The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-11-09 03:54:50

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

ประสบการณส์ ำคญั ทค่ี วร

๑. การเคลือ่ นไหวส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายตามจังหวะดนตรี
๒. การเคลื่อนไหว และการทรงตัว
๓. การประสานสมั พันธข์ องกล้ามเน้อื และระบบประสาท
๔. การเลน่ เคร่ืองเลน่ สัมผสั
๕. การวาด
๖. การเขยี นขีดเขยี่
๗. การปน้ั
๘. การฉกี
๙. การตัดปะ
๑๐. การดแู ลรักษาความสะอาดของร่างกาย ของใชส้ ว่ นตวั
๑๑. การรักษาความปลอดภัย

76

รสง่ เสรมิ พฒั นาการด้านรา่ งกาย

๑.๒ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นก

ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะ ที่เป็นอัตลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีคว

ความร้สู กึ ท่ีดีต่อตนเอง และความเชอื่ ม่ันในตนเองขณะปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ดงั นี้

มาตรฐานที่ ๓ มีสขุ ภาพจติ ดี และมคี วามสุข

มาตรฐานท่ี ๓ มีสุข

อายุพัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบกา

๓.๑ แสดงออกทางอารมณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม

แรกเกดิ – ๓ ปี 1. อารมณ์ดี ยม้ิ แย้มหวั เราะง่าย แวว 1. การเคลื่อนไหวต

ตามคี วามสขุ ดนตรี

๓ – ๔ ปี 2. แสดงอารมณ์ความรสู้ กึ ไดเ้ หมาะสม 1. การพูดสะท้อนค

กบั บางสถานการณ์ ตนเอง และผู้อื่น

๔– ๕ ปี 3. แสดงอารมณ์ความร้สู ึกได้ตาม 1. การพดู สะท้อนค
๕– ๖ ปี สถานการณ์ ตนเอง และผู้อน่ื

4. แสดงอารมณ์ความรสู้ กึ ได้ 1. การพดู สะท้อนค
สอดคลอ้ งกับสถานการณ์อยา่ ง ตนเอง และผู้อนื่
เหมาะสม

77

การสนับสนุนให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์ และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย
วามสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ได้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สุนทรียภาพ

ขภาพจติ ดี และมีความสขุ แนวทางการจัดกิจกรรม
ารณ์สำคัญ

ตามเสียงเพลง/ 1. ผูส้ อนนำร้องเพลง “หากพวกเรากำลงั สบาย” และแสดงทา่ ทาง
ความรสู้ ึกของ ประกอบเพลง แลว้ ให้ผ้เู รียนแสดงท่าทางประกอบตาม

ความร้สู ึกของ 1. ผู้สอนพูดคุยกับผู้เรียนเรื่อง “อารมณ์” คนเรามีการแสดง
ความรสู้ ึกของ อารมณ์ตา่ ง ๆ ไดม้ ากมาย เช่น ดใี จ รัก ขำขนั เสียใจ กลวั
2. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นแสดงท่าทางทีละอารมณ์ ไดแ้ ก่ ดีใจที่พบเพื่อน
รักเพ่ือน ขำขนั โกรธเพื่อน เสยี ใจ และกลวั งู

1. ผู้สอนพูดคุยกับผู้เรียนเรื่อง “อารมณ์” คนเรามีการแสดง
อารมณ์ตา่ ง ๆ ไดม้ ากมาย เชน่ ดใี จ รัก ขำขนั เสยี ใจ กลวั
2. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนแสดงทา่ ทางทลี ะอารมณ์ ตามสถานการณ์ที่กำหนด

1. ผู้สอนพูดคุยกับผู้เรียนเรื่อง “อารมณ์” คนเรามีการแสดง
อารมณ์ตา่ ง ๆ ไดม้ ากมาย เช่น ดใี จ รัก ขำขนั เสยี ใจ กลวั
2. ผู้สอนให้ผ้เู รียนแสดงท่าทางทีละอารมณ์ ได้แก่ ดีใจที่พบเพื่อน
รักเพ่อื น ขำขนั โกรธเพือ่ น เสยี ใจ และกลัวงู
3. ผู้สอนสมมติว่าผู้เรียนได้ไอศกรีมแสนอร่อย ผู้เรียนจะแสดง
ทา่ ทาง และพูดวา่ อยา่ งไร

มาตรฐานที่ ๓ มีสุข

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบกา

๓.๒ มีความรู้สกึ ทด่ี ีต่อตนเอง และผอู้ น่ื

แรกเกิด – ๓ ปี 1. ยมิ้ และหวั เราะได้เม่ือพอใจ 1. การพูดสะท้อนค

2. สบตา จ้องหนา้ พ่อแม่หรือผเู้ ลีย้ งดู ตนเอง และผู้อนื่

3. ยม้ิ ทกั ทายเม่ือเห็นหน้าคนค้นุ เคย 1. การพดู สะท้อนค
ตนเอง และผู้อืน่

4. แสดงอารมณ์ท่ีหลากหลายผา่ นการ 1. การพูดสะท้อนค
ส่งเสียง ตนเองและผ้อู ่นื

78

ขภาพจติ ดี และมคี วามสุข แนวทางการจดั กจิ กรรม
ารณ์สำคญั

ความรสู้ ึกของ 1. อุ้มผูเ้ รยี นในท่านอนหงาย มองตาผู้เรยี น และสมั ผสั เบา ๆ
ความรูส้ ึกของ พรอ้ มกบั พดู คุยกับผูเ้ รียนเป็นคำพดู สนั้ ๆ ซำ้ ๆ ช้า ๆ เชน่ ว่าไงจ๊ะ
...คนเก่ง ยม้ิ สิ เด็กดี หยดุ ฟงั เพอ่ื รอจงั หวะใหเ้ ด็กยมิ้ หรือสง่ เสยี ง
ตอบ

1. ย้มิ และพูดคุยกับผเู้ รียนเม่ือทำกจิ กรรมต่าง ๆ ให้ผเู้ รียนทุกครง้ั
2. อมุ้ ผเู้ รยี นไปหาคนที่คนุ้ เคย เชน่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อแม่
ผปู้ กครอง ย้ิมทกั คนท่ีคนุ้ เคยใหผ้ ู้เรียนดู
3. พดู กระตุ้นให้ผเู้ รยี นทำตาม เช่น ย้มิ ใหค้ ณุ พ่อซิ ยิ้มให.้ ..ซิ

ความรู้สึกของ 1. มองสบตาผู้เรยี น และพูดด้วยเสียงสงู ๆ ตำ่ เล่นหวั เราะกบั
ผเู้ รียน หรอื สัมผัสจุดตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เช่น ใชน้ ิว้ สมั ผัสเบา ๆ ที่
ฝ่าเท้า ทอ้ ง เอว หรอื ใช้จมูกสมั ผัสหนา้ ผากแก้ม จมูกปาก และ
ท้องผเู้ รยี น โดยการสัมผัสแต่ละคร้ังควรมีจังหวะหนักเบาแตกต่าง
กันไป

อายุพัฒนาการ สภาพที่พึงประสงค์ มาตรฐานท่ี ๓ มสี ขุ
ประสบกา
แรกเกดิ – ๓ ปี 5. แสดงอารมณต์ ามความรสู้ ึก
1. การพูดสะท้อนค
ตนเอง และผู้อื่น

6. แสดงความต้องการของตนเองมาก 1. การพดู สะท้อนค
ขึ้น ตนเอง และผู้อื่น

7. แสดงความรักต่อผู้อ่นื 1. การพูดสะท้อนค
ตนเอง และผู้อื่น

8. การแสดงความภาคภมู ิใจเมือ่ ทำส่งิ 1. การพูดสะท้อนค

ตา่ ง ๆ สำเรจ็ ตนเอง และผู้อ่ืน

๓ – ๔ ปี 1. กลา้ พูดกล้าแสดงออก 1. การพูดสะท้อนค
ตนเอง และผู้อ่ืน

79

ขภาพจติ ดี และมคี วามสุข

ารณส์ ำคญั แนวทางการจดั กจิ กรรม

ความรสู้ ึกของ 1. ผสู้ อนเตรยี มภาพบุคคลตา่ ง ๆ ท่ีแสดงออกถงึ อารมณ์ที่

แตกต่างกนั ออกไป เช่น ร้องไห้ หัวเราะ มาใหเ้ ลอื กวา่ ภาพไหน

แสดงอารมณ์อะไร

2. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรยี นแสดงทา่ ทางดงั ตอ่ ไปน้ี ผ้เู รียนดีใจ ผูเ้ รยี นมี

ทา่ ทางหรือพูดวา่ อย่างไร

แม่ดใี จ...แม่มีท่าทางหรือพูดว่าอยา่ งไร

พ่อโกรธ...พอ่ มีท่าทางหรือพูดวา่ อย่างไรเพ่อื นกลัว...เพอื่ นมีท่าทาง

หรอื พดู ว่าอยา่ งไร

ความรู้สึกของ 1. ผสู้ อนนำของเลน่ หรืออาหารที่ผูเ้ รียนชอบ 2 – 3 วางไว้

ด้านหน้า ถามเด็กวา่ หนูเอาอันไหน หรือถามวา่ หนเู อาไหม รอให้

เด็กแสดงความตอ้ งการ เชน่ ช้ี แล้งจงึ จะให้ของ ทำเชน่ นที้ ุกครง้ั

เมื่อเด็กต้องการของเล่นหรืออาหาร

ความร้สู ึกของ 1. ผูส้ อนทำตัวเปน็ แบบอย่างแสดงความรักต่อผู้อ่ืน เช่น การกอด
โดยสาธติ ทา่ กอดแบบตา่ ง ๆ ได้แก่ กอดแนน่ ๆ กอดกระดุ๊กกระ
ดกิ และกอดโยกเยกจากน้ันใหผ้ ูเ้ รียนทำตาม

ความรู้สึกของ 1. ผู้สอนฝึกใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ัติการในหน้าที่ตา่ ง ๆ ท่เี ป็นกจิ วัตร
ความรู้สึกของ ประจำวนั เชน่ เก็บที่นอน ปูที่นอนถอดรองเทา้ สวมรองเทา้
พร้อมทัง้ ปรบมือกลา่ วคำชมเชยทุกครัง้ เม่ือผู้เรยี นทำได้

1. ผสู้ อนฝึกให้ผ้เู รยี นปฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื ง การบอกช่ือของตนเองหนา้
ชนั้ เรยี น
2. ผู้สอนใหเ้ พือ่ น ๆ ในห้องปรบมือชมเชย

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ มาตรฐานที่ ๓ มีสขุ
ประสบกา
๔– ๕ ปี 1. กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอย่าง
1. การพูดสะท้อนค
เหมาะสมบางสถานการณ์ ตนเอง และผู้อืน่

2. แสดงความพอใจในผลงาน และ 1. การทำงานศิลป
ความสามารถของตนเอง

๕– ๖ ปี 1. กล้าพูดกล้าแสดงออกอยา่ ง 1. การพูดสะท้อนค
เหมาะสมตามสถานการณ์ ตนเอง และผู้อ่ืน

80

ขภาพจติ ดี และมีความสุข

ารณ์สำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

ความร้สู ึกของ 1. ผสู้ อนทำตัวอยา่ งการพดู ขอ ขอบคุณ ให้ ใหเ้ ดก็ ได้ยินบอ่ ย ๆ

เชน่
1.1. ผู้สอนพดู คำว่า ขอ...ให้ครูนะจะ๊ ก่อนทจี่ ะเอาของออก
จากมือผู้เรียนโดยไม่แยง่ ของจากมือผ้เู รยี น

1.2. เมอ่ื เด็กย่ืนของในมือให้ผู้สอน ให้พูดคำว่า ขอบใจจ๊ะ เปน็
เด็กดีมากทีร่ ู้จักแบง่ ของให้คนอนื่

1.3. เมื่อผ้สู อนต้องการแบ่งขนมให้ผ้เู รียน ใหพ้ ูดวา่ ครูจะแบ่ง

ขนมใหก้ นิ นะจ๊ะ
2. สอน และกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนพูด ขอ ขอบคุณ ให้ ตาม
สถานการณ์ต่าง ๆ

ปะ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนวาดรปู ภาพตามจนิ ตนาการ เสร็จแลว้ นำผลงาน
มาใหเ้ พื่อนดูหนา้ ช้ันเรียน แล้วบอกเพื่อนว่าตนเองวาดรูปอะไร

2. ผสู้ อนให้เพอ่ื น ๆ ในห้องปรบมือชมเชยแล้วนำผลงานไปตดิ
บรเิ วณท่คี รูกำหนด

ความรู้สึกของ 1. ผู้สอนฝกึ ให้ผ้เู รยี นพูดในโอกาสตา่ ง ๆ โดยพุดให้ฟงั เป็น
ตัวอยา่ งแล้วบอกให้ผู้เรยี นพดู ตาม
1.1. สอนใหผ้ ู้เรียนไหว้ และกล่าวขอบคุณทุกครั้งทรี่ ับของจาก

ผใู้ หญ่ เชน่ ขอบคณุ คะ่
1.2. สอนให้ผเู้ รยี นยกมือไหว้ และกล่าวสวสั ดีทีพ่ บผูใ้ หญ่ เชน่
สวัสดีคะ่

1.3. สอนใหผ้ เู้ รยี นกล่าวคำขอโทษทุกครง้ั ท่ที ำผดิ เชน่ ขอโทษคะ่
2. เตอื นเมือ่ เด็กลมื กลา่ วคำขอบคณุ สวสั ดี ขอโทษ ทุกคร้ัง

อายุพัฒนาการ สภาพที่พงึ ประสงค์ มาตรฐานท่ี ๓ มสี ขุ
ประสบกา
2. แสดงความพอใจในผลงาน และ
1. การทำงานศลิ ป

ความสามารถของตนเอง และผ้อู นื่

81

ขภาพจิตดี และมีความสุข

ารณส์ ำคญั แนวทางการจัดกจิ กรรม

ปะ 1. ผสู้ อนใหผ้ ้เู รยี นวาดรปู ภาพตามจินตนาการพร้อมกบั ระบายสี

รปู ภาพใหส้ วยงาม เสร็จแลว้ นำผลงานมาใหเ้ พื่อนดูหนา้ ชั้นเรยี น

แล้วบอกเพอ่ื นว่าตนเองวาด และระบายสีรปู อะไร

2. ผู้สอนให้เพ่ือน ๆ ในห้องปรบมือชมแลว้

นำผลงานไปติดบริเวณท่ีครกู ำหนด

มาตรฐานท่ี ๔ ชน่ื ชม และแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

มาตรฐานท่ี ๔ ชนื่ ชม และแสดงอ

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบ

๔.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะดนตรี และการเคลื่อนไหว

แรกเกิด – ๓ ปี 1. หยดุ ร้องไห้เม่ือมีคนอมุ้ 1.เคล่อื นไหว

2. มปี ฏิกิรยิ าโตต้ อบดว้ ยการเคล่อื นไหว ดนตรี

ร่างกายเมื่อเหน็ หรอื ไดย้ ินเสียงคน และส่ิงท่ี

คนุ้ เคย

3. ยิม้ ทักทายแสดงอาการดใี จเม่อื เห็นส่ิงที่

ตัวเองพอใจ

4. จำหน้าแม่ และคนคุ้นเคยได้ 2.เลน่ รายบุค

5. เล่นของเล่นท่มี เี สยี งได้ กลุม่ ใหญ่

6. แสดงออกถึงการรบั รอู้ ารมณ์ และ

ความรสู้ กึ ของผอู้ ่นื 3.ออกไปเลน่

7. เลยี นแบบกิรยิ าท่าทางของผ้อู น่ื อยา่ งงา่ ย สวยสาธารณ
ๆ 4.รูจ้ ักสิ่งของ
8. มองผใู้ หญ่หรอื เด็กคนอืน่ ๆ ทำกิจกรรม

อย่างใกลช้ ดิ

9. เรม่ิ คนุ้ เคยกบั คนอน่ื 5.เลน่ ของเล

10. ขอความชว่ ยเหลือ เมื่อต้องการ

11. ชอบการออกไปเทย่ี วนอกบ้าน

82

ออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

บการณ์สำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

วตามเสียงเพลง/ 1.ผู้สอนร้องเพลงง่าย ๆ ให้ผู้เรียนฟัง เช่น เพลงช้าง เพลงเป็ด
คคล กล่มุ ยอ่ ย และ โดยผู้สอนออกเสียง และทำนองที่ชัดเจน แล้วชวนให้ผู้เรยี นร้อง
ตามพร้อมทั้งทำท่าทางประกอบ
2.ผู้สอนร้องเพลงเดิมซ้ำบ่อย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนคุ้นเคยจำได้ และ
กระตุ้นให้ผู้เรียนร้องตามหรือเว้น เพื่อให้ผู้เรียนร้องต่อเป็นช่วง


1.ผ้สู อนให้ผ้เู รยี นเล่น โดยนำผู้เรยี นไปรวมกับเพ่ือนแล้วใหเ้ ลน่
อยา่ งอสิ ระ โดยตา่ งคนต่างเล่น

นนอกบ้านหรือไป 1.ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นเลน่ โดยนำผเู้ รียนไปรวมกับเพอ่ื นแล้วให้เล่น
ณะ อยา่ งอิสระ โดยมีการพดู คยุ เป็นตน้
งท่เี ป็นของตนเอง
1.ผสู้ อนให้ผู้เรียนเลน่ บทบาทสมมตโิ ดยการนำส่ิงของ มาร่วมใน
ล่นท่มี ีแสง สี เสยี ง การแสดง โดยให้แสดงตามจินตนาการของตนเองประกอบกับ
การเล่านทิ าน โดยให้ผ้เู รยี นรว่ มแสดงบทบาทสมมติกบั ผูส้ อน

1.ผู้สอนเลา่ นิทานโดยนำของเล่นทมี่ ีเสียง และแสงนำมา

มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชม และแสดงอ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ประสบ

12. แสดงความเปน็ เจ้าของ 6.ฝกึ แสดงท

13. สนใจหรอื มคี วามสขุ เมื่อไดย้ ิน

เสยี งดนตรี

๓ – ๔ ปี 1. สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผา่ นงาน 1.ฟงั เพลง ก
ศิลปะ การแสดงปฏ
2. สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา่ น เสยี งดนตรี
เสียงเพลง ดนตรี
3. สนใจ มคี วามสขุ และแสดงทา่ ทาง/ 2.เล่นเครอื่ งด
เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และ จังหวะ

ดนตรี 3.เคลอ่ื นไหว
ดนตรี
4.ทอ่ งคำคล้อ

5.เล่นบทบาท
6.ทำกจิ กรรม

7.สรา้ งสรรค

83

ออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

บการณ์สำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

ท่าทาง ขอหรือชี้ 1.ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนบอกความต้องการของตนเอง เชน่ การขอนม

โดยให้ทำท่าแบมอื และพดู วา่ “ขอ”การปฏิเสธสิง่ ของทไ่ี ม่

ตอ้ งการ โดยให้แสดงทา่ ทางส่ายมอื ไปมา หรือ พดู ว่า “ไม”่ เป็น

ตน้

2.ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนแบง่ ปนั สิง่ ของตา่ ง ๆ โดยผสู้ อนเปน็ ผูส้ าธิตใน

สถานการณจ์ ำ ลอง และนำไปสสู่ ถานการณ์จริง

การร้องเพลง และ 1.ผู้สอนนำเสียงดนตรีมาเป็นส่วนประกอบในการสอน โดยให้

ฏิกิริยาโตต้ อบ ผูเ้ รยี นตอบสนองตอ่ เสียง เช่น การเตน้ ประกอบเพลง

ดนตรปี ระกอบ 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นของเล่นที่มีเสียง มาเขย่าในทิศทางเดียว
ดัน เช่น กรุ๋งกริง๋ เปน็ ตน้
วตามเสียงเพลง/
องจอง 1.ผู้สอนผู้เรียนเคลื่อนไหวตามจังหวะเสียงเพลง พร้อมทำท่า
ทสมมติ ประกอบ
มศิลปะตา่ ง ๆ 1.ผู้สอนท่องคำคล้องจอง แล้วให้ผู้เรียนท่องตามทีละท่อน เชน่
คง์ านศลิ ปะ ผลไมแ้ สนอร่อย

1.ผสู้ อนแสดงบทบาทสมมตโิ ดยให้ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการแสดง

1.ผู้สอนให้ผู้เรียนกำ ทุบ ขยำด้วยมือทั้งสองข้าง เช่น ดินน้ำมัน
แปง้ โด เปน็ ต้น
1.ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือทั้ง 2 ข้าง ปั้นแล้วคลึงดินน้ำมัน หรือ
แปง้ โดเปน็ เส้นยาว เชน่ งู ไส้เดือน กิง้ กอื หนอน เปน็ ต้น

มาตรฐานที่ ๔ ช่ืนชม และแสดงอ

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบ
๔– ๕ ปี
1.ฟังเพลง ก

การแสดงปฏ

เสียงดนตรี

1. สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา่ นงาน 2.เล่นเครื่องด

ศลิ ปะ จังหวะ

2. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผา่ น 3.เคลอื่ นไหว
เสยี งเพลง ดนตรี
ดนตรี
3. สนใจ มคี วามสุข และแสดงท่าทาง/ 4.ท่องคำคล้อ
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี 5.เลน่ บทบาท

6.ทำกจิ กรรม

๕– ๖ ปี 1. สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผ่านงาน 7.สรา้ งสรรค
ศลิ ปะ 1.ฟังเพลง ก
2. สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผา่ น การแสดงปฏ
เสยี งเพลง ดนตรี เสยี งดนตรี
2.เล่นเครอ่ื งด
จงั หวะ

3.เคล่อื นไหว
ดนตรี

84

ออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว

บการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

การร้องเพลง และ 1.ผู้สอนเปิดเพลง และสาธิตท่าทางประกอบเพลงให้ผู้เรียนได้

ฏกิ ิริยาโตต้ อบ ทำตาม

ดนตรปี ระกอบ 1.ผู้สอนตีกลอง และใหผ้ ู้เรียนเตน้ ประกอบตามจังหวะเสียง
กลอง
วตามเสียงเพลง/
1.ผู้สอนเปิดเพลงให้ผู้เรียนเคลื่อนไหวตามจังหวะเสียงเพลง พร้อม
องจอง ทำทา่ ประกอบ เชน่ เพลงชา้ ง เพลงเป็ด เพลงลงิ เป็นตน้
ทสมมติ 1.ผู้สอนใชบ้ ัตรคำคล้องจอง แล้วใหผ้ ู้เรยี นอา่ นตามบตั รคำ

มศลิ ปะตา่ ง ๆ 1.ผู้สอนเล่านิทาน และให้ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติตาม เช่น
เรื่องเตา่ กับกระต่าย เปน็ ต้น
ค์งานศลิ ปะ
การร้องเพลง และ 1.ผู้สอนนำสื่อการสอนที่เป็นรูปภาพมาใหผ้ ู้เรยี นระบายสี เป่าสี
ฏิกิริยาโตต้ อบ ตัดแปะ เปน็ ต้น

1.ผสู้ อนให้ผู้เรียนป้นั ดนิ นำ้ มนั เป็นรูปต่าง ๆ ตามจินตนาการ

1.ผู้สอนเปิดเพลงให้ผู้เรียนฟัง และให้ผู้เรียนร้องตามพร้อมทั้ง
ทำทา่ ประกอบ

ดนตรปี ระกอบ 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นเครื่องดนตรีด้วยตนเอง เช่น ระนาด ป่ี
กลอง ฉ่ิง เปน็ ตน้

วตามเสียงเพลง/ 1.ผู้สอนเปิดเพลงให้ผู้เรียนเคลื่อนไหวตามจังหวะเสียงเพลง
ตามจินตนาการของผเู้ รียน

มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชม และแสดงอ

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบ

3. สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ 4.ทอ่ งคำคล้อ

เคลื่อนไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี

5.เลน่ บทบาท

6.ทำกจิ กรรม

7.สรา้ งสรรค

มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจที่ดงี าม

มาตรฐานท่ี ๕ มคี ุณธรรม

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ป

๕.๑ ซ่อื สัตย์สจุ ริต

๓ – ๔ ปี 1. บอกหรือชี้ไดว้ ่าสง่ิ ใดเป็นของตนเอง และส่งิ ๑. ฝึกใชส้

ใดเป็นของผูอ้ นื่ แสดงควา

๒. ปฏบิ ัต
ถอื

๓. ฟงั นิท
จรยิ ธรรม

85

ออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว

บการณ์สำคญั แนวทางการจดั กิจกรรม

องจอง 1.ผู้สอนใช้เพลงคำคล้องจอง มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน

เชน่ เพลงตาดูหฟู งั เปน็ ต้น

ทสมมติ 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงท่าทางประกอบเพลงค่านิยมไทย 12

ประการ

มศิลปะตา่ ง ๆ 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนวาดภาพระบายสี พิมพ์ภาพจากรอยนิ้วมือ

วสั ดจุ ากธรรมชาติ เป็นตน้

ค์งานศลิ ปะ 1.ผูส้ อนใหผ้ ้เู รียนปน้ั ดินน้ำมันเปน็ รปู ตา่ ง ๆ ตามทผี่ ู้สอนกำหนด

ม จริยธรรม และมีจติ ใจที่ดีงาม แนวทางการจัดกจิ กรรม
ประสบการณส์ ำคญั

สญั ลกั ษณ์ประจำตัว - ผู้สอนฝกึ ใหผ้ เู้ รียนจดจำสญั ลักษณ์ประจำตัว เชน่ ภาพ
ามเปน็ เจ้าของ ผลไม้ สัตว์ต่าง ๆ
เพ่ือแสดงความเปน็ เจ้าของ ของสง่ิ ของนนั้ ๆ
ตติ นตามหลกั ศาสนาทน่ี บั - ผู้สอนเล่านิทานทีม่ ีเนื้อหาเก่ียวกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
เช่น พ่อค้าเกลือกบั ลา เทพารักษก์ บั คนตดั ไม้ ความ
ทานเก่ยี วกับคุณธรรม ซือ่ สตั ย์ของแพนดา้ น้อย
ม - หลังจากท่ผี สู้ อนเล่านิทานใหผ้ เู้ รียนฟงั แลว้ ควรบอกถงึ
ความสำคัญของความคุณธรรม จรยิ ธรรม ความซือ่ สัตย์
สุจรติ

มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม

อายุพัฒนาการ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ป
๔– ๕ ปี
1. ขออนญุ าตหรือรอคอยเมอื่ ต้องการสงิ่ ของ ๑. เลน่ บท

ของผู้อน่ื เม่ือมผี ู้ชแ้ี นะ ตา่ ง ๆ

๕– ๖ ปี 1. ขออนุญาตหรือรอคอยเม่อื ตอ้ งการสิ่งของ ๒. ฟังนทิ
ของผู้อืน่ ด้วยตนเอง จริยธรรม
๓. ฝกึ การ
หรอื รปู ภา

๑. เลน่ บท
ตา่ ง ๆ

๒. ฟงั นิท
จรยิ ธรรม
๓. ฝึกการ
หรอื รูปภา

๕.๒ มีความเมตตากรณุ า มีนำ้ ใจ และชว่ ยเหลือแบง่ ปัน

๓ – ๔ ปี 1. แสดงความรกั เพื่อน และมีเมตตา สตั ว์เลีย้ ง ๑. ฟงั นิท
๔– ๕ ปี 1. แสดงความรกั เพ่ือน และมีเมตตาสัตวเ์ ล้ยี ง จรยิ ธรรม

86

ม จรยิ ธรรม และมีจิตใจที่ดงี าม

ประสบการณ์สำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

ทบาทสมมตติ ามเหตุการณ์ - ผสู้ อนเล่านิทานโดยให้ผู้เรยี นร่วมแสดงบทบาทสมมุติ

แสดงทา่ ทางตามตัวละคร เชน่ เลน่ เปน็ ครู เปน็ หมอ โดย

มีครผู ู้สอนคอยชแี้ นะ

ทานเกยี่ วกับคุณธรรม - ผูส้ อนเล่านทิ านโดยสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรมใน

ม นิทาน

รขออนญุ าตโดยใช้ท่าทาง - ผู้สอนฝกึ การขออนญุ าตโดยใชท้ ่าทาง

าพ การยกมือ เพื่อขออนญุ าต

ทบาทสมมติตามเหตุการณ์ - ผู้สอนเลา่ นิทานโดยใหผ้ ู้เรยี นร่วมแสดงบทบาทสมมตุ ิ

แสดงท่าทางตามตวั ละคร เช่น เลน่ เป็นครู เป็นหมอ

ทานเก่ยี วกบั คุณธรรม - ผู้สอนสอดแทรกคติ คุณธรรม จรยิ ธรรมในนทิ าน



รขออนญุ าตโดยใชท้ ่าทาง - ผู้สอนฝึกการขออนุญาตโดยใชท้ า่ ทางการยกมือเพื่อขอ

าพ อนุญาต ถามนิทาน (เด็กสามารถตอบอะไรก็ได้

โดยเปิดกวา้ งให้เดก็ แสดงความคิดเห็นอย่างอสิ ระซง่ึ

บางอยา่ งอาจจะเป็นสงิ่ ทีเ่ ปน็ ไปไม่ได้ แตค่ รูต้องชว่ ย

อธิบายเหตผุ ลวา่ ทำไมถงึ ชว่ ยด้วยวิธแี บบนัน้ ไม่ได้

หรอื ไม่เหมาะสมอย่างไร เปน็ ต้น)

- ชมเชย และชีใ้ ห้เห็นผลทเ่ี กิดจากการกระทำดีของ

ผู้เรยี น

ทานเก่ียวกับคุณธรรม - ผู้สอนนำนิทานทีม่ ีเน้ือหาเกยี่ วกับการแบ่งปนั หรอื ความมี
ม นำ้ ใจ เชน่ หนูนดิ ไม่มีนำ้ ใจ ก้อนเมฆมีน้ำใจ ฯลฯ และครูให้

มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พึงประสงค์ ป

๕– ๖ ปี 1. แสดงความรักเพื่อน และมีเมตตา สัตวเ์ ลี้ยง ๒. แบง่ ปัน

๓. เลน่ กบั

๔. เลน่ กบั

๕.๓ มคี วามเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน

๓ – ๔ ปี ๑. แสดงสีหนา้ หรอื ทา่ ทางรบั รูค้ วามรู้สึกผ้อู ื่น ๑. ฝกึ รับ

๔– ๕ ปี 1. แสดงสีหนา้ และท่าทางรับรคู้ วามรู้สกึ ผู้อน่ื แสดงอาร

๒. ฝกึ แส

อารมณ์ แ

กอด จับม
๕– ๖ ปี 1. แสดงสหี นา้ และท่าทางรับร้คู วามรสู้ ึกผ้อู ่ืน ๓. ฟงั นทิ

อย่างสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ ๔. เล่นบท

๕.๔ มคี วามรบั ผิดชอบ

๓ – ๔ ปี 1. ทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายจนสำเร็จ ๑. ฝึกทำ

เมอ่ื มผี ูช้ ่วยเหลือ ขั้นตอน

๔– ๕ ปี 1. ทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายจนสำเร็จ เมอ่ื มผี ู้ ๒. ฝึกทำ

ชแ้ี นะ หนา้ ทีงาน

๕– ๖ ปี 1. ทำงานที่ไดร้ ับมอบหมายจนสำเรจ็ ดว้ ย

ตนเอง

87

ม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจท่ดี ีงาม

ประสบการณส์ ำคญั แนวทางการจัดกจิ กรรม

นสง่ิ ของ อาหาร ให้บคุ คลอนื่ เด็ก ๆ ดรู ูปภาพสถานการณ์ทีเ่ ด็กกำลังหกล้มคณุ แมก่ ำลังทำ

บสัตว์ และใหอ้ าหารสัตว์ ความสะอาดบา้ นโดยถามเดก็ ในประเดน็ ต่าง ที่เกิดใน

บเพ่อื นในวยั เดียวกัน

บรอู้ ารมณ์โดยใช้รปู ภาพ - ผสู้ อนเล่านิทานหรือเลน่ บทบาทสมมุติในเร่ืองการ
รมณ์ ชว่ ยเหลือผ้อู ่นื โดยใชส้ ีหน้าท่าทางในการแสดง เม่ือเหน็
สดงท่าทางตอบสนองตอ่ เพอ่ื นหรือญาตหิ กล้ม ผเู้ รียนแสดงความห่วงใย ด้วยการ
และความรสู้ ึกของผู้อื่น เช่น พูดหรอื แสดงความเห็นอกเห็นใจเขา้ ช่วยเหลือ
มือ - ส่งเสรมิ หรือช้แี นะให้ผู้เรียนรสู้ ึกเหน็ ใจแนะนำให้ผู้เรียน
ทาน แสดงความห่วงใยด้วยการพูด และชี้ใหเ้ หน็ ผลของการ
ทบาทสมมตุ ิ กระทำดีของเด็ก

ำงานโดยใช้รูปภาพแสดง - ผู้สอนฝึกให้ผู้เรยี นร้จู กั การทำงานเป็นขน้ั ตอนผ่านการ
เลน่ เชน่ จิ๊กซอว์รปู ภาพสัตวห์ รือรูปผลไม้
ำงานที่ได้รับมอบหมายตาม - ผสู้ อนฝกึ ให้ผเู้ รยี นรจู้ ักหน้าทีข่ องตนเองโดยการเก็บ
น ของเลน่ เข้าที่หลงั เลน่ เสรจ็
- ผูส้ อนฝกึ ให้ผู้เรียนรจู้ ักชว่ ยเหลืองานบา้ น โดยมี
ผู้ปกครองคอยชี้แนะ

ประสบการณส์ ำคญั ที่ควรสง่

๑. การรับรอู้ ารมณ์หรือความรู้สึกของตนเอง
๒. การแสดงอารมณท์ ีเ่ ป็นสุข
๓. การควบคมุ อารมณ์ และการแสดงออก
๔. การเล่นอสิ ระ
๕. การเล่นบทบาทสมมติ
๖. การชน่ื ชมธรรมชาติ
๗. การเพาะปลูกอยา่ งงา่ ย
๘. การเลยี้ งสัตว์
๙. การฟงั นิทาน
๑๐. การรอ้ งเพลง
๑๑. การทอ่ งคำคล้องจอง
๑๒. การทำกิจกรรมศลิ ปะตา่ ง ๆ ตามความสนใจ

88

งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ

๑.๓ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับส

กจิ กรรมตา่ ง ๆ ผ่านการเรยี นรู้ทางสงั คม เช่น การเลน่ การทางานกบั ผู้อ่ืน การปฏบิ

มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวิต และปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพีย

มาตรฐานที่ ๖ มที กั ษะชีวิต และปฏิบตั

อายุพัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ

ตัวบง่ ช้ี ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกิจวตั รประจำวัน

แรกเกิด – ๓ ปี ๑. ต้องการถือขวดนมด้วยตนเอง - การชว่ ยเหลอื ตนเองใน

๒. ด่ืมน้ำจากแกว้ - การช่วยเหลือตนเองใน

๓. เค้ยี ว และกลนื อาหารไดด้ ้วย - การชว่ ยเหลือตนเองใน
ตนเอง

๔. หยิบอาหารกนิ ได้ - การช่วยเหลือตนเองใน

89

สนุนให้เด็กได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัวจากการปฏิบัติ

บตั ิกจิ วตั รประจำวนั การแกป้ ัญหาขอ้ ขัดแย้งตา่ ง ๆ

ยง

ติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ณ์สำคญั แนวทางการจัดกจิ กรรม

นชีวิตประจำวัน ๑. ผ้สู อนเลอื กขวดนมท่ีมีหูจบั สองข้าง
นชีวิตประจำวนั ๒. ผู้สอนจบั มอื ผู้เรียนใหจ้ ับท่หี ูขวดนมใหม้ ่ันคง และถนดั มอื
๓. ผู้สอนจับมอื ผู้เรียนยกขวดนมขึน้ มาจรดริมฝปี าก ยกขวดนมขึ้น
นชีวิตประจำวัน
นชีวติ ประจำวัน ดมื่ นม วางขวดลง
๔. ผสู้ อนลดความช่วยเหลือลงเมอ่ื ผเู้ รียนทำได้

๑. ผสู้ อนเลอื กแกว้ พลาสตกิ ที่มหี ูจบั สองข้าง
๒. ผู้สอนจับมือผู้เรียนให้จับที่หูของแก้วพลาสติกให้มั่นคง และ

ถนัดมอื
๓. ผู้สอนจบั มอื ผ้เู รียนยกแกว้ ข้นึ มาจรดรมิ ฝีปาก ยกแก้วข้ึน ดื่มน้ำ

วางแก้วลง
๔. ผสู้ อนลดความช่วยเหลือลงเมื่อผูเ้ รยี นทำได้

๑. ผู้สอนฝกึ ใหผ้ ู้เรียนขยบั ขากรรไกรทางซา้ ย-ขวา และขบฟนั
๒. ผสู้ อนฝกึ ใชอ้ าหารท่ีแข็งขึน้ เชน่ ขนมปงั ชิน้ เลก็ ๆ ข้าวสวย
๓. ผสู้ อนฝึกใหผ้ เู้ รยี นเคยี้ วอาหารใหล้ ะเอียดแลว้ กลืนอาหาร เช่น

ข้าว กล้วย เป็นตน้

๑. ผูส้ อนเตรยี มอาหารชนิ้ เลก็ ๆ ทผ่ี ู้เรยี นชอบ เช่น ขนมปงั ขา้ ว คกุ กี้
๒. ผูส้ อนสาธติ การใชม้ ือหยบิ อาหารใสป่ ากใหผ้ ู้เรียนดเู ปน็ ตวั อย่าง
๓. ผู้สอนหยบิ ขนมใสม่ ือผู้เรยี น แลว้ ให้ผู้เรียนนำเอาขนมเขา้ ปาก

มาตรฐานที่ ๖ มที กั ษะชีวิต และปฏิบตั

อายุพัฒนาการ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ประสบการณ

๕. ใชช้ อ้ นตกั อาหารเขา้ ปาก แต่ - การช่วยเหลอื ตนเองใน
ตกหล่นบ้าง

๖. ถอดเส้ือผา้ ง่าย ๆ ได้ - การชว่ ยเหลือตนเองใน

๗. สวมเสอื้ ผ้าโดยมีคนช่วย - การช่วยเหลอื ตนเองใน

๘. ให้ความร่วมมือเวลาแตง่ ตวั - การช่วยเหลอื ตนเองใน

๙. ช่วยเหลอื ตนเองในการแปรง - การชว่ ยเหลือตนเองใน
ฟนั ล้างมือ โดยมีผู้ใหญด่ แู ล

90

ตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ณส์ ำคญั แนวทางการจดั กิจกรรม

๔. ผู้สอนให้ผ้เู รยี นใชม้ อื หยิบอาหารเข้าปากเอง

นชวี ติ ประจำวัน ๑. ผสู้ อนแนะนำให้ผเู้ รยี นรู้จักช้อน และวธิ กี ารจับช้อนที่ถกู ตอ้ ง

๒. เมื่อผู้เรียนจับช้อนได้ ผู้สอนช่วยเหลอื โดยการประคองหรือจบั ที่

ขอ้ มือยน่ื ไปทจ่ี านอาหาร พร้อมตกั อาหารข้ึนมาเข้าปาก

๓. ผูส้ อนลดความชว่ ยเหลอื ให้ผู้เรยี นใช้ชอ้ นตกั อาหารขนึ้ มาด้วย

ตนเอง

นชวี ิตประจำวัน ๑. ผู้สอนแนะนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของเสื้อผ้า เช่น เสื้อยืดคอกลม

กางเกงเอวยดื ด้านหนา้ ด้านหลงั ดา้ นใน และนอก เปน็ ต้น

๒. ผสู้ อนถอดเสอ้ื ผ้าใหผ้ ้เู รียน

๓. ผ้สู อนใหผ้ ูเ้ รียนใช้มือสองข้างจบั ทชี่ ายเสื้อยืดจากน้ันดึงชายเส้ือ

ขน้ึ จนพ้นศรี ษะจับเอวกางเกงแล้วดึงลง

๔. ผู้สอนลดความชว่ ยเหลือลงเม่อื ผู้เรยี นทำได้

นชวี ติ ประจำวนั ๑. ผสู้ อนสวมเสือ้ ผา้ ให้ผเู้ รียน

๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนสอดแขนเข้าไปในเสื้อทีละข้าง แล้วให้ผู้เรียนดึง

ชายเสอ้ื ลง จบั เอวกางเกงแลว้ ดึงข้ึน จัดให้เรียบรอ้ ย

๓. ผู้สอนลดความชว่ ยเหลือลงเมอ่ื ผู้เรียนทำได้

นชีวติ ประจำวัน ๑. ผู้สอนนำเส้อื และกางเกงมาใหผ้ เู้ รยี น

๒. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนใชม้ ือสองขา้ งจับเส้ือยืดจากนน้ั ดงึ ชายเสื้อขึ้นจน

พน้ ศีรษะ จับเอวกางเกงแลว้ ดงึ ขึ้น

๓. ผู้สอนลดความชว่ ยเหลอื ลงเม่ือผ้เู รยี นทำได้

นชีวิตประจำวัน ๑. ผู้สอนแนะนำอุปกรณ์ในการล้างมือ และการแปรงฟัน เช่น สบู่

แปรงสีฟนั ยาสีฟนั แกว้ นำ้ เปน็ ตน้

มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวติ และปฏบิ ตั

อายุพัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ

- การปฏบิ ตั ติ ามสขุ อนา

กิจวตั รประจำวนั

๑๐. บอกไดว้ ่าตนเองขับถ่าย - การช่วยเหลอื ตนเองใน
- การปฏบิ ตั ติ ามสขุ อนา
กิจวตั รประจำวัน

๑๑. ชว่ ยเหลอื งานบ้านงา่ ย ๆ ได้ - การชว่ ยเหลอื ตนเองใน

๓ – ๔ ปี 1. ถอดเสอื้ ผา้ ได้ - การช่วยเหลอื ตนเองใน

91

ตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ณส์ ำคญั แนวทางการจัดกิจกรรม

ามัย สุขนิสยั ใน ๒. จัดเตรียมสบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟันให้ผู้เรียน โดยมีครูคอยดูแล

และแนะนำขน้ั ตอนในการลา้ งมอื และการแปรงฟัน

๓. ผสู้ อนลดความช่วยเหลอื ลงเมอ่ื ผูเ้ รียนทำได้

นชวี ติ ประจำวัน ๑. ผู้สอนแนะนำสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของห้องน้ำ เช่น รูปผู้หญิง รูป

ามัย สุขนิสัยใน ผ้ชู าย เป็นตน้

๒. ผู้สอนอธิบายวิธีการไปเข้าห้องน้ำในที่ต่าง ๆ เช่น ที่บ้าน

โรงเรียน เปน็ ต้น

๓. ผู้สอนแนะนำอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องนำ้ เชน่ โถส้วม ขนั น้ำ ก๊อก

นำ้ สายฉีด อา่ งนำ้

๔. ผู้สอนสังเกตทา่ ทาง ขณะทผ่ี ้เู รยี นตอ้ งการจะขบั ถ่าย

๕. ผู้สอนถามความต้องการในการขับถ่าย ในขณะที่ผู้เรียนแสดง

ท่าทางต้องการขบั ถา่ ย เช่น จับหนา้ ท้องชีไ้ ปท่หี ้องนำ้ ช้ีบอก จูง

มือพาไปห้องน้ำ

นชวี ติ ประจำวนั ๑. ผสู้ อนสาธติ การเกบ็ สงิ่ ของเขา้ ท่ี
นชีวิตประจำวัน ๒. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นเก็บของเช้าท่ี โดยมีผสู้ อนคอยกระตุ้น
๓. ผ้สู อนให้ผู้เรียนเกบ็ ของเขา้ ทดี่ ้วยตนเอง

๑. ผู้สอนแนะนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของเสื้อผ้า เช่น เสื้อคอปกมี
กระดุม กางเกงแบบมีตะขอ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านใน และ
นอก เป็นต้น

๒. ผสู้ อนถอดเส้ือผ้าให้ผู้เรยี น

มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัต

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณ

2. สวมเสอ้ื ผ้าด้วยตนเอง - การช่วยเหลือตนเองใน

3. ช่วยเหลอื ตนเองในการแปรง - การชว่ ยเหลอื ตนเองใน
ฟนั ลา้ งมือ โดยมผี ู้ใหญด่ แู ล

4. บอกได้ว่าตนเองขบั ถา่ ย - การช่วยเหลอื ตนเองใน

92

ติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือสองข้างจับที่ชายเสื้อยืด จากนั้นดึง

ชายเสอ้ื ขน้ึ จนพ้นศรี ษะจบั เอวกางเกงแล้วดงึ ลง

๔. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมอื่ ผ้เู รยี นทำได้

นชีวิตประจำวัน ๑. ผู้สอนสาธิตการสวมเส้ือผ้าให้ผเู้ รียน

๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนสอดแขนเข้าไปในเสื้อทีละข้าง แล้วให้ผู้เรียนดึง

ชายเส้อื ลง จบั เอวกางเกงแลว้ ดึงขน้ึ จดั ให้เรียบรอ้ ย

๓. ผสู้ อนลดความช่วยเหลือลงเม่ือผ้เู รียนทำได้

นชีวติ ประจำวนั ๑. ผู้สอนแนะนำอุปกรณ์ในการล้างมือ และการแปรงฟัน เช่น สบ

แปรงสีฟนั ยาสีฟนั แก้วน้ำ เป็นต้น

๒. จัดเตรียมสบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟันให้ผู้เรียน โดยมีครูคอยดูแล

และแนะนำข้ันตอนในการล้างมอื และการแปรงฟนั

๓. ผ้สู อนลดความชว่ ยเหลือลงเมื่อผเู้ รียนทำได้

นชีวิตประจำวัน ๑. ผู้สอนแนะนำสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของห้องน้ำ เช่น รูปผู้หญิง รูป
ผู้ชาย เป็นต้น

๒. ผู้สอนอธิบายวิธีการไปเข้าห้องน้ำในที่ต่าง ๆ เช่น ที่บ้าน
โรงเรยี น เป็นต้น

๓. ผสู้ อนแนะนำอปุ กรณ์ต่าง ๆ ในห้องนำ้ เช่น โถสว้ ม ขันน้ำ ก๊อก
นำ้ สายฉดี อา่ งนำ้

๔. ผูส้ อนสงั เกตท่าทาง ขณะท่ผี เู้ รียนต้องการจะขับถ่าย

มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวิต และปฏิบตั

อายุพัฒนาการ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณ

5. ช่วยเหลืองานบา้ นงา่ ย ๆ ได้ - การช่วยเหลอื ตนเองใน

๔– ๕ ปี 1. ถอดเสือ้ ผา้ ได้ - การชว่ ยเหลือตนเองใน

2. สวมเส้ือผ้าด้วยตนเอง - การช่วยเหลือตนเองใน

3. ชว่ ยเหลอื ตนเองในการแปรง - การช่วยเหลือตนเองใน
ฟนั ล้างมือ ไดด้ ้วยตนเอง

93

ติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ณส์ ำคญั แนวทางการจัดกิจกรรม

๕. ผู้สอนถามความต้องการในการขับถ่าย ในขณะที่ผู้เรียนแสดง

ท่าทางตอ้ งการขบั ถ่าย เช่น จับหน้าท้องชี้ไปที่หอ้ งน้ำ ชี้บอก จูง

มอื พาไปหอ้ งน้ำ

นชีวติ ประจำวัน ๑. ผูส้ อนสาธติ การเกบ็ สง่ิ ของเขา้ ที่ กวาดบ้าน

๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเก็บของเช้าที่ และกวาดบ้าน โดยมีผู้สอนคอย

กระตุ้น

๓. ผ้สู อนใหผ้ เู้ รยี นเก็บของเขา้ ที่ และกวาดบา้ นดว้ ยตนเอง

นชีวติ ประจำวนั ๑. ผู้สอนแนะนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของเสื้อผ้า เช่น เสื้อคอปกมี

กระดุม กางเกงแบบมีตะขอ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านใน และ

นอก เป็นต้น

๒. ผู้สอนถอดเสื้อผ้าให้ผู้เรียน ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือสองข้างจับที่

ชายเสื้อยืด จากนั้นดึงชายเสื้อขึ้นจนพ้นศีรษะจับเอวกางเกงแล้ว

ดึงลง ผูส้ อนลดความชว่ ยเหลือลงเมื่อผเู้ รยี นทำได้

นชวี ติ ประจำวัน ๑. ผสู้ อนสาธิตการสวมเสอ้ื ผา้ ให้ผ้เู รยี น

๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนสอดแขนเข้าไปในเสื้อทีละข้าง แล้วให้ผู้เรียนดึง

ชายเส้อื ลง จบั เอวกางเกงแลว้ ดงึ ขนึ้ จดั ใหเ้ รียบร้อย

๓. ผ้สู อนลดความชว่ ยเหลอื ลงเมอ่ื ผเู้ รียนทำได้

นชวี ิตประจำวัน ๑. ผูส้ อนอธบิ ายขั้นตอนการลา้ งมอื และแปรงฟัน

๒. จดั เตรียมสบู่ ยาสฟี ัน แปรงสฟี นั ให้ผู้เรยี น

๓. ผสู้ อนแนะนำการเกบ็ อุปกรณ์ให้เป็นระเบียบ

๔. ผสู้ อนดแู ลอยหู่ ่าง ๆ

มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัต

อายุพัฒนาการ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบการณ

4. ชว่ ยเหลืองานบา้ นไดด้ ้วย - การช่วยเหลือตนเองใน

ตนเอง

๕– ๖ ปี 1. แตง่ ตัวด้วยตนเองได้ และ - การชว่ ยเหลอื ตนเองใน
คล่องแคลว่

๒. ช่วยเหลือตนเองในการแปรง - การช่วยเหลือตนเองใน
ฟัน ลา้ งมือ ได้ด้วยตนเอง

๓. ช่วยเหลืองานบา้ นได้ดว้ ย - การชว่ ยเหลอื ตนเองใน
ตนเอง

ตัวบ่งช้ี ๖.๒ มีวนิ ัยในตนเอง - การร่วมกำหนดข้อตกล
- การปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาช
๓ – ๔ ปี ๑. เก็บของเล่น ของใชเ้ ข้าท่ี เมอื่ หอ้ งเรยี น
มีผชู้ ้ีแนะ - การเลน่ ตามมุมประสบ

94

ตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ณ์สำคัญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

นชีวติ ประจำวนั ๑. ผสู้ อนสาธิตการเก็บส่ิงของเข้าท่ี กวาดบา้ น ถูบ้าน รดนำ้ ต้นไม้

๒. ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนเกบ็ ของเช้าท่ี กวาดบา้ น ถูบ้าน และรดน้ำต้นไม้

โดยมผี ู้สอนคอยกระต้นุ

๓. ผู้สอนให้ผู้เรยี นเก็บของเข้าท่ีกวาดบ้าน ถูบ้าน และรดน้ำต้นไม้

ด้วยตนเอง

นชวี ติ ประจำวนั ๑. ผู้สอนนำเสื้อ และกางเกงมาใหผ้ ู้เรียน

๒. ผู้สอนอธบิ ายการแต่งตวั

๓. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นแต่งตัวดว้ ยตนเอง

นชวี ติ ประจำวนั ๑. ผู้สอนอธิบายขน้ั ตอนการล้างมอื แปรงฟัน

๒. จดั เตรียมสบู่ ยาสีฟัน แปรงสฟี นั ใหผ้ ู้เรยี น

๓. ผสู้ อนแนะนำการเก็บอปุ กรณ์ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ

๔. ผ้สู อนดแู ลอยหู่ า่ ง ๆ

นชวี ติ ประจำวัน ๑. ผู้สอนสาธิตการเก็บสิ่งของเข้าที่ กวาดบ้าน ถูบ้าน รดน้ำต้นไม้

และการพับผา้

๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนเก็บของเช้าที่ กวาดบ้าน ถูบ้าน รดน้ำต้นไม้

และการพบั ผา้ โดยมีผสู้ อนคอยกระตุน้

๓. ผ้สู อนใหผ้ ูเ้ รียนทำงานบ้านด้วยตนเอง

ลงของห้องเรียน ๑. ผสู้ อนสาธติ การเกบ็ สง่ิ ของเขา้ ท่ี
ชิกท่ีดีของ ๒. ผ้สู อนให้ผ้เู รยี นเกบ็ ของเข้าที่ โดยมผี สู้ อนคอยกระต้นุ
๓. ผู้สอนลดความชว่ ยเหลือลงเมอ่ื ผ้เู รยี นทำได้
บการณ์

มาตรฐานที่ ๖ มที กั ษะชีวติ และปฏบิ ตั

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ

- การเล่นอสิ ระ

๒. เขา้ แถวตามลำดบั ก่อน-หลัง - การให้ความร่วมมือในก

ได้ด้วยตนเอง กจิ กรรมต่าง ๆ

๔– ๕ ปี ๑. เกบ็ ของเล่น ของใชเ้ ข้าทดี่ ้วย -การรว่ มกำหนดข้อตกลงขอ
ตนเอง -การปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกท
- การเลน่ ตามมุมประสบ
๒. เข้าแถวตามลำดับก่อน-หลัง - การเล่นอสิ ระ
ไดด้ ว้ ยตนเอง
- การใหค้ วามร่วมมือในก
กิจกรรมตา่ ง ๆ

๕– ๖ ปี ๑. เกบ็ ของเล่น ของใชเ้ ข้าที่อยา่ ง - การรว่ มกำหนดข้อตกล

เรียบรอ้ ยดว้ ยตนเอง - การปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาช

ห้องเรียน

- การเล่นตามมมุ ประสบ

- การเล่นอสิ ระ

๒. เข้าแถวตามลำดับก่อน-หลัง - การให้ความร่วมมือในก

ไดด้ ว้ ยตนเอง กจิ กรรมตา่ ง ๆ

95

ตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ณ์สำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

การปฏิบตั ิ ๑. ผู้สอนอธิบายพร้อมสาธติ การเข้าแถว
๒. ผู้สอนให้ผูเ้ รียนเข้าแถวโดยมีผูส้ อนคอยกระตุ้น และจัดระเบียบ
องหอ้ งเรยี น
ท่ดี ีของห้องเรยี น แถว
บการณ์ ๓. ผสู้ อนลดความชว่ ยเหลอื ลงเมือ่ ผูเ้ รียนทำได้

๑. ผู้สอนสาธิตการเก็บสิง่ ของเขา้ ที่
๒. ผู้สอนให้ผู้เรยี นเกบ็ ของเข้าท่ี โดยมผี ู้สอนคอยกระตุ้น
๓. ผู้สอนลดความชว่ ยเหลอื ลงเมือ่ ผเู้ รียนทำได้

การปฏิบัติ ๑. ผู้สอนอธิบายพรอ้ มสาธติ การเขา้ แถว
๒. ผ้สู อนใหผ้ ้เู รยี นเขา้ แถว โดยมผี สู้ อนคอยกระตุ้น และจดั ระเบียบ
ลงของหอ้ งเรียน
ชิกทีด่ ีของ แถว
๓. ผู้สอนลดความชว่ ยเหลอื ลงเมื่อผเู้ รียนทำได้

๑. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนเก็บของเขา้ ท่ี โดยมีผสู้ อนคอยกระต้นุ
๒. ผู้สอนลดความช่วยเหลือลงเมอ่ื ผูเ้ รยี นทำได้

บการณ์

การปฏิบตั ิ ๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเข้าแถวโดยมผี ู้สอนคอยกระตุ้น และจัดระเบียบ
แถว

๒. ผ้สู อนลดความชว่ ยเหลือลงเมื่อผเู้ รยี นทำได้

มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวิต และปฏิบตั

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ประสบการณ

ตัวบง่ ช้ี ๖.๓ ประหยัด และพอเพียง

๓ – ๔ ปี - ใช้สิง่ ของเครื่องใช้อยา่ ง - ปฏบิ ัติตนตามแนวทาง

ประหยัด และพอเพียงเม่อื มผี ู้ เศรษฐกจิ พอเพียง

ชี้แนะ - การใช้วัสดุ และสง่ิ ของ

- การทำงานศลิ ปะทน่ี ำว

เครอ่ื งใชท้ ่ีใชแ้ ล้วนำมาใช

แล้วนำกลับมาใช้ใหม่

๔– ๕ ปี - ใช้สิ่งของเคร่ืองใช้อย่าง - ปฏิบตั ติ นตามแนวทาง

ประหยดั และพอเพยี งเมอ่ื มผี ู้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ช้แี นะ - การใช้วัสดุ และสิ่งของ

- การทำงานศิลปะทนี่ ำว

เครือ่ งใชท้ ่ีใชแ้ ลว้ นำมาใช

แลว้ นำกลับมาใชใ้ หม่

๕– ๖ ปี - ใช้สิ่งของเครื่องใช้อยา่ ง - ปฏิบตั ติ นตามแนวทาง
ประหยดั และพอเพยี งด้วย เศรษฐกิจพอเพียง
ตนเอง - การใชว้ ัสดุ และส่ิงของ
- การทำงานศิลปะทนี่ ำว
เคร่อื งใชท้ ่ีใชแ้ ล้วนำมาใช
แลว้ นำกลบั มาใช้ใหม่

96

ตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ณ์สำคญั แนวทางการจดั กิจกรรม

งหลกั ปรชั ญา ๑. ผูส้ อนนำนิทานส่งเสรมิ ลักษณะนสิ ัยเศรษฐกจิ พอเพยี งเรอ่ื งว่าน

ผนู้ ่ารกั มาใหผ้ เู้ รียนดหู น้าปก และเล่านิทาน เศรษฐกิจพอเพยี ง”

งอยา่ งคุ้มคา่ เร่อื งว่านผูน้ า่ รกั ”

วัสดุ หรอื สิ่งของ ๒. ผู้สอนให้ผูเ้ รยี นระบายสีภาพนิทานจากวัสดธุ รรมชาติ เช่น สีม่วง

ชซ้ ำ้ หรือแปรรูป จากอัญชัน สีแดงจากดอกชบา เป็นต้น

งหลกั ปรัชญา 1. ผสู้ อน และผู้เรยี นรว่ มกนั ประดษิ ฐก์ ระปุกออมสนิ จากเศษวสั ดุ
(ขวดน้ำเปล่า) เพ่ือนำไปใชใ้ นกจิ กรรมการออม
งอยา่ งคมุ้ คา่
วสั ดุ หรือส่ิงของ 2. ผู้สอนสาธิตวิธีทำกระปกุ ออมสนิ จากขวดนำ้ พลาสติก
ชซ้ ้ำ หรือแปรรปู 3. ผสู้ อนพาผเู้ รยี นตดั กระดาษทำเปน็ กระโปรงตุ๊กตาฮาวาย
4. เดก็ นำกระโปรงฮาวายไปติดบนขวดน้ำ
งหลกั ปรชั ญา 5. เดก็ นำเสนอผลงานกระปุกออมสินของตนเอง และวาดภาพ

งอย่างค้มุ ค่า อิสระโดยมคี รูคอยช้แี นะ
วสั ดุ หรือส่งิ ของ 6. เกบ็ อปุ กรณ์ และทำความสะอาด
ชซ้ ้ำ หรือแปรรปู
1. ผู้สอน และผูเ้ รยี นร่วมกนั ประดษิ ฐ์กระปุกออมสินจากเศษวัสดุ
(ขวดน้ำเปลา่ ) เพอื่ นำไปใช้ในกิจกรรมการออม

2. ผู้สอนสาธติ วิธีทำกระปกุ ออมสนิ จากขวดนำ้ พลาสติก
3. ผู้สอนพาผเู้ รียนตัดกระดาษทำเป็นกระโปรงตุ๊กตาฮาวาย
4. เด็กนำกระโปรงฮาวายไปติดบนขวดนำ้
5. เดก็ นำเสนอผลงานกระปุกออมสินของตนเอง และวาดภาพ

อสิ ระดว้ ยตนเอง เกบ็ อปุ กรณ์ และทำความสะอาด

มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิง่ แ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบกา

ตัวบ่งช้ี ๗.๑ สนใจ และเรียนร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว

แรกเกิด – ๓ ปี - สนใจมองใบหน้าคนมากกว่า - สนใจ และเรยี นรู้สิ่งตา่

ส่ิงของ และกรอกตาตามสิ่งของ

หรือส่งิ ทม่ี ีเสียง

๓ – ๔ ปี - อยากเรยี นรูส้ ง่ิ ตา่ ง ๆ และถาม - สนใจ และเรียนร้สู ง่ิ ตา่
บอ่ ยถามซำ้

๔– ๕ ปี - สำรวจสงิ่ ของ โดยใช้หลาย ๆ - สนใจ และเรยี นรู้สิ่งตา่
วิธี
- เรมิ่ รจู้ กั สง่ิ ของในชวี ติ ประจำวัน

97

แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย

ารณ์สำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

าง ๆ รอบตวั 1. ใช้หนา้ เสียงของพ่อแม่ ผ้ปู กครองหรือผ้ดู ูแลเด็กพูดคุยกับ
าง ๆ รอบตัว เด็กตรงหน้าเด็ก เมื่อเด็กมองตามค่อย ๆ เคลื่อนหน้าพ่อแม่
าง ๆ รอบตวั ผู้ปกครอง ผู้สอน ขึ้นด้านบนเพื่อให้เด็กสนยกศีรษะโดยมียัน
พน้ื ไว้แขนเหยียดตรงและหนา้ อกพน้ พ้ืน
2.ฝกึ เพ่มิ เติมโดยใชข้ องเล่นทมี่ ีสีสนั สดใสกระตุน้ ให้เด็กสนใจ
และมองตาม

1.คำถามใหเ้ ด็กบ่อย เชน่ “นี่อะไร” “ร้องเพลง””หนังสืออยู่
ทไ่ี หน” “ทำไมตอ้ งไป” ในชวี ิตประจำวัน
2.เมอื่ เด็กถามใหต้ อบเด็กทุกคร้ังดว้ ยความเอาใจใส่ และ
พูดคุยกบั เด็กในเรอื่ งที่เดก็ ถาม
3.อา่ นนิทานให้เด็กฟงั ต้ังคำถามจากเนื้อเร่ืองในนิทานให้เดก็
ตอบ และกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ เป็นผู้ถาม

1.สอนให้เด็กรู้จักสิ่งของที่มีอยู่ในบ้าน เช่น ผัก ผลไม้ เสื้อผ้า
ของใช้ โดยพดู บอกเด็กในสิ่งของนั้นแลว้ ให้เด็กพูดตาม
๒. ผูส้ อนให้ผู้เรียนเลน่ ในสภาพแวดล้อมรอบตวั เชน่ การเล่น
เอามือตนี ำ้ การก่อทราย การป้นั ดนิ
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นสิ่งของตามประโยชน์ของสิ่งของ เช่น
หวี ช้อน

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แ

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบกา

๕– ๖ ปี - จดจ่อสิ่งใดสง่ิ หนึง่ ไดย้ าวนาน - สนใจ และเรียนรู้สิง่ ตา่

ตัวบ่งช้ี ๗.๒ ดูแลรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - มสี ่วนรว่ มดแู ลรักษาธร
ท้ังภายในและภายนอกห
๓ – ๔ ปี - มีส่วนรว่ มดูแลรักษาธรรมชาติ - การเพาะปลูก และดแู ล
และสง่ิ แวดล้อมเม่ือมผี ชู้ ้ีแนะ - การดแู ลห้องเรียนรว่ ม
- ทงิ้ ขยะไดถ้ ูกที่
- มีส่วนรว่ มดแู ลรักษาธร
๔– ๕ ปี - มีสว่ นรว่ มดแู ลรักษาธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ท้ังภายใน แ
และสงิ่ แวดล้อมเม่ือมีผู้ชี้แนะ - การเพาะปลกู และดแู ล
- ทิ้งขยะได้ถูกที่ - การดแู ลหอ้ งเรียนรว่ ม

98

แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย

ารณ์สำคญั แนวทางการจดั กิจกรรม

าง ๆ รอบตัว 1. พูดคุย เล่านิทานให้เด็กฟัง ชวนเด็กพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่

เล่าให้เด็กพูดถึงสิ่งที่ชอบในเรื่องนั้น โดยพ่อแม่ ผู้ปกครอง

สรปุ ใจความวา่ เปน็ เรื่องอะไร ใครทำอะไร ทไี่ หน อยา่ งไร

2. ให้เด็กเล่าเรื่องนั้นให้กับคนในครอบครัวฟัง โดยผู้ใหญ่

แสดงความสนใจฟัง และชวนพูดคุยขยายความต่อยอด หรือ

ซักถามเด็กเพิ่มเติมเพื่อให้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น

แลกเปล่ยี นกัน

3.เลือกนิทานที่มีเนื้อหาน่าสนใจ ชวนให้เกิดความคิด

สรา้ งสรรค์ปลกู ฝงั คุณธรรม และการนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั

เป็นการฝึกทักษะสมองในด้านบริหารจัดการ(EF) ในขณะที่

ส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษาโดยเฉพาะการรู้จักฟังให้ได้

ใจความ เช่น นิทานในสวน พระราชาใจดี ตัก๊ แตนผซู้ อื่ สัตย์

รรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ชวนเดก็ ทำกิจกรรมโดยการลงมือปฏิบัตเิ ชน่ ปลกู ตน้ ไม้ รดน้ำ

ห้องเรียน ตน้ ไม้ เก็บขยะ ทำความสะอาดห้อง

ลต้นไม้

กัน

รรมชาติ และ ชวนเดก็ ทำกิจกรรมโดยการลงมอื ปฏิบตั เิ ชน่ ปลูกตน้ ไม้ รดน้ำ

และภายนอกห้องเรยี น ต้นไม้ เก็บขยะ ทำความสะอาดหอ้ ง

ลตน้ ไม้

กัน

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แ

อายุพัฒนาการ สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบกา
๕– ๖ ปี
- มีส่วนร่วมดแู ลรกั ษาธรรมชาติ - มีสว่ นรว่ มดูแลรกั ษาธร

และส่งิ แวดล้อมเม่ือมผี ูช้ แี้ นะ ส่ิงแวดล้อม ทงั้ ภายใน แ

- ทิ้งขยะไดถ้ ูกท่ีดว้ ยตนเอง - การเพาะปลกู และดแู ล

- การดแู ลหอ้ งเรยี นร่วม

ตัวบง่ ช้ี ๗.๓ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย และรักความเป็นไทย

๓ – ๔ ปี - ปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยเมื่อ - การปฏิบตั ิตามวฒั นธร

มผี ชู้ แี้ นะ ความเป็นไทย

- กลา่ วคำขอบคุณ และขอโทษ - การเล่นบทบาทสมมติ

เม่อื มผี ชู้ ี้แนะ เป็นไทย

- การเล่นเป็นรายบคุ คล

๔– ๕ ปี - ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยด้วย - การปฏบิ ัตติ ามวฒั นธร

ตนเอง ความเป็นไทย

- กลา่ วคำขอบคณุ และขอโทษ - การเลน่ บทบาทสมมติ

ดว้ ยตนเอง เปน็ ไทย

- การเล่นเปน็ รายบคุ คล

๕– ๖ ปี - ปฏิบตั ิตนตามมารยาทไทยตาม - การปฏบิ ัตติ ามวัฒนธร

กาลเทศะ ความเป็นไทย

- กลา่ วคำขอบคุณ และขอโทษ - การเลน่ บทบาทสมมติ

ด้วยตนเอง เป็นไทย

- การเลน่ เปน็ รายบคุ คล

99

แวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย

ารณ์สำคญั แนวทางการจัดกิจกรรม

รรมชาติ และ ชวนเด็กทำกิจกรรมโดยการลงมอื ปฏบิ ัติ เชน่ ปลูกต้นไม้ รด

และภายนอกห้องเรียน นำ้ ต้นไม้ เก็บขยะ ทำความสะอาดห้อง

ลตน้ ไม้

กัน

รรมท้องถน่ิ ทอ่ี าศัย และ นำเดก็ ทำกิจกรรมง่าย ๆ เล่นการเลน่ พนื้ บ้านของไทย เช่น
มอญซ่อนผ้า รีรขี ้าวสาร งูกินหาง เลน่ วา่ ว เป่ากบ

การปฏิบัตติ นในความ

ล กลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มใหญ่ นำเดก็ ทำกิจกรรมงา่ ย ๆ เลน่ การเลน่ พน้ื บ้านของไทย เชน่
รรมท้องถ่นิ ทอ่ี าศยั และ มอญซ่อนผ้า รรี ขี า้ วสาร งูกนิ หาง เล่นวา่ ว เป่ากบ

การปฏิบตั ิตนในความ

ล กลมุ่ ย่อย กลุม่ ใหญ่ นำเดก็ ทำกจิ กรรมงา่ ย ๆ เล่นการเลน่ พ้ืนบ้านของไทย เช่น
รรมท้องถนิ่ ทอ่ี าศยั และ มอญซ่อนผ้า รีรขี ้าวสาร งูกินหาง เล่นว่าว เปา่ กบ

การปฏบิ ัตติ นในความ

ล กลมุ่ ย่อย กลมุ่ ใหญ่

มาตรฐานที่ ๘ อยู่รว่ มกับผู้อื่นได้อยา่ งมีความสขุ และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ดี ีข

มาตรฐานที่ ๘ อย่รู ่วมกบั ผ้อู ่ืนได้อย่างมีความสขุ และปฏิบัตติ นเป็นสมา

อายุพัฒนาการ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบ

ตัวบ่งช้ี ๘.๑ ยอมรับความเหมือน และความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

๓ – ๔ ปี - เลน่ และทำกิจกรรมท่ีแตกต่าง - การใหค้ วามร่วมมือใ

ร่วมกบั เด็กท่ีแตกต่างไปจากตน - การเลน่ หรือทำกจิ กร

๔– ๕ ปี - เล่น และทำกิจกรรมทแ่ี ตกต่าง - การให้ความร่วมมือใ

ร่วมกบั เด็กที่แตกตา่ งไปจากตน - การเล่นหรอื ทำกิจกร

๕– ๖ ปี - เล่น และทำกจิ กรรมทแ่ี ตกต่าง - การใหค้ วามร่วมมือใ

รว่ มกับเดก็ ท่ีแตกต่างไปจากตน - การเลน่ หรอื ทำกิจกร

ตวั บ่งชี้ ๘.๒ มปี ฏสิ ัมพันธท์ ่ีดกี ับผู้อ่นื

๓ – ๔ ปี ๑. เล่นรว่ มกบั เพือ่ น - การเล่น และทำงานร

- การร่วมกจิ กรรมวนั ส

- การฟัง และปฏิบัติตา

๔– ๕ ปี ๒. ยิ้มหรือทักทายผู้ใหญ่ และ - การเลน่ และทำงานร
บุคคลทีค่ นุ้ เคย เม่ือมผี ชู้ ้แี นะ - การร่วมกิจกรรมวนั ส
- การฟัง และปฏิบตั ิตา
๑. เลน่ หรอื ทำกิจกรรมร่วมกับ
เพื่อนเป็นกลมุ่ - การเล่น และทำงานร
- การรว่ มกิจกรรมวนั ส
- การฟงั และปฏิบตั ิตา

100

ของสงั คม ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

าชกิ ท่ีดีของสังคม ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ

บการณ์สำคญั แนวทางการจัดกจิ กรรม

ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นเล่น โดยนำผู้เรยี นไปรวมกบั เพื่อนแลว้ ให้

รรมร่วมกบั ผู้อื่น เลน่ อย่างอิสระโดยมกี ารพดู คุย แตะต้องตวั เป็นตน้

ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนเล่น โดยนำผ้เู รยี นไปรวมกับเพ่ือนแล้วให้

รรมรว่ มกบั ผอู้ ่ืน เลน่ อยา่ งอสิ ระ โดยมกี ารพูดคยุ แตะต้องตวั เป็นตน้

ในการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนเล่น โดยนำผู้เรียนไปรวมกับเพ่ือนแลว้ ให้

รรมรว่ มกบั ผ้อู ่นื เล่นอยา่ งอิสระ โดยมกี ารพูดคุย แตะต้องตัว เป็นตน้

ร่วมกับผ้อู น่ื ๑. ผ้สู อนให้ผู้เรยี นเลน่ เป็นกลุ่ม ๒-๓ คน โดยผลัดกันเล่น
สำคัญ ภายในกลุ่มที่มีผู้ใหญน่ ำการเล่นตามกฎกติกา
ามคำแนะนำ ๒. ผ้สู อนใหผ้ เู้ รยี นเลน่ เป็นกลุ่ม ๒-๓ คน โดยเลียนแบบ
เด็กอืน่ ในการเล่น
ร่วมกับผอู้ ืน่
สำคัญ ๑. ผ้สู อนใหผ้ เู้ รยี นแสดงพฤติกรรมทแี่ สดงออกถงึ การ
ามคำแนะนำ ทกั ทาย เช่น ฝึกการพดู “สวัสดี” หรอื ทกั ทายด้วยการ
ร่วมกบั ผอู้ ื่น ไหว้ตามผใู้ หญบ่ อก เป็นต้น
สำคญั
ามคำแนะนำ ๑. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นเล่นเป็นกลมุ่ ๒-๓ คน โดยผลัดกนั เล่น
ภายในกลุ่มทม่ี ีผใู้ หญ่นำการเล่นตามกฎกติกา
๒. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนเลน่ เป็นกลมุ่ ๒-๓ คน โดยเลยี นแบบ
เดก็ อ่นื ในการเลน่


Click to View FlipBook Version