The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-11-09 03:54:50

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

1

หลกั สูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวยั
สำหรับเด็กท่มี ีความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ
ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวัดระนองพุทธศกั ราช ๒๕๖๔

ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรบั เด็กทม่ี คี วามต้องการจำเป็นพเิ ศษ
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒

(สำหรบั เดก็ อายแุ รกเกดิ - ๖ ปี)

สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

2

ประกาศศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจำจงั หวัดระนอง
เรือ่ ง ให้ใช้หลักสตู รสถานศึกษาการศึกษาปฐมวยั
สำหรบั เดก็ ท่มี ีความต้องการจำเปน็ พิเศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจำจังหวดั ระนอง

พทุ ธศักราช ๒๕๖๔
……………………………………………………………
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๑๐ กำหนดไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้น
พ้นื ฐานไม่น้อยกวา่ สิบสองปีท่ีรฐั ต้องจัดให้อยา่ งทั่วถึง และมคี ณุ ภาพโดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ ่าย” และพระราชบัญญัติ
การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๕ กำหนดให้คนพิการมีสิทธิทางการศึกษาโดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการจนตลอดชีวิต พร้อมทั้งได้รับเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก ส่ือ
บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา เลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบ และรูปแบบ
การศกึ ษาโดยคำนงึ ถึงความสามารถ ความสนใจ ความถนดั และความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษเฉพาะบุคคลนัน้
เพื่อสนองเจตนารมณ์ตามพระราชบัญญัติ ดังกล่าว ให้การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการได้รับการ
พัฒนาตั้งแต่แรกเกิด ถึง ๖ ปี มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมเต็ม
ศกั ยภาพ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ไดเ้ พ่มิ ทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความพิการสำหรับเด็กพิการแต่
ละประเภทเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพความพิการ และศักยภาพของ แต่ละบุคคล ได้แก่ บุคคลที่มีความ
บกพร่องทางการเห็น บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา บุคคลที่มี
ความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา
บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤตกิ รรม หรอื อารมณ์ บุคคลออทสิ ตกิ และบคุ คลพกิ ารซอ้ น
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็น
พเิ ศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวดั ระนอง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔
ทั้งนี้หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษา เมื่อวันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จึงประกาศใช้ หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย
สำหรับเด็กทม่ี คี วามตอ้ งการจำเป็นพิเศษ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจำจังหวดั ระนอง พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ต้ังแต่
บัดนี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ 20 เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายนติ ย์ อยุ่ เต็กเคง่ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา
ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวัดระนอง

3

คำนำ

สภาพการเปลย่ี นแปลงด้านเศรษฐกิจ สงั คม และความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบกับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวมทั้งกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)
แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) เป้าหมายยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑) แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) นำไปสู่การกำหนดทักษะ
สำคญั สำหรับเดก็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ทมี่ คี วามสำคญั ต่อการกำหนดเปา้ หมายในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มีความ
สอดคล้อง และทันต่อการเปลย่ี นแปลงทกุ ดา้ น

ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง เป็นสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกระบบ หรือตาม
อัธยาศัยแก่คนพิการ ตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิต และจัดการศึกษาอบรมแก่ผู้ดูแลคน
พิการ ครู บุคลากร และชุมชน รวมทั้งการจัดสื่อ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก บริการ และความ
ช่วยเหลืออื่นใด ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำหนดในประกาศกระทรวง ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายบริการ
สาธารณะได้แก่ เด็กพิการรับบริการในศูนย์การศึกษาพิเศษ เด็กพิการรับบริการที่บ้านหรือหน่วยบริการหรือ
ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ เด็กพิการรับบริการในห้องเรียนสำหรับเด็กในโรงพยาบาล และเด็กพิการรับ
บริการในโรงเรียนเรียนรวม โดยมีเด็กที่เรียนในระดับปฐมวัยรวมอยู่ด้วย ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด
ระนอง จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ของศูนย์
การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ขึ้น ซึ่งพัฒนาจากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ พุทธศักราช
๒๕๖๒ เพื่อเป็นหลักสูตรสถานศึกษา ที่ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพโดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่
เหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้ และ
สร้างรากฐานชีวิตใช้พัฒนาเด็กปฐมวัยไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในตนเอง และมี
ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

ขอขอบคุณ คณะครู และบุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนองทุกท่านที่มีส่วนร่วม
ในการจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษ
ประจำจังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ฉบับนี้ ให้มีความสมบูรณ์ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๐ และพระราชบัญญัติ
การจัดการศกึ ษาสำหรบั คนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๕

ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจำจังหวดั ระนอง
สังกดั สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

4

สารบัญ หน้า

เร่ือง ก
ประกาศการใช้หลักสตู รสถานศึกษา ข
คำนำ ค
สารบญั ง
ความนำ 1
คำชแี้ จง 1
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยสำหรบั เด็กทีม่ ีความต้องการจำเป็นพิเศษ 1
วสิ ยั ทัศน์ 2
ภารกิจ 2
เป้าหมาย 3
หลกั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั 5
จุดหมายการศึกษาปฐมวยั 7
มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 7
การวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 19
23
- พัฒนาการด้านร่างกาย 29
- พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ 39
- พัฒนาการด้านสังคม 56
- พฒั นาการด้านปัญญา
- พฒั นาการด้านทักษะจำเปน็ เฉพาะความพิการ 57
โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สำหรบั เดก็ ทีม่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษศูนย์การศึกษาพิเศษ 57
ประจำจงั หวัดระนอง 58
การจดั เวลาเรยี น 203
สาระการเรยี นรู้ 204
๑. ประสบการณส์ ำคัญ 204
๒. สาระทคี่ วรรู้ 223
กำหนดเวลาเรียน 231
โครงสรา้ งหนว่ ยประสบการณ์ 232
การจัดประสบการณ์ 233
ตารางกจิ กรรมประจำวัน 235
เทคโนโลยสี ง่ิ อำนวยความสะดวก ส่ือ และแหลง่ เรียนรู้
การส่งเสริมพัฒนาการ และการเรียนรู้ 255
การประเมินพัฒนาการ

ภาคผนวก

5

ความนำ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๓ สิทธิ และเสรีภาพของปวงชนชาว
ไทย มาตรา ๒๗ บคุ คลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย มสี ทิ ธิ และเสรภี าพ และไดร้ ับความคุม้ ครองตามกฎหมายเท่า
เทียมกัน ชาย และหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความ
แตกต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล
ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือสงั คม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรอื ความคิดเห็นทางการเมืองอนั ไม่ขัดต่อ
บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนูญหรือเหตุอ่นื ใด จะกระทำมไิ ด้ มาตรการท่ีรฐั กำหนดข้นึ เพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริม
ให้บุคคลสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองหรืออำนวยความสะดวกใหแ้ ก่
เด็ก สตรี ผสู้ งู อายุ คนพกิ ารหรอื ผ้ดู ้อยโอกาส ยอ่ มไม่ถอื ว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมเ่ ป็นธรรม หมวด ๕ หน้าที่
ของรัฐ มาตรา ๕๔ รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา ๑๒ ปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ
การศกึ ษาภาคบังคบั อย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย รัฐต้องดำเนนิ การให้เด็กเล็กไดร้ ับการดูแล และพัฒนา
ก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพฒั นาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญาใหส้ มกบั วัย โดยสง่ เสริม และ
สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดำเนินการ รัฐต้องดำเนินการให้
ประชาชนไดร้ บั การศึกษาตามความตอ้ งการในระบบต่าง ๆ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ใหม้ ีการเรียนรู้ตลอดชีวติ และจัดให้
มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมี
หนา้ ที่ดำเนินการ กำกับ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนใหก้ ารจัดการศึกษาดังกล่าวมคี ุณภาพ และไดม้ าตรฐานสากล

ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศึกษาแหง่ ชาติซึ่งอย่างน้อยต้องมบี ทบัญญตั เิ กีย่ วกับการจัดทำแผนการศกึ ษา
แหง่ ชาติ และการดำเนินการ และตรวจสอบการดำเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศกึ ษา
ทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมี
ความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และ
พฒั นาหรือใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษา หมวด ๑๖ การปฏริ ูปประเทศมาตรา ๒๕๘ ด้านการศกึ ษา ให้สามารถ
เร่ิมดำเนนิ การให้เด็กเลก็ ไดร้ บั การดูแล และพฒั นากอ่ นเขา้ รับการศึกษาเพื่อใหเ้ ด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย
จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ
บรรลเุ ป้าหมายดงั กลา่ ว โดยสอดคล้องกนั ทัง้ ในระดบั ชาติ และระดับพ้ืนท่ี

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับท่ี
๓. พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๒ สิทธิ และหน้าที่ทางการศึกษา มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ
และโอกาสเสมอกันในการรบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสบิ สองปีท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างทัว่ ถึง และมีคุณภาพ
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาอารมณ์
สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้
หรือไม่มีผู้ดูแลหรอื ด้อยโอกาส ต้องจัดให้บคุ คลดังกลา่ วมีสิทธิ และโอกาสได้รบั การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
การศึกษาสำหรับคนพิการให้จัดตัง้ แต่แรกเกิดหรือพบความพกิ ารโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย และมสี ิทธิ์ไดร้ บั สิง่ อำนวย
ความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดใน
กฎกระทรวง การจดั การศกึ ษาสำหรบั บุคคลซึ่งมคี วามสามารถพิเศษต้องจัดด้วยรปู แบบทเี่ หมาะสมโดยคำนึงถึง
ความสามารถของบคุ คลนนั้ ของบคุ คลน้นั ๆ

6

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต
และสุขภาวะที่ดีสำหรับคนไทยพัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิด
สร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดีรับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรม และคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัย และเตรียมความ
พรอ้ มเข้าสสู่ ังคมผู้สงู อายอุ ยา่ งมีคุณภาพ

กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรสำหรับ
สถานศึกษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นกรอบ และทิศทางในการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสูตรที่กำหนดเป้าหมายในการ
พัฒนาเด็กปฐมวยั ใหม้ พี ัฒนาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา เปน็ คนดี มวี ินยั สำนึกความ
เป็นไทย และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาตใิ นอนาคต

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษได้จัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการ
จำเป็นพิเศษ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ซึ่งเป็นหลักสูตรท้องถิ่น โดยเพิ่มทักษะจำเป็นเฉพาะความพิการสำหรับเด็ก
พิการแต่ละประเภท เพื่อให้ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษนำไปเป็นแนวทางในการจัดทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาการศึกษา
ปฐมวัยสำหรบั เดก็ ทมี่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษของศนู ย์การศึกษาพิเศษได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพต่อไป

เพื่อให้การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการได้รับการพัฒนาตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี ให้มีพัฒนาการด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญาที่เหมาะสมกับวยั รวมทง้ั มีพฒั นาการทางด้านทักษะจำเป็นเฉพาะ
ความพิการที่เหมาะสมกับความต้องการจำเป็น ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง จึงได้วิเคราะห์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการ
จำเป็นพิเศษ พุทธศักราช ๒๕๖๒ จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความ
ต้องการจำเป็น ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ จังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
จัดการศึกษาระดับปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางทางการเห็น เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กท่มี ีความบกพร่องทางสติปัญญา เดก็ ทีม่ คี วามบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ เด็กท่ี
มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เด็กออทิสติก
และเดก็ พิการซ้อนในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

7

คำช้แี จง

หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษของศูนย์การศึกษา
พิเศษประจำจังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ฉบับนี้ เป็นหลักสูตรสถานศึกษาสำหรับเด็กพิการของศูนย์
การศึกษาพิเศษ ๙ ประเภทความพิการ ประกอบด้วย เด็กท่ีมคี วามบกพร่องทางการเห็น เด็กท่ีมคี วามบกพร่อง
ทางการไดย้ นิ เดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา เดก็ ทม่ี ีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคลือ่ นไหว หรือ
สุขภาพ เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา เด็กที่มีความ
บกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เดก็ ออทสิ ติก และเด็กพกิ ารซ้อน ที่มีอายุต้งั แตแ่ รกเกิดถึง ๖ ปี เพ่ือพัฒนา
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ ไดแ้ ก่ พฒั นาการดา้ นร่างกาย พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ พัฒนาการด้าน
สังคม พัฒนาการด้านสติปัญญา และพัฒนาการด้านทักษะจำเป็นเฉพาะความพิการ รวมทั้งกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือ กระตุ้น
พฒั นาการ และพัฒนาศักยภาพ ใหเ้ ทยี บเคยี งกับพัฒนาการเดก็ ทัว่ ไปให้มากท่ีสุด และตามความต้องการจำเป็น
พเิ ศษ สำหรบั เด็กพกิ ารแตล่ ะประเภท ดงั นี้

๑. เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น ได้แก่ เด็กเห็นเลือนราง และเด็กตาบอด มุ่งพัฒนาทักษะการใช้
ประสาทสมั ผสั ที่เหลืออยู่ เช่น การมองเห็น การไดย้ ิน การสมั ผสั การดมกลนิ่ ฯลฯ โดยเดก็ เห็นเลอื นราง ฝึกใช้
อุปกรณ์ช่วยการเหน็ เช่น แว่นขยาย เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ขยายข้อความ และภาพ สำหรับเด็กตาบอด ฝึกการ
สร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหว การเดินทางของคนตาบอด การใช้ลูกคิด การเตรียม
ความพร้อมการอ่าน และการเขยี น อักษรเบรลล์ไทย

๒. เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ได้แก่ เด็กหูตึง และเด็กหูหนวก โดยเด็กหูตึง ฝึกฟัง ฝึกพูด
ฝึกการใช้เครื่องช่วยฟัง ฝึกการใช้ประสาทหูเทียม สำหรับเด็กหูหนวก ฝึกการใช้ภาษามือการอ่านริมฝีปาก
การสะกดน้ิวมอื

๓. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา มุ่งเน้นฝึกปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การรับผิดชอบงานบ้าน
การดแู ลสุขอนามยั ส่วนบุคคล และความปลอดภัยในชีวติ ประจำวนั

๔. เด็กทม่ี ีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหวหรือสุขภาพ ฝกึ การใชอ้ ุปกรณ์เคร่ืองช่วยเดิน
กายอุปกรณ์เสริม กายอุปกรณ์เทียม อุปกรณ์ดัดแปลง สิ่งอำนวยความสะดวก และเทคโนโลยีสิ่งอำนวย
ความสะดวก รวมถงึ การดูแลสุขอนามัยสว่ นบุคคล เพ่ือปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ น

๕. เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ฝึกให้มีความสามารถในการรับรู้การได้ยิน การเห็น
การจัดลำดับความคิด การจัดระเบียบตนเอง การบอกตำแหน่ง/ทิศทาง การใช้เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความ
สะดวก เครื่องช่วยในการเรียนรู้ ทักษะด้านการอ่าน ทักษะด้านการเขียน ด้านการคิดคำนวณ และทักษะด้าน
พฤติกรรมทวั่ ไป

๖. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา ฝึกการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารโดยการฝึกทักษะ
การฟัง การพูด การอา่ น การเขยี น การใชร้ ปู ภาพสญั ลักษณ์ในการสื่อสาร

๗. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ฝึกการควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก ความสนใจ
การตอบสนองตอ่ สิง่ เรา้ เพื่อลดพฤตกิ รรมทไ่ี มพ่ ึงประสงค์ และปฏิบัติตามกตกิ าของสังคมได้อย่างเหมาะสม

๘. เด็กออทิสติก ฝึกการเข้าใจภาษา การแสดงออกทางภาษา อารมณ์ ความรู้สึก ฝึกการมีปฏิสมั พันธ์
ทางสังคม ความสนใจ การตอบสนองต่อสิ่งเร้า การลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ การปฏิบัติตามกติกาของ
สังคม การเลยี นแบบ การหลกี หนีจากอันตราย

8

๙. เด็กพิการซ้อน ฝึกโดยเน้นความบกพร่องที่จะพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้าน
อนื่ ทสี่ ง่ ผลตอ่ การดำรงชีวิต

ทั้งนี้ การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยสำหรับเด็กพิการแต่ละประเภท ครู และผู้ปกครองควรเลือกใช้
เทคนิค วิธีสอน สื่อ และเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก ท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับระดับ และประเภทความ
พิการ สำหรับเด็กพิการอายุต่ำกว่า ๓ ปี เน้นให้ครอบครัวมีบทบาทสำคัญในการดูแล ช่วยเหลือ กระตุ้น
พัฒนาการในระยะแรกเริ่ม ส่วนเด็กพิการอายุ ๓-๖ ปี เน้นให้ศูนย์การศึกษาพิเศษร่วมกับคณะสหวิชาชีพ
ครอบครัว และชมุ ชน พัฒนาศักยภาพ และเตรียมความพรอ้ มให้กบั เด็กพิการ

1

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยสำหรับเด็กท่ีมคี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ
…………………………

การศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี
บริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวมบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ที่สนองต่อ
ธรรมชาติ และพัฒนาการตามสภาพความพิการของเด็กแต่ละบุคคลให้เต็มศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคม และ
วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐาน คุณภาพ
ชวี ติ ใหเ้ ดก็ พัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบรู ณ์ เกิดคุณคา่ ตอ่ ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ

วิสยั ทศั น์

หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรบั เด็กท่ีมีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ มงุ่ พัฒนาเดก็ ทุกคนให้ได้รับการ
พัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา และทักษะที่จำเป็นสำหรับเด็กพิการ แต่ละประเภท อย่าง
มีคุณภาพ และต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุข และเหมาะสมตามศักยภาพ มี
ทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสำนึกความเป็นไทย โดย
ความร่วมมอื ระหว่างสถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝ่ายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการพัฒนาเดก็

ภารกิจ

หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ของศูนย์การศึกษา
พิเศษประจำจงั หวัดระนอง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ มีหลักการสำคัญ ดงั น้ี

๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ของศูนย์
การศกึ ษาพเิ ศษประจำจังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามขนั้ ตอนการพฒั นาหลักสตู ร

๒. ส่งเสริมให้เด็กที่มคี วามต้องการจำเป็นพิเศษ ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
แบบองค์รวม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นจากการใชห้ ลักสูตรท่ีตรงตามประเภทความพิการ

๓. ส่งเสรมิ และพัฒนาเด็กท่ีมีความต้องการจำเปน็ พิเศษให้มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์โดยใช้รูปแบบ
และกระบวนการที่มีความหลากหลายผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่เหมาะสมกับอายุพัฒนาการ และประเภท
ความพิการ

๔. ส่งเสริม และพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใด
ทางการศกึ ษา ใหต้ รงกบั ความต้องการจำเป็นพิเศษเฉพาะบุคคล

๕. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับครอบครัว คณะสหวิชาชีพ สถานศึกษา ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องในการ
พัฒนาเดก็ พกิ าร

๖. จัดการศึกษาให้กับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาท่ี
กำหนด

2

เป้าหมาย

๑. เพอ่ื ใหศ้ นู ย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวดั ระนองมีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีความเหมาะสมกับเด็กที่
มคี วามต้องการจำเป็นพเิ ศษระดบั ปฐมวยั

๒. เพื่อให้เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ได้รับการพัฒนาแบบองค์รวม เต็มตามศักยภาพ และ
สามารถดำรงชีวิตอยูร่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข

๓. เพื่อให้เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้รับการพัฒนารูปแบบ
และกระบวนการทหี่ ลากหลายผา่ นกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนทีเ่ หมาะสมกบั วัย และพัฒนาการ

๔. เพ่ือใหเ้ ดก็ ทมี่ ีความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับส่ือ สง่ิ อำนวยความสะดวก ทเ่ี หมาะสมตรงตามความ
ต้องการจำเปน็ พิเศษเฉพาะบุคคล

๕. เพื่อให้ครอบครัว นักสหวิชาชีพ ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพเด็กที่มี
ความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษใหม้ พี ฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพ สามารถดำรงชีวิตในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

๖. เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาให้เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่าง
ทั่วถึง และมคี ุณภาพ

หลกั การจดั การศึกษาปฐมวยั

เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลีย้ งดู และการส่งเสริมพัฒนาการ ตามอนุสัญญาวา่ ดว้ ยสทิ ธิเดก็
ตลอดจนได้รบั การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้อยา่ งเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดรี ะหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับ
ผสู้ อน เดก็ กบั ผเู้ ลยี้ งดู หรอื ผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั การอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และให้การศึกษาแกเ่ ด็กปฐมวัย เพื่อให้
เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดับขั้นของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็มตาม
ศักยภาพ โดยกำหนดหลกั การ ดงั น้ี

๑. ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาการที่ครอบคลุมเดก็ ปฐมวัยทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาที่เน้นเดก็ เป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บคุ คล และวิถชี วี ิตของเด็กตามบริบทของชมุ ชน สังคม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการ และการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย ได้ลงมือกระทำใน
สภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ เหมาะสมกบั วัย และมีการพกั ผ่อนเพียงพอ
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถดำรงชวี ิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เปน็ คนดี มีวนิ ัย และมีความสุข
๕. สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และประสานความรว่ มมือในการพฒั นาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่
ครอบครัว ชมุ ชน และทกุ ฝ่ายท่ีเกีย่ วขอ้ งการการพัฒนาเด็กปฐมวัย

3

จุดหมายการศึกษาปฐมวยั

หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ มุ่งใหเ้ ดก็ ท่ีมีความต้องการจำเป็น
พิเศษมพี ัฒนาการเต็มตามศักยภาพ และมคี วามพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จึงกำหนดจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับเด็ก
เมอ่ื จบการศึกษาระดับปฐมวัย ดงั นี้

จดุ หมาย
๑. มรี า่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัย แขง็ แรง และมีสขุ นสิ ยั ที่ดี
๒. มสี ุขภาพจติ ดี มสี ุนทรยี ภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และจติ ใจทดี่ งี าม
๓. มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
อยา่ งมีความสขุ
๔. มีทกั ษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกับวยั

กลมุ่ เป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายตามหลักสูตรปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ตามประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่องกำหนดประเภท และหลักเกณฑข์ องคนพิการทางการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๒

๑. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น ได้แก่ บุคคลที่สูญเสียการเห็นตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงตา
บอดสนิท ซ่งึ แบง่ เปน็ ๒ ประเภทดังนี้

๑.๑ คนตาบอด หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นมาก จนต้องใช้สื่อสัมผัส และสื่อเสียง
หากตรวจวดั ความชัดของสายตาข้างดีเมือ่ แกไ้ ขแลว้ อยูใ่ นระดับ ๖ สว่ น ๖. (๖/๖๐) หรือ ๒๐ ส่วน ๒๐๐ (๒0/
๒๐๐) จนถึงไม่สามารถรบั รเู้ รือ่ งแสง

๑.๒ คนเห็นเลือนราง หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็น แต่ยังสามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์
ขยายใหญ่ด้วยอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ หรือเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก หากวัดความชัดเจนของ
สายตาข้างดเี มอื่ แก้ไขแลว้ อยใู่ นระดบั ๖ ส่วน ๓๘ (๖/๑๘) หรือ ๒๐ สว่ น ๗o (๒๐/๓๐)

๒. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ไดแ้ ก่ บุคคลทส่ี ูญเสียการได้ยินตั้งแต่ระดับหูตึงน้อยจนถึง
หูหนวก ซงึ่ แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ การไดย้ นิ มากจนไม่สามารถเข้าใจการพูด

๒.๑ คนหูหนวก หมายถึง บุคคลที่โดยทั่วไปหากตรวจการได้ยินจะมีการสูญเสียผ่านทางการ
ได้ยินไมว่ า่ จะใส่หรือไม่ใสเ่ คร่ืองช่วยฟังการได้ยิน ๙๐ เดซเิ บลขน้ึ ไปทางการได้ยิน โดยท่วั ไปจะใส่เครื่องช่วยฟัง
ซึง่ หากตรวจวัดการได้ยินจะมีการสูญเสียการได้ยิน

๒.๒ คนหูตึง หมายถึง บุคคลที่มีการได้ยินเหลืออยู่เพียงพอที่จะได้ยินการพูดผ่านทางการได้
ยิน โดยทั่วไปจะใส่เครือ่ งชว่ ยฟัง ซึ่งหากตรวจวัดการได้ยินจะสญู เสียการได้ยิน น้อยกว่า ๙๐ เดซิเบลลงมา ถึง
๒๖ เดซเิ บล

๓. บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ได้แก่ บุคคลที่มีความจำกัดอย่างชัดเขนในการปฏิบัติตน
ในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่ ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยอย่าง
มีนัยสำคัญร่วมกับความจำกัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย ๖ ทักษะ จาก ๑๐ ทักษะ ได้แก่ การส่ือ
ความหมายการดูแลตนเอง การดำรงชีวิตภายในบ้าน ทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การรู้จักใช้
ทรัพยากรในชุมชน การรจู้ กั ดแู ลควบคุมตนเอง การนำความรูม้ าใช้ในชีวิตประจำวันการทำงาน การใช้เวลาว่าง
การรักษาสุขภาพอนามัย และความปลอดภยั ทัง้ น้ีไดแ้ สดงอาการดังกล่าวกอ่ นอายุ ๑๘ ปี

4

๔. บคุ คลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกายหรอื การเคลอ่ื นไหวหรอื สขุ ภาพ ซ่งึ แบ่งเปน็ ๒ ประเภทดงั น้ี
๔.๑ บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว ได้แก่ บุคคลที่มีอวัยวะไม่สม

สว่ นหรอื ขาดหายไป กระดกู หรอื กล้ามเนื้อผิดปกติ มีอปุ สรรคในการเคล่ือนไหว ความบกพรอ่ งดังกลา่ วอาจเกิด
จากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเนื้อ และกระดูก การไม่สมประกอบ มาแต่กำเนิด อุบัติเหตุ
และโรคติดตอ่

๔.๒ บุคคลที่มีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ บุคคลที่มีความเจ็บป่วยเรื้อรังหรือ มีโรค
ประจำตัวซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ซึ่งมีผลทำให้เกิดความ
จำเป็นตอ้ งได้รบั การศึกษาพิเศษ

๕. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ได้แก่ บุคคลที่มีความผิดปกติในการทำงานของสมอง
บางส่วนที่แสดงถึงความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้ที่อาจเกิดขึ้นเฉพาะความสามารถด้านใด ด้านหนึ่งหรือ
หลายด้าน คือ การอา่ น การเขยี น การคิดคำนวณ ซ่ึงไม่สามารถเรยี นรู้ในดา้ นท่ีบกพร่องได้ ท้ังที่มีระดับสติปัญญา
ปกติ

๖. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา ได้แก่ บุคคลที่มีความบกพร่องในการเปล่ง
เสียงพูด เช่น เสียงผิดปกติ อัตราความเร็ว และจังหวะการพูดผิดปกติ หรือบุคคลที่มีความบกพร่อง ในเรื่อง
ความเข้าใจหรือการใช้ภาษาพูด การเขียนหรือระบบสัญลักษณ์อื่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งอาจเกี่ ยวกับ
รูปแบบ เนอ้ื หา และหนา้ ท่ขี องภาษา

๗. บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ได้แก่บุคคลที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจาก
ปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมนั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องหรือความ
ผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในส่วนของการรับรู้ อารมณ์หรือความคิด เช่น โรคจิตเภท โรคซึมเศร้า โรคสมอง
เสอ่ื ม เป็นต้น

๘. บุคคลออทิสติก ได้แก่ บุคคลที่มีความผิดปกติของระบบการทำงานของสมองบางส่วนซึ่งส่งผลตอ่
ความบกพรอ่ งทางพัฒนาการด้านภาษา ดา้ นสังคม และการปฏสิ มั พันธท์ างสงั คม และมีขอ้ จำกดั ด้านพฤติกรรม
หรอื มคี วามสนใจจำกดั เฉพาะเร่อื งใดเร่ืองหนึ่ง โดยความผิดปกตินั้นค้นพบไดก้ ่อนอายุ ๓๐ เดือน

๙. บุคคลพิการช้อน ได้แก่ บุคคลที่มีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่าหนึ่งประเภทใน
บุคคลเดยี วกัน

5

มาตรฐานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยสำหรบั เดก็ ทีม่ ีความต้องการจำเป็นพิเศษ กำหนดมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึง
ประสงคส์ าหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี ดังน้ี

๑. พัฒนาการด้านรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั และมสี ุขนิสัยทดี่ ี
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอ้ื ใหญ่ และกล้ามเนอ้ื เล็กแข็งแรง ใชไ้ ดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และประสาน

สมั พนั ธ์กัน
๒. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คอื

มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจิตดี และมีความสขุ
มาตรฐานท่ี ๔ ชืน่ ชม และแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตใจทด่ี ี
๓. พฒั นาการดา้ นสังคม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิต และปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
๔. พฒั นาการด้านสติปญั ญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวยั
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเ่ี ป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรคต์ ามศกั ยภาพ
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกับวยั
๕. ดา้ นทักษะจำเปน็ เฉพาะความพิการ ประกอบด้วย ๑ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๑๓ มีการพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความพิการแต่ละประเภทในมาตรฐานน้ี
แบ่งมาตรฐานได้ ๘ ประเภทความพิการ คอื
มาตรฐานที่ ๑๓.๑ มีการพฒั นาทกั ษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการเห็น
มาตรฐานท่ี ๑๓.๒ มกี ารพฒั นาทกั ษะจำเป็นเฉพาะความความบกพร่องทางการไดย้ ิน
มาตรฐานที่ ๑๓.๓ มีการพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางสติปญั ญา
มาตรฐานที่ ๑๓.๔ มีการพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางร่างกายหรือ
การเคล่ือนไหวหรอื สขุ ภาพ
มาตรฐานท่ี ๑๓.๕ มกี ารพัฒนาทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ ๑๓.๖ มกี ารพัฒนาทักษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการพูด และภาษา
มาตรฐานท่ี ๑๓.๗มกี ารพฒั นาทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ์
มาตรฐานที่ ๑๓.๘ มกี ารพฒั นาทักษะจำเปน็ เฉพาะบุคคลออทิสตกิ

6

ตวั บ่งชี้
ตัวบ่งชี้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะ

ที่พึงประสงค์

สภาพท่ีพงึ ประสงค์
สภาพที่พงึ ประสงค์เปน็ พฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยท่ีคาดหวงั ใหเ้ ด็กเกิด บนพ้นื ฐานพฒั นาการ

ตามวัยหรอื ความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดบั อายุ เพ่ือนาไปใชใ้ นการกำหนดสาระการเรียนรู้ในการจัด
ประสบการณ์ และประเมินพัฒนาการเด็ก โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้
และสภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ดังนี้

การวิเคราะหม์ าตรฐา

พัฒนาก

มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โต และมีสุขนสิ ัยท่ีดี

ตวั บ่งชี้ ๑.๑ น้ำหนัก สว่ นสูง และเสน้ รอบศีรษะตามเกณฑ์

สภาพท

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ป)ี

๑. มนี ำ้ หนัก และสว่ นสูงตามเกณฑ์ ๑. มีน้ำหนักตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

2. มีเส้นรอบศรี ษะตามเกณฑ์ ๒. มีส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามยั

ตัวบ่งช้ี ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัยสขุ นสิ ยั ทดี่ ี

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

1. มีภูมิต้านทานโรค ไม่ป่วยบ่อย 1. ยอมรับประทานอาหารทีม่ ีประโยช

ขับถ่ายเป็นเวลา รับประทานอาหาร และด่ืมน้าทส่ี ะอาดเมอื่ มีผ้ชู แี้ นะ

นอน และพกั ผ่อนเหมาะสมกับวัย 2. ล้างมือก่อน-หลังรับประทานอาหา

๒. กิจกรรมการเคลื่อนไหวสอดคล้อง และหลังจากขบั ถ่าย การใชห้ ้องนา้ ห้อ

ตามพัฒนาการ ส้วมเมื่อมผี ้ชู ้แี นะ

๓. ดูแลสุขภาพช่องปาก และฟันโดยม

ชีแ้ นะ

๔. นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา

๕. ออกกำลังกายอยา่ งสม่ำเสมอ

7

านคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
การดา้ นรา่ งกาย

ทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๔-๕ ปี) ๑. มนี ้ำหนักตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
๒. มสี ว่ นสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย
๑. มนี ำ้ หนกั ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
๒. มีสว่ นสูงตามเกณฑข์ องกรมอนามัย

ทีพ่ ึงประสงค์

อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ป)ี

ชน์ 1. รับประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน์ และ 1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ตาม

ด่มื น้ำสะอาดดว้ ยตนเอง หลักโภชนาการอาหารหลัก 5 หมู่ และ

าร 2. ล้างมือก่อน-หลังรับประทานอาหาร ดืม่ นา้ สะอาดได้ดว้ ยตนเอง

อง และหลังจากขับถ่าย การใช้ห้องนา้ ห้อง 2. ล้างมือก่อน-หลังรับประทานอาหาร

สว้ มไดด้ ้วยตนเอง และหลังจากขับถ่าย การใช้ห้องนา้ ห้อง

มีผู้ ๓. ดูแลสุขภาพช่องปาก และฟันโดย ส้วมได้ดว้ ยตนเอง

การบ้วนปาก/แปรงฟันได้ด้วยตนเอง ๓. ดูแลสุขภาพช่องปาก และฟันโดย

๔. นอนพักผ่อนเป็นเวลา การแปรงฟนั ได้ดว้ ยตนเอง

๕. ออกกำลงั กายเปน็ เวลา ๔. นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา

๕. ออกกำลังกายเปน็ เวลา

ตัวบง่ ช้ี ๑.๓ รกั ษาความปลอดภัยของตนเองและผอู้ น่ื

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

- 1. เล่น และทำกิจกรรมอย่างปลอดภ

เม่ือมีผูช้ ้ีแนะ

มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ที่ ๒ กล้ามเน้อื ใหญ่ และกล้ามเน้ือเล็กแข็งแร

ตัวบ่งช้ี ๒.๑ เคล่ือนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์ และทรงตัวได

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

1. นอนหงาย และหันหน้าไปข้างใดข้าง 1. เดนิ ตามทศิ ทางทีก่ ำหนดได้

หนงึ่ ได้ 2. กระโดดสองขาขึ้นลงบนพื้นต่างระด

2. พลกิ ตะแคงตัวไปด้านซ้าย และขวาได้ ได้

3. นอนคว่ำยกศีรษะ และหันไปข้างใด 3. กระโดดขา้ มสง่ิ กดี ขวางได้

ขา้ งหนึ่งได้ 4. วง่ิ แลว้ หยดุ ได้ตามทีก่ ำหนด

4. นอนควำ่ ยกศรี ษะ และอกพน้ พนื้ 5. รับลกู บอลโดยใชม้ อื และลำตัวชว่ ย

5. ยนั หนา้ อกพน้ พืน้ โดยใชแ้ ขนชว่ ย ๖. ยนื ขาเดยี ว 3 วนิ าที

6. น่งั ไดโ้ ดยต้องมีผู้ประคอง นงั่ โดยใช้มือ ๗. ยืนขาเดยี ว 5 วนิ าที

ยนั พ้ืนดว้ ยตนเอง ๘. ใช้แขนรบั ลกู บอลได้

7. นั่งหลังตรง และเอี้ยวตัวใช้มือเล่นได้ ๙. สามารถว่ิงขา้ มส่ิงกีดขวางได้

อยา่ งอสิ ระ ๑๐. สามารถวง่ิ หลบหลีกส่ิงกดี ขวางได้

8. คลานโดยใชม้ ือ และเขา่ ๑๑. สามารถวง่ิ อย่างมีเป้าหมายได้

9. เมื่อจับยืนเริ่มลงน้ำหนักที่เท้าทั้งสอง ๑๒. กระโดดขาเดยี วได้อย่างน้อย 2 คร
ขา้ งได้

8

ท่พี งึ ประสงค์

อายุ (๔-๕ ป)ี อายุ (๕-๖ ปี)

ภัย 1. เล่น และทำกิจกรรมอย่างปลอดภัย 1. เล่น ทำกิจกรรม และปฏิบัติต่อผู้อ่ืน

ด้วยตนเอง อย่างปลอดภัย

รง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว และประสานสัมพันธก์ นั

ด้

ที่พงึ ประสงค์

อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

1. เดนิ ต่อเทา้ ไปข้างหนา้ เปน็ เส้นตรงได้ 1. เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรงได้โดย

ดับ โดยไมต่ อ้ งกางแขน ไม่ต้องกางแขน

2.เดินต่อสน้ เท้า 2. กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้อย่าง

3. กระโดดขาเดยี วอยู่กับท่ีได้ โดยไม่เสีย ต่อเนือ่ งโดยไม่เสยี การทรงตัว

การทรงตวั 3. วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่าง

4. กระโดดสองเท้าพร้อมกันไปดา้ นหน้า คล่องแคลว่

และถอยหลงั ได้ 4. รับลูกบอลทกี่ ระดอนขนึ้ จากพนื้ ได้

5. วงิ่ หลบหลีกสิ่งกดี ขวางได้ ๕. กระโดดขาเดียวไปข้างหน้า 4 ครั้ง ที

6. รับลกู บอลโดยใชม้ อื และลำตวั ชว่ ย ละขา้ ง

7. รบั ลกู บอลโดยใช้มอื ทั้งสองขา้ ง ๖. สามารถกระโดดไปดา้ นหนา้ เองได้
8.จับดนิ สอได้ถูกต้อง
๗. สามารถกระโดดไปด้านข้างได้
๙. กระโดดสองเท้าพร้อมกนั ไปด้านขา้ ง ๘. สามารถกระโดดถอยหลงั ได้
รงั้ และถอยหลังได้
๙. สามารถกระโดดจากท่ีสูงลงพื้นท่ีต่ำ

กวา่

อายุ (๐-๓ ปี) สภาพท
อายุ (๓-๔ ปี)
10. ยนื เกาะเคร่อื งเรือนสงู ระดบั อกได้
11. ยืนทรงตวั (ต้ังไข)่ ได้ชว่ งส้ัน ๆ
12. หยอ่ นตัวลงน่ังจากท่ายืน
13. ลกุ ขน้ึ ยืนด้วยตนเอง
14. ยืนไดเ้ องอยา่ งอสิ ระ
15. ยนื แลว้ กม้ ลงหยิบของที่พ้ืนได้
16. เกาะเดนิ ไปด้านข้าง และดา้ นหน้าได้
17. เดินได้เองโดยปล่อยแขนเป็นอิสระ
และแกว่งแขนตามสบาย
18. เรม่ิ วิง่ หรือเดนิ เรว็ ๆ ได้
19. เดินขึ้นบันได โดยมือข้างหนึ่งจับราว
บันไดอกี มือจับมือผูใ้ หญ่กา้ วเท้าโดยมีการ
พกั เท้าในข้ันเดียวกัน
20. วง่ิ และหยดุ ไดท้ ันที และเรม่ิ วิ่งใหม่
21. น่งั ยอง ๆ เล่น โดยไม่เสยี การทรงตวั
22. เดินถอยหลังได้
23. เดินขึ้นลงบันได โดยมือข้างหนึ่งจับ
ราว และก้าวเท้าโดยมีการพักเท้าในข้ัน
เดยี วกนั
24. กระโดดอยู่กับที่ โดยเท้าทั้งสองข้าง
ลอยพน้ พื้น
25. ยืนขาเดยี วได้

9

ที่พึงประสงค์

อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

๑๐. สามารถกระโดดไปข้างหน้าโดยชว่ ย ๑๐. สามารถกระโดดจากทตี่ ำ่ ข้ึนส่ทู ี่สูงได้

พยุงได้ ๑๑. สามารถกระโดดข้ามส่งิ กีดขวางได้

๑๑. สามารถโยนลูกบอลได้ ๑๒. สามารถกระโดดขาเดียวอยู่กบั ท่ไี ด้

๑๒. สามารถรับลูกบอลได้ ๑๓. สามารถกระโดดขาเดียวไปในทิศทาง

๑๓. เดินต่อสน้ เท้า ต่าง ๆ ไดต้ ดิ ตอ่ กัน

๑๔. เดินตอ่ เทา้ เป็นเสน้ ตรงไปขา้ งหนา้ ได้ ๑๔. วง่ิ หลบหลีกสิง่ กดี ขวางได้

๑๕. เคลอ่ื นไหวร่างกายตามท่ีตกลงกันให้

คู่กับสัญญาณเสียงที่ผู้ใหญ่ทำขึ้น 2 ชนิด

ตอ่ กัน

อายุ (๐-๓ ป)ี สภาพท
อายุ (๓-๔ ปี)
๒๖. ทา่ นอนควำ่ ยกศีรษะตั้งข้นึ ได้ 45
องศา นาน 3 วินาที
๒๗. สามารถควบคุมศีรษะให้อยู่ในแนว
กงึ่ กลางได้
๒๘. สามารถควบคุมศีรษะเมื่อยกลำตัว
ข้นึ จากทา่ นอนหงายได้
๒๙. ท่านอนคว่ำยกศีรษะและอกพ้นพื้น
โดยใชแ้ ขนชว่ ย
๓๐. สามารถเคลือ่ นไหวแขนได้
๓๑. สามารถเคลื่อนไหวขาได้
๓๒. สามารถยกศีรษะไปด้านใดด้านหน่ึง
ขณะนอนคว่ำได้
๓๓. สามารถพลิกตะแคงซ้าย-ขวาได้
๓๔. สามารถพลิกตะแคงตัวคว่ำและ
หงายได้
๓๕. ยันตัวขึ้นจากท่านอนคว่ำโดยเหยียด
แขนตรงทัง้ สองข้างได้
๓๖. สามารถชันคอได้
สามารถควบคุมศีรษะให้ตั้งตรง (ในท่าน่ัง
โดยผู้อืน่ ช่วยเหลอื ) ได้
๓๗. สามารถนั่งโดยใช้มือทั้งสองข้างยัน
พนื้ ได้

ท่ีพึงประสงค์ 10
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๐-๓ ป)ี สภาพท
อายุ (๓-๔ ป)ี
๓๘. สามารถนั่งโดยใช้มือ ๑ ข้างยันพื้น
ได้
๓๙. น่ังได้มนั่ คง และเอีย้ วตัวใช้มือเล่นได้
อย่างอิสระ (sit stable)
๔๐. ยืนเกาะเครื่องเรือนสูงระดบั อกได้
๔๑. สามารถคืบได้
๔๒. สามารถคลานได้
๔๓. สามารถนัง่ ได้อยา่ งอสิ ระ
๔๔. สามารถเปล่ียนท่านอนตะแคงเป็น
นัง่ ได้
๔๕. สามารถเออื้ มมือหยิบวัตถุทางด้าน
หน้าไดใ้ นท่าน่งั
๔๖. สามารถเอ้ือมมือหยิบวัตถุ ทาง
ด้านข้างได้ในท่าน่งั
๔๗. สามารถเอือ้ มมือหยิบวัตถุจากที่สูง
ไดใ้ นท่าน่งั
๔๘. สามารถเอย้ี วตัวใช้มอื เลน่ อย่างอสิ ระ
ในทา่ นง่ั ได้
๔๙. สามารถกลงิ้ ลูกบอลขณะอยู่ในท่าน่ัง
ได้
๕๐. ลกุ ขึ้นน่ังได้จากท่านอน

ท่ีพึงประสงค์ 11
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๐-๓ ปี) สภาพท
อายุ (๓-๔ ปี)
๕๑. สามารถนั่งเก้าอ้ีโดยมีการช่วยเหลือ
ได้
๕๒. สามารถน่ังเก้าอ้ไี ดอ้ ย่างอิสระ
๕๓. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเออื้ มมือ
หยิบวตั ถุทางด้านหน้าได้
๕๔. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอ้ือมมือ
หยิบวตั ถทุ างด้านขา้ งได้
๕๕. ยนื นาน 2 วนิ าที
๕๖. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอื้อมมือ
หยบิ วัตถุจากท่ีสงู ได้
๕๗. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอ้อื มมือ
หยิบวตั ถทุ างระดบั ต่ำได้
๕๘. สามารถนั่งบนเก้าอี้แล้วเอื้อมมือ
หยิบวตั ถุทางด้านหลังได้
๕๙. สามารถเอี้ยวตัวและใช้มือเล่นอย่าง
อสิ ระในทา่ นั่งได้
๖๐. สามารถยืนโดยอิสระด้วยขาสองขา้ ง
ได้
๖๑. สามารถลกุ ยนื ขึน้ จากเกา้ อไี้ ด้
๖๒. สามารถลกุ ขึ้นยืนจากพน้ื ได้
๖๓. สามารถเกาะเดินไปดา้ นข้างได้
๖๔. สามารถเกาะเดนิ ไปดา้ นหนา้ ได้

ท่ีพึงประสงค์ 12
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๐-๓ ป)ี สภาพท
อายุ (๓-๔ ป)ี
๖๕. ยืนอยู่ตามลำพังได้นานอย่างน้อย
10 วนิ าที
๖๖. สามารถเดนิ ได้
๖๗. เดนิ ลากของเล่น หรอื สิง่ ของได้
๖๘. วิง่ ได้
๖๙. เดนิ ถือลูกบอลไปไดไ้ กล 3 เมตร
๗๐. เหวย่ี งขาเตะลกู บอลได้
๗๑. สามารถเดินต่อส้นเท้าตามระยะทาง
ทก่ี ำหนดได้
๗๒. สามารถเดนิ บนเส้นตรงได้
๗๓. สามารถเดนิ บนคานทรงตวั ได้
๗๔. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยจับราว
บนั ได แบบพกั เทา้ ได้
๗๕. กระโดดเทา้ พ้นพนื้ ท้ัง 2 ขา้ ง
๗๖. สามารถยืนทรงตัวขาเดียวตามเวลา
ทีก่ ำหนดได้
๗๗. สามารถเดนิ ข้ามส่งิ กีดขวางได้
๗๘. กระโดดข้ามเชือกบนพื้นไปข้างหน้า
ได้
๗๙. ขว้างลูกบอลขนาดเล็กได้ โดยยกมือ
ขน้ึ เหนือศรี ษะ

ท่ีพึงประสงค์ 13
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๐-๓ ป)ี สภาพท
อายุ (๓-๔ ป)ี
๘๐. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยจับราว
บันได แบบสลับเทา้ ได้
๘๑. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยไม่จับ
ราวบนั ได แบบพกั เท้าได้
๘๒. สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดยไม่ จับ
ราวบันได แบบสลับเทา้ ได้
๘๓. ยนื ขาเดียว 1 วนิ าที
๘๔. สามารถวิง่ อยู่กับทไี่ ด้
๘๕. สามารถวงิ่ ไปขา้ งหน้าได้
๘๖. สามารถกระโดดโดยชว่ ยพยุงได้
๘๗. สามารถกระโดดเองโดยเท้าทั้งสอง
ลอยจากพื้นได้
๘๘. สามารถกระโดดสองขาอยู่กับที่ได้
อยา่ งต่อเนอ่ื ง

ท่ีพึงประสงค์ 14
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

ตวั บง่ ชี้ ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสานสมั พนั ธ์กนั

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

1. จ้องมอง และมองเห็นในระยะห่าง ๘-๑๒ 1. ใช้กรรไกรตัดกระดาษขาดจากกันไ

นวิ้ ได้ โดยใช้มอื เดยี ว

2. มองตามวัตถทุ เ่ี คล่อื นไหวได้ 2. เขียนรปู วงกลมตามแบบได้

3. กำหรอื จับสงิ่ ของท่ใี สใ่ หใ้ นมอื ได้ 3. รอ้ ยวสั ดุท่มี ีรขู นาดเส้นผา่ น

4. เออ้ื มคว้าใกล้ ๆ ตวั ได้ ศูนยก์ ลาง ๑ ชม. ได้

5. เปลี่ยนมือถือของได้ทีละมือ ๔. สามารถตอ่ วตั ถใุ นแนวนอนได้

6. มองตามของตกได้ ๕. สามารถต่อวัตถุตามแบบได้

7. จับของมากระทบกันด้วยมือ ๒ ข้างได้ ๖. สามารถปั้นดินน้ำมันแล้วคลึงเป

8. เริ่มใช้นิ้วหัวแม่มือนิ้วช้ี และนิ้วกลาง เส้นยาวได้

หยิบของชิน้ เล็ก ๆ ได้ ๗. สามารถปั้นดินน้ำมันแล้วคลึงเป

9. หยิบของใส่ และเอาออกจากภาชนะ ก้อนกลมได้

ได้ ๘. สามารถปั้นดินน้ำมันแล้วคลึงเป

10. ถอื กดั และเคย้ี วอาหารได้ด้วยตนเอง แผน่ แบนกลมได้

11. วางก้อนไม้ซ้อนกนั ได้ ๒ กอ้ น ๙. สามารถปั้นดินน้ำมนั ตามจินตนากา

12. เปิดหนงั สือทีละ ๓-๔ หนา้ ได้ ได้

13. วางก้อนไมซ้ ้อนกนั ได้ ๔-๖ ก้อน ๑๐. ตัดกระดาษรปู ส่เี หลยี่ มจัตรุ ัสขนา

14. เปดิ พลิกหนา้ หนังสือไดท้ ลี ะแผน่ 10 ซม. ออกเป็น 2 ชน้ิ (โดยใชก้ รรไก

15. จับสเี ทียนแทง่ ใหญ่เพ่ือขดี เขยี นได้ ปลายมน)

16. เลียนแบบลากเส้นเป็นวงต่อเนื่อง ๑๑. เลยี นแบบวาดรูป + (กากบาท)

หรอื เสน้ ตรงแนวดิง่ ได้ ๑๒. สามารถจดั ภาพตัดต่อลงในกรอบ

10. มองตามถงึ ก่ึงกลางลำตัว

15

ทีพ่ ึงประสงค์

อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ป)ี

ได้ 1. ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนว 1. ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน้

เสน้ ตรงได้ โคง้ ได้

2.เขยี นรูปวงกลมตามแบบได้ 2. เขยี นรปู สามเหลี่ยมตามแบบไดอ้ ย่าง

3. เขียนรูปสี่เหลีย่ มตามแบบได้อย่างมี มมี ุมชัดเจน

มุมชัดเจน 3. ร้อยวัสดทุ ม่ี รี ขู นาดเสน้ ผ่าน

4. ร้อยวัสดทุ ีม่ ีรูขนาดเส้นผา่ น ศนู ย์กลาง ๐.๒๕ ชม. ได้

ศูนยก์ ลาง ๐.๕ ชม. ได้ ๔. ลอกรปู

ป็น ๕. ประกอบช้ินส่วนของรูปภาพทีต่ ัด ๕. สามารถพบั กระดาษทีละครงึ่ ตาม

ออกเป็นส่วน ๆ 8 ชนิ้ ได้ แนวเสน้ ทแยงมมุ ได้

ป็น ๖. จับดินสอได้ถูกตอ้ ง ๖. สามารถตัดกระดาษตามรอยได้

๗. สามารถเตมิ แขนหรือขารูปคนทยี่ งั ไม่ ๗. สามารถตัดกระดาษตามรูป

ป็น สมบูรณไ์ ด้ เรขาคณติ ได้

๘. สามารถปะตดิ รปู ทรงเรขาคณิตลง

าร บนกระดาษได้

๙. สามารถประกอบภาพตัดต่อเข้า

าด ดว้ ยกนั ในกรอบได้

กร ๑๐. สามารถวาดรูปใบหนา้ คนท่มี ี

ส่วนประกอบอย่างน้อย ๓ ส่วนได้

๑๑. วาดรูปคนได้ 6 สว่ น

บได้ ๑๒. ตดั กระดาษเส้นตรงต่อเนอ่ื งยาว

15 ซม.

สภาพท

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ปี)

11. สามารถสบตากับผอู้ นื่ ทีอ่ ยตู่ รงหน้า ๑๓. สามารถจดั รปู เรขาคณติ ที่มขี นาด

ตามเวลาที่กำหนดได้ ต่างกนั ๓ ชนิ้ ลงในกรอบได้

12. มองตามผา่ นกึง่ กลางลำตวั ๑๔. สามารถวาดรูปท่ีประกอบด้วยเส้น

13. มองตามสิ่งของที่เคลื่อนที่ได้เป็น พืน้ ฐานได้

มุม 180 องศา

14. สามารถมองตามวัตถุหรือสิ่งของท่ี

เคลอ่ื นทไี่ ด้

15. สามารถมองหาเม่ือสิ่งของหายไป

จากสายตาได้

16. สามารถจ้องมองสิ่งของที่อยู่

ตรงหน้าไดต้ ามเวลากำหนด

17. สามารถจ้องมองวัตถุที่อยู่ทางด้าน

ซา้ ยและดา้ นขวาของผเู้ รยี นได้

18. สามารถจ้องมองวัตถุที่อยู่ด้านบน

และด้านลา่ งได้

19. เอื้อมมือหยิบ และถือวัตถุไว้ขณะ

อยใู่ นทา่ นอนหงาย

20. สามารถเอื้อมมือออกไปในทิศทาง

ตา่ ง ๆ ได้

21. สามารถเอ้อื มมือออกไปจบั วัตถุได้

22. สามารถควบคุมกล้ามเนื้อริมฝีปาก

ได้

ที่พงึ ประสงค์ 16
อายุ (๔-๕ ป)ี
อายุ (๕-๖ ปี)
ด ๑๓. สามารถพบั กระดาษเปน็ รูปต่าง ๆ
อยา่ งได้
น ๑๔. สามารถวาดรูปคนที่มีส่วนของ
ร่างกาย ๔ ส่วนขึน้ ไปได้

อายุ (๐-๓ ป)ี สภาพท
อายุ (๓-๔ ปี)
23. สามารถควบคุมการใช้ลิ้นได้
24. สามารถกลนื น้ำลายได้
25. จ้องมองไปที่หนังสือพร้อมกับ
ผู้ใหญ่นาน 2-3 วนิ าที
26. สามารถกำหรอื จับวัตถไุ ด้
27. สามารถกำและตอก หรือทุบวัตถุ
ได้
28. สามารถกำและบิดวัตถไุ ด้
29. ใช้นิ้วหัวแม่มือ และนิ้วอื่น ๆ หยิบ
ของขน้ึ จากพน้ื
30. จบี นว้ิ มอื เพื่อหยบิ ของช้ินเล็ก
31. สามารถจับและหมุนวัตถุที่มีขนาด
ตา่ ง ๆ ได้
32. สามารถแกะหรือฉีกวัตถุโดยใช้น้ิว
มือได้
33. สามารถสลับวัตถุที่อยู่ในมือจาก
ขา้ งหนง่ึ ไปยงั อีกข้างหน่ึงได้
34. สามารถหมุนเปิด-ปดิ วัตถไุ ด้
35. เปิดหนงั สอื ทท่ี ำดว้ ยกระดาษแข็งที
ละแผ่นเองได้
36. ตอ่ กอ้ นไม้ 2 ช้ัน

ท่ีพึงประสงค์ 17
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๐-๓ ปี) สภาพท
อายุ (๓-๔ ป)ี
37. สามารถนำวตั ถไุ ปปล่อยหรือวางใน
ภาชนะที่กำหนดได้
38. สามารถใส่วัตถุลงในภาชนะหรือ
อุปกรณต์ า่ ง ๆ ได้
39. สามารถขยบั ขากรรไกรได้
40. สามารถเคย้ี วอาหารได้
41. สามารถเปา่ ลมออกจากปากได้
42. สามารถดูดของเหลวโดยใช้หลอด
ดดู ได้
43. ต่อกอ้ นไม่สี่เหล่ียมลูกบาศก์เป็นหอ
สูงได้ 8 กอ้ น
44. สามารถร้อยวัตถุที่มีขนาดหรือ
รปู ทรงต่าง ๆ ได้
45. สามารถตอ่ วัตถใุ นแนวตั้งได้
46. สามารถจับดินสอ หรือสีเทียนเพื่อ
ขดี เขียนได้
47. สามารถเลียนแบบการลากเส้นได้
48. ประกอบชิ้นส่วนของรูปภาพที่ถูก
ตัดออกเปน็ 3 ช้ินได้
49. เขียนรูปวงกลมตามแบบได้

ท่ีพึงประสงค์ 18
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

พัฒนาการด

มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ที่ ๓ มสี ุขภาพจิตดี และมีความสุข

ตวั บง่ ช้ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

1. อารมณ์ดี ย้ิมแย้มหวั เราะง่าย 1. แสดงอารมณ์ความรู้สึกไดเ้ หมาะสม

แววตามคี วามสุข กับบางสถานการณ์

ตวั บ่งชี้ ๓.๒ มีความรู้สึกท่ดี ีตอ่ ตนเอง และผ้อู น่ื

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี

1. ยิ้ม และหวั เราะไดเ้ ม่ือพอใจ 1. กล้าพูดกล้าแสดงออก

2. สบตา จอ้ งหนา้ พอ่ แม่หรอื ผเู้ ล้ยี งดู 2. แสดงความพอใจในผลงานตน

3. ย้ิมทักทายเมื่อเห็นหนา้ คนคนุ้ เคย

4. แสดงอารมณท์ ่ีหลากหลายผ่านการสง่ เสยี ง

5. แสดงอารมณ์ตามความรสู้ ึก

6. แสดงความต้องการของตนเองมากขึ้น

7. แสดงความรักตอ่ ผู้อืน่

8. แสดงความภาคภูมใิ จเมื่อทำสิง่ ตา่ ง ๆ

สำเร็จ

19

ด้านอารมณ์ จติ ใจ

ทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ป)ี
อายุ (๔-๕ ปี)
1. แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้สอดคล้อง
ม 1. แสดงอารมณ์ความรสู้ กึ ได้ตาม กับสถานการณอ์ ย่างเหมาะสม
สถานการณ์

ทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ป)ี

อายุ (๔-๕ ปี) 1. กลา้ พดู กล้าแสดงออกอยา่ ง
เหมาะสมตามสถานการณ์
1. กล้าพูดกล้าแสดงออกอยา่ ง 2. แสดงความพอใจในผลงาน และ
นเอง เหมาะสมบางสถานการณ์ ความสามารถของตนเอง และผู้อืน่

2. แสดงความพอใจในผลงาน และ
ความสามารถของตนเอง

มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคท์ ่ี ๔ ชน่ื ชม และแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี

ตวั บง่ ช้ี ๔.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะดนตรี และการเคลื่อ

สภาพ

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ปี)

1. หยุดรอ้ งไห้เม่ือมคี นอุ้ม 1. สนใจ มีความสขุ และแสดง

2. มปี ฏิกิรยิ าโตต้ อบด้วยการเคลอ่ื น ไหว ผา่ นงานศลิ ปะ

รา่ งกายเมื่อเห็นหรอื ได้ยินเสียงคน และสง่ิ ท่ี 2. สนใจ มีความสุข และแสดง

คุ้นเคย ผ่านเสียงเพลง ดนตรี

3. ยิ้มทักทายแสดงอาการดีใจ เม่อื เห็นสิ่งที่ 3. สนใจ มคี วามสขุ และแสดง

ตัวเองพอใจ ทา่ ทาง/เคลอื่ นไหวประกอบเพ

4. จำหน้าแม่ และคนคุน้ เคยได้ จงั หวะ และดนตรี

5. เลน่ ของเลน่ ทม่ี เี สียงได้

6. แสดงออกถึงการรับร้อู ารมณ์ และความรสู้ ึก

ของผู้อืน่

7. เลียนแบบกิริยาท่าทางของผอู้ ืน่ อยา่ งงา่ ย ๆ

8. มองผใู้ หญ่หรอื เด็กคนอื่น ๆ ทำกจิ กรรม

อย่างใกล้ชิด

9. เร่ิมคุ้นเคยกบั คนอน่ื

10. ขอความชว่ ยเหลอื เมื่อต้องการ

11. ชอบการออกไปเทยี่ วนอกบ้าน

12. แสดงความเป็นเจ้าของ

13. สนใจหรือมคี วามสุขเมื่อไดย้ ินเสยี งดนตรี

๑๔. ร้องเพลงได้บางคำหรือร้องเพลงคลอตาม

ทำนอง

20

และการเคล่อื นไหว อายุ (๕-๖ ปี)
อนไหว
1. สนใจ มีความสุข และแสดงออก
พทพ่ี งึ ประสงค์ ผ่านงานศิลปะ
2. สนใจ มคี วามสุข และแสดงออก
อายุ (๔-๕ ป)ี ผา่ นเสยี งเพลง ดนตรี
3. สนใจ มคี วามสุข และแสดง
งออก 1. สนใจ มคี วามสุข และแสดงออก ทา่ ทาง/เคล่อื นไหวประกอบเพลง
ผ่านงานศิลปะ จังหวะ และดนตรี

งออก 2. สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออก
ผ่านเสยี งเพลง ดนตรี

ง 3. สนใจ มคี วามสุข และแสดง
พลง ทา่ ทาง/เคลือ่ นไหวประกอบเพลง

จงั หวะ และดนตรี

มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ที่ ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจทดี่ งี าม

ตัวบง่ ชี้ ๕.๑ ซ่อื สัตย์สุจริต

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี

1. บอกหรอื ช้ไี ด้วา่ สงิ่ ใดเป็นของตนเอง 1. ขออนุญาตหรือรอคอยเมอื่ ต้องการ

และสิ่งใดเป็นของผู้อื่น ส่ิงของของผู้อื่นเม่ือมผี ูช้ ีแ้ นะ

ตวั บ่งช้ี ๕.๒ มคี วามเมตตากรุณา มีน้ำใจ และชว่ ยเหลือแบ่งปัน

สภาพท

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ปี)

- 1. แสดงความรักเพ่ือน และมีเมตตา

สตั ว์เล้ียง

ตวั บ่งช้ี ๕.๓ มคี วามเห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืน สภาพท
อายุ (๓-๔ ปี)
อายุ (๐-๓ ปี) ๑. แสดงสีหนา้ หรอื ทา่ ทางรับรู้
ความรสู้ กึ ผอู้ ื่น
-

21



ท่พี ึงประสงค์ อายุ (๕-๖ ป)ี

อายุ (๔-๕ ปี) 1. บอกหรือชีไ้ ดว้ ่าส่ิงใดเป็นของตนเอง
และสิง่ ใดเปน็ ของผู้อน่ื
1. ขออนญุ าตหรือรอคอยเมือ่ ตอ้ งการ
สิง่ ของของผู้อ่นื ด้วยตนเอง

ที่พึงประสงค์ อายุ (๕-๖ ป)ี
อายุ (๔-๕ ปี)
1. แสดงความรกั เพ่ือน และมีเมตตา
1. แสดงความรักเพื่อน และมีเมตตา สัตว์เล้ียง
สตั ว์เลี้ยง

ที่พึงประสงค์ อายุ (๕-๖ ป)ี
อายุ (๔-๕ ป)ี
1. แสดงสหี นา้ และทา่ ทางรับรู้
1. แสดงสหี นา้ และท่าทางรับรู้ ความรู้สกึ ผู้อ่ืนอยา่ งสอดคล้องกบั
ความรูส้ ึกผู้อื่น สถานการณ์
๒. แสดงความเห็นอกเห็นใจเมื่อเห็น
เพื่อนเจ็บหรือไมส่ บาย
๓. แสดงความเห็นอกเหน็ ใจเม่ือเหน็
เพ่ือนเจบ็ หรือไมส่ บาย

ตวั บ่งชี้ ๕.๔ มคี วามรับผดิ ชอบ สภาพท

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ปี)
1. ทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมายจนสำเรจ็
เม่ือมีผชู้ ว่ ยเหลอื 1. ทำงานทไี่ ด้รับมอบหมายจนสำเร็จ
เม่ือมผี ชู้ แ้ี นะ
๒. ชว่ ยทำงานขนั้ ตอนเดียวเองได้

22

ท่ีพงึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ป)ี
อายุ (๔-๕ ป)ี
1. ทำงานท่ีได้รบั มอบหมายจนสำเร็จ
1. ทำงานทีไ่ ด้รับมอบหมายจนสำเร็จ เมอื่ มีผ้ชู ว่ ยเหลอื
ด้วยตนเอง ๒. ทำงานที่ไดร้ บั มอบหมายจนสำเรจ็
ดว้ ยตนเอง

พัฒนาก

มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ที่ ๖ มที ักษะชีวิต และปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั

ตัวบ่งช้ี ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจำวนั

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี

๑. ต้องการถือขวดนมดว้ ยตนเอง ๑. ถอดเสื้อผา้ ได้

๒. ดื่มน้ำจากแก้ว ๒. สวมเส้อื ผ้าดว้ ยตนเอง

๓. เคี้ยว และกลนื อาหารได้ด้วยตนเอง ๓. ชว่ ยเหลอื ตนเองในการแปรงฟัน

๔. หยิบอาหารกนิ ได้ ลา้ งมือ โดยมผี ู้ใหญ่ดูแล

๕. ใช้ช้อนตกั อาหารเขา้ ปากแตต่ กหลน่ ๔. บอกไดว้ ่าตนเองขบั ถ่าย

บา้ ง ๕. ช่วยเหลอื งานบ้านง่าย ๆ ได้

๖. ถอดเสื้อผ้างา่ ย ๆ ได้ ๖. ใสเ่ สอ้ื ยืดคอกลมได้เอง

๗. สวมเสื้อผา้ โดยมีคนช่วย ๗. ใสเ่ ส้ือผ้าผ่าหน้าได้เองโดยไมต่ ้องตดิ

๘. ใหค้ วามร่วมมอื เวลาแต่งตัว กระดุม

๙. ชว่ ยเหลอื ตนเองในการแปรงฟัน ล้าง ๘. ใสก่ ระดุมขนาดใหญ่อย่างนอ้ ย 2

มือโดยมผี ใู้ หญ่ดูแล ชม. ได้เอง 3 เม็ด

๑๐. บอกได้ว่าตนเองขบั ถ่าย

๑๑. ชว่ ยเหลืองานบ้านงา่ ย ๆ ได้

๑๒. ใชน้ ว้ิ หยบิ กินอาหารได้

๑๓. สามารถดูดของเหลวโดยใช้หลอดดูด

ได้

๑๔. ด่ืมน้ำจากถว้ ยโดยไม่หก

๑๕. สามารถดม่ื น้ำและนมจากแก้วดว้ ย

ตนเองได้

23

าการดา้ นสงั คม

ชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ที่พงึ ประสงค์

อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

๑. ถอดเส้ือผ้าได้ ๑. แต่งตัวด้วยตนเองได้ และ

๒. สวมเสอื้ ผ้าดว้ ยตนเอง คลอ่ งแคล่ว

๓. ช่วยเหลอื ตนเองในการแปรงฟนั ลา้ ง ๒. ชว่ ยเหลือตนเองในการแปรงฟัน ล้าง

มือ ได้ดว้ ยตนเอง มือ ได้ดว้ ยตนเอง

๔. ช่วยเหลืองานบ้านไดด้ ว้ ยตนเอง ๓. ชว่ ยเหลืองานบา้ นได้ด้วยตนเอง

๕. ทำความสะอาดตนเองหลงั จาก ๔. สามารถพับผ้า-เก็บผา้ ที่พับเขา้ ตูไ้ ด้

อุจจาระได้ ๕. ชว่ ยงานบ้านได้

ด ๖. เด็กแปรงฟันไดท้ ั่วทัง้ ปาก

๗. สามารถอาบนำ้ เชด็ ตวั ได้

อายุ (๐-๓ ปี) สภาพท
อายุ (๓-๔ ปี)
๑๖. สามารถกลนื อาหารได้
๑๗. สามารถเค้ียวอาหารได้
๑๘. สามารถใช้ชอ้ นตักอาหารเขา้ ปาก
ได้
๑๙. ใชช้ อ้ นตักอาหารกนิ เองได้
๒๐. ล้างและเชด็ มือได้เอง
๒๑. ใสก่ างเกงเองได้

ตัวบ่งช้ี ๖.๒ มีวินัยในตนเอง สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี
๑. เด็กรู้จกั รอใหถ้ ึงรอบของตนเองใน
การเลน่ โดยมีผู้ใหญ่คอยบอก ๑. เก็บของเล่น ของใชเ้ ข้าที่ เม่อื มีผู้
ช้ีแนะ
๒. เข้าแถวตามลำดบั ก่อน-หลังไดด้ ้วย
ตนเอง

ตวั บง่ ชี้ ๖.๓ ประหยดั และพอเพยี ง สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

- ๑. ใชส้ ิง่ ของเครอ่ื งใช้อย่างประหยัด
และพอเพยี งเม่ือมีผชู้ ี้แนะ

ท่พี ึงประสงค์ 24
อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ปี)

ท่ีพงึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ป)ี
อายุ (๔-๕ ปี)
๑. เก็บของเลน่ ของใชเ้ ข้าทอี่ ยา่ ง
๑. เก็บของเลน่ ของใชเ้ ข้าทด่ี ้วยตนเอง เรียบรอ้ ยด้วยตนเอง
๒. เข้าแถวตามลำดบั ก่อน-หลังไดด้ ้วย ๒. เข้าแถวตามลำดับก่อน-หลังได้ดว้ ย
ตนเอง ตนเอง

ทพี่ งึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๔-๕ ป)ี ๑. ใช้สงิ่ ของเคร่ืองใช้อย่างประหยัด
และพอเพยี งด้วยตนเอง
๑. ใชส้ ง่ิ ของเครอ่ื งใช้อยา่ งประหยัด 2. สามารถถูบ้านโดยใชไ้ ม้ถูพ้ืนได้
และพอเพียงเม่ือมีชแ้ี นะ


Click to View FlipBook Version