The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2549 (ส่วนที่ 2) (ปี 2549)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

ผนวกประกอบคำสัง่ ศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สเู้ พือ่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจดั ตง้ั ศนู ย์ปฏบิ ัติการต่อสู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๒๓. ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารตอ่ ส้เู พ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวดั พัทลงุ

องคป์ ระกอบ

๒๓.๑ นายแกว้ สงั ข์ช ู กรรมการ

๒๓.๒ นายฉ้ิน บวั บาน กรรมการ

๒๓.๓ นายวิเชียร มณีรัตน์โชติ กรรมการ

๒๓.๔ นายธราดล สุขวนชิ กรรมการ

๒๓.๕ นายเสนีย ์ จ่าวิสตู ร กรรมการ

๒๓.๖ นายอทุ ยั บุญดำ กรรมการ

๒๓.๗ นายวิเวก หนมู าก กรรมการ

๒๓.๘ นายเฉลมิ ศรภักดี กรรมการ

๒๓.๙ นายประยูร ชทู อง กรรมการ

๒๓.๑๐ นายสมชาย หนแู ป้น กรรมการ

๒๓.๑๑ นายกนษิ ฐ ์ คงทอง กรรมการ

๒๓.๑๒ นายสมศกั ด์ ิ หนกู ลับ กรรมการ

๒๓.๑๓ นายประพฒั น ์ จันทรอ์ ักษร กรรมการ

๒๓.๑๔ นายชพี แก้วบุญส่ง กรรมการ

๒๓.๑๕ นายจรูญ จนี นุย้ กรรมการ





























560

ผนวกประกอบคำสั่งศูนย์อำนวยการตอ่ สู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๖๔๙ เรอื่ ง การจัดตัง้ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารตอ่ สู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๒๔. ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารตอ่ สเู้ พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวดั สงขลา

องคป์ ระกอบ

๒๔.๑ นายอคั รชยั ทศกรู กรรมการ

๒๔.๒ นายพนู ทรัพย ์ ศรีชู กรรมการ

๒๔.๓ ด.ต.นิคม ทองมสุ ิ กรรมการ

๒๔.๔ นายลิปปนน จรยิ านุกูล กรรมการ

๒๔.๕ นายอานิตย์ พันธุค์ ง กรรมการ

๒๔.๖ นายประพาส บวั แก้ว กรรมการ

๒๔.๗ นายอมั พร ดว้ งปาน กรรมการ

๒๔.๘ นายชบ ยอดแกว้ กรรมการ

๒๔.๙ นายเคลา้ แกว้ เพชร กรรมการ

๒๔.๑๐ นายสุพล จันทร์ยง กรรมการ

๒๔.๑๑ นายระนอง ซุ้นสุวรรณ กรรมการ

๒๔.๑๒ นายเล้ง แซ่เอย่ี ว กรรมการ

๒๔.๒๓ นายใจด ี สวา่ งอารมย ์ กรรมการ






























561

ผนวกประกอบคำสั่งศูนย์อำนวยการต่อสเู้ พื่อเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจดั ตง้ั ศูนย์ปฏิบตั ิการตอ่ สู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวัด



๒๕. ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารตอ่ ส้เู พอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดสตลู

องคป์ ระกอบ

๒๕.๑ นายอาหลบี งะ๊ เจ๊ะ กรรมการ

๒๕.๒ นายอิสมาแอล ขุนดำ กรรมการ

๒๕.๓ นายกติ ตโิ ชค ชนะหลวง กรรมการ

๒๕.๔ นายสธุ า อินยอด กรรมการ

๒๕.๖ นายสายัญ ศรนี อ้ ย กรรมการ

๒๕.๗ นางศราวรรณ พรัพยส์ นิท กรรมการ

๒๕.๘ นายพัชรวุธ ชื่นอารมณ์ กรรมการ

๒๕.๙ นายบุญลือ ขาวแกว้ กรรมการ

๒๕.๑๐ นางสาวอมรัตน ์ ทองเกลี้ยง กรรมการ

๒๕.๑๑ นายเอนก พนั สกลุ กรรมการ

๒๕.๑๒ นายแน้น สายนั ต์ กรรมการ




































562

ผนวกประกอบคำส่ังศนู ย์อำนวยการตอ่ สเู้ พอื่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจัดตง้ั ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการตอ่ สู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๒๖. ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารต่อสเู้ พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวดั เชียงใหม่
องคป์ ระกอบ

๒๖.๑ นายสวงิ ตันอดุ กรรมการ

๒๖.๒ นายชมชวน บญุ ระหงษ์ กรรมการ

๒๖.๓ นายมาลา คำจนั ทร ์ กรรมการ

๒๖.๔ นายเดโช ไชยทัพ กรรมการ

๒๖.๕ นายประยงค์ ดอกลำใย กรรมการ

๒๖.๖ นางสาวนนั ทา เบญจาศิลารักษ ์ กรรมการ

๒๖.๗ นายนิคม พทุ ธา กรรมการ

๒๖.๘ ดร.พระมหาบญุ ช่วย สิริธมโม กรรมการ

๒๖.๙ พระอธิการอเนก จนั ทปัญโญ กรรมการ

๒๖.๑๐ นายประภัสสร โลโท กรรมการ

๒๖.๑๑ นายจอน ิ โอโด่เชา กรรมการ

๒๖.๑๒ นายอดลุ ย ์ ยกคำจู กรรมการ

๒๖.๑๓ นายประพัฒน ์ อภยั มลู กรรมการ

๒๖.๑๔ นายนคิ ม ไชยวรรณ กรรมการ

๒๖.๑๕ พระครูสมุหวิเชียร คุณธัมโม กรรมการ

๒๖.๑๖ นายประทีป บญุ หมัน้ กรรมการ

๒๖.๑๗ นายอนันต์ ดวงแกว้ เรอื น กรรมการ

๒๖.๑๘ นายศกั ดา บญุ มาตะ กรรมการ

๒๖.๑๙ นายสิงห ์ ระพแี จม่ จรัส กรรมการ

๒๖.๒๐ นายดเิ รก กองเงนิ กรรมการ


















563

ผนวกประกอบคำส่งั ศูนยอ์ ำนวยการต่อสู้เพือ่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง การจัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวัด



๒๗. ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารต่อสเู้ พ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดนา่ น

องค์ประกอบ

๒๗.๑ พระครพู ิทกั ษ ์ นันทกลุ กรรมการ

๒๗.๒ พระอธกิ ารสมคิด จารณธมโม กรรมการ

๒๗.๓ นางเพยี รพศิ ยะวญิ ชาญ กรรมการ

๒๗.๔ นายชูศกั ด ์ิ หาดพรม กรรมการ

๒๗.๕ นายป๋ัน อนิ หล ี กรรมการ

๒๗.๖ นางอนงค ์ อนิ แสง กรรมการ

๒๗.๗ นายทองผล มหายศนันท์ กรรมการ

๒๗.๘ นายเกษตร ยศบญุ เรือง กรรมการ

๒๗.๙ นางทฆิ มั พร กองสอน กรรมการ

๒๗.๑๐ นายสำรวย ผัดผล กรรมการ

๒๗.๑๑ นายสถาพร สมศกั ด ิ์ กรรมการ

๒๗.๑๒ นายสนิท มณเฑียร กรรมการ



































564

ผนวกประกอบคำส่ังศนู ย์อำนวยการตอ่ สู้เพอ่ื เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจดั ตง้ั ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ สู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวัด



๒๘. ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารต่อสูเ้ พ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดพจิ ติ ร

องค์ประกอบ

๒๘.๑ นางสุวรรณา คำแสง ทป่ี รึกษา

๒๘.๒ นายสรุ ยิ นต์ ฉายดลิ ก ท่ปี รกึ ษา

๒๘.๓ นางสาวศิริพร บุญโต กรรมการ

๒๘.๔ นายอำนาจ มหนั โต กรรมการ

๒๘.๕ นางสาวพัฒนา ผะอบเหล็ก กรรมการ

๒๘.๖ นายทวี ขันทอง กรรมการ

๒๘.๗ นายวิชติ สำแดงเดช กรรมการ

๒๘.๘ นางสรุ ิยา แดงตาโคตร กรรมการ

๒๘.๙ นายไสว ประสารสบื กรรมการ

๒๘.๑๐ นายประสทิ ธ์ิ พิลา กรรมการ

๒๘.๑๑ นายบำรุง วรรณชาต ิ กรรมการ

๒๘.๑๒ นายบญุ เพง็ ขนั ทอง กรรมการ

๒๘.๑๓ นางเตอื นใจ บุรพรัตน ์ กรรมการ

๒๘.๑๔ นายวิเชยี ร จุลพันธ์ กรรมการ

๒๘.๑๕ นายนิยม ศกั ดี กรรมการ

๒๘.๑๖ นายบญุ ยนื วงศส์ งวน กรรมการ

๒๘.๑๗ นายแพทย์สรุ เดช เดชค้มุ วงศ์ กรรมการ

๒๘.๑๘ นายสุนทร มจั ฉมิ กรรมการ
























565

ผนวกประกอบคำส่งั ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพือ่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจดั ตงั้ ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารต่อสู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๒๙. ศนู ย์ปฏบิ ัติการต่อสู้เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดพษิ ณุโลก

องค์ประกอบ

๒๙.๑ นายสมบูรณ ์ สังข์เครอื อยู ่ ทีป่ รกึ ษา

๒๙.๒ นายเสริมศกั ด์ิ บญุ เผอ่ื น ทีป่ รกึ ษา

๒๙.๓ นายจติ ตศิ ักดิ์ อไู่ ทย ทป่ี รกึ ษา

๒๙.๔ นายดษุ ติ ประสิทธิเ์ ขตกิจ ที่ปรึกษา

๒๙.๕ นายสาคร สงมา ทีป่ รกึ ษา

๒๙.๖ นายวรี ะศักดิ์ วงศ์สทุ ธ์ ิ ทป่ี รกึ ษา

๒๙.๗ ผศ.ดร.ภานวุ ฒั น์ ภกั ดีวงศ์ ที่ปรึกษา

๒๙.๘ รศ. พฒั นา ราชวงศ์ ทป่ี รกึ ษา

๒๙.๙ นางสเุ นตร ทองคำพงษ์ กรรมการ

๒๙.๑๐ นายมะลิ ทองคำปลิว กรรมการ

๒๙.๑๑ นายสุนนั ท์ แก้วมาก กรรมการ

๒๙.๑๒ นายชูศกั ดิ ์ รกั ษ์ธรรม กรรมการ

๒๙.๑๓ นายสมนึก วันเทย่ี ง กรรมการ

๒๙.๑๔ นายประเจิด ศรสี วัสดิ ์ กรรมการ

๒๙.๑๕ นายสนอง เนยี มเหล่ียม กรรมการ

๒๙.๑๖ นายวเิ ศษ ยาคลา้ ย กรรมการ

๒๙.๑๗ นางชาล ี จันเมอื ง กรรมการ

๒๙.๑๘ นายวชิ ญ์ ในสะอาด กรรมการ

๒๙.๑๙ นายอดุ มชัย นวลไผ ่ กรรมการ

๒๙.๒๐ นายสรุ กานต์ วิเชียรสวัสด ์ิ กรรมการ

๒๙.๒๑ นายฐติ ิณัฐ กลนิ่ หอม กรรมการ

๒๙.๒๒ นายเถอื่ น ทนก้อนด ี กรรมการ

๒๙.๒๓ นายชาล ี วัฒนวานิชกจิ กรรมการ

๒๙.๒๔ นายน้อย วลิ ัยฤทธ ิ์ กรรมการ

๒๙.๒๕ นายสุรนิ ทร์ อินจง กรรมการ

๒๙.๒๖ นายเชดิ จันทรศ์ รเี จริญ กรรมการ

๒๙.๒๗ นายประโลม พรมช ู กรรมการ

๒๙.๒๘ นายไว ชูขวญั กรรมการ

๒๙.๒๙ นายไชยยงค ์ รุ่งเรือง กรรมการ

๒๙.๓๐ ร.อ.สนอง กล่ิงหอม กรรมการ

566

ผนวกประกอบคำสัง่ ศูนย์อำนวยการต่อสู้เพ่อื เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง การจดั ตั้งศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ สู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๒๙. ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการตอ่ ส้เู พอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดพษิ ณุโลก

๒๙.๓๑ นางสาวปารชิ าต ิ คชรักษา กรรมการ

๒๙.๓๒ นายแถม นุชบ้านป่า กรรมการ

๒๙.๓๓ นายเรญิ ตาส ี กรรมการ

๒๙.๓๔ นายวทิ ยา ต้ังมั่น กรรมการ






















































567

ผนวกประกอบคำสง่ั ศนู ย์อำนวยการต่อส้เู พอื่ เอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจัดต้งั ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการต่อสู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวดั



๓๐. ศูนยป์ ฏิบตั ิการตอ่ สูเ้ พ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

องคป์ ระกอบ

๓๐.๑ นายสุเทพ นชุ ทรวง กรรมการ

๓๐.๒ นายบุญยืน คงเพชรศักด ์ิ กรรมการ

๓๐.๓ นายพงษพ์ พิ ัฒน ์ มเี บญจมาศ กรรมการ

๓๐.๔ นางสาวอรุณี เวียงแสง กรรมการ

๓๐.๕ นายอารยะ ภูษาหัส กรรมการ

๓๐.๖ นายวลั ลภ สุวรรณอาภา กรรมการ

๓๐.๗ นายบุญสุข เตอื นชวลั ย์ กรรมการ

๓๐.๘ นายชูชัย ศรัทธาธรรม กรรมการ

๓๐.๙ นายทองเปลว ทวิชาสที อง กรรมการ

๓๐.๑๐ นายสะทา้ น ชีวะวชิ ัยพงศ ์ กรรมการ

๓๐.๑๑ นายยงยุทธ เนตรพงษ์ กรรมการ

๓๐.๑๒ นายนุ ชำนาญคีรไี พร กรรมการ

๓๐.๑๓ นายสมพร งามจริยธรรม กรรมการ

๓๐.๑๔ นายมโนธรรม วจิ ิตรการ กรรมการ

๓๐.๑๕ นายไชยา ประหยดั ทรัพย ์ กรรมการ

๓๐.๑๖ นายสังเวียน ดวงสภุ า กรรมการ

๓๐.๑๗ นายสนิท กจิ เมอื ง กรรมการ

๓๐.๑๘ นางอาภรณ์ แสงโชติ กรรมการ

๓๐.๑๙ นางเทพินท ์ุ พงศว์ ด ี กรรมการ






















568

ผนวกประกอบคำส่ังศูนย์อำนวยการตอ่ สูเ้ พื่อเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจดั ตัง้ ศนู ยป์ ฏิบัติการต่อสู้
เพอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวดั



๓๑. ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั สุโขทยั

องคป์ ระกอบ

๓๑.๑ นางสาวปริญญา บุญส่ง ท่ปี รึกษา

๓๑.๒ นายสชุ าติ อย่กู ล่ำ กรรมการ

๓๑.๓ นายพรมมินทร์ แกว้ ถงึ กรรมการ

๓๑.๔ นายทองคำ เขม็ ทอง กรรมการ

๓๑.๕ นายเสนห่ ์ เมืองมูล กรรมการ

๓๑.๖ นายสมศกั ดิ์ คำทองคง กรรมการ

๓๑.๗ นางสำเนยี ง รอดสวสั ดิ ์ กรรมการ

๓๑.๘ นายสมศักด ิ์ บัวป้อม กรรมการ

๓๑.๙ นายคำรณ เลื่อนลอย กรรมการ

๓๑.๑๐ นางวไิ ลภรณ ์ แจม่ จันทร์ กรรมการ

๓๑.๑๑ นายประสทิ ธิ์ ยงิ่ สกุล กรรมการ

๓๑.๑๒ นายบญุ ชอบ เอมอมิ่ กรรมการ

๓๑.๑๓ นายสทุ ิน ทิพวนั กรรมการ

๓๑.๑๔ นางสาวกีรณา หลา่ ยศร ี กรรมการ

๓๑.๑๕ ด.ต.เทย่ี ง คงนา กรรมการ

๓๑.๑๖ นางสาวทัศนยี ์ น้อยวงศ ์ กรรมการ

๓๑.๑๗ นางสาวปณชิ ญา คำบณุ มา กรรมการ


























569

ผนวกประกอบคำส่งั ศนู ยอ์ ำนวยการต่อส้เู พื่อเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง การจัดตง้ั ศนู ย์ปฏิบตั ิการตอ่ สู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๓๒. ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการตอ่ สู้เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวดั อตุ รดิตถ์

องคป์ ระกอบ

๓๒.๑ พระครูถาวรธรรมโกวิท ที่ปรึกษา

๓๒.๒ นายวริ ชั จำนงรัตนพันธ์ ท่ปี รึกษา

๓๒.๓ นายฉลาด แสนศรี กรรมการ

๓๒.๔ นายยทุ ธพงษ ์ ปาแดง กรรมการ

๓๒.๕ นางมณฑิรา มาบุญลือ กรรมการ

๓๒.๖ นายสทุ ัศน์ เจนประกอบกจิ กรรมการ

๓๒.๗ นางอ้อย สวุ รรณติ กรรมการ

๓๒.๘ นางมารศร ี สงิ ห์เสวก กรรมการ

๓๒.๙ นายอษั ฎางค ์ สีหาราช กรรมการ

๓๒.๑๐ นายอมรศกั ด ิ์ ท่าดี กรรมการ

๓๒.๑๑ นายพงษ์ศักดิ ์ ทองอยู ่ กรรมการ

๓๒.๑๒ นายเสนา เกตุรักษา กรรมการ

๓๒.๑๓ นายมานพ อนิ เทศ กรรมการ

๓๒.๑๔ พ.ต.สงดั ศริ มิ า กรรมการ

๓๒.๑๕ นางพศิ มร วสนุ ันท์ กรรมการ

๓๒.๑๖ นายลำยงค ์ ปัญญาทา กรรมการ

๓๒.๑๗ นายพสิ ิษฐ ์ พนั ธุ์ทอง กรรมการ

๓๒.๑๘ นายวฒุ ิชาญ ทา้ วเทพ กรรมการ
























570

ผนวกประกอบคำส่ังศูนย์อำนวยการต่อสเู้ พื่อเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจดั ต้ังศนู ย์ปฏิบตั กิ ารตอ่ สู้
เพือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวดั



๓๓. ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารตอ่ สูเ้ พอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั กาฬสินธุ์

องคป์ ระกอบ

๓๓.๑ นายกวี กิตติสถาพร ท่ีปรกึ ษา

๓๓.๒ นายเดชา ตนั ติยวรงค ์ ท่ีปรกึ ษา

๓๓.๓ นายประสทิ ธ ิ์ คชโคตร ที่ปรกึ ษา

๓๓.๔ นายพิสิทธิ์ เอื้อวงศ์กลู ที่ปรกึ ษา

๓๓.๕ นายธนิต แสงพันธ์ ุ ที่ปรกึ ษา

๓๓.๖ นายธนูสนิ ธ์ ไชยสิร ิ ที่ปรึกษา

๓๓.๗ นายณีนวฒั น์ เคนโยธา กรรมการ

๓๓.๘ นายสุพจน์ แกว้ แสนเมือง กรรมการ

๓๓.๙ นายอำพล เครอื วรรณ กรรมการ

๓๓.๑๐ นายแสง ภาวิชยั กรรมการ

๓๓.๑๑ นายจรินทร์ คะโยธา กรรมการ

๓๓.๑๒ นายสม นาสอา้ น กรรมการ

๓๓.๑๓ นายทว ี แจ่มสุวรรณ กรรมการ

๓๓.๑๔ พระมหาสุภาพ พุทธวิรโิ ย กรรมการ

๓๓.๑๕ นายจักรนิ รัชต์ อินทรแ์ ปลง กรรมการ

๓๓.๑๖ นายมงั กร จรทะผา กรรมการ

๓๓.๑๗ นายชชั ชยั กลับมะล ิ กรรมการ

๓๓.๑๘ นางนติ ยา ธรี ะทัศน์ศิรพิ จน์ กรรมการ
























571

ผนวกประกอบคำสง่ั ศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจัดตง้ั ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารตอ่ สู้
เพอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวัด



๓๔. ศูนย์ปฏิบตั ิการตอ่ สเู้ พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั ขอนแก่น

องคป์ ระกอบ

๓๔.๑ ดร.บัวพนั ธ ์ พรมพักพงิ ท่ีปรึกษา

๓๔.๒ นายสมพันธ ์ เตชะอธกิ ทีป่ รกึ ษา

๓๔.๓ นายสุพฒั น ์ กมุ พิทักษ์ กรรมการ

๓๔.๔ นายธรี ศักด์ ิ กุมพิทักษ ์ กรรมการ

๓๔.๕ นายสุพจน์ นามโคตร กรรมการ

๓๔.๖ นายสุภ ี ทองมีค่า กรรมการ

๓๔.๗ นายวฑิ ูรย ์ มงคลอนิ ทร ์ กรรมการ

๓๔.๘ นายไพโรจน ์ มูลธิยะ กรรมการ

๓๔.๙ นายอัคคน ิ รปู สงู กรรมการ

๓๔.๑๐ นายเสนอ ชนะสงคราม กรรมการ

๓๔.๑๑ นายแก้ว อวนส ี กรรมการ

๓๔.๑๒ นายบญุ เตม็ ชัยลา กรรมการ

๓๔.๑๓ นายอำนวย วรยศ กรรมการ

๓๔.๑๔ นายอภชิ าติ ศรสิ ุนทร กรรมการ

๓๔.๑๕ นายทิพยพนั ธ ์ แวะศรภี า กรรมการ

๓๔.๑๖ นายสมเจตน์ ไชยลาภ กรรมการ



























572

ผนวกประกอบคำสัง่ ศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สเู้ พือ่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๓๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เร่อื ง การจัดตัง้ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการตอ่ สู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวดั



๓๕. ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารต่อสู้เพอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั นครราชสมี า
องคป์ ระกอบ

๓๕.๑ พระครูใบ ฎีกาชฎิล กรรมการ

๓๕.๒ นายบรพิ ตั ร์ สนุ ทร กรรมการ

๓๕.๓ นายสมบรู ณ ์ สงิ ก่งิ กรรมการ

๓๕.๔ นายบุญมี บญุ จนั ทกึ กรรมการ

๓๕.๕ นางปรศิ นา กระสายแกว้ กรรมการ

๓๕.๖ นายสมพงษ ์ คงศริ ิ กรรมการ

๓๕.๗ นางจนิ ดา บษุ ปเกตุ กรรมการ

๓๕.๘ นายสมคิด ศริ ิวัฒนากลุ กรรมการ

๓๕.๙ นายประสิทธิ ์ พรหมนอก กรรมการ

๓๕.๑๐ นายประธาน ดงเรืองราช กรรมการ

๓๕.๑๑ นายอ่อนสา ไทยแท้ กรรมการ

๓๕.๑๒ นางจติ ตะวัน หวงั ศุภกิจโกศล กรรมการ

๓๕.๑๓ นายเท่ียง จติ กระโทก กรรมการ

๓๕.๑๔ นายจนั ที ประทุมภา กรรมการ
































573

ผนวกประกอบคำส่งั ศูนยอ์ ำนวยการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจดั ตงั้ ศนู ยป์ ฏิบตั ิการต่อสู้
เพ่อื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๓๖. ศูนย์ปฏิบัตกิ ารตอ่ สเู้ พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั นครพนม

องคป์ ระกอบ

๓๖.๑ นายรพวี ัฒน ์ ราษฎรน์ ยิ ม ท่ปี รึกษา

๓๖.๒ นายสมเกียรติ ศรษี ะเนตร ทปี่ รึกษา

๓๖.๓ นายดำรง โคตรพัฒน ์ ท่ปี รกึ ษา

๓๖.๔ นายวรวชิ ธน์ เสือทอง ท่ปี รกึ ษา

๓๖.๕ นายวรากร ปานเพชร ท่ปี รกึ ษา

๓๖.๖ นางสาวชาคณศิ ศ์ า พรหมสาขา ณ สกลนคร ทปี่ รึกษา

๓๖.๗ นายธนพฒั น ์ ตว้ิ วงค์ ท่ปี รึกษา

๓๖.๘ นายธนศกั ด ิ์ ดำด่าง กรรมการ

๓๖.๙ นายสรุ นิ ทร ์ คำหาญ กรรมการ

๓๖.๑๐ นายอภชิ าต ิ หงษาวงศ ์ กรรมการ

๓๖.๑๑ นายศัดดา ศรมี ณรี ัตน์ กรรมการ

๓๖.๑๒ นายเอก แสนสขุ กรรมการ

๓๖.๑๓ นางบานเย็น ณ หนองคาย กรรมการ

๓๖.๑๔ นายสวุ รรณ จนั ทรเ์ กษร กรรมการ
































574

ผนวกประกอบคำส่งั ศนู ย์อำนวยการต่อสเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรือ่ ง การจัดตง้ั ศูนยป์ ฏิบัตกิ ารตอ่ สู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๓๗. ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการต่อส้เู พื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จงั หวัดบุรีรัมย

องคป์ ระกอบ

๓๗.๑ นายคำเดอ่ื ง ภาษี กรรมการ

๓๗.๒ นายบญุ เพ็ง ภาคสูงเนิน กรรมการ

๓๗.๓ นายผาย สรอ้ ยสระกลาง กรรมการ

๓๗.๔ นายค้ำ วชิ าพูน กรรมการ

๓๗.๕ นายสมศรี ทองหลอ่ กรรมการ

๓๗.๖ นายบรรจง ภูม่ ณ ี กรรมการ

๓๗.๗ นายทองคำ แจ่มใส กรรมการ

๓๗.๘ นายประคอง ภาสุ กรรมการ

๓๗.๙ นายลอื ชาย โพธ์ิไข กรรมการ

๓๗.๑๐ นายประมวล เจริญยิ่ง กรรมการ

๓๗.๑๑ นายเกลี้ยง รกั กุศล กรรมการ

๓๗.๑๒ นายสบุ รรณ รุ้งประเสริฐ กรรมการ

๓๗.๑๓ นายเดช แผนกระโทก กรรมการ

๓๗.๑๔ นายสมเกยี รต ิ วงคเ์ ฉลิมมงั กรรมการ
































575

ผนวกประกอบคำสั่งศูนย์อำนวยการตอ่ ส้เู พ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจัดตั้งศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารตอ่ สู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวัด



๓๘. ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารตอ่ สเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวดั มกุ ดาหาร

องค์ประกอบ

๓๘.๑ นายสรุ พร ชัยชาญ กรรมการ

๓๘.๒ นายประกิต รูปเหล่ยี ม กรรมการ

๓๘.๓ นายอดุ มทรัพย ์ โฆษะษ ุ กรรมการ

๓๘.๔ นายเพง็ ยนื ยง กรรมการ

๓๘.๕ นายม่าย ชาลือ กรรมการ

๓๘.๖ นายประสิทธ ์ิ โนรี กรรมการ

๓๘.๗ นายนริ นั ดร์ อาจวชิ ัย กรรมการ

๓๘.๘ นายประสบ จันทรเ์ กษ กรรมการ

๓๘.๙ นายบรรจง ไชยเพชร กรรมการ

๓๘.๑๐ นายเพม่ิ ผิวเหลอื ง กรรมการ

๓๘.๑๑ นายศรายุทธ ต้งั ประเสรฐิ กรรมการ

๓๘.๑๒ นายคำสิงห์ ทองขอน กรรมการ

๓๘.๑๓ นายประกาศติ สวุ รรณไตรย์ กรรมการ

๓๘.๑๔ นายรตั น ์ แพงกลั ยา กรรมการ

๓๘.๑๕ นายสมหมาย โคตสวุ รณ กรรมการ

๓๘.๑๖ นายหวัง วงศ์กระโซ่ กรรมการ

๓๘.๑๗ นายวชิ ัย พรมนาค กรรมการ

๓๘.๑๘ นางกาญจนาพร เมืองฮาม กรรมการ

๓๘.๑๙ นายสนอง สายเหง้า กรรมการ

๓๘.๒๐ นางหวานฉำ่ เมืองโคตร กรรมการ



















576

ผนวกประกอบคำสงั่ ศูนยอ์ ำนวยการต่อสเู้ พือ่ เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรื่อง การจัดต้งั ศูนย์ปฏิบัตกิ ารต่อสู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั



๓๙. ศนู ย์ปฏิบัติการตอ่ สูเ้ พ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน จังหวัดยโสธร

องคป์ ระกอบ

๓๙.๑ นายประสทิ ธ์ิ บุษบา กรรมการ

๓๙.๒ นายวจิ ิตร บุญสูง กรรมการ

๓๙.๓ นายม่ัน สามส ี กรรมการ

๓๙.๔ นายสรุ ศกั ดิ์ ไชยภักษ์ กรรมการ

๓๙.๕ นายประยูร บญุ วรรณ กรรมการ

๓๙.๖ นายจรูญ นนทพรณ กรรมการ

๓๙.๗ นายนมิ ติ หาระพนั ธุ ์ กรรมการ

๓๙.๘ นายคำเลือ่ น กาลไกร กรรมการ

๓๙.๙ นายเหล่ยี ม ทองโกฐิ กรรมการ

๓๙.๑๐ นายสมฤทธ ์ิ กัลปดี กรรมการ








































577

ผนวกประกอบคำส่ังศูนย์อำนวยการตอ่ สเู้ พ่ือเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เรอื่ ง การจัดตั้งศนู ย์ปฏิบตั กิ ารต่อสู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จงั หวัด



๔๐. ศูนยป์ ฏิบัติการตอ่ สู้เพ่ือเอาชนะความยากจนภาคประชาชน

จังหวัดมหาสารคาม

องค์ประกอบ

๔๐.๑ นายบัณฑติ แสงสพุ รรณ กรรมการ

๔๐.๒ นายบุญเรือง ยางเครือ กรรมการ

๔๐.๓ นายบวน ธรุ ทณั ฑ์ กรรมการ

๔๐.๔ นายสุพจน์ พลสโุ พธิ ์ กรรมการ

๔๐.๕ นายประจกั ษ์ จันทรเขยี น กรรมการ

๔๐.๖ นายตอ่ น สนิท กรรมการ

๔๐.๗ นายแสงทอง เจนการ กรรมการ

๔๐.๘ นายสมนกึ ไชยสงค์ กรรมการ

๔๐.๙ นายปรีชา มาลาสิตะ กรรมการ

๔๐.๑๐ นายอดุ ม วังหอม กรรมการ

๔๐.๑๑ นายบญุ สงค์ บุญศร กรรมการ

๔๐.๑๒ นายพิชัย พมิ พพ์ รรณา กรรมการ

๔๐.๑๓ นายอทุ ยั มาโชติ กรรมการ

๔๐.๑๔ นายบญุ ทนั กมล กรรมการ

๔๐.๑๕ นายประสงค์ อทุ ยั ประดิษฐ์ กรรมการ

๔๐.๑๖ นายพลจักร ์ นวนพัว่ กรรมการ

๔๐.๑๗ นายเดชอนนั ต์ พิลงแดง กรรมการ

๔๐.๑๘ นายสุพจน ์ อัครพราหมณ์ กรรมการ

๔๐.๑๙ นายสุเมธ ปานจำลอง กรรมการ

๔๐.๒๐ นายบวร วเิ ศษด ี กรรมการ

















578

ผนวกประกอบคำสัง่ ศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ที่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เร่ือง การจัดตัง้ ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารตอ่ สู้
เพอื่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับจังหวดั



๔๑. ศนู ย์ปฏิบัติการตอ่ สเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชน

จังหวัดหนองบวั ลำภู

องค์ประกอบ

๔๑.๑ นายไพสิษฐ์ สภุ า กรรมการ

๔๑.๒ นายพทิ กั ษ ์ ชาระ กรรมการ

๔๑.๓ นายบุญมี จันทราเทพ กรรมการ

๔๑.๔ นายคำเพียร จันชมภู กรรมการ

๔๑.๕ นายทองดี อดุ มผล กรรมการ

๔๑.๖ นายสมบัติ โสภัณฑ์ กรรมการ

๔๑.๗ นายคำบ ุ สมิ าลยั กรรมการ

๔๑.๘ พ.ต.อมั พร ปานอุไร กรรมการ

๔๑.๙ นายถวัลย ์ ยอดคีร ี กรรมการ

๔๑.๑๐ นายนยิ ม ภสู ี กรรมการ

๔๑.๑๑ นายบัวรอง อัครา กรรมการ

๔๑.๑๒ นายสม พนั ธพ์ รม กรรมการ

๔๑.๑๓ นายพุทธา เดชกุล กรรมการ

๔๑.๑๔ นายคำปัน วงษส์ ะอาด กรรมการ

๔๑.๑๕ นายสงกา ศรีกระภา กรรมการ

๔๑.๑๖ นายคำพอง โคตรทา กรรมการ

๔๑.๑๗ นายคำเสา โมะโตะ กรรมการ

๔๑.๑๘ นายสมชาย สุวรรณโก กรรมการ

๔๑.๑๙ นายศภุ ชัย เอยี้ งมว่ ง กรรมการ

๔๑.๒๐ นายสมบูรณ์ แพง กรรมการ


















579

ผนวกประกอบคำสง่ั ศนู ยอ์ ำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแหง่ ชาติ

ท่ี ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ เรอ่ื ง การจดั ตง้ั ศูนยป์ ฏิบัติการตอ่ สู้
เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวดั



๔๒. ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารต่อส้เู พือ่ เอาชนะความยากจนภาคประชาชน

จังหวดั อุบลราชธานี

องคป์ ระกอบ

๔๒.๑ นายประจนั มณนี ิล ท่ปี รกึ ษา

๔๒.๒ นายไพรตั น์ แกว้ สาร ทปี่ รกึ ษา

๔๒.๓ ว่าที่รอ้ ยตรนี ฤดม สารกิ บตุ ร ทปี่ รกึ ษา

๔๒.๔ นายนรนิ ทร บญุ พราหมณ์ ท่ปี รึกษา

๔๒.๕ นายก่อโชค คูนคิ ม ทีป่ รกึ ษา

๔๒.๖ นายคำผล กองแกว้ ที่ปรกึ ษา

๔๒.๗ นายทองสวน โสดาภกั ด์ ิ กรรมการ

๔๒.๘ นายประวตั ิ ไชยกาล กรรมการ

๔๒.๙ นายขุนไทย แจ่มใส กรรมการ

๔๒.๑๐ นายสำเรงิ รูปสวย กรรมการ

๔๒.๑๑ นายสมนึก พ่วงพนั ธ์ กรรมการ

๔๒.๑๒ นายประศกั ด ์ิ ศริ วิ าลย ์ กรรมการ

๔๒.๑๓ นายไผท ภธู า กรรมการ

๔๒.๑๔ นางทิพยว์ รรณ บุพพาศิริกุล กรรมการ

๔๒.๑๕ นายประยุทธ ช่มุ นาเสียว กรรมการ

๔๒.๑๖ นายสนุ ทร สาระวรรณ กรรมการ

๔๒.๑๗ นายทรงวิทย์ รตั จินดา กรรมการ

๔๒.๑๘ นายสนุ ันท ์ ชามาส กรรมการ






















580

การต่อสู้เพ่อื เอาชนะความยากจนโดยภาคประชาชน

----------------------------------

๑. คว•าม จกำาเรปพน็ ัฒน
าที่ผ่านมาส่วนใหญ่ดำเนินการโดยหน่วยงานรัฐ ประชาชน ชุมชน
และ
คนจนเป็นเพียงผู้รับประโยชน ์ ไม่มีโอกาสได้คิด ได้ทำความเข้าใจ และร่วมตัดสินใจจัดการ
(คนจนและชุมชนกลายเป็น passive objects ของหน่วยงานต่าง ๆ) ซึ่งนอกจากจะทำให้
การแก้ปัญหาท่ีต่อเนื่องย่ังยืนโดยคนในพ้ืนที่เอง เป็นไปไม่ได้แล้วยังทำให้เกิดวัฒนธรรมพึ่งพิง
และหวัง•เ พ ยีกงาปรลระงโทยะชเบนีย์สนว่ นคตนนจเนฉเพป็นาะกหานรร้าิเใรน่ิมหหมาูช่ เปมุ ช้าหนมแลายะคคนนจจนนเรปะา้ดหับมปารยะ
เทศ ที่สำคัญอย่าง
ย่ิงแต่จะใช้การลงทะเบียนนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นขบวนการทั้งระบบจากทุกภาคส่วนใน
สังคมโดยเฉพาะคนจนและชุมชนที่อยู่ร่วมกันได้อย่างไร รัฐบาลจะกระตุ้นและสนับสนุนให้เกิด
พลังและความสามารถที่แท้จริงของสังคม ที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างกว้างขวางในทุกพ้ืนที่
อย่างไร มิใช่ไปจำกัดความรับผิดชอบและการแก้ปัญหาอยู่เฉพาะโดยหน่วยงานรัฐเท่าน้ันและ
การลงทะเบียนคนจนควรเป็นการเร่ิมต้นของกระบวนการแก้ปัญหาความยากจนขนาดใหญ่ท่ี
ไมห่ ยดุ •ย ั้ง ปไัญม่คหวารคจวำากมัดยกาากรจแนกป้ แญั ละหโาคเรฉงพสาระ้าคงทน่ีททำ่ีไปใหล้เงกทิดะคเบวาียมนยคานกจจนนเหทย่าน่ังลั้นึก
อยู่ในสังคมอย่าง
น่าเป็นห่วงมากกว่าปัญหาความยากจนที่พบเห็นเฉพาะหน้า หรือจากคนท่ีไปลงทะเบียน
เท่าน้ันหากจะต่อสู้เอาชนะความยากจนอย่างจริงจังจะต้องพยายามให้การแก้ปัญหาความ
ยากจนเฉพาะหนา้ ที่เกดิ ขนึ้ สมั พันธ์กับการแก้ปญั หาเชงิ โครงสร้างไปพร้อม ๆ กนั ด้วย มิฉะน้ัน
การพัฒนาโดยรวมของประเทศจะเดินไปข้างหน้าไม่ได ้ เพราะพ้ืนที่และคนที่เป็นทรัพยากร
หลักในการสรา้ งการพัฒนา ถกู ทำให้มีความออ่ นแออย่างเป็นระบบ

๒. โอก•า ส ทำศอกั ยย่าภงไารพจแะลใหะ้ชแุมนชวนทแาลงะใหท้มอง
่ ถ่ินต่างมามีส่วนร่วมและร่วมมือช่วยกันแก้ไขปัญหา

ความยากจนท่ัวประเทศ ภาคีทุกฝ่ายร่วมรู้สึกเป็นเจ้าของ และเห็นเรื่องการแก้ปัญหาความ
ยากจนเป็นเรื่องของชุมชนท้องถ่ินตนท่ีจะต้องจัดการร่วมกันอย่างจริงจัง ซึ่งในปัจจุบันมี
องค์กรชุมชนเครือข่ายชุมชน และขบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นที่มีการเช่ือมโยง มีการ
ทำงานพัฒนาด้านต่าง ๆ อยู่แล้วเป็นอันมาก ถ้าสามารถใช้พลังงานพัฒนาแนวราบของ
ประชาชนในพ้ืนท่ีมาร่วมดำเนินการจัดการแก้ปัญหาความยากจนอย่างเป็นขบวนการ และต่อ
เนอ่ื งสัมพันธก์ บั การพฒั นาอ่ืน ๆ ทีม่ อี ยู่ รวมทง้ั จะช่วยทำใหข้ บวนชมุ ชนต่าง ๆ ร่วมมอื กนั ไปสู่
การแก้ปัญหาและการจดั การเชิงโครงสร้างในเรอ่ื งต่าง ๆ ไดม้ ากข้นึ ตอ่ ไป ขบวนชุมชนเหล่าน้ี
มขี นาด•ให ญก่แาลระแมกีค้ปวัญาหมพาครว้อามมในยากกาจรรน่วทม่ียทั่งำยงืนาแนลนะเ้ี หปลน็ าอกยหา่ งลมาายก
ควรเป็นความสามารถของการ
จัดการร่วมกันโดยชุมชน โดยคนจนและกระบวนการของท้องถ่ิน โดยรัฐบาลให้ความ
สนับสนุนให้เครื่องมือ ให้อำนาจและโอกาสร่วมกันจัดการแก้ไขและพัฒนา อันท่ีจริงชุมชน

581

และท้องถ่ินต่าง ๆ ก็มีวิถีและวัฒนธรรมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาของคนจนอยู่แล้ว เน่ืองจาก
ตอ้ งอยู่รว่ มกัน สิง่ ท่ีจะตอ้ งดำเนนิ การคอื เพิ่มพลัง ทำใหเ้ กิดกำลังท่มี ากข้ึน และมคี วามมนั่ ใจ
ในการจัดการเองได ้ ตามศักยภาพ ตามวัฒนธรรมและการจัดการทีม่ อี ย่แู ลว้ ใหเ้ ข้มแขง็ เปน็

โครงสร•า้ ง พคน้ื วฐราในชก้ปารระจโัดยกชานร์โพคัฒรงนสารต้าอ่ งเขนออื่ งง จ าศกตชจุม.ช นทเี่อเปง็น
โครงการรัฐท่ีมีความเป็นอิสระจาก

โครงสร้างตามระบบ กระทรวง ทบวง กรม ที่มีอยู่ เพื่อสร้างพื้นที่การพัฒนาโดยรัฐและ
ประชาชนแนวใหม่สามารถแก้ปัญหาความยากจนอย่างมีส่วนร่วม และนอกรูปแบบ แต่
สามารถร่วมมือกันได้ ระหว่างกลไกรัฐและประชาชนทุกภาคส่วนขนาดใหญ่ หลากหลายรูป
แบบได้ในทุกพื้นที่ ศตจ.ควรเป็นพื้นท่ีเปิด เป็นเสรีภาพจากรัฐขบวนการใหม่ของภาค
ประชาชนขนาดใหญ่ในการร่วมแก้ปัญหาและจัดแนวทางการพัฒนาของภาคประชาชนร่วมกับ

ร ฐั บาล
• ในกรณีพ้ืนท ี่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ศตจ.ภาคประชาชน เป็นรูปแบบและ

แนวทางที่มีความเหมาะสมเชิงยุทธศาสตร์การพัฒนาในช่วงน้ีท่ีสุดในการสนับสนุนการพัฒนาท่ี
ให้คนในพื้นท่ีได้มีโอกาสเข้าถึงการพัฒนาที่ตนเป็นหลัก สามารถคิดเอง ทำเอง และมีส่วน
ร่วมสำคัญในการกำหนดการพัฒนา ตามลักษณะ ปัญหา และความต้องการท่ีมีอยู ่ เป็น
อิสรภาพท่ีเกิดจากการพัฒนาของชุมชนโดยชุมชน เพ่ือสร้างสันติภาพจากกระบวนการพัฒนา

และ ก•าร แ กแนป้ วญั ทหาางคจวัดากมายราทกี่สจำนคโัญดทยคี่จะนสใานมพาืน้ รทถีเ่นอำงไ
ปสู่การสร้างขบวนการพัฒนาขนาดใหญ่ที่มี

ความหลากหลายได ้ จะต้องใช้ความสามารถในการบริหารการเงินพื่อการพัฒนาที่มีความยืด
หยุ่นเพ่ือสร้างโอกาสของการพัฒนาท่ีกว้างขวางและยืดหยุ่นโดยให้ชุมชนและประชาชนใน
พน้ื ท่ีเป็นผู้ทำโครงการร่วมกนั เองใหม้ ากท่สี ุด

๓. แนวทางสำคญั ของ ศตจ.ปชช.แนวใหม่

๑. ขบวนองค์กรชมุ ชน/คนจน เปน็ แกนหลักในการขับเคลอื่ นโดยหนว่ ยงานรฐั และภาคี
อ่ืน ๆ มีบทบาทสนับสนุน สร้างการเช่ือมโยงการแก้ปัญหาท้ังระดับพื้นที่ ภูมินิเวศน ์ ระดับ
จงั หวัด ระดับชาติ ท้งั ในพ้นื ท่ี และการเคลือ่ นเชงิ ประเดน็

๒. การใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวตั้ง โดยการคัดกรองกลุ่มคนจนโดยชาวบ้าน สร้างเกณฑ์ของ
ความจนจากสภาพของตนในพื้นที ่ สร้างเป้าหมายมาตรฐานของการเป็นอยู่ที่ดี และระบบที่
พอเพียง และร่วมกันประเมินศักยภาพในท้องถิ่นเพ่ือร่วมกันวางแผนที่จะทำให้คนไม่จนและมี
ความสามารถพฒั นาใหด้ ขี ึ้น

๓. ใช้ประเด็นการพัฒนาด้านต่าง ๆ ได้แก่ การทำงานแผนชุมชน การแก้ไขปัญหา
ท่ีดินที่ทำกินการจัดสวัสดิการโดยชุมชนให้กับสมาชิกทุกคนทุกกลุ่มในท้องถ่ิน การจัดการ
ทรัพยากร การพัฒนาเกษตร ย่ังยืน องค์กรการเงินชุมชนที่เข้มแข็งระดับฐานรากเป็นเครื่อง
มือในการแก้ไขปัญหา และบูรณาการการทำงาน ประเด็นต่าง ๆ ให้สนับสนุนและสัมพันธ์กัน
ประเด็นการแก้ไขปัญหาที่ดินท่ีทำกินโดยชุมชน และสิทธิการครอบครองโดยชุมชน ถือเป็น
ยุทธศาสตร์และแนวทางการแก้ปัญหาความยากจนที่มีความสำคัญอยา่ งยิง่

582

๔. การแก้ปัญหาที่สามารถเช่ือมโยงไปสู่ต้นเหตุ การแก้ปัญหาความยากจนเชิง
โครงสร้างไม่เฉพาะท่ีผวิ เผินตามกิจกรรม

๕. การดำเนินการแก้ปัญหารูปธรรมระดับพื้นท่ี ควบคู่ไปกับการจัดปรับระบบ แก้ไข
กฎหมายโครงสร้างท่เี ปน็ อุปสรรค

๖. การใช้กรณีตัวอย่างรูปธรรมการแก้ปัญหาโดยชุมชนตามประเด็นต่าง ๆ เป็นต้น
แบบในการขยายการเรียนรู้ ขยายความสามารถสู่พ้ืนท่ีใกล้เคียง หรือพ้ืนที่อ่ืน ๆ ให้
ครอบคลมุ ให้มากทีส่ ุด



๔. โครงสร้างการทำงานของ ศตจ.ปชช.แนวใหม่

ศตจ.ปชช. แนวทางใหม่น ี้ จะประกอบดว้ ยโครงสรา้ งการทำงานทีส่ ำคัญ ๓ ระดบั มี
ภาพและการจัดการโดยขบวนชุมชนเองทุกระดับอย่างชัดเจน เป็นกลไกและขบวนชุมชนท่ีมี
ความเปน็ อิสระต่อเชอื่ มระหวา่ งกันเอง สนับสนนุ และประสานงานการทำงานของ ศตจ. ระดับ
จังหวัดหรืออื่น ๆ โดยอาจมีโครงสร้างหรือกลไกการเชื่อมโยงหรือประสานการทำงานในแต่ละ
ระดับหรือระหว่างระดับเพิ่มเติมตามความเหมาะสม โดย โครงสร้างแบ่งระดับการทำงานได ้
ดังน้ี

๔.๑ โครงสร้าง ศตจ.ปชช.ระดับชาต

ศตจ.ปชช ระดบั ชาติ จะเปน็ ผเู้ ชอื่ มโยงภาคประชาชนให้เป็นขบวนการแกจ้ นใน

ระดับชาตริ ะดบั พื้นที่ และเครือข่ายประเดน็ ต่าง ๆ มสี มาชิกมาจากทกุ ประเด็นสำคัญในการขับ
เคลื่อน และจากทกุ พ้ืนท่ภี าค จะมตี ัวแทนเขา้ ไปร่วมกบั กลไกการแก้ปญั หาของ ศตจ.อ่นื ๆ
มีพ้ืนท่ีการทำงานท ี่ ศตจ. มีการพบปะ วางแผนและเช่ือมโยงการทำงานทั่วประเทศสม่ำเสมอ
แนวทางสำคญั ใหมข่ อง ศตจ.ปชช. ใหมน่ ้ี คือจะตอ้ งเป็นโครงสรา้ งทเ่ี ป็นโครงสร้างตัวแทนของ
ชุมชนท่ีเชื่อมโยงกันทำงานชัดเจน เป็นแกนกลาง ของการทำงานโดยมีหน่วยงานเป็นผู้
สนับสนนุ ประกอบดว้ ยแกนนำชุมชนจากประเดน็ พฒั นาตา่ ง ๆ ทมี่ อี าวุโสและประสบการณ์สูง
มีความคิดเชิงยุทธศาสตร์ มีความเช่ียวชาญ รู้รอบ รู้สึก สามารถมองภาพรวมของ
ขบวนการชุมชน และงานต่าง ๆ มีความสามารถในการเช่ือมโยงขบวนการชุมชนและทำงาน
ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้ มีวุฒิภาวะการทำงาน มีจำนวนคณะทำงานกลางประมาณ
๒๕ คน จากท่ัวประเทศ (รายชื่อแนบท้าย) มีการเลือกประธาน และมีท่ีปรึกษาจาก
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๗ คน ไดแ้ ก่ นายไพบลู ย์ วัฒนศิริธรรม พลเอกสุรินทร์ พกิ ุลทอง นายกิตติศกั ด์ิ
สินธุวณิช จากสศช. นายกฤษฏา อุทยานิน สศค. นายกฤษดา สมประสงค์ กรมการ
ปกครองส่วนท้องถิน่ นายเอน็ นู ซือ่ สวุ รรณ ธอส., กองทุนหมู่บา้ น นายนริ ันดร์ จงวฒุ เิ วศน ์
กรมการพฒั นาชมุ ชน

โดยมี พอช. ทำหน้าท่ีเป็นหน่วยเลขานุการให้การสนับสนุนการทำงานของขบวน
ชมุ ชน ดงั กลา่ ว เนอ่ื งจากเปน็ องค์กรท่คี ลอ่ งตัว เช่อื มโยงขบวนชุมชนขนาดใหญอ่ ยู่แลว้ และ
เช่อื เรื่องการพฒั นาท่ชี ุมชน และประชาชนเปน็ หลกั


583

๔.๒ โครงสร้าง ศตจ.ปชช. ระดบั จังหวัด

เป็นโครงสร้างท่ีจะเช่ือมโยงเครือข่ายชุมชนท่ีจังหวัดเดียวกันให้สามารถทำงาน
ภาพรวมการปัญหาของคนจนและขบวนชุมชนระดับจังหวัดร่วมกันได้อย่างต่อเนื่องและ
สม่ำเสมอ เครือข่าย ศตจ.ปชช. ระดับจังหวัดนี ้ จะเป็นเครือข่ายชุมชนเองที่ประสานการ
ทำงานระดับนโยบายและปฏิบัติในระดับจังหวัดประสานการทำงานกับผู้ว่า ซ ี อ ี โอ ศตจ.
ระดับจังหวัดอื่น ๆ เป็นกลไกเชื่อมประสานท่ีมีความสำคัญท่ีจะทำในเกิดการบูรณาการการ
ทำงานเชงิ ประเดน็ กบั พนื้ ทใ่ี ห้สอดคลอ้ งกนั

ระบบ ศตจ.ปชช. ระดับจังหวัด จะเน้นการทำงานแบบแนวราบ เป็นการเช่ือมโยง
เครือข่ายต่าง ๆ มาทำงานร่วมกันและใช้เวทีการทำงานที่สม่ำเสมอเป็นเวทีให้ข้อมูล วางแผน
วิเคราะห์และจัดการร่วมกันโดยภาคประชาชนในจังหวัด อาจมีผู้ประสานงานท่ีเลือกขึ้นมา
จำนวนหนึ่ง และท่ีปรึกษาตามความจำเป็น เหมาะสม เสนอแต่งต้ังโดย ศตจ.ปชช. ระดับ
ชาต

๔.๓ โครงสร้าง ศตจ.ปชช. ในระดบั พ้นื ที่อ่ืน ๆ

โครงสรา้ ง ศตจ.ปชช. ข้างต้นจะช่วยเอื้ออำนวยให้เกิดผลการทำงานใหม่ ๆ ที่จะ
นำไปสู่การแก้ปัญหาของคนจน ท้ังคนจนและความจนท่ีมีอยู่ในระดับพ้ืนท่ีอย่างเป็นรูปธรรม
ดังน้ัน ในระดบั พื้นท่ที เ่ี ล็กกว่าระดับจงั หวัด เชน่ กล่มุ จังหวัด อำเภอ ภูมนิ ิเวศน์ ตำบล
ชมุ ชน ฯลฯ อาจพจิ ารณา โครงสร้างเชื่อมโยงการทำงานตามความเป็นจรงิ และตามความ
เหมาะสม เพื่อให้เกิดผลทางปฏิบัติในพื้นท่ีให้ดีที่สุด การจัดโครงสร้างต้องพิจารณาจาก
โครงสรา้ งการทำงานทม่ี อี ยู่แลว้ ใหส้ ามารถทำงานเพ่อื เพ่ิมประสิทธภิ าพให้เพมิ่ มากขึ้น

พ้ืนทร่ี ะดับชุมชน ตำบล หรือภมู นิ เิ วศน์ ถอื เปน็ พ้ืนทป่ี ฏบิ ัติการสำคญั ที่หวงั ผล
การแก้ปัญหาท่ีจะนำไปสู่การจัดการแก้ปัญหาความยากจน และเป็นโครงสร้างในการป้องกัน
ฟื้นฟ ู แกไ้ ข พฒั นาและการพัฒนาระบบสวสั ดกิ ารพ้นื ฐาน รวมทง้ั การจัดการพฒั นาทีเ่ ขม้ แข็ง
ของชุมชนเอง



๕. ขน้ั ตอนและวธิ กี ารทำงาน

๑. ควรมกี ารตั้ง ศตจ.ปชช. ระดับชาต ิ เพ่ือให้เกดิ กลไกกลางทีจ่ ะเชื่อมโยงงาน โยง
คน โยงเครือขา่ ยหลัก โยงพื้นที่ทั้งหมด และประเมนิ ศกั ยภาพความพรอ้ มทม่ี อี ยู่เพ่ือสามารถ
เรม่ิ ดำเนินการ ตอ่ ยอดจากกระบวนการทม่ี คี วามพร้อมได

๒. พิจารณากระบวนการ ศตจ.ปชช. ระดับจังหวัด เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายชุมชน
และประชาสังคมมาร่วมกนั วางแผนและจดั การการทำงานระดบั พื้นท ี่ ซึง่ ในปัจจบุ นั อาจมอี ยไู่ ม่
น้อยกว่า ๔๐ จังหวัดที่มีการประสานงานและโครงสร้างการเช่ือมโยงรวมท้ังการประสานการ
ทำงานร่วมกันระดับจงั หวัด ที่สามารถ ดำเนนิ การได้ทนั ท

๓. การรวบรวมข้อมูล ขบวนการองค์กรท่ีดำเนินการแล้ว ประสบผลสำเร็จ พื้นที่
เรียนรู้ต่าง ๆ การพูดคุยเพื่อให้ภาคประชาชนทุกหมู่เหล่า ปราชญ์ชาวบ้าน สามารถเข้าถึง
และมีสว่ นรว่ ม

584

๔. ในกระบวนการระดับพื้นที่ตำบลหรือภูมินิเวศน์ จะต้องให้มีการพิจารณาเร่ือง
ปัญหาความยากจน คนจนอยู่ท่ีไหน แต่ละพ้ืนท่ีให้ความหมายและวิธีกำหนดคนจนต่างกัน
อย่างไร ความจนในพ้ืนที่ คืออย่างไร และถ้าจะแก้ปัญหาคนจนที่มีอย ู่ หรือความจนที่มีอย่ ู
ควรมีการดำเนินการอย่างไร ข้ึนมาเป็นกระบวนการและเป็นแผน เครือข่ายที่มีงานหลักเดิม
เช่นเครือข่ายชุมชนด้านทรัพยากร หรือเครือข่ายแผนชุมชนก็ต้องพิจารณานำเรื่องการแก้
ปัญหาความจนไปขยายเป็นการทำงานของเครือข่ายท่ีจะต้องทำงานเช่ือมกันท้องถิ่นและหน่วย
งานอน่ื ๆ ในจงั หวัด

๕. จะต้องมีการต้ังกองทุนกลางที่จะขบวนชุมชน ศตจ.ปชช. จะร่วมกันบริหารตาม
กระบวนการ ดังกล่าว ซ่ึงจะมีกระบวนการพิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนตามความ
จำเปน็ และตามแผนงานทกี่ ลไกหลายฝา่ ยและชมุ ชนเห็นพอ้ งกัน

๖. มีการจัดตั้ง ศตจ.ปชช. ใน ๓ จังหวดั ชายแดนภาคใต ้ เป็นกลไกสำคัญทจ่ี ะเชอื่ ม
ภาคมวลชนสู่ขบวนการปฏิบัติการพัฒนาของประชาชนขนาดใหญ่เพ่ือพัฒนาฟื้นฟ ู และสร้าง
สันติสุขในพ้นื ท่ี โดยใช้ขบวนการพฒั นาขนาดใหญเ่ พ่อื ให้ชุมชนมพี ืน้ ทใ่ี นการจัดการตนเองเพ่อื
นำไปสู่การปรับระบบการจัดการพฒั นาเร่อื งตา่ ง ๆ อย่างมีสว่ นร่วมจากคนในท้องถ่นิ เอง



๖. เป้าหมายและยุทธศาสตร์สำคัญ

ประเด็นที่เป็นเป้าหมายและยทุ ธศาสตรใ์ นการทำงานของ ศตจ.ปชช. ทส่ี ำคัญ คือ

- การแก้ปัญหาเร่ืองท่ีดินท่ีทำกิน โดยชุมชนท้องถ่ินเป็นหลัก สามารถเช่ือมทั้ง
demand และ supply ที่มีอยู่ในพ้ืนท่ีได้เอง สำรวจท้ังคนจนและท่ีดินที่มีอยู่และดำเนินการ
ให้ที่ดินวา่ งท่มี อี ยูไ่ ม่ว่าจะเป็นของรัฐหรอื เอกชน มาใชป้ ระโยชนโ์ ดยคนจนและชุมชน การแก้
ปัญหาท่ีดินท่ีควรให้ที่ดินชุมชนเป็นโฉนดชุมชนและมีการพัฒนาระบบของชุมชนอ่ืน ๆ ไป
พรอ้ ม ๆ กนั

- การเช่อื มระบบการเงินของชมุ ชน พฒั นาระบบองคก์ รการเงนิ ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ เพ่อื
เป็นกลไกกลางของการพัฒนาต่าง ๆ ของชุมชนและโดยชุมชนเอง ให้องค์กรการเงินเป็น
กลไกกลางของชุมชนในการแก้หน้ีสินของสมาชิกทุกคน สร้างระบบการออม กองทุน
สวัสดิการและการเงนิ ครอบครัวท่ีสมดลุ และ มวี นิ ยั ร่วมกัน

- การใช้การสำรวจและปรากฏการณ์ความจนท่ีมีอยู่ในพ้ืนท่ีนำไปสู่การวิเคราะห์ถึง
เหต ุ และ หาวธิ แี กป้ ญั หา สรา้ งระบบข้อมลู สร้างระบบขอ้ มูล ความรู้ การจัดทำแผนชุมชน
แผนการปฏิบัติการพัฒนาต่าง ๆ อย่างต่อเน่ืองเพื่อฟื้นฟูระบบท้องถิ่นอย่างมีแผนและเป็น
ขบวนการ

- การสร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานของชุมชนเอง ท่ีสามารถดูแลคนทั้งหมดที่มีอยู่ใน
ชุมชนท้ังเด็ก ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอาย ุ รวมท้ังสวัสดิการเชิงพัฒนาและสร้างโอกาสทางสังคม
สรา้ งความรู ้ สร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันอยา่ งเออ้ื อาทร

ประเด็นการจัดการทรัพยากร ทั้งด้านการฟ้ืนฟูระบบทรัพยากรที่มีอยู่ ท้ังเพ่ือการยังชีพ
และเปน็ ระบบสวสั ดิการพน้ื ฐานของชมุ ชนและสงั คม สรา้ งระบบเกษตรย่ังยนื


585

- พิจารณาแนวทางรูปแบบสร้างความม่ันคงของอาชีพและการทำมาหากิน เพ่ือให้
อาชีพเกษตรกรรมสามรถเกิดความม่ันคงและมีศักดิ์ศร ี การสร้างอาชีพในชุมชนท้องถ่ินที่มี
ความหลากหลายเพื่อท่ีจะรองรับคนในท้องถิ่นเอง ทำให้คนท้องถ่ินไม่ต้องท้ิงถ่ินไปทำงานที่
อ่นื

- พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการในท้องถ่ินอย่างมีส่วนร่วมและยึด
ประชาชนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา และการสร้างวัฒนธรรมของการบริหารจัดการแบบร่วม
มือทุกฝา่ ย


--------------------------------



586

ดว่ นมาก
(สำเนา)


ท ่ี ศตจ.มท./ว ๔๔ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอษั ฎางค ์ กทม. ๑๐๒๐๐

๔ เมษายน ๒๕๔๙

เร่อื ง การจดั ตงั้ ศนู ยป์ ฏบิ ัติการตอ่ สเู้ พอ่ื เอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดบั จังหวัด

เรียน ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด (ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือ

เอาชนะความยากจนจังหวดั ) ทกุ จงั หวัด

อา้ งถงึ หนง้ สอื ศูนยอ์ ำนวยการตอ่ ส้เู พอ่ื เอาชนะความยากจนกระทรวงมหาดไทย ดว่ นมาก

ที ่ ศตจ.มท./ว ๓๓ ลงวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๙

สง่ิ ทส่ี ่งมาดว้ ย ๑. สำเนาคำสั่งศนู ยอ์ ำนวยการตอ่ สูเ้ พอื่ เอาชนะความยากจนแห่งชาต ิ

ท ี่ ๙/๒๕๔๙ เรื่อง การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะความ

ยากจนภาคประชาชนระดับจงั หวดั

๒. รายชอื่ ศตจ.ปชช. ของสถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน ๔๒ จงั หวดั

๓. แนวทางการตอ่ ส้เู พอ่ื เอาชนะความยากจนโดยภาคประชาชน



ตามท่ีศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนกระทรวงมหาดไทย
(ศตจ.มท) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้สรุปภาพรวมการดำเนิน
งานโครงการนำร่องบูรณาการจังหวัด เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน ให้ศูนย์อำนวยการปฏิบัติ
การตอ่ สู้เพือ่ เอาชนะความยากจนจังหวดั (ศตจ.จ.) ศึกษาและใช้เปน็ แนวทางในการขยายผล
โครงการนำร่องบูรณาการ ฯ ในพื้นท่ีจังหวัด การเตรียมงบประมาณ สนับสนุน และการ
เตรียมจดั หาสถานทีบ่ ริเวณศาลากลางจงั หวัดเพอ่ื ใช้เป็นสถานที่ตงั้ ศตจ.ปชช. นน้ั

ในการนี ้ เพ่ือให้ภาคประชาชนและเครือข่ายชุมชนได้มีบทบาทหลักและมีส่วนร่วม
สำคัญในการพัฒนาและดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจนในจังหวัด ศูนย์อำนวยการต่อสู้
เพ่ือเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.) จึงมีคำสั่ง ท ี่ ๙/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๘
กุมภาพันธ ์ ๒๕๔๙ จัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนภาคประชาชนระดับ
จังหวัดรวม ๔๒ จังหวัด ซง่ึ เปน็ จังหวัดทภ่ี าคประชาชนมีความพรอ้ มแล้วและจะขยายความ
พรอ้ มไปยงั จังหวดั ท่ีเหลอื โดยมีอำนาจหนา้ ทีต่ ามทก่ี ำหนดไว

ดังน้ัน เพื่อให้การขยายผลโครงการนำร่องบูรณาการฯ เป็นการสร้างความเข้มแข็ง
ในการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาคประชาชนและหน่วยงานภาครัฐรวมท้ังเพื่อให้ภาค
ประชาชนและชุมชนได้มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน โดยดำเนินการไป
พร้อมกับการดำเนินงานคาราวานแก้จนและกิจกรรมแก้จนแบบเข้าถึงทุกครัวเรือน จึงให ้
ศตจ.จ. ดำเนินการ ดงั น้


587

๑. จัดตงั้ คณะอนุกรรมการประสานการปฏบิ ตั ิกบั ศตจ.ปชช. จงั หวดั ใน ศตจ.ทุก
จังหวัดประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการจังหวัดฝ่ายสังคมหรือฝ่ายเศษฐกิจ เป็นประธาน
หวั หน้าสว่ นราชการจงั หวัดทเี่ กย่ี วข้อง อาท ิ ปลัดจงั หวดั หวั หนา้ สำนักงานจังหวัด ท้องถ่ิน
จังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
จังหวัด ผู้อำนวยการสำนักงานธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัด
(ธ.ก.ส.) รวมท้ังบุคคลที่เห็นสมควรร่วมกับผู้แทน ศตจ.ปชช. ของสถาบันพัฒนาองค์กร
ชุมชนตามรายช่ือส่ิงที่ส่งมาด้วย ๒. เป็นคณะอนุกรรมการ โดยมีพัฒนาการจังหวัดเป็น
กรรมการและเลขานกุ าร ในฐานะทมี่ ีบทบาทการทำงานร่วมกับชมุ ชนและภาคประชาชนตลอด
จนเครือข่ายตา่ งๆ มาโดยลำดับ

๒. ให้คณะอนุกรรมการฯ ที่จัดต้ังข้ึน เป็นคณะทำงานที่ประสานการดำเนินงานเชิง
บูรณาการร่วมกันกับ ศตจ.จ. หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในจังหวัด เพ่ือร่วมกันแก้ไข
ปญั หาความยากจนเชิงบรู ณาการและเกิดผลการพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง โดยเปน็ ไปตามแนวทาง
การตอ่ สเู้ พ่อื เอาชนะความยากจนโดยภาคประชาชน ตามรายละเอียดสง่ิ ทส่ี ่งมาดว้ ย ๓ และ
ตามตัวแบบการบริหารเชิงบูรณาการในพ้ืนที ่ ๑๒ จังหวัดนำร่องซ่ึงแจ้งให้ทราบแล้วตาม
หนงั สอื ที่อา้ งถึง

๓. ให ้ ศตจ.จ. และสำนักงานจงั หวัด จดั หาสถานทีบ่ นศาลากลางจังหวดั หรืออาคารที่
เห็นสมควรเปน็ ศูนยป์ ระสานการดำเนนิ งานและสำนกั งานของ ศตจ.ปชช. จังหวดั และ/หรอื
เชื่อมโยงกับการดำเนินงานของเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านท่ีสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด
สนับสนุนอยู่ในปัจจบุ ันโดยอาจใชส้ ำนกั งานรว่ มกนั หรอื ในบรเิ วณใกล้เคียงกัน

๔. ให ้ ศตจ.จ. ใช้งบประมาณการบริหารและการแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
ตามแผน บูรณาการ ปี ๒๕๔๙ ตามที่ ศตจ.มท. จัดสรรให ้ หรืองบประมาณของหน่วย
งานต่าง ๆ ท่ีกำหนดไว้ตามแผนปฏิบัติการเพ่ือการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและความ
ยากจน ประจำปี ๒๕๔๙ รวมทั้งงบประมาณการบริหารงานจัดงหวัดแบบบูรณาการ
(งบ CEO ) ในการบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน และการดำเนินงานของคณะ
อนุกรมกรรมการฯ

๕. สำหรับจังหวัดที่ยังไม่มีกรรมการจาก ศตจ.ปชช. ขอให้เตรียมความพร้อมไว้ล่วง
หน้าเพอื่ การสานตอ่ ทีจ่ ะมีขน้ึ ในลำดบั ต่อไป

ศตจ.มท. ขอเน้นยำ้ ว่า การดำเนนิ งานของภาคประชาชนเป็นกลไกทีจ่ ะสร้างความเขม้
แข็ง ใหก้ ับชุมชน ในการแกไ้ ขปัญหาความยากจนระดบั ชุมชนทีย่ ่ังยืน อยา่ งไรกต็ ามการขับ
เคล่ือนการแก้ปญั หาความยากจนโดยคาราวานแกจ้ นซ่งึ เปน็ ระดับบุคคล/ครัวเรอื น นน้ั ขอให้
ศตจ.จ. เร่งรดั การดำเนนิ การ







588

ให้เป็นไปตามกรอบแนวทางและการทดลองปฏิบัติในพื้นท่ี ตามท่ี ศตจ.กรมการปกครอง
ได้ดำเนินการไปแล้วและให้มีเป้าหมายการแก้ปัญหาเชิงบูรณาการในระดับพ้ืนที่สร้างความ
ยั่งยืนร้อยละ ๔๐ ในป ี ๒๕๔๙ แนวทางหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ท่ ี
มท ๐๓๑๐.๓ / ว ๖๑๐๑ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙

จึงเรียนมาเพ่ือพิจารณาดำเนินการต่อไป



ขอแสดงความนับถือ



(ลงช่อื ) สุจริต ปัจฉิมนันท

(นายสจุ รติ ปจั ฉมิ นันท์)

ปลัดกระทรวงมหาดไทย

รองผอู้ ำนวยการศนู ย์อำนวยการต่อสเู้ พ่อื เอาชนะความยากจนกระทรวงมหาดไทย











ศูนยอ์ ำนวยการตอ่ สเู้ พื่อเอาชนะความยากจนกระทรวงมหาดไทย

โทร. ๐ ๒๒๕ ๙๙๐๘ (มท.) ๕๐๖๘๐



















589

ด่วนมาก
(สำเนา)


ท ี่ มท ๐๕๑๑ .๓/ว ๑๘๓๓ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอษั ฎางค์ กทม. ๑๐๒๐๐

๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙

เร่อื ง มาตรการเก่ียวกบั การอนมุ ัตใิ หส้ ่วนราชการใช้ทีด่ นิ สาธารณประโยชน ์

เรยี น ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทุกจังหวดั

อา้ งถงึ ๑. หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ท่ ี มท ๐๗๒๓/ว ๓๔๔๓

ลงวันท ี่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๔

๒. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๕๙๑

ลงวันท ่ี ๑๙ กุมภาพนั ธ ์ ๒๕๔๗



ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยได้วางแนวทางปฏิบัติ กรณ ี มาตรการเกี่ยวกับการ
อนุมัติให้ส่วนราชการใช้ท่ีดินสาธารณประโยชน ์ โดยให้นำที่สาธารณประโยชน์มากำหนด
ความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์ว่าท่ีดินแปลงใดมีความเหมาะสมที่ควรสงวนไว้ให้
ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน แปลงใดเหมาะสมท่ีให้ใช้ประโยชน์ในราชการ หรือแปลงใด
เหมาะสมใหใ้ ช้ประโยชน์อยา่ งอ่ืน โดยจดั ทำให้แลว้ เสรจ็ ภายใน ๖ เดอื น เมือ่ ได้กำหนดโซน
และจดั ทำแผนการใชท้ ี่ดินเสรจ็ แลว้ ต่อไปการใช้ท่ดี นิ เพอื่ สรา้ งสถานทีร่ าชการใหข้ อจากแปลง
ท่กี ำหนดไว้ น้นั

กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้วเห็นว่า การใช้ประโยชน์ในที่สาธารณประโยชน ์
ตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๑ ให้กำหนดความเหมาะสมการใช้ประโชน์จากบัญชีข้อมูลสำรวจที่
สาธารณประโยชน์ โดยตั้งคณะทำงาน หรอื คณะกรรมการ ไดต้ ามความเหมาะสม แต่ต้องมี
ผังเมืองจงั หวดั ร่วมเป็นคณะทำงาน หรอื คณะกรรมการ และอาจขอความเหน็ องคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน กับนายอำเภอท้องท ่ี เพ่ือประกอบการดำเนินการท้ังน ี้ ในการวางแผนการใช้
ที่ดินจะต้องพิจารณาเหตุผลความจำเป็นทั้งในปัจจุบันและอนาคตด้วยว่า แปลงใดควรกันไว้
เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันตลอดไป แปลงใดควรให้ใช้ประโยชน์เพ่ือราชการ
หรือแปลงใดควรใชเ้ พื่อประโยชนอ์ ยา่ งอน่ื เชน่ นำไปจดั ใหป้ ระชาชนจดั ทำเปน็ สวนสาธารณะ
พักผ่อนหย่อนใจเป็นต้น โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของเมืองในอนาคต สภาพเศรษฐกิจ
สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และความต้องการของประชาชนในพืน้ ที่ แต่ปรากฏวา่ มบี างจังหวดั ไมไ่ ด้
ใหค้ วามสำคญั ของการกำหนด Zoning การทท่ี บวงการเมอื งขอใช้ท่ีดนิ ในแปลงท่มี ิได้กำหนด
ให้ใช้เพื่อประโยชน์ในราชการ หรือกำหนดล่าช้า จึงเป็นเหตุให้กระทรวงมหาดไทยไม่อาจ
พิจารณาอนุมัติให้ใช้ประโยชน์ในราชการได้ตามความในหนังสือที่อ้างถึง ๒ เพื่อให้มาตรการ
เกี่ยวกับการกำหนดความเหมาะสมในการใช้ท่ีสาธารณประโยชน์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และบรรลุวตั ถุประสงคค์ ส์ ูงสดุ เหน็ ควรดำเนินการ ดงั นี ้


590

๑. กรณกี ารเข้าใช้ประโยชนเ์ ปน็ เรอ่ื งทอ่ี ยูร่ ะหวา่ งการพิจารณาการถอนสภาพ และ
เกิดขึ้นก่อนท่ีกระทรวงมหาดไทยกำหนดให้จัดทำมาตรการกำหนดความเหมาะสมให้ส่วน
ราชการใช้ที่ดินสาธารณประโยชน ์ ตามหนังสือที่อ้างถึง ๑ หากปรากฏข้อเท็จจริงชัดเจนว่า
ที่ดินแปลงท่ีขอใช้มิได้กำหนดความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์ในที่ดินไว ้ ให้จังหวัด
พิจารณาว่าเพราะเหตุใดท่ีดินแปลงดังกล่าว จึงไม่อยู่ใน Zoning สมควรจะปรับ Zoning
หรอื ไม ่ อย่างไร และมีความเห็นเกี่ยวกับการอนุญาตให้ถอนสภาพ เพือ่ ประโยชน์ในราชการ
อยา่ งไร แล้วรายงานให้ทราบ

๒. กรณีหลงั จากกระทรวงมหาดไทยไดก้ ำหนดมาตรการและความเหมาะสมการใช้
ท่ีดินแล้วการใช้ท่ีดินเพ่ือประโยชน์ในราชการให้ขอจากแปลงที่กำหนดเพื่อให้ใช้ประโยชน์ใน
ราชการเท่านั้น หากมิได้อยู่ในแปลงที่กำหนด กระทรวงมหาดไทยไม่อาจพิจารณาอนุมัติให้
ทบวงกรเมืองใช้ประโยชน์ในที่ดินดังกล่าวได้ให้จังหวัดยุติเร่ืองการใช้ท่ีดินพร้อมกับแจ้งให้
ทบวงการเมืองผูข้ อทราบดว้ ย

๓. เพ่อื มใิ หเ้ กิดความเสยี หายแกท่ บวงการเมอื งผู้ขอ เมื่อไดร้ ับหนังสอื แสดงความ
ประสงค์ขอใช้ประโยชน์ในที่ดินแปลงใดแล้ว ให้จังหวัดตรวจสอบว่าท่ีดินนั้น อยู่ในแปลงท่ี
กำหนดความเหมาะสมการใช้ประโยชน์ในราชการหรือไม ่ ถ้าไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ดังกล่าวให้มี
หนังสือแจ้งผขู้ อทราบถงึ ขดั ข้องทไ่ี มอ่ าจดำเนินการให้ได้โดยทนั ที

จงึ เรยี นเพ่อื ทราบ และกำชบั เจา้ หนา้ ท่ีใหถ้ ือปฏิบัติโดยเครง่ ครดั



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงช่อื ) สรุ อรรถ ทองนริ มล

(นายสุรอรรถ ทองนริ มล)

รองปลดั กระทรวงมหาดไทย

หวั หนา้ กลมุ่ ภารกจิ ดา้ นกิจการความมั่นคงภายใน

















กรมท่ีดิน

สำนักจัดการทด่ี ินของรัฐ

โทร. ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๖๙ โทรสาร. ๐ ๒๒๒๒ ๑๘๔๐


591

ดว่ นทีส่ ดุ
(สำเนา)


ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๕๙๕๒ กรมทดี่ นิ

ถนนพระพพิ ธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๘ มิถุนายน ๒๕๔๙

เร่อื ง แบบการบันทึกถ้อยคำเพื่อประกอบการสอบสวนตามโครงการบริหารจัดการการใช ้

ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก เพ่ือแก้ไขปัญหาสังคมและความ

ยากจนเชิงบูรณาการ และการจดั ทำประชาคมเพ่มิ เตมิ

เรียน ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั ทุกจังหวัด

อา้ งถงึ หนง้ สอื กรมทดี่ นิ ด่วนท่ีสดุ ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๖๙๔๘

ลงวันที่ ๙ มิถนุ ายน ๒๕๔๘

สิ่งท่สี ง่ มาด้วย แบบบันทึกถ้อยคำผู้ครอบครองที่ดินในท่ีสาธารณประโยชน์ตามนโยบาย

แกไ้ ขปญั หาสังคม และความยากจนเชิงบรู ณาการ



ตามหนังสือที่อ้างถึง กรมท่ีดินได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติเก่ียวกับการรังวัดทำ
แผนที่การรายงาน และการบันทึกถ้อยคำผู้ครอบครองที่ดินเพื่อประกอบการสอบสวนตาม
โครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก เพื่อแก้ไข
ปญั หาสังคมและความยากจนเชงิ บรู ณาการ น้ัน

เนอ่ื งจากในคราวประชมุ คณะกรรมการจัดทด่ี ินแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๔/๒๕๔๙ เมือ่ วันท่ี
๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๙ มีมติเห็นชอบในหลักการให้กรมท่ีดินยกเว้นการปฏิบัติตามมติคณะ
รัฐมนตร ี เม่อื วนั ที่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๔๘ และรายงานผลการดำเนนิ การต่อคณะกรรมการจดั
ที่ดินแห่งชาติ ทั้งน ี้ ให้พิจารณากำหนดจำนวนเน้ือที่จะจัดให้แก่ราษฏรภายใต้เง่ือนไข ๓
ประการ คือ

(๑) จำนวนสมาชกิ ในครอบครวั

(๒) อาชพี

(๓) ความสามารถในการผลติ ของครวั เรือน

ฉะนั้น เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามมติที่ประชุมดังกล่าว กรมที่ดินได้ดำเนิน
การ ดงั นี ้

๑. ปรับปรงุ แบบบนั ทกึ ถอ้ ยคำผคู้ รอบครองท่ีดินในทีส่ าธารณประโยชน์ตามหนังสือ
กรมทดี่ นิ ดว่ นที่สดุ ท ี่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๑๖๙๔๘ ลงวนั ท ี่ ๙ มถิ ุนายน ๒๕๔๘ ขอให้
จังหวัดแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องใช้แบบบันทึกถ้อยคำตามสิ่งท่ีส่งมาด้วย ประกอบการ
ส อ บ ส ว น ผู้ ค ร อ บ ค ร อ ง ท่ี ดิ น ต า ม โ ค ร ง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ที่ ดิ น
สาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุก เพ่ือแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการแทน
แบบบนั ทึกถอ้ ยคำฉบับเดิม


592

๒. ในการจัดทำประชาคมตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท ่ี มท
๐๕๑๑.๔/ว ๓๒๖๔ ลงวันท่ ี ๓๐ กันยายน ๒๕๔๗ ข้อ ๑.๒ น้ัน นอกจากจะจัดทำ
ประชาคมเพื่อตรวจสอบว่าบุคคลดังกล่าวยากจนและไม่มีที่ดินทำกินหรือมีแต่ไม่เพียงพอแล้ว
ขอให ้ ศตจ.อำเภอ/กิ่งอำเภอ จัดทำประชาคมในประเด็นจำนวนเน้ือท่ีที่จะจัดให้แก่ราษฎร
โดยพิจารณาว่าจะสมควรจัดให้ตามเนื้อที่ที่ครอบครองทำประโยชน์อยู่แล้วหรือไม ่ เพียงใด
ทั้งน ้ี ภายใต้เง่ือนไข ๓ ประการ คือ จำนวนสมาชิกในครอบครัว อาชีพ และความ
สามารถในการผลิตของครัวเรือน (แต่ต้องไม่เกินครอบครัวละ ๑๕ ไร่) ซึ่งเจ้าหน้าท่ีได้
ทำการสอบสวนไวแ้ ล้วตามบนั ทึกถ้อยคำผ้คู รอบครองท่ีดนิ ฯ ข้อ ๑. ขา้ งตน้ หากครอบครอง
เกินกว่าทก่ี ำหนดไว้ ใหพ้ จิ ารณาจัดใหค้ รอบครวั ท ี่ ๒ หรือ ที่ ๓ ตามแผนปฏิบัติการบริหาร
จัดการท่ีดินของรัฐกรณีมีการบุกรุกที่ดินสาธารณประโยชน์ฯ โดยให้แจ้งผลการพิจารณาให้
สำนักงานที่ดินจังหวัด เพ่ือประกอบการพิจารณานำเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดในการออก
หนงั สอื อนญุ าตใหเ้ ข้าทำประโยชน์ในทด่ี ินของรฐั เปน็ การชวั่ คราวดว้ ย

จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบและแจง้ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ที ่เี กยี่ วขอ้ งทราบและถอื ปฏิบตั ติ อ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชือ่ ) พรี พล ไตรทศาวทิ ย์

(นายพีรพล ไตรทศาวิทย)์

อธบิ ดีกรมท่ีดนิ











สำนักจดั การท่ีดินของรฐั

โทร/โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒ โทร.(มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ตอ่ ๓๖๗,๓๖๙




















593

แบบบนั ทกึ ถ้อยคำผู้ครอบครองทด่ี ินในท่ีสาธารณประโยชน

ตามนโยบายแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบรู ณาการ



ทีส่ าธารณประโยชน์แปลง..............................หนงั สือสำคัญสำหรบั ทหี่ ลวง เลขท่ี......................

ระวางหมายเลข...............................ตำบล..............................อำเภอ..........................................

จงั หวดั ..............................................



เขียนที่..................................................
วันท่ี...............................................
๑. ชีอ่ -สกลุ ...........................................................................................................................

หมายเลขประจำตวั ประชาชนเลขที่ - - - -

อายุ...........ป ี เช้ือชาติ...............สัญชาติ....................บิดาชื่อ................................มารดา
ช่ือ..................อยู่บ้านเลขท่ี.......................หมู่ที่...................... ถนน..................................
ตำบล.......................................................................... อำเภอ...................................
จังหวดั ..................................................โทรศัพท์.........................................................

๒. ได้ลงทะเบียนแสดงความประสงค์ขอท่ที ำกิน ตามแบบ ส.ย.1 เลขท่ี.............................
วันท.ี่ ........................................ อำเภอ.............................................................................
จังหวัด.....................................................

๓. อาชีพ..............................................รายได้เฉลี่ยปีละประมาณ..................................บาท
จำนวนสมาชิกในครัวเรือน.................คน จำนวนสมาชิกท่ีสามารถประกอบอาชีพได้
........................คน

๔. ในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการบริหารจัดการท่ีดินของรัฐ กรณีมีการบุกรุกที่ดิน
สาธารณประโยชนเ์ พื่อแกไ้ ขปัญหาความยากจน กระทรวงมหาดไทย กรมทด่ี นิ ผคู้ รอบครอง
ทำประโยชนใ์ นทด่ี นิ

( ) ยอมรับ

( ) ไม่ยอมรับ เหตุผลเพราะ ไมย่ อมรับวา่ เป็นที่สาธารณประโยชน

มปี ัญหาเกยี่ วกับแนวเขตทีด่ ิน

ตอ้ งการเอกสารสิทธ

อ่ืน ๆ ระบ.ุ .......................................

๕. ได้ครอบครองทำประโยชน์ในท่ีสาธารณประในท่ีสาธารณประโยชน์แปลงนี้
จำนวน.......................แปลง โดยเรยี งตามการได้มา ดังนี้

๕.๑ แปลงท่ี..............เนื้อท่ี.........................ไร่ ครอบครองทำประโยชน์เมื่อ (ระบุวัน/
เดอื น/ปี)..................................................................


594

โดยมีอาณาเขตตามท่ีไดน้ ำเจ้าหน้าทท่ี ำการรงั วัดแลว้ ดงั น้ี

ทิศเหนือ จด..........................................................................

ทศิ ใต ้ จด..........................................................................

ทศิ ตะวนั ออก จด..........................................................................

ทิศตะวันตก จด..........................................................................

๕.๒ แปลงท.ี่ ................เนอ้ื ท.่ี ......................ไร่ ครอบครองทำประโยชนเ์ มื่อ

(ระบวุ นั /เดือน/ปี).................................

โดยมีอาณาเขตตามที่ได้นำเจ้าหน้าท่ีทำการรังวัด ไว้แล้ว ดงั น
ี้
ทิศเหนอื จด..........................................................................

ทิศใต้ จด..........................................................................

ทศิ ตะวนั ออก จด..........................................................................

ทศิ ตะวันตก จด..........................................................................

๖. นอกจากที่สาธารณประโยชนแ์ ปลงนแี้ ล้ว

( ) ไม่มกี ารครอบครองทำประโยชน์ในที่ดนิ อนื่

( ) มกี ารครอบครองทำประโยชนใ์ นทด่ี นิ อ่ืน ไดแ้ ก่

....................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................
ขอรับรองว่าข้อความข้างต้นเป็นจริงทุกประการและขอให้นำเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา
ออกหนังสืออนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐเป็นชั่วคราว ตามนโยบายแก้ไขปัญหาความ
ยากจน ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการอนญุ าตใหป้ ระชาชนใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี ิน
ของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๗



ลงช่ือ..................................................................ผู้ครอบครองท่ดี นิ /ผู้ใหถ้ อ้ ยคำ

ลงช่ือ..................................................................ผู้ปกครองทอ้ งท/่ี พยาน

ลงช่ือ..................................................................พยาน

ลงชอ่ื ..................................................................เจ้าหนา้ ที่ / ผู้บนั ทึก




หมายเหตุ : ๑. ตามข้อ ๔ กรณีผู้ครอบครองทำประโยชน์ไม่ยอมรับ ขอให้ชี้แจงให้ผู้ครอบครองทำ

ประโยชน์ทราบว่า ควรจะให้เจ้าหน้าที่ทำการรังวัดและบันทึกถ้อยคำให้แล้วเสร็จ เพ่ือจะ

ได้นำไปดำเนินการแกไ้ ขปญั หาตามแนวทางของ กบร. ต่อไป ทงั้ นี้ ให้ สรุปรายงานผล

การรังวดั และบนั ทกึ ถอ้ ยคำทง้ั หมด โดยแยกกลมุ่ ทยี่ อมรับและกลมุ่ ทไี่ ม่ยอมรบั ดว้ ย

๒. ตามข้อ ๕ หากมกี ารครอบครองทำประโยชน์มากกว่า ๑ แปลง ใหบ้ ันทกึ รายละเอยี ด

ทุกแปลงเพมิ่ เติมใหค้ รบถ้วนด้วย

๓. ตามข้อ ๖ กรณีมีการครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินอ่ืน ให้ระบุให้ชัดเจนด้วยว่าเป็น

ที่ดนิ ประเภทใด มเี อกสารสทิ ธ ิ หรอื ไม ่ อยา่ งไร เนื้อท่ีเท่าใด ท่ีดินต้งั อยู่ที่ใด


595

ดว่ นท่สี ดุ
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๒๖๒๖ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอัษฎางค ์ กทม. ๑๐๒๐๐

๔ สงิ หาคม ๒๕๔๙

เรือ่ ง การมอบหมายผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธิที่ดินทำกินเป็นราย

จงั หวัด

เรยี น ผวู้ ่าราชการจังหวัดทกุ จงั หวดั

สิ่งทสี่ ง่ มาดว้ ย หนงั สือสำนกั เลขาธิการคณะรัฐมนตร ี ดว่ นท่ีสดุ นร ๐๕๐๔/ว (ร) ๑๓๕

ลงวันท ่ี ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๔๙



ดว้ ยคณะรัฐมนตรไี ดพ้ จิ ารณาในคราวประชมุ เม่ือวนั ท่ี ๒๐ มิถนุ ายน ๒๕๔๙ มี
มติรับทราบตามท่ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีหนังสือกราบเรียนนายก
รัฐมนตรีให้มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีรับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธิ
ที่ดินทำกนิ เป็นรายจังหวัด รายละเอยี ดปรากฎตามสิ่งท่สี ง่ มาดว้ ย

กระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาแลว้ เพ่ือให้การแจกเอกสารสิทธิท่ีดนิ ทำกนิ ใหก้ บั ผ้จู ด
ทะเบียนปญั หาสังคมและความยากจนเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย รวดเร็ว และมปี ระสทิ ธิภาพ
สูงสุด ขอให้แจ้งเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องทราบ ทั้งนี ้ เม่ือมีการดำเนินการดังกล่าว ให้รายงาน
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีทรี่ ับผดิ ชอบ พรอ้ มทง้ั กระทรวงมหาดไทยทราบดว้ ย

จึงเรยี นมาเพอื่ ทราบและดำเนินการตอ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชือ่ ) สรุ อรรถ ทองนริ มล

(นายสุรอรรถ ทองนริ มล)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย

หวั หน้ากล่มุ ภารกจิ ด้านกิจการความมน่ั คงภายใน







กรมที่ดิน

สำนกั จดั การทดี่ นิ ของรัฐ

โทร./โทรสาร ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๘๒

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑-๑๒ ต่อ ๒๖๗


596

ด่วนท่สี ดุ
(สำเนา)


ท่ี นร ๐๕๐๔/ว(ร) ๑๓๕ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ทำเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐

๒๓ มิถนุ ายน ๒๕๔๙

เรือ่ ง การมอบหมายผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธิ์ท่ีดินทำกินเป็นราย

จงั หวัด

เรยี น รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

ส่งิ ที่ส่งมาดว้ ย สำเนาหนงั สอื กระทรวงทรพั ยากรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

ด่วนทีส่ ดุ ที่ ทส ๐๑๐๐/๑๒๓๖ ลงวนั ท ่ี ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๔๙



ด้วยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้เสนอเรื่องการมอบหมายผู้รับ
ผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธ์ิที่ดินทำกินเป็นรายจังหวัด มาเพื่อคณะรัฐมนตรี
ทราบความละเอียดปรากฎตามสำเนาหนงั สือท่ีส่งมาด้วยน
ี้
คณะรฐั มนตรไี ด้มมี ติรบั ทราบเมอื่ วันท่ี ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๕๔๙

จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดทราบ





ขอแสดงความนับถือ



(ลงชอ่ื ) สรุ ชัย ภปู่ ระเสรฐิ

(นายสุรชัย ภปู่ ระเสริฐ)

รองเลขาธิการคณะรฐั มนตรี รักษาราชการแทน

เลขาธิการคณะรฐั มนตร















สำนักบริหารการประชุมคณะรัฐมนตร

โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๐๐ ต่อ ๓๒๗ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๖๔

www.cabinct.thaigov.go.th


597

ด่วนทีส่ ุด
(สำเนา)


ท่ี ทส ๐๑๐๐/๑๒๓๖ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
๙๒ ถนนพหลโยธนิ ๗ พญาไท

กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๔๙

เรื่อง การมอบหมายผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธิท่ีดินทำกินเป็นราย

จังหวดั

กราบเรยี น นายกรัฐมนตร ี

สิง่ ทส่ี ่งมาด้วย รายชื่อผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธ์ิท่ีดินทำกินเป็น

รายจงั หวดั



ตามนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยการเตรียมจัดหาท่ีดิน
ทำกินการจัดสรรและการแจกเอกสารสิทธ์ิที่ดินทำกินให้กับผู้ที่จดทะเบียนปัญหาสังคมและ
ความยากจนในประเภทปญั หาเรือ่ งที่ดนิ ทำกนิ นัน้

ในขณะนี ้ การแจกเอกสารสทิ ธ์ทิ ด่ี นิ ทำกนิ สามารถเริม่ ต้นไดแ้ ล้ว ดังนัน้ เพ่ือให้การ
ดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปอย่างเรียบร้อย รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงเห็นควรมอบ
หมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีรับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธิ์ที่ดิน
ทำกินเป็นรายจังหวัด โดยมีรายละเอียดรายช่ือผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสาร
สิทธ์ิท่ีดินทำกนิ เป็นรายจงั หวัด ตามสิง่ ทสี่ ง่ มาด้วยนี

จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความเห็นชอบรายชื่อรองนายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลการแจกเอกสารสิทธ์ิที่ดินทำกินเป็นรายจังหวัด เพ่ือจะ
ได้นำเสนอคณะรฐั มนตรเี พื่อทราบตอ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถืออย่างย่งิ



(ลงช่อื ) ยงยุทธ ติยะไพรชั

(นายยงยุทธ ตยิ ะไพรัช)

รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ประธานกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ





สำนกั งานรฐั มนตรี

โทรศพั ท ์ ๐ ๒๒๗๘ ๘๕๓๔ โทรสาร ๐ ๒๒๗๘ ๘๕๓๓


598

ผู้รับผิดชอบการแจกเอกสารสทิ ธท์ ่ีดนิ กลุม่ ที่ 1

นายสมคดิ จาตุศรพี ทิ กั ษ์ รองนายกรัฐมนตรี (กำกับดูแล)



จงั หวัด ผรู้ บั ผดิ ชอบ



แม่ฮอ่ งสอน นายสมคดิ จาตุศรีพิทกั ษ

รองนายกรัฐมนตร

เชียงใหม่ นายสวุ ัจน์ ลปิ ตพลั ลภ

รองนายกรัฐมนตรี

เชยี งราย นายยงยุทธ ตยิ ะไพรชั

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

ลำปาง นายประชา มาลนี นท

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา

นา่ น นายประชา มาลนี นท์

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา

แพร่ นายประชา มาลีนนท์

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า

พะเยา นายพงษศ์ กั ดิ์ รกั ตพงศไ์ พศาล

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม

ลำพนู นายภมู ิธรรม เวชยชยั

รฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

จนั ทบุร ี พล.อ.อ. คงศักด์ิ วนั ทนา

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

ชลบุร ี พล.อ.อ. คงศกั ด์ิ วันทนา

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

ตราด นายประวชิ รัตนเพียร

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระยอง นายวัฒนา เมืองสุข

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของ
มนษุ ย

กระบ ี่ นายวิเศษ จภู บิ าล

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงพลังงาน

พังงา นายวิเศษ จภู ิบาล

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงพลงั งาน

ภูเกต็ นายร่งุ แกว้ แดง

รฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ


599

ผู้รับผิดชอบการแจกเอกสารสิทธท์ ดี่ นิ กลมุ่ ที่ 2

นายสุรยิ ะ จึงรุ่งเรืองกจิ รองนายกรัฐมนตรี (กำกบั ดูแล)



จงั หวดั ผูร้ บั ผิดชอบ



สงิ หบ์ ุรี นายสรุ ยิ ะ จงึ รุ่งเรอื งกจิ

รองนายกรฐั มนตร

ชยั นาท นายประวิช รัตนเพียร

รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย ี

ลพบรุ ี พล.อ.ชยั นนั ท์ เจรญิ ศริ ิ

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม

ราชบุรี พล.อ.ชัยนันท์ เจรญิ ศริ ิ

รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงคมนาคม

สุพรรณบุรี พล.อ.ชยั นันท์ เจริญศิริ

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม

สระบุรี นายสมชาย สนุ ทรวฒั น์

รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทย

กาญจบุรี นายสมชาย สุนทรวฒั น์

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

นครปฐม นายไชยยศ สะสมทรพั ย์

รัฐมนตรวี ่าช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

นครพนม นายเสรมิ ศกั ดิ์ พงษ์พานิช

รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทย

กาฬสินธ์ุ นายอดิศร เพียงเกษ

รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

มุกดาหาร นายอดศิ ร เพยี งเกษ

รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
















600

ผู้รบั ผิดชอบการแจกเอกสารสทิ ธ์ทีด่ ิน กลุ่มที่ 3

พล.ต.อ.ชิดชยั วรรณสถติ ย์ รองนายกรฐั มนตรี (กำกบั ดแู ล)



จังหวัด ผรู้ บั ผดิ ชอบ



สตูล พล.ต.อ.ชดิ ชัย วรรณสถติ ย์

รองนายกรฐั มนตร

สงขลา นายอนทุ ิน ชาญวีรกูล

รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ

ปัตตานี นายอนุทิน ชาญวรี กูล

รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสุข

นราธิวาส นายอนุทนิ ชาญวรี กูล

รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสุข

ยะลา นายรงุ่ แกว้ แดง

รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร

ยโสธร พลเอกธรรมรักษ์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

สกลนคร นายอดศิ ร เพยี งเกษ

รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ศรสี ะเกษ นายปรีชา เลาหพงศช์ นะ

รัฐมนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงพาณิชย์

อำนาจเจริญ นายปรชี า เลาหพงศช์ นะ

รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงพาณชิ ย์

อบุ ลราชธานี นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ

รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงพาณิชย




















601

ผ้รู ับผดิ ชอบการแจกเอกสารสทิ ธท์ ่ดี ิน กลุ่มท่ี 4

นายสวุ ัจน์ ลิปตพัลลภ รองนายกรัฐมนตรี (กำกับดแู ล)



จังหวัด ผู้รบั ผิดชอบ



ตรัง นายวิษณุ เครืองาม

รองนายกรฐั มนตร

นครศรีธรรมราช นายวิษณุ เครืองาม

รองนายกรฐั มนตรี

พทั ลุง นายวษิ ณุ เครอื งาม

รองนายกรฐั มนตร

ชยั ภมู ิ นายสวุ ัจน์ ลิปตพัลลภ

รองนายกรัฐมนตรี

นครราชสีมา นายสุวัจน์ ลปิ ตพัลลภ

รองนายกรัฐมนตรี

บุรีรัมย ์ นายเนวนิ ชดิ ชอบ

รฐั มนตรีประจำสำนกั นายกรัฐมนตรี

สรุ นิ ทร ์ นายเนวนิ ชดิ ชอบ

รฐั มนตรปี ระจำสกั นายกรัฐมนตรี

สระแกว้ นายยงยุทธ ติยะไพรชั

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

ฉะเชงิ เทรา นายจาตุรนต์ ฉายแสง

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ

นครนายก นายจาตุรนต์ ฉายแสง

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ปราจนี บรุ ี นายวฒั นา เมอื งสขุ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์

สมุทรปราการ นายทนง พิทยะ

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลัง












602

ผรู้ ับผดิ ชอบการแจกเอกสารสิทธ์ท่ดี ิน กลมุ่ ท่ี 5

นายสรุ เกียรต์ิ เสถยี รไทย รองนายกรฐั มนตรี (กำกบั ดแู ล)



จงั หวัด ผรู้ บั ผิดชอบ



เพชรบรู ณ์ นายพงษศ์ ักด์ิ รกั ตพงศ์ไพศาล

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

สโุ ขทัย นายสมศักด์ิ เทพสุทิน

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน

นครสวรรค ์ นายสมศกั ดิ์ เทพสทุ ิน

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงแรงงาน

อตุ รดิตถ์ นายประชา มาลีนนท

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

พษิ ณุโลก นายเสรมิ ศกั ด์ิ พงษพ์ านิช

รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทย

พิจติ ร พล.อ.ชัยนันท์ เจริญศิริ

รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงมหาดไทย

ตาก นายวราเทพ รัตนากร

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลงั

กำแพงเพชร นายวราเทพ รตั นากร

รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงการคลัง

อุทัยธานี นายวราเทพ รตั นากร

รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงการคลัง
























603

ผูร้ บั ผดิ ชอบการแจกเอกสารสทิ ธ์ทด่ี นิ กลมุ่ ที่ 6

นายแพทยส์ ุชยั เจรญิ รัตนกลุ รองนายกรฐั มนตรี (กำกับดูแล)



จงั หวดั ผรู้ ับผดิ ชอบ



สรุ าษฎร์ธานี นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ

รองนายกรฐั มนตร

ชุมพร นายพนิ ิจ จารสุ มบตั ิ

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ

ระนอง นายแพทย์สุชัย เจริญรัตนกลุ

รองนายกรัฐมนตร

หนองบัวลำภู นายแพทยส์ ชุ ยั เจริญรัตนกลุ

รองนายกรัฐมนตรี

เลย นายแพทย์สุชัย เจริญรตั นกุล

รองนายกรฐั มนตรี

อดุ รธานี นายแพทย์สชุ ยั เจริญรัตนกุล

รองนายกรัฐมนตร

หนองคาย นายพนิ ิจ จารุสมบตั

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารสุข

ขอนแกน่ นายเสรมิ ศักดิ์ พงษพ์ านชิ

รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

มหาสารคาม นายอดศิ ร เพียงเกษ

รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

รอ้ ยเอ็ด นายอดศิ ร เพียงเกษ

รฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ




















604

ผู้รบั ผิดชอบการแจกเอกสารสิทธ์ท่ดี ิน กลมุ่ ที่ 7

นายวษิ ณุ เครอื งาม รองนายกรัฐมนตรี (กำกับดูแล)



จงั หวดั ผรู้ บั ผิดชอบ



กรุงเทพมหานคร นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ

รัฐมนตรปี ระจำสำนกั นายกรัฐมนตรี

นนทบุรี นายกันตธีร์ ศุภมงคล

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

ปทุมธานี คุณหญิงสดุ ารตั น์ เกยรุ าพันธ
์ุ
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ

พระนครศรีอยุธยา คณุ หญงิ สุดารตั น์ เกยุราพันธ
ุ์
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

อ่างทอง นายภูมธิ รรม เวชยชยั

รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงคมนาคม

ประจวบคีรีขันธ์ นายพนิ ิจ จารสุ มบัติ

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข

เพชรบุรี นายทนง พทิ ยะ

รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงการคลงั

สมทุ รสงคาม นายไชยยศ สะสมทรัพย

รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงการคลงั

สมทุ รสาคร นายไชยยศ สะสมทรัพย

รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงการคลงั
























605

ด่วนมาก
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๒๒๐๔๒ กรมทด่ี ิน

ถนนพระพิพธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๗ สงิ หาคม ๒๕๔๙

เรื่อง การแก้ไขปัญหาการบุกรุกทดี่ นิ ของรฐั

เรียน ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ทุกจังหวัด

อา้ งถึง 1. หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๒๔๓๔

ลงวนั ท่ ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖

2. หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ดว่ นมาก ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๓๕๒๘

ลงวนั ท ี่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๖

3. หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นมาก ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๒๔๔๘

ลงวันท ่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๔๘



ตามหนังสือที่อ้างถึง กระทรวงมหาดไทยได้สั่งการให้จังหวัดและ กบร. จังหวัด
ดำเนินการเพื่อให้การแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม มี
การดำเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่ืองและเปน็ การสนองตอบนโยบายปราบปรามผ้มู อี ิทธิพล นน้ั

ในการประชุมคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ ครั้งที่ ๔/๒๕๔๙
เม่ือวันท่ ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ซึ่งรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) เป็น
ประธานกรรมการได้มีการประชุมพิจารณาปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการและติดตามผลการ
แก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐของจังหวัดแล้ว มีความเห็นว่า ผลการดำเนินการค่อนข้าง
ล่าช้าสืบเนื่องจากขาดการประสานงานระหว่างหน่วยราชการท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการแก้ไข
ปัญหา ดังน้ัน เพื่อให้การแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม
และเพื่อให้มาตรการในการดำเนินการตามนัยหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ท่ี มท
๐๕๑๑.๔/ว ๒๔๓๔ ลงวันท่ ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖ และหนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ด่วน
ทสี่ ดุ ที มท ๐๕๑๑.๔/ว ๒๔๔๘ ลงวันท่ ี ๓ สิงหาคม ๒๕๔๘ อย่างเคร่งครดั พรอ้ มท้ังแจ้ง
ใหส้ ่วนราชการในสังกดั ให้การสนับสนนุ และทำงานร่วมกับ กบร. จงั หวัด อย่างจรงิ จังด้วย


606

จงึ เรยี นมาเพอื่ ทราบและส่ังเจา้ หนา้ ที่ถอื ปฏบิ ัติโดยเคร่งครดั ตอ่ ไป



ขอแสดงความนับถอื



(ลงชื่อ) สุรอรรถ ทองนิรมล

(นายสุรอรรถ ทองนิรมล)

รองปลดั กระทรวงมหาดไทย

หวั หน้ากลุ่มภารกิจด้านกิจการความม่ันคงภายใน











กรมที่ดนิ

สำนกั จดั การที่ดนิ ของรัฐ

โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๑๘๔๐ โทรสาร ๐ ๒๒๒๒ ๒๘๕๑

โทร. (มท) ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ตอ่ ๓๗๐





















607

ดว่ นทีส่ ดุ
(สำเนา)


ท่ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๒๘๗๗ กระทรวงมหาดไทย

ถนนอษั ฎางค์ กทม. ๑๐๒๐๐

๒๒ สงิ หาคม ๒๕๔๙

เรอื่ ง การพิจารณานำหนงั สืออนญุ าตให้ใชป้ ระโยชนใ์ นท่ีดินของรัฐฯ แปลงเปน็ ทนุ

เรียน ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ทุกจงั หวดั

ส่งิ ทสี่ ่งมาดว้ ย ๑. แบบคำขอตรวจสอบและรับรองหนงั สอื อนุญาตฯ

๒. แบบหนงั สอื รบั รองหนังสืออนุญาตฯ

๓. แบบรายงานผลการนำหนังสอื อนญุ าตฯ แปลงเป็นทนุ

๔. แบบทะเบยี นคมุ การนำหนงั สืออนุญาตฯ ไปเปน็ ประกันการกู้ยืมเงิน



ตามนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจน โดยการออกหนังสืออนุญาตให้ใช้ประโยชน์
ในที่ดินของรัฐเป็นการช่ัวคราวฯ ให้แก่ราษฎรผู้ยากจนที่ได้รับการจัดระเบียบการถือครองใน
ท่ีดินสาธารณประโยชน ์ และให้สามารถนำหนังสืออนุญาตฯ ดังกล่าวเข้าถึงแหล่งทุนภายใต้
นโยบายการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน ซึ่งขณะน้ีกรมที่ดินและกระทรวงมหาดไทยได้ดำเนินการ
ในการออกหนังสอื อนญุ าตฯ ดงั กลา่ วสำเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดแี ลว้ นนั้

บดั น ี้ สำนักงานบริหารการแปลงสนิ ทรัพย์เป็นทนุ (องคก์ ารมหาชน) หรือ สปท.
กำหนดให้มีการพิจารณาลงนามในบันทึกข้อตกลง “การให้ผู้ได้รับหนังสืออนุญาตให้ใช้
ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐเป็นการช่ัวคราวตามนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจนเข้าร่วม
โครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุนตามนโยบายรัฐบาล” ระหว่าง สปท. กรมที่ดิน กรมการ
ปกครอง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และสถาบันการเงินซึ่งในส่วนของกรมท่ีดินได้มี
การพิจารณากำหนดกลไกในการปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามบันทึกข้อตกลงโดยมีการกำหนด
แบบเอกสารและการเรยี กเก็บคา่ ธรรมเนียม ดงั นี้

๑. แบบคำขอตรวจสอบและรับรองหนังสืออนุญาตฯ เพ่ือให้ผู้ขอย่ืนความประสงค์
ขอตรวจสอบและขอให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดออกหนังสือรับรองว่า หนังสืออนุญาตฯ มีช่ือ
บคุ คลใดไดร้ บั อนุญาต (ส่งิ ทีส่ ง่ มาด้วย ๑ )

๒. แบบหนังสือรับรองการตรวจสอบ เพ่ือรับรองว่าหนังสืออนุญาตฯ ฉบับท่ีขอ
ตรวจสอบน้นั มชี อ่ื บคุ คลใดได้รับอนุญาต (สง่ิ ทสี่ ่งมาดว้ ย ๒)

๓. แบบรายงานผลการนำหนังสืออนุญาตฯ เข้าถึงแหล่งทุน เมื่อผู้ได้รับอนุญาต
รายใดนำหนังสืออนุญาตฯ ไปเป็นหลักประกันการกู้ยืมกับสถาบันการเงินแล้ว ให้สำนักงาน
ท่ีดินจังหวัดรายงานให้กรมท่ีดินทราบทุกคร้ังที่มีการนำหนังสืออนุญาตฯ ไปประกันการกู้ยืม
กับสถาบันการเงิน และให้สำนักงานท่ีดินจังหวัดนำแบบรายงานดังกล่าวไปหมายเหตุการเข้า
ถึงแหล่งทนุ ในทะเบยี นคมุ หนงั สอื อนญุ าตฯ ด้วย (สิง่ ทส่ี ่งมาดว้ ย ๓)


608

๔. เง่อื นไขเพิ่มเติมในการอนญุ าต ใหจ้ ังหวดั เพ่ิมเตมิ เงื่อนไขในการอนุญาตดังนี้

๔.๑ ผู้ได้รับหนังสืออนุญาตฯ ไม่ได้เข้าทำประโยชน์ในท่ีดินที่ไดรับอนุญาต
ภายใน ๖ เดือน นับแต่วันที่ได้รับอนุญาต ซึ่งคณะกรรมการพิจารณาเพื่ออนุญาตให้
ประชาชนใช้ประโยชน์ในทด่ี นิ ของรฐั พิจารณาแลว้ เห็นว่า ผู้ไดร้ บั อนญุ าตไมม่ เี หตุอันควร

๔.๒ ผู้ได้รับหนังสืออนุญาตฯ ไม่ได้เข้าทำประโยชน์หรืออยู่อาศัยด้วยตนเอง
โดยให้ผ้อู น่ื เขา้ ทำประโยชนแ์ ทน

๔.๓ กรณผี ไู้ ด้รบั หนังสืออนญุ าตฯ ถึงแก่กรรมให้ทายาทโดยธรรมซง่ึ เปน็ ผ้รู ับ
หนังสืออนุญาตมีสิทธิแจ้งความประสงค์ขอใช้ประโยชน์ในท่ีดินแปลงดังกล่าวเป็นการชั่วคราว
ภายในกำหนดเกา้ สบิ วันนับแตผ่ ูไ้ ด้รบั หนังสืออนญุ าตฯ ถึงแกก่ รรม หากไม่แจ้งความประสงค์
ภายในกำหนด โดยไม่มีเหตุอันควรให้ถือว่าทายาทโดยธรรมไม่ประสงค์รับโอนสิทธ ิ หรือไม่
ประสงคจ์ ะรบั ภาระหนสี้ นิ ของผไู้ ดร้ ับหนงั สอื อนุญาต รายเดมิ ท่ีมีอย่ตู ่อธนาคาร

๔.๔ หากผู้ได้รบั หนงั สอื อนญุ าตฝา่ ฝืนหรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามเงอื่ นไขไม่วา่ ขอ้ ใดขอ้
หน่ึงตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของ
รฐั พ.ศ. ๒๕๔๗

๔.๕ ไม่ชำระหนี้เงินกู้แก่ธนาคารตามกำหนดโดยไม่มีเหตุผลสมควร หรือมี
เหตทุ ำให้ธนาคารต้องเรียกคืนเงินกแู้ ละผู้ไดร้ ับอนญุ าตฯ ไมช่ ำระหนท้ี ี่เรยี กคนื นัน้ ภายในระยะ
เวลาทธ่ี นาคารกำหนด

๕. การจดบนั ทึก กรณมี ีการนำหนงั สอื อนญุ าตฯ ไปเป็นประกนั การกูย้ ืมเงิน ให้
จังหวดั จัดทำทะเบียนคุม โดยใช้สมุดเบอร์ ๒ ใหป้ รากฏหลกั ฐานว่า หนังสอื อนุญาตฯ ฉบับ
ดังกล่าวได้ถูกนำไปเป็นประกันการกู้ยืมเงินกับสถาบันการเงิน และให้มีสาระสำคัญตามแบบ
(ส่งิ ทีส่ ่งมาดว้ ย ๔)

๖. การเรยี กเกบ็ ค่าคำขอตรวจสอบและคา่ รับรองหนังสอื อนุญาตฯ ในการเรียกเก็บ
ค่าคำขอตรวจสอบนั้น ตามมาตรา ๑๐๓ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน บัญญัติเกี่ยวกับค่า
ธรรมเนียม ในการทำธุระอื่น ๆ เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ว่าให้เรียกเก็บตามที่กำหนดในกฎ
กระทรวง ซง่ึ ไดแ้ ก่ กฎกระทรวงฉบับท่ ี ๔๗ ข้อ๒ (๑๐) (ก) (ง) โดยใหเ้ รียกเก็บค่าคำขอ
แปลงละ ๕ บาท ค่าตรวจหลักฐานทะเบียนท่ีดินแปลงละ ๑๐ บาท รวมแล้วเป็นเงินค่า
คำขอและคา่ ตรวจสอบ แปลงละ ๑๕ บาท ส่วนการออกหนงั สือรับรองนน้ั เปน็ หนังสอื ราชการ
ไม่มีกฏหมายหรือระเบียบใดกำหนดให้เรียกเก็บค่ารับรอง และการรับรองดังกล่าวเป็นเพียง
รบั รองว่า หนงั สืออนญุ าตมีช่อื บคุ คลใดเป็นผู้ได้รบั อนญุ าตเท่านั้น ไมใ่ ชก่ ารรบั รองเอกสารซ่ึง
จะต้องเรียกเก็บค่ารับรองความถกู ต้องของเอกสารแต่อยา่ งใด

ส่วนค่าพยานตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๘ ให้เรยี กเกบ็ โดยถอื เปน็ ค่าใชจ้ ่าย
ให้แก่พยานคนละ ๑๐ บาท และในการเรียกเก็บค่าพยานนั้น จะเรียกเก็บได้ก็ต่อเมื่อผู้ขอ
แจ้งความประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ลงนามในฐานะพยานเป็นหลักฐานในคำขอ เจ้าหน้าท่ีจึงจะ
ลงช่อื เปน็ พยาน และมสี ทิ ธิเรยี กเกบ็ คา่ พยานให้แกพ่ ยานคนละ ๑๐ บาท ได ้ กรณคี ำขอดงั
กล่าวเป็นเรื่องเกี่ยวเนื่องกับการดำเนินการตามนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจนฯ ของ

609


Click to View FlipBook Version