The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-11-09 03:54:50

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคญั

(6)แสดงสีหน้าท่าทางเกี่ยวกับอา

(7)เลน่ หรือทำกิจกรรมร่วมกับเพ่ือ

(8)ร่วมกิจกรรมกบั ผูอ้ ืน่ ในชมุ ชน

๓.๒ ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง (1) ร่วมกำหนดข้อตกลงกติกาแ

ของหอ้ งเรยี นและโรงเรียน ห้องเรียนและโรงเรียน

(2)ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีขอ

โรงเรียน

(3)ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติก

หอ้ งเรยี น และโรงเรยี น

๓.๓ ปฏิบัตติ นเหมาะสม (1)ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทของสงั คม

ตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ (2)แสดงบทบาทสมมุติ

(3)ใช้สื่อที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่า

พฤตกิ รรมที่ เหมาะสม

(4)รว่ มกจิ กรรมวนั สำคญั ต่าง ๆ

(5)ศึกษานอกสถานที่

(6)ทำกิจกรรมรว่ มกบั ผู้อน่ื

(7)ไปในสถานท่ีตา่ ง ๆ

(8) ทำกิจกรรมตามมมุ ต่าง ๆ

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๘.๔ สามารถใช้เทคโนโลยีส่งิ อำนวยความสะดวก เครอ่ื งช่วยในกา

4.๑ใช้อุปกรณ์ช่วยในการสื่อสาร (1) ใช้อปุ กรณ์ชว่ ยในการสือ่ สารท

ทางเลอื ก

201

แนวทางจัดกจิ กรรม

ารมณ์หน้ากระจก
อน

และเงื่อนไขของ (๑)ผู้สอนทำข้อตกลงร่วมกับนักเรียนภายในห้องให้ปฎิบัติตาม
ขอ้ ตกลงทตี่ ้งั ขึน้ รว่ มกัน

องห้องเรียนและ (๒) ผู้สอนสังเกตความรว่ มมอื ของนกั เรียนในห้อง

กิจกรรมต่าง ๆ ใน

ม (๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมบทบาทสมมุติในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยให้
นักเรียนในหอ้ งร่วมกันทำกจิ กรรม

านการเห็นชี้บอก (๒)ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในกิจกรรมบทบาทสมมตุ ิ

ารเรียนรู้ (1)ผู้สอนจัดกิจกรรโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและเกม
ทางเลือก การศึกษาโดยผู้สอนสาธิตการจัดการเรียนรู้และให้นักเรียนทำตาม
ต้งั แต่ต้นจนจบ
(๒)ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ

4.๒ใช ้อุปกรณ์ช่วยใน การ เข ้ า ถึ ง (1) ใช้อปุ กรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอ
คอมพวิ เตอรเ์ พ่ือการ เรียนรู้

4.๓ ใ ช ้ โ ป ร แ ก ร ม เ ส ร ิ ม ผ ่ า น (1) ใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิว
คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการ การเรียนรู้
เรียนรู้

202

แนวทางจัดกจิ กรรม

อมพวิ เตอร์ (๑ )ผ ู ้ ส อ น จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ใ ห ้ น ั ก เ ร ี ย น โ ด ย ใ ช ้ ส ื ่ อ ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร์

ช ่ ว ย ส อ น ใ ห ้ น ั ก เ ร ี ย น ไ ด ้ เ ร ี ย น ร ู ้ โ ด ย ผ ู ้ ส อ น ค อ ย ช ่ ว ย เ ห ลื อ

นกั เรียนอยู่ใกล้ ๆ

(๒) ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของผ้เู รยี นในการทำกิจกรรม

วเตอร์เพื่อช่วยใน (๑)ผู้สอนจัดทำสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่

ละบคุ คล

(๒ )ผ ู ้ ส อ น ส ั ง เ ก ต พ ฤ ต ิ ก ร ร น ใ น ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ผ ่ า น โ ป ร แ ก ร ม

เสริมผา่ นคอมพิวเตอร์

203

๒. สาระทีค่ วรรู้
สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นำมาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรม ให้เด็กเกิดแนวคิด

หลังจากนำสาระที่ควรรู้นั้น ๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจุดหมาย ที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ ไม่เน้นการ
ท่องจำเนื้อหา ผู้สอนสามารถกำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกบั วัย ความต้องการ และความสนใจของ
เด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สำคัญ ทั้งน้ี อาจยืดหยุ่นเนื้อหาได้ โดยคำนึงถึงประสบการณ์และ
สง่ิ แวดล้อมในชีวติ จรงิ ของเด็ก ดังน้ี

๒.๑ เรื่องราวท่ีเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้ชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา อวัยวะต่าง ๆ วิธีระวัง
รักษาร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การระมัดระวังความ
ปลอดภัยของตนเองจากผู้อื่นและภัยใกล้ตัว รวมทั้งการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย การรู้จักประวัติความ
เป็นมาของตนเองและครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของ
ตนเองและผู้อื่น การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การกากับตนเอง การ
เล่นและทาส่ิงตา่ ง ๆ ด้วยตนเองตามลาพังหรือกบั ผู้อื่น การตระหนักรู้เก่ียวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง
การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่าง
เหมาะสม การแสดงมารยาททีด่ ี การมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานทีแ่ วดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัวสถานศึกษา
ชุมชน และบุคคลต่าง ๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ ในชีวิตประจำวัน สถานที่สำคัญ วัน
สำคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทยและการปฏิบัติ
ตามวฒั นธรรมท้องถ่ินและความเปน็ ไทย หรอื แหลง่ เรยี นรจู้ ากภูมิปญั ญาท้องถ่ินอื่น ๆ

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและ
ความสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง
และพลงั งานในชวี ติ ประจำวันทแ่ี วดล้อมเดก็ รวมทงั้ การอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มและการรกั ษาสาธารณสมบตั ิ

๒.๔ สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมาย ในชีวิตประจำวัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง
ปริมาตร น้าหนัก จำนวน ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เวลา เงิน
ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสาร
ตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้อย่ใู นชวี ติ ประจาวนั อยา่ งประหยัด ปลอดภัยและรกั ษาส่งิ แวดล้อม

204

กำหนดเวลาเรยี น
...................................

ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง สังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ จดั การศึกษาสำหรับ
เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ (สำหรับแรกเกิด - ๖ ปี) โดยแบ่งออกเป็น ๒ ภาคเรียน ใน ๑ ปีการศึกษา
ดงั น้ี

ภาคเรยี นที่ ๑ เปดิ เรยี นระหว่างวนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม – ๓๐ กนั ยายน
ภาคเรยี นที่ ๒ เปิดเรยี นระหวา่ งวันที่ ๑ ตุลาคม – ๓๑ มนี าคม ในปีถดั ไป
โดยไมม่ กี ารปิดภาคเรยี น

โครงสรา้ งหน่วยประสบการณ์
...................................

หนว่ ยการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 3-4 ปี

สัปดาหท์ ่ี ชือ่ หน่วย สาระท่ีควรเรียนรู้ เน้อื หา
๑ รา่ งกายของเรา เร่ืองราวเกี่ยวกับ
๒ ประสาทสัมผสั วันที่ 1 อวัยวะต่าง ๆ ของรา่ งกาย
๓ อาหารดีมี ตวั เด็ก วนั ท่ี 2 หนา้ ทขี่ องอวัยวะ
ประโยชน์ วนั ท่ี 3 ส่งิ ของท่ีใช้ค่อู วยั วะ
๔ ความปลอดภัย เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั วันที่ 4 ดแู ลร่างกายให้สะอาด
ตวั เดก็ วันท่ี 5 ดแู ลร่างกายใหแ้ ข็งแรง

เรอ่ื งราวเก่ยี วกบั วันที่ 1 ความสำคญั ของประสาทสัมผสั
ตวั เดก็ วนั ท่ี 2 ตามองดู
วนั ท่ี 3 หูฟงั เสยี ง
เรอื่ งราวเก่ยี วกบั วนั ที่ 4 จมูกดมกลิน่
ตวั เดก็ วันที่ 5 ล้นิ ชิมรส และผิวหนังรบั สัมผัส

วนั ท่ี 1 อาหารจากพชื และสตั ว์
วันที่ 2 หมวดหมขู่ องอาหาร
วันที่ 3 ประโยชนข์ องอาหาร
วันท่ี 4 รับประทานอาหารดีมปี ระโยชน์
วันที่ 5 รับประทานอาหารด้วยตนเองอย่าง
เรียบรอ้ ย

วนั ท่ี 1 เคล่อื นไหวร่างกายให้ปลอดภยั
วันท่ี 2 ความปลอดภัยในห้องเรยี น
วันที่ 3 เลน่ อย่างปลอดภยั
วนั ที่ 4 ปลอดภยั จากการเดินทาง
วันที่ 5 เคารพกฎจราจรรับประทานอาหารและ
การใช้ห้องน้ำห้องสว้ ม

205

สปั ดาหท์ ่ี ชื่อหน่วย สาระทคี่ วรเรียนรู้ เน้อื หา
๕ เดก็ ดีมวี นิ ัย เรื่องราวเกย่ี วกับ
วนั ท่ี 1 วินัยในตนเอง
๖ สมาชิกใน ตวั เดก็ วันท่ี 2 วนิ ยั ในการเรยี น
ครอบครัว วันที่ 3 วนิ ัยในการเขา้ แถว
เรอ่ื งราวเกีย่ วกับ วันที่ 4 วินัยในการรับประทานอาหาร
๗ บา้ นของเรา บุคคลและสถานที่ วนั ท่ี 5 วินยั ในการออม

๘ โรงเรยี นของเรา แวดล้อมเดก็ วนั ท่ี 1 พอ่ แม่ของเรา
วันท่ี 2 หนา้ ท่ีของคนในครอบครัว
๙ ชุมชนนา่ อยู่ เรื่องราวเก่ยี วกบั วันท่ี 3 กิจกรรมรว่ มกนั ในบา้ น
บุคคลและสถานที่ วนั ท่ี 4 กิจกรรมร่วมกนั นอกบ้าน
๑๐ ประชาคม วนั ที่ 5 การดูแลกันในครอบครวั
อาเซียน แวดลอ้ มเด็ก
วันที่ 1 ลักษณะของบา้ น
เรอ่ื งราวเก่ียวกบั วนั ท่ี 2 ห้องตา่ ง ๆ ภายในบ้าน
บคุ คลและสถานที่ วันท่ี 3 สว่ นประกอบของบ้าน
วนั ที่ 4 ประโยชน์ของบ้าน
แวดลอ้ มเดก็ วันที่ 5 ชว่ ยกันดูแลบ้านให้นา่ อยู่

เรื่องราวเกยี่ วกับ วนั ที่ 1 ความสำคญั ของโรงเรียน
บุคคลและสถานที่ วันที่ 2 สถานทภ่ี ายในโรงเรียน
วันท่ี 3 กิจกรรมสนุกในโรงเรยี น
แวดลอ้ มเดก็ วนั ท่ี 4 การปฏบิ ัตติ นเป็นเพื่อนท่ดี ี
วนั ท่ี 5 การปฏบิ ตั ิตนเป็นเดก็ ดใี นโรงเรียน
เรอื่ งราวเก่ยี วกับ
บุคคลและสถานท่ี วันที่ 1 ร้จู กั ชุมชนของเรา
วนั ที่ 2 อาชพี ในชมุ ชนใกลต้ ัว
แวดลอ้ มเดก็ วนั ที่ 3 บุคคลกับสถานทใ่ี นชมุ ชน
วนั ที่ 4 หน้าทีข่ องเราในชมุ ชน
วนั ที่ 5 รว่ มใจดแู ลรกั ษาชุมชน

วนั ท่ี 1 รู้จกั ประชาคมอาเซียน
วนั ท่ี 2 ธงชาตปิ ระเทศไทยของเรา
วนั ท่ี 3 ธงชาตปิ ระเทศเพอ่ื นบ้านในอาเซียน
วนั ท่ี 4 ชุดแต่งกายประจำชาตใิ นประชาคม
อาเซียน
วันที่ 5 สถานที่สำคัญของประเทศเพ่ือนบา้ นใน
อาเซยี น

206

สัปดาหท์ ี่ ชอื่ หน่วย สาระท่คี วรเรยี นรู้ เน้ือหา
๑๑ รูจ้ กั ตน้ ไม้
ธรรมชาตริ อบตวั วนั ท่ี 1 รจู้ กั ต้นไม้
วนั ท่ี 2 สว่ นประกอบของต้นไม้
๑๒ สตั วร์ อบตัว ธรรมชาตริ อบตวั วนั ที่ 3 ต้นไมม้ หี ลายชนดิ
วนั ท่ี 4 ประโยชน์ของต้นไม้
๑๓ ทอ้ งฟา้ บอกเวลา ธรรมชาตริ อบตัว วนั ท่ี 5 การดูแลรกั ษาต้นไม้

๑๔ น้ำ ดิน หนิ ธรรมชาตริ อบตวั วันที่ 1 รู้จักสัตว์
วันที่ 2 ทอี่ ยอู่ าศัยของสัตว์
๑๕ ภยั ธรรมชาติน่ารู้ ธรรมชาติรอบตวั วนั ท่ี 3 สตั ว์เล้ียงแสนรัก
วนั ที่ 4 อาหารของสัตว์
วนั ที่ 5 การดแู ลสตั ว์เลีย้ ง

วันที่ 1 รจู้ ักทอ้ งฟ้า
วันท่ี 2 ลักษณะท้องฟ้าเวลากลางวัน กลางคนื
วนั ที่ 3 การปฏิบตั ติ นในเวลากลางวัน
วันท่ี 4 การปฏิบตั ิตนในเวลากลางคืน
วันที่ 5 สญั ลกั ษณบ์ นท้องฟ้าบอกเวลาตา่ งกัน

วันท่ี 1 ร้จู กั น้ำ ดิน หิน
วนั ท่ี 2 น้ำในทีต่ า่ ง ๆ
วันท่ี 3 ประโยชนข์ องน้ำ และใช้อย่างรู้คุณค่า
วันท่ี 4 ลกั ษณะของดินและหิน
วันท่ี 5 ประโยชน์ของดินและหิน

วันที่ 1 รูจ้ กั ภยั ธรรมชาตใิ กลต้ ัว
วนั ที่ 2 ลมพายฝุ น
วนั ท่ี 3 ภยั น้ำท่วม
วนั ที่ 4 การปฏิบตั ติ นเม่อื เกิดภัยนำ้ ทว่ ม
วนั ที่ 5 ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ

207

สัปดาห์ที่ ชอ่ื หน่วย สาระทีค่ วรเรียนรู้ เนื้อหา
๑๖ ของเลน่ ของใช้ สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั วนั ท่ี 1 รู้จกั ของเลน่
เด็ก วันที่ 2 เล่นของเล่นให้ถูกวิธี
วนั ท่ี 3 รจู้ กั ของใช้
๑๗ การเดนิ ทาง สิง่ ต่าง ๆ รอบตัว วันที่ 4 ใช้ของใชใ้ ห้ถูกวิธี
เด็ก วันที่ 5 ร้เู ลน่ ร้ใู ช้อยา่ งพอเพยี ง
วันท่ี 1 รจู้ ักการเดนิ ทาง
๑๘ พลงั งานน่ารู้ สิ่งต่าง ๆ รอบตวั วันที่ 2 ประเภทของการเดินทาง
เด็ก วันที่ 3 ยานพาหนะทางนำ้
วนั ท่ี 4 ยานพาหนะทางบก
๑๙ เทคโนโลยีเพ่อื ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว วันที่ 5 ยานพาหนะทางอากาศ
การส่ือสาร
เด็ก วันท่ี 1 อาหารใหพ้ ลังงานกับเรา
วันที่ 2 อาหารให้พลังงานกับสตั ว์
๒๐ วิทยาศาสตรพ์ า สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว วันที่ 3 การใชพ้ ลงั งานในตัวเรา
เพลนิ เด็ก วันที่ 4 การทำกิจกรรมต่าง ๆ ใช้พลงั งานต่างกนั
วนั ท่ี 5 พลังงานความรอ้ นจากตวั เรา
วนั ท่ี 1 เคร่ืองมือส่อื สารในชวี ติ ประจำวัน
วนั ท่ี 2 เขยี นจดหมายส่งไปรษณีย์
วันที่ 3 รบั ร้ขู ่าวสารได้หลายทาง
วนั ที่ 4 ใชเ้ คร่อื งมือส่ือสารอย่างถูกวิธี
วันท่ี 5 ประโยชน์และการดูแลเครอื่ งมือสื่อสาร
วันที่ 1 รู้จักกบั วิทยาศาสตร์
วันที่ 2 รู้จกั เครือ่ งมอื วทิ ยาศาสตร์
วนั ท่ี 3 ใช้เครือ่ งมืออยา่ งถูกวธิ ี
วันที่ 4 สำรวจส่งิ ของจากวัสดุโปรง่ ใส ทบึ แสง
วันที่ 5 ทดลองแรงลมทำให้วตั ถุเคล่ือนท่ี

208

สัปดาห์ที่ ชอ่ื หน่วย สาระท่คี วรเรยี นรู้ เนือ้ หา
21 การเคลอ่ื นไหว เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตัว
ทา่ ทาง เด็ก วนั ท่ี 1 การเดิน
วนั ท่ี 2 การวง่ิ
22 อารมณ์ทแี่ ตกตา่ ง เรื่องราวเกย่ี วกบั ตวั วนั ท่ี 3 การกระโดด
เด็ก วนั ที่ 4 การเคลอ่ื นไหวอยู่กับท่ี
วันที่ 5 การเคล่ือนไหวเคล่ือนท่ี
23 รปู รา่ งลักษณะ เรอื่ งราวเกี่ยวกับตวั
ต่างกนั เด็ก วนั ที่ 1 ย้มิ แยม้ ดีใจ
วนั ท่ี 2 ร้องไห้ เสยี ใจ
24 การเลน่ ด้วยกนั เรือ่ งราวเกี่ยวกับตวั วนั ท่ี 3 บอกวา่ โมโห โมโห
เด็ก วันท่ี 4 สีหนา้ บอกอารมณ์ได้
วันที่ 5 ฝึกควบคมุ อารมณ์
25 เดก็ ดีมีคณุ ธรรม เรอ่ื งราวเกี่ยวกับตวั
เด็ก วนั ท่ี 1 รูปร่างของฉัน
วนั ที่ 2 คนเรารูปร่างไม่เหมอื นกนั
26 บคุ คลตา่ ง ๆ ที่ เรอ่ื งราวเกี่ยวกับ วันที่ 3 ลักษณะชายหญิง
เกี่ยวข้องกับเรา บคุ คลและสถานที่ วันที่ 4 ลกั ษณะตามวยั
แวดลอ้ มเด็ก วันท่ี 5 ลักษณะความแตกตา่ งของคนกับสตั ว์

27 สถานที่ใกลต้ ัวเรา เรือ่ งราวเกยี่ วกบั วันที่ 1 ของเล่นรอบตัว
บคุ คลและสถานที่ วันที่ 2 ของเล่นเราแบ่งปนั
แวดลอ้ มเด็ก วนั ที่ 3 ประโยชนข์ องการเลน่
วนั ท่ี 4 การละเลน่ ของไทย
วนั ที่ 5 ของเล่นอันตราย

วันท่ี 1 หนนู อ้ ยซ่อื สัตย์
วันท่ี 2 หนนู ้อยรบั ผิดชอบ
วันท่ี 3 หนนู อ้ ยพอเพยี ง
วนั ท่ี 4 หนนู อ้ ยยตุ ิธรรม
วนั ท่ี 5 หนนู อ้ ยจิตอาสา

วนั ที่ 1 เพือ่ นสนทิ
วันท่ี 2 เพื่อนจากต่างแดน
วนั ท่ี 3 คณุ ครูของเรา
วันท่ี 4 บุคคลในชุมชนของเรา
วันที่ 5 การทักทายบคุ คลต่าง ๆ รอบตวั

วันที่ 1 โรงเรียนของเรา
วนั ท่ี 2 ตลาดแหลง่ ซือ้ ขาย
วนั ที่ 3 วดั ในชุมชน
วันท่ี 4 โรงพยาบาลรักษาโรค
วนั ท่ี 5 สถานีตำรวจ

209

สัปดาหท์ ี่ ชือ่ หน่วย สาระทคี่ วรเรยี นรู้ เนือ้ หา
28 อาชีพต่าง ๆ ใน
ชุมชน เร่ืองราวเกย่ี วกับ วันที่ 1 อาชพี ตา่ ง ๆ ทีเ่ รารู้จัก
บคุ คลและสถานท่ี วนั ท่ี 2 เครื่องแต่งกายแต่ละอาชีพ
วนั ท่ี 3 หนา้ ทข่ี องอาชีพต่าง ๆ
แวดลอ้ มเดก็ วนั ที่ 4 สถานทท่ี ำงานแตล่ ะอาชีพ
วันที่ 5 อาชพี ในฝันทีเ่ ดก็ อยากเป็น
29 วนั สำคัญของชาติ เรือ่ งราวเก่ียวกับ
บคุ คลและสถานท่ี วนั ท่ี 1 วนั พอ่ แห่งชาติ
แวดลอ้ มเดก็ วนั ท่ี 2 วันแม่แหง่ ชาติ
วนั ท่ี 3 วันเฉลมิ พระชนมพรรษา รชั กาลท่ี ๑๐
30 วนั สำคัญทาง เรอ่ื งราวเก่ียวกับ วันท่ี 4 วนั ปิยมหาราช
ศาสนา และ บุคคลและสถานท่ี วันที่ 5 วนั เด็กแหง่ ชาติ
ประเพณีไทย
แวดล้อมเด็ก วันที่ 1 วันมาฆบูชา
วันที่ 2 วนั อาสาฬหบชู าและวันเข้าพรรษา
31 สิง่ มชี วี ติ ธรรมชาตริ อบตวั วันที่ 3 วนั วิสาขบชู าและวันออกพรรษา
วันท่ี 4 วนั สงกรานต์
32 สิ่งไมม่ ชี ีวติ ธรรมชาตริ อบตัว วันท่ี 5 วันลอยกระทง

33 พืชผกั ผลไม้ ธรรมชาติรอบตัว วนั ท่ี 1 รจู้ ักสงิ่ มชี ีวิต
วนั ท่ี 2 มนุษยเ์ ปน็ สง่ิ มชี ีวติ
34 ดอกไม้ ธรรมชาติรอบตัว วนั ท่ี 3 สตั วต์ ่าง ๆ
วนั ท่ี 4 การเจรญิ เตบิ โตของส่ิงมชี ีวติ
วนั ท่ี 5 สง่ิ มีชีวิตในธรรมชาติ

วนั ท่ี 1 รู้จกั ส่งิ ไม่มชี ีวติ
วนั ท่ี 2 ส่ิงไมม่ ีชีวติ ตามธรรมชาติ
วันที่ 3 ประโยชน์ของสิง่ ไม่มชี ีวิตตามธรรมชาติ
วันที่ 4 สิ่งไม่มชี วี ิตทีม่ นษุ ย์สร้างข้นึ
วันที่ 5 ประโยชนข์ องสง่ิ ไม่มีชวี ิตท่มี นษุ ยส์ รา้ งขึ้น

วนั ท่ี 1 ผักตา่ ง ๆ
วนั ท่ี 2 ผลไมต้ ่าง ๆ
วนั ที่ 3 รสชาติของผักและผลไม้
วันที่ 4 ประโยชน์ของผักและผลไม้
วันที่ 5 การประกอบอาหารจากผักและผลไม้

วนั ที่ 1 ดอกไมน้ านาพันธุ์
วนั ที่ 2 สสี ันของดอกไม้
วนั ท่ี 3 ดอกไม้มีกลิ่นหอม
วันที่ 4 ประโยชนข์ องดอกไม้
วนั ท่ี 5 น้ำดอกอญั ชัน

210

สัปดาหท์ ี่ ชอื่ หน่วย สาระทคี่ วรเรียนรู้ เนอ้ื หา
35 ฤดูกาลมาเยือน ธรรมชาตริ อบตัว
36 เครอ่ื งใชใ้ ห้ความ วนั ที่ 1 ฤดรู ้อน
37 สะดวก สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั วนั ที่ 2 ฤดูฝน
เครื่องมอื เด็ก วันท่ี 3 ฤดหู นาว
38 วันท่ี 4 การปฏบิ ตั ติ นในฤดกู าลต่าง ๆ
39 การติดต่อส่อื สาร ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว วนั ที่ 5 ประโยชน์และโทษที่เกิดในฤดูกาลต่าง ๆ
สนกุ กับนักคดิ เด็ก
40 ประดิษฐข์ องเล่น วันที่ 1 พดั ลมพดั เย็น
คณิตศาสตร์พา สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว วนั ที่ 2 เครอ่ื งซกั ผ้า
เพลิน เด็ก วนั ที่ 3 เครื่องดดู ฝุน่
วนั ที่ 4 กระทะไฟฟ้า
สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั วนั ท่ี 5 หมอ้ หงุ ข้าว
เด็ก
วนั ท่ี 1 เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ใช้ปลูกตน้ ไม้
สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว วันที่ 2 เครื่องมือท่ีทำจากไม้
เด็ก วนั ที่ 3 เครอื่ งมือที่ทำจากเหล็ก
วันท่ี 4 เครื่องมอื ที่ทำจากพลาสตกิ
วันท่ี 5 ประโยชนแ์ ละอันตรายท่ีเกิดจากการใช้
เคร่อื งมือ

วันท่ี 1 การสือ่ สารด้วยคำพดู
วันท่ี 2 การสอื่ สารทางโทรศัพท์
วันท่ี 3 การสอ่ื สารทางโทรทัศน์
วันท่ี 4 การสือ่ สารทางไปรษณีย์
วนั ท่ี 5 ประโยชนข์ องการส่ือสาร

วันท่ี 1 ลกู แซก็ มหัศจรรย์
วนั ท่ี 2 ค้นหาเสยี งของลกู แซก็
วันท่ี 3 เตมิ ถั่วเท่าไรใหเ้ สยี งของลูกแซ็กดังที่สดุ
วันท่ี 4 ออกแบบลูกแซ็กมหศั จรรย์
วนั ที่ 5 ทดสอบ ปรับปรงุ นำเสนอลูกแซ็กมหัศ
จรรย์

วนั ที่ 1 รปู ทรงเรขาคณติ
วันท่ี 2 ขนาดเล็ก ใหญ่ แตกต่างกัน
วันที่ 3 วัดขนาดสูง ตำ่
วันท่ี 4 ส่ิงของไหนหนกั กว่ากนั
วนั ที่ 5 จำนวนสิง่ ของ

211

หนว่ ยการจัดประสบการณ์ ชว่ งอายุ 4-5 ปี

สัปดาห์ที่ ชือ่ หน่วย สาระทีค่ วร เนือ้ หา
เรียนรู้

๑ เรยี นรูร้ ่างกาย เร่ืองราวเกีย่ วกบั วนั ที่ 1 ความสำคัญของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย

ตัวเดก็ วนั ท่ี 2 อวัยวะภายนอกรา่ งกาย

วนั ท่ี 3 หน้าที่ของอวยั วะและการใชง้ าน

วนั ที่ 4 อปุ กรณ์ทำความสะอาดร่างกาย

วนั ที่ 5 ดแู ลรา่ งกายด้วยการกินอาหาร
๒ ประสาทสมั ผัส เรอื่ งราวเกี่ยวกับ วนั ท่ี 1 ดวงตาชว่ ยสำรวจ
ของเรา ตวั เด็ก วนั ท่ี 2 หจู ำแนกเสยี ง

วนั ที่ 3 จมูกดมกล่นิ

วนั ที่ 4 ลนิ้ ชิมรส

วันที่ 5 สัมผสั บอกความรสู้ กึ
๓ อาหารดีมีคณุ ค่า เรื่องราวเกย่ี วกับ วันท่ี 1 อาหารดีมีประโยชนท์ ชี่ น่ื ชอบ

ตวั เดก็ วนั ท่ี 2 อาหารดีมหี ลากหลาย

วนั ท่ี 3 ประโยชนข์ องอาหาร

วนั ที่ 4 อาหารจากผกั ผลไม้

วนั ที่ 5 อาหารดีตอ้ งปรงุ สุกใหม่
4 ปลอดภยั ไว้ก่อน เรื่องราวเกีย่ วกบั วันท่ี 1 ใช้สิ่งของตอ้ งระวัง

ตัวเด็ก วันท่ี 2 การปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัยในชวี ติ ประจำวนั

วันที่ 3 ความปลอดภัยในบา้ น

วันที่ 4 ความปลอดภัยในโรงเรยี น

วันที่ 5 ปอ้ งกันอนั ตรายรอบตัว
5 เดก็ ดจี ิตใจงาม เรอื่ งราวเกี่ยวกับ วันท่ี 1 เดก็ ดมี จี ิตใจดี มคี วามกตัญญู

ตวั เดก็ วันที่ 2 เดก็ ดีมคี วามกตญั ญูต่อผมู้ ีพระคุณ

วันที่ 3 เด็กดีเหน็ ใจผูอ้ น่ื

วันที่ 4 เด็กดีมีสติ ให้อภัยกนั

วันที่ 5 บันทกึ ความดีของหนู
6 ครอบครวั อบอุ่น เรอ่ื งราวเกี่ยวกับ วันท่ี 1 ครอบครัวหลายแบบ

บคุ คลและ วันท่ี 2 ความสมั พนั ธ์ของคนในครอบครวั

สถานทแ่ี วดล้อม วันท่ี 3 หนา้ ท่ขี องคนในครอบครวั

เด็ก วันที่ 4 วันสำคญั ของครอบครัว

วนั ท่ี 5 กิจกรรมสานสมั พันธใ์ นครอบครัว
7 บา้ นของฉัน เรอ่ื งราวเก่ยี วกับ วนั ที่ 1 ที่อยอู่ าศยั ของคนและสตั ว์

บุคคลและ วันท่ี 2 บา้ นหลายแบบ ตา่ งวัสดุ

สถานท่แี วดลอ้ ม วนั ที่ 3 ของใช้ในบา้ น

เด็ก วนั ท่ี 4 กิจกรรมในบา้ น

วันที่ 5 บา้ นใกล้เรอื นเคยี ง

212

สปั ดาห์ที่ ชอ่ื หน่วย สาระท่ีควร เน้อื หา
8 โรงเรยี นทรี่ กั เรยี นรู้
9 ชมุ ชนแสนสุข
10 ประชาคม เรือ่ งราวเกีย่ วกับ วนั ท่ี 1 ของใชส้ ว่ นตวั และสว่ นรวมในโรงเรียน
อาเซียน
11 ตน้ ไมม้ ีชีวิต บุคคลและ วนั ที่ 2 เพ่อื นฉนั ในโรงเรียน
12 สตั ว์โลกนา่ รกั
สถานท่แี วดลอ้ ม วนั ที่ 3 เดก็ ดี มารยาทดี เล่นกับเพ่ือนดี
13 ทอ้ งฟา้ นา่ รู้
14 น้ำ ดิน หนิ นา่ รู้ เด็ก วนั ท่ี 4 กจิ กรรมรว่ มกันในโรงเรียน

วนั ท่ี 5 การปฏบิ ัติตนท่ีดีตอ่ เพ่ือนและครู

เรอื่ งราวเก่ยี วกบั วนั ที่ 1 ชุมชนใกล้โรงเรียน

บคุ คลและ วนั ท่ี 2 ชุมชนใกลบ้ ้าน

สถานทแ่ี วดล้อม วันท่ี 3 อาชพี ในชมุ ชน

เด็ก วันท่ี 4 ความสำคัญของสถานท่ใี นชมุ ชน

วันที่ 5 การดูแลรกั ษาส่ิงแวดลอ้ มในชมุ ชน

เรอ่ื งราวเกย่ี วกับ วนั ที่ 1 ประชาคมอาเซยี น

บคุ คลและ วันท่ี 2 ธงชาติประเทศเพ่ือนบา้ น

สถานท่ีแวดล้อม วันท่ี 3 ธงชาติประเทศเพ่อื นบา้ น

เด็ก วันท่ี 4 ชดุ แตง่ กายประเทศเพื่อนบา้ นในอาเซียน

วนั ท่ี 5 สถานท่สี ำคญั ของประเทศเพ่ือนบา้ น

ธรรมชาติรอบตัว วันท่ี 1 การเจริญเติบโตของตน้ ไม้

วันท่ี 2 การปลกู ตน้ ไม้

วันที่ 3 ประเภทของต้นไม้

วันที่ 4 ลกั ษณะและประโยชน์ของผลไม้

วันที่ 5 เคร่อื งด่ืมท่ีได้จากผัก ผลไม้

ธรรมชาติรอบตวั วันท่ี 1 สตั ว์รอบตวั เรา

วันท่ี 2 สตั วเ์ ล้ยี งในฟารม์

วันท่ี 3 สัตวเ์ ล้ียง สตั ว์ปา่

วันท่ี 4 ชว่ ยกนั อนุรักษ์ช้างไทย

วันท่ี 5 เมตตาตอ่ สัตว์

ธรรมชาตริ อบตวั วันท่ี 1 ทอ้ งฟา้ บอกเวลา

วันท่ี 2 ส่งิ ที่อยู่บนท้องฟ้า

วันท่ี 3 ทอ้ งฟา้ บอกสภาพอากาศ

วันที่ 4 ฤดกู าลในบา้ นเรา

วันที่ 5 ฤดกู าลทชี่ นื่ ชอบ

ธรรมชาติรอบตัว วันที่ 1 ลักษณะของนำ้ ดิน หนิ

วันที่ 2 แหลง่ น้ำตามธรรมชาติ

วนั ที่ 3 ประเภทของดนิ

วันที่ 4 หินมหี ลายแบบ

วันท่ี 5 ประโยชนจ์ ากธรรมชาติ

213

สปั ดาหท์ ี่ ชื่อหน่วย สาระทคี่ วร เนือ้ หา
15 ภัยธรรมชาติที่ เรยี นรู้
16 ควรรู้ วนั ที่ 1 ความหมายของภัยธรรมชาติ
17 ของเลน่ ของใช้ ธรรมชาติรอบตัว วันท่ี 2 รจู้ ักภยั ธรรมชาติ
หลายวัสดุ วนั ท่ี 3 ไฟปา่ และคล่นื สึนามิ
18 เดนิ ทางแสนสนกุ สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั วันท่ี 4 สาเหตกุ ารเกดิ ภัยธรรมชาติ
19 เด็ก วันที่ 5 ระวงั ภัยธรรมชาติ
20 พลงั งานรอบตัว วันท่ี 1 ของเล่นหลายวัสดุ
21 สิ่งต่าง ๆ รอบตวั วันท่ี 2 ของใชห้ ลากหลายชนดิ
นกั คดิ สร้าง เด็ก วนั ที่ 3 ของเล่น ของใช้ ใช้งานต่างกนั
ชนิ้ งานจากเศษ วนั ท่ี 4 ประโยชนจ์ ากของเล่น ของใช้
วสั ดุ สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั วันที่ 5 เล่นของเลน่ และใชข้ องใชใ้ หป้ ลอดภยั
วิทยาศาสตร์ เด็ก หน่วย เดินทางแสนสนกุ
รอบตวั วนั ท่ี 1 ยานพาหนะกับการเดินทางแตกต่างกัน
เทคโนโลยเี พ่อื สิ่งต่าง ๆ รอบตัว วันที่ 2 ความสำคัญของการเดนิ ทาง
การสื่อสาร เด็ก วันท่ี 3 ประโยชน์ของยานพาหนะต่างกัน
วนั ท่ี 4 การเดินทางให้ปลอดภัย
ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว วนั ท่ี 5 สัญลกั ษณบ์ นทอ้ งถนนตามกฎจราจร
เด็ก วันท่ี 1 แหล่งพลังงานรอบตัว
วนั ท่ี 2 พลังงานไฟฟา้ น่ารู้
สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว วันท่ี 3 รูใ้ ชพ้ ลงั งานไฟฟ้าอย่างถกู วธิ ี
เด็ก วันท่ี 4 รู้ใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยัด
วันท่ี 5 พลงั งานความร้อน และพลังงานเสียง
วันท่ี 1 สำรวจบัตรอวยพรแสนสวย
วันท่ี 2 ค้นหากระดาษทำบัตรอวยพร
ค้นหาวัสดุติดตกแต่ง
ออกแบบบตั รอวยพรแสนสวย
ทดสอบ ปรับปรุง นำเสนอบตั รอวยพรแสนสวย
วนั ที่ 1 วทิ ยาศาสตร์รอบตัว
วันที่ 2 ค้นหาสงิ่ ของใดท่ีพับได้
วันที่ 3 จำแนกของแข็งและของเหลว
วันที่ 4 ค้นหาสีจากพชื ธรรมชาติ
วันท่ี 5 สำรวจทิศทางของลูกบอล
วันที่ 1 เครอื่ งมือส่ือสารใชง้ านตา่ งกนั
วนั ท่ี 2 รบั รู้ขา่ วสารจากโทรทศั น์
วันท่ี 3 สอื่ สารผ่านโทรศพั ท์
วนั ท่ี 4 การใช้คอมพวิ เตอร์
วันที่ 5 บนั ทึกชว่ ยจำเพื่อการสือ่ สาร

214

สปั ดาหท์ ่ี ช่อื หน่วย สาระท่ีควร เนอื้ หา
22 หนูน้อยคนเก่ง เรียนรู้
วันที่ 1 หนูนอ้ ยแต่งกายดี
23 หนนู อ้ ยมารยาท เรื่องราวเกี่ยวกับ วันท่ี 2 หนูน้อยรกั ษาความสะอาด
งาม ตวั เด็ก วนั ที่ 3 หนูน้อยสขุ ภาพดี
วันท่ี 4 หนูนอ้ ยเกบ็ ของเข้าท่ี
24 เลน่ ของเลน่ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั วันที่ 5 หนูนอ้ ยทำดว้ ยตนเอง
ร่วมกนั ตวั เดก็ วันท่ี 1 มารยาทในการไหว้
วันท่ี 2 มารยาทในการพูด
25 รจู้ กั รักปลอดภยั เรอื่ งราวเกย่ี วกบั วนั ที่ 3 มารยาทในการรับประทานอาหาร
ตวั เด็ก วนั ที่ 4 มารยาทในการนั่ง
26 เรียนรูส้ ู่อนาคต วันท่ี 5 มารยาทในการเดิน
เรอื่ งราวเกย่ี วกับ วันท่ี 1 รู้เล่นของเล่นหลากหลาย
27 หนนู อ้ ยรกั ตัวเด็ก วันที่ 2 รู้เล่นของเลน่ นา่ รู้
อนามัย วนั ท่ี 3 รู้เล่นของเลน่ หลากสสี ัน
เรอื่ งราวเกีย่ วกบั วนั ท่ี 4 รเู้ ล่นอย่างปลอดภัย
28 เรารกั สามคั คี ตัวเด็ก วนั ที่ 5 รจู้ กั เล่นรูจ้ กั เกบ็

เรื่องราวเกี่ยวกับ วันท่ี 1 ปลอดภัยจากอนั ตรายในบ้าน
บคุ คลและ วันที่ 2 ปลอดภยั จากอนั ตรายในโรงเรียน
วนั ท่ี 3 ปลอดภยั จากอนั ตรายจากคนแปลกหนา้
สถานทแี่ วดล้อม วนั ที่ 4 หนนู ้อยหดั ระมดั ระวงั
เด็ก วันท่ี 5 ดแู ลตนเองอย่างดี
วันที่ 1 สิง่ ใดมีชีวติ
เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั วันที่ 2 สงิ่ ใดไม่มีชีวิต
บคุ คลและ วันท่ี 3 หนนู อ้ ยนักสำรวจ
วันที่ 4 นกั วิทยาศาสตรน์ ้อย
สถานทแี่ วดล้อม วันท่ี 5 หนูนอ้ ยนักประดิษฐ์
เด็ก วันท่ี 1 ความสำคญั ของห้องนำ้
วันที่ 2 การใช้หอ้ งน้ำอย่างถูกวธิ ี
วันท่ี 3 อุปกรณ์ของใชใ้ นห้องน้ำ
วนั ท่ี 4 การรักษาความสะอาดของห้องน้ำ
วันที่ 5 ข้อควรระวงั ในการใช้หอ้ งนำ้
วันที่ 1 การอยูร่ ่วมกนั
วนั ที่ 2 การเล่นเพียงคนเดียว
วันที่ 3 การเล่นรว่ มกนั เป็นกลุ่ม
วันที่ 4 การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
วนั ที่ 5 การยอมรับและรับฟงั ผูอ้ ่ืน

215

สปั ดาห์ที่ ชื่อหน่วย สาระที่ควร เน้ือหา
29 ชุมชนนา่ อยู่ เรยี นรู้
วันที่ 1 ชุมชนของเรา
เรื่องราวเก่ยี วกับ วนั ที่ 2 เรารักชุมชน
บคุ คลและ วนั ท่ี 3 สถานที่ตา่ ง ๆ ในชุมชน
สถานทแ่ี วดลอ้ ม วันท่ี 4 หนูเปน็ สว่ นหน่ึงของชมุ ชน
เด็ก วนั ที่ 5 อาชพี หลากหลายในชุมชน
วันท่ี 1 สตั วป์ ระจำชาตไิ ทยและเวียดนาม
30 กา้ วไกลสอู่ าเซียน เรือ่ งราวเกย่ี วกับ วันท่ี 2 สัตวป์ ระจำชาติกมั พชู าและสงิ คโปร์
บุคคลและ วนั ที่ 3 สัตว์ประจำชาติฟลิ ิปปนิ สแ์ ละอนิ โดนเี ซยี
วันท่ี 4 สตั ว์ประจำชาติลาวและเมียนมา
สถานทแ่ี วดล้อม วันที่ 5 สตั วป์ ระจำชาติบรไู นและมาเลเซยี
เด็ก วนั ที่ 1 เรารักประเทศไทย
วันท่ี 2 มมี ารยาทแบบไทย
31 เรารักประเทศ เร่ืองราวเกีย่ วกบั วันที่ 3 บชู าศาสนา
ไทย บคุ คลและ วันที่ 4 ประเพณขี องไทย
สถานทีแ่ วดล้อม วันที่ 5 เชดิ ชเู อกลักษณข์ องคนไทย
เด็ก
วนั ที่ 1 สว่ นประกอบของต้นไม้
32 พืชน่ารู้ ธรรมชาติรอบตวั วนั ที่ 2 สิ่งท่ีตน้ ไม้ต้องการในการเจรญิ เติบโต
วนั ที่ 3 การแพรพ่ นั ธ์ขุ องต้นไม้
33 รอบรชู้ ีวิตสตั ว์ ธรรมชาตริ อบตัว วันที่ 4 ประโยชน์ของตน้ ไม้
วนั ที่ 5 การดูแลรักษาต้นไม้
34 ธรรมชาติบอก ธรรมชาติรอบตวั วนั ท่ี 1 สตั ว์ทฉี่ ันรู้จกั
เวลา วันที่ 2 สัตวแ์ ต่ละชนิดตา่ งกนั
วนั ที่ 3 อาหารและท่ีอยู่ของสัตว์
35 ส่งิ มคี ่าจาก ธรรมชาตริ อบตัว วนั ที่ 4 ประโยชน์ของสตั ว์
ธรรมชาติ วนั ที่ 5 การดแู ลสัตว์ตา่ ง ๆ
วันท่ี 1 กลางวนั กลางคืน
วันท่ี 2 การปฏิบตั ิตนในตอนกลางวัน
วันท่ี 3 การปฏิบัติตนในตอนกลางคนื
วนั ท่ี 4 ประโยชนข์ องกลางวนั กลางคนื
วันท่ี 5 เปรียบเทยี บกลางวนั กบั กลางคืน
วันท่ี 1 ดินมีหลายชนิด
วนั ท่ี 2 หนิ มหี ลายชนิด
วนั ที่ 3 ทรายชนดิ ต่าง ๆ
วนั ท่ี 4 ความแตกต่างของดิน หิน ทราย
วนั ที่ 5 ประโยชนข์ องดนิ หนิ ทราย

216

สปั ดาหท์ ่ี ชือ่ หน่วย สาระทีค่ วร เนอ้ื หา
36 โลกสวยดว้ ยมือ เรียนรู้

เรา ธรรมชาติรอบตวั วันท่ี 1 สิง่ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ
37 นาฬิกา
38 โทรศพั ท์ วนั ที่ 2 ความสำคญั และคุณคา่ ของสิง่ แวดล้อม

39 ตวั เลขมหศั จรรย์ วนั ที่ 3 การรักษาสงิ่ แวดล้อม

40 นกั คดิ รนุ่ จ๋ิว วนั ท่ี 4 สิ่งแวดล้อมเป็นพษิ

วนั ที่ 5 ความสัมพนั ธแ์ ละคุณค่าของสาธารณ

สมบตั ิ

สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว วันที่ 1 นาฬิกามหี ลายแบบ

เด็ก วันท่ี 2 สว่ นประกอบของนาฬกิ า

วนั ที่ 3 ตวั เลข และเขม็ นาฬิกา

วนั ที่ 4 ประโยชน์ของนาฬิกา

วันท่ี 5 นาฬิกาจากธรรมชาติ

สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั วันท่ี 1 ฮลั โหล คอื โทรศัพท์

เด็ก วันท่ี 2 เครื่องมอื การสื่อสาร

วันท่ี 3 โทรศัพท์และอนิ เทอรเ์ น็ตเปน็ การส่ือสาร

ทนั สมยั

วันท่ี 4 ข้อดีของฮัลโหลโทรศัพท์

วันที่ 5 ข้อเสยี /ขอ้ ควรระวังของการใชโ้ ทรศัพท์

ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั หนว่ ย ตัวเลขมหัศจรรย์

เด็ก วนั ท่ี 1 ตวั เลขมีอะไรบา้ ง

วนั ท่ี 2 สง่ิ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับตัวเลข

วนั ท่ี 3 ตวั เลขบอกจำนวน

วนั ที่ 4 ค่าของตวั เลข

วันที่ 5 ประโยชนข์ องตวั เลข

ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว วนั ที่ 1 นกั สืบสายนำ้

เด็ก วันที่ 2 ไข่แปลงรา่ ง

วันท่ี 3 นมเปลย่ี นสี

วันท่ี 4 ดนิ น้ำมนั แปลงรา่ ง

วันท่ี 5 ใกล้ - ไกล

217

หน่วยการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 5-6 ปี

สปั ดาห์ท่ี ช่ือหน่วย สาระทีค่ วร เนอ้ื หา
๑ เรียนรู้

๓ รอบรู้เรอ่ื งร่างกาย เรื่องราว วนั ท่ี 1 การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย
4
5 เกี่ยวกบั ตวั เดก็ วันท่ี 2 การดูแลรักษาฟัน
6
7 วันที่ 3 จมูกมีไว้หายใจ ดมกลิ่น

วันที่ 4 การดแู ลรกั ษาจมกู

เรียนรู้ประสาท วนั ท่ี 5 สุขนสิ ยั ทีด่ ใี นการขับถ่าย
สมั ผัส
เรอ่ื งราว วันท่ี 1 หน้าที่ของประสาทสัมผสั ทัง้ 5
เกี่ยวกับตวั เด็ก วนั ท่ี 2 การรบั รู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั

วนั ที่ 3 รสชาตอิ าหาร

วนั ที่ 4 ผวิ สมั ผสั บอกความรสู้ กึ

วันท่ี 5 ใช้ประสาทสมั ผัสอยา่ งระมัดระวงั
อาหารหลัก 5 หมู่ เรอ่ื งราว วนั ที่ 1 อาหารหลกั 5 หมู่

เก่ยี วกบั ตัวเด็ก วนั ท่ี 2 วธิ ีการปรงุ อาหาร

วนั ที่ 3 อาหารคาว อาหารหวาน

วนั ที่ 4 สขุ นสิ ัยทด่ี ีในการรบั ประทานอาหาร

วันท่ี 5 ประโยชน์ของอาหารที่มตี อ่ ร่างกาย
ความปลอดภัยใกล้ เรอ่ื งราว วนั ที่ 1 รจู้ กั สัญญาณไฟจราจร
ตวั เก่ียวกบั ตวั เดก็ วนั ที่ 2 ความปลอดภัยบนท้องถนน

วนั ท่ี 3 ระวงั สัตวม์ พี ษิ

วนั ท่ี 4 ใช้เครื่องใช้อยา่ งปลอดภัย

เดก็ ดมี ีความ วันท่ี 5 ระวงั คนแปลกหนา้
พอเพยี ง
เรอ่ื งราว วนั ท่ี 1 รจู้ กั ความพอเพียง
เกยี่ วกบั ตวั เดก็ วนั ที่ 2 ร้จู ักใชน้ ำ้ และไฟฟ้าอยา่ งประหยดั

วนั ที่ 3 รู้จกั ประหยัด อดออมเพอื่ อนาคต

วนั ที่ 4 รู้จกั ใชท้ รพั ยากรให้เกิดประโยชน์

วนั ที่ 5 รู้จักซอ่ มแซมนำกลับมาใช้ใหม่
สายใยครอบครวั เร่อื งราว วนั ท่ี 1 สายสัมพันธ์ในครอบครัว

เกยี่ วกบั บุคคล วนั ที่ 2 หนา้ ทข่ี องสมาชิกในครอบครวั

และสถานที่ วนั ที่ 3 การปฏิบัตติ นต่อญาติพน่ี ้อง

แวดล้อมเด็ก วันที่ 4 สานสัมพนั ธใ์ นครอบครวั และญาติ

บา้ นแสนสขุ วันที่ 5 การดแู ลซ่ึงกันและกนั ในครอบครวั และญาติ

เรอ่ื งราว วนั ที่ 1 ลกั ษณะของบา้ นในเมอื ง และชนบท

เกีย่ วกับบุคคล วนั ที่ 2 ความสำคัญของพ้ืนทีต่ า่ ง ๆ ในบ้าน

และสถานที่ วันท่ี 3 รใู้ ช้งานในพ้นื ทีต่ ่าง ๆ ของบ้าน

แวดลอ้ มเด็ก วันที่ 4 การดูแลบ้านใหน้ า่ อยู่

วนั ท่ี 5 การสร้างความสุขในบา้ นของเรา

218

สัปดาห์ท่ี ชื่อหน่วย สาระทคี่ วร เนอื้ หา
8 ฉนั รกั โรงเรยี น เรยี นรู้
9 ชมุ ชนสร้างสุข เร่อื งราว วนั ที่ 1 บคุ คลสำคัญในโรงเรียน
10 ประชาคมอาเซียน วนั ที่ 2 ความสำคัญของกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในโรงเรียน
11 ตน้ ไม้ให้คุณค่า เกี่ยวกับบุคคล วันที่ 3 ร้ใู ชง้ านในพืน้ ทีต่ ่าง ๆ ของโรงเรยี น
12 สตั ว์โลกน่ารู้ และสถานที่ วันท่ี 4 วันสำคญั ในโรงเรียน วันครู วนั เดก็
13 ปรากฏการณบ์ น แวดลอ้ มเด็ก วันที่ 5 การดูแลรกั ษาโรงเรยี นให้น่าอยู่
ท้องฟา้ วนั ท่ี 1 อาชพี ตา่ ง ๆ ในชมุ ชน
14 น้ำ ดิน หนิ รอบตัว เร่อื งราว วันท่ี 2 ชมุ ชนกับการบรกิ าร
เก่ียวกบั บคุ คล วันท่ี 3 จติ อาสาดูแลชุมชน
และสถานท่ี วันท่ี 4 จิตอาสาพัฒนาชุมชน
แวดลอ้ มเด็ก วนั ท่ี 5 การสรา้ งความสขุ ในชมุ ชนของเรา
วันที่ 1 ประเทศสมาชกิ อาเซียน
เร่อื งราว วันท่ี 2 ร้จู กั ธงอาเซยี น
เกี่ยวกบั บุคคล วันท่ี 3 ดอกไม้ประจำชาติในอาเซยี น
และสถานท่ี วันท่ี 4 อาหารประจำชาตใิ นอาเซยี น
แวดลอ้ มเดก็ วันท่ี 5 อาชีพเสรใี นอาเซียน

ธรรมชาติ วนั ท่ี 1 ประโยชนข์ องตน้ ไมใ้ ห้ผลกินได้
รอบตัว วนั ที่ 2 ประโยชนข์ องต้นไม้เป็นแหลง่ ท่ีอยู่ของสัตว์
วนั ที่ 3 ประเภทของตน้ ไมใ้ ห้คณุ ค่าต่างกนั
ธรรมชาติ วนั ท่ี 4 การดแู ลรกั ษาตน้ ไม้
รอบตวั วนั ท่ี 5 ผลของการไม่ดูแลรกั ษาต้นไม้
วนั ที่ 1 ประโยชน์ของสตั ว์
ธรรมชาติ วันที่ 2 สตั วเ์ ลย้ี งให้คณุ คา่
รอบตวั วันท่ี 3 วงจรชวี ติ สตั ว์
วันท่ี 4 ชวี ิตสตั วบ์ ก
ธรรมชาติ วันท่ี 5 ชวี ติ สัตวน์ ำ้
รอบตัว วันที่ 1 สัตวท์ ีอ่ อกหากนิ เวลากลางคืน
วันที่ 2 สภาพอากาศท่เี ปล่ียนแปลงในช่วงวัน
วนั ท่ี 3 ทิศทางของเงาจากดวงอาทติ ย์
วนั ท่ี 4 กจิ กรรมบอกช่วงเวลา
วันท่ี 5 สภาพอากาศในฤดูกาลต่าง ๆ
วนั ที่ 1 คณุ สมบัติและลักษณะของแหล่งน้ำ
วนั ท่ี 2 คุณสมบัตแิ ละลักษณะของดิน
วนั ที่ 3 คณุ สมบัติและลักษณะของหิน
วนั ที่ 4 ประโยชน์ของนำ้ ดนิ หิน และทราย
วนั ท่ี 5 จัดสวนสรา้ งสรรค์

219

สัปดาหท์ ี่ ชื่อหน่วย สาระทคี่ วร เน้อื หา
15 ปลอดภยั จากภัย เรียนรู้
ธรรมชาติ ธรรมชาติ วนั ที่ 1 การเกิดภัยธรรมชาติ
16 ของเล่นของใช้มี รอบตัว วนั ท่ี 2 การปฏิบัตติ นเมอื่ เกิดภัยธรรมชาติ
คณุ ค่า วนั ที่ 3 รทู้ ันภัยธรรมชาติ
17 สนกุ กบั การ สิง่ ตา่ ง ๆ วันที่ 4 การอนุรกั ษธ์ รรมชาติช่วยปอ้ งกนั ภยั
เดินทาง รอบตัวเด็ก วันที่ 5 มีนำ้ ใจช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั
18 รอบรพู้ ลงั งาน วนั ที่ 1 การใช้และเกบ็ รักษาของเลน่
สงิ่ ต่าง ๆ วนั ที่ 2 การใช้และเกบ็ รกั ษาของใช้
19 เทคโนโลยีเพื่อการ รอบตวั เดก็ วันท่ี 3 ของเล่นของใช้จากวัสดุต่างกัน
สอื่ สาร วันท่ี 4 รู้ใช้ของเลน่ ของใช้อย่างคุ้มคา่
สิ่งต่าง ๆ วนั ท่ี 5 แบ่งกันเลน่ แบ่งกันใช้
20 วทิ ยาศาสตร์ชวน รอบตวั เด็ก วนั ที่ 1 ยานพาหนะเปลย่ี นแปลงตามยุคสมัย
คดิ วนั ท่ี 2 สญั ลักษณก์ บั การเดินทาง
สงิ่ ต่าง ๆ วันที่ 3 พลงั งานกบั การเดินทาง
21 สำรวจตัวเรา รอบตัวเด็ก วันที่ 4 ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการเดนิ ทางดว้ ยรถโดยสาร
วันท่ี 5 ป้องกนั ภัยในการเดินทาง
สิ่งต่าง ๆ
รอบตวั เดก็ วนั ท่ี 1 ความสำคญั ของพลังงาน
วนั ที่ 2 พลังงานแสง พลงั งานความรอ้ น
เรอ่ื งราว วนั ที่ 3 พลังงานจากธรรมชาติ และจากคนสรา้ งขึน้
เก่ียวกบั ตวั เดก็ วันที่ 4 รู้คิด ร้ใู ช้พลงั งานอยา่ งประหยัด
วันท่ี 5 ป้องกันอันตรายจากการใช้พลังงาน
วันท่ี 1 ความสำคญั ของเคร่อื งมือสอ่ื สาร
วนั ท่ี 2 คอมพิวเตอรห์ ลายประเภท
วันท่ี 3 ความสำคญั ของสมุดโทรศพั ท์
วนั ที่ 4 มารยาทในการใช้โทรศัพท์
วนั ที่ 5 รู้ทันการใช้เทคโนโลยี
วันท่ี 1 ความสำคญั ของการทดลองวทิ ยาศาสตร์
วันที่ 2 ค้นหาคณุ สมบัติของวัสดจุ ากของใช้
วันท่ี 3 แรงดันของน้ำ
วนั ที่ 4 ค้นหาคณุ สมบตั ขิ องเหลว
วนั ท่ี 5 แรงผลกั แรงดงึ ทำใหเ้ คลื่อนที่
วนั ที่ 1 ฉันมนี ้ำหนกั สว่ นสงู เท่าไร
วันท่ี 2 คนเราโตไม่เทา่ กัน
วนั ท่ี 3 ฉนั เติบโตไดอ้ ยา่ งไร
วนั ท่ี 4 ตัวเรากบั เพื่อน
วันท่ี 5 การดูแลตวั เรา

220

สัปดาหท์ ี่ ชื่อหน่วย สาระท่ีควร เน้ือหา
22 สำรวจประสาท เรยี นรู้
สมั ผสั วันท่ี 1 ฉันมองเหน็
เรอ่ื งราว วนั ท่ี 2 ฉนั ไดย้ นิ
เกี่ยวกบั ตัวเด็ก วนั ที่ 3 ฉันรู้รส
วนั ที่ 4 ฉันได้กลิน่
23 เดก็ ดมี ี เรอ่ื งราว วนั ที่ 5 ฉนั สัมผัสได้
ความสามารถ เก่ยี วกับตัวเดก็ วันที่ 1 เด็กดีทำงานเองได้
วันท่ี 2 เดก็ ดีรู้จกั เกบ็ ของ
24 ปอ้ งกันภัยอนั ตราย เร่ืองราว วันท่ี 3 เดก็ ดีพดู จาไพเราะ
เกี่ยวกบั ตวั เด็ก วันท่ี 4 เด็กดไี หวส้ วย
วันท่ี 5 เด็กดมี ีนำ้ ใจ
25 คณุ ธรรมสรา้ งได้ใน เรอ่ื งราว วันท่ี 1 วธิ ปี ้องกนั อนั ตรายจากการเลน่
ใจเรา เกย่ี วกบั ตวั เดก็ วันท่ี 2 วธิ ปี ้องกันอนั ตรายจากสัตว์
วันท่ี 3 วธิ ปี ้องกนั อันตรายจากไฟฟา้
26 สายใยจากแม่ เรอื่ งราว วันที่ 4 วธิ ีปอ้ งกันอันตรายจากของมีคม
27 สายใยจากพ่อ เกี่ยวกบั บุคคล วนั ท่ี 5 วธิ ปี อ้ งกันอนั ตรายจากการเดนิ ทาง
และสถานที่
แวดลอ้ มเด็ก วนั ท่ี 1 เราเป็นคนดี
วนั ท่ี 2 คนดี ทำได้ งา่ ยจัง
เกี่ยวกบั บคุ คล วนั ที่ 3 หนนู อ้ ยรักษาศีล 5
และสถานท่ี วันที่ 4 หนูนอ้ ยสรา้ งวนิ ัย
แวดลอ้ มเดก็ วันท่ี 5 หนูน้อยจติ อาสา
วนั ที่ 1 คณุ แม่ของหนู
28 ความหลากหลาย เกย่ี วกบั บคุ คล วนั ท่ี 2 ความรักของคุณแม่
ในชมุ ชน วันที่ 3 ความสำคัญของแม่ทมี่ ตี อ่ ลูก
และสถานที่ วันที่ 4 กิจกรรมทล่ี กู ทำรว่ มกันกบั แม่
วนั ท่ี 5 การตอบแทนพระคณุ แม่
แวดล้อมเดก็ วันที่ 1 พ่อคอื ผ้นู ำครอบครวั
วันที่ 2 คุณพอ่ ของเรา
วนั ท่ี 3 ความรักของคุณพ่อ
วนั ที่ 4 การปฏิบัติตนต่อพ่อ
วนั ท่ี 5 รำลกึ พ่อหลวงของไทย
วนั ที่ 1 สถานที่ตงั้ ของชมุ ชนที่โรงเรียนต้ังอยู่
วนั ท่ี 2 สถานทสี่ ำคัญในชุมชน
วนั ที่ 3 การอยู่รว่ มกนั ในชุมชน
วันที่ 4 การปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกท่ดี ีของชมุ ชน
วนั ที่ 5 การปฏบิ ตั ิตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน

221

สัปดาห์ท่ี ชอื่ หน่วย สาระที่ควร เนอ้ื หา
29 สถานทสี่ ำคญั ใน เรียนรู้
อาเซยี น วนั ที่ 1 สถานทส่ี ำคัญในไทยและลาว
เกย่ี วกับบคุ คล วนั ท่ี 2 สถานท่สี ำคัญในกัมพูชาและเมยี นมา
และสถานท่ี วันท่ี 3 สถานทส่ี ำคญั ในสิงคโปรแ์ ละบรไู น
แวดลอ้ มเดก็ วันท่ี 4 สถานที่สำคัญในเวยี ดนามและฟลิ ิปปนิ ส์
วันท่ี 5 สถานทส่ี ำคญั ในมาเลเซียและอนิ โดนเี ซยี
30 ชาตไิ ทยของเรา เก่ยี วกับบคุ คล วนั ที่ 1 การแต่งกายแบบไทย
และสถานที่ วันท่ี 2 ธงชาติไทย
แวดล้อมเด็ก วันท่ี 3 ประเพณแี ละการละเล่นของไทย
วนั ที่ 4 วฒั นธรรมไทย
31 เรารักพืชพนั ธ์ุไม้ ธรรมชาติ วนั ท่ี 5 เมอื งหลวงของชาติไทย
รอบตวั วนั ที่ 1 ความสำคญั ของพืชพนั ธุ์ไม้
วนั ท่ี 2 ความแตกต่างของต้นไมแ้ ตล่ ะชนิด
32 ค้นหาชีวิตสัตว์โลก ธรรมชาติ วันท่ี 3 ประโยชนแ์ ละการดูแลต้นไม้
รอบตวั วันท่ี 4 การอนรุ ักษต์ ้นไม้
วันท่ี 5 จากต้นไมเ้ ป็นถา่ น
33 ดวงอาทิตย์ ดวง ธรรมชาติ
จันทรบ์ อก รอบตวั วนั ที่ 1 ประเภทของสตั ว์
กาลเวลา วนั ที่ 2 ท่ีอยู่อาศยั ของสัตว์
วนั ที่ 3 ความแตกต่างของสัตว์แตล่ ะชนิด
34 รอบรู้ฤดูกาล ธรรมชาติ วันท่ี 4 ประโยชนแ์ ละโทษของสตั ว์
รอบตวั วันที่ 5 หว่ งโซ่อาหาร
วันท่ี 1 ลักษณะของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
35 อากาศสดชืน่ ธรรมชาติ วันท่ี 2 แสงสว่างจากดวงอาทติ ย์
รอบตัว วนั ท่ี 3 แสงสว่างยามคำ่ คืนของดวงจันทร์
วันที่ 4 ประโยชน์ของดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์
วนั ที่ 5 ความแตกตา่ งกลางวัน กลางคืน
วันท่ี 1 ระยะเวลาชว่ งเดือนของฤดูหนาว
วนั ที่ 2 เครือ่ งแต่งกายในฤดูหนาว
วนั ที่ 3 ประโยชน์และโทษของฤดหู นาว
วนั ที่ 4 ความปลอดภยั ในฤดูหนาว
วันท่ี 5 ผักและผลไมใ้ นฤดูหนาว
วนั ท่ี 1 อากาศรอบตัวเรา
วันที่ 2 อากาศเคลื่อนท่ีได้
วนั ท่ี 3 อากาศมีแรงดัน
วนั ที่ 4 ประโยชน์และโทษของอากาศ
วนั ที่ 5 การรักษาอากาศบริสทุ ธิ์

222

สัปดาหท์ ่ี ช่ือหน่วย สาระท่ีควร เนือ้ หา
36 สีสนั ชวนมอง เรียนรู้
สิง่ ต่าง ๆ วันที่ 1 ที่มาของสี
37 ไข่ลม้ ลุก วันท่ี 2 วธิ ีทำใหเ้ กดิ สี
รอบตัวเด็ก วันท่ี 3 สีต่าง ๆ ท่ไี ด้จากธรรมชาติ
38 เรียนรกู้ ารเดนิ ทาง วันท่ี 4 อาหารท่ใี สส่ ี
สิ่งตา่ ง ๆ วันที่ 5 ประโยชนข์ องสี
39 ทดลอง คดิ รอบตัวเด็ก วนั ที่ 1 ไขต่ า่ ง ๆ
ประดิษฐ์ของเลน่ วนั ท่ี 2 ลักษณะและส่วนประกอบของไข่
ส่งิ ตา่ ง ๆ วันท่ี 3 ความแตกต่างของไข่แตล่ ะชนดิ
40 สนุกกบั รอบตวั เด็ก วนั ท่ี 4 การประกอบอาหารจากไข่
คณติ ศาสตร์ วนั ที่ 5 การทำไข่เค็ม
ส่งิ ต่าง ๆ วนั ท่ี 1 ความหมายของยานพาหนะ
รอบตวั เดก็ วันท่ี 2 การเดนิ ทางทางบก
วันท่ี 3 การเดนิ ทางทางนำ้
สง่ิ ตา่ ง ๆ วันท่ี 4 การเดนิ ทางทางอากาศ
รอบตวั เด็ก วันที่ 5 การขา้ มถนนอย่างปลอดภยั
วนั ที่ 1 สำรวจหุน่ ยนตท์ รงพลงั
วันท่ี 2 คดั แยกวัสดทุ ำตัวหุน่ ยนต์
วันท่ี 3 สรา้ งขาหุน่ ยนต์ใหม้ ัน่ คง
วันที่ 4 ออกแบบห่นุ ยนต์ทรงพลัง
วนั ที่ 5 ทดสอบ ปรบั ปรงุ นำเสนอหนุ่ ยนต์ทรงพลงั
วนั ท่ี 1 รปู ทรงมหัศจรรย์
วนั ท่ี 2 ปริมาณน้ำในแกว้
วนั ท่ี 3 เหล่ยี มและมมุ
วันท่ี 4 ตวั เลขทเี่ กย่ี วกบั ชีวติ ประจำวนั
วันที่ 5 ทว่ งทำนองของตัวเลข

223

การจดั ประสบการณ์

การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กทม่ี ีความต้องการจำเปน็ พิเศษ แรกเกดิ ถึง ๖ ปี เปน็ การจัดกิจกรรมใน
ลักษณะการบูรณาการผ่านการเล่น การลงมือกระทำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลายโดยคำนึงถึงความ
แตกต่างของแต่ละบุคคล ให้เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเกิดการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ไม่จดั เปน็ รายวิชา โดยมีหลกั การ และแนวทางการจดั ประสบการณ์ ดงั น้ี
๑. หลักการจัดประสบการณ์

๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เพ่ือพฒั นาเด็กโดยองค์รวม อย่างสมดุล
และต่อเน่อื ง

๑.๒ เน้นเด็กเป็นสำคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบทของ
สงั คมทเ่ี ดก็ อาศยั อยู่

๑.๓ จดั ให้เดก็ ไดร้ บั การพัฒนา โดยใหค้ วามสำคญั กับกระบวนการเรยี นรู้และพัฒนาการของเด็ก
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของการจัด
ประสบการณ์ พร้อมท้งั นาผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอย่างต่อเน่ือง
๑.๕ ให้พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทกุ ฝ่ายที่เก่ียวขอ้ งมีสว่ นร่วมในการพัฒนาเด็ก
๒. แนวทางการจดั ประสบการณ์
๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทางานของสมอง ที่เหมาะกับอายุ
วฒุ ิภาวะและระดับพฒั นาการ เพอ่ื ให้เด็กทกุ คนได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็กพิการแต่ละประเภท เดก็ ได้ลงมือกระทำ
เรียนรู้ผ่านระบบประสาทสัมผัสได้เคล่ือนไหว สำรวจ เล่น สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง
โดยมีแนวการจดั การเรียนรู้ของเด็กพิการแตล่ ะประเภท ดงั นี้
2.2.1 เดก็ ที่มคี วามบกพร่องทางการเห็น ควรจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นการใช้ประสาทสัมผัสที่เหลืออยู่ใน
การทากิจกรรม

2.2.2 เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ควรจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสารโดยการใช้ภาษามือ
ภาษาท่าทาง การอา่ นริมฝีปาก การฝึกพดู

2.2.3 เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ควรจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสอนซ้ำ ๆ สอนจากง่ายไป
ยาก เปน็ ขัน้ ตอน และการวเิ คราะหง์ าน

2.2.4 เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ ควรจัดการเรียนรู้ที่เน้น
การใชเ้ ทคโนโลยสี งิ่ อำนวยความสะดวก

2.2.5 เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ควรจัดการเรียนรู้ที่เน้นการจำจากการเห็นและได้ยิน
การเรยี งลาดับ การจดั ระเบียบตัวเอง

2.2.6 เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา ควรจัดการเรียนรู้ที่เน้นการออกเสียงให้ชัดเจน
การสอื่ สารทผ่ี ู้อื่นเขา้ ใจได้

2.2.7 เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ควรจัดการเรียนรู้ที่เน้นการควบคุม
พฤติกรรมและอารมณ์ของตนเอง การแสดงออกทางพฤตกิ รรมได้อย่างเหมาะสม

2.2.8 เด็กออทิสติก ควรจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสาร การอยู่ร่วมกันในสังคม การตอบสนองต่อ
ประสาทสัมผสั ทง้ั 7

2.2.9 เดก็ พิการซ้อน ควรจดั การเรียนรู้ทเี่ น้นตามลกั ษณะความพิการแต่ละประเภท
๒.๓ จดั ประสบการณ์แบบบรู ณาการ โดยบรู ณาการทั้งกิจกรรม ทกั ษะ และสาระ

224

การเรียนรู้
๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอความคิด

โดยผสู้ อนหรอื ผ้จู ัดประสบการณ์เป็นผสู้ นบั สนุนอานวยความสะดวก และเรียนรรู้ ว่ มกับเด็ก
๒.๕ จดั ประสบการณ์ให้เดก็ มีปฏิสมั พันธ์กับเด็กอ่ืนกับผู้ใหญ่ ภายใตส้ ภาพแวดล้อมที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้

ในบรรยากาศทอี่ บอุ่นมีความสุข และเรยี นรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะต่าง ๆ กนั
๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก และแหล่งการ

เรยี นรทู้ ่หี ลากหลายและอยใู่ นวิถชี วี ิตของเด็ก สอดคลอ้ งกบั บริบท สังคม และวัฒนธรรมท่แี วดล้อมเดก็
๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจำวัน ตามแนวทางหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการมวี นิ ัยให้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการจัด
ประสบการณก์ ารเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง

๒.๘ จัดประสบการณท์ ัง้ ในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนท่ีเกิดข้นึ ในสภาพจรงิ โดยไม่ได้
คาดการณ์ไว้

๒.๙ จัดทาสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล
นามาไตรต่ รองและใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาเด็กและการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น

๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมทั้งการวางแผนการสนับสนุนส่อื
แหล่งเรยี นรู้ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม และการประเมินพฒั นาการ
๓. การจดั กิจกรรมประจำวนั

กิจกรรมสำหรับเด็กอายุแรกเกิดถึง ๖ ปี สามารถนามาจัดเป็นกิจกรรมประจำวนั ได้หลายรูปแบบ เป็น
การช่วยให้ผู้สอนหรอื ผู้จัดประสบการณ์ทราบว่าแต่ละวันจะทำกจิ กรรมอะไร เมื่อใด และอย่างไร ทั้งน้ี การจัด
กิจกรรมประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงาน
และสภาพชุมชน ที่สำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรม ให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน การจัดกิจกรรม
ประจำวนั มหี ลกั การจดั และขอบขา่ ยของกจิ กรรม

๓.๑ หลักการจัดกจิ กรรมประจำวนั
3.1.๑ กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละวัน แต่
ยดื หยุ่นได้ตามความต้องการและความสนใจของเดก็ เชน่
วยั ๓-๔ ปี มีความสนใจประมาณ ๘-๑๒ นาที
วัย ๔-๕ ปี มคี วามสนใจประมาณ ๑๒-๑๕ นาที
วยั ๕-๖ ปี มคี วามสนใจประมาณ ๑๕-๒๐ นาที
3.1.๒ กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดทั้งในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนานเกินกว่า ๒๐
นาที
3.1.๓ กจิ กรรมทีเ่ ดก็ มีอสิ ระเลือกเลน่ เสรี เพอื่ ชว่ ยใหเ้ ดก็ รจู้ ักเลอื ก ตดั สินใจคิด
แกป้ ญั หา คิดสรา้ งสรรค์ เช่น การเลน่ ตามมมุ การเลน่ กลางแจ้ง ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที
3.1.๔ กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้กล้ามเนื้อใหญ่
และกล้ามเนื้อเลก็ กิจกรรมทีเ่ ปน็ รายบคุ คล กลุ่มย่อยและกลุม่ ใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ริเริ่มและผู้สอน หรือผู้
จัดประสบการณ์เป็นผู้ริเริ่ม และกิจกรรมที่ใช้กำลังและไม่ใช้กำลัง จัดให้ครบทุกประเภท ทั้งนี้ กิจกรรมที่ต้อง
ออกกำลงั กายควรจัดสลับกบั กิจกรรมที่ไมต่ ้องออกกาลังมากนัก เพือ่ เดก็ จะไดไ้ ม่เหนื่อยเกนิ ไป
๓.๒ ขอบข่ายของกิจกรรมประจำวัน การเลือกกจิ กรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวนั สามารถจัดได้หลาย
รปู แบบ ทั้งนี้ ข้นึ อยกู่ บั ความ

225

เหมาะสมในการนาไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรมให้
ครอบคลุมพฒั นาการทกุ ด้าน ดงั ต่อไปน้ี

๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว การยืดหยุ่น ความ
คล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่าง ๆ และจงั หวะการเคลื่อนไหวในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้
เล่นอิสระกลางแจ้ง เล่นเครอ่ื งเลน่ สนาม ปนี ป่ายเล่นอิสระ เคลือ่ นไหวรา่ งกายตามจังหวะดนตรี

๓.๒.๒ การพฒั นากลา้ มเนอ้ื เล็ก เปน็ การพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเน้ือเล็ก
กล้ามเนอ้ื มือ-น้วิ มือ การประสานสัมพันธร์ ะหว่างกลา้ มเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและ
ประสานสมั พันธก์ นั โดยจัดกจิ กรรมใหเ้ ดก็ ได้เลน่ เครื่องเล่นสมั ผัส เลน่ เกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลอื ตนเองในการ
แตง่ กาย หยิบจับช้อนสอ้ ม และใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ศิลปะ เชน่ สเี ทยี น กรรไกร พกู่ ัน ดนิ เหนยี ว ฯลฯ

๓.๒.๓ การพฒั นาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นการปลกู ฝังใหเ้ ด็กมีความรู้สึกที่
ดตี อ่ ตนเองและผู้อนื่ มีความเชื่อม่ัน กลา้ แสดงออก มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ ซื่อสตั ย์ ประหยัด เมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อ
แบ่งปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือโดยจัดกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเล่นให้
เด็กได้มีโอกาสตัดสินใจเลือก ไดร้ บั การตอบสนองความต้องการ ได้ฝึกปฏิบัติโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม
อย่างตอ่ เน่อื ง

๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอย่างเหมาะสมและ
อยูร่ ว่ มกบั ผูอ้ น่ื ได้อย่างมคี วามสขุ ชว่ ยเหลอื ตนเองในการทำกิจวัตรประจำวนั มนี สิ ยั รักการทางาน ระมัดระวัง
ความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวังอันตราย จากคนแปลกหน้า ให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวนั อยา่ งสมำ่ เสมอ รับประทานอาหาร พักผ่อนนอน
หลับ ขับถ่าย ทาความสะอาดร่างกาย เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น ปฏิบัติตามกฎกติกาข้อตกลง ของส่วนรวม
เก็บของเขา้ ทเี่ ม่ือเลน่ หรือทางานเสรจ็

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาให้เด็กมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาความคิดรวบยอด
และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยจดั กจิ กรรมให้เด็กได้สนทนาอภิปรายแลกเปล่ียนความ
คิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานท่ี เล่นเกมการศึกษา ฝึกการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
ฝกึ ออกแบบและสร้างขนึ้ งาน และทากิจกรรม ทงั้ เปน็ กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ และรายบุคคล

๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาใหเ้ ด็กใชภ้ าษาสื่อสารถ่ายทอดความรูส้ กึ นึกคดิ ความรู้ความ
เข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่เด็กมีประสบการณ์โดยสามารถตั้งคำถามในสิ่ง ที่สงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มี
ความหลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน
เขยี น มนี ิสัยรกั การอา่ น และบุคคลแวดลอ้ ม ต้องเป็นแบบอยา่ งท่ดี ใี นการใชภ้ าษา ทงั้ นี้ตอ้ งคำนงึ ถึงหลักการจัด
กจิ กรรมทางภาษาท่ีเหมาะสมกบั เด็กเป็นสำคัญ

๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เด็กมีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่าง ๆ โดยจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
ดนตรี การเคล่ือนไหวและจงั หวะตามจนิ ตนาการ ประดษิ ฐ์สิง่ ตา่ ง ๆ อย่างอสิ ระ เลน่ บทบาทสมมติ เล่นน้ำ เลน่
ทราย เล่นบล็อก และเล่นก่อสร้างเพื่อให้เด็กมีพัฒนาตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น ได้กำหนดการจัด
กิจกรรมประสบการณ์ ๖ กิจกรรม เพื่อพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา
ดงั ต่อไปน้ี

๑. กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ
๒. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ (กจิ กรรมในวงกลม)
๓. กิจกรรมสรา้ งสรรค์

226

๔. กิจกรรมเสรี
๕. กิจกรรมกลางแจง้
๖. กจิ กรรมเกมการศึกษา
กิจกรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ เป็นกิจกรรมทีใ่ ห้เดก็ ได้เคลื่อนไหวส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายตามจังหวะ
อย่างอิสระ โดยใช้เสียงเพลง คำคล้องจอง เครื่องเคาะจังหวะ และอุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อ
ส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ รู้จังหวะและควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ กิจกรรม
เคลอ่ื นไหวและจังหวะประกอบไปด้วย
๑. การเคลือ่ นไหวขน้ั พ้นื ฐาน
๒. การเคลื่อนไหวอสิ ระ
๓. การเคลอ่ื นไหวตามคาบรรยาย
๔. การเคลื่อนไหวตามจนิ ตนาการ
๕. การเคลือ่ นไหวตามขอ้ ตกลง
๖. การเคลอื่ นไหวเชิงสร้างสรรค์
๗. การเคลอื่ นไหวอยกู่ บั ท่ี
๘. การเคล่ือนไหวเปน็ คู่
๙. การทาทา่ ทางประกอบเพลง
๑๐. การทาท่าทางตามความหมายของเพลง
๑๑. การเปน็ ผูน้ าและผ้ตู าม
๑๒. การเปน็ ผู้นาและผู้ตาม
๑๓. การร้องเพลง ฯลฯ
การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ผู้ดูแลเดก็ สามารถจัดใหส้ ัมพันธ์กบั เนื้อหาหรือประสบการณ์ท่ีผู้ดูแลเด็ก
ต้องการให้เด็กเรียนรู้ และควรจัดกิจกรรมนี้อย่างน้อยวันละประมาณ ๑๕ – ๒๐ นาที ก่อนสิ้นสุดกิจกรรมทุก
ครั้งควรให้เดก็ ได้พกั เชน่ นอน น่ังฟงั เพลงเบา ๆ ฯลฯ
จดุ มุ่งหมาย
๑. ไดเ้ คลือ่ นไหวสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย
๒. กล้าแสดงออกและมวี ธิ คี ิดเร่มิ สร้างสรรค์
๓. เกิดความซาบซงึ้ และมสี ุนทรียภาพในการเคลือ่ นไหวตามจงั หวะ
๔. รู้จกั ปรบั ตัวเมือ่ ทากิจกรรมร่วมกบั เพื่อน
๕. เกิดความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ

วัสดอุ ปุ กรณ์
๑. เคร่อื งประกอบจงั หวะ เชน่ รามะนา กลอง กรบั ฉงิ่ ฯลฯ
๒. แถบบันทึกเสียงเพลง เคร่ืองเล่นเทป
๓. อุปกรณป์ ระกอบการเคล่ือนไหว เชน่ หว่ งหาย แถบผา้ ถงุ ทราย ฯลฯ

กจิ กรรม
๑. ร้องเพลง ทอ่ งคำกลอน คำคล้องจอง และเคลอื่ นไหวตามบทเพลง คำกลอน คำคลอ้ งจอง
๒. เคลือ่ นไหวพื้นฐาน เชน่ เดิน ว่ิง กระโดด ฯลฯ ตามสญั ญาณนดั หมายหรอื ตามจงั หวะเพลง

227

๓. เคลือ่ นไหวอิสระตามจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายให้มากท่ีสุด
ขณะเดียวกนั ให้คำนึงถงึ การใชพ้ น้ื ทรี่ ะดับและจงั หวะในขณะเคล่ือนไหวของร่างกาย

๔. เล่นเครอื่ งเลน่ ดนตรงี ่าย ๆ ประเภทเคาะ เชน่ กรบั รามะนา กลอง ฯลฯ และเคลอ่ื นไหวประกอบ
๕. ให้เดก็ เคลอ่ื นไหวตามความคิดสร้างสรรค์ โดยใชอ้ ปุ กรณ์ ประกอบในการเคล่ือนไหว เช่นห่วง แถบ
ผ้า ถงุ ทราย ฯลฯ
ข้อเสนอแนะ
๑. สร้างบรรยากาศใหเ้ ด็กเกิดความรู้สึกเพลดิ เพลินสนุกสนานและมีความเป็นกนั เอง
๒. ไมบ่ ังคบั ถา้ เด็กไมย่ อมเข้ารว่ มกิจกรรมควรใหเ้ วลาและใหโ้ อกาสจนกวา่ เด็กสนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรม
๓. ควรให้เดก็ ไดแ้ สดงออกอย่างทั่วถึง

กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ (กิจกรรมในวงกลม)
จุดมงุ่ หมาย

๑. เพอ่ื ให้เด็กเขา้ ใจเนือ้ หาและเรือ่ งราวแผนการจัดประสบการณ์
๒. เพอ่ื ให้เดก็ มคี วามสัมพันธ์ใกลช้ ดิ กบั ครู และครจู ะได้ดแู ลพฤตกิ รรมของเด็กอยา่ งใกลช้ ิด
๓. เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดฝ้ กึ ความมรี ะเบียบวนิ ัย มารยาทในการฟงั พดู และลกั ษณะนสิ ัยที่ดี
บทบาทและหนา้ ท่ีของครู
ก่อนจัดประสบการณ์ ครูจะต้องศึกษาการทำแนวทางในการจัดประสบการณ์นี้อย่างละเอียดเพื่อได้
แนวทางในการจัดเตรียมประสบการณ์ให้กับเด็ก และจัดเตรียมสื่อการจัดประสบการณ์ที่ได้เสนอแนะไว้อย่าง
ครบถ้วน เพื่อที่จะทำให้การสอนบรรลุจุดมุ่งหมายที่ได้ตั้งไว้อย่างสมบูรณ์อย่างไรก็ตาม ครูอาจปรับปรุง
เปล่ียนแปลงไดต้ ามความเหมาะสมของท้องถน่ิ
การจดั ประสบการณ์เนื้อหาใหเ้ ดก็ ตอ้ งจัดกจิ กรรมให้เดก็ สนใจ เชน่
๑. ทศั นศกึ ษาตามแหลง่ เรียนรู้
๒. การเลา่ เรอ่ื งให้ผ้อู ่ืนเข้าใจ
๓. การเลา่ ประสบการณต์ ามเนือ้ หาต่าง ๆ
๔. การอภิปราย ซกั ถาม
๕. การสนทนา ตอบคำถาม
๖. ทักษะกระบวนการกลุ่ม
๗. การทดลอง
๘. การอธบิ ายสง่ิ ตา่ ง ๆ
๙. ทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น
๑๐. การแก้ปัญหาสถานการณจ์ าลอง
๑๑. การแสดงบทบาทสมมติ
๑๒. การลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ
๑๓. การรบั รดู้ ้วยประสาทสมั ผสั ท้งั 5
๑๔. การทำกิจกรรมร่วมกบั ผอู้ น่ื
๑๕. การนบั จำนวน เพม่ิ ลด
๑๖. การเปรียบเทยี บเวลา
๑๗. การจำแนกเปรียบเทยี บ

228

๑๘. การเลา่ นิทาน
๑๙. การร้องเพลง
ฯลฯ

กิจกรรมสร้างสรรคแ์ ละกิจกรรมเสรี
จดุ มงุ่ หมาย ศูนย์การเรียนกิจกรรมเสรหี รอื มมุ ประสบการณ์ มีความมงุ่ หมายท่ีสำคัญโดยเฉพาะ ดงั นี้
๑. เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณต์ รง ด้วยการประกอบกจิ กรรมทีส่ อดคล้องกบั
ธรรมชาติ และสนองความตอ้ งการของเด็กทางการเล่นทแ่ี ฝงไว้ซ่ึงการศกึ ษา
๒. เพ่อื เปิดโอกาสให้เด็กไดท้ ดลอง คดิ คน้ คว้า และสรา้ งสรรค์ดว้ ยความสนุกและ
เพลดิ เพลนิ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองโดยไมต่ ้องวติ กกงั วล
๓. เพ่อื ฝึกทกั ษะการเตรียมความพร้อมด้านประสาทสัมพนั ธท์ างตาและมือเกิด
พัฒนาการทางการตัดสินใจ การมีเหตุผล รู้ขนาด จำนวนสี และรูปลักษณะ ทั้งช่วยฝึกเชาวน์ปัญญา อันเป็น
ทางนำหรอื เตรียมเดก็ ไปส่กู ารอ่าน และการเขียนในโอกาสตอ่ ไป
๔. เพือ่ ฝกึ เดก็ ให้ทำงานเปน็ กลุ่ม เรียนรสู้ ทิ ธแิ ละหน้าท่ี ความรับผิดชอบของตน
และเพ่ือนภายในสงั คมเลก็ ๆ และรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื
๕. เพื่อฝกึ ให้รจู้ กั ประหยัดวสั ดกุ ารศกึ ษา ฝึกเดก็ ให้รู้จกั การเลน่ เครอ่ื งเล่น การเก็บ
รกั ษาอปุ กรณ์เครอ่ื งเล่น ให้อยู่ในสภาพทเี่ รยี บรอ้ ยและครบถว้ น
๖. เป็นวธิ กี ารท่ีเดก็ ๆ ไดร้ ับความรกั ความอบอนุ่ การอบรมเล้ียงดู และการ
ปกป้องใหเ้ กดิ ความปลอดภัยท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั ในสถานศึกษาได้อยา่ งมีความสุข
๗. เป็นวิธกี ารช่วยส่งเสริมเด็ก ๆ ได้รบั พัฒนาการทางอารมณจ์ ติ ใจและร่างกาย
สตปิ ัญญา และสังคม ครบถ้วนพร้อมในโอกาสเดียวกัน
๘. เป็นวิธกี ารช่วยใหค้ รทู ราบปญั หา ความคับข้องใจเดก็ ทาใหค้ รสู ามารถหาวิธี
ชว่ ยคลีค่ ลายปญั หาแก่เดก็ ได้
๙. เปน็ วิธกี ารปูพืน้ ฐานประสบการณ์ และความรู้ ให้เดก็ มีความพรอ้ มสามารถช่วย
ตนเองได้ถูกต้อง เหมาะสมกับวยั ของเดก็ พรอ้ มทจ่ี ะศึกษาต่อในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ไดอ้ ยา่ งเป็นสุข
๑๐.เป็นวิธีทช่ี ว่ ยใหค้ รทู ราบความสนใจเป็นพิเศษของเดก็ และสามารถประเมินผล
พัฒนาการ และพฤติกรรมของเด็กแต่ละคนได้ พร้อมที่จะรายงานลงในสมุดรายงานประจาวันเด็กแต่ละคนได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

๑๑. เป็นวิธีการช่วยให้ครูตื่นตัวอยู่เสมอ ในการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม สำรวจแหล่ง
วสั ดุ อุปกรณ์ และคิดค้น สรา้ งสรรค์ อปุ กรณใ์ หม่ ๆ ข้ึน เพ่อื สง่ เสริมความพร้อมให้แกเ่ ด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
มากย่งิ ขน้ึ

229

กิจกรรมกลางแจ้ง
จดุ มงุ่ หมาย

๑. เพ่ือให้เดก็ ไดอ้ อกกาลังกายกลางแจ้งซ่ึงจะชว่ ยใหเ้ ดก็ มสี ุขภาพดีข้นึ
๒. เพอื่ พัฒนากลา้ มเนอ้ื ใหญ่ กล้ามเนือ้ เลก็ และฝกึ ประสาทสมั พนั ธ์ระหว่างมอื กบั ตามือกับเทา้
๓. เพอ่ื เปน็ การพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ สงั คม สตปิ ญั ญาและจนิ ตนาการของเด็ก
ลักษณะการจดั กจิ กรรมกลางแจง้
๑. การละเล่นพื้นเมอื ง
๒. เกมต่าง ๆ
๓. การเลน่ บา้ นจำลอง
๔. การเล่นทราย
๕. การเลน่ น้ำ
๖. การเลน่ เคร่อื งเลน่ สนาม
๗. การเดนิ ทรงตัวบนกระดาน
๘. การเดินตามแนว
๙. การเดนิ ถอยหลงั
๑๐. การรบั – สง่ บอล
๑๑. การขว้างบอลไกล
๑๒. การเตะบอลเข้าประตู
๑๓. การกลงิ้ บอลกระทบเป้า
๑๔. การปาเปา้
๑๕. การโหนตัว
ฯลฯ
บทบาทและหนา้ ที่ครูในการจดั กิจกรรมการเล่นกลางแจง้
การออกกำลังกายของเด็ก ๆ นั้น ได้แก่ การวิ่ง การกระโดด การม้วนหน้า ม้วนหลัง การกลิ้ง การปีน
ปา่ ย การวิง่ แขง่ การลาก การเขน็ เปน็ ต้น ในการเล่นนัน้ บางอย่าง จาเป็นต้องมีส่ือประกอบด้วย แต่บางอย่าง
ไม่จำเป็นต้องมสี ่ือก็ได้ แต่ผู้ดูแลเด็กจะตอ้ งเตรียมตวั เพือ่ จดั กิจกรรมให้เดก็ บทบาทและหน้าทีข่ องผู้ดูแลเด็กท่ี
ควรปฏิบตั ิในการจดั กิจกรรมกลางแจ้ง คอื
๑. หากจะให้เดก็ เลน่ เครอื่ งเลน่ สนาม ผ้ดู ูแลเด็กจะต้องทาการตรวจสอบเครอ่ื งเล่นน้นั
๒. วา่ อยูใ่ นสภาพเรยี บร้อยหรอื ไม่ หรือจะเป็นอันตรายตอ่ เดก็ หรอื ไม่
๒. ผ้ดู แู ลเด็ก จะต้องแนะนำการเลน่ ทถี่ ูกวิธแี ละปลอดภยั ให้กับเด็กทุกครง้ั จงึ ใหเ้ ลน่
๓. ผดู้ ูแลเดก็ จะตอ้ งฝึกระเบยี บวนิ ยั ใหเ้ ดก็ ทกุ ครง้ั ท่ีมกี ารเล่นกลางแจ้ง
๔. ปลอ่ ยใหเ้ ดก็ เลน่ อยา่ งอสิ ระ โดยผู้ดแู ลเดก็ คอยดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ
๕. เม่อื เลิกเล่นแล้ว เกบ็ สงิ่ ของให้เขา้ ท่ี และทำความสะอาดบริเวณที่เลน่ ให้เรยี บร้อยทกุ ครง้ั
๖. ใหเ้ ด็กทาความสะอาดร่างกายพร้อมทง้ั แต่งกายให้เรียบรอ้ ยทกุ คร้ังหลังจากเลกิ เลน่ กลางแจ้งแลว้

230

เกมการศกึ ษา
เกมการศึกษาเป็นเกมการเล่นที่ฝึกการสังเกตพัฒนากระบวนการคิด และเกิดความคิดรวบยอด เกม

การศึกษามีกฎ กติกาง่าย ๆ เด็กสามารถเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มได้เกมการศึกษาที่เหมาะสมสำหรับเด็ก
ปฐมวัย เช่น เกมการจับคู่สิ่งที่เหมือนกัน เกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่ เกมการเรียงลาดับเกมการสังเกต
รายละเอียดของภาพ เกมการหาความสัมพันธ์ ฯลฯ

เกมการศึกษาที่จัดให้เด็กเล่นควรเริ่มจากง่ายไปหายาก จากภาพไปสู่รูปทรงและสัญลักษณ์ที่ซับซ้อน
ขึ้น เมื่อครูให้เด็กเล่นเกมใหม่ควรแนะนำวิธีการเล่น และเมื่อเล่นเสร็จครูควรตรวจสอบความถูกต้อง บางเกม
เด็กอาจตรวจสอบคาถามได้ดว้ ยตนเอง

เกมการศึกษานี้ครูสามารถผลิตได้ด้วยตนเองอย่างง่าย ๆ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาหรือประสบการณ์ท่ี
ต้องการให้เด็กเรียนรู้ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเล่นเกมการศึกษาเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มย่อยทุกวัน โดยอาจจัด
วางไว้ให้เด็กเลอื กเล่นทบทวนตามความตอ้ งการนอกเหนือจากเวลาทก่ี ำหนด
จุดม่งุ หมาย

๑. รู้จักสงั เกต เปรียบเทียบ และจำแนก
๒.ส่งเสริมการคิด หาเหตผุ ล และการตดั สนิ ใจแก้ปญั หา
๓.ส่งเสรมิ พัฒนากลา้ มเน้อื เลก็ และการประสานสัมพนั ธร์ ะหว่างมือกบั ตา
๔.สง่ เสรมิ การเลน่ ร่วมกนั
ตัวอย่างเกมการศกึ ษา
เกมจับคู่ * เกมจับคู่ภาพหรือสิง่ ของ สามารถแบง่ ไดห้ ลายแบบ เชน่
- จบั ค่ทู ีเ่ หมือนกนั ทุกประการ
- จับคภู่ าพกับเงาของสิ่งเดียวกัน
- จับค่ภู าพกบั โครงรา่ งของส่ิงเดยี วกัน
- จับคู่ภาพท่ซี อ่ นอยใู่ นภาพหลกั
- จับคภู่ าพเต็มกบั ภาพที่แยกเป็นส่วน ๆ
* เกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่ (แผนภาพเกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่)
* เกมการเรียงลาดบั (แผ่นภาพเกมการเรยี งลาดบั )
* เกมการสงั เกตรายละเอียดของภาพ เชน่ เกมการตดั ต่อ (จำนวนช้นิ ตามความเหมาะสม
ของวยั ผู้เล่น)
* เกมลอตโต (แผ่นภาพลอตโต)
* เกมหาความสัมพนั ธ์ เชน่ เกมตารางสมั พันธ์ (เมตรกิ เกม) เกมอปุ มาอุปมยั , เกมหา
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ ของเคร่ืองใช้ ฯลฯ

231

ตารางกิจกรรมประจำวนั

...................................

เวลา กิจกรรม จำนวนเวลา หมายเหตุ

07.00 – 08.00 น. รบั เดก็ เป็นรายบคุ คล ตรวจสขุ ภาพ 60 นาที

08.00 – 08.15 น. เตรียมเขา้ แถว เคารพธงชาติ สวดมนต์ 15 นาที
กจิ กรรมยามเชา้

08.15 – 08.20 น. สนทนา ข่าวและเหตุการณ์ 5 นาที

08.20 - 09.00 น. กจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจงั หวะ 40 นาที

09.00 - 09.40 น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 40 นาที

09.40 - 10.20 น. กิจกรรมสรา้ งสรรค์ 40 นาที

10.20 - 11.00 น. กจิ กรรมเสรี / เล่นตามมุม 40 นาที

11.00 - 11.30 น. กิจกรรมกลางแจง้ 40 นาที

11.30 – 12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวนั / พกั เที่ยง 30 นาที

12.00 – 14.30 น. นอนพักผ่อนกลางวัน 90 นาที

14.30 น.-14.50 น. ตื่นนอน เก็บท่ีนอน เข้าหอ้ งน้ำ ลา้ งหน้า 20 นาที
ดม่ื นม

14.50-15.30 น. กิจกรรมเกมการศึกษา 40 นาที

15.00 – 15.30 น. สรปุ ทบทวนบทเรยี น เตรยี มตวั กลบั บา้ น 30 นาที

15.30 – 17.30 น. PLC /ช่วั โมงสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ 2 ชั่วโมง

หมายเหตุ การจดั กจิ กรรมในแตล่ ะวันสามารถปรับเปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม

232

เทคโนโลยีสงิ่ อำนวยความสะดวก ส่ือ และแหลง่ เรยี นรู้
...................................................

การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการ ต้องใช้เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ และแหล่งเรียนรู้ ท่ี
สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพเิ ศษของแตล่ ะบคุ คล รวมทั้งการใช้แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่น มาใช้
ประกอบในการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ
ควรจัดใหม้ อี ยา่ งเพียงพอ เพอื่ พฒั นาให้เด็กพิการเกิดการเรยี นรอู้ ยา่ งแท้จรงิ
เทคโนโลยสี ง่ิ อำนวยความสะดวก ส่ือ และแหลง่ เรียนร้นู น้ั ผ้สู อนสามารถจัดทำและพฒั นาขึ้นเอง หรือพจิ ารณา
เลือกใช้จากคู่มือรายการสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และ ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษามาใช้
ประกอบในการจดั การเรียนรู้ สามารถส่งเสริมและส่ือสาร ให้เดก็ พกิ ารเกดิ การเรยี นรู้ โดยศนู ย์การศึกษาพิเศษ
ควรจดั ให้มอี ย่างเพียงพอ เพือ่ พัฒนาให้เด็กพกิ ารเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งแท้จรงิ ควรดำเนนิ การดงั นี้

๑. จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ ศูนย์สื่อ นวัตกรรม และเครือข่ายการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ในสถานศึกษา
และชุมชน เพื่อการศึกษา ค้นคว้า และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถ่ิน
ชุมชน

๒. จัดทำ จัดหาเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กพิการ ส่งเสริมให้ผู้สอน
จดั ทำ จัดหาสื่อท่หี ลากหลาย รวมท้ังประยุกตใ์ ช้สิ่งที่มอี ยู่ในทอ้ งถน่ิ เปน็ สือ่ การเรียนรู้

๓. เลือกใช้เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เหมาะสม และหลากหลาย
สอดคล้องกับวิธกี ารเรียนรแู้ ละความแตกตา่ งของแต่ละบุคคล

๔. ประเมินความเหมาะสมคุณภาพของเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ ที่เลือกใช้ในการจัดการ
เรียนรู้

๕. ศึกษาค้นควา้ วิจยั เพอื่ พฒั นาเทคโนโลยสี ิ่งอำนวยความสะดวก สือ่ การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับการ
พฒั นาเด็กพกิ าร

๖. จดั ใหม้ กี ารกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ คณุ ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยสี ิ่งอำนวยความสะดวก ส่ือ และแหล่ง
เรยี นรอู้ ย่างสมำ่ เสมอ

ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ และแหล่ง
เรียนรู้ที่ใช้ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ควรคำนึงถึงหลักการสำคัญ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร จุดประสงค์
การเรยี นรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การจดั ประสบการณ์ เปน็ ตน้

233

การส่งเสริมพัฒนาการและการเรยี นรู้
...................................................

ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ได้กำหนดแนว
ปฏบิ ัตกิ ารอบรมเลยี้ งดู โดยเนน้ การอบรมเล้ยี งดตู ามวถิ ชี ีวิตประจำวัน และส่งเสรมิ พัฒนาการทกุ ดา้ น ได้แก่

ด้านร่างกาย สง่ เสริมให้เดก็ ใช้รา่ งกายตามความสามารถ
ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ สง่ เสรมิ การตอบสนองความต้องการของเด็กอย่างเหมาะสม
ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทีอ่ บอ่นุ และปลอดภัย
ดา้ นสงั คม ส่งเสริมให้เด็กมปี ฏสิ มั พันธก์ ับบุคคลใกลช้ ิด
ด้านสติปัญญา ส่งเสริมให้เด็กได้สังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเพื่อสร้างความเข้าใจและใช้ภาษา
เพ่อื การส่อื สาร ส่งเสริมการคดิ และการแกป้ ญั หาทเี่ หมาะสมกับวยั
การอบรมเลีย้ งดูตามวถิ ีชวี ิตประจำวนั สำหรับเดก็ อายุ ๓-๖ ปี มคี วามสำคัญอย่างยิง่ ต่อการวางรากฐาน
ชีวิตของเด็ก ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา การจัดกิจกรรมในแต่ละวัน ควรจัดให้
สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถตามวัยของเด็ก โดยผ่านการอบรมเลี้ยงดูตามวิถี
ชีวิตประจำวัน และการเล่นตามธรรมชาติของเด็ก โดยได้กำหนดแนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดูตามวิถี
ชีวติ ประจำวัน ดงั น้ี
๑. การฝึกสุขนิสัยและลักษณะนิสัยที่ดี เป็นการสร้างสุขนิสยั ที่ดใี นการรบั ประทาน อาหาร การนอน
การทาความสะอาดร่างกาย การขับถ่าย ตลอดจนปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพอนามัย ความ
ปลอดภยั และการแสดงมารยาทท่สี ภุ าพ นมุ่ นวล แบบไทย
๒. การเคล่อื นไหวและการทรงตัว เปน็ การส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อแขนกับขา มือกับน้ิวมือ และส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกายในการเคลื่อนไหว หรือออกกำลังกายทุกส่วน โดยการจัดให้เด็กได้เคลื่อนไหว ทั้งกล้ามเน้ือ
ใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และตามความสามารถของวัย เช่น คว่ำ คลาน ยืน เดิน เล่นนิ้วมือ เคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายตามเสียงดนตรี ปีนป่ายเครื่องเล่นสนามเด็กเล็ก เล่นม้าโยก ลากจูงของเล่นมีล้อ ขี่จักรยานทรงตวั
ของเดก็ เลก็ โดยใช้เทา้ ช่วยไถ
๓. การฝกึ ประสานสัมพันธ์ระหว่างมอื ตา เปน็ การฝกึ ความแข็งแรงของกล้ามเน้อื มอื น้ิวมอื ใหพ้ ร้อม
ทจ่ี ะหยบิ จับ ฝกึ การทำงานอย่างสมั พันธ์กันระหว่างมือและตา รวมทงั้ ฝึกให้เดก็ รจู้ ักคาดคะเน หรือกะระยะทาง
ของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเทียบกับตัวเองในลักษณะใกล้กับไกล เช่น มองตามเครื่องแขวนหรือโมบายที่มีเสียง
และสี ร้อยลูกปัดขนาดใหญ่ เลน่ หยอดบลอ็ กรปู ทรงลงกลอ่ ง ตอกหมดุ โยนรบั ลกู บอล เลน่ น้ำ เลน่ ป้นั แป้ง ใช้สี
เทียนแทง่ ใหญ่วาดเขียนขดี เข่ยี เป็นตน้
๔. การส่งเสริมด้านอารมณ์ เป็นการส่งเสริมการเลี้ยงดูในการตอบสนองความต้องการของเด็กด้าน
จิตใจ โดยการจดั สภาพแวดล้อมท่ีสง่ เสริมให้เด็กเกิดความอบอุ่นและมีความสุข เช่น สบตา อมุ้ โอบกอด สัมผัส
การเป็นแบบออย่างที่ดีในด้านการแสดงออกทางอารมณ์ตอบสนองต่อความรู้สึกที่เด็กแสดงออกอย่างนุ่มนวล
ออ่ นโยน ปลกู ฝังการช่นื ชมธรรมชาติรอบตวั เปน็ ตน้
๕. การส่งเสริมทักษะทางสังคม เปน็ การส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์กับพ่อแม่ ผ้เู ลย้ี งดู และบุคคล
ใกล้ชิด โดยการพูดคุยหยอกล้อหรือเล่นกับเด็ก เช่น เล่นจ๊ะเอ๋ เล่นจ้าจี้ เล่นโยกเยก เล่นประกอบคำร้อง เช่น
จันทร์เจ้าเอย แมงมมุ ตง้ั ไขล่ ้ม หรือพาเด็กไปเล่นนอกบ้าน พบปะเดก็ อื่นหรอื ผูใ้ หญภ่ ายใตก้ ารดูแลอย่างใกล้ชิด
เช่น พาไปบ้านญาติ พาไปร่วมกิจกรรมทีศ่ าสนสถาน เปน็ ต้น
๖. การใช้ประสาทสัมผัสทั้งหา้ เป็นการกระตุ้นการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าในการมองเห็น การ
ได้ยินเสียง การได้กล่ิน การล้ิมรส และการสัมผสั จบั ต้องสงิ่ ตา่ ง ๆ ที่แตกตา่ งกันในดา้ น

234

ขนาด รปู ร่าง สี นา้ หนกั และผวิ สมั ผสั เชน่ การเล่นมองตนเองกับกระจกเงา การเล่นของเล่นท่ีมพี น้ื ผวิ แตกต่าง
กนั เป็นตน้

๗. การส่งเสริมการสำรวจสิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว เป็นการฝึกให้เด็กเรียนรู้ สิ่งรอบตัวผ่านเหตุการณ์ และ
สื่อที่หลากหลายในโอกาสต่าง ๆ รู้จักสำรวจ และทดลองสิ่งที่ไม่คุ้นเคย เช่น มองตามสิ่งของ หันหาที่มาของ
เสยี ง คน้ หาสงิ่ ของท่ปี ดิ ซ่อนจากสายตา กิจกรรมทดลองงา่ ย ๆ เปน็ ต้น

๘. การสง่ เสรมิ ทักษะทางภาษา เป็นการฝกึ ใหเ้ ด็กเปลง่ เสยี ง เลียนเสยี งของผู้คน เสยี งสัตวต์ า่ ง ๆ รจู้ กั
ชื่อเรียกของตนเอง ชื่ออวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ชื่อพ่อแม่หรือผู้คนใกล้ชิดและชื่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
ตลอดจนฝึกให้เด็กรู้จักสื่อความหมายด้วยคำพูดและท่าทาง ชี้ชวนและสอนให้รู้จักชื่อเรียกสิ่งต่าง ๆ จากของ
จริง อา่ นหนังสือนทิ านภาพหรอื รอ้ งเพลงงา่ ย ๆ ให้เดก็ ฟัง เป็นตน้

๙. การส่งเสริมจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นการฝึกให้เด็กไดแ้ สดงออกทางความคิดและ
ตามจินตนาการของตน เช่น ขีดเขียนวาดรูปอย่างอิสระ การเล่นบล็อกขนาดใหญ่ เล่นของเล่นสร้างสรรค์ พูด
เลา่ เรื่องตามจินตนาการ เล่นสมมติ เป็นต้น

235

การประเมนิ พฒั นาการ
...................................................

การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญาของเด็กรวม โดยถือเป็นกระบวนการต่อตนเอง และเป็น ส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติที่จัด
ให้เด็กในแต่ละวัน ผลที่ได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนำมาจัดทำสารนิทัศน์หรือจัดทำข้อมูลหลักฐาน
หรือเอกสารอย่างเป็นระบบ ด้วยการวบรวมผลงานสำหรับเด็กเป็นรายบุคคลที่สามารถบอกเรื่องราวหรือ
ประสบการณ์ที่เด็กได้รับว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ ให้นำข้อมูลผลการประเมิน
พัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรับปรุงวางแผล การจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแตล่ ะคนไดร้ ับการพัฒนาตาม
จดุ หมายของหลกั สตู รอยา่ งตอ่ เน่ือง การประเมนิ พฒั นาการควรยดึ หลัก ดังนี้

๑. วางแผน
2. ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ครบทกุ ด้าน
๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบคุ คลอยา่ งสมำ่ เสมอต่อเนอ่ื งตลอดปี
๔. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายไม่
ควรใช้แบบทดสอบ
๕. สรุปผลการประเมิน จัดทำข้อมูลและนำผลการประเมินไปใช้พัฒนาเด็กสำหรับวิธีการประเมินที่
เหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม การสนทนากับเด็ก การ
สมั ภาษณ์ การวเิ คราะหข์ ้อมูลจากผลงานเด็กท่เี ก็บอยา่ งมีระบบ
ประเภทของการประเมินพฒั นาการ
การพฒั นาคุณภาพการเรยี นร้ขู องเด็ก ประกอบด้วย
๑) วัตถุประสงค์ (Obejetive) ซึ่งตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ิพุทธศักราช ๒๕๖๐ หมายถึง จุดหมายซึ่งเป็น
มาตรฐานคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ตัวบง่ ชแี้ ละสภาพทีพ่ ึงประสงค์
๒) การจัดประสบการณการเรยี นรู้ (Leanning) ซ่ึงเปน็ กระบวนการได้มาของความรู้หรือทักษะผา่ นการกระทำ
สิ่งต่าง ๆ ที่สำคัญตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดให้หรือที่เรียกว่า ประสบการณ์สำคัญ ในการช่วย
อธิบายให้ครูเข้าใจถึงประสบการณ์ทีเ่ ด็กปฐมวัยตอ้ งทำเพือ่ เรียนรู้สิง่ ต่าง ๆ รอบตัว และช่วยแนะผู้สอนในการ
สงั เกต สนับสนุน และวางแผนการจัดกจิ กรรมใหเ้ ดก็
๓) การประเมินผล(Evaluation) เพือ่ ตรวจสอบพฤตกิ รรมหรือความสามารถตามวัยท่ีคาดหวังให้เด็กเกิดขึ้นบน
พื้นฐานพัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เรียกว่า สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ท่ีใช้
เป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพเด็ก
ทงั้ นป้ี ระเภทของการประเมนิ พัฒนาการ อาจแบง่ ไดเ้ ป็น ๒ ลกั ษณะ คือ
๑) แบ่งตามวัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน
การแบ่งตามวัตถุประสงคข์ องการประเมนิ แบ่งได้ ๒ ประเภท ดังนี้
๑.๑) การประเมินความก้าวหน้าของเด็ก (Formative Evaluation) หรือการประเมินเพื่อพัฒนา
(Formative Assessment) หรอื การประเมินเพื่อเรยี น (Assessment for Learning) เปน็ การประเมินระหว่าง
การจัดระสบการณ์โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในระหว่างทำกิจกรรม
ประจำวัน/กิจวัตรประจำวันปกติอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลแล้วนำมาใช้ ในการ
ส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของเด็ก และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอน การประเมิน
พัฒนาการกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอนจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กันหากขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ก็ขาดประสทิ ธิภาพ เป็นการประเมินผลเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ควรส่งเสริม ผู้สอนต้องใช้

236

วิธีการและเครื่องมือประเมินพัฒนาการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานท่ี
แสดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล การใช้แฟ้มสะสมงาน เพื่อให้ได้ข้อสรุปของ
ประเด็นที่กำหนด สิ่งที่สำคัญที่สุดในการประเมินความก้าวหน้าคือ การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในลักษณะ
การเชอื่ มโยงประสบการณ์เดิมกบั ประสบการณ์ใหม่ทำให้การเรียนรูข้ องเด็กเพมิ่ พูน ปรบั เปลี่ยนความคดิ ความ
เขา้ ใจเดมิ ทไี่ ม่ถูกตอ้ ง ตลอดจนการให้เด็กสามารถพฒั นาการเรียนรู้ของตนเองได้

๑.๒) การประเมินผลสรุป (Summatie Evaluation) หรือการประเมินเพื่อตัดสินผลพัฒนาการ
(SummatieAssessment) หรือการประเมินสรุปผลของการเรียนรู้ (Assessmentof Learning)เป็นการ
ประเมินสรุปพัฒนาการเพื่อตัดสินพัฒนาการของเด็กว่ามีความพร้อมตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยหรือไม่เพื่อเป็นการเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับชั้นประถมศึกษาปีท่ี
๑ ดังนั้น ผู้สอนจึงควรให้ความสำคัญกับการประเมินความก้าวหน้าของเด็กในระดับห้องเรียนมากกว่าการ
ประเมินเพ่อื ตดั สนิ ผลพฒั นาการของเด็กเมื่อสนิ้ ภาคเรียนหรอื สิ้นปีการศึกษา
๒) แบง่ ตามระดับของการประเมนิ
การแบ่งตามระดบั ของการประเมิน แบง่ ได้เปน็ ๒ ประเภท

๒.๑) การประเมินพัฒนาการระดับชั้นเรียน เป็นการประเมินพัฒนาการที่อยู่ในกระบวนการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ ผู้สอนดำเนินการเพื่อพัฒนาเด็กและตัดสินผลการพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สังคม และสติปัญญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรียนรู้(Unit) ที่ผู้สอนจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
ผู้สอนประเมินผลพัฒนาการตามสภาพที่พึงประสงค์และตัวบ่งชี้ที่กำหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละแผนกา รจัด
ประสบการณ์ของหนว่ ยการเรียนรดู้ ้วยวธิ ตี ่าง ๆ เชน่ การสงั เกตการสนทนา การสมั ภาษณ์ การรวบรวมผลงาน
ทีแ่ สดงออกถึงความก้าวหน้า แต่ละดา้ นของเดก็ เปน็ รายบคุ คล การแสดงกริยาอาการต่าง ๆ ของเดก็ ตลอดเวลา
ที่จัดประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อตรวจสอบและประเมินว่าเด็กบรรลุตามสภาพที่พึงประสงค์และตัวบ่งชี้ หรือมี
แนวโน้มว่าจะบรรลุสภาพที่พึงประสงค์และตัวบ่งชี้เพียงใด แล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง
ทั้งนี้ ผู้สอนควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการว่า เด็กมีผลอันเกิดจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือไม่
และมากน้อยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมหรือสะสมผลการประเมินพัฒนาการในกิจกรรม
ประจำวัน/กิจวัตรประจำวัน/หน่วยการเรียนรู้ หรืผลตามรูปแบบการประเมินพัฒนาการที่สถานศึกษากำหนด
เพ่อื นำมาเป็นข้อมูลใชป้ รังปรุงการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ และเปน็ ข้อมูลในการสรุปผลการประเมินพัฒนา
ในระดบั สถานศกึ ษาตอ่ ไปอกี ด้วย

๒.๒) การประเมินพัฒนาการระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก
เป็นรายบุคคลเป็นรายภาค/รายปี เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของเด็กในระดับปฐมวัยของ
สถานศึกษาว่าส่งผลตาการเรียนรู้ของเด็กตามเป้าหมายหรือไม่ เด็กมีสิ่งที่ต้องการได้รับการพัฒนาในด้านใด
รวมทั้งสามารถนำผลการประเมินพัฒนาการของเด็กในระดับสถานศึกษาไปเป็นข้อมูลและสารสนเทศในการ
ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โครงการหรือวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการจัด
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาตามแผนการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงาน
ผลการพัฒนาคณุ ภาพเด็กตอ่ ผปู้ กครอง นำเสนอคณะกรรมการถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานรบั ทราบ ตลอดจนเผยแพร่
ตอ่ สาธรณชน ชมุ ชน หรอื หน่วยงานตน้ สังกัดหรอื หนว่ ยงานตน้ สังกัดหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งตอ่ ไป

อนึ่ง สำหรับการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยในระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรอื ระดับประเทศนั้นหาก
เขตพื้นที่การศึกษาใดมีความพร้อม อาจมีการดำเนินงานในลักษณะของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเด็กปฐมวัยเข้ารบั
การประเมินก็ได้ ทั้งนี้ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยขอให้ถือปฏิบัติตามหลักการการประเมินพัฒนาการ
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

237

บทบาทหน้าที่ของผ้เู ก่ียวขอ้ งในการดำเนินงานประเมนิ พัฒนาการ
การดำเนินงานประเมนิ พัฒนาการของสถานศึกษานั้น ต้องเปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วข้องเข้ามามีส่วนร่วมใน

การประเมินพัฒนาการและร่วมรับผิดชอบอย่างเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาแต่ละขนาด ดังน้ีผู้ปฏิบัติ
บทบาทหน้าทีใ่ นการประเมนิ พฒั นาการ
ผู้สอน

๑. ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และแนวการปฏิบัติการประเมินพัฒนาการตามหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวัย

๒. วิเคราะห์และวางแผนการประเมินพัฒนาการที่สอดคลอ้ งกับหน่วยการเรียนรู/้ กิจกรรมประจำวัน/
กิจวตั รประจำวนั

๓. จัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการ และบันทึกผลการประจำวัน/กิจวัตร
ประจำวัน

๔. รวบรวมผลการประเมินพัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมินเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปี
การศกึ ษา

๕. สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการระดบั ชน้ั เรียนลงในสมุดบันทึกผลการประเมนิ พฒั นาการประจำช้นั
๖. จัดทำสมดุ รายงานประจำตัวนกั เรยี น
๗. เสนอผลการประเมนิ พฒั นาการต่อผบู้ ริหารสถานศึกษาลงนามอนุมัติ
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
๑.กำหนดผู้รับผิดชอบงานประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรและวางแนวทางปฏิบัติการประเมิน
พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยตามหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั
๒. นเิ ทศ กำกับ ติดตามให้การดำเนินการประเมินพัฒนาการใหบ้ รรลุเป้าหมาย

๓. นำผลการประเมินพัฒนาการไปจัดทำรายงานผลการดำเนินงานกำหนดนโยบายและวางแผน
พัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวยั
พอ่ แม่ ผปู้ กครอง

๑. ให้ความร่วมมือกับผู้สอนในการประเมินพฤติกรรมของเด็กที่สังเกตได้จากที่บ้านเพื่อเป็นข้อมูล
ประกอบการแปลผลทเี่ ท่ียงตรงของผสู้ อน

๒. รับทราบผลการประเมินของเด็กและสะท้อนให้ข้อมูลย้อนกลับที่เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมและ
พัฒนาเดก็ ในปกครองของตนเอง

๓. ร่วมกบั ผู้สอนในการจัดประสบการณห์ รือเปน็ วทิ ยากรท้องถ่ิน
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

๑. ให้ความเห็นชอบและประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและแนวปฏิบัติในการประเมิน
พัฒนาการตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย

๒. รับทราบผลการประเมนิ พฒั นาการของเดก็ เพอื่ การประกันคุณภาพภายใน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

๑. ส่งเสรมิ การจัดทำเอกสารหลักฐานว่าด้วยการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ของสถานศึกษา
๒. ส่งเสริมให้ผู้สอนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในแนวปฏิบัติการประเมินพัฒนาการตาม
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ตลอดจนความเข้าใจในเทคนิควิธีการ
ประเมนิ พฒั นาการในรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง

238

๓. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาพัฒนาเคร่ืองมือพัฒนาการตามมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์
ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยและการจัดเก็บเอกสารหลักฐานการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ

๔. ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับการประเมินพฒั นาการและการจัดทำเอกสารหลักฐาน
๕. จัดให้มีการประเมินพัฒนาการเด็กท่ีดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานตน้ สงั กัดและ
ให้ความรว่ มมอื ในการประเมินพัฒนาการระดับประเทศ
แนวปฏบิ ตั ิการประเมนิ พฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ในการจัดประสบการณ์ทุกขั้นตอนโดย
เริ่มตั้งแต่การประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนการจัดประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเด็กขณะปฏิบัติกิ
จรรมและการประเมินพฤติกรรมเด็กเมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้ พฤติกรรมการเรียนรู้และพัฒนาการ
ด้านต่าง ๆ ของเด็กที่ได้รับการประเมินนั้น ต้องเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และ
สภาพที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่ผู้สอนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมิน
พัฒนาการจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้การเรียนรู้ของเด็กบรรลุตามเป้าหมาย เพื่อนำผลการประเมินไป
ปรับปรุง พัฒนาการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ และใช้เปน็ ขอ้ มูลสำหรับการพัฒนาเด็กต่อไป สถานศึกษาควร
มีกระบวนการประเมินพัฒนาการและการจัดการอย่างเป็นระบบสรุปผลการประเมินพัฒนาการที่ตรงตาม
ความรู้ ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมที่แท้จริงของเด็กสอดคล้องตามหลักการประเมินพัฒนาการ รวมท้ัง
สะท้อนการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องแนวปฏิบัติการ
ประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยของสถานศกึ ษา มดี ังนี้
๑. หลักการสำคัญของการดำเนินการประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช
๒๕๖๐ สถานศึกษาที่จัดการศึกษาปฐมวัยควรคำนึงถึงหลักสำคัญของการดำเนินงานการประเมินพัฒนาการ
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สำหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ ๓-๖ ปี ดงั นี้
๑.๑ ผ้สู อนเป็นผรู้ ับผิดชอบการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั โดยเปดิ โอกาสให้ผ้ทู ่เี กี่ยวขอ้ งมีสว่ นรว่ ม
๑.๒ การประเมินพัฒนาการมีจุดมุ่งหมายของการประเมินเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าของเด็กและ
สรุปผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็
๑.๓ การประเมินพัฒนาการต้องมีความสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตัวบง่ ช้ี สภาพที่พึงประสงค์แต่ละวยั ซงึ่ กำหนดไว้ในหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั
๑.๔ การประเมินพัฒนาการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ต้องดำเนินการ
ด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้อย่างรอบด้านสมดุลทั้งด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา รวมทง้ั ระดับอายุของเด็ก โดยตั้งอยูบ่ นพน้ื ฐานของความเที่ยงตรงยุติธรรม
และเช่อื ถือได้
๑.๕ การประเมินพัฒนาการพิจารณาจากพัฒนาการตามวัยของเด็กการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
และการร่วมกิจกรรม ควบคู่ไปในกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ
อายุ และรูปแบบการจดั การศึกษา และต้องดำเนินการประเมนิ อยา่ งต่อเนื่อง
๑.๖ การประเมนิ พัฒนาการตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ มู้ ีสว่ นเก่ยี วข้องทุกฝ่ายไดส้ ะทอ้ นและตรวจสอบผลการ
ประเมนิ พัฒนาการ
๑.๗ สถานศึกษาควรจัดทำเอกสารบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในระดับชั้นเรียน
และระดับสถานศึกษา เช่น แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการตามหน่วยการจัดประสบการณ์ สมุดบันทึกผล
การประเมนพัฒนาการประจำชั้น เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินและรายงานผลพัฒนาการและสมุดรายงาน
ประจำตวั นกั เรยี น เพ่ือเป็นการส่อื สารขอ้ มูลการพัฒนาการเดก็ ระหวา่ งสถานศึกษากับบา้ น

239

๒. ขอบเขตของการประเมินพัฒนาการ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ได้กำหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัยเป็น

มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งถือเป็นคุณภาพลักษณะที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นตัวเด็กเมื่อจบ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย คุณลักษณะที่ระบุไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับ
เด็กทุกคน ดังนั้น สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนาเด็กให้มีคุณภาพมาตรฐานที่พึงประสงค์กำหนด ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาปฐมวัย แนวคิดดังกล่าวอยู่บนฐานความเชื่อที่ว่าเด็กทุกคนสามารถพัฒนาอย่างมีคุณภาพ
และเทา่ เทยี มได้ ขอบเขตของการประเมนิ พฒั นาการประกอบด้วย

๒.๑ สิ่งทจ่ี ะประเมนิ
๒.๒ วธิ แี ละเครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ
๒.๓ เกณฑ์การประเมินพฒั นาการ
๒.๑ ส่ิงที่จะประเมิน
การประเมนิ พฒั นาการสำหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี มีเปา้ หมายสำคัญคือ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์จำนวน
๑๒ ขอ้ ดงั นี้
๑. พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน คอื

มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสขุ นสิ ยั ทีด่ ี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน
สัมพนั ธ์กัน
๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๓ มีสขุ ภาพจิตดแี ละมีความสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานที่ ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตใจทีด่ ีงาม
๓. พัฒนาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน
ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข
๔. พฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสอื่ สารได้เหมาะสมกับวัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเ่ี ป็นพ้นื ฐานในการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกับวัย
๕. ด้านทักษะจำเป็นเฉพาะความพิการ ประกอบดว้ ย ๑ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๑๓ มกี ารพัฒนาทักษะจำเปน็ เฉพาะความพิการแต่ละประเภทใน
มาตรฐานน้ี แบ่งมาตรฐานได้ ๘ ประเภทความพิการ คือ
มาตรฐานท่ี ๑๓.๑ มกี ารพฒั นาทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางการเห็น
มาตรฐานที่ ๑๓.๒ มกี ารพัฒนาทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน

240

มาตรฐานที่ ๑๓.๓ มกี ารพฒั นาทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางสติปญั ญา
มาตรฐานท่ี ๑๓.๔ มีการพฒั นาทกั ษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางร่างกายหรอื
การเคลื่อนไหวหรอื สขุ ภาพ
มาตรฐานที่ ๑๓.๕ มกี ารพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๓.๖ มกี ารพฒั นาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการพดู และภาษา
มาตรฐานท่ี ๑๓.๗ มกี ารพฒั นาทักษะจาเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์
มาตรฐานท่ี ๑๓.๘ มกี ารพฒั นาทกั ษะจำเป็นเฉพาะบุคคลออทสิ ติก
สิ่งทีจ่ ะประเมนิ พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแต่ละดา้ น มีดังน้ี
ดา้ นร่างกาย ประกอบดว้ ย การประเมินการมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่
ดี การรู้จักรักษาความปลอดภัย การเคลื่อนไหวและการทรงตัว การเล่นและการออกกำลังกาย และการใช้มือ
อยา่ งคลอ่ งแคล่วประสานสัมพันธก์ ัน
ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่าง
เหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความสนใจ/
ความสามารถ/และมีความสุขในการทำงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ความรับผิดชอบในการทำงาน
ความซื่อสัตย์สุจริตและรู้สึกถูกผิด ความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน ตลอดจนการประหยัดอด
ออม และพอเพยี ง
ด้านสังคม ประกอบด้วย การประเมินความมีวินัยในตนเอง การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวัน การระวังภัยจากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย การดูแลรักษาธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม การมีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรับความเหมือน
และความแตกต่างระหว่างบุคคล การมีสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น การปฏิบัติตนเบื้องต้นในการเป็นสมาชิกที่ดีของ
สังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข
ด้านสติปัญญา ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่น
เข้าใจ ความสามารถในการอ่าน เขียนภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเชิงเหตุผล คิด
รวบยอด การเล่น/การทำงานศิลปะ/การแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ของ
ตนเอง การมีเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนรูแ้ ละความสามารถในการแสวงหาความรู้
๒.๒ วิธีการและเครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กแต่ละครั้งควรใช้วิธีการประเมินอย่างหลา กหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์
ท่ีสดุ วิธกี ารทเ่ี หมาะสมและนิยมใช้ในการประเมินเดก็ ปฐมวยั มดี ้วยกันหลายวธิ ี ดังต่อไปน้ี
๑. การสังเกตและการบันทึก การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสังเกตอย่างมีระบบ ได้แก่ การสังเกต
อย่างมจุดมุ่งหมายที่แน่นอนตามแผนที่วางไว้ และอีกแบบหนึ่งคือ การสังเกตแบบไม่เป็นทางการ เป็นการ
สงั เกตในขณะท่ีเด็กทำกิจกรรมประจำวนั และเกดิ พฤติกรรมท่ีไม่คาดคิดว่าจะเกิดขน้ึ และผสู้ อนจดบันทึกไว้การ
สงั เกตเป็นวิธกี ารท่ีผูส้ อนใช้ในการศึกษาพฒั นาการของเด็ก เม่ือมกี ารสงั เกตกต็ ้องมกี ารบันทึก ผ้สู อนควรทราบ
ว่าจะบันทึกอะไรการบันทึกพฤติกรรมมคี วามสำคัญอย่างย่ิงที่ต้องทำอยา่ งสม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กเจริญเติบโต
และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงต้องนำมาบันทึกเป็นหลักฐานไว้อย่างชัดเจน การสังเกตและการบันทึก
พัฒนาการเด็กสามารถใชแ้ บบง่าย ๆ คอื
๑.๑ แบบบันทึกพฤติกรรม ใช้บันทึกเหตุการณ์เฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผู้บันทึกต้อง
บันทกึ วนั เดอื น ปเี กดิ ของเดก็ และวัน เดอื น ปี ทีท่ ำการบนั ทกึ แตล่ ะคร้ัง

241

๑.๒ การบันทึกรายวัน เป็นการบันทึกเหตุการณ์หรือประสบการณ์หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้น
เรียนทุกวัน ถ้าหากบันทึกในรูปแบบของการบรรยายก็มักจะเน้นเฉพาะเด็กรายที่ต้องการศึกษา ข้อดีของการ
บันทกึ รายวนั คือ การชี้ให้เหน็ ความสามารถเฉพาะอยา่ งของเด็ก จะชว่ ยกระตนุ้ ให้ผู้สอนได้พิจารณาปัญหาของ
เด็กเป็นรายบุคคลช่วยให้ผู้เชียวชาญมีข้อมูลมากขึ้นสำหรับวินิจฉัยเด็กว่าสมควรจะได้รับคำปรึกษาเพื่อลด
ปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังช่วยชี้ให้เห็นข้อเสียของการจัดกิจกรรม
และประสบการณ์ได้เป็นอยา่ งดี

๑.๓ แบบสำรวจรายการ ช่วยให้สามารถวเิ คราะหเ์ ดก็ แต่ละคนได้ค่อนขา้ งละเอยี ด
๒. การสนทนา สามารถใช้การสนทนาได้ทัง้ เป็นกลุ่มหรอื รายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถในการ
แสดงความคิดเห็นและพัฒนาการด้านภาษาของเด็กและบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤติกรรมหรือ
บันทกึ รายวนั
๓. การสัมภาษณ์ ดว้ ยวิธพี ดู คุยกับเด็กเป็นรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดล้อมเหมาะสมเพื่อไม่ให้
เกดิ ความเครยี ดและวติ กกงั วล ผสู้ อนควรใชค้ ำถามทีเ่ หมาะสมเปดิ โอกาสให้เด็กไดค้ ิดและตอบอย่างอิสระจะทำ
ให้ผู้สอนสามารถประเมินความสามารถทางสติปัญญาของเด็กแต่ละคนและค้นพบศักยภาพในตัวเด็กได้โดย
บันทึกขอ้ มูลลงในแบบสมั ภาษณ์
การเตรียมการก่อนการสัมภาษณ์ ผ้สู อนควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
-กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์
-กำหนดคำพูด/คำถามทจ่ี ะพูดกบั เด็ก ควรเป็นคำถามที่เด็กสามารถตอบโตห้ ลากหลาย ไม่ผดิ /ถกู
การปฏบิ ตั ิขณะสัมภาษณ์
-ผสู้ อนควรสรา้ งความคุ้นเคยเป็นกนั เอง
-ผสู้ อนควรสรา้ งสภาพแวดล้อมทอี่ บอนุ่ ไมเ่ คร่งเครยี ด
-ผู้สอนควรเปดิ โอกาสเวลาให้เด็กมีโอกาสคดิ และตอบคำถามอย่างอสิ ระ
-ระยะเวลาสมั ภาษณ์ไม่ควรเกนิ ๑๐-๒๐ นาที
๔. การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล โดยจัดเก็บ
รวบรวมไว้ในแฟ้มผลงาน(portfolio)ซึ่งเป็นวิธีรวบรวมและจัดระบบข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับตัวเด็กโดยใช้
เครื่องมือต่าง ๆ รวบรวมเอาไว้อย่างมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนแสดงการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการแต่ละด้าน
นอกจากนี้ยังรวมเครื่องมืออื่น ๆ เช่น แบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกสุขภาพ
อนามัย ฯลฯเอาไว้ในแฟ้มผลงานเพื่อผู้สอนจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กอย่างชดั เจนและถูกตอ้ ง การเก็บผลงาน
ของเดก็ จะไม่ถือวา่ เป็นการประเมนิ ผลถ้างานแต่ละชน้ิ ถูกรวบรวมไว้โดยไม่ได้รับการประเมินจากผสู้ อนและไม่มี
การนำผลมาปรับปรุงพัฒนาเด็กหรือปรับปรุงการสอนของผู้สอน ดังนั้นจึงเป็นแตก่ ารสะสมผลงานเท่านั้น เช่น
แฟม้ ผลงานขดี เขียนงานศลิ ปะจะเปน็ เพียงแค่แฟ้มผลงานท่ีไม่มีการประเมนิ แฟ้มผลงานนจี้ ะเป็นเครื่องมือการ
ประเมินต่อเน่ืองเม่ืองานทสี่ ะสมแต่ละชิ้นถูกใช้ในการบ่งบอกความก้าวหน้าความต้องการของเด็ก และเป็นการ
เกบ็ สะสมอยา่ งตอ่ เนือ่ งทส่ี ร้างสรรคโ์ ดยผูส้ อนและเด็ก
ผู้สอนสามารถใชแ้ ฟ้มผลงานอย่างมีคณุ ค่าสื่อสารกบั ผู้ปกครองเพราะการเก็บผลงานเด็กอย่างต่อเน่ือง
และสม่ำเสมอในแฟ้มผลงานเป็นข้อมูลให้ผู้ปกครองสามารถเปรียบเทียบความก้าวหน้าที่ลูกของตนมีเพิ่มขึ้น
จากผลงานชิ้นแรกกับชิ้นต่อ ๆ มาข้อมูลในแฟ้มผลงานประกอบด้วย ตัวอย่างผลงานการเขียดเขียน การอ่าน
และข้อมูลบางประการของเด็กท่ผี ู้สอนเป็นผ้บู ันทึก เชน่ จำนวนเล่มของหนังสือทีเ่ ด็กอา่ น ความถี่ของการเลือก
อ่านที่มุมหนังสือในช่วงเวลาเลือกเสรี การเปลี่ยนแปลงอารมณ์ ทัศนคติ เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะสะท้อนภาพ
ของความงอกงามในเด็กแต่ละคนได้ชัดเจนกว่าการประเมินโดยการให้เกรด ผู้สอนจะต้องชี้แจงให้ผู้ปกครอง

242

ทราบถึงที่มาของการเลือกช้ินงานแตล่ ะช้ินงานท่ีสะสมในแฟ้มผลงาน เช่น เป็นชิน้ งานท่ีดที ีส่ ดุ ในชว่ งระยะเวลา
ที่เลือกชิ้นงานนั้น เป็นชิ้นงานที่แสดงความต่อเนื่องของงานโครงการ ฯลฯ ผู้สอนควรเชิญผู้ปกครองมามีส่วน
ร่วมในการคัดสรรชนิ้ งานที่บรรจุลงในแฟ้มผลงานของเด็ก

๕. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวชี้ของการเจริญเติบโตในเด็กที่ใช้ทั่ว ๆ ไป ได้แก่ น้ำหนัก
สว่ นสูง เส้นรอบศีรษะ ฟนั และการเจริญเตบิ โตของกระดกู แนวทางประเมินการเจรญิ เตบิ โต มีดังน้ี

๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กแล้วนำไปเปรียบเทียบกับ
เกณฑ์ปกติในกราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุขซึ่งใช้สำหรับติดตามการเจริญเติบโต
โดยรวม วิธกี ารใช้กราฟมขี ้ันตอน ดังนี้

เมื่อช่งั นำ้ หนกั เดก็ แล้ว นำนำ้ หนกั มาจดุ เครื่องหมายกากบาทลงบนกราฟ และอา่ นการเจรญิ เติบโตของ
เด็ก โดยดเู คร่อื งหมายกากบาทว่าอยู่ในแถบสีใดอ่านข้อความบนแถบสนี นั้ ซงึ่ แบง่ ภาวะโภชนาการเปน็ ๓ กลุ่ม
คอื นำ้ หนักที่อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ น้ำหนักมากเกนเกณฑ์ นำ้ หนักนอ้ ยกวา่ เกณฑ์ ข้อควรระวงั สำหรับผู้ปกครองและ
ผสู้ อนคอื ควรดแู ลนำ้ หนักเดก็ อยา่ งใหแ้ บ่งเบนออกจากเส้นประเมนิ มิเช่นนั้นเด็กมีโอกาสน้ำหนักมากเกินเกณฑ์
หรอื น้ำหนกั นอ้ ยกว่าเกณฑ์ได้
ขอ้ ควรคำนึงในการประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก

-เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านการเจริญเติบโต บางคนรูปร่างอ้วน บางคนช่วงคร่ึง
หลงั ของขวบปแี รก นำ้ หนักเดก็ จะข้ึนช้า เน่อื งจากห่วงเล่นมากขนึ้ และความอยากอาหารลดลง
ร่างใหญ่ บางคนรา่ งเลก็

-ภาวะโภชนาการเป็นตวั สำคัญท่เี ก่ียวข้องกบั ขนาดของรูปรา่ งแต่ไมใ่ ช่สาเหตเุ ดยี ว
-กรรมพนั ธ์ุ เด็กอาจมีรูปร่างเหมือนพ่อแม่คนใดคนหน่ึงถ้าพ่อหรือแม่เต้ียลูกอาจเต้ียและพวก
น้อี าจมนี ำ้ หนักตำ่ กว่าเกณฑ์เฉลี่ยได้และมักจะเปน็ เดก็ ท่ีทานอาหารไดน้ ้อย
๕.๒ การตรวจสขุ ภาพอนามยั เป็นตวั ช้วี ดั คณุ ภาพของเดก็ โดยพจิ ารณาความสะอาดสิ่งปกติขอร่างกาย
ที่จะส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและการเจริญเติบโตของเด็กซ่ึงจะประเมินสุขภาพอนามัย ๙ รายการคือ ผมและ
ศีรษะ หแู ละใบหู มือและเลบ็ มอื เทา้ และเล็บเท้า ปาก ลน้ิ และฟนั จมูก ตา ผวิ หนังและใบหน้า และเส้อื ผ้า
เกณฑก์ ารประเมินพฒั นาการ
การสร้างเกณฑ์หรือพัฒนาเกณฑ์หรือกำหนดเกณฑ์การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ผู้สอนควร
ใหค้ วามสนใจในส่วนทเ่ี กยี่ วขอ้ ดังนี้
๑. การวางแผนการสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเป็นระบบ เช่น จะสังเกตเด็กคนใดบ้างในแต่ละวัน
กำหนดพฤติกรรมที่สังเกตให้ชัดเจน จัดทำตารางกำหนดการสังเกตเด็กเป็นรายบุคคลรายกลุ่ม ผู้สอนต้อง
เลอื กสรรพฤตกิ รรมท่ีตรงกับระดบั พัฒนาการของเดก็ คนนน้ั จริง ๆ
๒. ในกรณีที่ห้องเรียนมีนักเรียนจำนวนมาก ผู้สอนอาจเลือกสังเกตเฉพาะเด็กที่ทำได้ดีแล้วและเด็กที่
ยงั ทำไมไ่ ด้ สว่ นเดก็ ปานกลางใหถ้ ือว่าทำไดไ้ ปตามกิจกรรม
๓. ผู้สอนต้องสังเกตจากพฤติกรรม คำพูด การปฏิบัติตามขั้นตอนในระหว่างทำงาน/กิจกรรม และ
คุณภาพของผลงาน/ชิ้นงาน รอ่ งรอยทน่ี ำมาใช้พจิ ารณาตดั สนิ ผลของการทำงานหรอื การปฏิบัติ ตัวอย่างเชน่
๑) เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม/ทำงาน ถ้าเด็กไม่ชอบ ไม่ชำนาญจะใช้เวลามาก มีท่าทางอิดออด
ไมก่ ล้า ไมเ่ ตม็ ใจทำงาน
๒) ความต่อเนือ่ ง ถ้าเด็กยงั มีการหยุดชะงัก ลังเล ทำงานไมต่ อ่ เน่ือง แสดงวา่ เดก็ ยังไม่ชำนาญหรือ
ยงั ไมพ่ ร้อม

243

๓) ความสัมพนั ธ์ ถ้าการทำงาน/ปฏิบัตนิ ้นั ๆ มีความสมั พนั ธต์ อ่ เน่ือง ไมร่ าบร่ืน ทา่ ทางมอื และเท้า
ไม่สมั พนั ธ์กนั แสดงว่าเด็กยงั ไม่ชำนาญหรอื ยังไมพ่ ร้อม ทา่ ท่แี สดงออกจงึ ไมส่ งา่ งาม

๔) ความภูมิใจ ถ้าเด็กยังไม่ชื่นชม ก็จะทำงานเพียงให้แล้วเสร็จอย่างรวดเร็ว ไม่มีความภูมิใจใน
การทำงาน ผลงานจึงไม่ประณีต

๒.๓.๑ ระดบั คุณภาพผลการประเมินพัฒนาการเด็ก
การให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็กทั้งในระดับชั้นเรียนและระดบั สถานศึกษาควร
กำหนดในทิศทางหรือรูปแบบเดยี วกนั สถานศกึ ษาสามารถใหร้ ะดบั คุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก
ท่สี ะท้อนมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บง่ ชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ หรอื พฤตกิ รรมท่ีจะประเมินเป็นระบบ
ทใี่ ชค้ ำสำคัญ เช่น ผ่าน / ไม่ผ่าน ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด
๒.๓.๒ การสรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก
หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ กำหนดเวลาเรยี นสำหรับเด็กปฐมวัยต่อปีการศึกษาไม่
นอ้ ยกว่า ๑๘๐ วนั สถานศึกษาจึงควรบรหิ ารจดั การเวลาท่ีไดร้ ับนี้ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อการพัฒนาเด็กอย่าง
รอบด้านและสมดุล ผู้สอนควรมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเติมเต็มศักยภาพของแด็ก เพื่อให้การจัด
ประสบการณ์การเรยี นรู้มปี ระสิทธิภาพ ผู้สอนต้องตรวจสอบพฤตกิ รรมที่แสดงพฒั นาการของเด็กต่อเนื่องมีการ
ประเมินซ้ำพฤติกรรมนั้น ๆ อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อภาคเรียน เพื่อยืนยันความเชื่อมั่นของผลการประเมิน
พฤตกิ รรมนั้น ๆ และนำผลไปเป็นข้อมูลในการสรุปการประเมินสภาพท่ีพึงประสงค์ของเด็กในแต่ละสภาพที่พึง
ประสงค์ นำไปสรุปการประเมินตวั บง่ ชแ้ี ละมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามลำดับ
อนึ่ง การสรุประดับคุณภาพของการประเมินพัฒนาการเด็ก วิธีการทางสถิติทีเ่ หมาะสมและสะดวกไม่
ย่งุ ยากสำหรบั ผูส้ อน คือการใช้ฐานนิยม (Mode)ในบางครั้งพฤติกรรม หรือสภาพทพ่ี งึ ประสงคห์ รือตัวบ่งช้ีนิยม
มากว่า ๑ ฐานนิยม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา กล่าวคือ เมื่อมีระดับคุณภาพซ้ำมากกว่า ๑ ระดับ
สถานศึกษาอาจตัดสินสรุปผลการประเมินพัฒนาการบนพื้นฐาน หลักพัฒนาการและการเตรียมความพร้อม
หากเป็นภาคเรียนที่ ๑ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมที่มีระดับคุณภาพต่ำกว่าเพื่อใช้เป็นข้อมูลใน
การพัฒนาเด็กให้พร้อมมากขึ้น หากเป็นภาคเรียนที่ ๒ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมที่มีระดับ
คุณภาพสูงกว่าเพื่อตัดสินและการส่งต่อเด็กในระดบั ช้ันทีส่ ูงขึ้น
๒.๓.๓ การเลอื่ นชนั้ อนุบาลและเกณฑ์การจบการศึกษาระดบั ปฐมวยั
เมื่อสิ้นปีการศึกษา เด็กจะได้รับการเลื่อนชั้นโดยเด็กต้องได้รับการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ
ประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อเป็นข้อมูลในการส่งต่อยอดการพัฒนาให้กับเด็กใน
ระดับสูงขึ้นต่อไป และเนื่องจากการศึกษาระดับอนุบาลเป็นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไม่นับเปน็ การศึกษา
ภาคบังคับ จึงไม่มีการกำหนดเกณฑ์การจบชั้นอนุบาล การเทียบโนการเรียน และเกณฑ์การเรียนซ้ำชั้น และ
หากเด็กมีแนวโน้มว่าจะมีปัญหาต่อการเรยี นรู้ในระดับที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
ปัญหา และประสานกบั หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องในการให้ความช่วยเหลือ เชน่ เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุขส่งเสริมตำบล
นักจิตวิทยา ฯลฯ เข้ารว่ มดำเนินงานแก้ปัญหาได้
อยา่ งไรก็ตาม ทักษะทนี่ ำไปส่คู วามพร้อมในการเรยี นร้ทู ส่ี ามารถใช้เปน็ รอยเชื่อมต่อระหว่างช้ันอนุบาล
กับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ท่ีควรพิจารณามีทักษะดงั น้ี
๑. ทักษะการช่วยเหลือตนเอง ได้แก่ ใช้ห้องน้ำ ห้องส้วมได้ด้วยตนเอง แต่งกายได้เอง เก็บของเข้าที่
เม่อื เลน่ เสร็จและชว่ ยทำความสะอาด รู้จกั รอ้ งขอให้ช่วยเมือ่ จำเปน็
๒. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ได้แก่ วิ่งได้อย่างราบรื่น วิ่งก้าวกระโดดได้ กระด้วยสองขาพ้นจากพืน้
ถือจับ ขว้าง กระดอนลูกบอลได้

244

๓. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก ได้แก่ ใช้มือหยิบจับอุปกรณ์วาดภาพและเขียน วาดภาพคนมีแขน ขา
และสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ตัดตามรอยเสน้ และรปู ตา่ ง ๆ เขยี นตามแบบอย่างได้

๔. ทักษะภาษาการรู้หนังสือไดแ้ ก่ พูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฟังและปฏิบัติตามคำชี้แจงงง่าย ๆ ฟังเรื่องราว
และคำคล้องจองต่าง ๆ อย่างสนใจ เข้าร่วมฟังสนทนาอภิปรายในเรื่องต่าง ๆ รู้จักผลัดกันพูดโต้ตอบ เล่าเรื่อง
และทบทวนเรื่องราวหรือประสบการณ์ต่าง ๆ ตามลำดับเหตุการณ์เล่าเรื่องจากหนังสือภาพอย่างเป็นเหตุเปน็
ผล อา่ นหรอื จดจำคำบางคำทม่ี คี วามหมายต่อตนเอง เขยี นช่อื ตนเองได้ เขียนคำท่ีมีความหมายต่อตนเอง

๕. ทักษะการคิด ได้แก่ แลกเปลี่ยนความคิดและให้เหตผุ ลได้ จดจำภาพและวัสดุที่เหมือนและต่างกัน
ได้ ใชค้ ำใหม่ ๆ ในการแสดงความคดิ ความรสู้ กึ ถามและตอบคำถามเก่ียวกบั เรือ่ งท่ีฟงั เปรียบเทยี บจำนวนของ
วัตถุ ๒ กลุ่ม โดยใช้คำ “มากกว่า” “นอ้ ยกว่า” “เทา่ กัน” อธบิ ายเหตกุ ารณ์/เวลา ตามลำดับอยา่ งถูกต้อง รู้จัก
เชอื่ มโยงเวลากบั กจิ วัตรประจำวัน

๖. ทักษะทางสงั คมและอารมณ์ ได้แก่ ปรับตัวตามสภาพการณ์ ใช้คำพดู เพ่อื แก้ไขข้อขดั แย้งนั่งได้นาน
๕-๑๐ นาที เพื่อฟังเรื่องราวหรือทำกิจกรรม ทำงานจนสำเร็จ ร่วมมือกับคนอื่นและรู้จักผลัดกันเล่น ควบคุม
อารมณ์ตนเองได้เมื่อกังวลหรือตื่นเต้น หยุดเล่นและทำในสิ่งที่ผู้ใหญต่ ้องการให้ทำได้ ภูมิใจในความสำเรจ็ ของ
ตนเอง
๓. การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ

การรายงานผลการประเมินพฒั นาการเป็นการสื่อสารให้พ่อแม่ ผู้ปกครองได้รับทราบความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ของเด็กซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินพัฒนาการ และจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง
ทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง

การรายงานผลการประเมินพฒั นาการสามารถรายงานเปน็ ระดบั คุณภาพท่ีแตกต่างไปตามพฤติกรรมที่
แสดงออกถึงพัฒนาการแต่ละด้าน ที่สะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้ง ๑3 ข้อ ตามหลักสูตร
การศึกษาปฐมวยั
๓.๑ จุดมุ่งหมายการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ

๑) เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผู้ปกครองใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริม และ
พัฒนาการเรยี นรู้ของเด็ก

๒) เพื่อให้ผสู้ อนใช้เป็นขอ้ มลู ในการวางแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
๓) เพื่อเป็นข้อมลู สำหรับสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศกึ ษา และหน่วยงานตน้ สังกัดใช้ประกอบ
ในการกำหนดนโยบายวางแผนในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
๓.๒ ขอ้ มลู ในการรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ
๓.๒.๑ ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย เวลาเรียนแบบบันทึกการประเมินพัฒนาการ
ตามหน่วยการจัดประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำชั้น และสมุดรายงานประจำตัว
นักเรียน และสารนิทัศน์ที่สะท้อนการเรียนรู้ของเด็ก เป็นข้อมูลสำหรับรายงานให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้สอน และผู้ปกครอง ได้รับทราบความก้าวหน้า ความสำเร็จในการเรียนรู้ของเด็กเพ่ือ
นำไปในการวางแผนกำหนดเปา้ หมายและวธิ ีการในการพัฒนาเด็ก
๓.๒.๒ ข้อมูลระดับสถานศึกษา ประกอบด้วย ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ทั้ง ๑3 ข้อตามหลักสูตร เพื่อใช้เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียน
การสอนและคุณภาพของเด็ก ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และแจ้งให้ผู้ปกครอง และ
ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่ายนำไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาเด็กให้เกิด
พัฒนาการอยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม รวมท้ังนำไปจัดทำเอกสารหลักฐานแสดงพฒั นาการของผ้เู รียน

245

๓.๒.๓ ข้อมูลระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ทง้ั ๑3 ขอ้ ตามหลกั สตู รเปน็ รายสถานศึกษา เพื่อเปน็ ข้อมูลท่ศี ึกษานเิ ทศก์/ผเู้ กีย่ วข้องใช้วางแผนและ
ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้เกิดการยกระดับ
คณุ ภาพเดก็ และมาตรฐานการศึกษา

๓.๓ ลักษณะขอ้ มลู สำหรับการรายงานผลการประเมินพฒั นาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการ สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะข้อมูลสำหรับการรายงานได้
หลายรูปแบบให้เหมาะสมกับวิธีการรายงานและสอดคล้องกับการให้ระดับผลการประเมินพัฒนาการโดย
คำนงึ ถงึ ประสิทธภิ าพของการรายงานและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ของผรู้ ายงานแต่ละฝ่ายลักษณะข้อมูลมี
รูปแบบ ดงั นี้

๓.๓.๑ รายงานเป็นตัวเลข หรือคำที่เป็นตัวแทนระดับคุณภาพพัฒนาการของเด็กที่เกิดจาก
การประมวลผล สรปุ ตดั สินขอ้ มูลผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็ก ได้แก่

- ระดบั ผลการประเมินพัฒนาการมี 5 ระดับ คือ 5 4 ๓ ๒ ๑
- ผลการประเมนิ คณุ ภาพ “ยอดเยี่ยม” “ดเี ลศิ ” “ด”ี “ปานกลาง” และ “กำลงั พัฒนา”
๓.๓.๒ รายงานโดยใช้สถิติ เป็นรายงานจากข้อมูลที่เป็นตัวเลข หรือข้อความให้เป็นภาพ
แผนภูมิหรือเส้นพัฒนาการ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็กว่าดีขึ้น หรือควรได้รับการ
พัฒนาอยา่ งไร เมือ่ เวลาเปล่ียนแปลงไป
๓.๓.๓ รายงานเป็นข้อความ เป็นการบรรยายพฤติกรรมหรือคุณภาพที่ผู้สอนสังเกตพบ เพื่อ
รายงานใหท้ ราบว่าผ้เู กี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผูป้ กครองทราบว่าเด็กมคี วามสามารถ มพี ฤตกิ รรมตามคุณลักษณะ
ทพ่ี ึงประสงค์ตามหลกั สตู รอยา่ งไร เชน่
- เด็กรับลูกบอลที่กระดอนจากพื้นด้วยมือทั้ง ๒ ข้างได้โดยไม่ใช้ลำตัวช่วยและลูกบอลไม่ตก
พน้ื
- เด็กแสดงสหี น้า ท่าทางสนใจ และมคี วามสุขขณะทำงานทุกช่วงกจิ กรรม
- เด็กเล่นและทำงานคนเดียวเป็นส่วนใหญ่
- เด็กจับหนังสอื ไม่กลบั หวั เปดิ และทำท่าทางอา่ นหนงั สอื และเล่าเร่ืองได้
๓.๔ เป้าหมายของการรายงาน
การดำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย บุคลากรหลายฝ่ายร่วมมือประสานงานกันพัฒนา
เด็กทางตรงและทางอ้อม ให้มีพัฒนาการ ทักษะ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่
พึงประสงค์โดยผู้มีสว่ นร่วมเก่ียวข้องควรไดร้ ับการายงานผลการประเมินพัฒนาการของเด็กเพ่ือใช้เป็นข้อมูลใน
การดำเนินงาน ดังนี้ กล่มุ เปา้ หมาย การใช้ขอ้ มูล
ผสู้ อน
- วางแผนและดำเนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพฒั นาเดก็
- ปรับปรงุ แก้ไขและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้
ผู้บริหารสถานศึกษา
- สง่ เสรมิ พัฒนากระบวนการจดั การเรียนรูร้ ะดบั ปฐมวยั ของสถานศกึ ษา
พอ่ แม่ และผู้ปกครอง
- รับทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก
- ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก รวมทั้งการดูแลสุขภาพอนามัยร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และพฤติกรรมต่าง ๆ ของเด็ก

246

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
- พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาปฐมวยั สถานศกึ ษา

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา/หน่วยงานตน้ สังกัด
- ยกระดับและพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา นิเทศ กำกับ

ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและใหค้ วามช่วยเหลอื การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในสงั กัด
๓.๕ วธิ ีการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการให้ผู้เกี่ยวขอ้ งรับทราบ สามารถดำเนินการ ได้ดังนี้
๓.๕.๑ การรายงานผลการประเมินพัฒนาการในดอกสารหลักฐานการศึกษา ข้อมูลจากแบบ

รายงาน สามารถใช้อา้ งองิ ตรวจสอบ และรับรองผลพัฒนาการของเดก็ เช่น
- แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ พัฒนาการประจำช้ัน
- แฟ้มสะสมงานของเด็กรายบุคคล
- สมุดรายงานประจำตวั นักเรยี น
- สมุดบนั ทกึ สขุ ภาพเดก็ ฯลฯ
๓.๕.๒ การรายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยใหผ้ ู้เกยี่ วข้องทราบ สามารถรายงานได้หลายวิธี

เชน่ - รายงานคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัยประจำปี
- วารสาร/จุลสารของสถานศกึ ษา
- จดหมายส่วนตวั
- การให้คำปรึกษา
- การให้พบครทู ่ปี รกึ ษาหรอื การประชุมเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง
- การให้ขอ้ มลู ทางอนิ เตอรเ์ น็ตผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษา

ภารกจิ ของผู้สอนในการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพนั้น เกิดขึ้นใน

หอ้ งเรียนและระหว่างการจดั กิจกรรมประจำวนั และกจิ วัตรประจำวัน ผู้สอนต้องไม่แยกการประเมินพัฒนาการ
ออกจากการจัดประสบการณ์ตามตารางประจำวัน ควรมีลักษณะการประเมินพัฒนาการในชั้นเรียน
(Classroom Assessment) ซึ่งหมายถึง กระบวนการและการสังเกต การบันทึกและรวบรวมข้อมูลจากการ
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน/กิจกรรมประจำวันตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ผู้สอนควรจัดทำข้อมูล
หลกั ฐานหรอื เอกสารอย่างเป็นระบบ เพือ่ เปน็ หลกั ฐานแสดงใหเ้ ห็นร่องรอยของการเจริญเติบโตพฒั นาการและ
การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย แล้วนำมาวิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการประเมินพัฒนาการว่าเด็กรู้
อะไร สามารถทำอะไรได้ และจะทำต่อไปอย่างไร ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายท้ังที่เป็นทางการและ
ไม่เป็นทางการ ทั้งนั้นการดำเนินการดังกล่าวเกิดขึ้นตลอดระยะเวลาของการปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจำวัน/กิจกรรม
ประจำวนั และการจดั ประสบการณ์เรียนรู้

ดงั นั้น ขอ้ มลู ที่เกิดจากการประเมินท่ีมีคุณภาพเท่านั้น จึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ตรงตามเป้าหมาย
ผู้สอนจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในหลักการ แนวคิด วิธีดำเนินงานในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับหลกั สูตรการจัดประสบการเรียนรู้ เพอ่ื สามารถนำไปใช้ในการวางแผนและออกแบบการประเมินพัฒนาการ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการประเมินพัฒนาการในชั้นเรียนที่มีความถูกต้อง ยุติธรรม เชื่อถือได้ มี
ความสมบูรณ์ ครอบคลุมตามจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สะท้อนผลและสภาพความสำเร็จเม่ือ
เปรยี บเทยี บกับเปา้ หมายของการดำเนินการจดั การศึกษาปฐมวัย ท้ังในระดับนโยบาย ระดบั ปฏิบัติการ และผู้มี
สว่ นเกยี่ วขอ้ งต่อไป

247

๑. ขัน้ ตอนการประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั
การประเมินพัฒนาการเด็กของผู้สอนระดับปฐมวัยจะมีข้ันตอนสำคัญ ๆ คล้ายคลึงกับการประเมิน

การศึกษาทั่วไป ขั้นตอนต่าง ๆ อาจปรับลด หรือเพิ่มได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและ
สอดคล้องกับการจัดประสบการณ์ หรืออาจสลับลำดับก่อนหลังได้บ้าง ขั้นการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
โดยสรุปควรมี ๖ ขนั้ ตอน ดังน้ี

ขน้ั ตอนท่ี ๑ การวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ ตัวบ่งชี้
และสภาพที่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับหน่วยการจัดประสบการณ์ต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการดำเนินงาน
การประเมนิ พฒั นาการอย่างเปน็ ระบบและครอบคลุมทว่ั ถงึ

ขั้นตอนที่ ๒ การกำหนดสิ่งที่จะประเมินและวิธีการประเมิน ในขั้นตอนนี้สิ่งที่ผู้สอนต้องทำคือ การ
กำหนดการประเด็นการประเมิน ได้แก่ สภาพที่พงึ ประสงค์ในแต่ละวยั ของเด็กทีเ่ กิดจากกาจัดประสบการณ์ใน
แต่ การจัดประสบการณ์ มากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์ย่อยของ
กิจกรรมตามตารางประจำวัน ๖กิจกรรมหลัก หรือตามรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่กำหนด ผู้สอนต้อง
วางแผนและออกแบบวิธีการประเมินให้เหมาะสมกับกิจกรรม บางครั้งอาจใช้การสังเกตพฤติกรรม การ
ประเมินผลงาน/ชิ้นงาน การพูดคุยหรือสัมภาษณ์เด็ก เป็นต้น ทั้งนี้วิธีการที่ผู้สอนเลือกใช้ต้ องมีความหมาย
หลากหลาย หรือมากว่า ๒ วิธกี าร

ขั้นตอนที่ ๓ การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์การประเมิน ในขั้นตอนนี้ ผู้สอนจะต้องกำหนดเกณฑ์การ
ประเมินพัฒนาการให้สอดคล้องกับพฤติกรรมที่จะประเมินในขั้นตอนที่ ๒ อาจใช้แนวทางการกำหนดเกณฑ์ท่ี
กล่าวมาแล้วข้างต้นในส่วนที่ ๒ เป็นเกณฑ์การประเมินแยกส่วนของแต่ละพฤติกรรมและเกณฑ์สรุปผลการ
ประเมิน พร้อมกับจัดทำแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพที่พึงประสงค์ของแต่ละหน่วยการจัด
ประสบการณ์น้นั ๆ

ขั้นตอนที่ ๔ การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนที่ผู้สอนออกแบบ/วางแผนและทำการ
สังเกตพฤติกรรมของเด็กเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม การพูดคุยหรือการสัมภาษณ์เด็ก หรือการประเมินผลงาน/
ชิ้นงานของเด็กอย่างเป็นระบบ เพื่อรวบรวมข้อมูลพัฒนาการของเด็กให้ทั่วถึงครบทุกคน สอดคล้องและตรง
ประเด็นการประเมนิ ทวี่ างแผนไวใ้ นข้นั ตอนที่ ๔ บันทกึ ลงในเคร่ืองมือท่ีผ้สู อนพัฒนาหรือจัดเตรยี มไว้

การบันทึกผลการประเมินพัฒนาการตามสภาพที่พึงประสงค์ของแต่ละหน่วยการจัดประสบการณ์นนั้
ผู้สอนเป็นผู้ประเมนิ เดก็ เปน็ รายบุคคลหรือรายกลุ่ม อาจให้ระดบั คณุ ภาพ ๓ หรอื ๒ หรอื ๑ หรอื ใหค้ ำสำคญั
ท่ีเป็นคุณภาพ เชน่ ดี พอใช้ ควรส่งเสรมิ กไ็ ด้ ทัง้ นคี้ วรเป็นระบบเดยี วกนั เพ่อื สะดวกในการวิเคราะห์ข้อมูลและ
แปลผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ในระยะต้นควรเป็นการประเมินเพื่อความก้าวหน้าไม่ควรเป็นการประเมิน
เพื่อตัดสิ้นพัฒนาการเดก็ หากผลการประเมินพบวา่ เด็กอยู่ในระดับ ๑ พฤติกรรมหนึ่งพฤติกรรมใดผู้สอนต้อง
ทำความเข้าใจว่าเด็กคนนั้นมีพัฒนาการเร็วหรือช้า ผู้สอนจะต้องจัดประสบการณ์ส่งเสริมในหน่วยการจัด
ประสบการณ์ต่อไปอย่างไร ดังนั้น การเก็บรวบรวมข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการในแต่ละหน่วยการจัด
ประสบการณ์ของผูส้ อน จึงเปน็ การสะสมหรอื รวบรวมข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการของเด็กรายบุคคล หรือ
รายกลุ่มนั่นเอง เมื่อผู้สอนจัดประสบการณ์ครบทุกหน่วยการจัดประสบการณ์ตามที่วิเคราะห์สาระการเรียนรู้
รายปขี องแต่ละภาคเรียน

ขน้ั ตอนท่ี ๕ การวเิ คราะหข์ ้อมูลและแปลผล ในขัน้ ตอนน้ี ผู้สอนที่เปน็ ผ้ปู ระเมนิ ควรดำเนนิ ดาร ดงั น้ี
๑) การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินพัฒนาการเมื่อสิ้นสุดหน่วยการจัดประสบการณ์

ผู้สอนจะบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเด็กลงในแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพที่พึง
ประสงคข์ องหน่วยการจดั ประสบการณ์หนว่ ยที ๑ จนถึงหน่วยสดุ ทา้ ยของภาคเรยี น

248

๒) การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินประจำภาคเรียนหรือภาคเรียนที่ ๒ เมื่อสิ้นปี
การศึกษา ผู้สอนจะนำผลการประเมินพัฒนาการสะสมที่รวบรวมไว้จากทุกหน่วยการเรียนรู้สรุปลงในสมุด
บันทกึ ผลประเมนิ พฒั นาการประจำชัน้ และสรปุ ผลพัฒนาการรายดา้ นท้งั ช้ันเรียน

ขั้นตอนที่ ๖ การสรุปรายงานผลและการนำข้อมูลไปใช้ เป็นขั้นตอนที่ผู้สอนซึ่งเป็นครูประจำช้ั นจะ
สรุปผลเพื่อตัดสินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นรายตัวบ่งชี้รายมาตรฐานและพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เพื่อ
นำเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติการตัดสิน และแจ้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมกับครู
ประจำชั้นจะจัดทำรายงานผลการประเมินประจำตัวนักเรียน นำข้อมูลไปใช้สรุปผลการประเมินคุณภาพเด็ก
ของระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเม่ือสิน้ ภาคเรียนท่ี ๒ หรอื เมอื่ ส้ินปกี ารศกึ ษา
รายละเอยี ดการดำเนนิ งานแต่ละขนั้ ตอน มดี งั น้ี
ขั้นตอนที่ ๑ การวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยนำข้อมูล
จากการวิเคราะห์การเรียนรู้รายปีในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยมาตรวจสอบความถี่ของตัวบ่งชี้ และสภาพท่ี
พึงประสงคว์ า่ เกดิ ข้นึ กบั เด็กตามหน่วยการจดั ประสบการณ์เรยี นรู้ใดบ้าง

ขั้นตอนที่ ๑.๑ การวเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้รายปขี องโรงเรียน
ขั้นตอนที่ ๑.๒ ตรวจสอบความถี่เพื่อตรวจสอบจำนวนครั้งของตวั บ่งชี้ สภาพที่พึงประสงคว์ า่ วางแผน
ใหเ้ กดิ พฒั นาการในหน่วยการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ใดบ้างจากหลักสตู รสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ ๒ กำหนดสิ่งที่ประเมินและวิธีการประเมิน โดยกำหนดสภาพที่พึงประสงค์ที่วิเคราะห์ไว้ใน
ขั้นตอนท่ี ๑.๒ มากำหนดจดุ ประสงค์การเรียนรใู้ น ๖ กจิ กรรมหลกั

๒.๑ การเขียนหรือกำหนดจุดประสงค์การเรยี นของหน่วยการจดั ประสบการณ์
๒.๒ การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู
ขัน้ ตอนที่ ๓ การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์การประเมนิ ผู้สอนจะต้องกำหนดเกณฑ์การประเมินพฒั นาการเด็กให้
สอดคล้องกับพฤติกรรมที่จะประเมินตามแผนการจัดกิจกรรม พร้อมทำเกณฑ์การประเมินและสรุปผลการ
ประเมนิ พรอ้ มจดั ทำแบบบนั ทกึ ผลหลงั สอนประจำหน่วยการจัดประสบการณ์
ขั้นตอนที่ ๔ การดำเนินการเป็นการรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนนี้ ผู้สอนที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประเมินโดยการสังเกต
พฤติกรรมของเด็กรายบุคคล รายกลุ่ม การพูดคุยหรือสัมภาษณ์เด็ก หรือการประเมินผลงานชิ้นงานของเด็ก
อยา่ งเป็นระบบ ไปพรอ้ ม ๆ กบั กจิ กรรมใหเ้ ด็ก เพื่อรวบรวมขอ้ มูลพัฒนาการของเด็กทุกคน และบันทึกลงแบบ
บันทึกผลหลังสอนประจำหน่วยการจดั ประสบการณ์ ท่ีจัดเตรียมไว้
ขั้นตอนที่ ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลเมื่อสิ้นสุดหน่วยการจัดประสบการณ์ ผู้สอนจะตรวจสอบความ
ครบถว้ น สมบรู ณ์ของผลการประเมินในแบบบันทึกผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กหลงั การจดั ประสบการณ์
ลงในแบบบันทกึ ผลหลงั การจัดประสบการณ์ประจำหน่วยการจัดประสบการณ์ และเก็บสะสมเพื่อนำได้สรุปผล
ในการตัดสินพัฒนาการเด็กในภาพรวมเมื่อสิ้นปีการศึกษา โดยผู้สอนจะนำผลการประเมินพัฒนาสะสมที่
รวบรวมไว้ทุกหน่วยการเรียนรู้ มาสรุปลงในสมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจำชั้นและสรุปผล
พัฒนาการรายด้านท้ังชั้นเรียน ทั้งนี้การสรุปผลการประเมินพัฒนาการ ผู้สอนควรใช้ ฐานนิยม (Mode) จึง
เหมาะสมและสอดคล้องกบั การประเมนิ มากทสี่ ุด ตามทกี่ ลา่ วมาแลว้ ขา้ งต้น
ขนั้ ตอนท่ี ๖ การสรปุ รายงานผลและการนำข้อมูลไปใช้ ครปู ระจำช้นั จะสรปุ ผลเพื่อพฒั นาการของเด็ก
ปฐมวัยเป็นรายตัวบ่งชี้ รายมาตรฐานและพัฒนาการทั้ง๔ ด้าน และรายงานต่อผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผล
การตัดสินและแจ้งคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พร้อมกับครูประจำช้นั จะจดั ทำรายงานผลการประเมิน
พฒั นาการของเด็กรายบุคคล รายภาค และรายปตี ่อผ้ปู กครองในสมุดรายงานปรำตัวเดก็ นักเรียน
การบริหารจัดการหลกั สูตร


Click to View FlipBook Version