอ้ มบ้านจะไดร้ ับลดคา่ ธรรมเนียมหรือไม

คำตอบ การขายบ้านพร้อมที่ดินได้รับลดค่าธรรมเนียมตามมาตรการส่งเสริมตลาด
บ้านมือสองต้องปรากฏว่าผู้ขายเป็นท้ังเจ้าของท่ีดินและบ้าน โดยผู้ขายคนใดคนหน่ึงต้องมีช่ือ
ในทะเบียนบ้านหลังท่ีขายเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปีนับแต่วันท่ีได้มาซึ่งกรรมสิทธ์ิในบ้าน
น้ันด้วย กรณตี ามคำถาม เมอื่ ข. ค. ไมใ่ ชเ้ จา้ ของบา้ น และ ก. แม้จะเป็นเจ้าของบา้ นแต่
ไม่มีช่ือในทะเบียนบ้าน การขายที่ดินพร้อมบ้านของท้ังสามคนจึงไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับลด
ค่าธรรมเนยี ม

คำถามที่ ๘ กรณีทีด่ นิ เป็นของ ก. ข. ค. สามคน แต่บา้ นเปน็ ของ ก. คนเดยี ว
และ ก. ก็มีชอ่ื ในทะเบยี นบ้านคนเดยี ว โดย ก. มีชือ่ ในทะเบียนบา้ นมาแล้วกวา่ ๑ ปี จะ
ไดส้ ทิ ธิทงั้ ทดี่ นิ และบ้านหรอื ไม่

คำตอบ กรณีน้ีจะได้สิทธิเฉพาะท่ีดินและบ้านในส่วนของ ก. เท่านั้น ในส่วน ข.
และ ค. ไมไ่ ดส้ ิทธ

คำถามท ่ี ๙ กรณีเจ้ามรดกตายปี พ.ศ. ๒๕๔๐ แต่ ข. เป็นทายาทและมีชื่อใน
ทะเบียนบ้านหลังที่รับมรดกมาต้ังแต่ก่อนเจ้ามรดกตายจนถึงปัจจุบัน แต่จดทะเบียนรับโอน
มรดกท่ีดินพร้อมบ้านหลังดังกล่าวเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๘ แล้วจดทะเบียนขายต่อไปในวัน
เดียวกนั จะได้รบั ลดค่าธรรมเนียมหรอื ไม

คำตอบ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๙๙ บัญญัติให้ทรัพย์
มรดกตกได้แก่ทายาททันทีท่ีเจ้ามรดกตาย เม่ือในประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ ไม่ได้
กำหนดเง่ือนไขไว้เป็นประการอื่นจึงต้องถือตามผลของกฎหมาย กล่าวคือ ข. ทายาทมี
กรรมสิทธ์ิในที่ดินและบ้านตั้งแต่เจ้ามรดกตายเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๐ การที่ทายาทขอรับโอน
มรดกที่ดินเป็นเพียงการเปล่ียนแปลงให้ปรากฏหลักฐานทางทะเบียนเม่ือนาย ข. มีช่ือใน
ทะเบียนบ้านหลังท่ีรบั มรดกมากว่าหน่ึงปีนบั แตเ่ จา้ มรดกตาย ในการทน่ี าย ข. จดทะเบียนรบั
มรดกแล้วขายท่ีดินและบ้านที่รับมรดกต่อไปในวันเดียวกัน ในการจดทะเบียนขายย่อมได้รับ
ลดคา่ ธรรมเนียม

(หนงั สอื กรมทดี่ ิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๓๐๖๓ ลงวันท่ี ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙)

- กรณีการจดทะเบียนขายฝากไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ได้รับลดค่าธรรมเนียม ส่วนกรณี
นิ ติ บุ ค ค ล เ ป็ น ผู้ ซ้ื อ อ ยู่ ใ น ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ไ ด้ รั บ ล ด ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ก า ร โ อ น แ ล ะ ก า ร จ ำ น อ ง
อสังหาริมทรัพย์และห้องชุดตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสองตามประกาศกระทรวง

833

มหาดไทย เรื่องการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวล
กฎหมายที่ดินและตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีสนับสนุนการซ้ือขายและจำนองตาม
มาตรการส่งเสรมิ ตลาดบ้านมือสอง ลงวันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ รวม ๒ ฉบบั

(หนังสอื กรมทดี่ ิน ด่วนมาก ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๐๕๓๕๔ ลงวนั ท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์
๒๕๔๙)

- กรณีผู้จัดการมรดกจดทะเบียนขายอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงเป็นทรัพย์ในกองมรดกที่ยัง
ไมไ่ ดแ้ บ่งเพ่อื นำเงินไปแบง่ ปนั แกท่ ายาทหรือชำระหนก้ี องมรดกใหพ้ จิ ารณาดงั น
้ี
(๑) กรณีผู้จัดการมรดกจดทะเบียนขายบ้าน บ้านพร้อมที่ดิน หรือห้องชุด ซ่ึง
เป็นทรัพย์ในกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่งเพ่ือนำเงินไปแบ่งปันแก่ทายาทหรือชำระหน้ีกองมรดก
ยอ่ มมีสทิ ธไิ ด้รบั ลดค่าธรรมเนยี มการโอนเหลอื รอ้ ยละ ๐.๐๑ ตามมาตรการส่งเสรมิ ตลาดบ้าน
มือสอง หากข้อเท็จจริงปรากฏว่าเจ้ามรดกมีช่ือในทะเบียนบ้านท่ีขายตามกฎหมายว่าด้วยการ
ทะเบียนราษฎร เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับแต่วันท่ีได้มาซ่ึงกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครอง
ในบ้านนั้น หรือทายาทที่มีสิทธิรับมรดกคนใดคนหนึ่งมีชื่อในทะเบียนบ้านที่ขายตามกฎหมาย
ว่าดว้ ยการทะเบยี นราษฎรเป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ หน่ึงปนี ับแต่วนั ท่ีเจา้ มรดกถึงแก่ความตาย

(๒) กรณกี ารขายบ้านพร้อมทดี่ ินหรอื หอ้ งชดุ เฉพาะส่วนของผถู้ ือกรรมสิทธบ์ิ างคน
หรือการขายเพียงบางส่วนโดยการให้ผู้ซื้อเข้าช่ือร่วม ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์สิทธิได้รับลดค่า
ธรรมเนียมเหลอื ร้อยละ ๐.๐๑ ตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง

(หนังสือกรมท่ดี นิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๑๔๘๐๘ ลงวันท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙)



การยกเว้นภาษธี รุ กิจเฉพาะและอากรแสตมป

- มีพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรกำหนดให้ยกเว้นภาษีธุรกิจ
เฉพาะและอากรแสตมป์ ดงั น
้ี
๑. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการกำหนดกจิ การ
ท่ีได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ (ฉบับท่ี ๔๔๕) พ.ศ. ๒๕๔๘ กำหนดให้ยกเว้นภาษีธุรกิจ
เฉพาะสำหรับกิจการของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยเฉพาะการโอนกรรมสิทธิ์ใน
อสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้รับโอนเน่ืองจากการให้เช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ของธนาคารอิสลามแห่ง
ประเทศไทย

๒. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎา
กร (ฉบับที่ ๔๔๖) พ.ศ. ๒๕๔๘ กำหนดใหย้ กเว้นอากรแสตมปใ์ ห้แก่ธนาคารอิสลามแหง่
ประเทศไทยเฉพาะการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้รับโอนเนื่องจากการให้เช่าซื้อ
อสังหารมิ ทรพั ยข์ องธนาคารอสิ ลามแห่งประเทศไทย

๓. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎา
กร (ฉบับที่ ๔๔๗) พ.ศ. ๒๕๔๘ กำหนดให้ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์
สำหรับกรณีการโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนให้
แกส่ ภากาชาดไทย

834

(หนงั สือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๑๐๑๕๒ ลงวนั ท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙)

- มีพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร
(ฉบับท่ี ๔๕๓) พ.ศ. ๒๕๔๙ กำหนดให้การจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย์หรือห้องชุด
อันเนื่องมาจากการที่สถาบันการเงิน ควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันตามแผน
พฒั นาระบบสถาบนั การเงินทคี่ ณะรฐั มนตรีรับทราบเมื่อวนั ที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๗ ได้รับการ
ยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์
ส่วนกรณีการโอนกิจการบางส่วนให้แก่กันได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์
เฉพาะการโอนกิจการท่ีได้กระทำระหว่างวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๗ จนถึงวันที่ ๓๑
กรกฎาคม ๒๕๔๙ สำหรับกรณีท่ีมีผู้ขอคืนภาษีอากรการโอนที่ได้เสียไปก่อนที่พระราช
กฤษฎีกา ฯ มีผลใช้บังคับ หากประสงค์ขอคืนภาษีที่เสียไป ให้แนะนำผู้ขอไปติดต่อขอคืน
ณ สำนกั งานสรรพากรพ้ืนท
ี่
อน่ึง การควบเข้ากันหรือโอนกิจการท้ังหมดหรือบางส่วนที่ได้กระทำระหว่างวันท่ี ๖
มกราคม ๒๕๔๗ ถงึ วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ แต่ไดม้ ายนื่ ขอจดทะเบียนโอนกรรมสทิ ธ์ิ
หรอื สิทธิครอบครองในอสงั หาริมทรพั ยใ์ หแ้ กก่ นั ภายหลงั วนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ไดร้ ับ
สทิ ธยิ กเว้นภาษีอากร

(หนงั สือกรมทดี่ นิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๑๔๘๐๕ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙
และหนังสือกรมท่ีดิน ด่วนท่ีสุด ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๒๑๕๒๗ ลงวันท่ี ๑ สิงหาคม
๒๕๔๙)



เพ่มิ ระเบียบกรมท่ดี ิน วา่ ดว้ ยแบบคำขอจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ ิกรรมสำหรบั ที่ดินและ
อสังหารมิ ทรพั ยอ์ ยา่ งอ่นื พ.ศ. ๒๕๔๙ ตอ่ จากหนา้ สดุ ทา้ ยการจดทะเบยี นขาย (หนา้
๑๐๐) ก่อนหน้าการ จดทะเบียนขายฝาก (หนา้ ๑๐๑)




ระเบยี บกรมทด่ี นิ


วา่ ดว้ ยแบบคำขอจดทะเบยี นสทิ ธิและนิติกรรมสำหรับทดี่ ินและอสงั หารมิ ทรพั ย์อย่างอืน่

พ.ศ. ๒๕๔๙


--------------------

โดยท่ไี ดม้ ีกฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๒ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ออกตามความในพระราช
บัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ แก้ไขเพ่ิมเติมความในข้อ ๑ แห่งกฎ
กระทรวง ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล
กฎหมายทีด่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ซงึ่ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยกฎกระทรวงฉบบั ท่ี ๔๒ (พ.ศ. ๒๕๓๖)
ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยแก้ไขหลัก
เกณฑ์การกำหนดแบบคำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสำหรับท่ีดินที่มีโฉนดท่ีดิน (ท.ด.๑)
และสำหรับท่ีดินท่ียังไม่มีโฉนดท่ีดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอ่ืน (ท.ด.๑ ก) ให้เป็นไปตาม
แบบที่อธบิ ดกี รมทดี่ ินประกาศกำหนด


835

ฉะน้ัน อาศัยอำนาจตามความในข้อ ๑ วรรคสอง แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๗
(พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบญั ญัตใิ ห้ใช้ประมวลกฎหมายทดี่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๕๒ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ออกตามความในพระราช
บัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ อธิบดีกรมท่ีดินจึงออกระเบียบกำหนด
แบบคำขอจดทะเบียนสทิ ธิและนติ กิ รรมไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ขอ้ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยแบบคำขอจดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรมสำหรบั ที่ดินและอสังหาริมทรพั ย์อย่างอ่ืน พ.ศ. ๒๕๔๙”

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใชบ้ งั คบั ตั้งแต่วันที่ ๓ กนั ยายน ๒๕๔๙ เป็นตน้ ไป

ขอ้ ๓ บรรดาระเบียบ ข้อกำหนด หรือคำสง่ั อนื่ ใดในส่วนทีก่ ำหนดไว้แล้วในระเบียบ
นหี้ รือซึ่งขดั หรอื แยง้ กับระเบยี บน้ใี หใ้ ชร้ ะเบียบน้แี ทน

ข้อ ๔ คำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสำหรับท่ีดินที่มีโฉนดที่ดิน ให้ใช้แบบคำขอ
จดทะเบยี นสิทธแิ ละนติ ิกรรม (ท.ด. ๑) ท้ายระเบยี บน้ี

สำนักงานท่ีดินที่ใช้ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาโดยกรมท่ีดินจัดพิมพ์คำขอจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด.๑) ลงในกระดาษต่อเน่ืองหรือกระดาษเปล่า เฉพาะในส่วน
ประเภทท่ีดินท่ีระบุไว้มุมบนด้านขวาและในส่วนสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ด้านล่างของแบบ
คำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด.๑) พนักงานเจ้าหน้าที่จะพิมพ์เฉพาะส่วนที่ใช้
ดำเนินการเทา่ นน้ั ก็ได้

ขอ้ ๕ คำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสำหรับที่ดินท่ียังไม่มีโฉนดที่ดินและ
อสังหาริมทรัพย์อย่างอ่ืน ให้ใช้แบบคำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด. ๑ ก) ท้าย
ระเบียบน
ี้
สำนักงานที่ดินท่ีใช้ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีพัฒนาโดยกรมท่ีดินจัดพิมพ์คำขอจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด.๑ ก) ลงในกระดาษต่อเนื่องหรือกระดาษเปล่า เฉพาะใน
สว่ นประเภททีด่ นิ ทร่ี ะบุไว้มมุ บนดา้ นขวา และประเภทอสังหาริมทรัพยใ์ นข้อ ก. ทีด่ นิ หรอื
ในข้อ ข. อสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น และในส่วนสำหรับพนักงานเจ้าหน้าท่ีด้านล่างของแบบ
คำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด. ๑ ก) พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะพิมพ์เฉพาะส่วนท่ีใช้
ดำเนินการเท่านั้นก็ได

ข้อ ๖ ใหผ้ อู้ ำนวยการสำนกั มาตรฐานการทะเบียนทีด่ ินเปน็ ผ้รู กั ษาการตามระเบียบน้


ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙




(ลงช่ือ) พรี พล ไตรทศาวิทย์

(นายพรี พล ไตรทศาวทิ ย์)

อธบิ ดกี รมที่ดนิ




836

837

838

การจดทะเบียนขายฝาก




คา่ ภาษเี งนิ ได้หกั ณ ทจ่ี ่าย และอากรแสตมป ์ (หน้า ๑๒๑)

เพ่ิมเติมเนื้อหาไว้กอ่ นคำส่งั ท่ ี ๕ / ๒๔๗๑ ดังน
้ี
- การจดทะเบียนโอนมรดกสิทธิการไถ่จากขายฝาก ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษี
อากรแสตมป์ตามลักษณะแห่งตราสาร ๒๘ (ข) แหง่ ประมวลรษั ฎากร

(หนังสือกรมสรรพากร ที่ กค ๐๗๐๖ / ว ๑๐๘๓๗ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เวียนโดยหนงั สอื กรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวนั ท่ี ๑๓ มกราคม
๒๕๔๙)

- การจดทะเบียนไถ่ถอนจากขายฝาก ตัง้ แตว่ ันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๑ ซ่ึงเปน็
วันท่ีพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ.
๒๕๔๑ มีผลบังคับใชเ้ ป็นต้นมาเข้าลกั ษณะเปน็ การ “ขาย” ตามมาตรา ๓๙ แหง่ ประมวล
รัษฎากร ผู้รับซ้ือฝากจึงมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย และอากรแสตมป์
คำนวณระยะเวลาการถือครองอสังหาริมทรัพย์ต้ังแต่วันที่ได้มีการทำสัญญาขายฝากถึงวันท่ีจด
ทะเบยี นไถถ่ อนจากขายฝาก โดยใช้ฐานในการคำนวณ ดงั น
้ี
(๑) กรณผี รู้ บั ซื้อฝาก (ผูโ้ อน) เป็นบุคคลธรรมดา ให้เรียกเกบ็ ภาษเี งินไดห้ กั
ณ ที่จ่าย โดยคำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน ซ่ึงเป็นราคาท่ีใช้อยู่ในวันที่มีการจดทะเบียนโอน
กรรมสทิ ธ์ิหรอื สิทธิครอบครองในอสงั หาริมทรพั ย์ต่อพนักงานเจา้ หนา้ ท
่ี
(๒) กรณีผู้รับซ้ือฝาก (ผู้โอน) เป็นนติ ิบุคคล ให้เรียกเก็บภาษีเงนิ ไดน้ ติ ิบุคคล
หกั ณ ทีจ่ ่าย ร้อยละ ๑ จากราคาทุนทรัพยใ์ นการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ ิกรรม (ราคาขาย
ฝากรวมผลประโยชน์ตอบแทน (ถ้ามี) หรือราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บค่า
ธรรมเนียมจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิติกรรมตามประมวลกฎหมายท่ดี นิ แลว้ แตอ่ ย่างใดจะมากกวา่

(๓) สำหรับอากรแสตมป์คงเรียกเก็บร้อยละ ๕๐ สตางค์ โดยคำนวณจาก
ราคาทุนทรัพย์ท่ีผู้ขอแสดง (ราคาขายฝากรวมผลประโยชน์ตอบแทน (ถ้ามี)) หรือราคา
ประเมินทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวล
กฎหมายทดี่ นิ แล้วแต่อยา่ งใดจะมากกวา่

อนึ่ง กรณีผู้รับซ้ือฝากซึ่งมีหน้าท่ีชำระภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และอากร
แสตมป์ มิได้มาย่ืนขอจดทะเบียนไถ่ถอนจากขายฝากด้วย พนักงานเจ้าหน้าที่จะจดทะเบียน
ไถ่ถอนจากขายฝากได้ต่อเมื่อได้มีการชำระภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และอากรแสตมป์ ใน
นามของผู้ซอ้ื ฝากไว้ครบถว้ นแล้ว

(หนงั สอื กรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๙๕๗๖ ลงวนั ท่ี ๒๗ มนี าคม ๒๕๔๙)


839

สรุป


การเรียกเก็บคา่ ธรรมเนียม และภาษีอากร การจดทะเบียนไถ่ถอนจากขายฝาก

---------------------


โดยทไ่ี ดม้ กี ารแก้ไขเพิ่มเตมิ บทบัญญัตเิ ก่ยี วกบั การขายฝาก ตามมาตรา ๔๙๒ แห่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยกำหนดให้ทรัพย์สินที่ขายฝากตกเป็นกรรมสิทธ์ิ
ของผู้ไถ่ตั้งแต่เวลาท่ีผู้ไถ่ได้ชำระสินไถ่หรือวางทรัพย์อันเป็นสินไถ่ ดังน้ัน การรับไถ่
อสงั หาริมทรพั ยจ์ ากการขายฝากหรือการไถอ่ สังหารมิ ทรพั ย์จากการขายฝากโดยการวางทรัพย์
ต่อสำนักงานวางทรัพย์ภายในเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญาหรือภายในเวลาท่ีกฎหมายกำหนด
ต้ังแต่วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๑ ซึ่งเป็นวันที่กฎหมายว่าด้วยการขายฝากดังกล่าวมีผลใช้
บังคับเป็นต้นมา เม่ือมีกรณีขอจดทะเบียนไถ่ถอนจากการขายฝาก พนักงานเจ้าหน้าที่ย่อม
ต้องเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามผลการพิจารณาของกรมที่ดิน และเรียกเก็บภาษีอากรตามผล
การพิจารณาของกรมสรรพากร ดังน้ี

ค่าธรรมเนียม เรียกเก็บประเภทไม่มีทุนทรัพย์ แปลงละ ๕๐ บาท โดยถือปฏิบัติตาม
หนังสอื กรมที่ดนิ ท่ี มท ๐๗๒๘ / ๑๕๖๖๑ ลงวันที่ ๒๘ มถิ ุนายน ๒๕๔๔ ตอบขอ้ หารือ
จงั หวัดนครสวรรค์ เวียนโดยหนงั สอื กรมท่ดี ิน ท่ี มท ๐๗๒๘ / ว ๑๕๖๖๒ ลงวนั ท่ี ๒๘
มถิ นุ ายน ๒๕๔๔

ภาษเี งินได้หกั ณ ทจ่ี า่ ย เรยี กเกบ็ โดยถือปฏิบัตติ ามหนังสอื กรมสรรพากร ท่ี กค ๐๗๐๖
/ ๙๔๑๓ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๘ เวียนโดยหนงั สอื กรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว
๐๙๕๗๖ ลงวนั ท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๙ ดังน
้ี
๑. การเรียกเก็บให้คำนวณระยะเวลาการถือครอง ต้ังแต่วันที่ได้มีการทำสัญญาขาย
ฝากถึงวนั ท่จี ดทะเบยี นไถ่ถอนจากขายฝาก

๒. สำหรบั ฐานท่ีใชค้ ำนวณ

๒.๑ กรณีผู้รับซ้ือฝากเป็นบุคคลธรรมดา คำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์ท่ี
ใชอ้ ยู่ในวนั ท่มี กี ารจดทะเบยี นไถถ่ อนจากการขายฝาก

๒.๒ กรณีผูร้ บั ซื้อฝากเปน็ นติ ิบคุ คล เรียกเก็บร้อยละ ๑ โดยคำนวณจากราคา
ทุนทรัพยใ์ นการจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนติ กิ รรม (ราคาขายฝากรวมผลประโยชน์ตอบแทน (ถา้
มี)) หรือราคาประเมินทุนทรัพย์ท่ีใช้อยู่ในวันที่มีการจดทะเบียนไถ่ถอนจากขายฝาก แล้วแต่
อยา่ งใดจะมากกวา่

ภาษีธุรกิจเฉพาะ การไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากภายใน ๕ ปี นับแต่วันท่ีรับซ้ือ
ฝาก ย่อมเข้าลักษณะเป็นการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร โดยหลักการจึง
ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แต่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียตามมาตรา ๓ (๑๕) (ก) แห่งพระ
ราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการกำหนดกิจการท่ีได้รับยกเว้นภาษี
ธุรกิจเฉพาะ (ฉบับที่ ๒๔๐) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ฯ
(ฉบับที่ ๓๖๕) พ.ศ. ๒๕๔๓ คอื กรณกี ารรบั ไถ่อสงั หารมิ ทรัพย์จากการขายฝากหรอื การ
840

ไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากโดยการวางทรัพย์ภายในเวลาท่ีกำหนดไว้ในสัญญาหรือ
ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด พนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่ต้องเรียกเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยถือ
ปฏบิ ัติตามหนงั สอื กรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๑๑ / ๔๙๗๐ ลงวนั ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๔๓
เวียนโดยหนงั สอื กรมท่ดี นิ ท่ี มท ๐๗๑๐ / ว ๑๙๖๓๕ ลงวันที่ ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๔๓

อากรแสตมป์ใบรับ เรียกเก็บร้อยละ ๕๐ สตางค์ คำนวณจากราคาทุนทรัพย์ในการจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ราคาขายฝากรวมผลประโยชน์ตอบแทน (ถ้ามี)) หรือราคา
ประเมินทุนทรัพย์ที่ใช้อยู่ในวันที่มีการจดทะเบียนไถ่ถอนจากขายฝาก แล้วแต่อย่างใดจะมาก
กวา่

** หมายเหตุ การไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากภายใน ๕ ปี นับแต่วันท่ีรับซื้อฝาก
ซ่ึงได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะตามพระราชกฤษฎีกา ฯ ข้างต้น พนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่ต้อง
เรียกเก็บอากรแสตมป์ใบรับ (ตามแนวทางปฏิบัติในหนังสือตอบข้อหารือของกรมสรรพากร
ที่ กค ๐๘๑๑ / ๑๗๘๔๐ ลงวนั ที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๐ หนา้ ๒ ข้อ ๑. เวยี นโดย
หนงั สอื กรมทดี่ ิน ที่ มท ๐๗๑๐ / ว ๐๔๔๐๓ ลงวันที่ ๑๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๑) สว่ นการ
ไถอ่ สังหารมิ ทรพั ยจ์ ากการขายฝากเม่ือพ้น ๕ ปี นับแตว่ นั ท่ีรบั ซื้อฝากซ่ึงไมม่ ีกรณีต้องเรยี ก
เก็บภาษธี รุ กจิ เฉพาะ พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องเรียกเก็บอากรแสตมปใ์ บรบั

(หนงั สอื กรมที่ดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๙๕๗๖ ลงวนั ท่ี ๒๗ มนี าคม ๒๕๔๙)






841

การจดทะเบยี นให




ค่าอากรแสตมป์ (หนา้ ๑๕๓)

เพิม่ เตมิ เนื้อหาตอ่ จากบรรทัดสุดทา้ ย ดังน
้ี
- กรณีการยกที่ดินให้วัด เม่ือวัดยอมรับบริจาคที่ดินโดยไม่มีค่าตอบแทนตามสัญญา
ให้ (ท.ด.๑๔) วัดซ่ึงเป็นผู้รับโอนกรรมสิทธ์ิในที่ดินจึงเป็นผู้ออกใบรับและเป็นผู้ท่ีต้องเสีย
อากรตามลักษณะแห่งตราสารท่ีกำหนด หากฝ่ายท่ีต้องเสียอากรเป็นวัดวาอาราม อากรเป็น
อันไม่ต้องเสีย วัดซึ่งเป็นฝ่ายที่จะต้องเสียอากร จึงได้รับการยกเว้นอากรตามมาตรา ๑๒๑
แห่งประมวลรัษฎากร

ดงั นั้น กรณจี ดทะเบยี นสิทธิและนติ กิ รรมให้โดยเสนห่ าไมม่ ีคา่ ตอบแทน หากฝา่ ย
ผู้รับโอนซ่ึงเป็นฝ่ายที่ต้องเสียอากรได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมาย พนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่ต้อง
เรียกเก็บอากรแสตมป์ เช่น กรณีการโอนกรรมสิทธิ์ท่ีดินโดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่ ส่วน
ราชการ สภากาชาดไทย วัด มัสยิด หรือองค์การศาสนาอื่นในราชอาณาจักรซึ่งเป็น
นิติบุคคล เป็นต้น เน่ืองจากหน่วยงานท่ีรับโอนดังกล่าวได้รับการยกเว้นอากรตามมาตรา
๑๒๑ แห่งประมวลรษั ฎากร

(หนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๓๔๔๓๒ ลงวันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน
๒๕๔๘)

- กรณีการให้ การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่า
ตอบแทนในกรณีท่ีมีผู้รับ อยู่ในหลักเกณฑ์ต้องเสียอากรแสตมป์ตามลักษณะแห่งตราสาร ๒๘.
(ข) แหง่ ประมวลรัษฎากร โดยผู้รับโอนเปน็ ผู้ออกใบรบั และเป็นผู้ท่ตี ้องเสียอากรแสตมปต์ าม
ลักษณะแห่งตราสารที่กำหนดตามประมวลรัษฎากร แต่หากฝ่ายที่ต้องเสียอากรเป็นรัฐบาล
เจ้าพนักงานผู้กระทำงานของรัฐบาลโดยหน้าท่ี ฯลฯ อากรเป็นอันไม่ต้องเสียตามมาตรา
๑๒๑ แห่งประมวลรษั ฎากร

กรณีการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้เป็นสาธารณสมบัติ
ของแผน่ ดนิ ซงึ่ เปน็ กรณที ี่ไม่มผี ้รู ับ เช่น ให้ท่ีดินเปน็ ทางสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ไมต่ อ้ ง
เรียกเก็บอากรแสตมป์

(หนงั สือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๗๐๖ / ว ๑๐๘๓๗ ลงวนั ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘
เวยี นโดยหนงั สือกรมท่ีดนิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙)













842

การจดทะเบยี นจำนอง




ประเภทการจดทะเบียน

เพิ่มประเภทการจดทะเบยี นในหน้า ๑๙๕ ต่อจากขอ้ ๒๐ ดงั นี้

๒.๑ เปล่ียนชื่อผู้รับจำนอง (ระหว่างกิจการท่ีเป็นนิติบุคคลเดียวกัน) หมายถึง
กรณีขอจดทะเบียนเพื่อลบช่ือกิจการวิเทศธนกิจท่ีต่อท้ายช่ือธนาคารผู้รับจำนองออกจาก
หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินหรือกรณีขอเปล่ียนชื่อผู้รับจำนองระหว่างกิจการที่เป็นนิติบุคคล
เดียวกัน

๒.๒ โอนตามกฎหมาย (ระหว่างจำนอง) หมายถึง กรณีการโอนกรรมสิทธ์ิหรือ
สิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ท่ีใช้เป็นหลักประกันให้แก่กองทุนในระหว่างจำนอง โดยมี
กฎหมายบญั ญตั ิใหท้ รพั ย์สนิ ของผจู้ ำนองท่ใี ชเ้ ป็นหลกั ประกนั การชำระหนี้ ตกเป็นของกองทุน
ท่รี ับภาระการชำระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหน้ี เช่น โอนตามกฎหมาย (ระหวา่ งจำนอง) (มาตรา ๓๗
/ ๙ วรรคสอง แห่งพรราชบัญญัตกิ องทนุ ฟน้ื ฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๔๒)

๒.๓ โอนตามขอ้ ตกลง (โอนกิจการท้ังหมด) หรือ โอนตามข้อตกลง (โอนกิจการ
บางสว่ น) หมายถงึ กรณขี อจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธหิ์ รือสิทธคิ รอบครอง หรือขอจดทะเบยี น
โอนสิทธิการรับจำนองอสังหาริมทรัพย์หรือห้องชุดที่สืบเน่ืองมาจากท่ีได้มีการโอนกิจการ
ทั้งหมดหรือบางส่วนให้แก่กันตามแผนควบรวมกิจการหรือแผนการดำเนินการตามนโยบาย
สถาบันการเงิน ๑ รูปแบบ (สถาบันการเงินต้องเป็นสถาบันการเงินตามความหมายใน
ประกาศกระทรวงมหาดไทย



หัวข้อสาระสำคัญ

หมายเหตุข้อความ (๕) ในหน้า ๒๑๙ ว่า ได้ถูกยกเลิก โดยหนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท
๐๕๑๕ / ว ๒๘๒๕๖ ลงวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๔๘)

เพิม่ เตมิ เนอ้ื หาไว้กอ่ นหัวข้อแนวทางการวนิ จิ ฉัยท่ีสำคญั เกีย่ วกบั จำนอง ในหน้า ๒๒๔ ดังน
้ี
- แนวทางปฏบิ ัติการดำเนนิ การบางธุรกรรมของบรรษัทบริหารสนิ ทรัพยไ์ ทย ดงั น้ี

(๑) กรณี บสท. ขอจดทะเบยี นโอนสิทธกิ ารรับจำนองกรณผี ู้จำนองจดทะเบยี น
จำนองอสังหาริมทรัพย์เพ่ือเป็นประกันหน้ีไว้กับผู้รับจำนองรายเดียว แต่หลายมูลหน้ีโดยมิได้
แยกมูลหนี้ท่ีจำนองให้ทราบว่า มูลหน้ีใดจำนองวงเงินเท่าใด และ บสท. จะขอรับโอนสิทธิ
การรับจำนองเพยี งบางมูลหน้เี ฉพาะมูลหนใ้ี ดมูลหนีห้ นงึ่ โดยระบจุ ำนวนเงนิ จำนองของมูลหน้ี
ที่รับโอนให้พนักงานเจ้าหน้าที่เรียกสำเนาหลักฐานการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพพร้อมด้วย
หลักฐานเป็นหนังสือจากสถาบันการเงินหรือบริษัทบริหารสินทรัพย์ (ผู้โอน) ที่รับรองว่ามูล
หน้ีท่ีจะโอนไปยัง บสท. และมูลหนี้ที่เหลือซ่ึงยังคงจำนองกับสถาบันการเงินหรือบริษัท
บริหารสินทรัพย์ผู้โอน (ผู้รับจำนองเดิม) มีจำนวนเท่าใดเป็นหลักฐานประกอบการจด
ทะเบียนสำหรับประเภทการจดทะเบียนให้ใช้ชื่อประเภทว่า “โอนสิทธิการรับจำนองบางส่วน”

843

และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ระบุจำนวนมูลหน้ีท่ีโอนไปยัง บสท. และมูลหนี้ท่ีเหลือซ่ึงยังคง
จำนองอยู่กับสถาบันการเงินหรือบริษัทบริหารสินทรัพย์ ผู้โอน (ผู้รับจำนองเดิม) ลงไว้ใน
บันทกึ ขอ้ ตกลงโอนสิทธกิ ารรับจำนองบางสว่ นให้ชัดเจนดว้ ย

(๒) กรณี บสท. จำหน่ายทรัพย์สินท่ีเป็นหลักประกันด้วยวิธีการรับโอนทรัพย์สิน
น้ัน ๆ เองและไม่ได้หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินมาขอจดทะเบียนเนื่องจากสูญหายและลูกหน้ีไม่
ให้ความร่วมมือในการออกใบแทน บสท. สามารถใช้สิทธิความเป็นเจ้าของย่ืนคำขอออกใบ
แทนหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินพร้อมกับยื่นคำขอจดทะเบียนรับโอนท่ีดินนั้นต่อพนักงานเจ้า
หนา้ ท่ีได

(หนงั สือกรมทด่ี ิน ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๒๘๒๕๖ ลงวนั ที่ ๑๒ กนั ยายน ๒๕๔๘)

- กรณีทรัพย์สินของเกษตรกรท่ีใช้เป็นหลักประกันการชำระหนี้ตกเป็นของกองทุน
ฟื้นฟูและพัฒนาเกษตร ตามมาตรา ๓๗ / ๙ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนฟื้นฟู
และพัฒนาเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนฟ้ืนฟูและ
พัฒนาเกษตรกร (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ กำหนดวา่ เมอ่ื กองทนุ รบั ภาระชำระหน้ใี ห้แก่
เจ้าหนี้ของเกษตรกรแล้ว ให้ทรัพย์สินของเกษตรท่ีใช้เป็นหลักประกันการชำระหน้ีตกเป็น
ของกองทุน ฉะน้ัน ทันทีท่ีกองทุนรับภาระการชำระหนี้ให้เจ้าหน้ีของเกษตรกร กรรมสิทธิ์
หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ของเกษตรกรท่ีใช้เป็นหลักประกันการชำระหน้ีย่อมตก
เป็นของกองทุนโดยผลของกฎหมาย โดยคู่กรณีท้ังสองฝ่าย คือ เกษตรกร (ผู้โอน) และ
กองทุนฟื้นฟแู ละพัฒนาเกษตรกร (ผรู้ บั โอน) จะตอ้ งนำหนังสอื แสดงสิทธใิ นที่ดนิ และหนงั สอื
รับรองการชำระหน้ีของเกษตรกรตามแบบมาย่ืนคำขอจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ซ่ึง
การจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย์ของเกษตรกรให้แก่กองทุนกรณีกองทุนรับภาระชำระหน้ีให้
แกเ่ กษตรกรสามารถดำเนินการไดใ้ น ๒ กรณี คือ

๑. กรณีเกษตรกรขอจดทะเบียนไถ่ถอนจากจำนองอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เป็นหลัก
ประกันจากเจ้าหนี้ผู้รับจำนองเสียก่อน เมื่อไถ่ถอนจากจำนองแล้วจึงขอจดทะเบียนโอน
กรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์น้ันให้แก่กองทุน ในการโอนอสังหาริมทรัพย์
ให้แก่กองทุนให้พนักงานเจ้าหน้าที่รับจดทะเบียนประเภท “โอนตามกฎหมาย (มาตรา ๓๗
/ ๙ วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญตั ิกองทุนฟนื้ ฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๔๒)” การ
จดั ทำคำขอ (ท.ด.๑, ท.ด ๑ ก) คำขอโอนตามกฎหมาย (ท.ด.๙) และสารบัญจดทะเบยี น
ปฏิบัติตามตัวอยา่ ง

๒. กรณีเกษตรกรขอจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์
ที่ใช้เป็นหลักประกันให้แก่กองทุนในระหว่างจำนอง เมื่อกองทุนรับโอนมาแล้วจึงขอจด
ทะเบียนไถ่ถอนจากจำนองจากเจ้าหน้ีของเกษตรกร ในการโอนอสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุน
ระหวา่ งการจำนองให้พนกั งานเจ้าหน้าทร่ี บั จดทะเบียนประเภท “โอนตามกฎหมาย (ระหวา่ ง
จำนอง) (มาตรา ๓๗ / ๙ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัตกิ องทนุ ฟนื้ ฟแู ละพัฒนาเกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๔๒)” การจัดทำคำขอ (ท.ด.๑, ท.ด.๑ ก) คำขอโอนตามกฎหมาย (ระหว่าง
จำนอง) (ท.ด.๙) และสารบัญจดทะเบียน ปฏบิ ัตติ ามตัวอยา่ ง

844

การจดทะเบียนท้ังกรณีไถ่ถอนจากจำนอง โอนตามกฎหมาย และโอนตามกฎหมาย
(ระหวา่ งจำนอง) ไดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ ้องเสยี ค่าธรรมเนยี ม สำหรับภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา
หัก ณ ท่จี า่ ย ภาษีธรุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ การโอนอสังหารมิ ทรัพยจ์ ากเกษตรกรให้
แก่กองทุนได้รับยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการ
ยกเว้นรัษฎากร (ฉบับท่ี ๔๕๙) พ.ศ. ๒๕๔๙ กำหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีธุรกิจ
เฉพาะ และอากรแสตมป์ ให้แก่เกษตรกรสำหรับเงินได้ รายรับและการกระทำตราสาร
อันเนื่องมาจากการโอนอสังหาริมทรัพย์ของเกษตรกรที่ใช้เป็นหลักประกันการชำระหนี้
ให้แก่กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ในการรับภาระชำระหน้ีให้แก่เจ้าหน้ีของเกษตรกร
รวมถึงกำหนดให้ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ให้กองทุนฟ้ืนฟูและพัฒนา
เกษตรกร สำหรับรายรับและการกระทำตราสาร อันเนื่องมาจากการให้กู้ยืมเงินหรือการ
โอนอสังหาริมทรัพย์ที่ตกและโอนมาเป็นของกองทุนคืนให้แก่เกษตรกร ทั้งน้ี เฉพาะการให้กู้
ยมื เงนิ การโอนอสังหาริมทรพั ย์และการกระทำตราสารท่ไี ด้กระทำตง้ั แตว่ ันท่ี ๑ กุมภาพันธ์
๒๕๔๙ เป็นต้นไป

(หนังสือกรมที่ดิน ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๖๘๐๕ ลงวันท่ี ๓ มีนาคม
๒๕๔๙ และหนังสอื กรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๒๑๘๐๓ ลงวันที่ ๓ สงิ หาคม ๒๕๔๙)

- การจำนองเพมิ่ หลกั ทรพั ย์เป็นการจำนองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๒ เชน่ เดียว
กับการจดทะเบียนประเภทจำนอง กล่าวคือ เป็นการนำเอาทรัพย์สินมาเป็นประกันการชำระ
หน้ี แต่เป็นการจำนองเพ่ือเป็นประกันหนี้ซ่ึงได้จดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์อ่ืนเป็น
ประกันไว้แล้ว โดยให้ถือจำนวนเงินที่จำนองและเง่ือนไขข้อตกลงอื่น ๆ เป็นไปตามสัญญา
จำนองเดิม เม่อื การจำนองเพิม่ หลักทรพั ย์เป็นการจำนอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๒ การที่
ผถู้ ือกรรมสทิ ธ์ิจดทะเบียนจำนองท่ีดนิ โฉนดที่ดินเลขท่ี ๑ เพื่อเปน็ ประกนั หน้ีตนเองไว้กับผู้รับ
จำนองรายหนึ่งแล้ว ต่อมาในระหว่างท่ีการจำนองยังคงมีอยู่ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ได้นำโฉนดท่ีดิน
ดังกล่าวไปจดทะเบียนจำนองเพิ่มหลักทรัพย์เพื่อเป็นประกันหนี้ ซ่ึงได้จดทะเบียนจำนอง
โฉนดท่ดี ินเลขท่ี ๒ ไว้แล้วตามสัญญาจำนองอีกฉบบั หนงึ่ ในการจำนองคร้งั ท่ี ๒ ของโฉนด
ทดี่ ินเลขท่ี ๑ จึงย่อมตอ้ งใชช้ อ่ื ประเภทการจดทะเบียนว่า “จำนองลำดับสองเพิม่ หลกั ทรัพย์”

(หนงั สอื กรมที่ดนิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๘๒๘๕ ลงวนั ท่ี ๑๕ มนี าคม ๒๕๔๙)

- การจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อผู้รับจำนองระหว่างกิจการที่เป็นนิติบุคคลเดียวกัน ให้
ปฏบิ ัติดังน้

(๑) เมื่อมีกรณีขอจดทะเบียนเพ่ือลบช่ือกิจการวิเทศธนกิจท่ีต่อท้ายชื่อธนาคาร
ผู้รับจำนองออกจากหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน หรือมีกรณีขอเปลี่ยนช่ือผู้รับจำนองระหว่าง
กิจการทเี่ ป็นนิตบิ คุ คลเดยี วกันดังกลา่ ว ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทรี่ บั จดทะเบยี นประเภท “เปลย่ี น
ชือ่ ผรู้ ับจำนอง (ระหวา่ งกจิ การทเ่ี ป็นนติ ิบคุ คลเดียวกนั )”

(๒) ในกรณีที่มีคู่กรณีมายื่นขอจดทะเบียนเพียงฝ่ายเดียว เนื่องจากผู้รับจำนอง
ท่ีมีชื่อในทางทะเบียนได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังให้ปิดกิจการแล้วให้พนักงานเจ้า
หน้าท่ีเรียกหนังสือกระทรวงการคลังท่ีอนุญาตให้ปิดกิจการเป็นหลักฐานประกอบการขอจด

845

ทะเบียน

(๓) ในการรับคำขอให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสอบสวนให้ทราบถึงสาเหตุของการ
เปลย่ี นช่ือผ้รู บั จำนองลงไว้ในคำขอ (ท.ด.๑, ท.ด.๑ ก) และคำขอ (ท.ด. ๙) ตามตวั อยา่ ง

(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมประเภทไม่มีทุนทรัพย์แปลงละ ๕๐ บาท ตามกฎ
กระทรวง ฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล
กฎหมายทดี่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๒ (๗) (ฑ) และไม่ต้องเรยี กเก็บภาษอี ากร

(หนงั สอื กรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๑๔๒๑๗ ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๙)



ค่าธรรมเนยี ม (หนา้ ๒๔๘)

เพิ่มเติมเนอ้ื หาไวก้ อ่ นหัวขอ้ ภาษเี งินได้หกั ณ ทจี่ ่าย ดังนี

- การลดคา่ ธรรมเนียมการจดทะเบยี นโอนและจำนอง กรณคี วบรวมกิจการตามแผน
พัฒนาระบบสถาบันการเงิน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การเรียกเก็บค่า
ธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายท่ีดิน กรณีการควบรวมกิจการ
ตามแผนพฒั นาระบบสถาบันการเงินตามหลักเกณฑท์ ่คี ณะรฐั มนตรีกำหนด ประกาศ ณ วัน
ที่ ๒๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอื่ ง การเรียกเก็บค่า
ธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีการควบรวม
กิจการตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ประกาศ
ณ วนั ที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เฉพาะการจดทะเบยี นโอนหรอื จดทะเบยี นจำนองท่ีได้
กระทำระหว่างวันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ถึงวนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ให้
พนกั งานเจา้ หน้าท่ีถือปฏิบัตดิ งั น
ี้
๑. เม่ือมีสถาบันการเงินตามความหมายในประกาศกระทรวงมหาดไทย ขอจด
ทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครอง หรือขอจดทะเบียนโอนสิทธิการรับจำนอง
อสังหาริมทรัพย์หรือห้องชุดโดยให้ถ้อยคำว่าการโอนหรือการโอนสิทธิการรับจำนองดังกล่าว
เป็นกรณีสืบเนื่องมาจากท่ีได้มีการโอนกิจการทั้งหมดหรือบางส่วนให้แก่กันตามแผนควบรวม
กิจการหรือแผนการดำเนนิ การตามนโยบายสถาบนั การเงิน ๑ รปู แบบ ใหพ้ นักงานเจ้าหน้าท่ี
เรยี กหนังสอื ทกี่ ระทรวงการคลงั หรือธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งใหส้ ถาบันการเงนิ นัน้ ทราบวา่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังพิจารณาเห็นชอบกับแผนการควบรวมกิจการหรือแผนการ
ดำเนินการตามนโยบายสถาบันการเงิน ๑ รูปแบบ ตามข้อเสนอของสถาบันการเงินนั้นแล้ว
เป็นหลักฐานประกอบการลดหย่อนคา่ ธรรมเนยี มตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยในกรณี
ของการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองอันเน่ืองมาจากการโอนกิจการตามแผน
ดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่รับจดทะเบียนประเภท “โอนตามข้อตกลง (โอนกิจการ
ทัง้ หมด)” หรอื “โอนตามขอ้ ตกลง (โอนกจิ การบางสว่ น)” และในการจดทะเบยี นดงั กล่าว
รวมทั้งการจดทะเบียน “โอนสิทธิการรับจำนอง” ให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมร้อยละ ๐.๐๑
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ

๒. โดยท่ีประกาศกระทรวงมหาดไทยท่ีให้พนักงานเจ้าหน้าที่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม
846

ร้อยละ ๐.๐๑ สำหรับการโอนและการจำนองท่ีเน่ืองมาจากควบรวมกิจการตามแผนพัฒนา
ระบบสถาบันการเงินมีผลบงั คับใช้ย้อนหลงั ไปถงึ วันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๔๗ จงึ อาจมีกรณขี อ
คืนค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนท่ีได้ดำเนินการไปก่อนประกาศกระทรวงมหาดไทยใช้บังคับ
โดยอ้างว่าเป็นการจดทะเบียนโอนและจำนองอันเน่ืองมาจากการโอนกิจการตามแผนพัฒนา
ระบบสถาบันการเงิน ซ่ึงถ้ามีกรณีขอคืนค่าธรรมเนียมเกิดข้ึน ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีเรียก
หนังสือท่ีกระทรวงการคลังหรือธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งให้สถาบันการเงินน้ันทราบว่า
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังพิจารณาเห็นชอบกับแผนการควบรวมกิจการหรือแผนการ
ดำเนินการตามนโยบายสถาบันการเงิน ๑ รูปแบบ ตามข้อเสนอของสถาบันการเงินนั้นแล้ว
เป็นหลักฐานประกอบการพิจารณาคืนค่าธรรมเนียม หากปรากฏข้อเท็จจริงว่าได้รับความเห็น
ชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีดำเนินการเพ่ือคืนเงินค่า
ธรรมเนียมการจดทะเบียนในส่วนที่เรียกเก็บไว้เกินจากร้อยละ ๐.๐๑ ให้แก่ผู้ขอตามระเบียบ
ข้ันตอนต่อไป

(หนังสือกรมท่ีดิน ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๙๙๗๐ ลงวันท่ี ๓๐ มีนาคม
๒๕๔๙)



การลดค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์และห้องชุดเพ่ือสนับสนุน
การซือ้ ขายบ้านมือสอง

กระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การเรียกเก็บค่า
ธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีการสนับสนุน
การซื้อขายและจำนองตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่า
ธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีการสนับสนุน
การซื้อขายและจำนองตามมาตรการส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ มผี ลใช้บังคับตั้งแตว่ ันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ถึงวนั ที่
๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ดังน
้ี
ขอ้ ๑ ให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์ในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
สำหรับการจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์ท่ีซ้ือมาในวันเดียวกันเฉพาะจำนวนเงินจำนองที่
ไม่เกินกว่าราคาซ้ือขายอสังหาริมทรัพย์นั้น ส่วนจำนวนเงินจำนองที่เกินกว่าราคาซ้ือขายให้
เรียกเก็บตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ออก
ตามความในพระราชบญั ญัติใหใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายที่ดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗

ขอ้ ๒ ให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนจำนองห้องชุดในอัตราร้อยละ ๐.๐๑ สำหรับการจด
ทะเบียนจำนองห้องชุดที่ซ้ือมาในวันเดียวกันเฉพาะจำนวนเงินจำนองที่ไม่เกินกว่าราคาซ้ือขาย
ห้องชุดน้ัน ส่วนจำนวนเงินจำนองท่ีเกินกว่าราคาซื้อขายให้เรียกเก็บตามอัตราที่กำหนดในกฎ
กระทรวงว่าด้วยค่าธรรมเนียมเก่ียวกับอาคารชุดออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๒๒


847

(หนังสือกรมทด่ี ิน ดว่ นท่สี ุด ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๓๕๒๘๗

ลงวนั ท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๘)




การจดทะเบียนสทิ ธเิ ก่ียวกับอสังหาริมทรพั ย์ซึ่งไดม้ าโดยทางมรดก



สาระสำคัญ (หนา้ ๒๗๓)

เพิ่มเตมิ เนอ้ื หาไว้ก่อนหวั ข้อ แนวทางการวนิ จิ ฉยั ท่สี ำคัญเกี่ยวกบั การโอนมรดก ดงั น
้ี
- การปิดประกาศการขอจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงได้มาโดยทาง
มรดก ตามมาตรา ๘๑ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ให้ปิดประกาศทุกแหง่ ทีก่ ฎหมายกำหนด
เว้นแต่ในท้องที่ซ่ึงอสังหาริมทรัพย์ที่ขอจดทะเบียนต้ังอยู่ไม่มีสถานที่นั้นให้ปิด เช่น มีแต่
สำนักงานเทศบาล ไม่มีท่ีทำการองค์การบริหารส่วนตำบลเนื่องจากที่ทำการองค์การบริหาร
ส่วนตำบลได้ยกฐานะข้ึนเป็นเทศบาลแล้ว กรณีจึงต้องปิดเฉพาะท่ีสำนักงานเทศบาลไม่อาจ
ปิดที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ เป็นตน้

(หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๔๐๑๑๙ ลงวนั ท่ี ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘)

- ผมู้ ีอำนาจในการสั่งจดทะเบยี นโอนมรดก ไดแ้ ก

(๑) กรณีสำนักงานท่ีดินจังหวัดและสำนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา ให้บันทึกเสนอ
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา หากเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือ
เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้หัวหน้าฝ่าย
ทะเบียน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด
หรอื เจ้าพนกั งานท่ีดนิ จงั หวัดสาขา เป็นผูพ้ ิจารณาสง่ั ใหจ้ ดทะเบียนแลว้ แตก่ รณี

(๒) กรณสี ำนักงานที่ดนิ จงั หวดั หรือสำนักงานท่ีดนิ สาขาสว่ นแยก ให้บันทกึ เสนอ
เจ้าพนักงานที่ดิน หัวหน้าส่วนแยก หากเจ้าพนักงานที่ดินหัวหน้าส่วนแยกไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่
สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด้านทะเบียนซ่ึงได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงาน
ท่ดี นิ หัวหน้าสว่ นแยก เป็นผพู้ ิจารณาสัง่ ให้จดทะเบียน

(๓) กรณีสำนักงานที่ดินอำเภอและสำนักงานท่ีดินกิ่งอำเภอ ให้บันทึกเสนอนาย
อำเภอ หรือปลัดอำเภอผเู้ ป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ หรือผทู้ ี่ได้รับมอบหมายจากนายอำเภอ
หรอื ปลดั อำเภอผเู้ ปน็ หวั หน้าประจำกงิ่ อำเภอ เป็นผ้พู ิจารณาส่งั ให้จดทะเบยี นแลว้ แตก่ รณี

ท้ังนี้ เป็นไปตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเก่ียวกับ
อสงั หารมิ ทรัพยซ์ ึง่ ได้มาโดยทางมรดก (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๔๙

(หนงั สอื กรมทดี่ ิน ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๑๓๘๕๓ ลงวนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๙)



ภาษเี งินไดห้ กั ณ ทีจ่ ่าย ภาษธี ุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์ (หน้า ๓๔๑)

เพิม่ เตมิ เน้ือหาไว้กอ่ นภาษีธุรกิจเฉพาะ

- การโอนมรดกให้แก่ทายาทโดยธรรม หรือทายาทตามพินัยกรรม ไม่อยู่ในบังคับ
848

ตอ้ งเสยี อากรแสตมป์ตามลักษณะแหง่ ตราสาร ๒๘. (ข) แหง่ ประมวลรัษฎากร

(หนงั สอื กรมสรรพากร ที่ กค ๐๗๐๖ / ๑๐๘๓๗ ลงวนั ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘
เวยี นโดยหนงั สือกรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙)

- การนับวันเร่ิมปีท่ีถือครองเพ่ือคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ท่ีจ่าย
ตามมาตรา ๔๘ (๔) (ก) แห่งประมวลรษั ฎากร กรณีบคุ คลธรรมดาขายอสงั หาริมทรัพย์ท่ี
ได้มาโดยทางมรดก (ทายาทจดทะเบียนรับโอนมรดกแล้วจดทะเบียนขาย) ให้เริ่มนับปีที่ถือ
ครองตั้งแต่วันที่มรดกได้ตกแก่ทายาทตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๙ ซ่ึงได้แก่วันท่ีเจ้ามรดก
ถึงแกค่ วามตายเชน่ เดมิ

(หนังสอื กรมสรรพากร ที่ กค ๐๗๐๖ / ๑๗๑๐ ลงวนั ท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๔๙ เวียน
โดยหนังสือกรมท่ีดนิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๐๘๒๘๖ ลงวนั ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๙)

- เพ่ิมระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงได้มา
โดยทางมรดก (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ ต่อจากระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการจดทะเบียน
สิทธิเกีย่ วกบั อสังหาริมทรัพย์ซงึ่ ไดม้ าโดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ (หนา้ ๓๙๖) พรอ้ มท้งั
หมายเหตุข้อ ๓๒ วรรคหน่ึง (เดิมหน้า ๓๕๙) ให้ทราบว่ามีการยกเลิกและใช้ข้อความ
ใหม)่ ดังนี้




ระเบยี บกรมท่ีดนิ

ว่าด้วยการจดทะเบยี นสทิ ธิเกย่ี วกบั อสงั หาริมทรัพย์ซง่ึ ไดม้ าโดยทางมรดก (ฉบบั ที ่ ๒)


พ.ศ. ๒๕๔๙

------------------------

โดยที่ตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งได้
มาโดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๓๒ วรรคหนงึ่ กำหนดแนวทางในการจดทะเบยี นสทิ ธิ
เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงได้มาโดยทางมรดกไว้ว่า ก่อนจดทะเบียนโอนมรดกให้พนักงาน
เจ้าหน้าท่ีบันทึกเสนอเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด หรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา หรือนาย
อำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอหรือผู้รักษาราชการแทน หรือผู้รักษา
การในตำแหน่ง หรอื ผปู้ ฏบิ ัตริ าชการแทนแลว้ แต่กรณี เป็นผูพ้ จิ ารณาสั่งใหจ้ ดทะเบียน เมือ่
ได้มีการสั่งการแล้วจึงให้ดำเนินการต่อไปได้ น้ัน ปรากฏว่าในทางปฏิบัติการส่ังจดทะเบียน
โอนมรดกดงั กล่าว สง่ ผลทำให้การปฏบิ ัติงานไมค่ ล่องตัวเท่าทคี่ วร ฉะนั้น เพื่อใหก้ ารปฏิบัติ
งานเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งได้มาโดยทางมรดกมีความคล่อง
ตัว รวดเร็ว และเกิดประสิทธิภาพในการให้บริการ กรมที่ดินจึงเห็นสมควรแก้ไขระเบียบข้อ
ดงั กล่าว และวางระเบยี บใหม่ไวด้ งั ต่อไปน
ี้
ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิเก่ียวกับ
อสงั หารมิ ทรัพย์ซง่ึ ได้มาโดยทางมรดก (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙”

ขอ้ ๒ ระเบียบน้ใี หใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แตบ่ ดั น้ีเป็นต้นไป

ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓๒ วรรคหน่ึง แห่งระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการจด

849

ทะเบยี นสทิ ธเิ กีย่ วกบั อสงั หารมิ ทรพั ย์ซ่ึงไดม้ าโดยทางมรดก พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อ
ไปนี้แทน

“ข้อ ๓๒ ก่อนจดทะเบยี นมรดกให้พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีตรวจเร่ืองโดยละเอยี ด เม่อื
เห็นว่าไม่มขี ้อขดั ขอ้ งประการใด ให้บนั ทกึ เสนอพนกั งานเจ้าหนา้ ทดี่ ังตอ่ ไปนเ้ี ปน็ ผู้พจิ ารณาสัง่
ใหจ้ ดทะเบยี น

(๑) กรณีสำนักงานที่ดินจังหวัดและสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ให้บันทึกเสนอเจ้า
พนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา หากเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือ
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขาไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้หัวหน้าฝ่าย
ทะเบียน หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีฝ่ายทะเบียนซ่ึงได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด
หรอื เจา้ พนกั งานทด่ี ินจังหวัดสาขา เปน็ ผพู้ จิ ารณาสัง่ ใหจ้ ดทะเบยี นแล้วแตก่ รณ

(๒) กรณีสำนักงานที่ดินจังหวัดหรือสำนักงานท่ีดินสาขาส่วนแยก ให้บันทึกเสนอ
เจ้าพนักงานที่ดินหัวหน้าส่วนแยก หากเจ้าพนักงานที่ดินหัวหน้าส่วนแยกไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่
สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีด้านทะเบียนซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงาน
ท่ดี นิ หวั หนา้ ส่วนแยก เปน็ ผพู้ ิจาณาสงั่ ใหจ้ ดทะเบียน

(๓) กรณีสำนักงานที่ดินอำเภอและสำนักงานที่ดินก่ิงอำเภอ ให้บันทึกเสนอนาย
อำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำก่ิงอำเภอ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากนายอำเภอ
หรอื ปลัดอำเภอผู้เปน็ หวั หนา้ ประจำกิ่งอำเภอ เป็นผ้พู จิ ารณาส่งั ใหจ้ ดทะเบยี นแล้วแตก่ รณี”




ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙




วา่ ท่ ี ร.ต. ขันธ์ชยั วิจักขณะ

(ขนั ธ์ชยั วจิ ักขณะ)


รองอธิบดี รักษาราชการแทน

อธบิ ดีกรมทด่ี ิน
























850

การจดทะเบยี นภาระจำยอม


อากรแสตมป ์ (หนา้ ๔๕๘)

เพม่ิ เตมิ เนื้อหาตอ่ จากบรรทดั สุดท้ายของหน้า ๔๕๘ ดังน
้ี
- การจดทะเบียนทรัพยสิทธิเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ เช่น ภาระจำยอม สิทธิเก็บ
กิน สิทธิอาศัย กรณีไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียอากรแสตมป์
ตามลกั ษณะแหง่ ตราสาร ๒๘. (ข) แห่งประมวลรัษฎากร สำหรบั การจดทะเบียนทรัพยสิทธิ
ท่ีมีการจ่ายค่าตอบแทนให้กัน เรียกเก็บอากรแสตมป์ร้อยละ ๐.๕ จากจำนวนเงินค่า
ตอบแทน

(หนังสือกรมสรรพากร ที่ กค ๐๗๐๖ / ว ๑๐๘๓๗ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เวียนโดยหนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวันท่ี ๑๓ มกราคม
๒๕๔๙)




การจดทะเบยี นสทิ ธเิ ก็บกนิ


อากรแสตมป ์ (หน้า ๔๖๙)

เพ่ิมเตมิ เนือ้ หาต่อจากบรรทัดสุดทา้ ยของหนา้ ๔๖๒ ดงั น้ี

- กาจดทะเบียนทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เช่น ภาระจำยอม สิทธิเก็บ
กิน สิทธิอาศัย กรณีไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียอากรแสตมป์
ตามลกั ษณะแหง่ สาร ๒๘. (ข) แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับการจดทะเบยี นทรพั ยสทิ ธิทม่ี ี
การจ่ายค่าตอบแทนใหแ้ กก่ นั เรียกเกบ็ อากรแสตมปร์ ้อยละ ๐.๕ จากจำนวนเงินค่าตอบแทน

(หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๗๐๖ / ว ๑๐๘๓๗ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เวียนโดยหนังสอื กรมที่ดนิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวนั ท่ี ๑๓ มกราคม
๒๕๔๙)




การจดทะเบียนสทิ ธเิ หนอื พน้ื ดิน


อากรแสตมป์ (หนา้ ๔๗๖)

เพิม่ เตมิ เนือ้ หาต่อจากบรรทดั สดุ ท้ายของหน้า ๔๗๖ ดงั นี้

- กาจดทะเบียนทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เช่น ภาระจำยอม สิทธิเก็บ
กิน สิทธิอาศัย กรณีไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียอากรแสตมป์
ตามลักษณะแหง่ ตราสาร ๒๘. (ข) แหง่ ประมวลรษั ฎากร สำหรบั การจดทะเบียนทรัพยสิทธิ
ท่ีมีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน เรียกเก็บอากรแสตมป์ร้อยละ ๐.๕ จากจำนวนเงินค่า
ตอบแทน

(หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๗๐๖ / ว ๑๐๘๓๗ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เวียนโดยหนังสือกรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวันท่ี ๑๓ มกราคม
๒๕๔๙)


851

การจดทะเบยี นสิทธอิ าศยั


อากรแสตมป์ (หน้า ๔๗๙)

เพ่ิมเติมเน้ือหาต่อจากบรรทดั สุดทา้ ยของหนา้ ๔๗๙ ดงั นี้

- กาจดทะเบียนทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เช่น ภาระจำยอม สิทธิเก็บ
กิน สิทธิอาศัย กรณีไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียอากรแสตมป์
ตามลักษณะแห่งตราสาร ๒๘. (ข) แห่งประมวลรษั ฎากร สำหรับการจดทะเบยี นทรพั ยสิทธิ
ท่ีมีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน เรียกเก็บอากรแสตมป์ร้อยละ ๐.๕ จากจำนวนเงินค่า
ตอบแทน

(หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๗๐๖ / ว ๑๐๘๓๗ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เวียนโดยหนังสือกรมทีด่ ิน ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวนั ท่ี ๑๓ มกราคม
๒๕๔๙)




การจดทะเบียนภาระติดพันในอสังหารมิ ทรพั ย์


อากรแสตมป์ (หน้า ๔๘๓)

เพิ่มเตมิ เนื้อหาต่อจากบรรทัดสดุ ทา้ ยของหนา้ ๔๘๓ ดังน
้ี
- การจดทะเบียนทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เช่น ภาระจำยอม สิทธิเก็บ
กิน สิทธิอาศัย กรณีไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียอากรแสตมป์
ตามลักษณะแห่งตราสาร ๒๘. (ข) แหง่ ประมวลรัษฎากร สำหรบั การจดทะเบียนทรพั ยสทิ ธิ
ที่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กัน เรียกเก็บอากรแสตมป์ร้อยละ ๐.๕ จากจำนวนเงินค่า
ตอบแทน

(หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๗๐๖ / ว ๑๐๘๓๗ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เวียนโดยหนังสือกรมทีด่ นิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวันท่ี ๑๓ มกราคม
๒๕๔๙)




การจดทะเบยี นบรุ มิ สทิ ธิ


สาระสำคัญ (หน้า ๕๐๗)

เพ่มิ เตมิ เนอ้ื หาไวก้ ่อนหัวข้อแนวทางการวินจิ ฉัยท่สี ำคัญเกี่ยวกับบรุ มิ สทิ ธิ ดงั นี้

- กรณีมีผู้นำหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินยื่นคำขอจดทะเบียนบุริมสิทธิเหนือ
อสังหาริมทรัพย์ในมูลจ้างทำของเป็นการงานทำขึ้นบนอสังหาริมทรัพย์ โดยนำรายการ
ประมาณราคาชั่วคราว เช่น สัญญาจ้างเหมาก่อสร้างอาคาร เป็นต้น มาแสดงต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ เพ่ือให้ลงทะเบียนไว้ก่อนเริ่มลงมือทำการ ตามนัยมาตรา ๒๗๓ (๒) ประกอบ
ป.พ.พ. มาตรา ๒๘๖ ใหพ้ นักงานเจ้าหน้าทร่ี ับจดทะเบยี นประเภท “บุรมิ สทิ ธ”ิ โดยคำขอ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ฯ (ท.ด.๑, ท.ด.๑ ก.) บันทกึ ขอ้ ตกลง (ท.ด.๑๖) และการจด
บันทึกรายการในสารบัญจดทะเบียนให้อนุโลมปฏิบัติตามตัวอย่าง สำหรับค่าธรรมเนียมตาม
852

มาตรา ๑๐๔ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ประกอบกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๗
(พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใ้ ช้ประมวลกฎหมายทดี่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗

(หนังสือกรมท่ดี นิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๓๖๘๑๔ ลงวนั ที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๘)

ภาษเี งินไดห้ ัก ณ ทจี่ า่ ย และค่าอากรแสตมป์ (หน้า ๕๑๑)

เพ่มิ เติมเนื้อหาต่อจากบรรทัดสดุ ทา้ ยของหนา้ ๕๑๑ ดังนี้

- เร่ืองอากรแสตมป์ กรณีการรับจดทะเบียนบุริมสิทธิในมูลจ้างทำของเป็นการงาน
ทำข้ึนบนอสังหาริมทรัพย์ ดงั นี้

(๑) สัญญาจ้างเหมาก่อสร้างท่ีคู่สัญญานำมาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพ่ือ
ประกอบการขอจดทะเบียนบุริมสิทธิในมูลจ้างทำของเป็นการงานทำข้ึนบนอสังหาริมทรัพย์
เขา้ ลักษณะแหง่ ตราสาร ๔. จ้างทำของ แห่งบัญชอี ตั ราอากรแสตมป์ ดงั นน้ั ผู้รบั จา้ งต้อง
เสียอากรในอัตรา ๑ บาท ทุกจำนวนเงนิ ๑,๐๐๐ บาท หรอื เศษของ ๑,๐๐๐ บาท แห่ง
สนิ จา้ งทีก่ ำหนดไว้ กรณสี ญั ญาจ้างทำของทค่ี สู่ ญั ญานำมาแสดงตอ่ พนักงานเจา้ หนา้ ทีย่ งั ไม่ได้
ปิดอากรแสตมปต์ ามลักษณะดังกล่าว เจา้ พนักงานทด่ี ินควรแจ้งให้ผูจ้ ดบรุ ิมสทิ ธินำตราสารไป
ปิดแสตมป์ใหบ้ ริบูรณถ์ ูกต้องตามประมวลรัษฎากร กอ่ นรับจดทะเบียนบรุ มิ สทิ ธิ

(๒) การจดทะเบียนบุริมสิทธิในมูลจ้างทำของเป็นการงานทำข้ึนบน
อสังหารมิ ทรพั ย์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๗๓ (๒) ไมอ่ ยู่ในบงั คบั ต้องเสยี อากรแสตมป์ใบรบั
พนกั งานเจา้ หน้าท่จี งึ ไมต่ ้องเรยี กเก็บอากรแสตมป์ใบรับ

(หนังสือกรมท่ดี นิ ท่ี มท ๐๕๑๕ / ว ๑๗๒๔๕ ลงวนั ที่ ๒๖ มิถนุ ายน ๒๕๔๙)




การจดทะเบยี นโอนเปน็ ที่สาธารณประโยชน์และแบ่งหกั

เป็นที่สาธารณประโยชน


สาระสำคัญ (หน้า ๕๘๕)

เพ่ิมเติมเน้ือหาไว้ก่อนหัวข้อแนวทางการวินิจฉัยท่ีสำคัญเกี่ยวกับการจดทะเบียนโอน
เป็นที่สาธารณประโยชนแ์ ละแบ่งหักเปน็ ทสี่ าธารณประโยชน์ ดังน้ี

- แนวทางปฏบิ ตั ิเพอื่ มใิ หม้ กี ารจดทะเบียนประเภท “แบง่ หกั เปน็ ที่สาธารณประโยชน์
(ทางสาธารณประโยชน์)” กรณกี ารจดทะเบยี นไมต่ รงตามเจตนาของผูข้ อ ดังน
ี้
(๑) กรณีมีผู้ย่ืนคำขอรังวัดแบ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์ ก่อนรับคำขอให้
พนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้รับคำขอช้ีแจงให้ผู้ขอเข้าใจว่าการแบ่งเป็นทางนั้น มีสองกรณี คือ การ
แบ่งเป็นทางส่วนบุคคลกับการแบ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์ ซ่ึงทั้งสองกรณีมีความแตกต่าง
กัน โดยการแบ่งเป็นทางส่วนบุคคลนั้นท่ีดินส่วนที่เป็นทางยังคงมีช่ือบุคคลที่ขอแบ่งเป็น
เจ้าของซ่ึงพนักงานเจ้าหน้าที่จะออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินให้กับผู้ขอแบ่ง และทางน้ันใช้ได้
เฉพาะบุคคลผู้เป็นเจ้าของหรือบุคคลที่จะเจ้าของประสงค์จะให้ใช้ เจ้าของมีสิทธิที่จะห้าม
บุคคลโดยทั่วไปไม่ให้ใช้ทางน้ันได้ ส่วนการแบ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์นั้น ผู้ขอแบ่งให้
เป็นทางสาธารณประโยชน์ไม่ได้เป็นเจ้าของต่อไปแล้ว โดยท่ีดินส่วนนั้นจะกลายเป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินสำหรับประชาชนใช้ร่วมกันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๒) โดยการ

853

อทุ ิศและเจ้าของท่ดี นิ จะถอนคืนการอทุ ิศไม่ได้ บุคคลโดยท่ัวไปสามารถเขา้ ไปใช้ไดโ้ ดยพลการ
เจ้าของท่ีดินเดิมไม่มีสิทธิท่ีจะหวงห้ามเม่ือผู้ขอเข้าใจท้ังสองกรณีดีแล้ว ให้สอบถามว่าจะแบ่ง
เป็นทางส่วนบุคคล (แบ่งในนามเดิม หรือแบ่งกรรมสิทธิ์รวม แล้วแต่กรณี) หรือจะแบ่ง
เป็นทางสาธารณประโยชน์ หากผู้ขอยืนยันจะขอรังวัดแบ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์ ให้
พนักงานเจา้ หนา้ ทบี่ ันทกึ การรับทราบคำชแี้ จงดงั กลา่ วและความประสงค์ของผขู้ อ แลว้ ใหผ้ ขู้ อ
ลงลายมอื ช่อื ไวเ้ ป็นหลักฐาน เสร็จแล้วจึงดำเนินการใหผ้ ขู้ อตามระเบยี บต่อไป

(๒) กรณีผู้ขอได้ยื่นคำขอรังวัดแบ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์ไว้แล้ว หรือกรณีท่ีผู้
ขอไดย้ ื่นคำขอรงั วัดประเภทอ่นื ไว้โดยมิได้ยื่นคำขอรงั วัดแบ่งเปน็ ทางสาธารณประโยชน์ แตใ่ น
วันนำทำการรังวัดผู้ขอมีความประสงค์เพิ่มเติม โดยนำรังวัดแบ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์
ด้วย ท้ังสองกรณีก่อนทำการรังวัดให้ช่างผู้ทำการรังวัดชี้แจงให้ผู้ขอรังวัดเข้าใจเร่ืองการแบ่ง
เป็นทางสาธารณประโยชน์และบันทกึ ไวโ้ ดยให้ปฏบิ ัติทำนองเดียวกบั (๑)

(๓) กรณีที่ผู้ขอได้ย่ืนคำขอรังวัดประเภทอื่นไว้โดยไม่ได้ย่ืนคำขอรังวัดแบ่งเป็นทาง
สาธารณประโยชน์แต่ในวันนำทำการรังวัดผู้ขอรังวัดได้นำรังวัดแบ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์
เพิ่มเติม แม้ช่างผู้ทำการรังวัดได้ปฏิบัติตาม (๒) ไว้แล้วก็ตามในวันย่ืนคำขอแก้ไขคำขอรังวัด
เพิ่มเติม โดยขอแบ่งเปน็ ทางสาธารณประโยชน์ กอ่ นรับคำขอใหพ้ นกั งานเจา้ หน้าท่ผี ูร้ บั คำขอ
ชแ้ี จงให้ผู้ขอเขา้ ใจและบนั ทกึ ไว้โดยให้ปฏิบตั ิทำนองเดียวกับ (๑) ด้วย เพอื่ ยืนยนั เจตนาของผู้
ขอรังวดั ทีไ่ ดน้ ำรังวัดไว้อกี ครัง้ หนึ่ง

(หนงั สอื กรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๑๐๔๖๔ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๔๙)



ค่าอากรแสตมป์ (หนา้ ๖๐๐)

ตดั เนอ้ื หาในหวั ข้อค่าอากรแสตมป์ออกทงั้ หมด และให้ใชเ้ น้ือหาตอ่ ไปนแี้ ทน

- กรณีการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้เป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินซึ่งเป็นกรณีที่ไม่มีผู้รับ เช่น ให้ท่ีดินเป็นทางสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ไม่
ต้องเรยี กเกบ็ อากรแสตมป์

(หนังสอื กรมสรรพากร ที่ กค ๐๗๐๖ / ๑๐๘๓๗ ลงวนั ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘
เวยี นโดยหนงั สือกรมทีด่ ิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๐๙๔๕ ลงวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙)




การสอบเขต แบ่งแยก และรวมโฉนด


- แกไ้ ขหนา้ ๖๕๕ โดยให้ตัดขอ้ ความบรรทดั ที่ ๕ และ ๖ นบั จากทา้ ยออก และ
ให้เตมิ ขอ้ ความต่อไปนแ้ี ทน

ลงวนั ที่ .... เดือน ................... พ.ศ. ....... แตะต้องแต่อยา่ งใด” แต่ถา้ แปลงคงเหลือมภี าร
จำยอมครอบตดิ อยกู่ ็ให้หมายวา่ “ทดี่ ินแปลงที่แยกไปน้ีไม่มภี ารจำยอมตามบนั ทึกข้อตกลงจด
ทะเบยี นภารจำยอมบางส่วน ฉบับลงวนั ที่ ...... เดอื น .................... พ.ศ. .......... แตะต้อง
แตอ่ ยา่ งใด ส่วนแปลงคงเหลอื ยังคงมภี ารจำยอมตามบันทึกขอ้ ตกลงดงั กล่าวครอบติดอย”ู่

854

- แก้ไขหน้า ๖๖๐ บรรทัด ๔ จากข้อความ (๔) โฉนดท่ีดินแปลงแบ่งแยกให้
เขยี นชือ่ ผขู้ ายฝาก เปน็ (๔) โฉนดทด่ี นิ แปลงแบง่ แยกให้เขยี นชอ่ื ผู้ซ้อื ฝาก

(หนงั สือกรมทดี่ นิ ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๐๘๒๘๔ ลงวันท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๙)




การอายดั ท่ดี ิน


หลักเกณฑก์ ารอายัดทดี่ ิน (หน้า ๗๐๐)

เพิ่มเติมเน้อื หาไว้กอ่ นหวั ข้อองค์ประกอบของคำขออายดั ฯ (ต่อจากข้อ ๙)

- คำส่ังรับหรือไม่รับอายดั หรอื การสัง่ ยกเลิกการอายัดทีด่ ิน ตามมาตรา ๘๓ แหง่
ประมวลกฎหมายท่ีดิน ถือเป็นการใช้อำนาจส่ังการตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ท่ีมีผลกระทบ
ต่อสิทธิของบุคคลจึงเป็นคำสั่งทางปกครอง ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งคู่กรณีสามารถอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำสั่งได้ และ
เนื่องจากมาตรา ๘๓ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน มิได้กำหนดขั้นตอนหรือระยะเวลาในการ
อุทธรณ์หรือโต้แย้งไว้เป็นการเฉพาะ กล่าวคือ ต้องแจ้งคำส่ังพร้อมด้วยเหตุผล และสิทธิใน
การอุทธรณ์ให้คู่กรณีที่ถูกกระทบสิทธิทราบด้วยว่า “หากมีความประสงค์จะอุทธรณ์หรือโต้
แยง้ คำส่ัง ให้ยน่ื อุทธรณ์หรือโตแ้ ย้งคำส่ังต่อเจา้ หน้าทผ่ี ้ทู ำคำสงั่ ภายใน ๑๕ วนั นบั แตว่ นั ท่ไี ด้
รับแจ้งคำส่ังตามนัยมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.
๒๕๓๙ ในกรณีท่ีมีการอุทธรณ์ หากครบกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาของผู้มีอำนาจ
พิจารณาอุทธรณ์ตามนัยมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.
๒๕๓๙ ประกอบกฎกระทรวงฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัตดิ ัง
กล่าวแล้ว ไม่ว่าจะมีคำวินิจฉัยของผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่ก็ตาม ผู้อุทธรณ์
สามารถทำคำฟ้องเป็นหนังสือยื่นต่อศาลปกครองหรือส่งคำฟ้องทางไปรษณีย์ลงทะเบียนไปยัง
ศาลปกครองได้ภายในวันระยะเวลา ๙๐ วัน นับแต่วันท่ีรู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี
ตามนัยมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
๒๕๔๒”

(หนังสอื กรมที่ดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๑๑๕๗๔ ลงวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๙



การมอบอำนาจ (หน้า ๗๒๘)

เพิ่มเติมหัวข้อ “สาระสำคัญ” และเน้ือหาไว้ก่อนหัวข้อแนวทางการวินิจฉัยที่สำคัญ
เก่ยี วกับการมอบอำนาจ ดังน
ี้
สาระสำคัญ

- กำชบั พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ีตามขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดินของรฐั สภา กรณี
การตรวจหนังสือมอบอำนาจให้ทำการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในอสังหาริมทรัพย์ ว่าให้
ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความละเอียดรอบคอบโดยยึดระเบียบกฎหมายของทางราชการ และถึงแม้
ระเบียบกรมท่ีดิน ฯ ข้อ ๑๒ จะกำหนดให้มีการทำบันทึกรับรองความเสียหายที่เกิดข้ึนจาก
การทำนิติกรรมก็ตาม บทบัญญัติดังกล่าวไม่อาจตีความในลักษณะเป็นการลดหน้าท่ีรับผิด

855

ชอบของเจ้าพนักงานทด่ี นิ ในการที่ต้องตรวจสอบลงมาได

(หนงั สือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๑๒๔๐๓ ลงวนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙)

หมายเหตุ

การแก้ไขเนื่องจากการพมิ พผ์ ิดพลาด

โดยในเร่ืองการจดทะเบียนขาย ได้มีการเรียงหน้าตัวอย่างท้ายระเบียบไว้ไม่ถูกต้อง
กล่าวคือ นำตัวอย่างท้ายระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเขียนช่ือผู้ขอในคำขอจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมตามแบบ ท.ด.๑ หรอื ท.ด.๑ ก พ.ศ. ๒๕๔๗ ไว้สลบั กับตัวอยา่ งทา้ ยระเบียบ
กรมท่ีดินว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับการขายท่ีดินและอสังหาริมทรัพย์อ่ืน
พ.ศ. ๒๕๔๓ จึงขอให้หมายเหตุไว้ใหท้ ราบดว้ ยวา่ ตวั อย่างหน้า ๗๕ - ๘๔ เป็นตัวอยา่ ง
ท้ายระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเขียนชื่อผู้ขอในคำขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม
แบบ ท.ด.๑ หรือ ท.ด. ๑ ก พ.ศ. ๒๕๔๗ ส่วนตัวอย่างหน้า ๘๗ - ๑๐๐ เปน็ ตัวอยา่ ง
ท้ายระเบียบกรมท่ีดินว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมเก่ียวกับการขายที่ดินและ
อสังหารมิ ทรพั ยอ์ ่ืน พ.ศ. ๒๕๔๓




สำนักมาตรฐานการทะเบียนทีด่ นิ

กรมท่ีดิน


๒๔ สงิ หาคม ๒๕๔๙



856

(สำเนา)


ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๒๕๐๖๕ กรมทด่ี ิน

ถนนพระพพิ ิธ กทม. ๑๐๒๐๐

๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๙

เรือ่ ง การขอได้มาซ่ึงอสังหาริมทรัพย์ของนิติบุคคลภายใต้โครงการท่ีได้รับการส่งเสริมการ

ลงทนุ

เรียน ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด ทกุ จังหวัด

อา้ งถึง หนงั สอื กรมท่ีดนิ ท่ี มท ๐๗๐๘ / ว ๓๒๘๘ ลงวนั ท่ี ๑๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๒

สิ่งที่สง่ มาดว้ ย ทะเบยี นทีด่ ินนิตบิ คุ คลภายใตโ้ ครงการทีไ่ ด้รับการสง่ เสริมการลงทนุ



ด้วยสืบเน่ืองจากการประชุมหารือการดำเนินการเกี่ยวกับการขอได้มาซ่ึง
อสังหาริมทรัพย์ของนิติบุคคลภายใต้โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ระหว่างกรมท่ีดิน
กับสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ ผลการหารือสรปุ ได้วา่ เพอื่ เปน็ การลดขั้นตอน
การปฏิบัติงาน และให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีถือปฏิบัติเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงได้วางทาง
ปฏิบตั ิ ดังนี้

๑. การอนุญาตให้บริษัทถือกรรมสิทธ์ิท่ีดิน หรือถือกรรมสิทธ์ิท่ีดินเพิ่มเติม
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนต้องส่งหนังสือพร้อมระบุเลขท่ีบัตรส่งเสริมแจ้งกรม
ทดี่ นิ และจงั หวดั โดยไมต่ อ้ งแนบสำเนาบัตรส่งเสริม (กรณที ่ดี ินอยู่ในกรุงเทพมหานครเมือ่ กรม
ทดี่ นิ ได้รบั เร่อื งแล้วจะแจ้งให้สำนักงานทด่ี นิ กรงุ เทพมหานครดำเนินการตอ่ ไป)

๒. กรณีหนังสืออนุญาตให้บริษัทถือกรรมสิทธิ์ท่ีดิน มีเน้ือที่ต่างจากเน้ือท่ีที่รังวัด
สอบเขตในภายหลัง ถ้าเครื่องหมายท่ีดินของหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินถูกต้อง แม้เน้ือที่
เปล่ยี นแปลงเนอ่ื งจากผลการรังวดั กใ็ ห้โอนได้

๓. การจำหน่ายที่ดินของบริษัทที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน จะต้องมีหนังสืออนุญาต
จากสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กอ่ นท่ีสำนักงานท่ีดินจะดำเนนิ การจดทะเบยี น
โอนที่ดินเว้นแต่กรณีท่ีมีคำส่ังยกเลิก / เพิกถอนโครงการจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การลงทุนให้จำหน่ายที่ดินได้ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนไม่ต้องมีหนังสือ
อนุญาตใหจ้ ำหนา่ ยทด่ี ินอกี

๔. กรณีให้บริษัทท่ีไม่เป็นนิติบุคคลตามมาตรา ๙๗ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน
ได้รับโอนกรรมสิทธิ์ท่ีดิน (โดยไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. ๒๕๒๐) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จะมีหนังสือ
รับรองแจ้งให้จังหวัดทราบและดำเนินการโดยตรง ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาดำเนิน
การตามคมู่ ือการขอไดม้ าซึ่งที่ดินของนิตบิ คุ คลท่ีมีคนตา่ งด้าวถอื หนุ้ ขอ้ ๖ ตามหนงั สือกรม
ท่ีดิน ที่ มท ๐๕๑๕ / ว ๑๓๗๒๕ ลงวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๘ (กรณีท่ีดินอยู่ใน

857

กรงุ เทพมหานคร เมอื่ กรมที่ดนิ ไดร้ บั เร่ืองแลว้ จะแจง้ ใหส้ ำนกั งานทด่ี นิ กรุงเทพมหานครดำเนนิ
การตอ่ ไป)

๕. กรณีรับรองให้บริษัทและบุคคลต่างด้าวถือกรรมสิทธ์ิห้องชุด สำนักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมการลงทุนจะส่งหนังสือพร้อมระบุเลขท่ีบัตรส่งเสริมแจ้งกรมท่ีดิน โดยไม่ต้อง
แนบสำเนาบัตรส่งเสริม และเมื่อกรมที่ดินรับเร่ืองแล้วจะแจ้งให้จังหวัด และสำนักงานท่ีดิน
กรงุ เทพมหานครดำเนนิ การต่อไป

๖. บริษัทได้รับอนุญาตให้ถือกรรมสิทธ์ิท่ีดินตามบัตรส่งเสริมฉบับหนึ่ง ต่อมา
บริษัทได้รับบัตรส่งเสริมเพิ่มเติม สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนจะมีหนังสือแจ้ง
กรมที่ดิน และจังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) อนุญาตให้ถือกรรมสิทธ์ิที่ดินตามบัตรส่ง
เสริมการลงทุนฉบับเดิมร่วมกับบัตรส่งเสริมฉบับท่ีได้รับเพิ่มเติม (กรณีที่ดินอยู่ใน
กรงุ เทพมหานคร เมอ่ื กรมท่ดี นิ ได้รับเรอ่ื งแล้วจะแจง้ ใหส้ ำนกั งานท่ีดนิ กรงุ เทพมหานครดำเนิน
การตอ่ ไป)

๗. บริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ถือกรรมสิทธ์ิที่ดินขอเปล่ียนช่ือ ซ่ึงการเปลี่ยนชื่อ
บริษทั ต้องไดร้ บั อนุญาตจากกระทรวงพาณชิ ย์ โดยหนังสือรับรองไดร้ ะบุชื่อเดิมไว้ และบรษิ ทั
จะนำหลักฐานดังกล่าวมาขอแก้ไขบัตรส่งเสริม ซ่ึงในหลักฐานท่ีออกโดยสำนักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมการลงทุนจะระบุชื่อเดิมและช่ือปัจจุบันของบริษัทไว้อย่างชัดเจน กรณีนี้
บริษัทสามารถนำหนังสือรับรองของกระทรวงพาณิชย์ย่ืนต่อสำนักงานที่ดิน โดยสำนักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทนุ ไมต่ อ้ งมหี นงั สือยนื ยันซ้ำอกี

๘. นิติบุคคลไทยถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโดยมิได้ใช้สิทธิประโยชน์ตามมาตรา ๒๗
แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. ๒๕๒๐ ต่อมาได้เปลี่ยนสัดส่วนผู้ถือหุ้นเป็นคน
ต่างดา้ วมากกวา่ คนไทย และบรษิ ัทไดร้ บั อนมุ ตั ิสทิ ธปิ ระโยชน์ตามมาตรา ๒๗ ดังกล่าวแลว้
กรณีน้ีสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนจะมีหนังสือแจ้งอนุญาตให้ถือกรรมสิทธ์ิที่ดิน
ให้กรมที่ดินทราบ และเมื่อกรมที่ดินรับเรื่องแล้ว จะแจ้งให้จังหวัด และสำนักงานที่ดิน
กรงุ เทพมหานครดำเนนิ การตอ่ ไป

อนึ่ง การที่นิติบุคคลที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจะขอได้มาซ่ึงท่ีดินหรือขอ
จำหน่ายไปซ่ึงท่ีดิน (ตาม ๑, ๓ และ ๔) เมื่อจังหวัดได้รับหนังสือจากสำนักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมการลงทุนแล้ว ก็ให้ดำเนินการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมได้โดยไม่ต้องรอ
หนังสือจากกรมที่ดินแต่อย่างใดและเม่ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ดำเนินการตามนัยดังกล่าว
เรียบร้อยแล้ว ขอให้ใช้สมุดเบอร์ ๒ ทำทะเบียนท่ีดินนิติบุคคลที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน
(ตามสิ่งท่ีส่งมาด้วย) แล้วส่งสำเนาภาพถ่ายหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินพร้อมทั้งรายการจด
ทะเบียน ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับรองความถูกต้องแล้วไปให้กรมที่ดินด้วย ทั้งนี้ จะได้
ดำเนนิ การลงทะเบียนหรือแกไ้ ขรายการทะเบยี นที่ดินนิตบิ คุ คลในสว่ นกลางใหถ้ กู ตอ้ งต่อไป

858

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบและถือเป็นแนวทาง
ปฏิบตั ติ ่อไป



ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงชือ่ ) ว่าท่ ี ร.ต. ขันธ์ชัย วิจักขณะ

(ขันธช์ ัย วจิ ักขณะ)

รองอธิบดี ปฏบิ ัติราชการแทน

อธิบดกี รมทีด่ นิ











สำนกั มาตรฐานการทะเบยี นทดี่ นิ

โทร. ๐ - ๒๒๒๑ - ๙๑๘๙ โทรสาร ๐ - ๒๒๒๒ - ๐๖๒๓

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ต่อ ๒๓๗





















859

860 ทะเบยี นท่ีดินนติ บิ ุคคลภายใต้โครงการทไี่ ดร้ ับสง่ เสริมการลงทุน

อกั ษร..........................................................

ลำดบั ที่คำขอ/ปีงบประมาณ.......................

ชอ่ื นติ ิบุคคล.................................................. ทะเบียนนติ บิ คุ คลเลขท่.ี ....................................................................

ที่ตั้ง..............................................................


ลำดับท่ี หนังสือแสดงสทิ ธิในทด่ี นิ ทด่ี นิ ตงั้ อยู่ เนอื้ ท่ี บตั รสง่ เสรมิ ฯ ประเภทการใชป้ ระโยชน์ หมายเหตุ

ประเภท เลขที่ หนา้ ตำบล อำเภอ จังหวัด ไร่ งาน ตาราง เลขท่ี พานิชยกรรม/อตุ สาหกรรม

สำรวจ วา


Click to View FlipBook Version