The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-11-09 03:54:50

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.๑.๖.มีความสามารถในการเขยี นอกั ษรเบรลล์พยัญชนะ ไทยทม่ี ีเซ

๖.๑ การเขียนอกั ษรเบรลล์ (1) เขยี นพยัญชนะ กลุ่มจุด ๑, ๒, ๔, ๕
ที่เป็นพยัญชนะไทยเซลล์ เดียวและ (2) เขียนพยญั ชนะ กล่มุ จุด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
ตัวเลข (3) เขียนพยัญชนะ กลุ่มจดุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

(4) เขียนตัวเลขอกั ษรเบรลล์ จำนวน ๑

151

แนวทางจัดกิจกรรม

๑๑) แบบฝึกหัดที่ ๘ มีพยัญชนะ ฮ ก ฮจ ฮด ฮห (ที่ผู้สอนจัดทำ
ขน้ึ )
๑๒) แตล่ ะบรรทัดใหผ้ ้เู รยี นหาอกั ษรท่ีตา่ งจากพวก
๑๓) แบบฝึกหัดที่ ๙ มีพยัญชนะ ก โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจัดทำ
ขน้ึ ) ให้ผู้เรยี นอา่ นตวั อักษรน้ี
๑๔) แบบฝึกหดั ที่ ๑๐ มีพยัญชนะ จ โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจดั ทำ
ข้ึน)
๑๕) แบบฝึกหัดที่ ๑๑ มีพยญั ชนะ ด โดยเวน้ วรรค (ที่ผู้สอนจัดทำ
ขึ้น) ให้ผ้เู รยี นอ่านตัวอักษรน้ี
๑๖) แบบฝึกหัดท่ี ๑๒ มีพยัญชนะ จ โดยเว้นวรรค (ที่ผู้สอนจดั ทำ
ขน้ึ ) ใหผ้ ูเ้ รียนอ่านตวั อกั ษรนี้
๑๗) แบบฝึกหัดที่ ๑๓ มีพยัญชนะ ก และสระอา (ที่ผู้สอนจัดทำ
ขึ้น)ให้ผู้เรียนอา่ นคำ
๑๘) แบบฝึกหัดที่ ๑๔ มีพยัญชนะ จ และ สระอา (ที่ผู้สอนจัดทำ
ขึ้น)ให้ผู้เรียนอ่านคำแบบฝึกหัดที่ ๑๕ มีพยัญชนะ ด และ สระอา
(ทผี่ ู้สอนจัดทำข้นึ ) ใหผ้ ู้เรียนอา่ นคำ
๑๙) แบบฝึกหัดที่ ๑๖ มีพยัญชนะ ห และสระอา (ที่ผู้สอนจัดทำ
ขึ้น)ให้ผ้เู รยี นอ่านคำ
ซลล์เดยี วและตวั เลข

๕ เขียนพยัญชนะ กลุ่มจุด ๑, ๒, ๔, ๕
๕ 1) ทบทวนการใส่กระดาษในสเลทและการจับดินสอให้ผู้เรียนใช้
๕ ๖ นิ้วชี้มือขวาและมือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกทางขวามือ
๑-๑๐ แล้วใช้นิ้วชี้ทั้งสองมือเลื่อนกันตามเซลจากขวามาซ้ายจนจบ

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั

152

แนวทางจดั กจิ กรรม

บรรทดั และถอยกลับมาทต่ี น้ บรรทัดแลว้ เลื่อนลงมาในบรรทัด
ต่อมาทำเช่นน้ีจนเกิดความชำนาญ
๒) ให้ผู้เรียนใช้นิ้วชี้มือซ้ายวางที่ช่องแรกบรรทัดแรกและมือขวา
จบั สไตลัสวางที่ช่องแรกของบรรทัดทางขวามือแลว้ ให้ผเู้ รียนกดลง
ในชอ่ งเซล นิว้ ชซ้ี ้ายเล่ือนไปทางขวาในเซลต่อมาแล้วให้สไตลัสกด
ลงในช่องเขียนจากขวามาซ้ายจนจบบรรทัดและถอยกลับมาที่ตน้
บรรทัดแล้วเลื่อนลงมาในบรรทัดต่อมาทำเช่นนี้จนเกิดความ
ชำนาญ
๓) ใหผ้ เู้ รยี นเขียนจดุ เบรลล์ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ ในชอ่ งเซลโดยตาม
ตำแหนง่ นบั จาก ขวามอื บนลงล่างคือจดุ ๑, ๒, ๓ ทำงซา้ ยมือจาก
บนลงล่าง ๔, ๕, ๖ ทำเชน่ น้ีจนเกดิ ความชำนาญ
๔) ใหผ้ เู้ รยี นเขยี นอักษรเบรลล์ในกลุ่ม ๑, ๒, ๔, ๕ ได้แก่ ก
(จดุ ๑, ๒, ๔, ๕) จ (จุด ๒, ๔, ๕) ด (จดุ ๑, ๔, ๕)
ห (จดุ ๑, ๒, ๕
ให้ผู้เรียนเขียนอักษรเบรลล์ในกลุ่ม ๑๒๓๔๕๖ ได้แก่ ค (จุด ๑๓๖)
ง (จดุ ๑๒๔๕๖) ช (จดุ ๓๔๖) ซ (จุด ๒๓๔๖) ต (จุด ๑๒๕๖) ท (จดุ
๒๓๔๕๖) บ (จุด ๑๒๓๖ ) ป (จดุ ๑๒๓๔๖) ผ (จุด ๑๒๓๔ ) ฝ (จุด
๑๓๔๖) พ (จุด ๑๔๕๖) ฟ (จุด ๑๒๔๖) ว (จุด ๒๔๕๖) ฮ (จุด
๑๒๓๔๕๖)
เขียนพยญั ชนะ กลุม่ จดุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
เขียนพยญั ชนะ กลมุ่ จุด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
เขียนตัวเลขอกั ษรเบรลล์ จำนวน ๑-๑๐

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั

๖.๒การเขียนอักษรเบรลล์ที่เปน็ (๑ )เ ข ี ย น พ ย ั ญ ช น ะ
พยญั ชนะภาษาองั กฤษระดับ๑ ภาษาอังกฤษ A-Z
(๒ ) เ ข ี ย น พ ย ั ญ ช น ะ
ภาษาอังกฤษ a-z

ตวั บง่ ช้ี ๑๓.๑.๗. มีความสามารถในการใช้ลกู คดิ

๗.๑การใชล้ ูกคดิ ในการ บวกลบ 1) ต้ังคา่ และอ่านค่าลกู คดิ
งา่ ย ๆ (2) บวกจำนวนท่มี ผี ลลัพธ์ไม่เกินสบิ
(3) ลบจำนวนทม่ี ีตวั ตัง้ ไมเ่ กนิ สิบ

153

แนวทางจดั กิจกรรม
๑) ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจสัญลักษณ์อักษรเบรลล์ว่ามี

ลักษณะเป็นจุดนูนเล็ก ๆ ใน ๑ ช่องประกอบด้วยจุด ๖
ตำแหนง่ ดงั ภาพ

๒ (ผู้สอนอธบิ ายให้ผเู้ รยี นเข้าใจสัญลักษณ์อักษรเบรลล์คณิตศาสตร์
ที่เป็นเลขสูง เลขสูง จะอยู่ ๒) แถวบนคือ จุดในชุด ๑(๒,๔,๕,
โดยผู้สอนปักหมุดบนกระดานให้หมุดเรียงกันตามสัญลักษณ์
อักษรเบรลล์ จำนวน ๑-๑๐ ทีละจำนวน และผู้สอนให้ผู้เรียน
สัมผสั พรอ้ มทั้งบอกว่าเปน็ จำนวนตัวเลขใด ทง้ั นี้ การอ่านอักษร
เบรลล์คณิตศาสตร์นั้น จะมีเครื่องหมายนำเลขอยู่ด้านหน้า
สัญลักษณ์จำนวนตัวเลขเป็นตัวบอก เครื่องหมายนำเลขคือ)
จุด ๓๔๕๖) ผู้เรียนฝึกอ่านจำนวน ๑๑๐- เลข ๑ เครื่องหมาย)
นำเลข, จุด ๑)

๑) ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนรู้จักประเภทของลูกคิดจีนและลูกคิด
ญี่ปุ่น ผู้สอนอธิบายสว่ นประกอบของลกู คิดให้ผู้เรยี นรู้จัก พร้อมท้ัง
จับมือผู้เรียนให้สัมผัสลูกคิดในแต่ละส่วน โดยส่วนประกอบของ
ลูกคดิ ประกอบดว้ ย ส่วนต่าง ๆ ตามรายละเอียดในภาพ

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั

154

แนวทางจดั กิจกรรม

Frame คอื ขอบ (กรอบ) ราง
Upper Deck คือ กรอบรางตอนบน
Lower Deck คือ กรอบรางตอนล่าง
Beam คอื แนวกัน้
Rods คือ หลกั (แกนราง)
Beads คือ เม็ดลกู คิด

ตงั้ ค่าและอา่ นค่าลกู คดิ
๑) ผู้สอนจับมือผู้เรียนสัมผัสหลักของลูกคิดแต่ละหลัก เช่น หลัก

หน่วย หลกั สิบ หลักรอ้ ย
ให้นักเรียนสัมผัสจากขวามาซ้าย เช่น แถวลูกคิดที่อยู่ด้านขวาสุด
เรียกว่า หลักหน่วย แถวที่ ๒ ถัดมาทางซ้าย เรียกว่า หลักสิบแถวท่ี
๓ ถัดมาทางซา้ ย เรียกว่า หลักร้อย

สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคญั

ตวั บ่งช้ี ๑๓.๑.๘. สามารถใช้เทคโนโลยี ส่ิงอำนวยความสะดวก เครื่องช่วยใน

8.๑ ใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ยในการ (1) ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการส่อื สารทางเลือก
สอื่ สารทางเลอื ก

นการเรียนรู้ 155

แนวทางจัดกจิ กรรม
บวก-ลบจำนวนจำนวนทม่ี ีผลลัพธ์ไมเ่ กินสิบ
๑) ผู้สอนอธิบายหลักการอ่านค่าลูกคิดให้ผู้เรียนฟัง โดยการอ่านค่า
ลูกคิดนั้น มักกำหนดให้หลักหน่วยอยู่ชิดขอบขวามือ แล้วนับหลัก
ถัดไปทางซ้ายมือเป็นหลักสิบ ตามลำดับ ซึ่งค่าของลูกคิด กำหนด
ดังนี้
๒) แถวบนมี ๑ เม็ด ในแต่ละหลัก มีค่าเท่ากับ ๕ เช่น หลักหน่วย
เท่ากับ ๕ หลกั สิบเท่ากับ ๕๐
๓) แถวล่างมี ๔เม็ด ในแต่ละหลักมีค่าเท่ากับ๑ เช่น หลักหน่วยเท่ากบั
๑ หลกั สิบ เท่ากบั ๑๐
๔) ผู้สอนตั้งลูกคิดจำนวนที่ไม่เกินหลักสิบทีละจำนวน แล้วให้ผู้เรียน
อา่ นตาม
5) ผู้สอนให้ผู้เรยี นต้ังลูกคิดที่ไม่เกินหลกั สบิ ทีละจำนวน แล้วให้ผู้เรียน
อา่ นเองโดยมผี ู้สอนคอยช่วยเหลือ

1) เครื่องช่วยสอ่ื สารพร้อมอุปกรณ์ต่อพ่วงสำหรบั คนพกิ าร
2) เครอ่ื งพิมพ์อกั ษรเบรลลด์ ว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์
3) เครอ่ื งสแกนเนอร์
4)เครอ่ื งแสดงผลอกั ษรเบรลล์
5) เครื่องอ่านหนังสอื สำ หรับคนพิการ
6) อปุ กรณค์ วบคมุ ตวั ช้ีตำแหน่ง

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั
(1) ใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยในการเข้าถึงคอมพิวเ
8.๒ ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการ
เข้าถึงคอมพวิ เตอร์เพ่ือการ
เรียนรู้

8.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ (1) ใชโ้ ปรแกรมเสริมผ่านคอมพวิ เตอ
ผ่านคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วย เรียนรู้
ในการเรยี นรู้

156

แนวทางจัดกจิ กรรม
เตอร์ ชดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ฝกึ การใชแ้ ปน้ พิมพ์คอมพิวเตอร์

เครือ่ งมือหรืออปุ กรณช์ ่วยในการใช้คอมพวิ เตอร์

อร์เพ่ือช่วยในการ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำหรบั แปลส่อื ส่ิงพิมพเ์ ป็นอกั ษรเบรลล์
หรืออกั ษรเบรลลเ์ ป็นสอ่ื สง่ิ พิมพ์
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์อ่านหนา้ จอ
โปรแกรมคอมพวิ เตอรแ์ ปลภาพเปน็ อักษรและมีเสยี งสังเคราะห์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ขยายจอภาพ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์อ่านหนงั สือสำหรบั คนพกิ าร
โปรแกรมคอมพวิ เตอรช์ ่วยในการพิมพ์เชน่ โปรแกรมประมวลผล
คาํ เสยี งอา่ น โปรแกรมชว่ ยเดาคาํ ศัพท์ ฯลฯ
โปรแกรมพจนานุกรมสำหรับคนพกิ าร
โปรแกรมสำหรับโทรศัพท์เคล่ือนท่ีเพอ่ื อำนวยความสะดวก
ในการสอื่ สาร

๑.๕.๒ ประสบการณส์ ำคญั ที่สง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่อ

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณท์ ีส่ ำคญั

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.๒.๑.สามารถใช้และดแู ลเครอื่ งชว่ ยฟัง

๑.๑ บอกส่วนตา่ ง ๆ ของ (1) บอกส่วนต่าง ๆ ของเครื่องช่วยฟังห

เครื่องช่วยฟังหรืเครื่อง หเู ทยี มจากของจรงิ

ประสาทหเู ทียม

๑.๒ใช้เครื่องช่วยฟังหรือ เครื่อง (1) ใสแ่ ละถอดเครื่องชว่ ยฟงั หรือเคร่ือง

ประสาทหเู ทยี มไดถ้ กู ตอ้ ง (2) เปดิ -ปิดเครอ่ื งช่วยฟงั หรอื เครื่องปร

(3) ปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟังหรือ

เทยี ม

(4) ตรวจสอบการทำงานของเครื่องช

ประสาทหู เทียม

157

องทางการไดย้ ิน แนวทางการจัดกจิ กรรม


หรือเครื่องประสาท 1)ผู้สอนอธิบายถึงส่วนประกอบของเครื่องชว่ ยฟังและประสาทหู
เทียมและให้ผเู้ รยี นบอกส่วนประกอบต่าง ๆ ของตัวเอง

งประสาทหูเทียม ใสแ่ ละถอดเครอ่ื งช่วยฟังหรือเคร่อื งประสาทหเู ทียม

ระสาทหูเทยี ม ๑) ผูส้ อนอธบิ ายข้นั ตอนการใสเ่ ครอ่ื งชว่ ยฟงั

อเครื่องประสาทหู ๒)ผู้สอนสาธิตการใส่เคร่ืองช่วยฟังแลว้ ใหผ้ ู้เรียนฝึกใส่เครือ่ งช่วย

ฟงั ตามครู

ช่วยฟังหรือเครื่อง ๓) ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนฝกึ ใสเ่ ครอ่ื งช่วยฟังดว้ ยตนเอง

เปดิ -ปดิ เครอื่ งช่วยฟงั หรือเครือ่ งประสาทหเู ทียม

๑) ผสู้ อนอธิบายขน้ั ตอนการเปิดปดิ เครื่องชว่ ยฟัง

๒) ผ้สู อนสาธติ การการเปิดปิดเครอ่ื งช่วยฟังแล้วให้ผเู้ รียนฝึกการ

เปิดปิดเครื่องช่วยฟังตามครู

๓) ผู้สอนให้ผ้เู รยี นฝกึ ใส่การเปิดปิดเครอ่ื งช่วยฟังดว้ ยตนเอง

ปรบั ระดับเสียงเครอื่ งช่วยฟงั หรอื เคร่ืองประสาทหเู ทยี ม

๑) ผสู้ อนอธบิ ายขัน้ ตอนการปรับระดบั เสยี งเครือ่ งช่วยฟงั

๒)ผสู้ อนสาธิตการการปรับระดบั เสียงเครือ่ งชว่ ยฟังแล้วใหผ้ ู้เรียน

ฝึกการปรบั ระดบั เสียงเครอ่ื งชว่ ยฟงั

๓) ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกใส่การปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟังด้วย

ตนเอง

ตรวจสอบการทำงานของเครื่องช่วยฟังหรือเครื่องประสาทหู

เทยี ม

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ์ท่สี ำคญั

๑.๓ ดูแลรกั ษาเครอ่ื งชว่ ยฟังหรือ 1)ทำความสะอาดเครื่องชว่ ยฟงั หรอื เคร
เครือ่ งประสาทหเู ทยี ม เทียม
2) เก็บรักษาเครื่องชว่ ยฟังหรือเคร่ืองปร

ตวั บ่งช้ี ๑๓.๒.๒. สามารถใช้การได้ยนิ ท่หี ลงเหลืออยู่ใน ชวี ิตประจำวัน

๒.๑ รู้วา่ มเี สยี ง/ไม่มเี สียง (1) เคาะ ดีด สี ตี เป่า เขย่า เคร่อื งดนต

(2) ฟังเสยี งจากเครื่องเล่น

(3) ฟงั เสยี งจากสิ่งแวดลอ้ ม

158

ญ แนวทางการจดั กิจกรรม

รือ่ งประสาทหู สามารถบอกได้วา่ เครอ่ื งชว่ ยฟงั ขดั ข้อง
ระสาทหูเทยี ม ๑) ผสู้ อนอธบิ าย
๒) เมื่อเครื่องช่วยฟังที่ขัดข้อง ผู้เรียนบอกได้ว่ามีความขัดข้อง
เช่น เสยี งขาดหาย เปิดไม่ติด ไม่ได้ยินเสยี งเปน็ ต้น

ทำความสะอาดเครื่องช่วยฟังหรือเครื่องประสาทหูเทียม
1)ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้เครื่องช่วยฟังเสร็จแล้วผู้เรียนท่ าความ
สะอาดหฟู งั ไดอ้ ยา่ งถูกวิธีดว้ ยตนเอง / มีผู้ชว่ ยเหลอื
เกบ็ รักษาเคร่ืองช่วยฟงั หรอื เครื่องประสาทหูเทียม
เปลีย่ นแบตเตอร่เี คร่ืองช่วยฟงั ได้โดย
๑) ผู้สอนสอนให้ผู้เรียนเปลี่ยนแบตเตอรี่เครื่องช่วยฟังผู้เรียน
เปลีย่ นแบตเตอรี่เครื่องช่วยฟัง
๒) เมื่อแบตเตอรี่เครื่องช่วยฟังหมด ผู้เรียนสามารถเปลี่ยน
แบตเตอร่ีเครอ่ื งช่วยฟงั ไดด้ ้วยตนเอง หรอื มีผู้สอนคอยช่วยเหลอื
สามารถเกบ็ เครื่องช่วยฟงั ไวใ้ นท่ีเหมาะสมได้
๑. 1)เมื่อให้ผู้เรียนเก็บเครื่องช่วยฟังผู้เรียนสามารถเก็บเครื่องช่วย
ฟงั ไดอ้ ย่างถูกวิธดี ้วยตนเอง / มีผ้ชู ่วยเหลือ

ตรี ๑) ผู้สอนสร้างความตระหนักรู้ให้ผู้เรียนรู้ว่ามีเสียงโดยให้ผู้เรียน
ฟังเสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัว แล้วผู้เรียนจะตอบสนองต่อ
เสียงนั้น ผู้สอนสังเกตปฏิกิริยาของผู้เรียน เช่น การยิ้ม การ
เคล่ือนไหวของตา
-เสียงต่ำที่ดังมากเช่น เสียงกลอง ระฆัง กรับ ระยะห่างต่าง ๆ
กันระดับเดียวกบั หู

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณท์ ่สี ำคญั

๒.๒ บอกเสยี งที่ไดย้ นิ (1) บอกเสยี งทไ่ี ดย้ ินจากเครื่องดนตรี
๒.๓ บอกแหลง่ ทม่ี าของเสยี ง (2) บอกเสียงที่ไดย้ นิ จากเครื่องเล่น
(3) บอกเสยี งที่ได้ยินจากสงิ่ แวดล้อม
(4) จำแนกเสยี ง
5) เปรยี บเทียบเสยี ง

1) ฟังเสียงสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และบอกแ

ตัวบ่งชี้ ๑๓.๒.๓. สามารถเปลง่ เสยี งหรอื พูดตามแบบ

๓.๑ เปลง่ เสยี งคำทีไ่ มม่ ีความหมาย (1) กำหนดลมหายใจเขา้ ออก

ตามแบบ (2) กลัน้ /กักลมหายใจ

(3) เปลง่ เสียงคำท่ีไม่มคี วามหมายตามแ

(4) เปล่งเสยี งพยัญชนะตามฐานการเกดิ

ญ 159

แหลง่ ที่มาเสียง แนวทางการจดั กจิ กรรม
แบบ -เสียงที่ดังและมีจังหวะที่ชัดเจน เช่นเสียงเพลงปลุกใจ เพลง
ดเสียงตามแบบ มารช์
-เสียงดังภายในบ้าน เช่น เสียงเครื่องปั่นน้ำผลไม้ เสียงตำใน
ครกเครื่องดดู ฝ่นุ โทรทศั น์ วทิ ยุ
-เสียงภายนอกบ้าน เช่นเสียงรถยนต์ เครื่องบิน รถตำรวจ
รถพยาบาล เสยี งนกน้อง เสยี งพดู
๑) ผู้สอนใช้เสียงที่สื่อความหมายเช่น เสียงดนตรี เสียงเพลง
เสียงปรบมือ ผู้เรียนแสดงออก โดยการโยกตัว เต้น ขยับตาม
จังหวะ
๒) ผู้สอนทำเสยี งงา่ ย ๆ ที่มีความหมายเชน่ จุ๊ ๆ บ๊าย - บาย ย้ิม
หนอ่ ย ผู้เรียนแสดงออกตามเสียง
๓) ผ้สู อนเรยี กชื่อผ้เู รยี น ผูเ้ รยี นยม้ิ มองตาม หรือแสดงท่าทางวา่
เป็นชือ่ ตัวเอง
๑) ผู้สอนสาธิตพร้อมกับแนะนำอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจที่มาของ
เสียงว่ามาจากทิศทางไหน โดยครูผู้สอนใช้อุปกรณ์ที่ทำให้เกิด
เสยี งในทิศทางต่าง ๆ
๒) ให้ผู้เรียนเรียนรู้ว่ามีเสียงเกิดขึ้น ผู้สอน สังเกตปฏิกิริยาของ
ผู้เรยี น เช่น การหนั ตามเสียง

๑) ผู้สอนเม่ือกระตนุ้ ใหอ้ อกเสยี งโดยใช้เครื่องช่วยฝึกพดู ผู้เรียน
ออกเสยี งอ้อแอ้ตาม
๒) ผู้สอนให้เลียนแบบการออกเสียงตามรูปปากหรือเล่นคำ เล่น
เสียงผู้เรียน เลียนแบบการออกเสียงตามรูปปากหรือเล่นคำ เล่น

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ประสบการณ์ที่สำคัญ

๓.๒ พูดคำง่าย ๆ ที่มี (5) เปล่งเสียงสระ และเปรียบเทยี บเสยี
ความหมายตามแบบ แบบ
(6)เปลง่ เสียงวรรณยกุ ต์และเปรยี บเทียบ

วรรณยกุ ต์ สูง-ต่ำ ตามแบบ
(7) จดั รปู ริมฝปี ากตามฐานการเกิดเสียง

(1) พดู เปน็ คำง่าย ๆ เก่ยี วกบั ตนเองตาม
(2) พูดเป็นคำง่าย ๆ เกี่ยวกับบุคคลแล
ตามแบบ
(3) พดู เป็นคำงา่ ย ๆ เกี่ยวกบั ธรรมชาต
(4) พูดเปน็ คำงา่ ย ๆ เกย่ี วกับสิ่งต่าง ๆ

๓.๓ พูดเปน็ วลีงา่ ย ๆ ตาม (1) พดู เป็นวลงี ่าย ๆ ตามแบบ
แบบ

160

ญ แนวทางการจัดกิจกรรม
ยงสระส้นั -ยาว ตาม เสยี ง เชน่ อา อู อี ไอ เอา เปน็ ต้น ไดด้ ว้ ยตนเอง/มีผู้ช่วยเหลือ/ใช้

เคร่อื งช่วยฝกึ พดู
บเสยี ง ๓) ผู้สอนให้เลียนแบบการเปล่งเสียงดัง เบา สูง ต่ำ ผู้เรียน

เลยี นแบบการเปล่งเสยี งตาม
งตามแบบ
มแบบ ๑).ผู้สอนให้เลียนแบบการออกเสียงเกี่ยวกับคำที่เกี่ยวข้องกับ
ละสถานที่แวดล้อม รา่ งกายของตนเอง เช่น ผม ตา หู ปาก

2) ผู้สอนให้เลียนแบบการออกเสียงที่เกี่ยวข้องกับ สถานท่ี
ติรอบตัวตามแบบ สภาพแวดล้อมบคุ คล
รอบตัวตามแบบ สมาชิกในครอบครัว พ่อ แม่ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา

พ่ี น้อง หลาน พี่สาว พ่ชี าย น้องชาย น้องสาว ลูก
บุคคลรอบข้าง ครู หมอ เพ่อื น ตำรวจ ทหาร แมค่ ้า พอ่ ค้า
3) ผู้สอนให้เลียนแบบการออกเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ
รอบตัว เชน่ สตั วต์ า่ ง ๆ

สตั วบ์ ก สนุ ัข เสอื สงิ โต ชา้ ง มา้ ววั ควาย แมว กระตา่ ย
หมี ยีราฟ กวาง แกะ แพะ กระรอก ลิง
สตั ว์นำ้ ปลา กุ้ง หอย ปลาวาฬ ปลาฉลาม หมู หนู
สัตวป์ ีก นก ไก่ เป็ด
สัตว์เลอื้ ยคลาน งู จระเข้ เต่า ไส้เดือน
๑) ผู้สอนและผู้เรียนนั่งหน้ากระจกหรือนั่งหันหน้าชนกัน โดยให้
ผู้เรียนสงั เกตรมิ ฝีปากของผู้สอน
๒) ผู้สอนพูดออกเสียงค่าศัพท์ที่เป็นค่าวลีให้ผู้เรียนพูดตามที่ละ
คำโดยครแู กไ้ ขการพูดให้กบั ผู้เรียนโดยครอู าจใชส้ อ่ื ประกอบการ

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณ์ที่สำคัญ

๓.๔ พูดเป็นประโยคงา่ ย ๆ (1) พดู เป็นประโยคง่าย ๆ ตามแบบ
ตามแบบ

ตวั บง่ ช้ี ๑๓.๒.๔. สามารถอ่านริมฝีปาก

๔.๑ อา่ นริมฝีปากและ (1) อา่ นรมิ ฝีปากและปฏบิ ตั ิตาม

เขา้ ใจความหมาย

๔.๒ ทำรูปปากเปน็ คำท่ีมี (1) ทำรูปปากเปน็ คำท่มี คี วามหมายง่าย
ความหมายและผู้อืน่ เข้าใจได้

161

ญ แนวทางการจดั กิจกรรม
ส อ น ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม / ใ ช ้ เ ค ร ื ่ อ ง ช ่ ว ย ฝ ึ ก พู ด
3) ให้พูดเป็นวลีผู้เรียนพูดเป็นวลีได้ด้วยตนเอง / มีผู้ช่วยเหลือ
ใช้เครื่องช่วยฝึกพดู
๑) ผูส้ อนและผูเ้ รียนนง่ั หน้ากระจกหรือนง่ั หันหน้าชนกัน โดยให้
ผเู้ รียนสังเกตริม ฝปี ากของผสู้ อน
๒) ผู้สอนพูดออกเสียงค่าศัพท์ที่เป็นประโยคให้ผู้เรียนพูดตามที่
ละประโยคโดยครูแก้ไขการพูดให้กับผู้เรียนโดยผู้สอนอาจใช้สื่อ
ประกอบการสอนตามความเหมาะสมเชน่ เครื่องช่วยฝกึ พดู
๓) ให้พูดเป็นประโยค ผู้เรียนพดู เป็นประโยคได้ด้วยตนเอง / มีผู้
ชว่ ยเหลือ

๑) ผู้สอนจัดกิจกรรม การอ่านริมฝีปากหน้ากระจกเงา ให้ผู้เรียน
ปฏบิ ตั ิตาม
๒)เม่ือพูดเป็นคำ ผู้เรยี นอ่านรมิ ฝีปากได้ดว้ ยตนเอง/มีผชู้ ว่ ยเหลือ
๓) เมื่อพูดเป็นวลี ผู้เรียนอ่านริมฝีปากได้ด้วยตนเอง/ มีผู้
ชว่ ยเหลอื
๔) เมื่อพูดเป็นประโยค ผู้เรียน อ่านริมฝีปากได้ด้วยตนเอง /มีผู้
ชว่ ยเหลอื
ย ๆ ๑) ผู้สอนและผู้เรยี น นัง่ หน้ากระจก หรือนง่ั หันหน้าชนกันโดยให้
สงั เกตรมิ ฝปี ากของครู
๒) ผูส้ อนพูดออกเสียงคา่ ศัพทห์ นงึ่ พยางค์ /สองพยางค์ให้ผู้เรียน
พูดตามทลี ะคา่ โดยครูแกไ้ ขการพดู ให้กับผู้เรียนโดยครูอาจใช้สื่อ
ประกอบการสอนตามความเหมาะสมเช่น เครอ่ื งชว่ ยฝกึ พูด

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณท์ ่ีสำคญั

๔.๓ ทำรปู ปากเป็นวลีง่าย ๆ และ (1) ทำรปู ปากเปน็ วลงี า่ ย ๆ
ผู้อน่ื เข้าใจได้

๔.๔ ทำรปู ปากเป็นประโยค (1) ทำรูปปากเป็นประโยคง่าย ๆ
งา่ ย ๆ และผูอ้ ่นื เข้าใจได้

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๒.๕.สามารถใช้ภาษามอื ในการสอ่ื สาร

๕.๑ ใช้ภาษาท่าทางในการ สอ่ื สาร (1) จัดท่าและการเคลื่อนไหวของมือพ
ใช้ภาษามือ การใช้สีหน้าประกอบท
สื่อสาร

๕.๒ ใช้ภาษามือบอกชื่อส่ิง ตา่ ง ๆ (1) ใชภ้ าษามือบอกชอื่ บคุ คล
รอบตวั (2) ใช้ภาษามือบอกชอื่ อาหาร ผกั และผ
(3) ใช้ภาษามอื บอกช่อื สัตว์
(4) ใช้ภาษามอื บอกชอ่ื สงิ่ ของ
(5) ใชภ้ าษามือบอกช่ือสิ่งแวดลอ้ มรอบต

ญ 162

พื้นฐานในการ แนวทางการจัดกจิ กรรม
ท่าทางในการ ๓) ผู้สอนใหพ้ ูดเป็นคา่ ตามบัตรภาพ ผูเ้ รียนเป็นค่าไดด้ ว้ ยตนเอง/
ผลไม้ มีผู้ชว่ ยเหลือหรือใชเ้ ครื่องช่วยฝกึ พดู
ตัว ๔) ผูส้ อนจดั กิจกรรมการฝึกออกเสยี งเปน็ คา่ โดยใชเ้ ครอ่ื งช่วยฝึก
พูดให้ผู้เรียนและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการ
สอน ผู้สอนพาฝึกปฏิบัติ
1) ผู้สอนและผู้เรยี น นั่งหน้ากระจก หรอื น่ังหนั หนา้ ชนกันโดยให้
สังเกตริมฝีปากของครู พูดเป็นวลีสั้น ๆ เช่น กินข้าว อาบน้ำ
แตง่ ตวั
1) ผสู้ อนและผู้เรียน น่งั หนา้ กระจก หรอื น่งั หันหน้าชนกนั โดยให้
สงั เกตรมิ ฝปี ากของครู เชน่ หนไู ปโรงเรียน แม่กนิ ข้าว พ่อทำงาน
ครสู อนหนังสอื

1) ผู้สอนสาธิตการเตรียมจัดท่าและการเคลื่อนไหวของมือ
พื้นฐานในการใช้ภาษามือ การใช้สีหน้าประกอบท่าทางในการ
ส่อื สาร

๑) ผู้สอนสอนเมื่อให้แนะน่าตนเอง โดยใช้ภาษามือ ผู้เรียนใช้
ภาษามอื แนะน่าตนเองไดด้ ว้ ยตนเอง / มีผู้ชว่ ยเหลือ
๒) ผู้สอนสอนให้ผู้เรียนรู้จักบุคคลในครอบครัว โดยดูรูปภาพ
บุคคลในครอบครัว ของผู้เรียน โดยใช้ภาษามือ ผู้เรียน ใช้ภาษา
มือสื่อสารบอกความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวได้ด้วย
ตนเอง / มีผชู้ ่วยเหลือ

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณท์ ่ีสำคญั

๕.๓ ใช้ภาษามือเพ่ือการ 1) ใชภ้ าษามือเพอ่ื การสื่อสารเกี่ยวกบั ต
สนทนาและสื่อสาร 2) ใช้ภาษามอื เพื่อการสอื่ สารเกีย่ วกับบ
3) ใชภ้ าษามอื เพื่อการสือ่ สารเกยี่ วกับธ
4) ใช้ภาษามอื เพื่อการส่ือสารเกี่ยวกบั ส

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.๒.๖.สามารถสะกดนวิ้ มือ

๖.๑ สะกดน้ิวมือพยัญชนะ (1) ฝึกสะกดนิ้วมอื พยญั ชนะไทยชุด ก

ไทย (2) ฝึกสะกดนิ้วมอื พยญั ชนะไทยชุด ต

(3) ฝกึ สะกดนิว้ มือพยญั ชนะไทยชุด ส

(4) ฝกึ สะกดน้วิ มือพยัญชนะไทยชดุ พ

(5) ฝึกสะกดนิ้วมอื พยญั ชนะไทยชุด ห

(6) ฝกึ สะกดน้วิ มอื พยญั ชนะไทยชดุ ด

(7) ฝกึ สะกดนวิ้ มอื พยัญชนะไทยชุด ฟ

(8) ฝึกสะกดน้วิ มือพยัญชนะไทยชดุ ล

(9) ฝึกสะกดนว้ิ มอื พยัญชนะไทยชุด ย

(10) ฝึกสะกดน้ิวมือพยัญชนะไทยชุด น

ญ 163

ตนเอง แนวทางการจัดกจิ กรรม
บคุ คลและสถานท่ี ๓) ผู้สอนสอนให้บอกความสัมพันธ์ของตนเองกับบุคคลใน
ธรรมชาตริ อบตัว ครอบครัวโดยใช้ภาษามือ ผู้เรียนใช้ภาษามือบอกได้ด้วยตนเอง/
สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว มผี ู้ช่วยเหลอื
๑) ผู้สอนสอนเมื่อให้แนะน่าตนเอง โดยใช้ภาษามือ ผู้เรียนใช้
ภาษามือแนะนา่ ตนเองไดด้ ้วยตนเอง / มผี ชู้ ว่ ยเหลือ
2) ผสู้ อนให้ผเู้ รียนใช้ภาษามือเกยี่ วขอ้ งกบั ธรรมชาติรอบตัว เช่น
สัตว์ตา่ ง ๆ

สัตว์บก สนุ ขั เสอื สิงโต ช้าง มา้ ววั ควาย แมว กระต่าย
หมี ยีราฟ กวาง แกะ แพะ กระรอก ลงิ
สัตวน์ ้ำ ปลา กงุ้ หอย ปลาวาฬ ปลาฉลาม หมู หนู
สตั ว์ปกี นก ไก่ เป็ด
สัตว์เลื้อยคลาน งู จระเข้ เต่า ไสเ้ ดือน

ขคฆ 1) ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกสะกดนิ้วมือตามผู้สอนเกี่ยวกับพยัญชนะ
ถฐฒฑฏ ไทยชุดพยญั ชนะไทยชดุ ก ข ค ฆ
ศษ ฝกึ นิ้วมือพยัญชนะไทยชดุ ต ถ ฐ ฒ ฑ ฏ
ปผภ ฝึกสะกดนว้ิ มือพยัญชนะไทยชดุ ส ศ ษ
ฮ ฝกึ สะกดน้ิวมือพยัญชนะไทยชดุ พ ป ผ ภ
ฎ ฝึกสะกดนิ้วมือพยัญชนะไทยชดุ ห ฮ
ฝ ฝึกสะกดนวิ้ มือพยัญชนะไทยชุด ด ฎ
ฬ ฝึกสะกดน้ิวมือพยัญชนะไทยชุด ฟ ฝ
ญ ฝกึ สะกดน้ิวมือพยัญชนะไทยชุด ล ฬ
นณง ฝึกสะกดนว้ิ มือพยญั ชนะไทยชดุ ย ญ

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณ์ที่สำคัญ
(11) ฝกึ สะกดน้ิวมอื พยญั ชนะไทยชดุ ท
๖.๒ สะกดนว้ิ มอื สระและ (12) ฝึกสะกดนิ้วมอื พยญั ชนะไทยชดุ ฉ
สระเปลีย่ นรปู (13) ฝึกสะกดนวิ้ มือพยัญชนะไทย จ ซ
๖.๓ สะกดนวิ้ มือ วรรณยกุ ต์
๖.๔ สะกดนว้ิ มอื ชอ่ื ตนเอง (1) สะกดน้ิวมอื สระ อิ อี อึ อือ โอ ไอ ใ
๖.๕ สะกดน้ิวมือคำงา่ ย ๆ (2) สะกดน้วิ มอื สระ อะ อา อุ อู เอ แอ
(3) ไม้หนั อากาศ การันต์ ฤ และ เครอื่ ง
(1) สะกดนิ้วมือ วรรณยุกต์

(1) สะกดนิ้วมอื ชอ่ื ตนเอง

(1) สะกดน้วิ มอื คำงา่ ย ๆ เก่ียวตนเอง
(2) สะกดนิ้วมือคำง่าย ๆ เกี่ยวกับบ
แวดลอ้ ม
(3) สะกดน้ิวมือคำงา่ ย ๆ เกีย่ วกับธรรม
(4) สะกดน้วิ มอื คำง่าย ๆ เก่ียวกบั สิ่งตา่

164

ญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

ท ธ ฝกึ สะกดนว้ิ มือพยญั ชนะไทยชดุ น ณ ง

ฉ ช ฌ ฝกึ สะกดน้ิวมือพยัญชนะไทยชดุ ท ธ

ซบรมวอ ฝึกสะกดนว้ิ มือพยัญชนะไทยชุด ฉ ช ฌ

ฝึกสะกดนิ้วมือพยญั ชนะไทย จ ซ บ ร ม ว อ

ใอ ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกสะกดนิ้วมือตามผู้สอนเกี่ยวกับสะกดนิ้วมือ

อ อำ ไม้ไต่คู้ สระ อิ อี อึ ออื โอ ไอ ใอ สะกดนิ้วมือสระ อะ อา อุ อู เอ แอ อำ

งหมาย ฯ ไม้ไตค่ ู้ ไมห้ ันอากาศ การนั ต์ ฤ และ เคร่ืองหมาย ฯ

ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกสะกดนิ้วมือตามผู้สอนเกี่ยวกับ สะกดนิ้วมือ

วรรณยกุ ต์

ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกสะกดนิ้วมือตามผู้สอน เกี่ยวกับ สะกดนิ้วมือ

ชื่อตนเอง

1)ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกสะกดนิ้วมือตามผู้สอน เกี่ยวกับตนเอง

บุคคลและสถานที่ 2)ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกสะกดนิ้วมอื ตามผู้สอนเกี่ยวข้องกับร่างกาย

ของตนเอง เช่น ผม ตา หู ปาก และ สภานที่สภาพแวดล้อม

มชาติรอบตัว บคุ คล

าง ๆ รอบตัว สมาชกิ ในครอบครัว พ่อ แม่ปู่ ยา่ ตา ยาย ลงุ ป้า น้า อา

พี่ น้อง หลาน พี่สาว พ่ชี าย น้องชาย นอ้ งสาว ลูก

บุคคลรอบข้าง ครู หมอ เพื่อน ต่ารวจ ทหาร แม่ค้า

พ่อค้า

3) ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกสะกดนิ้วมือตามผู้สอนเกี่ยวข้องกับ

ธรรมชาติรอบตัว เช่นสตั วต์ า่ ง ๆ

สัตว์บก สนุ ขั เสือ สิงโต ช้าง ม้า วัว ควาย แมว กระต่าย

หมี ยีราฟ กวาง แกะ แพะ กระรอก ลิง

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณ์ท่ีสำคญั

๖ .๖ ส ะ ก ด น ิ ้ ว ม ื อ อ ั ก ษ ร (1) สะกดนว้ิ มืออกั ษรภาษาอังกฤษ A B
ภาษาองั กฤษ (2) สะกดนว้ิ มืออักษรภาษาอังกฤษ G H
(3) สะกดนิว้ มืออักษรภาษาอังกฤษ L M
(4) สะกดน้ิวมืออักษรภาษาอังกฤษ Q R
(5) สะกดนว้ิ มืออักษรภาษาอังกฤษ V W
XYZ

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๒.๗.สามารถใช้เทคโนโลยี สง่ิ อ˚านวยความสะดวก เครอื่ งช่วยใน

7.7.๑ ใช้อุปกรณ์ช่วยในการ (1) ใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการส่อื สารทางเลอื

สอ่ื สารทางเลือก

ญ 165

BCDEF แนวทางการจดั กจิ กรรม
HIJK สตั วน์ น้ำปลา กุ้ง หอย ปลาวาฬ ปลาฉลาม หมู หนู
MNOP สตั ว์ปกี นก ไก่ เป็ด
RSTU สตั ว์เล้อื ยคลาน งู จระเข้ เต่า ไส้เดือน
W 1)ผ้สู อนใหผ้ ู้เรยี นฝกึ สะกดนว้ิ มอื ตามผ้สู อนเกยี่ วกับ
อักษรภาษาอังกฤษตามชดุ ตวั อกั ษร A-Z ตามลำดบั
นการเรยี นรู้ สะกดนว้ิ มืออักษรภาษาอังกฤษ A B C D E F
อก สะกดนิ้วมืออกั ษรภาษาอังกฤษ G H I J K
สะกดนิว้ มืออกั ษรภาษาอังกฤษ L M N O P
สะกดนว้ิ มอื อักษรภาษาอังกฤษ Q R S T U
สะกดน้วิ มืออักษรภาษาองั กฤษ V W X Y Z

1) ผสู้ อนอธบิ ายข้ันตอนการใสเ่ ครอื่ งช่วยฟงั
๒) ผสู้ อนสาธิตการใสเ่ ครอื่ งชว่ ยฟงั แลว้ ใหผ้ ้เู รียนฝกึ ใสเ่ ครอ่ื งชว่ ย
ฟงั ตามครู
๓) ผู้สอนให้ผู้เรียนฝกึ ใส่เครื่องช่วยฟังด้วยตนเอสามารถเปิด ปิด
เครอ่ื งชว่ ยฟงั ได้
4) ผูส้ อนอธบิ ายขั้นตอนการเปดิ ปิดเคร่ืองชว่ ยฟัง
5) ผู้สอนสาธิตการการเปิดปิดเครื่องช่วยฟังแล้วใหผ้ ู้เรียนฝึกการ
เปิดปิดเครื่องช่วยฟังตามครู
6) ผสู้ อนใหผ้ ้เู รียนฝึกใส่การเปดิ ปิดเครอ่ื งชว่ ยฟงั ดว้ ยตนเอง
7) ผูส้ อนอธิบายขน้ั ตอนการปรับระดบั เสยี งเครอ่ื งชว่ ยฟงั
8) ผู้สอนสาธิตการการปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟังแล้วให้
ผเู้ รียนฝึกการปรับระดับเสยี งเครอ่ื งช่วยฟงั

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณ์ทีส่ ำคัญ

7.๒ ใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการ (1) ใช้อปุ กรณ์ชว่ ยในการเขา้ ถงึ คอมพิว
เข้าถึงคอมพิวเตอร์เพื่อการ
เรียนรู้

7.๓ ใ ช ้ โ ป ร แ ก ร ม เ ส ร ิ ม ผ่ า น (1) ใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอ

คอมพิวเตอรเ์ พ่อื ช่วยในการ เรยี นรู้

เรียนรู้

166

ญ แนวทางการจดั กิจกรรม
9) ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกใส่การปรับระดับเสียงเครื่องช่วยฟังด้วย
ตนเอง

วเตอร์ ผู้สอนใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้บุคคลที่มีความ
อร์เพื่อช่วยในการ บกพร่องหรือพิการเข้าถึงและใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ได้
รวมถึงการปรับแป้นพิมพ์ หน้าจอ สวิตช์ และเมาส์ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์สงั เคราะหเ์ สียง เป็นตน้

ผู้สอนใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับผู้พิการทางการได้ยิน ใน
การจักการเรียนรู้ให้กบั ผู้เรยี น

๑.๕.๓ ประสบการณ์สำคญั ที่สง่ เสริมการพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่อ

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๓.๑.สามารถส่อื สารได้เหมาะสมกับสถานการณ์

๑.๑ สื่อสารไดเ้ หมาะสมกับ (1) ใชภ้ าษาทา่ ทางบอกความต้องการ

สถานการณ์ (2) ใชภ้ าษาไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์

(3) สนทนาโต้ตอบ/เล่าเรื่องดว้ ยประโยค

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๓.๒. สามารถดูแลตนเองและความปลอดภยั ในชีวติ ประจำวัน

๒.๑ ดูแลตนเองและความ (1) ทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวัน

ปลอดภัยในชีวติ ประจำวัน (2) เลือกรับประทานอาหารทเ่ี ปน็ ประโย

(3) ระมดั ระวังเรอื่ งความปลอดภยั ตนเอ

(4) ทำงานบา้ นง่าย ๆ

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.๓.๓. มีปฏสิ มั พันธท์ างสงั คมกับผูอ้ ่นื อย่างเหมาะสม.

๓.๑ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ทาง (1) มีปฏสิ มั พันธ์กบั ผ้อู ืน่

สังคมกบั ผู้อน่ื อยา่ งเหมาะสม (2) เล่นกับเพือ่ น

(3) เล่นเลยี นแบบผอู้ ่ืน

(4) เลน่ ตามกติกา

(5) เล่นบทบาทสมมตุ ิ

(6) ปฏิบตั ิตามกฎกตกิ าทางสังคม

167

องทางสตปิ ญั ญา

แนวทางการจดั กิจกรรม

คสนั้ ๆ ได้ 1) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนใช้คำพูดหรือการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้และ
เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น พูด / สื่อสาร / แสดงท่าทางเพื่อขอ
อนุญาตไปเข้าห้องน้ำ พูด / สื่อสาร / แสดงท่าทางเพื่อแสดงความ
ต้องการ เป็นตน้

นดว้ ยตนเอง ๑) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนควบคุมตนเองในการทำกิจวัตรส่วนตัว โดยการ
ยชน์ ปฏิบัติจริง เช่น การตื่นนอน การทำความสะอาดร่างกาย เป็นต้น
อง 2) ผสู้ อนฝกึ ให้ผ้เู รยี นทำกิจกรรมโดยเริ่มจากง่ายไปยากและ
เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนสนใจ โดยต้องให้ผู้เรยี นทำกิจกรรมจนสำเร็จ จึงจะ
อนญุ าตให้เปลี่ยนกิจกรรมได้ เชน่ การร้อยลกู ปัด การตอ่ ตวั ตอ่ เป็นต้น
3) ผสู้ อนฝกึ ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นร้เู ก่ียวกบั กติกาของห้องเรียน
4) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนปฏิบัติตนตามกติกาของห้องเรียนโดยการปฏิบัติ
จรงิ เชน่ ไม่ลกุ ออกจากทีน่ ัง่ ไม่ส่งเสียงดัง

1) ผู้สอนการแสดงบทบาทสมมติที่มีการเตรียมมาล่วงหน้า ผู้สอนจะผูก
เรื่องหรือประเด็นเสียก่อน แล้วนำมาเล่าให้ผู้เรียนฟัง พร้อมกันนั้นก็จะ
กำหนดตวั ผูแ้ สดงและบทละครอยา่ งคร่าว ๆ โดยอาจเพมิ่ เติมรายละเอียด
ตามความเหมาะสมและตามความเห็นของผู้แสดงเอง เช่นระหว่างผู้ที่
สอนกำลังสอนเรื่องอาชีพต่าง ๆ และความสำคัญของหน้าที่ที่มีต่อสังคม
ผสู้ อนอาจเรียกผูเ้ รยี น 4-5 คน ออกไปแสดงบทบาทของบุคคลในอาชีพ
ตา่ ง ๆ เป็นต้น

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ประสบการณส์ ำคัญ

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๓.๔. รู้จักใชท้ รัพยากรในชุมชน

๔.๑ การรู้จักใช้ทรัพยากร ใน (1) ใชส้ งิ่ ของสาธารณะอยา่ งเหมาะสม

ชมุ ชน (2) ปฏิบัติตามข้อตกลงการใช้สิ่งของ

อยา่ ง เหมาะสม

(3) ดูแลรักษาสิง่ ของสาธารณะไดอ้ ยา่ งเ

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๓.๕. สามารถใช้เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก เครอ่ื งช่วยใน

5.๑ ใช้อปุ กรณช์ ว่ ยในการ (1) ใช้อปุ กรณ์ชว่ ยในการส่อื สารทางเลอื

ส่อื สารทางเลือก

5.๒ ใช้อปุ กรณช์ ่วยในการ (1) ใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการเข้าถงึ คอมพวิ เ
เข้าถงึ คอมพวิ เตอรเ์ พอื่ การเรียนรู้
(1) ใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร
5.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผา่ น การเรยี นรู้
คอมพิวเตอร์เพอื่ ชว่ ยในการเรยี นรู้

168

แนวทางการจดั กิจกรรม

1) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนปฏิบัติ เรื่อง การใช้น้ำอย่างประหยัด การเปิด –
งสาธารณะ ปดิ กอ๊ กนำ้ ท่อี ่างล้างมอื การกดชกั โครก การใชก้ ระดาษชำระ เป็นตน้

2) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนปฏิบัติ เรื่อง การใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์
เหมาะสม ต่าง ๆ และเครื่องเล่นในสวนสาธารณะ เช่น ไม่เด็ดดอกไม้ ใบไม้ และทิ้ง

ขยะในสถานท่เี ตรียมไว้ เปน็ ตน้
3) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนปฏิบัติ เรื่อง การใช้และบำรุงรักษาพื้นที่แหล่ง
ทอ่ งเที่ยวได้แก่ หาดทราย ชายฝั่งทะเล น้ำตก ศาสนสถาน โบราณสถาน
เปน็ ต้นโดยการเปน็ นักท่องเท่ียวทด่ี ี ไม่ทิ้งขยะ พลาสติก โฟม ช่วยกนั เก็บ
ขยะทง้ิ ลงถงั ท่ีจัดไว้ เป็นต้น

นการเรยี นรู้

อก 1) ผ้สู อนใช้อุปกรณช์ ว่ ยพัฒนาทักษะทางการสื่อสารเช่น กระดานสื่อสาร
บัตรภาพ บัตรคา หนังสืออ่านงา่ ยเปน็ หนงั สือทีใ่ ช้ในการเล่านิทานให้เดก็
ฟังเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายโดยจะมีรูปภาพและตัวหนังสือประกอบเพื่อ
พัฒนาการสอื่ สารกบั ผอู้ ืน่ อปุ กรณ์สอ่ื การเรียนการสอนชนดิ พิเศษ เชน่ สี
เทียนแท่งใหญ่ ปากกาเนน้ ขอ้ ความ ดา้ มจับดินสอ

เตอร์ 1) ผู้สอนใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงและใช้งาน
อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์

ร์เพื่อช่วยใน การใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น CAI,หรือเทคโนโลยีมัล
ติมเิ ดยี ในการใช้การเรียนการสอน

๑.๕.๔ ประสบการณส์ ำคัญที่ส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพรอ่

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณ์ท

ตวั บ่งชี้ ๑๓.๔.๑ ดูแลสขุ อนามยั ของตนเองเพ่อื ป้องกันภาวะแทรกซ้อน

๑.๑ การป้องกัน ดูแลและ รักษาความ (1) ใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ยปอ้ งกนั แผลกดทับ

สะอาดแผลกดทับ (2) พลิกตะแคงตวั

(3) ยกตวั ขณะอย่ใู นทา่ นัง่

(4) ดูแลและรักษาความสะอาดผวิ ห

169

อง ทางรา่ งกายหรือการเคล่อื นไหวหรือสุขภาพ

ท่ีสำคญั แนวทางจดั กิจกรรม

บ 1) ใช้อปุ กรณ์ชว่ ยป้องกันแผลกดทับ
นักเรียน/ผู้ปกครองรู้จักเเละสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ปอ้ งกันแผล
กดทับได้

หนัง 2) พลิกตะแคงตัว
- นกั เรียนนอนหงาย ชนั เข่าด้านตรงขา้ มกบั ข้างท่ีจะตะแคง
- นกั เรียนเคลือ่ นไหวแขนไปดา้ นท่จี ะตะแคง
ถ้านักเรียนยังไม่สามารถทำได้เองให้ผู้ดูแลช่วยไกด์บริเวณแขน
และเข่าทช่ี นั ขึ้นใหพ้ ลกิ ตะแคงไปตามดา้ นทตี่ ้องการ
3) ยกตัวขณะอยู่ในทา่ นั่ง
เมื่อนักเรียนสามารถพลิกตะแคงได้เเล้วให้ผู้ป่วยตั้งศอกในด้านที่
ตะแคงแล้วคอ่ ย ๆ เหยียดศอกขน้ึ เปลี่ยนจากตะแคงมานง่ั
(4) ดแู ลและรกั ษาความสะอาดผิวหนงั
กรณีติดเตียง
ปรับระดบั เตยี งใหเ้ หมาะสม เล่อื นผู้ป่วยมารมิ เตียงด้านที่ผู้ดูแล
ยนื อยู่ ถ้าผูป้ ่วยตอ้ งการปสั สาวะหรืออจุ จาระให้ดแู ลให้ขับถ่ายให้
เรียบร้อยจัดทา่ นอนหงายราบ ใช้ผ้าคลมุ ตวั นักเรียน ถอดเส้ือและ
กางเกง ใช้ผ้าเช็ดตัวบรเิ วณใต้คาง และใตใ้ บหูถงึ บรเิ วณหน้าอก
จุ่มผ้าถูตัวในน้ำ บิดให้พอหมาดพันผ้ารอบมือแล้วเหน็บชายเข้า
ด้านล่าง เช็ดตาท้ัง 2 ขา้ ง โดยเช็ดดา้ นไกลตัวก่อน เชด็ จากหัวตา
มาหางตา แล้วใช้ผ้าอีกมุมในการเช็ดตาอีกด้านซักผ้าถูตัว เช็ด
ใบหน้า และหู ใช้ซับ เลื่อนผ้าเช็ดตัวลงมาคลุมที่หน้าอก เปิด

สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ประสบการณท์

๑.๒ บรหิ ารกล้ามเนือ้ และ (1) ยดื เหยียดกลา้ มเนื้อ
เพิ่มการรบั รูข้ องข้อต่อ (2) ลงน้ำหนกั
(3) เพิ่มกำลังกล้ามเน้อื

ที่สำคญั 170

แนวทางจดั กจิ กรรม

เฉพาะไหล่สว่ นบน เช็ดคอ และไหล่ด้วยน้ำและสบู่ ซับใหแ้ ห้งเช็ด
รา่ งกายด้วยสบ่แู ละนำ้ โดยเชด็ ต้านไกลตวั กอ่ น
ด้านใกล้ตัว ใช้ผ้าเช็ดตัวปูรองใต้บริเวณที่เช็ด ซับให้แห้ง ทาครีม
บำรงุ ผวิ ทาแป้ง ตามลำดบั
กรณตี ้องการชว่ ยเหลอื ในการอาบนำ้

ผูด้ แู ลชว่ ยเหลอื ในการพานกั เรยี น
ที่สามารถลุกเดินเข้าห้องน้ำได้แต่ไม่สามารถอาบน้ำด้วยตนเอง
ทง้ั หมดไปอาบนำ้ ในห้องน้ำพร้อมท้งั เตรยี มอุปกรณ์เครื่องใช้ และ
ช่วยทำความสะอาดร่างกายในสว่ นท่ผี ู้ปว่ ยทำไมได้
กรณนี กั เรียนอาบนำ้ ได้เอง

โดยครูเป็นผู้เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ และดูแลให้นักเรียนได้รบั
ความปลอดภยั ไมเ่ กดิ อบุ ตั ิเหตุ
การเคลื่อนไหวข้อตอ่ แบบทำใหข้ องรยางค์ส่วนบน
(1) ยดื เหยยี ดกล้ามเน้อื
ท่ายกแขนขึน้ - ลง
เริ่มต้นมือหน่ึงจับที่ขอ้ มือ อีกมือหนึ่งจับที่ข้อศอก ยกแขนขึ้นตรง
ๆ โดยหมุนให้นิ้วโป้งชี้ลงพื้น ยกให้สุด จนแขนแนบใบหูแล้ว
กลับมาสู่ทา่ เริ่มต้น
ทา่ กางแขน - หบุ แขน
มือหนึ่งจับที่ข้อมือ อีกมือหนึ่งจับที่ข้อศอก กางแขนออกด้านข้าง
ลำตัว โดยหมุนให้นิ้วโป้งชี้ลงพื้นกางให้สุดจนแขนแนบใบหูแล้ว
ครับมาสูท่ า่ เรม่ิ ตน้

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ที่สำคญั 171

แนวทางจดั กจิ กรรม
ท่าหมนุ แขนออกหมุนแขนเขา้
เริ่มต้นกางแขนและงอข้อศอก 90 องศา มือหนึ่งจับที่ข้อศอกให้
อย่นู ง่ิ ๆ อีกมอื หนึง่ จับท่ีขอ้ มือหมนุ แขนออกและหมนุ แขนเข้า
ทา่ กาง – หบุ น้วิ มอื
มือหนึ่งจับที่ฝ่ามือ อีกมือหนึ่งจับที่นิ้วมือ กางและหุบนิ้ว ทำทุก
นว้ิ
ท่ากำ – แบมือ
มือหนึง่ จับ ประคองฝ่ามอื ให้แบออก อีกมือหนึง่ จับท่ีนวิ้ มือ กำมือ
และแบมือออก ผู้ป่วยมักมีภาวะเกร็งกำมือ ควรแบมือออกแล้ว
ค้างไว้ 10 วนิ าที จงึ ทำซำ้
ท่างอ – เหยียดขอ้ นวิ้ แม่โปง้
มือหนึ่งจับที่มือ ประคองฝ่ามือให้แบออก อีกมือหนึ่งจับที่นิ้วโป้ง
งอนิ้วโป้งเข้าหาฝ่ามือและเหยียดนิ้วโป้งออก ผู้ป่วยมักมีภาวะ
เกร็งนิ้วโป้งกำอยู่ในฝ่ามือ ควรเหยียดนิ้วโป้งออกแล้วค้างไว้ 10
วินาที จึงทำซำ้
ท่าคว่ำมือหงายมือ มือหนึ่งจับที่ข้อมือ อีกมือหนึ่งจับที่ท่อนแขน
หมุนมือให้คว่ำและหมุนมือให้หงายสุด ผู้ป่วยมักมีภาวะเกร็งคว่ำ
มือ ควรหงายมือให้สุดแล้วค้างไว้ 10 วินาที จึงทำซำ้
ทา่ กระดกขอ้ มอื ลง
มือหนึ่งจับที่ข้อมือ อีกมือหนึ่งจับที่มือ กระดกข้อมือลงสลับ
กระดกข้อมอื ขึ้น
ทา่ เอยี งขอ้ มือมาทางด้านน้วิ กอ้ ย - เอียงขอ้ มือมาทางด้านนิว้ โปง้

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ท่ีสำคญั 172

แนวทางจัดกิจกรรม
มือหนึ่งจับที่ข้อมือ อีกมือหนึ่งจับที่ฝ่ามือ ให้อยู่ในแนวตรง เอียง
ข้อมอื มาทางด้านน้วิ ก้อยสลับเอยี งข้อมือมาทางด้านนว้ิ โปง้
ทา่ แขนเขา้ หาลำตัว - กางแขนออกจากลำตวั
เริ่มต้นกางแขน 90 องศา มือหนึ่งจับที่ข้อมือ อีกมือหนึ่งจับท่ี
ข้อศอกหุบแขนเขา้ หาลำตวั และกางแขนออกจากลำตวั
ทา่ งอศอก - เหยยี ดศอก
มือหนึ่งจับที่ข้อมือ อีกมือหน่ึงจับที่ข้อศอกให้อยู่นิ่ง ๆ งอศอกให้
เข้าสุดและเหยยี ดขอ้ ศอกออกใหส้ ดุ ถา้ มีภาวะเกร็งงอ ควรเหยียด
ศอกออกแล้วคา้ งไว้ 10 วนิ าที จึงทำซำ้
ท่าหุบ - กางข้อนิ้วโป้ง
มือหนึ่งจับที่มือประคองฝ่ามือให้แบออก อีกมือหนึ่งจับที่นิ้วโป้ง
นว้ิ โป้งแนบเข้ากับมือและกางนวิ้ โป้งให้ตั้งฉากกับฝ่ามือ ผู้ป่วยมัก
มีภาวะเกรง็ นิว้ โป้งอยู่ในฝา่ มือ ควรเหยียดกางน้วิ โป้งตง้ั ฉากกับฝ่า
มือค้างไว้ 10 วนิ าที จงึ ทำซำ้
ทา่ งอและเหยียดข้อนิว้ มือ
มือหนึ่งจับที่ล่างต่อข้อต่อ อีกมือหนึ่งจับเหนือข้อต่อ งอและ
เหยยี ดข้อนิ้วมือตามทกุ ข้อตอ่ ของทุกนิว้
การเคล่ือนไหวข้อต่อแบบทำใหข้ องรยางค์สว่ นล่าง
ท่าข้อสะโพกและขอ้ เข่า
มอื หน่ึงจบั ท่ขี อ้ เข่า อกี มือหน่ึงจับสน้ เท้า
รวมถงึ ฝ่าเทา้ ท้ังหมด แลว้ งอสะโพกร่วมกับงอเข่า
ใหเ้ ขา่ ชดิ อก ระวังไม่ใหข้ าอกี ขา้ งยกตามข้นึ มา

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ที่สำคญั 173

แนวทางจดั กิจกรรม
ทำสลับกับเหยยี ดขาออก
ทา่ งอสะโพกร่วมกับเหยียดเขา่
มือหนง่ึ จบั ทีข่ ้อเข่า อีกมอื หนึง่ จับท่สี น้ เท้ายกข้นึ ตรง ๆ
ให้ได้มุมประมาณ 80-90 องศา ควรทำท่านี้ค้างไว้ 10 วินาที
แลว้ ทำซำ้
ท่าหุบหัวขอ้ สะโพก (หบุ ขา) - กางขอ้ สะโพก (กางขา)
มือหนึ่งจับที่ข้อเข่า อีกมือหนึ่งจับที่ข้อเท้า กางขาออกทางด้าน
นอกประมาณ 45 องศา
แล้วหุบขาเข้าดา้ นใน ควรกางขาค้างไว้ 10 วนิ าที แลว้ ทำซำ้
ท่าหมุนข้อสะโพกออกดา้ นนอก - หมุนขอ้ สะโพกเขา้ ด้านใน
มอื หนง่ึ จับที่ข้อเข่า อกี มอื หนง่ึ จับทสี่ ้นเท้า งอเขา่ และสะโพก 90
องศา หมนุ สะโพกให้เท้าออกด้านนอก สลบั กบั หมนุ สะโพกให้เท้า
เข้าดา้ นใน ระวงั ไมใ่ หเ้ กิดแรงกระทำท่ขี อ้ เขา่
ทา่ เหยียดขาทางดา้ นหลงั
เด็กอยู่ในท่านอนคว่ำ มือหนึ่งกดที่สะโพก อีกมือหนึ่งซ้อนที่เข่า
ยกขึ้นตรง ๆ ประมาณ 20 องศา
เด็กที่อาการเกร็งงอของลำตัว ควรทำท่านี้ค้างไว้ 10 วินาที แล้ว
ทำซ้ำ
ทา่ กระดกขอ้ เท้าข้ึน
มือหนึ่งจับที่เหนือข้อเท้าให้มั่นคง อีกมือหนึ่งจับที่ส้นเท้ารวมถึง
ฝา่ เท้าทั้งหมด

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ที่สำคญั 174

แนวทางจัดกิจกรรม
กระดูกขอ้ เท้าขึน้ เดก็ มภี าวะเกร็งเหยียด เทา้ จกิ ควรทำท่านี้ค้าง
ไว้ 10 วินาที แลว้ ทำซำ้
(2) ลงนำ้ หนกั
ลงนำ้ หนักส่วนบน
นง่ั เหยียดแขนลงนำ้ หนักทเี่ เขนทงั้ สองข้าง
ลงนำ้ หนักส่วนล่าง
-นง่ั ชันเขา่ กดเขา่ ลง ลงน้ำหนักที่เข่าทัง้ สองขา้ ง
-ยืน เท้าทั้งสองข้างวางระดับเดียวกับไหล่ ลงน้ำหนักที่ขา เข่า
เเละเทา้ ทั้งสองข้าง
(3) เพิม่ กำลังกล้ามเนื้อ
เพิ่มกำลังกลา้ มเนอ้ื โดยใชถ้ งุ ทราย
เพมิ่ กำลงั กลา้ มเน้อื ตามกจิ กรรม
- โยนลกู บอลใส่ห่วง หรอื โยนลกู บาสใส่ห่วง
- ใชม้ อื ไต่กำแพงให้สงู ท่ีสุด
หยิบลูกบอลใส่ในระดับเหนอื ศีรษะหรือการเล่นในลักษณะยกแขน
สงู โดยมอื หนั เข้าหาลำตัว
ท่าเหยียดแขนออกไปด้านหลงั
- ประสานมอื ไว้ทางด้านหลังแลว้ เหยียดแขนออกไปทางด้านหลงั
- หยบิ ลูกบอลใส่ตะกร้าดา้ นหลัง
ท่าหุบแขนเข้า
- ใชม้ อื แตะไหลฝ่ ่งั ตรงข้าม

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ที่สำคญั 175

แนวทางจัดกจิ กรรม
ใช้มือสองข้างถือบอลออกกำลังกายลูกใหญ่ส่งไปทิศทางด้านข้าง
ลำตวั
ทา่ กางแขนออก
- ตบมือเหนือศีรษะ
- ทำทา่ นกบนิ โดยกางแขนข้ึน-ลง
- หยิบลกู บอลใสต่ ะกร้าดา้ นขา้ งหรอื การเลน่ ในลกั ษณะกางแขน
ท่างอขอ้ ศอกเข้า
- แขนแนบลำตวั ใช้มอื แตะที่หน้าอก
- ใชม้ ือจับอวัยวะบนใบหน้า
- ใชม้ ือแตะไหล่
- ท่าเหยียดขอ้ ศอกออก
- ตง้ั ศอกบนโตะ๊ แล้วถอื ของท่มี ีนำ้ หนักค่อย ๆ วางลงบนโต๊ะ
- ประสานมือระดบั อก ยืน่ ไปด้านหนา้ จนสุด
- ต่อยมวย กำหมัดแล้วชกออกไปด้านหนา้
ท่ากระดกขอ้ มอื ขนึ้ -ลง
- พนมมือระดับอก
- ใชม้ อื สองขา้ งบดิ ผ้าพร้อมกัน สลบั มอื ไปมา
- ตกี ลอง โดยกระดกมือข้นึ แล้วตี
- จับลกู บอลแล้วกระดกขอ้ มือขึ้น
ทา่ มอื ขึน้ -ลง
- ยื่นแขนไปทางดา้ นหนา้ พร้อมกระดกขอ้ มือลง
- ใช้มือสองขา้ งบิดผา้ พรอ้ มกัน สลับมือไปมา


Click to View FlipBook Version