The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-11-09 03:54:50

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ที่สำคญั 176

แนวทางจดั กิจกรรม
- ตีกลอง โดยกระดกมือลง
- จับลูกบอลแล้วกระดกข้อมอื ลง
เพ่มิ หรือคงสภาพองศาร่างกายสว่ นล่าง
ท่างอข้อสะโพก
- นอนหงาย กอดเข่าชดิ อก
- เดินข้นึ -ลงบันได
-ยกขาเดินข้ามสิ่งกีดขวางหรือการทำกิจกรรมที่มีลักษณะงอข้อ
สะโพก
ทา่ เหยยี ดข้อสะโพกออก
- นอนควำ่ ยกขาข้ึน
- ก้าวขาไปด้านหน้า งอเข่าและถ่ายน้ำหนักไปด้านหน้า ขาอีกข้าง
เหยียดไปด้านหลัง
- เดินก้าวขายาวตามจดุ ที่กำหนด
กางข้อสะโพกออก
- นง่ั กบั พ้ืนหันฝ่าเท้าเขา้ หากัน เลอ่ื นเทา้ มาใกล้ลำตัวแล้วโน้มตวั ลง
- นอนหงายกางขาไปดา้ นข้าง
- นอนตะแคง ยกขาขึ้น
- เดินด้านข้าง
หุบข้อสะโพกเข้า
- เดนิ ตามเสน้ ตรง
- เดนิ ดา้ นข้าง

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ที่สำคญั 177

แนวทางจดั กจิ กรรม
- ใช้ขาหนีบลูกบอลเล็กไม่ให้หล่น หรือการทำกิจกรรมที่มีลักษณะ
หุบขอ้ สะโพก
งอเขา่ เข้าได้
- ยนื เขา่ นงั่ ลงบนสน้ เทา้
- นั่งยอง ๆ
- เดินขึ้น-ลงบันได
เหยียดเข่าออก
- นงั่ บนเก้าอี้ แตะขาออกไปดา้ นหน้า
- ลกุ จากเก้าอไ้ี ปยืน
- เดนิ ขึ้น-ลงบนั ได
- เตะฟุตบอล
กระดกขอ้ เทา้ ลง
- ใชเ้ ท้าขยำกระดาษ
- ทำน่งั เก้าอ้ี ใช้เทา้ แตะจุดที่กำหนดด้านหนา้
- ยนื เขยง่ ปลายเทา้
- ปั่นจักรยาน
กระดกข้อเท้าขึน้
- ยนื คา้ งไวบ้ นทางลาด
- นง่ั กระดกขอ้ เทา้ ข้ึน
- ใชเ้ ทา้ ขยมุ ผา้ จาพืน้ ไปใส่ในตะกร้า
- เดนิ ข้ามสง่ิ กดี ขวาง
- ปัน่ จกั รยาน

สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณท์
๑.๓ จัดท่านอน ทา่ น่งั และ (1) จัดทา่ นอนทีถ่ กู ต้อง
ทำกจิ กรรมในท่าทางทีถ่ กู ต้อง (2) จัดท่านง่ั ทถ่ี ูกตอ้ ง
(3) จดั ทา่ ขณะทำกจิ กรรมท่ถี กู ต้อง

ที่สำคญั 178

แนวทางจดั กจิ กรรม
จัดทา่ นอนหงาย
- นอนหงาย ศรี ษะอยูใ่ นแนวตรงศรี ษะอยูใ่ นแนวตรง
- ระดับไหลแ่ ละสะโพกท้งั สองขา้ งเทา่ กนั
- แขนท้ังสองข้างอยขู่ ้างลำตวั
- ขาทั้งสองข้างวางบนหมอนขาทั้งสองขาเหยียดตรง หมอนรอง
ใต้เขา่
นอนควำ่ ได้อยา่ งเหมาสม
- ศีรษะหนั ไปทางด้านใดดา้ นหนง่ึ
- ลำตัวอยูใ่ นแนวตรง
- แขนกางออกและงอข้อศอก
- ขาทงั่ สองขา้ งห่างกันเลก็ นอ้ ย
นอนตะแคงได้อยา่ งเหมาะสม
- ศรี ษะอยใู่ นแนวลำตัว ไม่เอนลง หรอื แหงนคอ
- ลำตวั อย่ใู นแนวตรง
- แขนและขาดา้ นบนวางบนหมอน
นัง่ เข่าเปน็ วงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
- ศีรษะ และลำตัวเหยยี ดตรง
- น่งั งอเข่า ฝา่ เท้าหันเขา้ หากัน มีลักษณะคลา้ ยวงกลม
น่ังขดั สมาธไิ ด้อยา่ งเหมาะสม
- ศีรษะ และลำตัวเหยียดตรง
- ขดั ขาท้ังสองข้างด้วยกนั ข้างหนึง่ ทับบนอีกข้างหนึ่ง
น่ังเกา้ อไ้ี ดอ้ ย่างเหมาะสม

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณ์ท

๑.๔ควบคุมการเคลื่อนไหวในขณะทำ (1)ควบคมุ การทรงท่าทางของร่างกาย

กิจกรรม (2)ควบคุมการทรงทา่ ทางของร่างกาย

179

ท่ีสำคญั แนวทางจดั กจิ กรรม
- ศีรษะ และลำตวั เหยยี ดตรง
ยขณะอยู่นงิ่ - ระดบั ไหล่ และสะโพกทั้งสองข้างเทา่ กัน
ยขณะเคลื่อนไหว - ข้อสะโพก ข้อเขา่ และข้อเท้างอ 90 องศา
- เท้าวางราบกบั พน้ื
ยนื เขา่ ได้อย่างเหมาะสม
- ศรี ษะ และลำตวั อย่ใู นแนวตรง
- ข้อสะโพกทงั้ สองขา้ งเหยียดตรง
- ลงน้ำหนักทีเ่ ข่าท้ังสองขาเท่ากัน
ยนื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
- ศีรษะ และลำตวั อย่ใู นแนวตรง
- ข้อเข่า และขอ้ สะโพกทง้ั สองข้างเหยยี ดตรง
- ลงนำ้ หนกั ท่ีเท้าทั้งสองขาเท่ากนั
- ยืนบนเคร่ืองฝกึ ยืน
- ยืนบนเตยี งฝึกยนื

ควบคมุ การทรงทา่ ทางของรา่ งกายขณะอยู่นิ่ง
นั่งทรงท่าไดอ้ ย่างมน่ั คง
- นงั่ ทรงทา่ บนพนื้ แขง็
- นั่งทรงทา่ บนเบาะนุม่
- นั่งทรงท่า ผู้ฝึกให้แรงต้านบริเวณไหล่ โดยผลักเบา ๆ ไปในทุก
ทศิ ทางสลับกนั
ตั้งคลานได้อย่างม่นั คง

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณท์

ที่สำคญั 180

แนวทางจดั กิจกรรม

- ตั้งคลานบนพน้ื แข็ง
- ตัง้ คลานบนเบาะนุม่
- ตั้งคลาน ผู้ฝึกให้แรงต้านบริเวณไหล่และสะโพก โดยผลักเบา ๆ
ไปในทกุ ทิศทางสลับกัน
ยนื เข่าได้อยา่ งม่นั คง
- ยืนเข่าบนพนื้ แขง็
- ยืนเขา่ บนเบาะนมุ่
- ยืนเข่า ผู้ฝึกให้แรงต้านบริเวณไหล่ โดยผลักเบา ๆ ไปในทุก
ทศิ ทางสลับกนั
ยืนทรงท่าได้อย่างม่นั คง
- ยนื ทรงทา่ บนพื้นแขง็
- ยนื ทรงทา่ บนเบาะนมุ่
- ยืนทรงท่า ผู้ฝึกให้แรงต้านบริเวณไหล่ โดยผลักเบา ๆ ไปในทุก
ทศิ ทางสลับกนั
ควบคมุ การทรงทา่ ทางของรา่ งกายขณะเคลื่อนไหว
นง่ั ทรงทา่ ขณะทำกจิ กรรมได้อย่างมั่นคง
- นัง่ ทรงท่าบนลกู บอล
- น่งั ทรงท่าบนกระดานทรงตัว
- นั่งทรงท่า หมุนศีรษะ เอียงลำตัวซ้ายขวา เคลื่อนไหวแขน ตาม
จังหวะเสยี งเพลง
-นัง่ ทรงท่าเอือ้ มหยิบของเลน่ ไดใ้ นทุกทศิ ทาง

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณท์

๑.๕ การเพ่มิ หรอื คงสภาพองศา (1)เพ่ิมหรือคงสภาพองศาร่างกายสว่ น
การเคลื่อนไหวของข้อต่อ(ต่อ) (2)เพิ่มหรือคงสภาพองศาร่างกายสว่ น

ท่ีสำคัญ 181

นบน แนวทางจัดกจิ กรรม
นลา่ ง
- น่ังรบั -สง่ บอล
ตั้งคลานขณะทำกิจกรรมไดอ้ ยา่ งมั่นคง
- ตั้งคลานถ่ายน้ำหนกั ในทกุ ทิศทาง
-ตัง้ คลานเอ้อื มมอื หยบิ ของเล่นไดใ้ นทุกทิศทาง
- ตง้ั คลานใช้มือ หยบิ บอลไปใส่ตะกรา้
-ตง้ั คลานเอื้อมแขนหรอื ขาไปแตะจดุ ท่กี ำหนดให้
ยืนเขา่ ขณะทำกิจกรรมไดอ้ ยา่ งมน่ั คง
- ยืนเขา่ ถา่ ยนำ้ หนักในทกุ ทศิ ทาง
- ยืนเขา่ หยบิ ของเลน่ ไปใส่ตะกร้าไดใ้ นทุกทิศทาง
ยืนทรงทา่ ขณะทำกจิ กรรมไดอ้ ย่างมน่ั คง
- ยนื บนกระดานทรงตวั
- ยนื ทรงท่า ทำกิจกรรม
- ยนื รับ-ส่งบอล
- ยืนก้มลงเก็บสง่ิ ของได้
- ยืนเอื้อมมือไปหยิบส่ิงของเหนอื ศรี ษะได้
-ยืนหยบิ บอลเอ้ือมไปใสต่ ะกรา้ ในทศิ ทางตา่ ง ๆ ได้

เพ่มิ หรือคงสภาพองศาร่างกายสว่ นบนทา่ ยกแขนข้ึน
- โยนลูกบอลใสห่ ่วง หรือโยนลูกบาสใสห่ ่วง
- ใชม้ อื ไต่กำแพงใหส้ งู ที่สดุ
หยิบลูกบอลใสใ่ นระดับเหนอื ศีรษะหรือการเลน่ ในลักษณะยกแขน
สงู โดยมือหันเขา้ หาลำตวั
ทา่ เหยยี ดแขนออกไปด้านหลงั

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณท์
๑.๕ การเพ่มิ หรือคงสภาพองศา
การเคล่อื นไหวของข้อต่อ(ต่อ

ที่สำคญั 182

แนวทางจดั กิจกรรม

- ประสานมอื ไว้ทางด้านหลังแลว้ เหยียดแขนออกไปทางด้านหลัง
- หยิบลกู บอลใส่ตะกรา้ ด้านหลงั
ท่าหบุ แขนเข้า
- ใชม้ อื แตะไหล่ฝง่ั ตรงข้าม
ใช้มอื สองข้างถอื บอลออกกำลังกายลกู ใหญส่ ่งไปทิศทางดา้ นขา้ ง
ลำตัว
ทา่ กางแขนออก
- ตบมอื เหนือศีรษะ
- ทำทา่ นกบนิ โดยกางแขนขึน้ -ลง
- หยิบลกู บอลใสต่ ะกร้าด้านข้างหรอื การเลน่ ในลักษณะกางแขน
ท่างอข้อศอกเขา้
- แขนแนบลำตวั ใช้มือแตะที่หนา้ อก
- ใชม้ อื จบั อวัยวะบนใบหน้า
- ใช้มอื แตะไหล่
- ท่าเหยียดขอ้ ศอกออก
- ต้งั ศอกบนโต๊ะแล้วถือของที่มีน้ำหนกั ค่อย ๆ วางลงบนโต๊ะ
- ประสานมอื ระดบั อก ยน่ื ไปดา้ นหน้าจนสุด
- ต่อยมวย กำหมดั แลว้ ชกออกไปดา้ นหน้า
ทา่ กระดกข้อมือขึน้ -ลง
- พนมมือระดับอก
- ใช้มือสองข้างบิดผ้าพรอ้ มกัน สลบั มือไปมา
- ตกี ลอง โดยกระดกมือขนึ้ แล้วตี
- จับลกู บอลแล้วกระดกข้อมือข้ึน

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณท์
๑.๕ การเพ่มิ หรือคงสภาพองศา
การเคล่อื นไหวของข้อต่อ(ต่อ

ที่สำคญั 183

แนวทางจดั กจิ กรรม

ทา่ มือข้ึน-ลง
- ย่ืนแขนไปทางด้านหน้า พร้อมกระดกข้อมือลง
- ใช้มอื สองข้างบิดผา้ พรอ้ มกัน สลับมอื ไปมา
ตกี ลอง โดยกระดกมือลง
- จบั ลูกบอลแล้วกระดกข้อมือลง
เพม่ิ หรอื คงสภาพองศารา่ งกายส่วนลา่ ง
ทา่ งอข้อสะโพก
- นอนหงาย กอดเข่าชิดอก
- เดินขนึ้ -ลงบันได
ยกขาเดินขา้ มส่ิงกดี ขวางหรือการทำกจิ กรรมท่ีมลี ักษณะงอ
ขอ้ สะโพก
ทา่ เหยยี ดขอ้ สะโพกออก
- นอนคว่ำ ยกขาข้นึ
- ก้าวขาไปด้านหนา้ งอเข่าและถ่ายนำ้ หนักไปดา้ นหนา้ ขาอกี ข้าง
เหยยี ดไปดา้ นหลงั
- เดนิ กา้ วขายาวตามจุดที่กำหนด
กางขอ้ สะโพกออก
- นัง่ กับพนื้ หนั ฝ่าเทา้ เขา้ หากัน เลอ่ื นเทา้ มาใกลล้ ำตัวแล้วโนม้ ตวั ลง
- นอนหงายกางขาไปด้านขา้ ง
- นอนตะแคง ยกขาขึ้น
- เดนิ ดา้ นขา้ ง
หบุ ข้อสะโพกเขา้
- เดนิ ตามเสน้ ตรง

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ประสบการณท์
๑.๕การเพ่มิ หรอื คงสภาพองศา
การเคล่อื นไหวของข้อต่อ(ต่อ

ที่สำคญั 184

แนวทางจดั กจิ กรรม

- เดนิ ดา้ นขา้ ง
- ใช้ขาหนบี ลกู บอลเลก็ ไมใ่ ห้หล่น หรอื การทำกจิ กรรมท่ีมีลักษณะ
หุบข้อสะโพก
งอเข่าเข้าได้
- ยืนเขา่ นงั่ ลงบนสน้ เท้า
- นั่งยอง ๆ
- เดินขน้ึ -ลงบันได
เหยียดเข่าออก
- น่ังบนเก้าอี้ แตะขาออกไปด้านหนา้
- ลุกจากเกา้ อ้ีไปยืน
- เดินขนึ้ -ลงบนั ได
- เตะฟตุ บอล
กระดกข้อเท้าลง
- ใช้เท้าขยำกระดาษ
- ทำนั่งเก้าอี้ ใชเ้ ทา้ แตะจุดท่ีกำหนดดา้ นหน้า
- ยืนเขย่งปลายเทา้
- ปนั่ จกั รยาน
กระดกข้อเท้าขึน้
- ยนื คา้ งไวบ้ นทางลาด
- น่งั กระดกข้อเท้าขึ้น
- ใชเ้ ท้าขยุมผา้ จาพื้นไปใส่ในตะกรา้
- เดนิ ขา้ มสง่ิ กีดขวาง
- ปัน่ จักรยาน

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณ์ท

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๔.๒. สามารถใช้อุปกรณเ์ ครอ่ื งช่วยในการ เคลือ่ นยา้ ยตนเอง (W

๒.๑ เคลื่อนย้ายตนเองใน การใช้ (1) เคลอื่ นยา้ ยตนเองเขา้ ไปจับ Wal

อปุ กรณ์เครอื่ งชว่ ย (2) เคล่อื นย้ายตนเองเข้าไปน่งั เก้าอ

(3) เคลื่อนยา้ ยตนเองเข้าไปจบั ไม้เท

(4) เคลือ่ นยา้ ยตนเองเขา้ ไปใช้ไมค้ ้ำ

๒.๒ ทรงตวั อยใู่ นอปุ กรณ์ เครอ่ื งช่วย (1) ทรงตัวอยู่ในอุปกรณ์เครื่องช่วยใ
และป้องกันตนเอง ขณะเคลื่อนย้าย ตนเอง
ตนเองได้ (2 ทรงตัวอยู่ในอุปกรณ์เครื่อง

เคล่อื นย้ายตนเอง เมอื่ มแี รงต้าน
(3)ทรงตัวอยู่ในอุปกรณ์เครื่อง

เคลื่อนย้ายตนเอง โดยมีการถ่า
ในทิศทางตา่ ง ๆ
(4) ป้องกันตนเองขณะล้มจาก
เคร่ืองช่วยในการ
เคล่ือนยา้ ยตนเอง

185

ที่สำคญั แนวทางจดั กิจกรรม

Walker รถเขน็ ไมเ้ ทา้ ไม้ค้ำยัน

lker ๑)ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากเก้าอี้ไปยัง Walker ด้วย
อร้ี ถเขน็ ตนเองโดยขยบั ตวั มาทางด้านหน้าเก้าอีเ้ ลก็ นอ้ ย เท้าวางราบกับพื้น
ทา้ โนม้ ตวั มาด้านหนา้ มือทั้ง สองข้าง จับบรเิ วณดา้ นบนของ Walker
ำยัน ลงนำ้ หนัก ทีแ่ ขนท้งั สองข้างเพื่อยันตวั ขนึ้ พยายามทรงตัวตั้งตรง
๒)ผู้สอนให้ผู้เรียนเคลื่อนย้ายตัวจากพื้นไปยัง Walker ด้วยตนเอง
โดยจัดท่าให้อยู่ในท่าเทพธิดา มือทั้งสองข้างจับบริเวณขาของ
Walker จากนั้นยกตัวขึ้นให้อยู่ในท่าคุกเข่า ตั้งเข่าข้างใดข้างหนึ่ง
ขึ้นให้อยู่ในทา่ กึง่ คกุ เข่า ใช้แขนและมอื เหนี่ยวตัวข้ึนใหอ้ ยู่ในทา่ ยืน

ตรง

ในการเคลื่อนย้าย ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนทรงตัวโดยใช้ Walker ใช้มือทั้งสองข้างจับ

ช่วยในการ บริเวณท่ีรองมอื ใหถ้ ูกตำแหนง่ ลำตัวตง้ั ตรงขาทง้ั สองขา้ งแยกออก
น จากกันเล็กนอ้ ยเทา้ แนบ
ระนาบกับพ้ืน

ช่วยในการ

ายน้ำหนักไป

ก า ร ใ ช ้ อ ุ ป ก ร ณ์

สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณท์

๒.๓ เคล่ือนย้ายตนเองดว้ ย (1) เคลื่อนย้ายตนเองโดยใช้อุปกร

อปุ กรณเ์ คร่อื งช่วยได้ ทางราบ

(2) เคลื่อนย้ายตนเองโดยใช้อุปกร

ทางลาด

(3) เคลื่อนย้ายตนเองโดยใช้อปุ กรณ

บนทางตา่ ง ระดบั

๒.๔ เกบ็ รกั ษาและดแู ล (1) เก็บรักษาและดูแลอุปกรณ์เค

อุปกรณ์เครื่องช่วยในการ เคลือ่ นย้ายตนเอง

เคลื่อนยา้ ยตนเอง

ตัวบ่งชี้ ๑๓.๔.๓ สามารถใช้และดูแลรกั ษากายอปุ กรณเ์ สรมิ กายอุปกรณเ์ ทยี

๓.๑ ถอดและใส่กาย (1) ถอดและใสก่ ายอุปกรณ์เสริม

อุปกรณ์เสริมกายอุปกรณ์เทียม หรือ (2) ถอดและใส่กายอุปกรณ์เทียม

อปุ กรณด์ ดั แปลง (3) ถอดและใส่อปุ กรณ์ดัดแปลง

๓.๒ ใช้กายอุปกรณ์เสรมิ (1) ใช้กายอุปกรณ์เสริมในการทำก
กายอุปกรณ์เทียม หรืออุปกรณ์ แรง
ดดั แปลงในการทำกิจกรรม
ต้านต่าง ๆ
(2)ใชก้ ายอปุ กรณเ์ ทียมในการทำกจิ

เมอื่ มแี รง ตา้ นต่าง ๆ
(3) ใชอ้ ปุ กรณ์ดดั แปลงในการทำกจิ

เมือ่ มีแรง ต้านต่าง ๆ

186

ท่ีสำคญั แนวทางจัดกิจกรรม
รณ์เครื่องช่วยบน
๑) ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ Walker เดินไปด้านหน้าบนทางราบโดยให้
รณ์เครื่องช่วยบน ผู้เรียนยก Walker ไปทางด้านหน้า จากนั้นก้าวเท้าข้างใดข้าง
หนึ่งตามด้วยอีกข้างทำซ้ำไปเรื่อย ๆ จนถึงจุดหมาย
ณ์เครื่องชว่ ย ๒) ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้ Walker เดินไปด้านหนา้ บนทางลาดโดยให้
ผู้เรียนยก Walker ไปทางด้านหน้า จากนั้นก้าวเท้าข้างใดข้าง
ครื่องช่วยในการ หน่งึ ตามดว้ ยอกี ขา้ งทำซ้ำไปเรอ่ื ย ๆ จนถึงจดุ หมาย

รูจ้ ักเกบ็ รักษาและดูแลอปุ กรณเ์ ครือ่ งช่วยในการเคล่ือนยา้ ย
ตนเอง

ยม อุปกรณด์ ัดแปลง
๑) สาธิตวิธกี ารถอดกายอปุ กรณเ์ สรมิ จากนน้ั ใหผ้ ้เู รยี นทำตามทีละ
ขั้นตอน และทำตั้งแต่ต้นจนจบซ้ำ ๆ
๒) สาธิตวิธีการใส่กายอุปกรณ์เสริม จากนั้นให้ผู้เรียนทำตามทีละ
ข้นั ตอนและทำตง้ั แตต่ ้นจนจบซ้ำ ๆ

กิจกรรม หรือเมื่อมี สาธิตการถอดและใส่กายอุปกรณ์เทียม จากนั้นให้ผู้เรียนทำตาที
ละข้นั ตอน และทำตง้ั แตต่ ้นจนจบซ้ำ ๆ

จกรรมหรือ

จกรรมหรือ

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณท์

๓.๓ เกบ็ รกั ษาและดแู ล (1) เกบ็ รกั ษาและดูแลกายอปุ กรณเ์

กายอุปกรณ์เสริม กายอุปกรณ์ อุปกรณ์ (2) เก็บรักษาและดแู ลกายอปุ กรณ์เ

เทยี ม หรอื อปุ กรณ์ ดัดแปลง (3) เก็บรักษาและดแู ลอปุ กรณ์ดัดแป

ตวั บง่ ช้ี ๑๓.๔.๔. สามารถใชเ้ ทคโนโลยี สงิ่ อำนวยความสะดวก เครอื่ งช่วยใน

๔.๑ ใช้อุปกรณ์ช่วยในการ สื่อสาร (1) ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการสื่อสารทางเ
ทางเลอื ก

๔.๒ ใช้อุปกรณช์ ่วยในการ (1) ใชอ้ ุปกรณช์ ่วยในการเขา้ ถึงคอมพ
เข้าถึงคอมพิวเตอร์เพื่อการ
เรียนรู้

๔.๓ใช้โปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเตอร์ (1) ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเต

เพื่อช่วยในการเรยี นรู้ เรียนรู้

ตวั บ่งชี้ ๑๓.๔.๕. ควบคุมอวัยวะทใี่ ชใ้ นการพดู การเคีย้ ว และการ กลืน

๕.๑ ควบคุมกล้ามเนื้อรอบปาก (1) เคลอื่ นไหวริมฝปี าก
(2) ควบคุมกล้ามเน้อื รอบปาก

187

ที่สำคัญ แนวทางจัดกจิ กรรม

เสรมิ รู้จักเก็บรักษาและดูแลอุปกรณ์ กายอุปกรณ์เสริม กายอุปกรณ์

เทียม อุปกรณเ์ ทยี ม หรืออปุ กรณ์ ดัดแปลง

ปลง

นการเรยี นรู้

เลือก สาธิตวิธีการใช้อุปกรณ์ช่วยในการสื่อสาร (Communication

aids) จากน้นั ให้ผู้เรยี นทดลองทำดว้ ยตนเองตง้ั แต่ตน้ จนจบ

พวิ เตอร์ สาธิตพร้อมอธิบายขั้นตอนวิธีการใช้อุปกรณ์ช่วยในการเข้าถึง

คอมพวิ เตอร์จากนั้นให้ผู้เรียนทตามทลี ะข้นั ตอนเม่ือเข้าใจทั้งหมด

ผสู้ อนใหผ้ ู้เรยี นทดลองใชด้ ้วนตนเองตง้ั แต่ต้นจนจบ

ตอร์เพื่อชว่ ยในการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

(1)เคล่ือนไหวริมฝีปากให้ผ้เู รียนเคลอ่ื นไหวกลา้ มเนื้อท่ีควบคุมริม
ฝปี าก (ออกกำลัง) ไดแ้ ก-่ การนวดริมฝีปาก
- การอา้ ปากกว้าง ๆ หุบปาก สลับกนั
- การย้ิมกว้างการทำปากจู๋
- การเดราะปาก
- การออกเสียง อา อู อี
- ปิดปาก เมม้ ริมฝีปาก
(2) ควบคมุ กลา้ มเนอื้ รอบปาก
๑) ผู้สอนกระตุ้นกล้ามเนื้อรอบริมฝีปาก ให้ผู้เรียนสามารถแสดง
อาการ

สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณท์

๕.๒ ควบคมุ การใชล้ น้ิ (1) เคลื่อนไหวลิ้นตามที่กำหนด

๕.๓ เปา่ และดดู (1) เป่าลมออกจากปาก
(2) ดดู ของเหลว

ที่สำคญั 188

แนวทางจัดกจิ กรรม

ตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ เช่น ผา้ ชบุ น้ำอนุ่ -น้ำเย็น รสเปร้ียว รส
หวาน รอบริมฝปี ากได้
๒) ให้ผู้เรียนเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อที่ควบคุมริมฝีปาก (ออกกำลัง)
ได้แก่- การนวดรมิ ฝปี าก
- การอ้าปากกว้าง ๆ หุบปาก สลบั กัน
- การยม้ิ กวา้ งการทาปากจู่
- การเปราะปาก
- การออกเสียง อา อู อี
- ปดิ ปาก เมม้ ริมฝปี าก
๑)ผสู้ อนน่ังตรงข้ามผูเ้ รียนให้ปากผ้สู อนอยู่ในระดับสายตาผเู้ รยี น
๒) ผสู้ อนอ้าปากกวา้ ง เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นเหน็ การเคล่ือนไหวของปลาย
ลนิ้ โดยเคลอ่ื นปลายลิ้นไปแตะทเ่ี พดานปาก แล้วเคลื่อนปลายลิ้น
พร้อมกับการทำใหเ้ กิดเสยี งเดาะล้นิ
๓) จากนั้นให้ผู้เรยี นลองทำดู ถา้ ทำไมไ่ ด้หรอื ไมย่ อมทำผูส้ อนควร
พยายามกระต้นุ และทำตามแบบใหด้ ซู ำ้ ๆ
๔) สอนทำซำ้ ๆ จนผเู้ รยี นเกิดการทำที่ถกู และมัน่ ใจในการทำ
เมื่อผเู้ รียนได้แลว้ ควรเปล่ยี นเปน็ เสียงจบุ๊ ปากเพ่ือให้เกดิ เสยี งท่ี
หลากหลาย
1)ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทำกิจกรรมเปา่ ลมออกจากปาก เช่น การเปา่ สี
เปา่ หลอด เปา่ กระดาษ เปา่ นกหวดี เปา่ เทยี น เป่าลูกโปง่ เป่าฟอง
สบู่
2)สามารถดดู ของเหลวโดยใชห้ ลอดดูดได้ผู้สอนใหผ้ ูเ้ รียนดูด
ของเหลวโดยเรมิ่ ฝกึ จากหลอดขนาดท่ีเหมาะสม

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณ์ท
๕.4 การกลืนและเค้ยี วได้
(1) ขยบั ขากรรไกร
(2) กลืนน้ำลาย
(3) กลนื อาหารข้น
(4) กลืนอาหารเหลว
(5) กัดอาหารประเภทตา่ ง ๆ
(6) เค้ียวอาหารประเภทต่าง ๆ

5.4 การควบคมุ น้ำลาย (1) ปิดริมฝปี าก
(2) ใชร้ มิ ฝปี ากคาบ
(3) บรหิ ารรมิ ฝปี าก

ที่สำคญั 189

แนวทางจัดกจิ กรรม

(1) ขยบั ขากรรไกร
๑)ผู้สอนใหผ้ ้เู รยี นเลยี นแบบการขยบั ขากรรไกรตามผู้สอนในท่า
ตา่ ง ๆ อาทิ
- อ้าปากกวา้ ง ๆ - หุบปาก ๑๐ ครงั้ ตดิ ต่อกัน
- ขยับขากรรไกรซ้าย-ขวา ๑๐ ครั้งติดต่อกัน กรณีผู้เรียนไม่
สามารถทำได้
ได้ผู้สอนช่วยขยับขากรรไกรผู้เรียนและเมื่อผู้เรียนทำได้ดีให้ลด
การชว่ ยเหลอื ลง
(2) กลนื น้ำลาย
ผูส้ อนใหผ้ เู้ รียนเคย้ี วอาหารโดยเริ่มจากอาหารประเภทอาหาร
อ่อน ๆ คอ่ ยเพิ่มลักษณะความแข็งของอาหารจนผเู้ รียนสามารถ
เคย้ี วอาหารปกติ
(3) กลืนอาหารข้น
๑) ผ้สู อนใชน้ ิ้วช้ขี า้ งทีถ่ นัด นวดกระพงุ้ แก้มผเู้ รียน
๒) ผู้สอนใช้นิ้วชี้กดและนวดบริเวณกึ่งกลางของลิ้นผู้เรียน สังเกต
ว่าลิ้นของผู้เรียนเริ่มห่อ ให้รีบดึงนิ้วชี้ออกทันที เพื่อให้ผู้เรียนได้
กลืนนำ้ ลายลงคอ
3.ฝึกให้กลืนอาหารโดยเริ่มจาก อาหารนิ่ม เช่น ขนมถ้วย เจลลี่
และคอ่ ย ๆ เพิม่ ความแขง็ ของอาหาร
(1) ปิดรมิ ฝีปาก
(2) ใชร้ มิ ฝปี ากคาบ
(3) บริหารริมฝปี าก

๑.๕.๕ ประสบการณ์สำคญั ที่สง่ เสริมการพฒั นาทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความบกพรอ่

สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณท์

ตวั บ่งช้ี ๑๓.๕.๑ มีความสามารถในการรับรกู้ ารไดย้ นิ

๑.๑จำเสยี งท่ีได้ยินใน ชวี ิตประจำวัน (1) พดู ตามเสยี งทไี่ ด้ยิน

(2)พดู ย้อนกลบั จากเสยี งท่ไี ดย้ นิ

(3) บอกเสียงท่ีเคยได้ยนิ

๑.๒ จำแนกเสยี งท่แี ตกตา่ ง (1) แยกเสียงบุคคล เสียงสัตว์ เสียง

(2) แยกเสยี งธรรมชาติ

(3) แยกเสียงเหมอื น- ต่าง ดัง – เบา

๑.๓ แยกเสียงทกี่ ำหนดให้ (1) บอกเสยี งที่กำหนดออกจากเสยี ง

ออกจากเสียงอื่น ๆ ได้

ตวั บ่งช้ี ๑๓.๕.๒. มีความสามารถในการรับร้กู ารเหน็
๒.๑.การจำภาพทเ่ี หน็ ในชวี ติ ประจำวัน (1) บอกภาพจากการจดจำ

(2) บอกภาพสญั ลักษณ์จากการจดจ

๒.๒. การแยกวัตถุ ภาพ ตัวพยัญชนะที่ (1) แยกวตั ถทุ ี่กำหนดใหอ้ อกจากสง่ิ
กำหนดให้อยใู่ นพ้ืน ฉากทต่ี ่างกนั (2) แยกภาพท่กี ำหนดใหอ้ อกจากฉา
(3) แยกตัวอักษรที่กำหนดให้ออ
ตา่ งกัน

190

องทางการเรยี นรู้ แนวทางจดั กจิ กรรม
ท่ีสำคญั

งในชีวิตประจำวนั (๑)ผสู้ อนจัดกิจกรรมใหน้ กั เรยี นพูดตามเสยี งทไี่ ดย้ ินและ บอกเสียง
ทไี่ ด้ยิน
า (๒) ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของผ้เู รยี นในการรวมทำกจิ กรรม
งอ่นื ๆ (๑) ผู้สอนจัดกิจกรรมให้นักเรียน เกี่ยวกับเสียงบุคคลรอบตัว
เสียงสัตว์ เสียงธรรมชาติ เสียงดงั เสยี งเบา
(๒) ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รยี นในการร่วมทำกิจกรรม
(๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมบทบาทสมมุติโดยใช้เสียงต่าง ๆ และถาม
นักเรียนวา่ เสยี งอะไร โดยครูสาธิตใหน้ ักเรียนดูและให้นักเรียนทำ
ตามตั้งแต่ต้นจนจบ
(๒) ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นในการรว่ มทำกจิ กรรม

(๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมจากภาพและสัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยครูสาธิต
จำ ใหน้ กั เรียนดูและใหน้ กั เรยี นทำตามตั้งแต่ตน้ จนจบ

(๒)ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรยี นในการรว่ มทำกิจกรรม

งตา่ ง ๆ ทตี่ ่างกัน (๑)ผู้สอนจดั กิจกรรมเรยี นปนเลน่ โดยใหน้ ักเรียนแยกวัตถุที่
ากหลังทต่ี ่างกนั กำหนดให้ออกจากสิ่งตา่ ง ๆ แยกภาพที่กำหนดออกจากกองภาพ
อกจากฉากหลังท่ี ที่ตั้งไว้แยกตัวอักกรที่กำหนดออกจากกองที่ตั้งไว้ แยกสัญลักษณ์
ท่กี ำหนดออกจากกองท่ีตงั้ ไว้

สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบการณ์ท

๒.๓ ตากับมือเคลื่อนไหว สัมพันธ์ (4) แยกสัญลักษณ์ที่กำหนดให้ออ
กนั ต่างกัน

๒.๔ การบอกสว่ นท่ีหายไป (1) สรา้ งสรรค์สิ่งสวยงาม
ของรูปภาพที่กำหนด (2) เขียนภาพและการเลน่ กับสี
(3) ปั้น
(4) ประดษิ ฐ์สิ่งตา่ ง ๆ ดว้ ยเศษวัสด
(5)หยิบจับการใช้กรรไกร การฉีก

และการรอ้ ย วัสดุ
(1) บอกสว่ นทห่ี ายไปของรปู ภาพ
(2) เติมองคป์ ระกอบของรูปภาพทห่ี
(3) เตมิ ส่วนของรปู เรขาคณิตทห่ี ายไ

๒.๕ บอกความสมั พันธข์ อง (1) จัดการเรียนรู้ความสัมพันธ์ขอ
คุณลักษณะตำแหน่ง ลำดับ รูปร่างของ รปู ร่างของสิง่ ที่อยู่รอบตวั ไดอ้ ย่างเห
สิง่ ที่อย่รู อบตวั (2) บอกความสัมพันธ์ของสง่ิ ตา่ ง ๆ
(3) บอกตำแหนง่ ของสิ่งตา่ ง ๆ ตาม
(4) วางวัตถหุ รอื สงิ่ ของตามตำแหนง่
(5) เรียงลำดับรูปร่าง ตัวเลข พยัญ
แบบ
(6) ประกอบรูปร่างเรขาคณิตเป็น
สัตว์ คน
(7) ตอ่ เติมและการสร้างแบบรปู ตาม
(8) คัดลอกรปู ภาพ

191

ทสี่ ำคัญ แนวทางจดั กจิ กรรม

อกจากฉากหลังที่ (๒) ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมในการรว่ มกิจกรรมของผ้เู รยี น

ดุ (๑)ผู้สอนจดั กิจกรรมศิลปะให้นกั เรยี นได้ใชส้ ายตาและมือ
การตัด การปะ เคลื่อนไหวสัมพันธ์กันระบายสีภาพประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ด้วยเศษ
วัสดุ การฉกี หยิบ จกั ตดั ปะ ร้อย
(๒) ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมในการรว่ มกิจกรรมของผเู้ รียน

หายไปใหส้ มบูรณ์ (๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมรูปภาพที่หายไป ให้นักเรียนสังเกตว่าส่วน
ไป ของรปู ที่หายไปคืออะไรให้นักเรียน
คดิ วเิ คราะห์ ภาพ
องตำแหน่ง ลำดับ (๒) ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมในการรว่ มกจิ กรรมของผ้เู รียน
หมาะสม
รอบตวั (๑)ผู้สอนจัดกจิ กรรม ความสมั พนั ธข์ องสง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว
มทก่ี ำหนด ผู้สอนวางวัตถุรูปทรงต่าง ๆ ในตำแหน่งทีก่ ำหนด ผู้เรยี นสามารถ
งทก่ี ำหนด บอกวัตถุและตำแหน่งต่าง ๆ นั้นได้ ผู้เรียนสามารถ ประกอบ
ญชนะ คำศัพท์ตาม รูปร่างเรขาคณิตต่อเติมสร้างแบบ และสร้างภาพวาดได้ด้วย
ตนเอง
(๒) ผูส้ อนสังเกตพฤติกรรมในการรว่ มกิจกรรมของผเู้ รียน

นสิ่งของ เครื่องใช้

มจนิ ตนาการ

สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์ท

(9) สร้างภาพวาดด้วยตนเอง

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๕.๓. มีความสามารถในการจดั ลำดบั ความคิด

๓.๑.เรยี งลำดบั เหตุการณ์ ข้ันตอนใน (1) บอกและเรยี งลำดับกิจกรรม

การเลน่ หรือการทำ กิจกรรมได้ (2) บอกและเรียงลำดับเหตุการณต์ า

(3)บอกข้นั ตอนในการเลน่ หรอื การท

(4)เลา่ นทิ าน

(5)เลา่ เรือ่ งเกีย่ วกบั ชวี ติ ประจำวนั

ตวั บง่ ชี้ ๑๓.๕.๔. มคี วามสามารถในการจดั ระเบยี บตนเอง

๔.๑ จดั การตนเองได้ (1) รับผดิ ชอบงานที่ไดร้ ับมอบหมาย

(2) ร่วมมอื ในการทำงานร่วมกับผอู้ ืน่

๔.๒จัดลำดับกิจกรรม ตนเองได้ (1) จดั ลำดบั กจิ กรรมตนเองในชีวิตป
(2) ปฏบิ ตั กิ จิ รรมประจำวนั ตามตาร

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๕.๕. มคี วามสามารถในการบอกตำแหนง่ /ทิศทาง

๕.๑ บอกทศิ ทางหรือ ตำแหน่งของสิง่ (1) วางสง่ิ ของท่ีอยูท่ างซ้าย-ขวา บน-
ตา่ ง ๆ (2) บอกหรือชตี้ ำแหน่งสง่ิ ของหรอื วตั

(3) จัดตำแหน่งของภาพสญั ลักษณส์
ตามท่ี กำหนด
(4)จัดตำแหนง่ หรือทิศทางสิ่งของหร
ใหอ้ ย่ทู ิศทาง เดยี วกนั

192

ทีส่ ำคัญ แนวทางจดั กิจกรรม

ามช่วงเวลา (๑)ผูส้ อนจดั กจิ กรรมบทบาทสมมตุ กิ ารเลา่ นิทานเก่ยี วกับ
ทำกิจกรรม ชีวิตประจำวันและใหน้ กั เรยี นลำดับเหตกุ ารณต์ าม
ชว่ งเวลานนั้ ๆ
(๒) ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของผเู้ รียนในการจัดกิจกรรม

น (๑)ผูส้ อนจัดตารางเวรทีร่ ับมอบหมายให้นกั เรยี นโดยให้นักเรียน
รว่ มกับผู้อ่นื ทำงานให้ผู้เรียนเรียงลำดบั ความสำคญั ของงาน โดยมี
ประจำวัน ครูคอยแนะนำ
รางที่กำหนด (๒) ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียนในการจัดกจิ กรรม

(๑)ผูส้ อนใหน้ ักเรียนจัดลำดบั กจิ กรรมในชวี ิตประจำวันของ
ตนเองวา่ มีอะไรบา้ งโดยใชว้ ิธีแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ซึ่งกันและกัน
ระหวา่ งเพื่อนส่เู พ่ือน
(๒) ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของผเู้ รยี น

-ลา่ ง หนา้ -หลงั (๑)ผสู้ อนจัดกจิ กรรมการบอกทิศทางตำแหน่งโดยผูส้ อนวางสง่ิ ของ
ตถุ ใหอ้ ยทู่ างซา้ ย ขวา บน ล่าง หน้า หลัง ของผ้เู รียน โดยให้ผ้เู รยี น
สิง่ ของหรือวัตถุ บอกช้ตี ำแหน่งวัตถุ ว่าอยู่ทิศทางไหน
(๒) ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการรว่ มกิจกรรม
รือวัตถุ

สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบการณท์

(5) จัดตำแหนง่ หรือทศิ ทางรูปภาพใ

เดยี วกนั

(6) บอกตำแหน่ง ทิศทางของสถานท

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๕.๖. สามารถใช้เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องช่วยใน

6.๑ ใชอ้ ปุ กรณช์ ่วยในการ (1) ใชอ้ ุปกรณช์ ่วยในการสือ่ สารทางเ

ส่อื สารทางเลือก

6.๒ ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการ (1) ใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยในการเข้าถึงคอม

เขา้ ถึงคอมพวิ เตอร์เพื่อการ

เรียนรู้

6.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผ่าน (1) ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเต

คอมพิวเตอร์เพื่อชว่ ยในการ เรยี นรู้

เรียนรู้

193

ทส่ี ำคัญ แนวทางจดั กจิ กรรม
ใหอ้ ยู่ทิศทาง

ที่ท่ีค้นุ เคย ผู้สอนใชส้ ื่ออปุ กรณใ์ นการสอนทีท่ นั สมยั ตรงตามศักยภาพของ
นการเรียนรู้ ผู้เรียน
เลือก
ผูส้ อนใช้สอ่ื คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนเพื่อให้นักเรยี นเกิดการเรียนรู้ท่ี
มพิวเตอร์ ดยี ิง่ ข้นึ

ตอร์เพื่อช่วยในการ ผู้สอนใชโ้ ปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์ชว่ ยส่วนเพ่อื ใหน้ ักเรียน
มีพัฒนาการที่ดขี ้นึ

๑.๕.๖ ประสบการณส์ ำคญั ท่ีสง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพรอ่

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๖.๑.สามารถควบคุมอวัยวะในการออกเสียง

๑.๑ ควบคมุ อวัยวะใน (1) ควบคุมอวยั วะในปาก

การพดู (2)บริหารความแข็งแรงของกล้า

เกยี่ วข้องกั การพูด

(3) ควบคมุ ลมหายใจ

(4) กักและพน่ ลม

๑.๒ เคล่อื นไหวอวยั วะใน (1) เคลือ่ นไหวลิ้น
การพดู (2) อ้า หบุ ห่อปาก
(3) ยิงฟันและพ่นลมผ่านไรฟนั

ตวั บง่ ช้ี ๑๓.๖.๒. สามารถออกเสยี งตามหนว่ ยเสยี งได้ชดั เจน.

๒.๑ ออกเสยี งให้ชดั เจน (1) ออกเสยี งพยัญชนะตามหน่วยเส

(2) ออกเสียงตามฐานทีเ่ กิดเสยี งจาก

(3) ออกเสียงคำควบกลำ้

(4) ออกเสียงคำที่ขาดหาย

ตวั บ่งช้ี ๑๓.๖.๓. เปลง่ เสียงใหเ้ หมาะสมกับธรรมชาติของแต่ละคน

๓.๑เปล่งเสียงในระดับ เสียงทุ้มให้ (1) เปล่งเสยี งสงู ตำ่ ประกอบจังหวะ

ผู้อืน่ ฟังได้ (2) เปลง่ เสียงพดู โดยใชค้ ำง่าย ๆ ใน

194

อง ทางการพูดและภาษา

แนวทางจัดกิจกรรม

ามเนื้อที่ (๑)ผู้สอนเมื่อกระตุ้นให้ออกเสียงโดยใช้เครื่องช่วยฝึกพูดผู้เรียน
ออกเสียงออ้ แอต้ าม
(๒) ผู้สอนเล่าเรื่องประกอบภาพและให้มีโทนเสียงสูง ต่ำ ค่อย
ดัง เสยี ง สัตว์ ประกอบ ให้ผ้เู รยี นฝึกเลยี นเสียง
(๓)ผู้สอนออกเสียงคำที่คุ้นเคยแล้วให้ผู้เรียนออกเสียงตามใน
หมวดตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี ๑.บคุ คล ๒.สตั ว์ ๓.ของใชส้ ว่ นตวั
(๔)ใหผ้ ู้เรียนออกเสยี งตามบตั รภาพในหมวดตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้
(๕) ผู้สอนออกเสียงจำนวนและตัวเลข แล้วให้ผู้เรียนออกเสียง
ตาม ครั้งละ ๑ จำนวน ๒ จำนวน และ ๓ จำนวน ตามลำดบั

(๑) ผูส้ อนจัดกจิ กรรมใหผ้ ้เู รียนฝกึ การเคลอ่ื นไหวล้นิ อ้า หบุ
ห่อปากยิงฟันและพ่นลมผ่านไรฟันโดยที่ผู้สอนเป็นผู้สาธิตและ
ให้ผู้เรียนทำตามจนจบทกุ ิจกรรม
(๒) ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี นในการทำกจิ กรรม

สยี ง (๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมการออกเสียงพยัญชนะตามหน่วยเสียง
กง่ายไปหายาก จากง่ายไปหายาก ออกเสยี งคำควบกล้ำ ออกเสยี งคำทข่ี าดหาย
(๒) ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รียนในการทำกิจกรรม

นระยะใกล้-ไกล (๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมการเปล่งเสียงสูงต่ำประกอบจังหวะ เปล่ง
เสยี งโดยใชค้ ำงา่ ย ๆ ในระยะใกลแ้ ละไกลโดยเปล่งเสยี งดัง

สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ

(3) เปล่งเสียงดงั หรอื เบา

ตัวบ่งชี้ ๑๓.๖๔. สามารถควบคุมจงั หวะการพูด

๔.๑ควบคุมจงั หวะการพูด ไดเ้ ป็น (1) พูดตามจงั หวะที่กำหนด

จังหวะปกติ (2) ออกเสยี งตามจังหวะท่ีเคาะ ชา้ -

(๗๐-๑๐๐ คำตอ่ นาท)ี (3) กำหนดการหายใจเขา้ -ออก/ท้อ

(4) เลา่ เร่อื งกับกบั ตนเอง

(5) เลา่ นิทานส้ัน ๆ

๔.๒พูดได้คล่องหรือลด ภาวะการ (1) ผ่อนคลายกล้ามเนื้อขากรรไก

ติดอา่ ง พดู

(2) ลากเสียงสระและพยญั ชนะใหย้

(3) เคลื่อนไหวอวยั วะของการพดู หน

(4) หายใจและการผอ่ นลมหายใจ

๔.๓ พูดเว้นวรรคตอนได้ (1) พดู หรือเล่าเรอื่ งราวเก่ยี วกับตน

ถกู ต้อง (2) อ่านข้อความโดยทำเคร่ืองหมาย

ตวั บ่งชี้ ๑๓.๖.5. สามารถใช้เทคโนโลยสี ิง่ อำนวยความสะดวก เคร่ืองช่วยในก

5.๑ ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการ (1) ใช้อปุ กรณช์ ่วยในการสอ่ื สารทา

สอ่ื สารทางเลอื ก

5.๒ใช้อปุ กรณช์ ว่ ยในการเข้าถงึ (1) ใช้อปุ กรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอม

คอมพิวเตอร์เพ่ือการเรียนรู้

5.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผา่ น (1) ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเต
คอมพวิ เตอรเ์ พ่ือชว่ ยในการ เรียนรู้ เรียนรู้

195

แนวทางจดั กจิ กรรม
หรือเบา เป็นจังหวะ

-เรว็ (๑)ผู้สอนจัดกจิ กรรมการพดู ตามจงั หวะท่ีกำหนด ออกเสยี งตาม
องโป่ง-แฟบ จงั หวะท่เี คาะ ชา้ เรว็ กำหนดการหายใจเขา้ ออก ท้องโป่ง แฟบ
การเลา่ นทิ านส้นั ๆ
(๒) ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของผู้เรยี นในการทำกจิ กรรม

กรและอวัยวะในการ (๑)ผสู้ อนจดั กจิ กรรมการลากเสียงสระและพยัญชนะใหย้ าว
จนสุดลมหายใจเคลื่อนไวอวัยวะของการพูดหนึ่งช่วงลมหายใจ

ยาวจนสุดลมหายใจ หายใจและการผอ่ นลมหายใจ
นงึ่ ชว่ งลมหายใจ (๒) ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียนในการทำกจิ กรรม

นเอง (๑) ผู้สอนจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนพูดหรือเล่าเรื่องราวเก่ียวกับ
ยวรรคตอน ตนเอง และอา่ นข้อความโดยทำเครอื่ งหมายวรรคตอน
(๒) ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียนในการทำกจิ กรรม
การเรยี นรู้
างเลอื ก ผูส้ อนใช้อปุ กรณช์ ว่ ยในการส่ือสารกบั นักเรยี นเพ่ือพัฒนาการ
ของนักเรียนใหม้ ีศักยภาพมากข้ึน
มพวิ เตอร์ ผู้สอนใชส้ ื่อการสอนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสว่ นเพือ่ ให้นักเรยี นมี
ศกั ยภาพเพิ่มมากขน้ึ
ตอร์เพื่อช่วยในการ
ผู้สอนใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเตอรเ์ พือ่ ช่วยการพฒั นา
ศักยภาพของผ้เู รยี น

๑.๕.๗ ประสบการณส์ ำคัญท่ีสง่ เสริมการพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพรอ่

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคญั

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๗.๑. สามารถจดั การกบั อารมณ์ของตนเอง

๑.๑ควบคุมความรู้สกึ หรือ อารมณ์ของ (1) พูดสะท้อนความรู้สึกของตนเอ

ตนเองได้ (2) เลน่ บทบาทสมมตุ ิ

(3) ทำในสงิ่ ท่นี ักเรยี นชอบ

(4) ทำงานศลิ ปะ

(5) เลน่ เป็นกลมุ่

๑.๒ แสดงออกทางอารมณ์ (1) เลน่ บทบาทสมมตุ ิ

อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ (2) ทำกจิ กรรมดนตรี

(3) ทำกิจกรรมศิลปะ

(4) ฟังนทิ านและเลา่ เรื่อง

(5) น่งั สมาธิ ทำกจิ กรรมฝกึ สมาธิ

(6) ออกกำลงั กาย

(7) ทำกิจกรรมนนั ทนาการ

(8) ทำกิจกรรมในชมุ ชน

(9) เดนิ เลน่

(10)ทำกิจกรรมทางสังคมร่วมกบั เ

196

อง ทางพฤติกรรมหรืออารมณ์

แนวทางในการจัดกิจกรรม

องและผู้อืน่ (๑)ผสู้ อนจดั กจิ กรรมเลน่ บทบาทสมมตุ ิ จดั กจิ กรรมงานศิลปะ ให้นกั เรยี น
โดยผสู้ อนคอยแนะนำ
(๒)ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการทำกิจกรรม

(๑) ผูส้ อนจดั กิจกรรมเลน่ บทบาทสมมุตกจิ กรรมดนตรี ศลิ ปะ นทิ าน
ออกกำลังกายกจิ กรรมนนั ทนาการ และกิจกรรมต่าง ๆ ให้นกั เรียนได้
แสดงออกได้เต็มท่ี
(๒)ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ วา่ มี
ภาวะอารมณ์อย่างไร

เพอ่ื น

สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณ์สำคญั

ตวั บ่งช้ี ๑๓.๗.๒.สามารถควบคมุ พฤติกรรมของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม

๒.๑ ควบคมุ ตนเองในการ ทำกจิ กรรม (1) มอบหมายงานให้ทำรว่ มกับเพอ่ื

ร่วมกบั เพื่อนได้ อย่างเหมาะสม (2) เลน่ กับเพื่อนแบบมกี ติกา

(3) ปฏบิ ตั ิตนตามกฎกติกาของชั้นเ

(4) ฝึกระเบียบวนิ ัย

(5) รบั ผดิ ชอบงานที่ได้รับมอบหมา

(6) เลน่ บทบาทสมมุติ

(7) ปรับตัวใหเ้ ข้ากับผอู้ ่นื และส่ิงแว

ตัวบ่งชี้ ๑๓.๗.๓. สามารถปรบั ตัวในการอยรู่ ่วมกับสังคม

๓.๑ การปฏิบตั ติ ามกฎกติกา (1) รบั ผิดชอบงานท่ีไดร้ บั มอบหมา

และมารยาททางสังคมได้อยา่ ง เหมาะสม 2) ปฏิบตั ิตามข้อตกลงของห้องเรยี

โรงเรียน

(3) ปฏบิ ัติตามกติกาการเล่น

(4) ปฏบิ ตั ิตนในสถานที่ต่าง ๆ อยา่

(5) ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาททางสงั ค

197

แนวทางในการจดั กิจกรรม

อน (๑) ผ้สู อนกำหนดกฎกติกาในการชั้นเรยี น ให้นักเรียนในห้อง เพื่อให้
นักเรียนควบคุมตนเองในการทำกจิ กรรมในห้อง และทำกิจกรรมรว่ มกบั
เรียน เพอื่ นได้อย่างเหมาะสม
าย (๒) ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมในการทำกจิ กรรมในห้อง
วดลอ้ ม
๑)ผูส้ อนตั้งกฎกติกาให้ตองเรียนและกติกาการเล่นกับเพอ่ื น สอนมารยาท
าย ในสงั คมสาธิตใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ิและให้นักเรียนพดู และปฏบิ ัติตาม
ยนและ (๒)สังเกตนักเรยี นในการปฏิบตั ิตนในการอย่ใู นสังคม

างเหมาะสม
คม

๑.๕.๘ ประสบการณ์สำคญั ที่สง่ เสริมการพัฒนาทักษะจำเปน็ เฉพาะบคุ คลออทสิ

สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ

ตวั บง่ ช้ี ๑๓.๘.๑.ตอบสนองตอ่ สิง่ เร้าจากประสาทสมั ผัสได้

๑.๑การตอบสนองต่อการทรงตัวได้ ๑)เล่นเครื่องเล่นที่ทำให้เกิดก

เหมาะสม ตำแหนง่ ของศรี ษะ การปีนปา่ ย ห้อย

๒) เล่นเครื่องเล่นที่มีการเคลื่อนไ

แตกต่างกัน ๓) นั่งเครื่องเล่นหร

เคลอื่ นไหว

๔) ยืนทรงตัวบนอุปกรณ์หรือใ

๕) เดินทรงตัว

๖) หมุนศีรษะและการเคลื่อนไห

แตกต่างกัน

๗) เคล่ือนไหวแบบราบเรยี บและท

๑ .๒ ต อ บ ส น อ ง ต ่ อ ก า ร เ ค ล ื ่ อ น (๑) กระโดดในรูปแบบตา่ ง ๆ

ไหวกล้ามเน้อื เอ็นและข้อตอ่ ได้เหมาะสม (๒) เลน่ เครือ่ งเล่นทีม่ กี ารโหนหรือ

(๓) หว้ิ ลาก ผลกั ดึง ยก ส่งิ ของห

(๔) ออกกำลงั กายในท่าตา่ ง ๆ

(๕) คลานบนสภาพแวดลอ้ มท่แี ตก

(๖) ทำท่าประกอบเพลงทมี่ ีจังหวะ

(๗) เค้ียวอาหารหรอื วัตถทุ ม่ี ีความเ

(๘) ลงนำ้ หนักที่ขอ้ ตอ่

๑.๓ ตอบสนองตอ่ กาย (1) เพิ่มแรงกดลงบริเวณผิว

สมั ผสั ได้เหมาะสม (2)กอดรัดหรือใส่อุปกรณ์ที่มีการ

งกย ของเดก็

198

สตกิ
แนวทางจัดกิจกรรม

การเปลี่ยนแปลง (๑) ผู้สอนจัดกิจกรรมเกี่ยวกบการทรงตัว การเคลื่อนไหว ของ
ย โหน ร่างกาย ให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยผู้สอนสาธิต ให้นักเรียนทำ
ไหวไปในระนาบท่ี กจิ กรรมตามตัง้ แตต่ ้นจนจบ
รืออุปกรณ์ที่มีการ (๒) ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในการทำกจิ กรรม

ในรูปแบบต่าง ๆ

หวไปในระนาบที่

ทศิ ทางต่าง ๆ (๑) ผู้สอนจัดกิจกรรมการเครื่องไหว กล้ามเน้อเอ็น และข้อต่อ
เช่น การ ปืนป่าย หิ้ว ลาก ผลัก ดึง โดยผู้สอนสาธิตให้นักเรียน
อปนื ปา่ ย ทำกจิ กรรมตามต้ังแต่ตน้ จนจบ
หรอื วัตถุทม่ี นี ้ำหนัก (๒) ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในการทำ
กิจกรรม
กต่างกนั
ะชา้ หรอื เรว็
เหนยี ว

วหนัง ร่างกาย ๑) ผู้สอนจัดกิจกรรมเกี่ยวกับศิลปะการนวดการสัมผัส
รลงน้ำหนักบนร่า แบบตา่ ง ๆ
(๒) ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียน

สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณ์สำคญั

๑.๔ ตอบสนองต่อการดม (3)ทำกิจกรรมศิลปะที่ใช้วัสดุที่มีพ
กลิ่นได้เหมาะสม ที่ แตกตา่ งกัน
๑.๕ ตอบสนองต่อเสียงที่ ได้ยินได้ (4) เล่นอสิ ระบนพื้นผิวหรอื ลักษณ
เหมาะสม (5) นวดสมั ผสั แบบต่าง ๆ
(6) สัมผัสสิ่งต่าง ๆ ที่มีอุณหภ
๑.๖ ตอบสนองต่อการ แตกตา่ งกัน
เหน็ ได้เหมาะสม
(1) ดมกล่นิ สิ่งตา่ ง ๆ ในชีวิตประจ
(2) ไปทัศนศึกษา นอกสถานท
(3) ปรบั ตัวต่อสภาพแวดลอ้ มทม่ี ีก

(1) ฟังเสียงที่มีระดับความด
(2) เล่นเคร่ืองดนตรี
(3) เคลื่อนไหวตามเสียงเพลง
(4) ร้องเพลง
(5) เล่นของเล่นทีม่ เี สยี ง
(6) ทัศนศึกษานอกสถานทที่ ม่ี ีเสียง

(1) ลดแสงสว่างป้องกันการห
(2) ทำกิจกรรมที่อยู่ในสภาพแวด
หรอื แสง สีแตกตา่ งกัน
(3) เล่นของเลน่ ทีต่ อ้ งใชส้ ายตา
(4) เลน่ ของเล่นที่มีแสงและสีสนั สด
(5) ทำกิจกรรมที่ใช้วัสดุที่มีแสง
กระตนุ้ ความสนใจ

199

แนวทางจดั กจิ กรรม
พื้นผิวหรือลักษณะ

ณะทแ่ี ตกต่างกนั

ภูมิและลักษณะท่ี

จำวัน (๑) ผู้สอนจัดกิจกรรมเกี่ยวกับกลิ่น เช่น การทำอาหาร ผลไม้

ที่ที่มีกลิ่นต่าง ๆ ดอกไม้ ขนม ให้นกั เรยี นดมกล่นิ สง่ิ ต่าง ๆ

กลน่ิ ตา่ ง ๆ (๒) ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น

ังที่แตกต่างกัน (๑) ผู้สอนจัดกิจกรรมเกี่ยวกับเสียง เช่น เสียงเครื่องดนตรี

เสียงเพลง เสยี งของเล่น ตา่ ง ๆ

(๒) ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี น

งตา่ ง ๆ (๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมเกี่ยวกับแสงเช่นการปรับสภาพแวดล้อม
หันเหความสนใจ การทำกิจกรรมภายนอกและภายในห้อง การเล่นของเล่นที่มี
ดล้อมที่มีแสงสว่าง สสี ันสดใส
(๒) ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียน
ดใส
งสว่าง หรือแสงสี

สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคญั

๑.๗ ตอบสนองตอ่ การลิม้ (1)ชมิ อาหารท่มี รี สชาติต่าง ๆ

รสไดเ้ หมาะสม (2)ชมิ อาหารทีม่ อี ุณหภูมติ า่ ง ๆ

(3)ชมิ อาหารทม่ี ลี ักษณะตา่ ง ๆ

(4) ประกอบอาหารงา่ ย ๆ

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๘.๒. เขา้ ใจภาษาและแสดงออกทางภาษาได้อย่างเหมาะสม

๒.1 ปฏิบตั ติ ามคำสง่ั ได้ (1)ปฏิบัตติ ามคำสั่งงา่ ย ๆ

(2) ปฏิบัติตนตามตารางกจิ กรรม

๒.๒ สื่อสารโดยการใช้ท่าทาง รูปภาพ (1) บอกความต้องการโดยใช้ท่าท

สัญลักษณ์ คำพดู ในชีวติ ประจำวนั พูด

(2) ตอบคำถามโดยใชท้ า่ ทาง ชี้รปู

(3) พดู โดยใช้สื่อ

(4) ใช้วิธกี ารสื่อสารทางเลือก

(5) เล่นบทบาทสมมตุ เิ กย่ี วกับการ

(6) ทัศนศกึ ษาแหล่งเรียนรู้

(7) รว่ มกิจกรรมกับผู้อื่น

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.๘.๓ แสดงพฤตกิ รรมทีเ่ หมาะสมตามสถานการณ์

๓.๑รับรู้และแสดง อารมณ์ของตนเอง (1)ใช้สื่อที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่าน

และบคุ คล อืน่ อยา่ งเหมาะสม อารมณ์

(2)บ อ ก ห ร ื อ เ ล ื อ ก ภ า พ อ า ร ม ณ

สถานการณต์ ่าง ๆ

(3)ฟงั นทิ าน

(4ดูวดี ที ัศนน์ ทิ านส้นั ๆ

(5)เคลื่อนไหวตามเสยี งเพลงดนตร

200

แนวทางจดั กิจกรรม

(๑)ผู้สอนจัดกิจกรรม การลิ้มรสอาหาร เช่น ผลไม้ อาหาร ขนม
ทีม่ รี สชาตติ ่าง ๆ กนั และอณุ หภมู ติ ่างกัน
(๒)ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของผ้เู รียน

(๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมโดยคำสั่งสั้น ๆ ง่าย ๆ ให้นักเรียนทำ

ม (๒) ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในการรบั คำสัง่

ทาง ชี้รูปภาพหรือ (๑) ผู้สอนจัดกิจกรรม การสื่อสารโดยใช้ท่าทาง รูปภาพ

สัญลักษณ์ คำพูดในชีวิตประจำวัน โดยให้นักเรียนพูดตามและ

ปภาพหรือพดู ปฎิบัติตาม

(๒) ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการทำกจิ กรรม

รส่ือสาร

นการเห็นเกี่ยวกับ (๑)ผู้สอนจัดกิจกรรมการรับรู้แสดงอารมณ์เช่นการเล่านิทาน
ณ์จากการดูภาพ แสดงสหี น้าคำพดู นำ้ เสียงท่าทาง อารมณ์
(๒)ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการจัดกิจกรรม
ร่วมกบั เพ่ือน

รี


Click to View FlipBook Version