The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2549 (ส่วนที่ 2) (ปี 2549)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

เอกสารแนบ ๑


ประมาณการเบอ้ื งต้นของการใช้ที่ดนิ เพอ่ื รองรับการดำเนินโครงการตามนโยบายของรัฐบาล

(๑) การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยการจัดสรรท่ีทำกินและท่ีอยู่อาศัย เนื่องจาก
ข้อมูลผู้ลงทะเบียนปัญหาสังคมและความยากจนของกระทรวงมหาดไทย ปรากฎว่า มี
ประชาชน ไม่มที ดี่ นิ ทำกนิ ประมาณ ๕๕๐,๐๐๐ ราย และไม่มที ีอ่ ยอู่ าศยั ประมาณ ๕๒๐,๐๐๐
ราย กรมธนารักษ์จงึ ประมาณการเบอื้ งต้นเพ่อื สนับสนุนนโยบายดงั กลา่ ว ดงั น้

- โครงการจดั สรรท่ีทำกนิ เน้ือทีป่ ระมาณ ๖๐๐,๐๐๐ ไร ่ ดังนี



จำนวนประชาชนไม่มีที่ดนิ ทำกนิ รอ้ ยละ ๑๐ - ๑๕ เฉลี่ยพน้ื ทป่ี ระมาณ ๑๐ ไร่ ต่อราย


หนว่ ย : ราย จำนวนประชาชนไมม่ ีทด่ี ินทำกนิ หนว่ ย : ไร่


หนว่ ย : ราย


๕๕๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๖๐๐,๐๐๐



- โครงการสร้างที่อยู่อาศัย เช่น บ้านเอื้ออาทร บ้านม่ันคง บ้าน Knock
down บ้านธนารักษ ์ เนื้อท่ปี ระมาณ ๑๕,๐๐๐ ไร ่ ดังนี



จำนวนประชาชนไม่มีทอ่ี ยูอ่ าศยั รอ้ ยละ ๒๐ เฉล่ยี พื้นทีป่ ระมาณ ๑๐๐ ตารางวาตอ่ ราย

หนว่ ย : ราย จำนวนประชาชนไม่มีทีอ่ ยู่อาศัย (พนื้ ที่บา้ นประมาณ ๖๐ ตารางวา และ

หน่วย : ราย พน้ื ทสี่ ่วนกลางประมาณ ๔๐ ตารางวา)

หน่วย : ไร


๕๒๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐



(๒) การส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชน เน่ืองจากรัฐบาลมีนโยบายเพิ่ม สวน
สาธารณะ ๑ สวน ๑ ตำบล เพื่อช่วยฟื้นฟูส่ิงแวดล้อมและพ้ืนที่สีเขียว เน้ือที่ประมาณ
๕๐,๐๐๐ ไร่ ดังนี้



จำนวนตำบลท่ัวประเทศ รอ้ ยละ ๒๕ จำนวนตำบลทว่ั ประเทศ เฉล่ยี พนื้ ท่ปี ระมาณ ๒๕ ไร่ ตอ่ แหง่


หน่วย : แหง่ หนว่ ย : แห่ง หนว่ ย : แหง่


๘,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐



รวมประมาณการความต้องการใช้ที่ดินตาม (๑) และ (๒) ประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ -
๙๐๐,๐๐๐ ไร ่ นอกจากน้ีจะต้องสำรองความต้องการใช้ที่ดินตามโครงการจัดสร้างสนามกีฬา
ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ หรือหอจดหมายเหตุ และเพ่ือรองรับการสนับสนุนระบบโลจิสติกส์ของ
ประเทศ โครงการ SME และโครงการปลูกพืชทดแทนพลัง รวมท้ังสำรองไว้เพ่ือรอรับ
โครงการตามนโยบายรฐั บาล และใชป้ ระโยชนใ์ นอนาคตประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ไร

รวมทงั้ สนิ้ ประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ - ๑,๐๐๐,๐๐๐ ไร่


510

ค่มู อื

แนวทาง หลักเกณฑ์ ในการดำเนินการขอคืนท่ีดินราชพัสดุ


จากส่วนราชการ/หน่วยงาน







































กรมธนารกั ษ์ สำนักบริหารจดั การฐานข้อมลู ทร่ี าชพัสด

โทร. 0-2278-3481 โทร.สาร 0-2298-5484

www.treasury.go.th

511

การขอคนื ท่ดี ินราชพสั ดุจากสว่ นราชการ / หน่วยงาน




ความเป็นมา

ตามท่ีรัฐบาลกำหนดนโยบายบริหารการแผ่นดินเพื่อนำประเทศไปสู่ความสมดุลม่ันคง
และยัง่ ยืน โดยวางนโยบายขจดั ความยากจน พัฒนาคนและสงั คมให้มีคณุ ภาพ ปรับโครงสรา้ ง
เศรษฐกิจใหส้ มดุลและให้แขง่ ขันได

ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้โครงการบรรลุเป้าหมายจะต้องมีที่ดินมารองรับโครงการต่าง ๆ
ท้งั ด้านสังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และเศรษฐกิจตามนโยบายรัฐบาลดังกล่าว ดังน้ัน กรมธนารกั ษ์ใน
ฐานะผู้มีหน้าท่ีในการบริหารจัดการท่ีราชพัสดุจึงได้เสนอกระทรวงการคลังเพ่ือเสนอมาตรการ
ให้ส่วนราชการส่งคืนท่ีราชพัสดุเพื่อรองรับการใช้ประโยชน์ตามนโยบายของรัฐบาลต่อคณะ
รฐั มนตรีเพอ่ื พจิ ารณาให้ความเห็นชอบมาตรการใหส้ ว่ นราชการสง่ คืนทรี่ าชพัสดุ ดังนี้

๑. ท่ดี นิ ราชพัสดุที่อยูใ่ นความปกครองดแู ลของกรมธนารักษม์ ปี ระมาณ ๑๒.๕ ลา้ นไร ่
แยกเปน็

- ท่ีดินท่ีใช้ประโยชน์ในราชการประมาณ ๑๒.๔ ล้านไร่ หรือประมาณร้อยละ
๙๙.๒ โดยเป็นที่ดินท่ีส่วนราชการใช้ประโยชน์ท่ัวไป ประมาณ ๘.๒ ล้านไร่ และท่ีดินท่ี
กระทรวงกลาโหมใช้ในราชการทหารที่เป็นความลับเก่ียวเนื่องกับความมั่นคงของประเทศ
ประมาณ ๔.๒ ล้านไร

- ทด่ี ินทีเ่ หลือประมาณ ๐.๑ ลา้ นไร่ หรอื ประมาณรอ้ ยละ ๐.๘ เปน็ ท่ดี ินเพอื่ ใช้
จัดหาประโยชน์

๒. กรมธนารักษ ์ ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ๕ ปี ( ๒๕๔๘ - ๒๕๕๒) การบริหารที่
ราชพัสดุรองรับนโยบายของรัฐบาลในเรื่องนโยบายขจัดความยากจนเพ่ือเป็นการสนับสนุนให้
ประชาชนมีท่ีทำกินและที่อยู่อาศัย นโยบายพัฒนาคนและสังคมท่ีคุณภาพ เพื่อเป็นการยก
ระดับคุณภาพชีวิต และนโยบายปรับโครงสรา้ งเศรษฐกจิ ให้สมดุลและแข่งขนั และได้ประมาณ
การเบื้องต้นของการใช้ที่ดิน เพื่อรองรับการดำเนินโครงการตามนโยบายของรัฐบาลรวมท้ัง
สำรองไว้เพอื่ ใช้ประโยชนต์ ามนโยบายประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ - ๑,๐๐๐,๐๐๐ ไร

๓. เพื่อให้มีที่ดินราชพัสดุท่ีมีความพร้อมท่ีจะนำมารองรับโครงการต่าง ๆ ดังกล่าวให้
ทุกส่วนราชการที่ครอบครองและใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุส่งคืนที่ราชพัสดุอย่างน้อยร้อยละ
๑๐ ของพนื้ ท่ีทค่ี รอบครองใช้ประโยชน์ทั้งหมดในปัจจบุ นั ใหแ้ ก่กรมธนารกั ษภ์ ายใน ๑ ปี โดย
แบง่ การคืนพ้ืนทีอ่ อกเป็น ๒ ระยะ คือ

ระยะที่ ๑ ส่งคืนราชพัสดุร้อยละ ๕ ภายใน ๔ เดือน นับแต่วนั ท่คี ณะรฐั มนตรีมี
มตอิ นุมัติ

ระยะท่ี ๒ ส่งคนื ท่ีเหลืออกี ร้อยละ ๕ ภายใน ๑ ปี นับแตว่ นั ท่คี ณะรัฐมนตรมี มี ติ
อนมุ ตั





512

๔. คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตร ี คณะที่ ๑ ได้ประชุมพิจารณา
เรื่องท่ีกระทรวงการคลังเสนอมาตรการให้ส่วนราชการส่งคืนที่ราชพัสดุ เพื่อรองรับการใช้
ประโยชน์ตามนโยบายของรัฐบาล เมื่อวนั องั คารที่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๔๘ ณ ตึกบญั ชาการ
ทำเนยี บรฐั บาล สรปุ ว่า

๔.๑ ในหลักการเห็นด้วยกับเน้ือท่ีในการของคืนที่ราชพัสด ุ ซ่ึงเป็นท่ีว่างท่ีส่วน
ราชการเลิกใช้ประโยชน์หรือใช้ประโยชน์ไม่เต็มพ้ืนที่ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของท่ีดิน
เฉพาะเจาะจงว่าอยู่ในความครอบครองของสว่ นราชการใด

๔.๒ ให้กรมธนารักษ์สำรวจที่ว่างเพิ่มเติมตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ในข้อ ๔.๑
พร้อมจัดทำรายละเอียดข้อมูลที่ดินท่ีสำรวจให้ชัดเจนว่ามีความเหมาะสม หรือมีแผนงาน
โครงการจะนำไปใช้ประโยชน์รองรับโครงการตามนโยบายของรัฐบาลของรัฐบาลในด้านใด
และเจรจากับส่วนราชการเพ่ือส่งคืนท่ีดินให้กรมธนารักษ์ กรณีส่วนราชการใดไม่ยินยอมให้นำ
ขอ้ มลู ทดี่ นิ ที่สำรวจได้พรอ้ มทั้งรายละเอยี ดแผนการใชท้ ีด่ นิ เสนอคณะรฐั มนตรีเพื่อพิจารณา

๕. เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามแนวทางของคณะกรรมการกลั่นกรองฯ จึงได้
กำหนดแนวทางปฏิบัติ ข้ันตอน ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินการขอคืนที่ราช
พสั ดจุ ากสว่ นราชการ รวม ๕ ขัน้ ตอน ดังนี้

ขั้นตอนท่ี ๑ กำหนดเปา้ หมายแปลงทดี่ ินที่ราชพสั ดุท่ขี อคืนจากส่วนราชการ

ภายในวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ โดยมีธนารกั ษ์พน้ื ท่ีเป็นผูร้ ับผิดชอบ

๑. ท่ีดินทจ่ี ะขอคืนจากสว่ นราชการมี ๓ ลกั ษณะ คอื

ทดี่ ินวา่ งทั้งแปลง

ทดี่ นิ ทใี่ ชป้ ระโยชน์ไม่เหมาะสม

ที่ดินทใี่ ชป้ ระโยชนไ์ มเ่ ต็มพ้ืนที่

โดยให้ธนารักษพ์ ้นื ท่กี ำหนดจำนวนแปลงทด่ี นิ ท่ีจะขอคนื จากส่วนราชการ / หน่วยงาน รวมทั้ง
แนวทางในการใช้ประโยชนข์ องท่ดี ินแปลงดงั กล่าวด้วย ท้งั นี ้ กำหนดเปา้ หมายไว้ไมน่ อ้ ยกว่า
ร้อยละ ๑๐ ของที่ดินราชพัสดุในแต่ละจังหวัด โดยท่ีดินราชพัสดุที่กำหนดเป็นเป้าหมายใน
การขอคนื ให้ครอบคลุมพนื้ ท่ีทุกประเภททะเบยี นและให้ดำเนินการพรอ้ มกันท่วั ประเทศ

๒. ท่ีดินท่ีส่วนราชการครอบครองและมีการบุกรุกไม่นำมานับรวมกับเป้าหมายที่จะขอ
คืนท่ีดินจากส่วนราชการ แต่จะเป็นอีกโครงการหน่ึงซึ่งกรม ฯ มีนโยบายให้รับคืนจากส่วน
ราชการ เพอ่ื นำมาจัดทำโครงการตามนโยบายของรัฐบาลตามความเหมาะสม

๓. ให้ธนารักษ์พ้ืนท่ีตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นจากระบบ MIS และ GIS เพื่อเป็น
Guide Line ประกอบกบั พน้ื ท่ีจริงเพ่อื กำหนดแปลงเป้าหมายที่จะขอคืนจากสว่ นราชการหนว่ ย
งาน ท้งั นี ้ ใหร้ วมข้อมลู ใหก้ รมธนารกั ษ์ทัง้ ๒ ครง้ั ดว้ ย

๔. การนับจำนวนพ้ืนที่ท่ีจะขอคืนจากส่วนราชการ/ หน่วยงาน ให้นับรวมพ้ืนที่ที่ธนา
รักษ์พ้ืนที่ได้เคยสำรวจเพ่ือเป็นข้อมูลท่ีกรมธนารักษ์ได้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณา
เร่ืองมาตรการให้ส่วนราชการส่งคืนที่ราชพัสดุเพ่ือรองรับการใช้ประโยชน์ตามนโยบายของ
รฐั บาล เม่ือวันท ี่ ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๔๘


513

ขัน้ ตอนท่ี ๒ การเจรจาระดบั จงั หวดั

ภายในวนั ท่ี ๓๑ ม.ี ค. ๒๕๔๙

โดยมีผู้ตรวจราชการกรมธนารักษ์ และ ธนารักษ์พ้ืนท่ีเป็นผู้รับผิด

ชอบ

เม่ือไดข้ อ้ มลู ตามขั้นตอนท่ี ๑ ให้ประชมุ ร่วมกบั ส่วนราชการ / หนว่ ยงานระดบั
จังหวัดหรือประชุมร่วมกับส่วนราชการ / หน่วยงานระดับจังหวัดท่ีจะขอคืนท่ีดินราชพัสดุ
เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงกรอบนโยบายในการขอคืนท่ีดินราชพัสดุ
จากสว่ นราชการ / หนว่ นงานและขอความรว่ มมือในการสำรวจทีด่ ิน

ขัน้ ตอนที่ ๓ การสำรวจทีด่ ิน (ตามแบบสำรวจแนบท้าย)

ภายในวนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๔๙

โดยมีธนารักษ์พื้นที่เป็นผู้รับผิดชอบ และให้ดำเนินการร่วมกับส่วน

ราชการทคี่ รอบครองทด่ี ินทจี่ ะขอคืน

๑. ให้ธนารักษ์พื้นท่ีทำหนังสือแจ้งส่วนราชการ / หน่วยงาน ที่จะขอคืนพื้นที ่
เพ่อื ขอความรว่ มมือใหด้ ำเนินการสำรวจที่ดินตามเปา้ หมาย

๒. ให้ดำเนินการสำรวจท่ีดินตามแบบสำรวจร่วมกันระหว่าง ธนารักษ์พ้ืนที่
และสว่ นราชการ / หน่วยงานทีจ่ ะขอคนื

๓. กรมธนารักษ์จะสนับสนุนงบประมาณในการสำรวจพ้ืนที่ โดยให้ธนารักษ์
พื้นท่ีจัดทำแผนงานและแผนการใช้จ่ายเงินส่งให้กรมธนารักษ์พิจารณาด้วย ทั้งนี้ ท่ีดินแปลง
ท่จี ะขอรับการสนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ยจะตอ้ งไม่ใช่ที่ดนิ แปลงทไ่ี ด้ดำเนินการสำรวจและรังวัดเพ่อื เข้า
ระบบ GIS แลว้

๔. บจ. จะสนับสนุนการปฏิบัติงานการสำรวจพื้นท่ีตามความจำเป็นและ
เหมาะสม

ขน้ั ตอนที่ ๔ การจดั ทำและสำรวจข้อมลู

ภายในวันท ่ี ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๙ โดยมี บจ. เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ

๑. ให ้ บจ. จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลที่ดินโดยแบ่งประเภทที่ดินเป็น ๓
ระดบั เพอ่ื เปน็ ข้อมลู เจรจาระดบั กระทรวง

๒. การแบ่งกลุ่มที่ดินท่ีจะเจรจาขอคืน ให้แยกเป็นที่ดินท่ีจะขอคืนตามข้อ
กฎหมายและที่ดินท่ีขอความร่วมมือจากส่วนราชการ / หน่วยงาน เพื่อดำเนินการเจรจาตาม
ขั้นตอนที่กำหนดตอ่ ไป

ข้นั ตอนท่ี ๕ การเจรจาระดบั กระทรวง

ภายในวันท่ ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๙ โดยม ี บจ. เป็นผู้รับผิดชอบ

จัดประชุมเจรจาขอคืนท่ีดินระหว่างกระทรวงการคลังและส่วนราชการ /
หน่วยงาน โดยแยกเจรจาเปน็ รายกระทรวง

๑. กรณีที่ส่วนราชการ / หน่วยงาน ยินยอมส่งคืนท่ีดินราชพัสดุให้จัดทำและ
ดำเนินการรบั คืนตามระเบยี บกรมธนารกั ษ์ต่อไป

514

๒. กรณีท่ีส่วนราชการ / หน่วยงาน ไม่ยินยอมส่งคืนที่ดินราชพัสดุสรุปเรื่องนำ
เสนอคณะรฐั มนตรีเพอ่ื พิจารณา

หมายเหตุ บจ. : สำนักงานบริหารจัดการฐานขอ้ มูลท่ีราชพัสดุ

ธพ. : สำนกั งานธนารักษพ์ นื้ ที

MOU : บันทึกขอ้ ตกลง

ลักษณะและสภาพท่ีดินท่ีขอคืนจากสว่ นราชการ / หนว่ ยงาน

ท่ีดนิ วา่ งทงั้ แปลง ไม่มกี ารใช้ประโยชน ์ สว่ นราชการ / หนว่ ยงานไม่มีแผนการใช้ทดี่ นิ ท ี่

ชัดเจนท่ีดินท่ีใช้ประโยชน์ไม่เหมาะสม มีการใช้ประโยชน์ไม่เหมาะสม

กับศักยภาพตามสภาพทำเลและหรือมูลค่าของท่ีดิน โดยพิจารณาจาก

สภาพแวดล้อมโดยรอบ ผังเมือง ภารกิจ และความจำเป็นของส่วน

ราชการและหน่วยงานท่ีใช้ประโยชน์ในท่ีดินโดยคำนึงถึงประโยชน์ของ

สว่ นรวมเปน็ สำคญั

ท่ีดนิ ทใี่ ชป้ ระโยชนไ์ มเ่ ตม็ พืน้ ที่

มีท่ีดินบางส่วนท่ียังไม่ได้ใช้ประโยชน์ และส่วนราชการ / หน่วยงานไม ่

มีแผนการใช้ท่ีดินที่ชัดเจน เป็นท่ีดินที่เม่ือแบ่งแยกแล้วมีความ

เหมาะสมและสามารถนำมาใช้ประโยชน์เพ่ือรองรับโครงการตาม

นโยบายของรัฐบาลได้

* หมายเหต ุ ไม่รวมท่ีดนิ ราชพัสดุแปลงที่มผี ู้บกุ รุก




515

๕ ขั้นตอนในการขอคนื ท่รี าชพสั ด

ข้นั ตอน



การดำเนินการ/วิธกี าร ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ


ข้นั ตอนท่ี ๑
กำหนดทดี่ ินราชพัสดุแปลงเป้าหมายท่จี ะขอคนื
ภายในวนั ท
่ี ธพ.

กำหนดเป้าหมาย
จากส่วนราชการเป็นรายแปลง โดยเน้ือท่ีท่ีขอคืน ๒๘ ก.พ. ๔๙

(เป้าหมาย : เนื้อท ่ี
ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๑๐ ของท่ดี นิ ราชพัสดใุ นจังหวัด

ที่ขอคืนไมน่ อ้ ยกว่า
บจ. สนับสนนุ ข้อมลู จากระบบ MIS และ GIS

รอ้ ยละ ๑๐ ของท่ดี นิ
เพอ่ื เป็นขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ในการตรวจสอบ

ราชพสั ดุ ในจงั หวดั
ลักษณะท่ดี นิ ราชพสั ดุทีข่ อคนื จากสว่ นราชการ

แบง่ เป็น ๓ ลักษณะ คือ

๑. ทีด่ นิ ว่างทั้งแปลง

๒. ทดี่ นิ ทใ่ี ชป้ ระโยชน์ไมเ่ หมาะสม

๓. ที่ดนิ ทใ่ี ช้ประโยชน์ไมเ่ ตม็ พื้นท
ี่
* ไมร่ วมทดี่ นิ ราชพสั ดแุ ปลงที่มผี ูบ้ ุกรุก


ขนั้ ตอนที่ ๒
จัดประชุมส่วนราชการ/หน่วยงานท่ีขอคืนเพื่อ ภายในวนั ท่
ี ผู้ตรวจราชการกรมฯ

เจรจาระดบั จงั หวดั
ให้ทราบถึงความเป็นมา นโยบาย กรอบแนวทางใน
การขอคืนที่ราชพัสดุ และขอความร่วมมือในการ
สำรวจพื้นท่ี โดยผู้ตรวจราชการกรมธนารักษ์ เป็นผู้ ๓๑ ม.ี ค. ๔๙
ธพ.

แทน กรมธนารักษ์ เขา้ รว่ มชี้แจง


ขั้นตอนที่ ๓
ธพ. ทำหนงั สือแจง้ สว่ นราชการ/หน่วยงานเพื่อ ภายในวนั ที
่ ธพ.

สำรวจทด่ี ินราชพัสดุ
ขอความร่วมมือในการสำรวจท่ีดินราชพัสดุท่ีจะขอ ๓๐ เม.ย. ๔๙

รว่ มกับสว่ นราชการ
คืน ในการสำรวจที่ดินให้ดำเนินการร่วมกันระหว่าง
ท่ีครอบครอง
ธพ. และส่วนราชการ/หน่วยงานที่ครอบครอง โดย
(ตามแบบสำรวจ)
บจ. สนับสนุนการปฏิบัติงานตามความจำเป็นและ
เหมาะสม


516

๕ ข้ันตอนในการขอคืนทีร่ าชพัสดุ

ข้นั ตอน


ขั้นตอนที่ ๔

รวบรวมข้อมูล
การดำเนนิ การ/วิธกี าร ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ


จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลเพ่ือเตรียมข้อมูลใน ภายในวนั ที่
บจ.

การเจรจาระดับกระทรวง
๑๕ พ.ค. ๔๙
กรมธนารกั ษ


ขน้ั ตอนที่ ๕
จัดประชุมเจรจาการขอคืนที่ดินราชพัสดุ ภายในวนั ที่
บจ.

รวบรวมข้อมลู
ระหว่างกระทรวงการคลัง กับส่วนราชการเป็นราย ๓๐ ม.ิ ย. ๔๙
กรมธนารกั ษ

กระทรวง

- กรณยี ินยอมสง่ คนื พ้นื ท่ี จัดทำ MOU และรับ
คืนท่ีดนิ ตามระเบยี บฯ

- กรณีไม่ยินยอมส่งคืนพื้นที่ นำเรื่องเสนอ
คณะรัฐมนตรีเพอื่ พิจารณาสั่งการ


หมายเหตุ ธพ. : สำนักงานธนารักษพ์ นื้ ที่

บจ. : สำนกั บริหารจัดการฐานข้อมูลที่ราชพัสดุ กรมธนารกั ษ


517

แบบสำรวจท่ีดินราชพสั ดุทีส่ ว่ นราชการ / หน่วยงานไม่ได้ใช้ประโยชน์

เลิกใชป้ ระโยชน์ ใช้ประโยชนไ์ มเ่ ต็มพ้นื ท่ี และหรือใช้ประโยชนไ์ ม่เหมาะสม



••สข่ว้อนมรลู าเกชกี่ยวารก/บั หทนดี่ ่วนิ ย
งานทีค่ รอบครองท่ีดนิ ราชพัสด.ุ ..............................................


๑. แปลงหมายเลขทะเบียนท.ี่ ...........ตำบล...................อำเภอ........................จังหวดั ................

๒. เนื้อท่ที ั้งแปลง..........................ไร่................................งาน............................วา

๓. ลOกั ษทณ่ดี นิะกวา่ารงใทช้ัง้ปแรปะลโงยชOนใ์ ทนี่ดทนิีด่ ทนิ ่ใี
ช้ประโยชน์ไมเ่ หมาะสม O ทด่ี ินทีใ่ ช้ประโยชนไ์ มเ่ ต็มพื้นท
่ี
O O๔.


เ นอ้ื •ท่ีทข่ีข้ออมคูลนื เก...่ยี...ว..ก...บั ..ศ...ักไรย่..ภ..า..พ...ท...่ีด...ิน...
.......งาน........................วา

๕. ทีต่ งั้ ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล

๖. สOภ า พชนั้ท ำ เ๑ล (Oตา ม ชค้ันำ ส ๒่งั ก รOมธ น ชา้นัรกั ษ๓์ ท O่ี ๒ ๐ ช๔ัน้ / ๒ ๔๕ ๔ O๗ ส ชงั่ ั้นณ ๕วนั
ท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗)

๗. ถสนภนาพเขถา้ นสนู่แป ลOงท ี่ดคินอนกกวา้รงีต. .. .O.... .. .แ..อ..ส...ฟ..ัส...ต..์ .. .O.... เ มลตูกรร
งั O หินเกร็ด O ดนิ


๘. ราคาประเมินท่ีดินปปี จั จุบนั ตารางวาละ..............บาท รวมมลู ค่าที่ดนิ ทข่ี อคนื ...............บาท

๙. สOาธ าไรฟณฟปู ้าโ ภOค
ประปา O โทรศัพท ์ O อ่นื ๆ..............................................................

๑ ๐.OO ส า ตโธราลงราแณดร ปูม O ก าO ร ส ถ(สใาถนนารพนศั ยตีมาำีไบรมวา่เกจล ิน O O ๑ ศสกาถโิ สลานนเมสศตถึกราษ)น
า OO สศถูนายนก์ ทารี่ราคช้าก าOร Oสถาอบืน่ นั ๆก..า..ร..เ.ง..ิน...
....

๑๑.OO ส ภ แแาหหพลลแ่ง่งวอธดุรุตลกสอ้ จิามห/
กพรรามณ ชิ Oยก รแรหมล ง่Oเก ษ แตหรลก่งรทรมีอ่ ย อู่Oาศ ัยอ
่นื ๆ ...........................

๑ ๒.O ข อ้ ขจ้อำกกำัดหกนาดรใตชาป้ มรกะฎโยหชมนาใ์ยน ท ่ดี ิน
กฎหมายผังเมือง ประเภท.........................................

พรบ.ควบคมุ อาคาร

พรบ.สิง่ แวดล้อม

O ขอ้ จ ำกดั ของ ท่ีด ิน พรบ.เวนคนื อื่น ๆ............................................

ไม่มที างเข้าออก

น้ำท่วมขงั

ต้องปรบั ถมประมาณ................เมตร

อืน่ ๆ................................................


518

•ความเห็นเบ้ืองต้นในการส่งคืนพ้ืนท่ีของส่วนราชการ/หน่วยงานในระดับ
พ้นื ที่

OO •เไชมแงิข่ ผเดัศนขรกษอ้ างฐร กใ จิ ช ป้ รOะโ ย โชขคนดั รข์ใงน้อกงทา ร ี่ดโเนนิลจ่ือ
ิสงจตาิกกส.์ .. . ... ................. . .โ..ค..ร..ง..ก...า..ร. .. .S...M.
E


๑๓.
โครงการปลูกพชื ทดแทนพลงั งาน

โครงการจัดหาประโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์

O เชงิ ส งั คม อ่นื ๆ.................................................

๑๔. โครงการจัดท่ดี นิ ทำกิน / จดั ให้เช่าเพ่ืออยอู่ าศัย เกษตรกรรม

โครงการบา้ นธนารกั ษ์ โครงการบ้าน Knock Down

โครงการบ้านเอ้ืออาทร

โครงการสง่ เสรมิ คุณภาพชวี ิตและสิง่ แวดล้อม

เชน่ สวนสาธารณะ ลานกฬี า หอ้ งสมุด พพิ ิธภณั ฑ ์ หอศิลป

โครงการบา้ นพักคนชรา โครงการบ้านพักคนพกิ าร

อน่ื ๆ .......................................................

๑๕. หนว่ ยงานผ้รู ับผดิ ชอบดำเนนิ การ....................................................................................

๑๖. ปOที ่คีปาี ด๒ว๕า่ จ๔ะ๙ด ำ เ น Oินกาปรี
๒๕๕๐ O
ปี ๒๕๕๑ O ป ี ๒๕๕๒ O ปี ๒๕๕๓




519

520 บัญชีข้อมูลที่ราชพัสดุที่จะขอคืนจากส่วนราชการ/หน่วยงาน

จังหวัด...........................................................


ลำดับที่ ส่วนราชการ/การใช้ประโยชน์ แปลงหมายเลข ที่ตั้ง เนื้อที่ทั้งแปลง เนื้อที่ที่ใช้ประโยชน์ไม่ครบถ้วน/ หมายเหต

ทะเบียนที่ ตำบล/อำเภอ (ไร่-งาน-วา) เลิกใช้ประโยชน์แล้วไม่ส่งคืน
(๗)


(๑) (๒) (๓) (ไร่-งาน-วา)

(๔) (๕) (๖)

คำอธิบายการกรอกขอ้ มูล (๑) ให้ระบุลำดับที่ของแปลงที่ดินที่ตรวจสอบ

(๒) ให้ระบชุ ื่อหน่วยงานที่ครอบครองให้ประโยชน์ในที่ดิน ซึ่งเป็นหน่วยงานต้นสังกัดระดับกระทรวง หรือ กรม และการใช้ประโยชน์ว่าใช้เป็นที่ตั้งหน่วยงานใด

(๓) ระบแุ ปลงหมายเลขทะเบียนของที่ดิน ที่ตรวจสอบ (หากที่ดินยังไม่ขึ้นทะเบียนหรือไม่ทราบแปลงหมายเลขทะเบียนใหเ้ ว้นไว้)

(๔) ระบุที่ตั้งของที่ดินที่ตรวจสอบ

(๕) ระบุเนื้อที่ของที่ดินแปลงที่ตรวจสอบว่ามีเนื้อที่ทั้งแปลงเท่าใด

(๖) ระบเุ นื้อที่ของที่ดินแปลงที่ตรวจสอบเฉพาะส่วนที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์หรือเลิกใช้ประโยชน์แล้วว่ามีเนื้อที่เท่าใด

(๗) ให้ระบุสภาพข้อเท็จจริงสภาพแวดล้อมโดยรวมแปลงที่ดินที่เป็นประโยชน์ต่อการนำมารองรับโครงการต่างๆ ตามนโยบายของรัฐบาล

(สำเนา)

ท่ ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๐๙๗๗๑ กรมทด่ี นิ

ถนนพระพพิ ธิ กทม. ๑๐๒๐๐
๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙

เร่อื ง แนวทางปฏบิ ัติเกยี่ วกบั การขออนุญาตดดู ทราย

เรยี น ผวู้ า่ ราชการจังหวัดทุกจงั หวัด

อา้ งถึง ๑. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการขออนญุ าตใหด้ ูดทราย พ.ศ. ๒๕๔๖

๒. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท ี่ มท ๐๒๐๙/ว ๑๙๐๐

ลงวันท ่ี ๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๕

ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้ส่งระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ
อนุญาตให้ดูดทราย พ.ศ. ๒๕๔๖ ตามอ้างถึง ๑ และแนวทางการกำหนดขั้นตอนปฏิบัติใน
การพจิ ารณาอนุญาตให้ดดู ทราย ตามอา้ งถึง ๒ ให้จงั หวดั ทราบและถือปฏิบตั ิ น้นั

สืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตให้ดูดทราย (กพด.)
คร้ังท่ี ๑/๒๕๔๙ เม่อื วนั ที ่ ๒๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การขออนญุ าตดูดทรายในจงั หวัด
มุกดาหารและจังหวัดตาก ซ่ึงเป็นการขออนุญาตดูดทรายในแม่น้ำระหว่างประเทศ ปลัด
กระทรวงมหาดไทย (ประธาน กพด.) เหน็ ชอบให้กรมทดี่ ินแจ้งเวียนแนวทางปฏบิ ัติในการขอ
อนุญาตดดู ทราย เพ่ือใหจ้ งั หวัดทกุ จังหวดั ทราบและถอื ปฏิบัต ิ ดังน
ี้
๑. การขออนุญาตดูดทรายในแม่น้ำระหว่างประเทศ เพ่ือให้ความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศเป็นไปด้วยดี ขอให้จังหวัดเชิญคณะกรรมการร่วมระหว่างประเทศเข้าร่วม
ตรวจสอบพื้นที่ท่ีขออนุญาตและร่วมประชุมพิจารณาของคณะอนุกรรมการพิจารณาอนุญาตให้
ดูดทรายประจำจังหวัดด้วย ท้ังกรณีการขออนุญาตใหม่และขอต่ออายุใบอนุญาต และเมื่อ
จังหวัดออกใบอนุญาตแล้ว ขอให้จังหวัดควบคุมดูแลมิให้การดูดทรายก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สภาพแวดล้อม และผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และหากพบกระทำผิดก็ให้
ดำเนินการโดยเครง่ ครดั ทนั ที


521

๒. การส่งเร่ืองราวการขอต่ออายุใบอนุญาตดูดทรายให้คณะกรรมการ
พิจารณาอนุญาตให้ดูดทราย (กพด.) พิจารณา เพ่ือให้การออกใบอนุญาตมีระยะเวลาต่อ
เนื่อง ขอให้จังหวัดกำชับเจ้าหน้าที่ดำเนินการในเรื่องการขอต่ออายุใบอนุญาตให้ตรงตาม
กำหนดระยะเวลาท่กี ำหนดไว้ในหนงั สือกระทรวงมหาดไทย ตามที่อา้ งถงึ ๒ โดยเคร่งครดั

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและถือปฏิบตั ิตอ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงช่ือ) สมศกั ด์ิ สลลิ ศิริ

(นายสมศักด ิ์ สลิลสิริ)

รองอธิบด ี ปฏิบตั ริ าชการแทน

อธิบดีกรมทด่ี ิน











สำนกั จดั การทดี่ ินของรัฐ

โทร. ๐๒๖๒๒ ๓๔๖๙ มท. ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ตอ่ ๓๖๕

โทรสาร. ๐ ๒๒๒๒ ๑๘๔๐


















522

ดว่ นมาก
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๐๕๙๒ กรมที่ดนิ

ถนนพระพพิ ธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๗ เมษายน ๒๕๔๙

เร่ือง การให้บริการรบั เร่อื งราวร้องทกุ ขค์ วามยากจนผ่าน Call Center ของ ศตจ.

เรยี น ผวู้ า่ ราชการจังหวัดทุกจังหวดั

ส่ิงทส่ี ่งมาดว้ ย ๑. คำส่งั ศูนย์อำนวยการตอ่ สูเ้ พ่อื เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๕/ ๒๕๔๙ ลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง แต่งต้ังคณะ

อนกุ รรมการรบั เร่ืองราวรอ้ งทกุ ขค์ วามยากจน

๒. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท ี่ ศตจ.มท/ว ๔๐

ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๙ เร่ือง การให้บริการเรื่องราวร้องทุกข

ความยากจนผ่าน Call Center



ดว้ ยศูนย์อำนวยการตอ่ ส้เู พ่ือเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ (ศตจ.) ไดม้ ีคำสั่ง
๕ / ๒๕๔๙ ลงวันที ่ ๗ กุมภาพันธ ์ ๒๕๔๙ เรื่องแต่งต้ังคณะอนุกรรมการรับเรื่องราวร้อง
ทุกข์ความยากจน ซึ่งคณะอนุกรรมการฯ ดังกล่าว ได้เปิดให้บริการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ความ
ยากจนแกป่ ระชาชนผา่ น Call Center ของ ศตจ. (โครงการศนู ย์บรกิ ารขอ้ มลู ภาครัฐเพอ่ื
ประชาชน ผ่าน Call Center (Government Contact Center : GCC) ทางโทรศัพท์
หมายเลข ๑๑๑๑ กด ๕ โดยมีเจ้าหน้าที่รับสายและบันทึกข้อมูลเร่ืองท่ีร้องทุกข์เข้าระบบ
คอมพิวเตอร์จัดเก็บไว้ เพื่อจัดทำรายงานเสนอผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะ
ความยากจนแห่งชาต ิ และจัดส่งเรื่องร้องทุกข์ผ่านทาง E- mail ส่งตรงไปยังผู้ว่าราชการ
จังหวัดปลัดกรุงเทพมหานคร หรืออธิบดีกรมการปกครองแล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาดำเนิน
การตรวจสอบข้อเท็จจริงและบรรเทาหรือบำบัดความทุกข์ร้อนให้เสร็จส้ินโดยเร็ว ซึ่งในการนี้
กระทรวงมหาดไทยได้แจ้งแนวทางการดำเนนิ การให้ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั ในฐานะผ้อู ำนวยการ
ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนจังหวัดทราบแล้ว รายละเอียดปรากฎตามสิ่งที่
สง่ มาดว้ ย


523

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และเพ่ือให้การบริการรับเรื่องราวร้องทุกข์ความ
ยากจน ผ่าน Call Center ของ ศตจ. เปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย ขอได้โปรดแจ้งใหเ้ จ้า
พนักงานที่ดินจังหวัดประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบโดยทั่วกัน พร้อมทั้งให้ความร่วม
มอื และใหก้ ารสนบั สนุนการดำเนินการตามหนงั สือกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวดว้ ย



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชอ่ื ) พีรพล ไตรทศาวทิ ย

(นายพรี พล ไตรทศาวทิ ย)์

อธบิ ดีกรมทีด่ ิน











สำนักจัดการทด่ี ินของรฐั

โทร./โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ตอ่ ๓๖๗,๓๖๙



















524

(สำเนา)



คำสัง่ ศูนยอ์ ำนวยการต่อสเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๕ / ๒๕๔๙

เร่อื ง แต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการรบั เร่ืองราวรอ้ งทกุ ขค์ วามยากจน

-----------------------------

ตามทไ่ี ด้มคี ำสัง่ สำนกั นายกรฐั มนตรี ท ่ี ๕๑๖/๒๕๔๘ ลงวนั ท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘
แต่งต้ังประธานท่ีปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านนโยบายขจัดความยากจนและจัดต้ังศูนย์อำนวย
การต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ ขึ้น เพื่อทำหน้าที่กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์
แนวทางและมาตรการในการประสานงาน เร่งรัด กำกับ ดูแลและตรวจสอบการดำเนินการ
ตามนโยบายขจดั ความยากจนของรฐั บาลพร้อมท้ังมอบให้ผ้อู ำนวยการศนู ยฯ์ มอี ำนาจเรียกเจา้
หนา้ ที่ของรฐั มาช้แี จงและสงั่ การเจา้ หนา้ ทกี่ ระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ใหด้ ำเนนิ การหรือ งด
เว้นการดำเนินการใด ท่ีขัดต่อกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรีหรือคำส่ังนายกรัฐมนตรี หรือก่อให้
เกิดความเดือดร้อนไม่เป็นธรรมแก่ประชาชน รับเร่ืองร้องเรียนจากราษฎรและดำเนินการตรวจ
สอบตลอดจนประสานการดำเนินการระหว่างส่วนราชการให้ร่วมกันปฏิบัติราชการอย่างเป็น
บรู ณาการนน้ั

เพื่อให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและสัมฤทธ์ิผลตาม
นโยบายรัฐบาลโดยเร็ว อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนโดยส่วนรวม อาศัยอำนาจ
ตามความในขอ้ ๒ ของคำส่งั สำนักนายกรัฐมนตรขี า้ งต้น จึงแตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมการรบั เร่ือง
ราวรอ้ งทุกข์ความยากจน โดยมอี งคป์ ระกอบและอำนาจหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี ้

๑. องคป์ ระกอบ

๑.๑) พลตำรวจเอกบญุ ฤทธ ์ิ รตั นะพร เปน็ ประธานอนกุ รรมการ

๑.๒) อธิบดีกรมการปกครอง เป็นรองประธานอนุกรรมการ

๑.๓) หวั หนา้ ผ้ตู รวจราชการ เปน็ รองประธานอนุกรรมการ

สำนกั นายกรัฐมนตร ี

๑.๔) พลตำรวจโทปานศริ ิ ประภาวัต เปน็ รองประธานอนุกรรมการ

๑.๕) ศาสตราจารย์พิเศษ เข็มชยั ชุตวิ งศ์ เป็นอนุกรรมการ

๑.๖) รองศาสตราจารย์ ดร. สันติ ถริ พัฒน ์ เปน็ อนกุ รรมการ

๑.๗) ดร.สีลาภรณ์ บวั สาย เปน็ อนุกรรมการ

๑.๘) กรรมการผู้จัดการใหญ่ บรษิ ัท ทีโอท ี จำกัด(มหาชน)

เปน็ อนุกรรมการ

๑.๙) ผู้แทนปลดั กรุงเทพมหานคร เปน็ อนกุ รรมการ

(นายกระมล โอฬาระวตั

รองผ้อู ำนวยการสำนักพัฒนาสงั คม กรงุ เทพมหานคร)


525

๑.๑๐) ผแู้ ทนคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ เป็นอนกุ รรมการ

ดา้ นตา่ ง ๆ ของ ศตจ.

๑.๑๑) นายปราโมทย์ รฐั วนิ จิ เปน็ อนุกรรมการ

ผู้ตรวจราชการ สำนักนายกรัฐมนตร

๑.๑๒) นายพรศกั ด์ิ เจียรนยั เป็นอนุกรรมการ

๑.๑๓) นายอานนท ์ บูรณะภักด ี เป็นอนกุ รรมการ

หวั หนา้ ฝ่ายนโยบายและแผน ศตจ. กรมการปกครอง

๑.๑๔) ผบู้ ัญชาการ กองบญั ชาการตำรวจนครบาล เป็นอนกุ รรมการ

๑.๑๕) ผู้บญั ชาการ ตำรวจภูธรภาค ๑-๙ เปน็ อนกุ รรมการ

๑.๑๖) ผบู้ ัญชาการ กองบญั ชาการตำรวจสอบสวนกลาง เปน็ อนุกรรมการ

๑.๑๗) ผู้บัญชาการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นอนกุ รรมการ

๑.๑๘) พลตำรวจโทชาตรี สุนทรศร เปน็ อนุกรรมการ

๑.๑๙) พลตำรวจโทนพิ จน ์ วรี ะสุนทร เป็นอนุกรรมการ

๑.๒๐) พลตำรวจโทเอก องั สนานนท ์ เปน็ อนุกรรมการ

๑.๒๑) พลตำรวจตรสี พุ จน ์ ณ บางชา้ ง เป็นอนุกรรมการ

๑.๒๒) พลตำรวจตรีประยูร อำมฤต เป็นอนกุ รรมการ

๑.๒๓) พลตำรวจตรวี รินทร ์ บุญยเกยี รติ เป็นอนุกรรมการ

๑.๒๔) พลตำรวจตรีประวุฒ ิ ถาวรศิริ เปน็ อนกุ รรมการ

๑.๒๕) พลตำรวจตรีธงชัย คล้ายวงศ์วาลย์ เปน็ อนุกรรมการ

๑.๒๖) พันตำรวจเอกกติ ตพิ งษ ์ สุทัศน ์ ณ อยธุ ยา เปน็ อนุกรรมการ

๑.๒๗) พลตำรวจตรีชวน วรวานิช เปน็ อนกุ รรมการ

และเลขานกุ ารรว่ ม

๑.๒๘) นายสมศักด์ิ จงั ตระกลุ เปน็ อนกุ รรมการ

เลขานุการกรมการปกครอง และเลขานุการรว่ ม

๑.๒๙) พันตำรวจเอกขจรศักดิ์ ปานสาคร เป็นอนุกรรมการ

และผู้ช่วยเลขานุการ

๑.๓๐) พนั ตำรวจเอกสรุ พล พินิจชอบ เป็นอนุกรรมการ

และผชู้ ่วยเลขานกุ าร

๑.๓๑) นางสาวสพุ ร กองพฒุ ิ เปน็ อนกุ รรมการ

ผจู้ ดั การฝา่ ยลูกค้าสมั พันธน์ ครหลวง และผูช้ ว่ ยเลขานุการ

บริษัท ทีโอที จำกดั (มหาชน)










526

๒. อำนาจหน้าท
่ี
๒.๑ กำหนดแนวทางในการดำเนินการรับเรื่องราวร้องทุกข์ความยากจนของ
ประชาชนและจัดทำโครงการแผนงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อนำเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณตาม
ความจำเปน็

๒.๒ รับเร่ืองราวร้องทุกข์ความยากจนของประชาชน และประสานงานส่วน
ราชการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่อื ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ รวมท้ังมอี ำนาจเรียกเจ้าหน้าที่ของ
รัฐมาชี้แจงหรือจัดส่งเอกสารหลักฐาน และส่ังการเจ้าหน้าที่กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ให้
ดำเนินการหรืองดเว้นการดำเนินการคดีขัดต่อกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรีหรือคำสั่งนายก
รัฐมนตรี หรอื ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเดือดร้อนไมเ่ ปน็ ธรรม เพือ่ บรรเทาหรือบำบดั ความทุกข์รอ้ นให้
แก่ประชาชน โดยยึดหลักความเที่ยงธรรม เด็ดขาดและรวดเร็ว ภายใต้รัฐธรรมนูญและ
กฎหมายตา่ ง ๆ

๒.๓ แต่งต้ังคณะทำงานเพ่ือดำเนินงานต่าง ๆ ในเร่ืองท่ีได้รับการร้องทุกข์ได้ตาม
ความจำเป็น แล้วรายงานผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนทราบใน
โอกาสแรก

๒.๔ ให้ประธานคณะอนุกรรมการฯ และรองประธานคณะอนุกรรมการฯ ที่ได้รับ
มอบหมายมีอำนาจลงนามแทนผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่ง
ชาติในหนังสือสั่งการให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือผู้ท่ีเก่ียวข้องพิจารณาดำเนินการในเรื่องท่ี
ประชาชนร้องทุกข์และติดตามเร่งรัดผลการพิจารณาดำเนินงาน ยกเว้นกรณีเป็นเร่ืองสำคัญ
หรือมีผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างให้เสนอผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความ
ยากจนเพอ่ื พจิ ารณาสั่งการเปน็ กรณไี ป

๒.๕ ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความ
ยากจนแหง่ ชาติ กำหนดหรือมอบหมาย

ทงั้ น ้ี ตั้งแต่บัดนเ้ี ป็นตน้ ไป




ส่งั ณ วันที่ ๗ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๔๙




(ลงชื่อ) พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ

(ชวลิต ยงใจยทุ ธ)


ประธานทปี่ รึกษานายกรฐั มนตรดี า้ นนโยบายขจัดความยากจน

ผ้อู ำนวยการศูนยอ์ ำนวยการต่อสูเ้ พอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาต












527

ท ่ี ศตจ.มท./ว ๔๐ (สำเนา)

กรมที่ดิน

ถนนพระพิพธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๑๓ มนี าคม ๒๕๔๙

เรือ่ ง การให้บริการรบั เร่อื งราวรอ้ งทกุ ข์ความยากจนผ่าน Call Center

เรยี น ผู้ว่าราชการจังหวัด (ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความ

ยากจนจังหวัด) ทกุ จังหวดั

สงิ่ ท่ีส่งมาดว้ ย สำเนาคำสั่งศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.)

ที่ ๕/๒๕๔๙ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการรบั เรื่องราวรอ้ งทุกข์ความยากจน

ด้วยศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.) ได้มีคำส่ัง
ศตจ. ที่ ๕/๒๕๔๙ ลงวันที ่ ๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ แตง่ ต้งั คณะอนกุ รรมการรบั เรื่องราวร้อง
ทุกข์ความยากจนซ่ึงคณะอนุกรรมการดังกล่าวจะเปิดให้บริการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ความ
ยากจนแก่ประชาชนผ่าน Call Center ของ ศตจ. (โครงการศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐเพ่ือ
ประชาชน (Govenment Contact Center : GCC ) ทางโทรศัพท์หมายเลข ๑๑๑๑ และ
กดเลข ๕ เพ่ิมเติม โดยมีเจ้าหน้าที่รับสายในนาม ศตจ. และบันทึกข้อมูลเรื่องที่ร้องทุกข์
เข้าระบบคอมพิวเตอร์จัดเก็บไว้ เพ่ือจัดทำรายงานเสนอผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือ
เอาชนะความยากจนแห่งชาต ิ และจัดส่งเร่ืองร้องทุกข์ผ่านทาง E-mail ส่งตรงไปยังผู้ว่า
ราชการจงั หวัด ปลัดกรงุ เทพมหานคร หรอื อธบิ ดกี รมการปกครองแล้วแต่กรณี เพอ่ื พิจารณา
ดำเนนิ การตรวจสอบข้อเท็จจริง และบรรเทาหรอื บำบัดความทกุ ขร์ อ้ นให้เสร็จส้ินไปโดยเร็ว

ในการน้ี เพ่ือให้การบริการรับเรื่องราวร้องทุกข์ความยากจนผ่าน Call Center
ของ ศตจ. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และสามารถรวบรวมประมวลข้อมูลนำเสนอนายก
รัฐมนตรีเพื่อรับทราบผลการดำเนินงาน ศตจ.มท. จึงให้ศูนย์อำนวยการปฏิบัติการต่อสู้เพื่อ
เอาชนะความยากจนจังหวัด (ศตจ.จ.) ดำเนินการ ดังนี้

๑. เตรียมการรบั ขอ้ มูลเรอ่ื งราวร้องทุกขท์ าง E-mail จาก ศตจ. แลว้ พิจารณา
ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นกรณีเร่งด่วนโดยรายงานผลกลับทาง E-mail ไปยังศูนย์
Call Center ของ ศตจ. ภายใน ๓๐ วนั

๒. แต่งต้ังเจ้าหน้าที่เพ่ือรับผิดชอบการรับส่ง E-mail ดังกล่าวไว้เป็นการเฉพาะ

528

และให้เจ้าหน้าท่ีที่ได้รับการแต่งตั้งประสานขั้นตอน รายละเอียดการจัดส่งข้อมูลเร่ืองร้องทุกข์
ทาง E-mail กบั นางสาวสพุ ร กองพฒุ ิ ผู้จดั การฝา่ ยลกู คา้ สัมพนั ธน์ ครหลวง บริษัท ทีโอท ี
จำกดั (มหาชน) อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการคณะอนกุ รรมการรบั เรอ่ื งราวร้องทุกข์ความ
ยากจน ศตจ. ที่หมายเลขโทรศัพท ์ ๐-๒๕๗๕-๗๙๒๖ ๐-๒๕๗๔-๙๓๑๕ หรือท่ีศูนย์
Call Center ของ ศตจ. ๑๑๑๑ กด ๕

จงึ เรยี นมาเพือ่ พิจารณาดำเนินการต่อไป



ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงชอ่ื ) สจุ รติ ปัจฉมิ นันท

(นายสจุ รติ ปจั ฉมิ นันท์)

ปลัดกระทรวงมหาดไทย

รองผูอ้ ำนวยการศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สเู้ พื่อเอาชนะ
ความยากจน กระทรวงมหาดไทย







































ศูนย์อำนวยการต่อสเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนกระทรวงมหาดไทย

โทร. ๐ ๒๒๒๕ ๙๙๐๘ (มท.) ๕๐๖๘๐


529

ด่วนท่สี ุด
(สำเนา)


ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๔๒๔ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอษั ฎางค์ กทม. ๑๐๒๐๐
๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙

เรื่อง การเตรียมความพร้อมในการจัดท่ีดินและจัดทำสาธารณูปโภคตามโครงการบริหาร

จัดการที่ดินของรัฐกรณีมีการบุกรุกที่ดินสาธารณประโยชน ์ เพื่อแก้ไขปัญหาความ

ยากจน

เรียน ผู้ว่าราชการจงั หวัดทุกจังหวดั

อา้ งถึง หนังสอื จังหวัด

สง่ิ ทีส่ ง่ มาด้วย ๑. บัญชีรายชื่อแปลงท่ีดินสาธารณประโยชน์และวงเงินประมาณการค่าใช

จ่ายในการรงั วัดและจดั ทำสาธารณูปโภค

๒. สำเนาแบบสรุปผลการประมาณราคาค่าวัสดุและค่าแรงงานก่อสร้าง

(แบบ ปร. ๔ ปร.๕)

ตามหนงั สอื ทีอ่ า้ งถึง จังหวดั ไดเ้ สนอโครงการจดั ทีด่ นิ เพ่อื แกไ้ ขปญั หาความยากจน
เพื่อขอให้กรมท่ีดินพิจารณาจัดสรรงบประมาณค่าใช้จ่ายในการรังวัดที่ดินสาธารณประโยชน์
และแบ่งแปลงย่อย และค่าใช้จ่ายในการจัดทำสาธารณูปโภค (ถ้ามี) ไปน้ัน กรมที่ดินได้
พิจารณจัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังกล่าวเสร็จแล้ว ปรากฎวงเงินและรายละเอียด
ตามบัญชีรายชือ่ และแบบสรปุ ผลการประมาณราคาฯ ตามส่งิ ท่ีส่งมาดว้ ย ๑ และ ๒

เนอื่ งจากคณะรัฐมนตรไี ด้มีมต ิ เมอ่ื วันท่ ี ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๔๘ เห็นชอบตามที่
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอ โดยให้หน่วยงานราชการทุกหน่วยงานท่ีมี
ท่ีดินอยู่ในความครอบครองชะลอการออกหลักฐาน และการอนุญาตให้เช่าในท่ีดินเป็นของรัฐ
ไว้เปน็ การช่ัวคราว จนกว่าการจดั หาทด่ี นิ ท่ีทำกนิ จากส่วนราชการตา่ งๆ ทีม่ ีท่ีดินอยู่ในความ
ครอบครองและการเจรจาการใช้ที่ดินส่วนเกินจะแล้วเสร็จ และหากส่วนราชการหน่วยงานใดท่ี
มีท่ีดินอยู่ในความครอบครองและมีความจำเป็นจะต้องออกหลักฐานให้เช่าใช้ประโยชน์ในที่ดิน
ของรัฐให้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาหน่วยงานและต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เม่ือวัน
ที ่ ๗ กมุ ภาพันธ ์ ๒๕๔๙ กำหนดแนวทางดำเนินการในเร่ืองขอยกเวน้ มตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื
วนั ท ี่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘ โดยกำหนดให้ดำเนินการผา่ นคณะกรรมการจดั ทีด่ นิ แห่งชาติ

จากมตคิ ณะรัฐมนตรดี ังกลา่ ว เป็นผลให้ในปีงบประมาณ ๒๕๔๙ กรมท่ดี ินจะตอ้ ง
ชะลอการดำเนินการตามโครงการข้างตน้ ไปพลางกอ่ น ซง่ึ นอกจากจะมผี ลกระทบตอ่ เป้าหมาย
จำนวน ๙,๒๐๐ ครัวเรือน แล้ว ยังมีผลกระทบต่อการดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล
ตัวช้ีวัดท้ังของกระทรวงและกรมที่ดินรวมทั้งการใช้เงินตามแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
ประจำปีด้วย ซึง่ ศตจ.ไดร้ ับทราบปัญหาและรายงานให้ ฯพณฯ นายกรฐั มนตรีทราบเพอ่ื ขอ
ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาทบทวนมติคณะรัฐมนตร ี เม่ือวันท ่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘ แล้ว

530

นอกจากนั้นแล้วกระทรวงมหาดไทยได้เสนอให้เสนอให้คณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ
พิจารณาตามมติคณะรัฐมนตร ี เม่ือวันที่ ๗ กุมภาพันธ ์ ๒๕๔๙ เพ่ือขออนุมัติดำเนินการ
โครงการดงั กลา่ วอีกทางหน่ึงดว้ ยแลว้

ดังนั้น ในขณะท่ียังต้องรอผลการดำเนินการดังกล่าว ในเบ้ืองต้นนี้ขอเรียนให้ทราบ
ว่ากรมที่ดินจะได้พิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณให้จังหวัดเพื่อดำเนินการต่อไป เม่ือได้ผ่าน
ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติแล้ว แต่เพ่ือให้การเบิก
จ่ายเงินงบประมาณสามารถดำเนินการได้ทันภายในปีงบประมาณน ี้ จึงขอให้จังหวัดเตรียม
ความพร้อมในการดำเนินการเกี่ยวกับการรังวัดที่ดินสาธารณประโยชน์และการแบ่งแปลงย่อย
รวมทั้งการจดั จา้ งในการจดั ทำสาธารณปู โภค ดังนี

๑. กรณีการรังวัดที่ดินสาธารณประโยชน์และการแบ่งแปลงย่อย ขอให้จังหวัดสั่ง
การให้สำนักงานท่ีดิน จังหวัด/สาขา/ ที่รับผิดชอบพื้นที่ดำเนินการ ประสานงานให้นาย
อำเภอท้องที่ยื่นคำขอรังวัดตรวจสอบหรือออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (ในกรณีที่ยังไม่มี
หนังสือสำคัญสำหรับท่ีหลวง แต่พร้อมจะออกได้ในคราวเดียวกันกับการทำโครงการ) ในที่
สาธารณประโยชน์ท่ีจะจัดทำโครงการ เพื่อท่ีจะสามารถเข้าดำเนินการในพ้ืนที่ได้ทันทีเมื่อได้
รบั อนมุ ตั

๒. กรณีการจัดจ้าง เพ่ือให้การดำเนินการในเร่ืองการใช้จ่ายงบประมาณ (งบ
ลงทุน) เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ
๒๕๔๙ ขอใหจ้ งั หวดั ดำเนนิ การจัดซ้อื จัดจา้ งไว้ลว่ งหนา้ โดยกำหนดเงอ่ื นไขไวว้ ่า จะลงนาม
ในสัญญาได้ตอ่ เม่ือไดร้ บั แจง้ การพิจารณาจัดสรรงบประมาณจากกรมท่ีดนิ

จงึ เรยี นมาเพ่ือทราบและดำเนนิ การต่อไป



ขอแสดงความนับถอื



(ลงชือ่ ) สรุ อรรถ ทองนริ มล

(นายสรุ อรรถ ทองนริ มล)

รองปลดั กระทรวงมหาดไทย

หวั หนา้ กลุ่มภารกิจด้านกจิ การความมนั่ คงภายใน









กรมทดี่ นิ

สำนักจัดการทด่ี ินของรัฐ

โทร./โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ต่อ ๓๖๗, ๓๖๙


531

ดว่ นทสี่ ดุ
(สำเนา)


ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๕๖๕ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอษั ฎางค ์ กทม. ๑๐๒๐๐
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๙

เรือ่ ง การดำเนินการตามยุทธศาสตรแ์ กไ้ ขปญั หาความยากจนของกระทรวงมหาดไทย

เรยี น ผ้วู า่ ราชการจังหวดั ทกุ จังหวัด

อ้างถงึ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ป ี (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๑) ของกระทรวงมหาดไทย



ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๔๘-
๒๕๕๑) ซึ่งมีประเด็นยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาความยากจน ที่กลุ่มภารกิจด้านกิจการความ
มั่นคงภายในเป็นเจ้าภาพ รวม ๒ ตัวช้ีวัด คือ จำนวนประชาชนที่ได้รับการแก้ไขปัญหา
ด้านที่ดินทำกิน และจำนวนประชาชนท่ีมีโอกาสเข้าสู่แหล่งเงินทุนเพ่ือแก้ไขปัญหาความ
ยากจน ซ่ึงในส่วนของการแก้ไขปัญหาด้านท่ีดินทำกิน กรมที่ดินเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ
โดยมีเป้าหมายดำเนินการ ในปีงบประมาณ ๒๕๔๙ จำนวน ๙,๒๐๐ ครัวเรือน และ
ปีงบประมาณ ๒๕๕๐ จำนวน ๙,๑๐๐ ครัวเรือน นัน้

เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามตัวช้ีวัด กระทรวงมหาดไทยได้มีหนังสือ ด่วน
ที่สดุ ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๔๐๑๔ ลงวันท ่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ แจ้งใหจ้ งั หวดั ตรวจสอบ
ข้อมูลที่สาธารณประโยชน์และคัดเลือกแปลงท่ีดินที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ท่ีกำหนดจัดทำ
โครงการบริหารจัดการทดี่ ินของรฐั กรณีมีการบุกรุกท่ดี ินสาธารณประโยชน์ เพือ่ แก้ไขปัญหา
ความยากจน พร้อมทั้งจัดทำประมาณการค่าใช้จ่ายในการรังวัดตรวจสอบแบ่งแปลง และค่า
ใช้จ่ายในการจัดทำสาธารณูปโภค (ถ้ามี) ส่งให้กรมท่ีดินพิจารณาจัดสรรงบประมาณในการ
ดำเนินการ ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้รับรายงานจากกรมท่ีดินว่า ขณะน้ีมีจังหวัดที่ได้จัดส่ง
โครงการจัดที่ดินและจัดทำสาธารณูปโภคตามนโยบายแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนใน
ที่ดินสาธารณประโยชน์ให้กรมท่ีดินพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อดำเนินการ รวม ๑๙
จังหวัด ๔๔ แปลง คาดว่าจะสามารถดำเนินการจัดท่ีดินให้แก่ราษฎรได ้ จำนวน ๖,๒๘๔
ครัวเรือน แต่ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว ้ จำนวน ๙,๒๐๐ ครัวเรือน ขาดอยู่อีก
ประมาณ ๓,๐๐๐ ครัวเรือน ฉะน้นั หากกรมท่ดี นิ ไม่สามารถดำเนนิ การสำเรจ็ ตามตัวช้ีวดั ท่ี
กำหนดไว ้ ย่อมส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของกระทรวงมหาดไทยท่ีไม่เป็นไปตามเป้า
หมายที่วางไวเ้ ช่นกนั

กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้ว เห็นว่าการดำเนินการจัดที่ดินตามโครงการดัง
กล่าว เป็นนโยบายสำคัญของรัฐบาลและเป็นตัวชี้วัดของกระทรวงมหาดไทยและกรมท่ีดิน
โดยตรง ซ่ึงขณะนี้กระทรวงยังขาดแปลงท่ีจะนำมาดำเนินการให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ประมาณ ๓,๐๐๐ ครัวเรอื น จึงขอให้จงั หวัดดำเนินการ ดังน้ี


532

๑. เพ่ือให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาด้านท่ีดินทำกิน บรรลุผลสำเร็จตามตัวช้ีวัด
ของกระทรวง จังหวัด อำเภอ และกรมที่ดิน ขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ในฐานะ ผู้อำนวย
การ ศตจ.จังหวัด เป็นเจ้าภาพระดับจังหวัด นายอำเภอ / ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำ
ก่ิงอำเภอ ในฐานะ ผู้อำนวยการ ศตจ.อำเภอ / ก่ิงอำเภอเป็นเจ้าภาพหลักในระดับพื้นท ่ี
และเจา้ พนกั งานท่ีดินจงั หวัด / สาขา หรือ เจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ ารงานทด่ี ินอำเภอ เปน็ เจ้าหนา้ ทที่ ่ี
รับผิดชอบตามโครงการ โดยขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดยึดเป็นนโยบายสำคัญ หากจังหวัดใด
ยังไม่จัดทำโครงการ ขอให้เร่งรัดทำโครงการ เพื่อให้นโยบายแก้ไขปัญหาความยากจนสัม
ฤทธิ์ผลให้จงได

๒. ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด / สาขา หรือเจ้าหน้าที่บริหารงานที่ดินอำเภอ
ประสานงานกับ อำเภอ / ก่ิงอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้ปกครองท้องที่ เพื่อ
รวบรวมแปลงท่ดี นิ สาธารณประโยชน์ท่อี ยู่ในหลกั เกณฑ์ เสนอนายอำเภอ / ปลดั อำเภอผู้เปน็
หัวหน้าประจำก่ิงอำภอ คัดเลือกและให้ความเห็นชอบเพ่ือนำมาจัดทำโครงการบริหารจัดการ
ท่ีดินของรัฐ กรณีมีการบุกรุกท่ีดินสาธารณประโยชน์เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ให้ได้ตาม
เป้าหมายในปีงบประมาณ ๒๕๔๙ พร้อมทั้งจัดเตรียมท่ีดินสาธารณประโยชน์ไว้ สำหรับ
ดำเนินการในปงี บประมาณ ๒๕๕๐ จำนวน ๙,๑๐๐ ครัวเรือน ดว้ ย

๓. หากมีความจำเป็นต้องดำเนินการจัดทำสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ให้
ศตจ.อำเภอก่ิงอำเภอ / กิ่งอำเภอ ขอให้หน่วยงานที่มีภารกิจด้านการจัดทำสาธารณูปโภค
สนับสนุนในการจัดทำประมาณการราคาค่าวัสดุและค่าแรงงานก่อสร้าง (แบบ ปร.๔, ปร.๕)
ประกอบการจัดทำโครงการ ทั้งน ี้ ให้สำนกั งานทดี่ ินจังหวัด เป็นผู้ดำเนนิ การจดั ซอ้ื จัดจ้างใน
ส่วนของการจัดทำสาธารณูปโภค แต่ถ้าสำนักงานที่ดินจังหวัดใดไม่มีความพร้อมที่จะดำเนิน
การได้ ให้ท่ีทำการปกครองจังหวัดเป็นหน่วยดำเนินการแทน และแจ้งกรมท่ีดินทราบเพื่อ
ประสานงานกรมการปกครองรบั เปน็ หนว่ ยเบกิ จ่ายแทนกรมท่ีดนิ

๔. ให้นายอำเภอ / ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำก่ิงอำเภอ ผู้บริหารองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ให้การสนับสนุนและร่วมมือในการดำเนินการ

533

อย่างจริงจัง เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว ้ เนื่องจากหน่วยงานดังกล่าวเป็นหลักใน
การทำความเข้าใจกับราษฎรให้เห็นถึงความสำคัญ รวมทั้งประโยชน์ท่ีจะได้รับ ตลอดจนการ
จัดทำประชาคม ซึ่งจะทำให้การแก้ไขปัญหาความยากจนเป็นไปอย่างยั่งยืนและสามารถ
ดำเนินการไดจ้ รงิ ตามนโยบายของรฐั บาล

จงึ เรยี นมาเพ่อื ทราบและดำเนนิ การต่อไป



ขอแสดงความนับถือ



(ลงชอ่ื ) สรุ อรรถ ทองนริ มล

(นายสรุ อรรถ ทองนริ มล)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย

หวั หนา้ กล่มุ ภารกจิ ความมัน่ คงภายใน











กรมทีด่ ิน สำนักจดั การทด่ี นิ ของรฐั

โทร./ โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ตอ่ ๓๖๗, ๓๖๙


















534

ด่วนมาก
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๔๒๘๘ กรมท่ดี ิน

ถนนพระพพิ ธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๙

เรอ่ื ง การจดั ตั้งศูนย์ปฏบิ ัติการต่อสู้เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวัด

เรียน ผูว้ ่าราชการจงั หวดั ทกุ จังหวดั

ส่งิ ที่ส่งมาด้วย ๑. คำสง่ั ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันท่ ี ๒๘ กุมภาพันธ ์ ๒๕๔๙

๒. หนงั สือ ศตจ.มท. ดว่ นมาก ท่ี ศตจ.มท./ว ๔๔

ลงวันที ่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙

ด้วยศนู ย์อำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.) ไดม้ ีคำสัง่ ท่ี
๙/๒๕๔๙ ลงวันท่ ี ๒๘ กุมภาพันธ ์ ๒๕๔๙ จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความ
ยากจนภาคประชาชนระดับจังหวัด รวม ๔๒ จังหวัด โดยมีอำนาจหน้าท่ีในการกำหนด
แนวทาง วางแผน และหาสาเหตุที่ทำให้เกิดความยากจนเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนของ
ประชาชน ประสานการทำงานร่วมกับศูนย์อำนวยการปฏบิ ัตกิ ารต่อสูเ้ พ่ือเอาชนะความยากจน
จังหวัด (ศตจ.จ.) หน่วยงานภาครัฐและเอกชนท่ีมีอยู่ในจังหวัด เพ่ือเป็นการสร้างความเข้ม
แขง็ ในการดำเนนิ งานร่วมกันระหว่างภาคประชาชนและหนว่ ยงานภาครฐั รวมทงั้ ดำเนนิ การไป
พรอ้ มกบั การดำเนนิ งานคาราวานแก้จนและกจิ กรรมแกจ้ นแบบเขา้ ถงึ ทกุ ครัวเรือน ซึ่งในการน้ ี
ศตจ.มท. ได้มีหนังสือ ด่วนมาก ท ่ี ศตจ.มท./ว ๔๔ ลงวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ ให ้
ศตจ.จ. ให้การสนับสนุนให้ภาคประชาชนและเครือข่ายชุมชนได้มีบทบาทหลักและมีส่วนร่วม
สำคัญในการพัฒนาและดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจนในจังหวัด รายละเอียดปรากฏตาม
สง่ิ ทส่ี ง่ มาด้วย

กรมท่ีดินพิจารณาแล้วเพื่อให้การดำเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะ
ความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวดั สามารถดำเนินการได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ขอให้แจ้ง
เจ้าพนักงานทีด่ นิ จังหวัดทราบ เพ่อื ใหก้ ารสนบั สนนุ และรว่ มมอื ในการดำเนนิ การ


จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและดำเนนิ การตอ่ ไป

ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชือ่ ) พีรพล ไตรทศาวทิ ย์

(นายพีรพล ไตรทศาวทิ ย)์

อธิบดกี รมทด่ี ิน

สำนักจดั การทด่ี ินของรัฐ

โทร./โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ตอ่ ๓๖๗,๓๖๙


535

(สำเนา)


คำสง่ั ศนู ย์อำนวยการต่อสู้เพอื่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาต

ที่ ๙ / ๒๕๔๙


เรือ่ ง การจัดต้งั ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารตอ่ สเู้ พือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั

---------------------------------


ตามที่ได้มีคำส่ังสำนักนายกรัฐนตรี ท่ ี ๕๑๖/๒๕๔๘ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม
๒๕๔๘ เรื่องแต่งต้ังประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และผู้อำนวยการศูนย์เฉพาะกิจตาม
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยให้มีการจัดตั้งศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจน
แหง่ ชาติ และคำสงั่ สำนักนายกรัฐมนตรที ี่ ๒๔/๒๕๔๙ ลงวนั ท ่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๔๙ เรอื่ ง
แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่ง
ชาติ และมอบอำนาจเพิ่มเติมให้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือศูนย์ปฏิบัติการ
ระดบั ต่าง ๆ รายละเอยี ดตามคำสัง่ ที่อา้ งข้างต้น น้ัน

เพ่ือให้ภาคประชาชนและเครือข่ายชุมชนได้มีบทบาทหลักและมีส่วนร่วมสำคัญใน
การพัฒนาและดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจนในจังหวัด อาศัยอำนาจตามคำสั่งสำนัก
นายกรัฐมนตรีข้างต้น จึงให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน
ระดบั จังหวดั ขน้ึ โดยมีอำนาจหนา้ ที่และองค์ประกอบดงั ต่อไปน้

๑. อำนาจหน้าท
ี่
๑.๑ กำหนดแนวทาง วางแผน และหาสาเหตุที่ทำให้เกิดความยากจน เพ่ือ
แกไ้ ขปญั หาความยากจนของประชาชน ทง้ั จากรายชือ่ คนจนที่ลงทะเบียนและความยากจนอนื่
ท่ีมีอยู่ในจังหวัด ให้สามารถแก้ปัญหาคนจนเฉพาะหน้าเร่งด่วนท่ีมีอยู ่ และวางแผนการแก้ไข
พัฒนาได้อยา่ งบูรณาการและตอ่ เน่อื ง ทงั้ ระดับชุมชนท้องถิน่ และระดับจังหวัด

๑.๒ เช่ือมโยงและเอื้ออำนวยการพัฒนาโดยพลังของขบวนเครือข่ายชุมชนทั้ง
ในระดับจังหวัดอำเภอ ตำบล หมู่บ้าน และงานพัฒนาต่าง ๆ เพื่อสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ
ปัญหา และสร้างโอกาสให้ชมุ ชนคนยากจนในทุกระดบั ใหส้ ามารถดำเนนิ การแกไ้ ขปัญหารว่ ม
กันอย่างเตม็ ท
ี่
๑.๓ ประสานการทำงานร่วมกับศูนย์อำนวยการปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะ
ความยากจนจังหวัด (ศตจ.จ.) หน่วยงานภาครัฐและเอกชนท่ีมีอยู่ในจังหวัด เพื่อให้การ
แก้ไขปัญหาความยากจนของภาคประชาชนในจังหวัดรับการแก้ไขและเกิดผลการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง ด้วยความร่วมมืออันดีของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงการประสานและสนับสนุน
การทำงานแก้ปัญหาความยากจนของหน่วยงาน ใหส้ ามารถลงสชู่ มุ ชนและคนยากจน





536

๑.๔ สนบั สนุนแนวทางการแกป้ ญั หาความยากจน และสรา้ งโอกาสการพฒั นา
ที่สมั พนั ธ์ สอดคล้องและสนบั สนนุ กบั โครงสรา้ งของการแก้ไขปัญหาความยากจน ทงั้ การผลติ
การจัดการระบบที่ดิน การสร้างสวัสดิการขั้นพื้นฐาน และวิถีการดำรงชีวิตที่พอเพียงของ
ชุมชนท้องถ่ิน ตลอดจนพัฒนากลไกการบริหารจัดการท่ีประชาชน รวมทั้งชุมชนมีบทบาท
และมีส่วนรว่ มกับภาครฐั ท้งั ในระดับท้องถ่ิน และระดับจงั หวดั ได้ตอ่ เน่อื งอย่างเปน็ รปู ธรรม

๒. สำหรับองค์ประกอบของคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความ
ยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัดให้เป็นไปตามผนวกท้ายคำสั่งน้ี

ทัง้ น ี้ ตั้งแต่บัดน้เี ปน็ ตน้ ไป




สงั่ ณ วนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙




(ลงช่ือ) พลเอก ชวลิต ยงใจยทุ ธ

(ชวลิต ยงใจยุทธ)


ประธานท่ีปรกึ ษานายกรฐั มนตรีด้านนโยบายขจัดความยากจน

ผู้อำนวยการศนู ย์อำนายการต่อสเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาต


































537

ผนวกประกอบคำสัง่ ศูนย์อำนวยการต่อส้เู พือ่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรื่อง การจัดตงั้ ศนู ยป์ ฏิบตั ิการตอ่ สู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๑. ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารต่อสเู้ พอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน กรงุ เทพมหานคร

องค์ประกอบ

๑.๑ นายเกรียติศกั ด ์ิ มสี มพร กรรมการ

๑.๒ นายสมชาย นาคเทียม กรรมการ

๑.๓ นายสมนกึ จนั ทร์อินทร กรรมการ

๑.๔ นายประภาส แสงประดับ กรรมการ

๑.๕ นางพนั ทพิ ย ์ บุตรตาด กรรมการ

๑.๖ นางจนั ทร ์ ก้วั พจิ ติ ร กรรมการ

๑.๗ นายสุรชยั นกุ ิจ กรรมการ

๑.๘ นางรชั น ี พวงทอง กรรมการ

๑.๙ นางจันทรเ์ พ็ญ วอ๋ งวฒั นธรรม กรรมการ

๑.๑๐ นายธรี ยทุ ธ สุขสาล ี กรรมการ

๑.๑๑ นายศุภชยั ตรีรตั นชวสทิ ธ์ิ กรรมการ

๑.๑๒ นางปราณี ทองปราง กรรมการ

๑.๑๓ นายสมคดิ ดว้ งเงนิ กรรมการ

๑.๑๔ นางศศิธร กาญจนทศั น ์ กรรมการ






























538

ผนวกประกอบคำส่ังศูนย์อำนวยการตอ่ สู้เพอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรื่อง การจดั ตัง้ ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารต่อสู้
เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวดั



๒. ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารต่อสเู้ พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั นนทบรุ

องคป์ ระกอบ

๒.๑ นางแกน่ จันทร ์ เมืองจันทร ์ กรรมการ

๒.๒ นายธราดล เยน็ เพ็ชร กรรมการ

๒.๓ นายสนุ ทร ชมภศู ร ี กรรมการ

๒.๔ นายชมุ พล ศรีขาว กรรมการ

๒.๕ นายเสร ี หว่ งสุวรรณ กรรมการ

๒.๖ นางสเุ นตรา ภาคเจรญิ กรรมการ

๒.๗ นางภัทราวดี ชาติศิรทิ รพั ย ์ กรรมการ

๒.๘ นายพรี ะพัฒน ์ ยันติ์แดง กรรมการ

๒.๙ นายทว ี ชัยพัฒนารัตน์ กรรมการ








































539

ผนวกประกอบคำสง่ั ศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ ส้เู พ่อื เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรื่อง การจัดตัง้ ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารตอ่ สู้
เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวัด



๓. ศนู ยป์ ฏิบัติการต่อสูเ้ พอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั ปทมุ ธาน

องคป์ ระกอบ

๓.๑ นางวไิ ลลกั ษณ ์ เลขาขำ กรรมการ

๓.๒ นายก้องศักดิ์ คูณทวีเทพ กรรมการ

๓.๓ นางสาวพรทิพย์ ศริ บิ าล กรรมการ

๓.๔ นายวริ ัช สรอ้ ยเสนาะ กรรมการ

๓.๕ นางนวลอนงค์ แพทย์เจริญ กรรมการ

๓.๖ นางเพญ็ รงุ่ เสาะแสวง กรรมการ

๓.๗ นางจำลกั ษณ์ อ่วมอินทร์ กรรมการ

๓.๘ นางทองหลอ่ สมญา กรรมการ

๓.๙ นางทองคำ วรสวสั ดิ ์ กรรมการ

๓ .๑๐ นางอารีย์ พัฒนเ์ จริญ กรรมการ

๓.๑๑ นายชาญณรงค์ โสตภเิ ศรษฐ์ กรรมการ

๓.๑๒ นายล้วน ธรรมซุย กรรมการ

๓.๑๓ นายสถาพร มาทรพั ย์ กรรมการ
































540

ผนวกประกอบคำส่งั ศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ ส้เู พ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรือ่ ง การจัดตัง้ ศูนย์ปฏิบตั ิการต่อสู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวดั



๔. ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารต่อสู้เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดสมุทรปราการ

องคป์ ระกอบ

๔.๑ นางสาวงามพิศ โกสรากรณ ์ กรรมการ

๔.๒ นางสาวมยุรี เล็ดลอด กรรมการ

๔.๓ นางสาวองั คณา ขาวเผือก กรรมการ

๔.๔ นางประภาจติ สว่างพัฒนา กรรมการ

๔.๕ นายณรงคช์ ยั ดุษณี กรรมการ

๔.๖ นางตุก๊ ตา ตะเพยี นทอง กรรมการ

๔.๗ นางรพพี รรณ ศกั ดามนิ ทร์ กรรมการ

๔.๘ นางเพญ็ ศรี ปรืองาม กรรมการ

๔.๙ นางภหะพฒั น ์ ม่ังม ี กรรมการ

๔.๑๐ นางบังอร กรโกษา กรรมการ

๔.๑๑ นางสุนันท ์ แซเ่ ฮง้ กรรมการ

๔.๑๒ นางจรี นันท์ ปานทา่ ไข ่ กรรมการ

๔.๑๓ นายจักรวาล จันตะเคียน กรรมการ




















541

ผนวกประกอบคำสงั่ ศูนย์อำนวยการตอ่ สู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจัดตง้ั ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารตอ่ สู้
เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๕. ศนู ย์ปฏิบัติการต่อส้เู พ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดชัยนาท

องคป์ ระกอบ

๕.๑ นายสมคิด อยโู่ ต กรรมการ

๕.๒ นายสายชล วงษ์พกิ ุล กรรมการ

๕.๓ นางปาน เทพสภุ า กรรมการ

๕.๔ นายเฉลมิ พงษ์ พงษ์พานิช กรรมการ

๕.๕ นายสมศักดิ์ จิตเอ้ือตระกลู กรรมการ

๕.๖ นายวชิ าญ จ้ยุ แจ้ง กรรมการ

๕.๗ นายสมชาย สุประภาอนันต์ กรรมการ

๕.๘ นางสาววัชรี แถมเจริญ กรรมการ

๕.๙ นายบำรงุ จนั ทรข์ จร กรรมการ

๕.๑๐ นายชลิต มุสกิ โชติ กรรมการ

๕.๑๑ นายประเทือง ไทยเขยี ว กรรมการ

๕.๑๒ นายสมเจตน ์ สังธูป กรรมการ

๕.๑๓ นายเสนีย ์ นาคา กรรมการ

๕.๑๔ นายราวัลย ์ ร้อยเกดิ กรรมการ
































542

ผนวกประกอบคำสั่งศูนยอ์ ำนวยการตอ่ ส้เู พื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจดั ต้ังศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารตอ่ สู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวดั



๖. ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารต่อส้เู พ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดนครสวรรค

องคป์ ระกอบ

๖.๑ นายพรมมา สวุ รรณศรี กรรมการ

๖.๒ นายถนอม ชว่ ยงาน กรรมการ

๖.๓ นายอรุณ คณุ เพม่ิ กรรมการ

๖.๔ นายอดศิ ักดิ์ จนั ทวชิ านวุ งศ ์ กรรมการ

๖.๕ นางอร่ามศรี จนั ทร์สุขศร ี กรรมการ

๖.๖ นายเสถียรพงษ ์ กรบรุ ี กรรมการ

๖.๗ นายสดุ ลำภา กรรมการ

๖.๘ นายเสมอ กล่ินพงษ ์ กรรมการ

๖.๙ นายอภิชาต ิ พ่งึ ทอง กรรมการ

๖.๑๐ นายดิเรก เกตปุ ระยูร กรรมการ

๖.๑๑ นางชตุ ิมา สอนไว กรรมการ

๖.๑๒ นางนพพร ครุฑมงคล กรรมการ

๖.๑๓ นางลลิตา วงค์คำจนั ทร์ กรรมการ

๖.๑๔ นางปราณี เมืองแสน กรรมการ

๖.๑๕ นางสาวพรรณภัทร ใจเอ้ือ กรรมการ

๖.๑๖ นางสาวสุดาวรรณ ์ มกรพฤติพงษ์ กรรมการ

๖.๑๗ นายตะวนั ฉาย หงษ์วิไล กรรมการ

๖.๑๘ นายประกอบ อินชูพงษ ์ กรรมการ

๖.๑๙ นายพนม จนั ทร์ดษิ ฐ์ กรรมการ

๖.๒๐ นายสมบตั ิ ชูมา กรรมการ






543

ผนวกประกอบคำสั่งศนู ย์อำนวยการตอ่ สู้เพือ่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง การจดั ต้งั ศูนย์ปฏบิ ัติการต่อสู้
เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๗. ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ สเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดสงิ หบ์ รุ

องคป์ ระกอบ

๗.๑ นายศวิ กรณว์ ิศษิ ฐ ์ อ่วมปว่ น กรรมการ

๗.๒ นายเฉลยี ว สุขโข กรรมการ

๗.๓ นายสมพศิ ร่วมรกั ษ ์ กรรมการ

๗.๔ นายหวล ธรรมรังสี กรรมการ

๗.๕ นายพลายงาม เมธางกูล กรรมการ

๗.๖ นายสมศกั ด์ ิ มุกทอง กรรมการ

๗.๗ นายทรงวฒุ ิ นาคประสิทธ์ิ กรรมการ

๗.๘ นายชุมพล ศรีใส กรรมการ

๗.๙ นายเสนยี ์ บญุ ช่วงดี กรรมการ

๗.๑๐ นายเฉลมิ สิงห์ทอง กรรมการ

๗.๑๑ นายอำนวย จา่ งสกลุ กรรมการ






































544

ผนวกประกอบคำสัง่ ศนู ย์อำนวยการต่อส้เู พือ่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจดั ตัง้ ศูนย์ปฏบิ ตั ิการต่อสู้
เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๘. ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารตอ่ สเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดอทุ ยั ธานี
องค์ประกอบ

๘.๑ พระมหาประนอม ปญั ญาวโร กรรมการ

๘.๒ นายทะเบียน ปอ้ มคำ กรรมการ

๘.๓ นายสมพงษ์ สทุ ธิวงศ์ กรรมการ

๘.๔ นางอนงค์ คณุ เดช กรรมการ

๘.๕ นางสาววไิ ลวรรณ จนั ทร์พว่ ง กรรมการ

๘.๖ นางพสิ มยั ชูศกั ด ิ์ กรรมการ

๘.๗ นางสาวอรสา สิทธิธญั กจิ กรรมการ

๘.๘ นายจรูญ วิสิทธ ิ์ กรรมการ

๘.๙ นางวัชรา สวสั ดริ ักษา กรรมการ

๘.๑๐ นายนิทัศน์ จันทร์ กรรมการ

๘.๑๑ นายประทปี วเิ ศษศรี กรรมการ

๘.๑๒ นายแก้ว ภรู ผิ ล กรรมการ

๘.๑๓ นายจรัส โยธา กรรมการ

๘.๑๔ นายสมเกียรต ิ บญุ เขตกร กรรมการ

๘.๑๕ นายรัตน ์ ลิบมี กรรมการ

๘.๑๖ นายสวุ นิ ชกั นำ กรรมการ

๘.๑๗ นางนิตยา ภิรมย์วฒั นา กรรมการ

๘.๑๘ นายสนอง แกว้ เกษตรกร กรรมการ

๘.๑๙ นายวรชาต ิ ลลิ า กรรมการ

๘.๒๐ นายสวง นพคุณ กรรมการ

๘.๒๑ นายสำเริง รงคท์ อง กรรมการ

๘.๒๒ นายซ้ง บางบุญฤทธ ิ์ กรรมการ

๘.๒๓ นายสำราญ เภาสมบัต ิ กรรมการ










545

ผนวกประกอบคำส่งั ศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง การจัดตง้ั ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารต่อสู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวัด



๙. ศูนยป์ ฏิบัตกิ ารต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวดั สพุ รรณบุรี
องค์ประกอบ

๙.๑ นายบุญศร ี มณวี งษ์ กรรมการ

๙.๒ นางสาวกมลทพิ ย์ วงษ์สุวรรณ กรรมการ

๙.๓ นายมานพ สิงหด์ วง กรรมการ

๙.๔ นางสาวลำไย สิงห์บุตร กรรมการ

๙.๕ นายสพุ รรณ พวงภู่นอ้ ย กรรมการ

๙.๖ นายพานชิ วงษพ์ า กรรมการ

๙.๗ นายชลอ จรบรรฑิตย์ กรรมการ

๙.๘ นายปัญญา ใคร่ครวญ กรรมการ

๙.๙ นายจาตุรนต ์ ธำรงฐิตกิ ลุ กรรมการ

๙.๑๐ นายเสมียน หงษ์โต กรรมการ

๙.๑๑ นายประทวิ รัศม ี กรรมการ

๙.๑๒ นายเนตร ป่นิ แกว้ กรรมการ

๙.๑๓ นายประจำเมือง ศริ ิภทั ร กรรมการ

๙.๑๔ นายพยงค ์ ศรที อง กรรมการ

๙.๑๕ นายทองใบ สิงสเี ทา กรรมการ


















546

ผนวกประกอบคำสั่งศูนย์อำนวยการต่อสู้เพอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจดั ต้งั ศนู ย์ปฏิบัติการตอ่ สู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวัด



๑๐. ศูนย์ปฏบิ ตั ิการตอ่ สเู้ พอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั กาญจนบุร

องค์ประกอบ

๑๐.๑ นางอุไรวรรณ พงษศ์ กั ดิ ์ ที่ปรกึ ษา

๑๐.๒ นายปราโมทย ์ อุน่ จติ สกลุ ทป่ี รึกษา

๑๐.๓ พันเอกชมุ พล แก้วลว้ น ทป่ี รกึ ษา

๑๐.๔ นางเพ็ญพมิ ล ศิรปิ โชต ิ ท่ปี รกึ ษา

๑๐.๕ นางรัชนี ธงชัย ทปี่ รึกษา

๑๐.๖ นายยุทธภณั ฑ์ เตชะแก้ว ทป่ี รึกษา

๑๐.๗ นายจกั รกฤษณ ์ โพธิ์แพงพุ่ม ที่ปรึกษา

๑๐.๘ นายบญุ ส่ง จนั ทร์สอ่ งรัศม ี ท่ีปรกึ ษา

๑๐.๙ นายบันเทงิ ปนั้ อดุ ม ทปี่ รกึ ษา

๑๐.๑๐ นางอภนิ ันท์ โชตริ สเศรณ ี ทีป่ รกึ ษา

๑๐.๑๑ ผ.ศ.ชวลิต สันถวะโกมล ทีป่ รึกษา

๑๐.๑๒ นายเสรี ศรีสวัสด ิ์ ทปี่ รึกษา

๑๐.๑๓ นางทวิ าพร ศรีวรกุล กรรมการ

๑๐.๑๔ นายเกษม ศรีพกุ กรรมการ

๑๐.๑๕ นายเตียง ยนิ ด ี กรรมการ

๑๐.๑๖ นายประชมุ เสือใจ กรรมการ

๑๐.๑๗ นายพพิ ัฒน ์ แกว้ จติ คงทอง กรรมการ

๑๐.๑๘ นายบรรจง รักษช์ าต ิ กรรมการ

๑๐.๑๙ นางศริ ิกาญจน ์ พงษส์ วสั ด ิ์ กรรมการ

๑๐.๒๐ นายนุมาส อิทรสวาท กรรมการ

๑๐.๒๑ นางวิเชียร บวั ซอ้ น กรรมการ

๑๐.๒๒ นายศวิ โรจน ์ จิตนิยม กรรมการ

๑๐.๒๓ นางนงเยาว ์ แดงอร่าม กรรมการ

๑๐.๒๔ นายสุวิทย์ อุดมสุข กรรมการ

๑๐.๒๕ นายสชุ าต ิ นิลเมือง กรรมการ

๑๐.๒๖ นายประยงค ์ แก้วประดิษฐ์ กรรมการ

๑๐.๒๗ นางสริ ิมา เจริญศรี กรรมการ


547

ผนวกประกอบคำส่ังศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สเู้ พอื่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจัดตั้งศูนยป์ ฏิบัติการต่อสู้
เพอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๑๑. ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารต่อส้เู พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดนครปฐม
องคป์ ระกอบ

๑๑.๑ ดร.โอภาส ปญั ญา ทป่ี รกึ ษา

๑๑.๒ นายเอี่ยม ทองด ี ท่ปี รกึ ษา

๑๑.๓ นายบุญมา บา้ นประดิษฐ ์ ทีป่ รึกษา

๑๑.๔ ดร.ชัชรี นฤทมุ ทีป่ รกึ ษา

๑๑.๕ นายชชู ัย ฤดีสุขกุล ท่ปี รกึ ษา

๑๑.๖ นายประวทิ ย์ เทา่ รุง่ เรืองราษฎร์ ท่ีปรึกษา

๑๑.๗ ทพญ.ฟากฟา้ หนึ่ง อโศกตระกลู ท่ปี รึกษา

๑๑.๘ นายสมพร ทรงสิรวิ ทิ ย ์ ท่ีปรกึ ษา

๑๑.๙ นายมณเฑียร สอดเน่ือง กรรมการ

๑๑.๑๐ นายสงั เวยี น เอกจีน กรรมการ

๑๑.๑๑ นายชาติชาย สิปแดง กรรมการ

๑๑.๑๒ นายวโิ รจน ์ เลย้ี งรักษา กรรมการ

๑๑.๑๓ นายศุภลักษณ ์ ติเยาว์ กรรมการ

๑๑.๑๔ นายปิยะ พวงสำลี กรรมการ

๑๑.๑๕ นายพิชยั คมั ภีธศาสตร ์ กรรมการ

๑๑.๑๖ นายสมชาย ชั้นอินทรอ์ าม กรรมการ

๑๑.๑๗ นายปรตั ถกร จันทร์เผา กรรมการ

๑๑.๑๘ นางวิภาพร สุภาภทั รานนท์ กรรมการ

๑๑.๑๙ นายโชต ิ สายยนื ยง กรรมการ

๑๑.๒๐ นายมณทล ธนะนทุ รัพย ์ กรรมการ

๑๑.๒๑ นางมนธภ์ ัสสรณ์ หมายเหนยี ง กรรมการ

๑๑.๒๒ นางสุนา สร้อยเซียน กรรมการ

๑๑.๒๓ นายอรญั นาคชำนาญ กรรมการ











548

ผนวกประกอบคำส่งั ศูนยอ์ ำนวยการต่อสเู้ พือ่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจัดตัง้ ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารต่อสู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๑๒. ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารต่อสเู้ พอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์
องค์ประกอบ

๑๒.๑ ผศ.ทวิ า ศุภจรรยา ทปี่ รึกษา

๑๒.๒ นายวัชระ วชริ ะศิร ิ ทป่ี รึกษา

๑๒.๓ นายวฒุ ธิชยั หลกั เมอื ง ท่ีปรึกษา

๑๒.๔ นายวัชรินทร์ จันทร์เดช กรรมการ

๑๒.๕ นายสมประสงค ์ นาคด ี กรรมการ

๑๒.๖ นายบญุ ยืน วิเศษสมบตั ิ กรรมการ

๑๒.๗ นายรวบ เปมประสิทธ์ กรรมการ

๑๒.๘ นางสาวเกษราวรรณ จนั ทฉ์ าย กรรมการ

๑๒.๙ นางสายวสันต ์ กำบงั กรรมการ

๑๒.๑๐ นายสมยศ หวงั เจรญิ กรรมการ

๑๒.๑๑ นายเชวง ภทั รวชิรกลุ กรรมการ

๑๒.๑๒ นายวชิ ยั สุขศรี กรรมการ

๑๒.๑๓ นายสมยศ ชนะแรง กรรมการ

๑๒.๑๔ นายโชคชยั ล้มิ ประดิษฐ ์ กรรมการ

๑๒.๑๕ นายพลสิทธิ์ แย้มเจริญกิจ กรรมการ

๑๒.๑๖ นางนธิ มิ า เงนิ สุวรรณ กรรมการ

๑๒.๑๗ นายสมยั แชม่ เทศ กรรมการ

๑๒.๑๘ นายโสภณ นาขวญั กรรมการ


















549

ผนวกประกอบคำส่งั ศนู ย์อำนวยการตอ่ สเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรือ่ ง การจดั ตงั้ ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ สู้
เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวดั



๑๓. ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการต่อสเู้ พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดเพชรบรุ ี
องค์ประกอบ

๑๓.๑ ผศ.สนุ ันท์ นลิ พงษ ์ ที่ปรึกษา

๑๓.๒ นายล้อม เพง็ แกว้ ท่ปี รกึ ษา

๑๓.๓ นายอเนก ดุลบตุ ร ทีป่ รึกษา

๑๓.๔ นายวเิ ชียร เรยี บรอ้ ย ทีป่ รกึ ษา

๑๓.๕ นายสมภร ทพั นาค กรรมการ

๑๓.๖ นายประนอม สบื อำ่ กรรมการ

๑๓.๗ นายกจิ ผอ่ งพักต์ กรรมการ

๑๓.๘ นายเกยี รต ิ กล่อมสกุล กรรมการ

๑๓.๙ นายสมยศ สร้อยสุวรรณ กรรมการ

๑๓.๑๐ นายชิน ข่วงพร กรรมการ

๑๓.๑๑ นายกลุ ขำทว ี กรรมการ

๑๓.๑๒ นางสาวศรุดา มีกลุ กรรมการ

๑๓.๑๓ นายอานนท์ โถสกุล กรรมการ

๑๓.๑๔ นายบุญธรรม ชชู าต ิ กรรมการ

๑๓.๑๕ นายพิรญุ กองแปง กรรมการ

๑๓.๑๖ นายอมั พร โซยา กรรมการ

๑๓.๑๗ นางสาวสธุ ดิ า แสงเพชร กรรมการ

๑๓.๑๘ นางปิยะพร ศรพี ลาวงษ ์ กรรมการ



















550

ผนวกประกอบคำส่ังศนู ย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง การจดั ตั้งศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารต่อสู้
เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๑๔. ศูนย์ปฏิบตั กิ ารตอ่ สู้เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั ราชบรุ

องค์ประกอบ

๑๔.๑ พระครูวฑิ ิต พฒั นโสพล ท่ปี รกึ ษา

๑๔.๒ พระครสู ิร ิ คณาภรณ ์ ที่ปรึกษา

๑๔.๓ นายวิเชยี ร ครตุ วัส ที่ปรกึ ษา

๑๔.๔ นายประสทิ ธิ์ เทยี มเดช ทีป่ รึกษา

๑๔.๕ นายทศพล แกว้ ทิมา ทปี่ รกึ ษา

๑๔.๖ นายมนตร ี ปลอดโปง่ ทป่ี รกึ ษา

๑๔.๗ นายชลาวัฒน์ แผงสขุ ท่ปี รกึ ษา

๑๔.๘ นายนรเศรษฐ์ เรืองพยุงศกั ด ิ์ ที่ปรึกษา

๑๔.๙ นายแพทยพ์ นัส พฤกษส์ ุนันท ์ ทป่ี รกึ ษา

๑๔.๑๐ นายประสิทธ ิ์ ช้างแกว้ กรรมการ

๑๔.๑๑ นายเสรมิ นวลเขียว กรรมการ

๑๔.๑๒ นายเทิด ทองรงุ่ กรรมการ

๑๔.๑๓ นางพิมพ์ลดา ทรพั ยเ์ ยน็ กรรมการ

๑๔.๑๔ นายวทิ รู ย ์ ศรีเกษม กรรมการ

๑๔.๑๕ นายสงา่ ซ่าเส่ียง กรรมการ

๑๔.๑๖ นายกฤตศลิ ป ์ สายรัตนอินทร์ กรรมการ

๑๔.๑๗ นายวลติ เจริญสมบตั ิ กรรมการ

๑๔.๑๘ นายประจวบ คงทน กรรมการ

๑๔.๑๙ นายสาโรจน์ มลู พวก กรรมการ

๑๔.๒๐ นายธรรมสญั ญ์ อุ่มเอิบ กรรมการ

๑๔.๒๑ นางสาวมลั ลกิ า สพฤกษ์ศรี กรรมการ

๑๔.๒๒ นางจรรยา นุชนุ่ม กรรมการ

๑๔.๒๓ นางสาวสุมล ฉยั ยา กรรมการ

๑๔.๒๔ นายปราโมทย์ ปริยรักษ ์ กรรมการ






551

ผนวกประกอบคำส่งั ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรื่อง การจดั ตง้ั ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารต่อสู้
เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๑๕. ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารตอ่ ส้เู พ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดสมทุ รสงคราม
องคป์ ระกอบ

๑๕.๑ นางอษุ า เทยี นทอง ท่ปี รึกษา

๑๕.๒ นายอารมณ ์ ดำช่วย ทป่ี รึกษา

๑๕.๓ นายอาคม จันทรกลู ท่ีปรกึ ษา

๑๕.๔ นายนคิ ม อู่อ่อน ทป่ี รึกษา

๑๕.๕ นายสุรจติ ชริ เวทย์ ทปี่ รึกษา

๑๕.๖ นายสรณพงษ์ บัวโรย ทป่ี รึกษา

๑๕.๗ นางสาวชตุ มิ า ศรีเกษม กรรมการ

๑๕.๘ นายไพบลู ย์ รตั นพงษ์ธร กรรมการ

๑๕.๙ นายมานะชยั ทองยงั กรรมการ

๑๕.๑๐ นายสมฤทธิ์ พงษ์สวสั ด์ิ กรรมการ

๑๕.๑๑ นายปัญญา โตกทอง กรรมการ

๑๕.๑๒ นางชมพนู ชุ แย้มสรวล กรรมการ

๑๕.๑๓ นางสาวบุญยืน ศริ ิธรรม กรรมการ

๑๕.๑๔ นายสมพร เกตแุ ก้ว กรรมการ

๑๕.๑๕ นางสาวประภา คุ้มนาน กรรมการ

๑๕.๑๖ นางสาวเกษร ชอบประดิษฐ์ กรรมการ

๑๕.๑๗ นางสาวรมณยี ์ เต็มเปี่ยม กรรมการ

๑๕.๑๘ นางจริ พร บัวตุ๋ย กรรมการ

๑๕.๑๙ นายชิษนุวฒั น ์ มณศี รขี ำ กรรมการ

๑๕.๒๐ นายสาโรจน์ มีมงคล กรรมการ

๑๕.๒๑ นางสาวรัตนา วงศซ์ ่อื กรรมการ















552

ผนวกประกอบคำสงั่ ศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพอื่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจดั ต้ังศนู ยป์ ฏิบัติการต่อสู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๑๖. ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารตอ่ สเู้ พ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดจนั ทบรุ

องคป์ ระกอบ

๑๖.๑ นายไพโรจน ์ แสงจันทร์ ท่ีปรกึ ษา

๑๖.๒ นายเจรญิ ปิยารมย์ ทีป่ รกึ ษา

๑๖.๓ พระอาจารยม์ นัส ขนุตธิ มโม กรรมการ

๑๖.๔ อาจารยน์ เิ วศน ์ คเวคโก กรรมการ

๑๖.๕ ด.ต.วชิรวชิ ญ์ จันทร์เขยี ว กรรมการ

๑๖.๖ นายถนอม โสกำบัง กรรมการ

๑๖.๗ นายธีระ วงษ์เจรญิ กรรมการ

๑๖.๘ นายคำนงึ ชนะสิทธ ์ิ กรรมการ

๑๖.๙ นายนรวรรณ ใจชืน่ กรรมการ

๑๖.๑๐ นายชาญศกั ด ิ์ บญุ เรือง กรรมการ

๑๖.๑๑ นายพยอม ประไพพงษ ์ กรรมการ

๑๖.๑๒ นายธีระพันธ ์ เจรญิ สิทธ ์ิ กรรมการ

๑๖.๑๓ นายชาตรี ทิพยวรการกูล กรรมการ

๑๖.๑๔ นายจริ วฒั น์ พัวสุวรรณ กรรมการ

๑๖.๑๕ ด.ต.ปญั ญวัฒน ์ กระทุม่ เขต กรรมการ

๑๖.๑๖ นายบุญมี ชะแมบ กรรมการ

๑๖.๑๗ นายอนุภาพ ชินอดุ มพงษ ์ กรรมการ

๑๖.๑๘ นายสุเวศน์ ภูร่ ะหงษ์ กรรมการ

๑๖.๑๙ นางสาวณัชชา สุรยิ ะรังส ี กรรมการ

๑๖.๒๐ นายอุทัย สเี ผอื ก กรรมการ

๑๖.๒๑ นายสงกรานต ์ สืบศริ พิ นู ชัย กรรมการ

๑๖.๒๒ นายธรรมนิตย ์ สรุ ยิ ะรงั ส ี กรรมการ














553

ผนวกประกอบคำส่ังศูนย์อำนวยการตอ่ สูเ้ พ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรื่อง การจดั ต้ังศูนย์ปฏบิ ตั ิการตอ่ สู้
เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๑๗. ศนู ยป์ ฏบิ ัติการต่อสเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดฉะเชิงเทรา
องคป์ ระกอบ

๑๗.๑ พระครูโสภณวริ ิยานยุ ุต ทีป่ รกึ ษา

๑๗.๒ พระครูโอภาสปัญญาวรคณุ ทปี่ รกึ ษา

๑๗.๓ นายวบิ ูลย์ เขม็ เฉลิม ท่ีปรึกษา

๑๗.๔ นายกรินทร ์ สิงดวิ ิบลู ย์ ทป่ี รกึ ษา

๑๗.๕ นายโชคชยั ชว่ ยณรงค์ ทีป่ รกึ ษา

๑๗.๖ นายสุรเชษฐ์ ศรรี ะษา กรรมการ

๑๗.๗ นายสุพฒั น์ ธนพงิ คจ์ ันทร ์ กรรมการ

๑๗.๘ นายนำ้ คา้ ง มน่ั ศรีจนั ทร ์ กรรมการ

๑๗.๙ จ.ส.อ.ศกั ดา ทองประสิทธ ์ กรรมการ

๑๗.๑๐ นายเล่ยี ม บตุ รจนั ทรา กรรมการ

๑๗.๑๑ นายเดชา คชเลิศ กรรมการ

๑๗.๑๒ นายเกรียงศักด ์ิ สมบรู ณท์ รพั ย ์ กรรมการ

๑๗.๑๓ นายสำราญ หม่ืนหาญ กรรมการ

๑๗.๑๔ นายสายยันต์ ไหมพิมพ์ กรรมการ

๑๗.๑๕ นายเจษฎา ม่งิ สมร กรรมการ

๑๗.๑๖ นายจรญั เจริญสขุ กรรมการ

๑๗.๑๗ นายสมภพ หม่นื พชิ ติ กรรมการ

๑๗.๑๘ นายสุวฒั น์ บญุ ศรี กรรมการ

๑๗.๑๙ นายจำลอง ศรีสวัสด์ิ กรรมการ

๑๗.๒๐ พระครโู สภณวิริยานยุ ตุ กรรมการ

๑๗.๒๑ นางสร้อยทอง ออกบัว กรรมการ

๑๗.๒๒ นางสาวสงดั ชัยเทศ กรรมการ

๑๗.๒๓ นายสมหมาย เตยี งกูล กรรมการ

๑๗.๒๔ นานมะหนั ศรสี มบัต ิ กรรมการ

๑๗.๒๕ นางศิรประภา นภนิภา กรรมการ

๑๗.๒๖ นายไพรนิ นพกัณณ์ กรรมการ




554

ผนวกประกอบคำสงั่ ศูนย์อำนวยการต่อสเู้ พอื่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจัดตัง้ ศนู ยป์ ฏิบัติการตอ่ สู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๑๘. ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ สเู้ พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดตราด

องคป์ ระกอบ

๑๘.๑ พระอาจารย์สบุ นิ ปณโี ต ทป่ี รกึ ษา

๑๘.๒ นายวิเชยี ร ทรัพย์เจรญิ ที่ปรึกษา

๑๘.๓ นายแพทยบ์ ูรพา รัตนนรากร ท่ีปรกึ ษา

๑๘.๔ นายธญั ญา หาญพล ทป่ี รึกษา

๑๘.๕ นายประเสรฐิ ศิริ ที่ปรกึ ษา

๑๘.๖ นางศิรวิ รรณ บุตรราช กรรมการ

๑๘.๗ นายสมพงษ ์ อนิ ทสุวรรณ กรรมการ

๑๘.๘ นายสมาน มั่นคง กรรมการ

๑๘.๙ นายสรศุ ักดิ ์ องิ ประสาร กรรมการ

๑๘.๑๐ นายจรนิ ทร์ ภูษณะภิบาลคปุ ต ์ กรรมการ

๑๘.๑๑ นายอำพร แพทยศ์ าสตร ์ กรรมการ

๑๘.๑๒ นายธรี พงษ์ วิชญเนตนิ ัย กรรมการ

๑๘.๑๓ นายจรุ ีรตั น์ หวลถนอม กรรมการ

๑๘.๑๔ นายวิจติ ร บัวตรี กรรมการ

๑๘.๑๕ นายโอฬาร อำพรรณ กรรมการ

๑๘.๑๖ นายไพรัญ ศรีสวัสดิ์ กรรมการ

๑๘.๑๗ นายศภุ รตั น์ มวลนรา กรรมการ

๑๘.๑๘ นายสกลุ สิงหส์ รุ ีย ์ กรรมการ

๑๘.๑๙ นายวีระทรัพย ์ คงด ี กรรมการ

๑๘.๒๐ นายไววิทย์ หวานเสนาะ กรรมการ

๑๘.๒๑ นายสมโภชน ์ วาสุกรี กรรมการ

๑๘.๒๒ นางมารศร ี พูลเกษม กรรมการ

๑๘.๒๓ นางสาวจนั ทร์เพญ็ มุสกิ รัตน์ กรรมการ

๑๘.๒๔ นางธนพรรณ วรรณรตั น ์ กรรมการ

๑๘.๒๕ นางสาวสทุ ษิ า โสภณ กรรมการ


555

ผนวกประกอบคำสั่งศนู ยอ์ ำนวยการต่อสู้เพอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจัดตงั้ ศนู ย์ปฏบิ ัติการต่อสู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวัด



๑๙. ศนู ยป์ ฏบิ ัติการตอ่ สเู้ พอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั ระยอง

องค์ประกอบ

๑๙.๑ นายปรกฤต รินทรานรุ ักษ ์ ทป่ี รึกษา

๑๙.๒ นายพายัพ ผ่องใส ที่ปรกึ ษา

๑๙.๓ พระครูประโชตธรรมาภริ ม กรรมการ

๑๙.๔ นายดำรงศกั ด์ิ ชมุ แสงพนั ธ์ กรรมการ

๑๙.๕ นางสุธีรา ผอ่ งใส กรรมการ

๑๙.๖ นายบัญญตั ิ ขาวนวล กรรมการ

๑๙.๗ นายสุทธ ิ อัชฌาศยั กรรมการ

๑๙.๘ นายขจร ใจรักษ์ กรรมการ

๑๙.๙ นายฌัชเมษ ไตรตระการเดช กรรมการ

๑๙.๑๐ นายชาติชาย เหลอื งเจริญ กรรมการ

๑๙.๑๑ นายวลั ลภ แสงอรณุ กรรมการ

๑๙.๑๒ นายชมุ พล ไกรทอง กรรมการ

๑๙.๑๓ นายบรรจบ ตงั้ ม่นั กรรมการ

๑๙.๑๔ นายดนัย รตั นวิจิตร กรรมการ

๑๙.๑๕ นางสาวโสวิภา ฉ่ำครา้ ม กรรมการ

๑๙.๑๖ นายรชั พล ภขู วญั เมอื ง กรรมการ

๑๙.๑๗ นายสมศักด์ิ เครอื วลั ย ์ กรรมการ

๑๙.๑๘ นายสองิ้ ประสงคศ์ ิลป์ กรรมการ

๑๙.๑๙ นายประมลู สุขจิต กรรมการ

๑๙.๒๐ จ.อ.จำรัส ประหยดั กรรมการ




















556

ผนวกประกอบคำสั่งศูนย์อำนวยการต่อสเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจดั ตงั้ ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารตอ่ สู้
เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวัด



๒๐. ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารต่อส้เู พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดชมุ พร

องค์ประกอบ

๒๐.๑ นายประวิทย์ ภูมิระวิ กรรมการ

๒๐.๒ นายโสภณ ศรีพรรณ กรรมการ

๒๐.๓ นายวิบูลย์ อุทยั กรรมการ

๒๐.๔ นายจนิ ดา บญุ จันทร์ กรรมการ

๒๐.๕ นายทววี ฒั น ์ เครือสาย กรรมการ

๒๐.๖ นายพนิ ิจ พรหมสุรตั น์ กรรมการ

๒๐.๗ นายแสงนภา สุทธิภาค กรรมการ

๒๐.๘ นายวิระ ปัจฉมิ เพชร กรรมการ

๒๐.๙ นางอรวรรณ สอนสุทธิ ์ กรรมการ

๒๐.๑๐ นายสุชาต ิ บวั สุวรรณ กรรมการ

๒๐.๑๑ นายประหยดั ทมิ รอด กรรมการ

๒๐.๑๒ นางพรทพิ ย์ จีนสน กรรมการ

๒๐.๑๓ นางสนุ ยี ์ คงสผุ ล กรรมการ

๒๐.๑๔ นายสวุ ทิ ย ์ เวชโภติ กรรมการ
















557

ผนวกประกอบคำสั่งศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจดั ตัง้ ศูนยป์ ฏิบัตกิ ารต่อสู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๒๑. ศนู ย์ปฏบิ ัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวดั ตรัง

องคป์ ระกอบ

๒๑.๑ นายอมุ ัด จนั ทร์ตุด กรรมการ

๒๑.๒ นายสนทิ ชคู ง กรรมการ

๒๑.๓ นายเจริญ พลอินทร ์ กรรมการ

๒๑.๔ นางอารยี า แก้วสามดวง กรรมการ

๒๑.๕ นายธรรมวทิ ย ์ คงชุม กรรมการ

๒๑.๖ นางเชาวนี แกว้ เกดิ ศร ี กรรมการ

๒๑.๗ นางศิโรรตั น์ ศรชี มรตั น์ กรรมการ

๒๑.๘ นายจำลอง แพใหญ ่ กรรมการ

๒๑.๙ นายรา่ น รักเหมอื น กรรมการ

๒๑.๑๐ นางสมุ าล ี ศรมีศรี กรรมการ








































558

ผนวกประกอบคำส่ังศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพือ่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจดั ต้ังศูนย์ปฏิบตั ิการต่อสู้
เพอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๒๒. ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ ส้เู พือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั พงั งา

องค์ประกอบ

๒๒.๑ นางสาวริศรา เรืองศร ี กรรมการ

๒๒.๒ นายพล ศรีเพ็ชร กรรมการ

๒๒.๓ นายธนา ศรสี มุทร กรรมการ

๒๒.๔ นายทรงวฒุ ิ อนิ ทร์สวสั ดิ์ กรรมการ

๒๒.๕ นายสมาน ทองเผอื ก กรรมการ

๒๒.๖ นายสมใจ ชมขวญั กรรมการ

๒๒.๗ นางอบุ ล เท่ยี งธรรม กรรมการ

๒๒.๘ นายสุเทพ ทองมน กรรมการ

๒๒.๙ นางสาวจฑุ ามาศ มาลี กรรมการ

๒๒.๑๐ นายไมตร ี จงไกรจกั ร กรรมการ

๒๒.๑๑ นายอรโุ ณ พัฒนไพโรจน์ กรรมการ

๒๒.๑๒ นายศักด์ิดา พรรณรังส ี กรรมการ

๒๒.๑๓ นายสงวน สุนทรรัตน์ กรรมการ

๒๒.๑๔ นายประจักษ ์ จงไกรจักร กรรมการ

๒๒.๑๕ นายประยูร จงไกรจกั ร กรรมการ






























559


Click to View FlipBook Version