The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-11-09 03:54:50

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข และปฏิบัตติ นเปน็ สมา

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบ

๒. ยิ้มหรือทกั ทายผู้ใหญ่ และ - การเล่น และทำงานร

บคุ คลทค่ี นุ้ เคยด้วยตนเอง - การร่วมกิจกรรมวนั ส

- การฟัง และปฏบิ ัติตา

๕– ๖ ปี ๑. เลน่ หรอื ทำกจิ กรรมรว่ มกับ - การเลน่ และทำงานร
เพอ่ื นอยา่ งมเี ปา้ หมาย - การร่วมกิจกรรมวันส
- การฟัง และปฏบิ ัติตา

๒. ย้ิมหรือทักทายผู้ใหญ่ และ - การเลน่ และทำงานร

บคุ คลทค่ี นุ้ เคยได้อยา่ งเหมาะสม - การรว่ มกิจกรรมวันส

กับสถานการณ์ - การฟัง และปฏบิ ัติตา

ตัวบง่ ช้ี ๘.๓ ปฏิบตั ิตนเบือ้ งตน้ ในการเป็นสมาชิกทดี่ ขี องสงั คม

๓ – ๔ ปี - ปฏบิ ัตติ นตามข้อตกลง เมื่อมีผู้ - การปฏบิ ัติตนเป็นสม

ช้แี นะ - การร่วมมือในการปฏ

๔– ๕ ปี - มีส่วนรว่ มสร้างข้อตกลง และ - การปฏบิ ตั ิตนเป็นสม
ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง เม่ือมผี ชู้ ้ีแนะ - การรว่ มมือในการปฏ

101

าชกิ ที่ดีของสังคม ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ

บการณส์ ำคญั แนวทางการจัดกิจกรรม

ร่วมกบั ผูอ้ นื่ ๑. ผู้สอนใหผ้ ้เู รียนแสดงพฤติกรรมท่แี สดงออกถงึ การ

สำคัญ ทักทาย เช่น ฝกึ การพดู “สวัสดี” หรือทักทายด้วยการ

ามคำแนะนำ ไหวต้ ามผูใ้ หญบ่ อก เปน็ ต้น

ร่วมกบั ผอู้ น่ื ๑. ผูส้ อนใหผ้ เู้ รียนเลน่ เป็นกล่มุ ๒-๓ คน โดยผลัดกนั เลน่
สำคัญ ภายในกลุ่มท่มี ผี ใู้ หญ่นำการเล่นตามกฎกติกา
ามคำแนะนำ ๒. ผู้สอนให้ผู้เรยี นเลน่ เป็นกลมุ่ ๒-๓ คน โดยเลียนแบบ
เด็กอน่ื ในการเลน่
ร่วมกบั ผู้อ่นื
สำคญั ๑. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนแสดงพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ การ
ามคำแนะนำ ทกั ทาย เชน่ ฝึกการพูด “สวัสดี” หรอื ทักทายด้วยการ
ไหวต้ ามผใู้ หญ่บอก เป็นตน้

มาชกิ ทดี่ ีของห้องเรียน 1.ผู้สอน และผู้เรยี นสนทนาเกยี่ วกบั การปฏิบตั ติ นเม่อื อยู่
ฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในหอ้ งเรยี น เชน่ ไม่พดู เสยี งดังเวลาครสู อน เมื่อจะออก
จากหอ้ งเรียนต้องบอกคณุ ครู
มาชกิ ทีด่ ีของห้องเรยี น 2.ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลงท่ีครูกำหนดโดยมีครคู อยชี้แนะ
ฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ
1.ผูส้ อน และผู้เรยี นสนทนาเก่ยี วกบั การปฏิบัติตนภายใน
หอ้ งเรยี นเกย่ี วกับการเล่นโดยมีการสร้างข้อตกลงร่วมกัน
เชน่ ไม่แยง่ ของเล่นเพือ่ น เลน่ แลว้ เกบ็ เข้าท่ีใหเ้ รียบร้อย
2.ผูส้ อนใหผ้ เู้ รียนเลน่ ตามมุมประสบการณ์ และปฏบิ ัติ
ตามข้อตกลงท่ไี ด้สรา้ งร่วมกนั ภาในชนั้ เรยี น
3.ผู้เรยี นปฏิบัติตามข้อตกลงโดยมคี รคู อยช้ีแนะ

มาตรฐานที่ ๘ อยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และปฏิบัตติ นเป็นสมา

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบ

๕– ๖ ปี - มสี ว่ นร่วมสรา้ งขอ้ ตกลง และ - การร่วมกำหนดข้อตก

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงดว้ ยตนเอง - การร่วมมือในการปฏ

ประสบการณส์ ำคัญทค่ี ว

๑. การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันตามวยั
๒. การเลน่ อย่างอิสระ
๓. การเลน่ รวมกลุ่มกบั ผอู้ ืน่
๔. การแบ่งปนั หรือการให้
๕. การอดทนรอคอยตามวยั
๖. การใช้ภาษาบอกความต้องการ
๗. การออกไปเลน่ นอกบ้าน
๘. การไปสวนสาธารณะ
๙. การออกไปร่วมกจิ กรรมในศาสนสถาน

102

าชิกท่ีดีของสงั คม ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ

บการณส์ ำคญั แนวทางการจัดกิจกรรม

กลงของหอ้ งเรยี น 1.ผสู้ อน และผเู้ รยี นสนทนาเก่ียวกบั การปฏิบตั ิตนภายใน

ฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ห้องเรยี นเกีย่ วกับการเล่นโดยมกี ารสรา้ งข้อตกลงรว่ มกัน

เช่น ไม่แย่งของเล่นเพื่อน เล่นแล้วเก็บเขา้ ท่ีให้เรยี บร้อย

2.ผ้สู อนใหผ้ เู้ รยี นเล่นตามมุมประสบการณ์ และปฏบิ ตั ิ

ตามข้อตกลงทไี่ ดส้ ร้างรว่ มกันภายในชัน้ เรียน

3.ผู้เรียนปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงด้วยตนเอง

วรส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นสังคม

๑.๔ ประสบการณ์สำคัญท่ีส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา เป็นการสน

บุคคล และส่ือตา่ ง ๆ ด้วยกระบวนการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย เพ่ือเปดิ โอกาสให้เด็กพ

การคดิ รวบยอดเก่ยี วกับส่ิงต่าง ๆ รอบตวั และมีความคดิ รวบยอดทางคณิตศาสตร์ท

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาส่ือสารได้เหมาะสมตามศกั ยภาพ

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมตามศกั ยภาพ

มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาส

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณ

ตวั บ่งชี้ ๙.๑ รบั รู้ และเขา้ ใจความหมายของภาษาได้

แรกเกดิ – ๒ เดือน 1. ตอบสนองต่อเสยี ง 1.การฟงั เสียงตา่ ง ๆ

๒ – ๔ เดือน 1. หยุดฟังเสียง และหนั ตาม 1.การฟงั และปฏบิ ัตติ
เสยี งเคาะ

๔ – ๖ เดอื น 1. หนั ตามเสียงจอ้ งมองปากคน 1.การฟัง และปฏิบัตติ า
๒.การฟังเพลง นิทาน
บทร้อยกรองหรือเรอื่ ง

103

นบั สนุนให้เด็กได้รบั รู้ และเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัวผา่ นการมปี ฏสิ มั พันธก์ บั สิง่ แวดลอ้ ม
พฒั นาการใชภ้ าษา จนิ ตนาการความคิดสรา้ งสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชงิ เหตุผล และ
ทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานของการเรียนรู้ในระดับทสี่ งู ขน้ึ ต่อไป

ส่ือสารได้เหมาะสมตามศกั ยภาพ แนวทางการจดั กิจกรรม
ณ์สำคญั

ในส่งิ แวดลอ้ ม 1.ผสู้ อนนำของเลน่ ท่ีมเี สียง เขย่าเบา ๆ ข้างหูผูเ้ รียนเพื่อให้หันศีรษะ
ตามเสยี งที่ไดย้ ิน
ตามคำแนะนำ 2.ผสู้ อนทำเสยี งต่าง ๆ หลาย ๆ อย่าง เช่น เสียงกระด่ิง ตบมอื
เรยี กชอ่ื เพ่ือให้หันตามเสยี ง กรณที ่ผี ู้เรยี นไมห่ ันตามเสียงไม่ได้ ผสู้ อน
ามคำแนะนำ จับศรี ษะเบา ๆ แลว้ หนั ตามเสียง ทำจนกระท้งั ผู้เรยี นสามารถหนั ตาม
น คำคลอ้ งจอง เสียงได้ดว้ ยตนเอง จึงลดการจับศีรษะ
งราว ตา่ ง ๆ
1.ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นฟงั เสยี งกลองโดยผสู้ อนตกี ลองดา้ นซ้ายสลับกบั
ดา้ นขวาดา้ นหนา้ และด้านหลัง
๒. ผ้สู อนตกี ลองให้มีเสียงดัง และเบาสลับกนั และสังเกตอาการของผเู้ รยี น
๓.ใหบ้ ุคคลในครอบครัวเรียกช่ือของตนเองเพ่ือใหผ้ ู้เรียนมองตามเสียง
ของแตล่ ะคน

๑.พยงุ อยดู่ ้านหลังระยะหา่ งตัวเดก็ ๓๐ ซม. พูดคุยกบั เดก็ ด้วยเสยี ง
ปกติ รอให้เด็กหันมาทางทิศของเสยี ง ใหย้ ้ิม และเลน่ กบั
2.ถ้าเดก็ ไมม่ องใหป้ ระคองหนา้ เด็กหันตามเสียงจนเดก็ สามารถหัน
ตามเสยี งไดเ้ องถา้ เดก็ ยังไมห่ นั ให้พูดเสียงดังขน้ึ เมื่อหนั มองลดระดบั
เสยี งลงจนเสียงปกติ

มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส

อายุพัฒนาการ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณ
๖– ๙ เดือน
1.รบั รูภ้ าษา และแสดงสหี น้า 1.การฟัง และปฏบิ ัติต

ทา่ ทาง

2. หันหาเม่อื เรยี กชอื่ 1.การฟงั และปฏิบตั ติ

3. ตอบสนองต่อคำสง่ั งา่ ย ๆ

๙ เดอื น – ๑ ปี 1. รวู้ า่ คำ แต่ละคำมคี วามหมาย 1.การฟงั และปฏบิ ัติต
๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดือน ตา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย 3-5 คำ 1.การฟงั และปฏิบัติต
2. ปฏบิ ัตติ ามคำสง่ั งา่ ย ๆ โดยใช้
ทา่ ทางประกอบ
3. ตอบสนองตอ่ คำโดยใช้
ทา่ ทางประกอบคำ

1. หยิบหรือชีต้ ามคำบอก
2. ชส้ี ว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย
ตามคำบอกอยา่ งน้อย ๑ ส่วน

104

ส่ือสารได้เหมาะสมตามศกั ยภาพ

ณส์ ำคญั แนวทางการจดั กิจกรรม

ตามคำแนะนำ 1.ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนเรียนแบบ การแสดง สหี นา้ ท่าทาง ดใี จ เสียใจ เชน่

กม้ หนา้ เมื่อถูกดยุ ้มิ เม่อื ได้รบั คำชม

2.ผู้สอนเลา่ นิทานและแสดงสีหน้าทา่ ทางประกอบเพอ่ื ให้ผเู้ รยี นแสดง

สหี น้าทา่ ทางตามสถานการณ์ทีก่ ำหนด

ตามคำแนะนำ ๑. ผสู้ อนเรียกชือ่ ผู้เรยี นเพ่ือให้ผเู้ รียนหันตามเสียงท่ีเรียก

๒. ผูส้ อนพูดพร้อมแสดงท่าทางประกอบแล้วใหผ้ ู้เรยี นทำตาม เชน่

ยกมือ โบกมือตบมือ บ้ายบาย ฯลฯ

๓. ผสู้ อนเอ่ยชื่อส่วนตา่ ง ของร่างกายพร้อมทัง้ ชี้ทสี่ ่วนต่าง ของ

ร่างกาย ของผ้เู รยี นแล้วใหผ้ ู้เรียนชี้ตามและให้ผเู้ รยี นชสี้ ่วนตา่ ง ของ

ร่างกาย ของผู้เรียนเอง

๔. ผสู้ อนนำภาพอวัยวะของร่างกายมาให้ผ้เู รยี นดแู ละบอกชอ่ื อวยั วะ

ของตนเอง

ตามคำแนะนำ 1. ผู้สอนพดู พร้อมแสดงท่าทางประกอบ แล้วให้ผู้เรียนทำตาม เช่น

ยกมอื โบกมอื ตบมอื บา้ ยบาย ฯลฯ

2. ผสู้ อนเอย่ ชอ่ื ส่วนต่าง ของรา่ งกายพร้อมทั้งชท้ี ่ีสว่ นต่างของ

รา่ งกายของผู้เรียนแล้วให้ผเู้ รียนชต้ี ามและใหผ้ เู้ รยี นช้ีส่วนตา่ ง ของ

รา่ งกาย ของผ้เู รยี นเอง

ตามคำแนะนำ 1. ผูส้ อนเอย่ ชื่อสว่ นตา่ ง ของรา่ งกายพร้อมทั้งช้ที ีส่ ว่ นตา่ ง ของ
รา่ งกายของผู้เรยี นแลว้ ให้ผู้เรียนช้ตี าม และให้ผเู้ รียนชีส้ ว่ นตา่ ง ของ
ร่างกาย ของผู้เรียนเอง

มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบการณ
๑ ปี ๖ เดอื น – ๒ ปี
1. ปฏบิ ตั ติ ามคำส่งั ได้ ทีละ 1 1.การฟงั และปฏบิ ตั ติ

คำสงั่

2. สนใจของจำลองหรือรูปภาพ

ตามระยะเวลาทค่ี รูกำหนดไว้

๒ – ๓ ปี 1. ฟงั และสนใจดูหนังสอื นิทาน 1.การฟงั และปฏิบตั ิต

ภาพ 2.การฟงั เพลง นิทาน

2. แสดงท่าทางประกอบเพลง บทรอ้ ยกรองหรือเรอื่ ง

ตวั บ่งช้ี ๙.๒ แสดงออกหรือพดู เพอื่ สื่อความหมายได้

แรกเกิด – ๒ เดือน 1. ส่งเสียงในคอ 1.การพดู แสดงความค

และความต้องการ

๒ – ๔ เดือน 1. สง่ เสียง อ้อแอ้ โตต้ อบ 1.การพดู แสดงความค
๔ – ๖ เดือน และความต้องการ

1. ส่งเสยี งทไ่ี ม่มคี วามหมาย 1.การพดู แสดงความค

2. ส่งเสยี งได้หลายเสียง และความต้องการ

105

ส่ือสารไดเ้ หมาะสมตามศกั ยภาพ

ณ์สำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

ตามคำแนะนำ 1.ผู้สอนนำภาพอวยั วะของรา่ งกายมาให้ผเู้ รยี นดู และบอกชอื่ อวัยวะ

ของร่างกายทลี ะอย่างแล้วให้ผูเ้ รียนเลือกภาพอวัยวะของร่างกาย

ตามท่ีผู้สอนบอก

2.ผู้สอนนำของใชส้ ว่ นตวั ของผู้เรียนผลไมจ้ ริงแนะนำใหผ้ ้เู รียนร้จู กั ที

ละอย่างจากน้นั ผูส้ อนบอกผ้เู รยี นว่ากระเป๋าดนิ สอยางลบซ่อมกลว้ ย

จากน้ันใหผ้ เู้ รียนช้ีสิ่งของต่าง ๆ ตามที่ผูส้ อนกำหนด

ตามคำแนะนำ 1.ผู้สอนเลา่ นิทาน และแสดงสหี นา้ ทา่ ทางประกอบเพ่ือให้ผ้เู รียน

น คำคลอ้ งจอง แสดงสหี นา้ ท่าทางตามสถานการณท์ ่ีกำหนด

งราว ตา่ ง ๆ

คดิ ความรูส้ กึ 1.จดั เดก็ อย่ใู นท่านอนหงายหรอื อมุ้ เดก็
คิด ความรสู้ กึ 2. ยื่นหน้าเข้าไปหาเด็กสบตา และพูดคุยให้เด็กสนใจแล้วทำเสียง อู อือ อา
คดิ ความรูส้ ึก หรอื ในลำคอใหเ้ ดก็ ไดย้ ินหยุดฟังเพ่อื รอจงั หวะให้เด็กส่งเสียงตาม
3. เมื่อเด็กออกเสียงได้ให้ยื่นหน้าห่างจากตัวเด็กเพิ่มขึ้นจนถึงประมาณ 60
ซม.

1.ผสู้ อนเมอ่ื กระตุ้นให้ออกเสยี งโดยใช้เครื่องช่วยฟังช่วยฝึกพูดผู้เรียน
ออกเสียงอ้อแอ้ตาม
2. ผู้สอนเล่าเรื่องประกอบภาพ และให้มีโทนเสียงสูง ต่ำ ค่อย ดัง
เสยี งสตั ว์ ประกอบใหผ้ ู้เรียนฝึกเลยี นเสยี ง

1.ผสู้ อนเมอ่ื กระตุ้นให้ออกเสียงโดยใช้เครื่องชว่ ยฟังช่วยฝึกพูดผู้เรียน
ออกเสียงออ้ แอ้ตาม

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส

อายุพัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณ

๖ – ๙ เดือน 1. พยายามเลยี นเสยี งตา่ ง ๆ 1.การพดู แสดงความค
2. ทำเสยี งซ้ำ ๆ เชน่ หม่ำ หมำ่ และความต้องการ

๙ เดอื น – ๑ ปี 1. รูจ้ ักเช่อื มโยงคำพดู กบั การ 1.การพดู แสดงความค

กระทำ เช่น ไม่จะสัน่ หัว และความต้องการ

2. พูดคำพยางคเ์ ดียวได้อย่างน้อย 2.การพดู กับผู้อน่ื เกีย่ ว

๒ คำ ประสบการณ์ของตนเ

เรื่องราวเกย่ี วกับตนเอ

๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดอื น 1. พูดคำพยางคเ์ ดียว ทม่ี ี 1.การพูดกบั ผู้อื่นเกี่ยว
ความหมายได้อย่างนอ้ ย ๒ คำ ประสบการณ์ของตนเ
เรื่องราวเกี่ยวกบั ตนเอ

106

สื่อสารได้เหมาะสมตามศักยภาพ

ณ์สำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

2. ผู้สอนเล่าเรื่องประกอบภาพ และให้มีโทนเสียงสูง ต่ำ ค่อย ดัง

เสียงสตั ว์ ประกอบให้ผเู้ รยี นฝึกเลยี นเสยี ง

คิด ความรู้สกึ 1.สบตาและพูดคยุ กับเดก็ ใช้ริมฝีปากทำเสยี ง เช่น จุ๊บ ๆ เดาะลน้ิ หรือ

จับมือเด็กมาไว้ที่ปากแล้วขยับตีปากเบา ๆ กระตุ้นให้ออกเสียง ว่าวา่

ให้เด็กดูหลาย ๆ ครั้งแล้วรอให้เด็กทำตามจนเด็กสามารถเลียนแบบ

ได้

2. ร้องเพลงง่าย ๆ ที่มเี สียงสงู ๆ ตำ่ ๆ ให้เดก็ ฟงั เช่น เพลงช้าง เพลง

เป็ด เป็นต้น

คดิ ความรู้สกึ 1.เมื่อคนแปลกหน้ายื่นของมาให้หรือขออุ้มให้พ่อแม่ผู้ปกครองหรือ

ผ้ดู ูแลเด็ก สา่ ยหนา้ แล้วพดู คำวา่ ไม่เอา ใหเ้ ด็กเลยี นแบบ เพื่อให้เด็ก

วกับ ร้จู กั ปฏเิ สธโดยการแสดงทา่ ทาง

เอง หรอื พดู เล่า 2. เมื่อเด็กรับประทานอาหารหรือขนมอิ่มแล้วถามเด็กว่ากินอีกไหม

อง แล้วส่ายศีรษะพร้อมพูดคำว่า ไม่เอา ให้เด็กเลียนเสียงตาม ทำเช่นน้ี

กบั สถานการณ์อ่ืน ๆ เพอื่ ใหเ้ ด็กเรียนรู้เพิม่ ข้ึน

3. เปล่งเสียงที่เด็กเคยทำได้แล้ว เช่น ป๊ะ จ๊ะ จ๋า รอให้เด็กเรียนเสียง

ตามจากน้นั แต่งเสียงที่แตกต่างจากเดิมใหเ้ ด็กเลยี นเสียงตาม เช่น แม่

ไป หม่ำ ปลา เป็นต้น

วกบั 1.สอนให้เด็กพูดคำสั้น ๆ ตามเหตุการณ์จริง เช่นในเวลารับประทาน

เอง หรอื พดู เล่า อาหารก่อนป้อนขา้ ว พูดหมำ่ ใหเ้ ด็กพดู ตาม หมำ่

อง 2. เมื่อแต่งตัวเสร็จให้พูด ไป ให้เด็กพูดตาม ไปก่อนแล้วค่อยพาเด็ก

ออกจากหอ้ ง

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณ

๑ ปี ๖ เดือน – ๒ ปี 1. พูดคำตามพยางค์ท้าย 1.การพูดอธิบายเกยี่ ว
เหตุการณ์ และความส
ตา่ ง ๆ

๒ – ๓ ปี 1. พูดเป็นวลีส้ัน ๆ เช่น ไป 1.การพดู อธิบายเกี่ยว
เทยี่ ว กินข้าว เหตุการณ์ และความส
2. มักจะถามคำถาม “อะไร” ตา่ ง ๆ
และ “ทำไม”

107

สื่อสารได้เหมาะสมตามศักยภาพ

ณ์สำคญั แนวทางการจัดกิจกรรม

3. เมื่อเปิดหนังสือนิทานให้พูดคำว่า อ่าน หรือ ดูให้เด็กพูดตามแล้ว

แสดงให้เด็กเข้าใจโดยอา่ นหรอื ดู

วกบั สิ่งของ 1. พูดกับเด็กก่อนแล้วค่อยทำกริยานั้นให้เด็กดูเช่น เมื่อแต่งตัวเสร็จ

สัมพนั ธ์ ของสิ่ง พูดคำวา่ ไปกินขา้ ว แล้วออกเสียง กิน หรือ ขา้ ว ใหเ้ ดก็ ฟัง แล้วจึงพา

ไป

2. สอนให้เด็กพูดตามความจริง เช่น ขณะแต่งตัวเมื่อเด็กให้ความ

ร่วมมือดใี หช้ มเชยว่าหนู เปน็ เด็กดี เพอื่ ให้เดก็ เลียนคำ เดก็ หรอื ดี ได้

3. เม่อื แต่งตัวเสรจ็ พดู ว่า ไปกนิ ข้าว รอให้เดก็ ออกเสียง กนิ หรือ ข้าว

กอ่ นแล้วคอ่ ยพาไป

4. ถ้าเด็กไม่ออกเสียงพูดตามให้ซ้ำคำเด่นหรือคำสุดท้ายนั้นจนเด็ก

สามารถเลียนคำพดู สุดทา้ ยน้นั ได้

5. เมื่อเด็กพูดได้แล้วให้ความสนใจ และพูดโต้ตอบกับเดก็ โดยเปลี่ยน

ใช้คำอนื่ ๆ ตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ

วกับส่ิงของ 1. พูดกับเด็กก่อนแล้วค่อยทำกริยานั้นให้เด็กดูเช่น เมื่อแต่งตัวเสร็จ

สมั พนั ธ์ ของส่ิง พูดคำวา่ ไปกนิ ขา้ ว แล้วออกเสียง กิน หรอื ขา้ ว ใหเ้ ด็กฟัง แล้วจึงพา

ไป 2. สอนให้เด็กพูดตามความจริง เช่น ขณะแต่งตัวเมื่อเด็กให้ความ

รว่ มมือดีใหช้ มเชยวา่ หนู เป็นเด็กดี เพือ่ ให้เด็กเลยี นคำ เดก็ หรอื ดี ได้

3.เมื่อแต่งตัวเสร็จพูดว่า ไปกินข้าว รอให้เด็กออกเสียง กิน หรือ ข้าว

ก่อนแลว้ คอ่ ยพาไป

4. ถ้าเด็กไม่ออกเสียงพูดตามให้ซ้ำคำเด่นหรือคำสุดท้ายนั้นจนเด็ก

สามารถเลยี นคำพดู สดุ ทา้ ยน้นั ได้

มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส

อายุพัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณ

ตวั บง่ ชี้ ๙.๓ สนทนาโตต้ อบ และเลา่ เร่ืองให้ผู้อื่นเข้าใจ

๓ – ๔ ปี 1. แสดงอาการรบั ร้หู รือเขา้ ใจ 1.การพดู อธบิ ายเกี่ยว

จากเร่ืองที่ฟงั เหตุการณ์ และความส

2. ตอบคำถามงา่ ย ๆ เกีย่ วกับ ตา่ ง ๆ

ตนเองได้ 2.การพูดกบั ผู้อน่ื เกยี่ ว

ประสบการณ์ของตนเ

เรอ่ื งราวเกีย่ วกบั ตนเอ

๔ – ๕ ปี 1. แสดงอาการรบั รหู้ รอื เขา้ ใจ 1.การพูดอธิบายเก่ียว
และสนทนาโตต้ อบจากเรื่องท่ี เหตุการณ์ และความส
ฟงั ตา่ ง ๆ
2. ตอบคำถามเก่ียวกบั เร่ือง
รอบตวั

108

ส่ือสารไดเ้ หมาะสมตามศักยภาพ

ณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

5. เมื่อเด็กพูดได้แลว้ ให้ความสนใจ และพดู โตต้ อบกบั เด็กโดยเปล่ียน

ใช้คำอื่น ๆ ตามสถานการณ์ต่าง ๆ

วกบั สิ่งของ ๑.อ่านนิทานสัน้ ๆ ใหเ้ ดก็ ฟงั ทกุ วนั ด้วยนำ้ เสียงทสี นกุ สนาน
สัมพนั ธ์ ของส่งิ 2. ใหเ้ ด็กดรู ูปภาพ และแตง่ เรื่องเลา่ จาก รปู ภาพเพ่ือให้เด็กสนใจ

เชน่ “กระตา่ ยน้อยมีขนสขี าวมหี ยู าว ๆ กระโดดได้ไกล และว่งิ ไดเ้ รว็ ”
วกับ 3. ในระยะแรกใช้นทิ านสน้ั ๆ ท่ีใชเ้ วลา 2 - 3 นาที ตอ่ เรอ่ื งกอ่ น
เอง หรือพูดเล่า ตอ่ ไป จึงเพิ่มความยาวของนิทานใหม้ ากข้ึนจนใช้เวลาประมาณ 5
อง นาที

๓. เล่านิทานใหเ้ ด็กฟัง ต้ังคำถามจากเน้ือเรื่องในนิทานให้เด็กตอบ
และกระตนุ้ ให้เด็กเปน็ ผถู้ าม พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดแู ลเดก็ เป็น
ผูต้ อบบ้าง
๔. ตั้งคำถามจากชีวติ ประจำวนั ใหเ้ ดก็ ตอบบอ่ ย ๆ เชน่ “ใครสอน
หนังสอื ” “ร้องเพลงอะไร”“หนงั สืออยู่ท่ไี หน” “ทำไมต้องไป” ใน
ชวี ิตประจำวัน
๕. เม่อื เดก็ ถาม ให้ตอบเด็กทุกครง้ั ด้วยความเอาใจใส่ และพูดคยุ กับ
เด็กในเรื่องท่ีเด็กถาม

วกบั ส่ิงของ 1. พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง หรือผดู้ ูแลเดก็ ทำตวั อย่างการพูด “ขอ”
สัมพันธ์ ของสิ่ง “ขอบคณุ ” “ให้” ให้เด็กได้ยินบอ่ ย ๆ เชน่

1.1 พ่อแม่ ผูป้ กครองหรือผ้ดู ูแลเดก็ พูดคำวา่ “ขอ.........ใหแ้ ม/่ พ่อ
นะจะ๊ ” กับลกู กอ่ นเวลาทจี่ ะเอาของเล่นหรอื ขนมจากมือลกู ไมเ่ อา
ของจากมือเด็กก่อนเด็กยินยอม

มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาส

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ

๕ – ๖ ปี 1. บอกความต้องการของ ๑.การพูดกบั ผู้อื่นเกีย่ ว

ตนเองได้ ประสบการณ์ของตนเ

2. ตอบคำถามเก่ียวกบั เรื่องเลา่ เรื่องราวเก่ยี วกบั ตนเอ

หรอื นิทาน

109

ส่ือสารไดเ้ หมาะสมตามศักยภาพ

ณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

1.2 เมอ่ื เด็กยนื่ ของท่ีอยู่ในมือใหแ้ ล้ว พ่อแม่ ผ้ปู กครอง หรอื ผ้ดู แู ล

เด็ก พดู คำวา่ “ขอบใจจ้ะ/ขอบคณุ ค่ะ เปน็ เดก็ ดีมากท่ีรูจ้ ัก แบง่ ของ

ใหค้ นอน่ื ”

1.3 เวลาพ่อแม่ ผู้ปกครองหรอื ผู้ดแู ลเด็ก มีขนมต้องการแบง่ ให้ ลูก

รับประทาน ให้พูดกบั เดก็ วา่ “วนั นี้แม/่ พ่อซื้อขนมมาดว้ ย จะแบง่ ให้

หนู และพี่ ๆ กินด้วยกันนะจ๊ะ กินด้วยกันหลายคนสนุกดี” 2. สอน

และกระตนุ้ ให้เด็กพูด “ขอ” “ขอบคุณ” “ให้” เชน่

2.1 ฝกึ ลกู ไม่ใหแ้ ย่งของ เช่น กอ่ นจะให้ของ ใหเ้ ด็กแบมือ พูด “ขอ”

แลว้ จงึ ใหข้ องกบั เด็ก

2.2 ใหเ้ ด็กพูด “ขอบคุณ” ทุกครั้ง เมื่อมีคนใหค้ วามช่วยเหลือ หรือ

ใหข้ อง

2.3 ฝึกเด็กใหร้ ู้จักการแบ่งปัน และการให้ เชน่ แบ่งขนม ของเลน่ ให้

เพือ่ น ๆ หรือคนรอบขา้ ง แล้วบอกใหเ้ ดก็ พดู วา่ “ให”้ , เวลาทำขนม

หรอื อาหารใหช้ วนเดก็ นำอาหารเหล่านี้ไปแบง่ ปัน เพอื่ นบ้าน, ชวน

เดก็ เข้ารว่ มกิจกรรมการกุศล เป็นต้น

วกับ 1. สอนใหเ้ ดก็ พดู ในโอกาสตา่ ง ๆ โดยพดู ใหเ้ ดก็ ฟงั เปน็ ตวั อยา่ ง แลว้

เอง หรือพูดเลา่ บอกให้เดก็ พดู ตาม - สอนใหเ้ ด็กยกมือไหว้ และกล่าวขอบคุณทกุ ครง้ั

อง ท่รี บั ของจาก ผูใ้ หญ่ เช่น “ขอบคุณครบั น้า” - สอนใหเ้ ด็กยกมอื ไหว้

และกลา่ วสวัสดที ่พี บผูใ้ หญ่หรือแขกของ ผปู้ กครองมาเยี่ยมทบ่ี า้ น

เช่น “สวัสดีครับลงุ ” - สอนให้เดก็ กลา่ วคำขอโทษทกุ คร้ังที่ทำผิด เชน่

“ขอโทษครบั พอ่ ” - กระตุ้นให้เดก็ พูดแสดงความคิดเหน็ ด้วยคำถาม

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณ

ตวั บง่ ชี้ ๙.๔ อา่ น เขียนภาพ และสญั ลักษณไ์ ด้ 1.การอา่ นหนังสอื ภาพ
หลากหลายประเภท/ร
๓ – ๔ ปี 1. อา่ นภาพ และเข้าใจ 2.การเขยี นรว่ มกนั ตา
ความหมายของภาพ การเขียนอิสระ
2. เขยี นขดี เขยี่ อย่างอสิ ระ

110

ส่ือสารได้เหมาะสมตามศักยภาพ

ณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

เช่น “หนูว่า อันน้เี ปน็ อย่างไร” - สอนใหเ้ ดก็ บอกลา เชน่ “หนูลานะ

คะ”

2. เตือนเมือ่ เด็กลืมกลา่ วคำขอบคุณ สวสั ดี ขอโทษ และบอกลา ทุก

ครั้ง

๓. กระต้นุ ให้เด็กพูดคยุ หรือโตต้ อบกันขณะเล่นด้วยกนั เช่น เล่นขาย

ของเล่น เปน็ หมอกบั คนไข้ ครูกับนกั เรยี น หรือเลา่ นิทานให้ เดก็ ฟงั

โดยให้เดก็ มีส่วนร่วมในการเลือกนทิ าน ถามคำถามเกยี่ วกับ นทิ าน

และฝึกให้เด็กยกมอื ข้ึนก่อนตอบคำถาม

๔. ให้เด็กมีสว่ นรว่ มในการเสนอความคดิ เหน็ เชน่ ถามเด็กว่า “วนั น้ี

เราจะกินอะไรกนั ดี” “เด๋ยี วเราจะอา่ นหนังสืออะไรดี”

๕. เปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ฝึกพดู คุยกันในกลุ่ม เพือ่ แบ่งหน้าท่ีในการ

ทำงานร่วมกัน เช่น ขออาสาสมัครในการชว่ ยแจกนมให้กบั เพ่ือน ๆ

ช่วยเก็บขยะ เก็บของเลน่ จัดโตะ๊ เกา้ อ้ี

๖. ถา้ เดก็ พดู แทรกใหบ้ อกเด็กว่า “หนูรอก่อนนะ เด๋ยี วแม่ขอพดู ให้

จบก่อน แลว้ หนูค่อยพดู ต่อ” ทำทกุ ครง้ั ที่เด็กพูดแทรก

พ นทิ าน 1. วางรูปทตี่ ัดออกเปน็ 6 ชิ้น ตรงหนา้ เดก็ ใหเ้ ด็กสังเกตรปู ภาพนั้น
รูปแบบ 2. แยกรปู ภาพทั้ง 6 ช้ิน ออกจากกันโดยการขยายรอยต่อให้ กว้าง
ามโอกาส และ ข้นึ ช่วยกันกับเด็กต่อเป็นภาพเหมือนเดมิ
3. แยกภาพทต่ี อ่ ออกจากกัน โดยการสลับตำแหนง่ ภาพบน - ล่าง
ชว่ ยกันกบั เดก็ ต่อเปน็ ภาพเหมือนเดิม

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณ

๔ – ๕ ปี 1. อ่านภาพ สญั ลกั ษณ์ คำ 1.การอา่ นหนังสอื ภาพ
พรอ้ มทัง้ ชห้ี รอื กวาดตามอง หลากหลายประเภท/ร
ขอ้ ความตามบรรทัด 2.การเขยี นรว่ มกนั ตา
2. เขยี นเส้นพน้ื ฐาน 13 เส้น การเขียนอิสระ
3. เขยี นคล้ายตัวอักษร

111

ส่ือสารได้เหมาะสมตามศักยภาพ

ณส์ ำคญั แนวทางการจดั กิจกรรม

4. แยกภาพทตี่ อ่ ออกจากกัน โดยการสลับตำแหนง่ ภาพซ้าย - ขวา

ช่วยกันกับเดก็ ต่อเปน็ ภาพเหมือนเดมิ

5. เพิ่มความยาก โดยคละชิ้นส่วนของภาพทั้งหมด ชว่ ยกันกับเด็ก ต่อเป็น

ภาพเหมือนเดิม ถา้ เด็กเริ่มทำได้แลว้ ปลอ่ ยให้เดก็ ตอ่ ภาพดว้ ย ตนเอง

6. หากเดก็ ตอ่ ภาพได้คล่องแลว้ ให้เ1. นำรปู ภาพทีแ่ สดงเวลากลางวนั

และกลางคืนอย่างละ

๗. รูป ใหเ้ ด็กดูพร้อมกบั อธบิ ายรปู กลางวัน กลางคืนทลี ะรูป

๘. บอกให้เด็กชีท้ ลี ะภาพ ถา้ เดก็ ช้ีไม่ถกู ต้อง ให้จับมือเด็กช้ีพร้อมกบั

ย้ำชอ่ื รูปภาพแต่ละภาพจนเด็กชภ้ี าพได้ถกู ต้อง ให้ลดการช่วยเหลอื ลง

๙. ฝกึ ให้เดก็ รู้จักกลางวัน กลางคนื ในสถานการณจ์ รงิ เปล่ียนเป็น

ภาพท่ีตัดแบ่งเป็น 8 ชิ้น

1๐. จบั ดนิ สอให้เดก็ ดูเป็นตัวอย่าง แล้วชวนใหเ้ ด็ก จับดินสอขดี เขียน

๑๑. ถา้ เด็กทำไมไ่ ดช้ ่วยจบั มือเดก็ โดยให้ดนิ สออยรู่ ะหว่างส่วนปลาย

ของน้วิ หวั แม่มือ น้วิ ช้ี นว้ิ กลาง และสูงกวา่ ปลายดนิ สอประมาณ 1 -

2 ซม. จนเดก็ ทำได้เอง

พ นิทาน 1. วาดรปู + (กากบาท) ให้เด็กดูเปน็ ตัวอย่าง บอกใหเ้ ดก็ ทำตาม

รูปแบบ 2. ถ้าเดก็ ทำไม่ได้ให้ทำเส้นประเป็นรูป + (กากบาท) แล้วจับมอื เด็ก

ามโอกาส และ ลากเส้นตามแนว

3. เมอ่ื เดก็ เริ่มทำได้ให้ลากเส้นตามเส้นประดว้ ยตัวเอง จากน้ันให้

วาดโดยไมม่ มี เี สน้ ประ จนเดก็ สามารถวาดรูป + (กากบาท) ได้เอง

4. ชวนเด็กเลน่ ลากเส้นต่อจดุ เปน็ รปู ตา่ ง

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาส

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณ
๕ – ๖ ปี
1. อ่านภาพสญั ลักษณ์ คำ ดว้ ย 1.การอ่าน และชขี้ ้อค

การชี้หรอื กวาดตามอง สายตาตามบรรทดั จา

จุดเริ่มตน้ และ จดุ จบของ และจากบนลงล่าง

ขอ้ ความ 2.การเขยี นร่วมกนั ตา

2. เขียนตวั อกั ษรตามรอยปะ การเขยี นอสิ ระ

3. การเขียนชอ่ื ของตนเองตาม 3.การสงั เกตตวั อักษร

แบบ เขยี นข้อความดว้ ยวิธที ค่ี ิด หรือคำคนุ้ เคย

ขึ้นเอง

112

ส่ือสารไดเ้ หมาะสมตามศักยภาพ

ณ์สำคัญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

ความ โดยกวาด ๑.วาดรูป + (กากบาท) ใหเ้ ด็กดเู ปน็ ตวั อยา่ ง บอกให้เดก็ ทำตาม

าก ซา้ ยไปขวา 2. ถา้ เด็กทำไม่ได้ให้ทำเส้นประเปน็ รปู + (กากบาท) แลว้ จับมือเด็ก

ลากเส้นตามแนว

ามโอกาส และ 3. เมอ่ื เด็กเร่มิ ทำได้ใหล้ ากเส้นตามเสน้ ประดว้ ยตัวเอง จากน้นั ให้

วาดโดยไม่มมี ีเสน้ ประ จนเด็กสามารถวาดรปู + (กากบาท) ไดเ้ อง

รในช่ือของตน ๑. ชวนเด็กเลน่ ลากเส้นตอ่ จดุ เปน็ รปู ตา่ ง

๒. เอารูปภาพทีม่ ีรูปส่ีเหล่ยี มใหเ้ ด็กดู หรอื ช้ใี หเ้ ด็กดสู ิ่งของในบ้านที่

เปน็ รูปสี่เหล่ียม เช่น กรอบรูป ปฏทิ ิน และบอกว่านี่คือรปู ส่เี หล่ียม

แลว้ ใชน้ ว้ิ ลากตามเสน้ สเี่ หลย่ี ม

๓. วาดส่ีเหลี่ยมตง้ั แตต่ ้นจนจบ โดยให้ด้านกว้าง และยาวมีความยาว

ใกล้เคียงกนั ให้เดก็ ดู และให้เดก็ ทำตาม

๔.หลงั จากน้นั ช้ีชวนใหเ้ ดก็ สังเกตหรอื รจู้ ักสเี่ หลยี่ มแบบอ่ืน ๆ เชน่

ประตู หนา้ ต่าง โต๊ะ ตู้ แผน่ กระเบอ้ื งในบ้าน เปน็ ตน้ แล้วใหเ้ ดก็ หัด

วาดสง่ิ ที่เป็นรปู ส่เี หลี่ยมเหล่าน้นั

มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ที่เปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นร้ตู ามศักยภา

มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในกา

อายุพัฒนาการ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบก

ตัวบง่ ช้ี ๑๐.๑ มีความสามารถในการคดิ รวบยอด

๓ – ๔ ปี 1. บอกลกั ษณะของสิ่งต่าง ๆ จากการสังเกตโดย 1.การสัง

ใช้ประสาทสมั ผสั เปล่ยี นแ

2. จับคู่หรือเปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ โดยใชล้ ักษณะ ๆ โดยใช

หรอื หนา้ ทีก่ ารใช้งาน เพียงลักษณะเดยี ว 2.การสัง

3. คดั แยกสิ่งตา่ ง ๆ ตามลักษณะหรือหน้าทีก่ าร มุมมองท

ใช้งาน

๔ – ๕ ปี 1. บอกลักษณะ และส่วนประกอบของสิง่ ตา่ ง ๆ 1.การสงั
จากการสงั เกตโดยใช้ ประสาทสัมผัส เปลย่ี นแ
2. จบั คู่ และเปรยี บเทยี บความแตกต่างหรือ ๆ โดยใช
ความเหมือนของสง่ิ ตา่ ง ๆ โดยใชล้ ักษณะที่ 2.การสงั
สงั เกตพบเพียงลักษณะเดียว มมุ มองท
3. จำแนก และจดั กล่มุ ส่งิ ต่าง ๆ โดยใช้อยา่ ง 3.การคัด
นอ้ ยหน่งึ ลักษณะเป็นเกณฑ์ สิง่ ตา่ ง ๆ

113

าพ

ารคิดท่เี ปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรู้ตามศกั ยภาพ

การณ์สำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

งเกตลักษณะ สว่ นประกอบ การ 1.ผ้สู อนใหผ้ เู้ รียนรจู้ ักสง่ิ ของทอ่ี ยู่ใกล้ตัวท่มี ีพนื้ ผวิ

แปลง และ ความสมั พันธ์ของสิ่งตา่ ง ต่างกนั ได้แก่ ผัก ผลไม้ สิ่งของ เครื่องใช้ เช่น

ชป้ ระสาทสมั ผสั อย่างเหมาะสม พนื้ ผิวขรขุ ระจากมะระ น้อยหน่า พ้ืนผวิ เรียบจาก

งเกตสง่ิ ตา่ ง ๆ และสถานทีจ่ าก ส้ม แตงโม เป็นตน้

ท่ีต่างกัน 2.ผสู้ อนนำวัตถุเปน็ สิง่ ของ และรปู ภาพชนดิ

เดียวกนั ทใ่ี ชใ้ นชีวติ ประจำวัน เชน่ แปรงสีฟัน ยา

สีฟัน ช้อน ซอ้ ม จาน แก้ว จากนนั้ สาธิตการจบั คู่

วัตถุรปู ภาพ 1 ชนิด โดยนำรูปภาพวัตถุ 1 ช้ิน

วางไว้เป็นรปู ภาพต้นแบบ

3.ผู้สอนนำสตั ว์จำลอง 2 ชนดิ มาวาง แล้วให้

ผู้เรยี นจำแนกสตั ว์ทีแ่ ตกตา่ งออกมา เช่น นำสนุ ขั

มา 5 ตัว แลว้ แมว 1 ตวั มาวางรวมกัน แลว้ ให้

นำแมวออกมาจากกอง

งเกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ การ 1.ผูส้ อนใหผ้ ูเ้ รยี นรู้จกั ส่งิ ของทีอ่ ยู่ใกลต้ ัวท่มี ีพื้นผวิ

แปลง และ ความสัมพันธ์ของสิง่ ตา่ ง ตา่ งกัน ได้แก่ ผกั ผลไม้ สงิ่ ของ เคร่ืองใช้ เชน่

ชป้ ระสาทสมั ผัสอย่างเหมาะสม พ้ืนผวิ ขรขุ ระจากมะระ น้อยหนา่ พ้นื ผิวเรียบจาก

งเกตส่งิ ตา่ ง ๆ และสถานทีจ่ าก ส้ม แตงโม เป็นตน้

ท่ตี ่างกัน 2.ผู้สอนนำวัตถุเป็นส่ิงของ และรปู ภาพชนิด

ดแยก การจัดกลมุ่ และการจำแนก เดียวกัน ที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน เช่น แปรงสฟี ัน ยา

ๆ ตามลักษณะ และรูปร่าง รปู ทรง สีฟนั ช้อน ซ้อม จาน แกว้ จากน้นั สาธิตการจับคู่

มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในกา

อายุพัฒนาการ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ประสบก

4. เรียงลำดับขนาดของสิ่งของ อย่างน้อย 3

ลำดับ

๕ – ๖ ปี 1. บอกลกั ษณะส่วนประกอบ การเปลย่ี นแปลง 1.การสัง
หรอื ความสมั พันธข์ อง สง่ิ ตา่ ง ๆ จากการสงั เกต เปลยี่ นแ
โดยใช้ประสาทสัมผสั ๆ โดยใช
2. จับคู่ และเปรียบเทียบความแตกต่าง และ 2.การสงั
ความเหมือนของสงิ่ ตา่ ง ๆ โดยใช้ลกั ษณะท่ี มุมมองท
สงั เกตพบสองลักษณะข้นึ ไป 3.การคดั
3. จำแนก และจัดกล่มุ สงิ่ ต่าง ๆ โดยใช้ต้ังแต่ สิง่ ตา่ ง ๆ
สองลักษณะขึน้ ไปเป็นเกณฑ์ 4.การเป
4. เรยี งลำดับขนาดของสงิ่ ของอย่างน้อย 4 ของสง่ิ ตา่
ลำดบั

ตวั บ่งช้ี ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล

๓ – ๔ ปี 1. ระบผุ ลท่เี กดิ ข้ึนในเหตุการณห์ รือการกระทำ 1.การคา

เม่ือมีผู้ช้ีแนะ อาจจะเก

114

ารคดิ ทีเ่ ปน็ พื้นฐานในการเรียนรู้ตามศกั ยภาพ

การณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

วัตถรุ ปู ภาพ 1 ชนิด โดยนำรปู ภาพวัตถุ 1 ช้นิ

วางไว้เป็นรูปภาพต้นแบบ

3.ผ้สู อนนำสัตว์จำลอง 2 ชนดิ มาวาง แล้วให้

ผู้เรยี นจำแนกสัตว์ทีแ่ ตกต่างออกมา เช่น นำสนุ ขั

มา 5 ตวั แลว้ แมว 1 ตวั มาวางรวมกัน แล้วให้

นำแมวออกมาจากกอง

งเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การ 1.ผ้สู อนใหผ้ ้เู รียนรู้จักสง่ิ ของทอี่ ยูใ่ กลต้ ัวท่ีมีพืน้ ผวิ

แปลง และ ความสมั พันธข์ องส่งิ ตา่ ง ตา่ งกนั ได้แก่ ผกั ผลไม้ สิ่งของ เครื่องใช้ เชน่

ชป้ ระสาทสมั ผสั อย่างเหมาะสม พื้นผิวขรุขระจากมะระ น้อยหน่า พ้ืนผวิ เรียบจาก

งเกตสง่ิ ตา่ ง ๆ และสถานทีจ่ าก ส้ม แตงโม เปน็ ต้น

ท่ตี ่างกนั 2.ผสู้ อนนำวตั ถเุ ปน็ สง่ิ ของ และรปู ภาพชนดิ

ดแยก การจดั กล่มุ และการจำแนก เดียวกนั ท่ีใชใ้ นชีวติ ประจำวัน จากนัน้ สาธิตการ

ๆ ตามลักษณะ และรูปร่าง รปู ทรง จับคู่วตั ถรุ ูปภาพ 1 ชนิด โดยนำรปู ภาพวัตถุ 1

ปรยี บเทียบ และเรยี งลำดบั จำนวน ช้ิน วางไว้เป็นรูปภาพต้นแบบ

าง ๆ 3.ผู้สอนนำสตั วจ์ ำลอง 2 ชนดิ มาวาง แลว้ ให้

ผู้เรียนจำแนกสัตวท์ แี่ ตกตา่ งออกมา เช่น นำสนุ ัข

มา 5 ตัว แล้ว แมว 1 ตวั มาวางรวมกัน แล้วให้

นำแมวออกมาจากกอง

าดเดาหรอื การคาดคะเนสงิ่ ท่ี 1.ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนบทบาท
กดิ ขน้ึ อย่างมีเหตผุ ล สมมติหรอื จำลองเหตกุ ารณ์ในชวี ติ ประจำวนั และ
อธบิ ายสิง่ ท่เี กดิ ขนึ้ อย่างมเี หตุผล

มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในกา

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบก

๔ – ๕ ปี 1. ระบสุ าเหตหุ รือผลที่เกิดข้ึนในเหตุการณ์หรือ 1.การอธ

การกระทำเมื่อมผี ู้ชี้แนะ เกิดขน้ึ ใน

2. คาดเดา หรอื คาดคะเนสิง่ ท่ีอาจจะเกิดข้นึ

๕ – ๖ ปี 1. อธบิ ายเช่อื มโยงสาเหตุ และผลทีเ่ กดิ ข้ึนใน 1.การอธ
เหตกุ ารณ์หรือการกระทำ ดว้ ยตนเอง เกดิ ข้นึ ใน
2. คาดเดา หรอื คาดคะเน สิ่งท่ีอาจจะเกดิ ขึ้น 2.การคา
หรอื มสี ว่ นร่วมในการลงความเหน็ จากข้อมูล อาจจะเก

ตัวบง่ ช้ี ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคดิ แก้ปญั หา และตดั สินใจ 1.การตดั
กระบวน
๓ – ๔ ปี 1. ตัดสนิ ใจในเรื่องง่าย ๆ 2.การมีส
2. แก้ปญั หาโดยลองผิดลองถูก ขอ้ มูลอย

๔ – ๕ ปี 1. ตดั สินใจในเร่อื งง่าย ๆ และเร่มิ เรียนรผู้ ลท่ี 1.การตัด
เกิดข้ึน กระบวน
2. ระบุปญั หา และแก้ปัญหาโดยลองผิดลองถกู 2.การมีส
ขอ้ มลู อย

115

ารคิดที่เปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นร้ตู ามศักยภาพ

การณส์ ำคญั แนวทางการจดั กิจกรรม

2.ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการร่วม

กจิ กรรม

ธบิ ายเชอ่ื มโยงสาเหตุ และผลที่ 1.ผสู้ อนจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนบทบาท

นเหตุการณ์หรือการกระทำ สมมติหรอื จำลองเหตกุ ารณ์ในชีวติ ประจำวนั และ

อธบิ ายสง่ิ ที่เกดิ ข้ึนอย่างมเี หตุผล

2.ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรยี นในการรว่ ม

กจิ กรรม

ธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตุ และผลที่ 1.ผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนบทบาท

นเหตุการณห์ รือการกระทำ สมมติหรือจำลองเหตุการณใ์ นชีวิตประจำวนั และ

าดเดาหรอื การคาดคะเนสงิ่ ท่ี อธิบายสิง่ ท่ีเกดิ ข้ึนอย่างมีเหตุผล

กิดข้ึนอยา่ งมีเหตผุ ล 2.ผ้สู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียนในการร่วม

กจิ กรรม

ดสินใจ และมีส่วนรว่ มใน 1. ผูส้ อนจดั กจิ กรรมการมีส่วนรว่ มในช้ันเรยี น
นการแก้ปญั หา พรอ้ มสรา้ งสถานการณ์เพ่อื ให้ผเู้ รียนรู้จกั การ
ส่วนร่วมในการลงความเห็นจาก แก้ไขปัญหา
ยา่ งมีเหตุผล 2. ผ้สู อนจดั กิกรรมการมีสว่ นร่วม โดยใหผ้ ้เู รียนรู้จัก
การลงความเห็น เช่น การยกมือ เปน็ ต้น
ดสนิ ใจ และมีส่วนร่วมใน
นการแก้ปญั หา 1. ผสู้ อนจัดกจิ กรรมการมสี ่วนรว่ มในชน้ั เรยี น
ส่วนรว่ มในการลงความเห็นจาก พร้อมสร้างสถานการณเ์ พอ่ื ให้ผ้เู รียนร้จู กั การ
ย่างมีเหตุผล แกไ้ ขปญั หา

มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในกา

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบก

๕ – ๖ ปี 1. ตดั สินใจในเรื่องงา่ ย ๆ และยอมรบั ผลที่ 1.การตดั
เกิดข้นึ กระบวน
2. ระบุปัญหาสร้างทางเลือก และเลือกวิธี 2.การมีส
แกป้ ญั หา ขอ้ มูลอย

116

ารคิดที่เปน็ พื้นฐานในการเรยี นรตู้ ามศกั ยภาพ

การณ์สำคญั แนวทางการจดั กจิ กรรม

2. ผสู้ อนจดั กิกรรมการมีสว่ นรว่ ม โดยให้ผู้เรียน

รู้จักการลงความเหน็ เช่น การยกมอื เป็นตน้

ดสนิ ใจ และมสี ว่ นรว่ มใน 1. ผูส้ อนจดั กิจกรรมการมสี ่วนร่วมในชัน้ เรียน

นการแกป้ ญั หา พร้อมสร้างสถานการณเ์ พอ่ื ให้ผเู้ รยี นรจู้ ักการ

สว่ นรว่ มในการลงความเห็นจาก แกไ้ ขปัญหา

ยา่ งมเี หตผุ ล 2. ผสู้ อนจดั กกิ รรมการมีส่วนร่วม โดยให้ผเู้ รยี น

รู้จักการลงความเห็น เชน่ การยกมอื เป็นตน้

มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี ินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ตามศกั ยภาพ

มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการ

อายุพัฒนาการ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ประสบการ

ตัวบง่ ชี้ ๑๑.๑ ทำงานศิลปะตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์

๓ – ๔ ปี 1. สร้างผลงานศิลปะเพือ่ สื่อสารความคิด ๑.การรับรู้

อยา่ งอิสระ ผ่านสือ่ วัส

๒.การแสดง

ทา่ ทาง การ

๔ – ๕ ปี 1. สรา้ งผลงานศลิ ปะเพื่อสื่อสารความคิด ๑.การรบั รู้

ความรู้สกึ ของตนเอง ผ่านส่ือ วัส

๒.การแสดง

ท่าทาง การ

๕ – ๖ ปี 1. สร้างผลงานศิลปะเพ่อื ส่ือสารความคดิ ๑.การรับรู้

ความรู้สกึ ของตนเองโดยมี ผา่ นสอ่ื วัส

การดัดแปลงแปลกใหมจ่ ากเดิม ๒.การแสดง

ทา่ ทาง การ

๓.การสรา้ ง

รปู ทรงจาก

ตัวบง่ ช้ี ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหวตามจนิ ตนาการอย่างสร้างสรรค์

๓ – ๔ ปี 1. เคลอ่ื นไหวทา่ ทางเพื่อสือ่ สารความคิด ๑.การแสดง

ความรสู้ ึกของตนเอง ท่าทาง การ

117

และความคิดสรา้ งสรรค์ตามศักยภาพ

รณ์สำคญั แนวทางการจดั กจิ กรรม

และแสดงความคิดความรสู้ ึก 1.ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนหยบิ สีตา่ ง ๆ และวาดลงบน
สดุ ของเลน่ และชนิ้ งาน กระดาษ ตามจินตนาการ เพ่ือให้ผ้เู รียนแสดงผลงาน
งความคิดสร้างสรรคผ์ า่ นภาษา ทางศิลปะ และความคดิ สรา้ งสรรค์
รเคล่อื นไหว และศิลปะ
1.ผู้สอนให้ผูเ้ รียนหยิบสีตา่ ง ๆ และวาดลงบน
และแสดงความคิดความร้สู กึ กระดาษ ตามจินตนาการ เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนแสดงผลงาน
สดุ ของเลน่ และชนิ้ งาน ทางศิลปะ และความคดิ สรา้ งสรรค์
งความคิดสรา้ งสรรค์ผ่านภาษา
รเคลื่อนไหว และศิลปะ 1.ผู้สอนให้ผเู้ รียนหยบิ สีตา่ ง ๆ และวาดลงบน
กระดาษ ตามรูปภาพที่ครูกำหนด เพ่ือใหผ้ ู้เรียน
และแสดงความคิดความรูส้ กึ แสดงผลงานทางศลิ ปะ และความคิดสรา้ งสรรค์
สดุ ของเลน่ และช้นิ งาน 2.ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นสรา้ งชิ้นงานในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่
งความคิดสรา้ งสรรคผ์ า่ นภาษา รูปทรง รูปผลไม้ รปู สัตว์ จากวสั ดเุ หลอื ใช้
รเคลือ่ นไหว และศิลปะ
งสรรคช์ ้นิ งานโดยใชร้ ปู ร่าง
กวสั ดุท่ี หลากหลาย

งความคิดสรา้ งสรรคผ์ ่านภาษา 1. ผ้สู อนจัดกิจกรรมการเลา่ นทิ าน โดยใหผ้ เู้ รยี นได้

รเคลื่อนไหว และศิลปะ แสดงบทบาทสมมติ ในการใช้ภาษา และทา่ ทาง

ประกอบ

มาตรฐานที่ ๑๑ มจี ินตนาการ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ประสบการ
๔ – ๕ ปี
1. เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อส่อื สารความคดิ ๑.การแสดง

ความรู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายหรือ ทา่ ทาง การ

แปลกใหม่ ๒.การสรา้ ง

รปู ทรงจาก

๕ – ๖ ปี 1. เคลื่อนไหวทา่ ทางเพ่ือสือ่ สารความคดิ ๑.การแสดง
ความร้สู ึกของตนเองอย่าง หลากหลาย และ ท่าทาง การ
แปลกใหม่ ๒.การสรา้ ง
รูปทรงจาก

118

และความคิดสรา้ งสรรคต์ ามศกั ยภาพ

รณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

งความคิดสรา้ งสรรค์ผา่ นภาษา 1. ผู้สอนจัดกจิ กรรมการเลา่ นทิ าน โดยให้ผู้เรยี นได้

รเคลอื่ นไหว และศิลปะ แสดงบทบาทสมมติ ในการใช้ภาษา และทา่ ทาง

งสรรค์ชิน้ งานโดยใช้รูปรา่ ง ประกอบ

กวัสดทุ ่ี หลากหลาย 2.ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นสรา้ งชน้ิ งานในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น

รปู ทรง รูปผลไม้ รูปสัตว์ จากวสั ดุเหลอื ใช้

งความคิดสร้างสรรค์ผา่ นภาษา 1. ผ้สู อนจดั กิจกรรมการเล่านิทาน โดยให้ผู้เรียนได้

รเคลื่อนไหว และศิลปะ แสดงบทบาทสมมติ ในการใช้ภาษา และทา่ ทาง

งสรรค์ชิ้นงานโดยใชร้ ูปรา่ ง ประกอบ

กวัสดุที่ หลากหลาย 2.ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนสรา้ งชนิ้ งานในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่

รูปทรง รูปผลไม้ รูปสตั ว์ จากวัสดเุ หลอื ใช้

มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคติท่ดี ีต่อการเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาคว

มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรียนรู้ และม

อายพุ ัฒนาการ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ประสบกา

ตวั บง่ ชี้ ๑๒.๑ มีเจตคติทด่ี ีต่อการเรียนรู้

๓ – ๔ ปี 1. กระตือรือรน้ ในการเขา้ ร่วม ๑.การสำรวจสิ่งตา่ ง ๆ

กจิ กรรม รอบตวั

2. สนใจฟังด้วยตนเอง

๔ – ๕ ปี 1. กระตือรือรน้ ในการเขา้ รว่ ม ๑.การตงั้ คำถามในเรื่อ
๕ – ๖ ปี กิจกรรม
2. สนใจเกยี่ วกบั สญั ลกั ษณ์หรอื
ตวั หนงั สือท่พี บเห็น

1. กระตอื รือร้นในการรว่ มกิจกรรม ๑.การสบื เสาะหาควา
ตั้งแต่ต้นจนจบ ของข้อสงสัยตา่ ง ๆ
2. สนใจหยิบหนงั สือมาอ่านสื่อ ๒.การมีส่วนรว่ มในกา
ความคดิ ดว้ ยตนเอง นำเสนอข้อมลู จากกา
ในรูปแบบตา่ ง ๆ และ

119

วามร้ไู ด้ตามศกั ยภาพ

มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ตามศกั ยภาพ

ารณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

ๆ และแหลง่ เรยี นรู้ 1. ร่วมเลน่ กจิ กรรมงา่ ย ๆ กับเด็กเรมิ่ จากกลมุ่ เล็ก ๆ เช่น เล่น
องทีส่ นใจ ซอ่ นหา ตอ่ บล็อก สร้างบา้ น เลน่ ขายของ เปน็ ต้น โดยตั้งกฎ
กตกิ าร่วมกัน และส่งเสริมให้เดก็ เลน่ กับเพอ่ื น โดยคอยดแู ล
ขณะกำลงั เล่น
2. ถ้าเดก็ ยังไม่สามารถเล่นตามกฎกติกาได้ ให้คอยกำกับเด็ก
จนเล่น ตามกฎกติกาไดเ้ อง
3. ฝึกเดก็ ให้รูจ้ กั แพ้ชนะในการเล่นกจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น เล่น
ซ่อนหา เปน็ ตน้

1.ผ้สู อนใหผ้ ู้เรียนตอบคำถามง่าย ๆ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นพูดแสดง
ความเปน็ เจา้ ของ เชน่ ปากกาของใคร สมดุ ของหนูหรือเปลา่
เป็นต้น

ามรู้เพ่ือค้นหาคำตอบ 1.ใหผ้ ู้เรียนเลน่ ตามจินตนาการ เช่น การตอ่ บล็อกไม้ในทรงสงู
การตอ่ จ๊ิกซอว์ เป็นตน้

ารรวบรวมขอ้ มูล และ
ารสบื เสาะหาความรู้
ะแผนภูมิอยา่ งงา่ ย

มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติทด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้ และม

อายุพัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบกา

ตัวบง่ ช้ี ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

๓ – ๔ ปี 1. ใชป้ ระโยคคำถามว่า “ใคร” ๑.การตงั้ คำถามในเรื่อ

“อะไร” ในการคน้ หาคำตอบ

๔ – ๕ ปี 1. คน้ หาคำตอบของข้อสงสัยตา่ ง ๆ ๑.การต้ังคำถามในเร่ือ

ตามวธิ กี ารท่ีมีผู้ช้ีแนะ ๒.การสบื เสาะหาควา

2. ใชป้ ระโยคคำถามวา่ “ที่ไหน” ของข้อสงสยั ตา่ ง ๆ

“ทำไม” ในการค้นหาคำตอบ

๕ – ๖ ปี 1. ค้นหาคำตอบของขอ้ สงสยั ตา่ ง ๆ ๑.การต้งั คำถามในเร่ือ
ตามวิธกี ารของตนเอง

120

มีความสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้ตามศกั ยภาพ

ารณ์สำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

องที่สนใจ 1.เล่านทิ านใหเ้ ดก็ ฟังตั้งคำถามจากเนื้อเรือ่ งในนทิ านให้เด็ก
ตอบ และกระต้นุ ให้เดก็ เป็นผู้ถามพ่อแม่ผู้ปกครองหรือผูด้ ูแล
องท่สี นใจ เด็ก เป็นผ้ตู อบบ้าง
ามรูเ้ พ่ือค้นหาคำตอบ 2.ตั้งคำถามจากชีวิตประจำวันใหเ้ ด็กตอบบ่อย ๆ เชน่ “ใคร
สอนหนงั สอื ” “ร้องเพลงอะไร”“หนงั สอื อยูท่ ่ีไหน” “ทำไมต้อง
ไป” ในชีวิตประจำวนั
3.เมื่อเดก็ ถามใหต้ อบเด็กทุกคร้งั ด้วยความเอาใจใส่ และพูดคยุ
กับเด็กในเรอ่ื งท่เี ด็กถาม

1. กระต้นุ ให้เด็กพดู คุย หรือโตต้ อบกันขณะเลน่ ด้วยกนั เช่น
เลน่ ขายของเล่น เปน็ หมอกับคนไข้ โดยใหเ้ ด็กมสี ว่ นร่วมในการ
เลือกนทิ าน ถามคำถามเกีย่ วกบั นทิ าน และฝึกให้เดก็ ยกมือขึน้
ก่อนตอบคำถาม
2. ให้เดก็ มสี ว่ นรว่ มในการเสนอความคิดเห็น เชน่ ถามเด็กว่า
“วันน้ีเราจะกนิ อะไรกันดี
3. เปดิ โอกาสใหเ้ ด็ก ฝึกพูดคยุ กันในกลุ่ม เพือ่ แบ่งหน้าท่ีในการ
ทำงานร่วมกัน เช่น ช่วยเกบ็ ขยะ เกบ็ ของเลน่ จัดโต๊ะ เก้าอี้
4. ถ้าเด็กพูดแทรกให้บอกเด็กวา่ “หนูรอก่อนนะ เดย๋ี วแม่ขอพูด ใหจ้ บ
กอ่ น แล้วหนูค่อยพดู ต่อ” ทำทุกครงั้ ที่เด็กพูดแทรก

องที่สนใจ 1. กระตุ้นใหเ้ ด็กพดู คยุ หรือโตต้ อบกนั ขณะเล่นดว้ ยกัน เช่น
เลน่ ขายของเล่น เปน็ หมอกับคนไข้ ครกู ับนักเรยี น หรือเล่า

มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ี่ดีต่อการเรยี นรู้ และม

อายุพัฒนาการ สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบกา

2. ใช้ประโยคคำถามว่า “เม่ือไร” ๒.การสืบเสาะหาควา

“อยา่ งไร” ในการค้นหาคำตอบ ของขอ้ สงสัยต่าง ๆ

ประสบการณ์สำคัญทค่ี วรส

๑. การตอบคาถามจากกการคิด
๒. การเชอ่ื มโยงจากประสบการณเ์ ดิม
๓. การเรยี งลาดับเหตกุ ารณ์
๔. การยืดหย่นุ การคิดตามวยั
๕. การจดจอ่ ใส่ใจ
๖. การสังเกตวัตถหุ รอื สิง่ ของทีม่ สี สี นั และรูปทรงท่ตี ่างกัน
๗. การฟงั เสยี งตา่ ง ๆ รอบตวั
๘. การฟังนทิ านหรือเรื่องราวสั้น ๆ
๙. การพูดบอกความต้องการ
๑๐. การเล่าเร่ืองราว
๑๑. การสำรวจ

121

มีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้ตามศกั ยภาพ

ารณ์สำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

ามรู้เพอ่ื ค้นหาคำตอบ นิทานให้ เดก็ ฟัง โดยให้เด็กมีสว่ นร่วมในการเลือกนิทาน ถาม

คำถามเก่ยี วกับ นิทาน และฝึกใหเ้ ดก็ ยกมือขึ้นกอ่ นตอบคำถาม

2.ผู้สอนให้ผูเ้ รียนตอบคำถามง่าย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนบอกความ

ตอ้ งการได้ เชน่ เม่ือไรจะไป งานชนิ้ นี้ทำอยา่ งไร เปน็ ต้น

ส่งเสริมพฒั นาการดา้ นสติปัญญา

มาตรฐานท่ี ๑๓ มีการพัฒนาทกั ษะจำเป็นเฉพาะความพิการแตล่ ะประเภท
มาตรฐาน ๑๓.๑ การพฒั นาทกั ษะจำเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางการเหน็

สภาพท

ตวั บง่ ช้ี ๑3.๑.1 มีความสามารถในการบรู ณาการประสาทสัมผัสที่เหลอื อยู่ในการ

๑.๑ รับรูต้ ่อการใชป้ ระสาทสัมผัสทางการเหน็ ท่เี หลอื อยู่ (สำหรับบุคคลสายตาเลือ
๑.๒ รับรู้ต่อการใช้ประสาทสัมผัสทางการไดย้ ินเสยี งตา่ ง ๆ ในสภาพแวดลอ้ มได้
๑.๓ รับรู้ตอ่ การใช้ประสาทสัมผสั ทางการดมกลนิ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั ได้
๑.๔ รับรูต้ ่อการใช้ประสาทสัมผัสทางการชมิ รสส่งิ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวันได้
๑.๕ รับรู้ต่อการ ใช้ประสาทสัมผัสทางผิวกายสัมผัสส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัวและในสภาพ
๑.๖ รับรู้ต่อการใช้ประสาทการรบั รูก้ ารทรงตวั ได้
๑.๗ รบั รู้ต่อการใชป้ ระสาทการรบั รู้การเคลือ่ นไหว เอ็นและข้อต่อได้
๑.๘ การรับรู้ตอ่ การใช้ประสาทสมั ผัสในการรับประทานอาหาร

ตวั บ่งชี้ ๑3.๑.2 มคี วามสามารถในการสรา้ งความค้นุ เคยกับสภาพแวดล้อมและก

๒.๑ มคี วามคิดรวบยอดทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการสรา้ งความคุ้นเคยกบั สภาพแวดล้อมแล
๒.๒ เดินทางกบั ผ้นู ำทางได้อยา่ งเหมาะสมและ ปลอดภยั
๒.๓ เดนิ โดยอิสระในสถานท่ีคนุ้ เคยไดอ้ ย่างอิสระและ และปลอดภยั

ตวั บ่งชี้ ๑3.๑.3 มกี ารเตรยี มความพร้อมในการอ่านอักษรเบรลล์

๓.๑ เคล่ือนทม่ี อื และนิว้ มือในการสมั ผัสจุดนูน เส้นนนู และภาพนนู ไดต้ ามแบบ

ตวั บ่งชี้ ๑3.๑.4 มกี ารเตรยี มความพร้อมในการเขียนอักษรเบรลล์

4.๑ ใสแ่ ละเล่ือนกระดาษในสเลส (Slate) ไดอ้ ย่างถูกวธิ ี
๔.๒ จบั สไตลัส (Stylus) ในการเขยี นจดุ นูนได้อยา่ ง ถูกวธิ ี

ตัวบง่ ช้ี ๑3.๑.5 มคี วามสามารถในการอา่ นอกั ษรเบรลล์พยญั ชนะไทยทีม่ ีเซลลเ์ ด

๕.๑ การอา่ นอกั ษรเบรลล์ไทยทเ่ี ปน็ พยัญชนะเซลล์เดยี วและตวั เลข

122

ทีพ่ ึงประสงค์
รดำรงชวี ติ
อนราง) ในการมองสง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั ได้

พแวดล้อมได้

การเคล่ือนไหวของคนตาบอด
ละการ เคลื่อนไหวของคนตาบอด

ดยี วและตวั เลข

สภาพท
ตัวบ่งชี้ ๑3.๑.6 มีความสามารถในการเขยี นอักษรเบรลล์พยัญชนะไทยที่มเี ซลล์เ
๖.๑ การเขียนอักษรเบรลล์ท่เี ปน็ พยญั ชนะไทยเซลล์เดยี วและตวั เลข

ตัวบง่ ชี้ ๑3.๑.7 มคี วามสามารถในการใชล้ ูกคดิ
๗.๑ การใช้ลกู คดิ ในการบวกลบง่าย ๆ

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.๑.๘ สามารถใช้เทคโนโลยสี ิง่ อำนวยความสะดวก เคร่ืองช่วยในการเร
8.๑ ใชอ้ ุปกรณ์ช่วยในการสื่อสารทางเลอื ก
8.๒ ใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการเขา้ ถงึ คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การเรยี นรู้
8.๓ ใช้โปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเตอร์เพื่อชว่ ยในการเรียนรู้

123

ท่ีพึงประสงค์
เดียวและตวั เลข

รียนรู้

มาตรฐานที่ ๑๓.2 การพฒั นาทกั ษะจำเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางการได้ยิน
สภาพท

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.2.1 สามารถใช้และดูแลเครื่องช่วยฟังหรือเครอ่ื งประสาทหูเทียม
๑.๑ บอกส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองช่วยฟังหรือเครือ่ งประสาทหเู ทียม
๑.๒ ใช้เครือ่ งช่วยฟังได้ถูกต้องหรอื เครื่องประสาทหู เทียม
๑.๓ ดูแลรักษาเคร่อื งชว่ ยฟงั หรือเครอ่ื งประสาทหูเทยี ม

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.๒.๒ สามารถใช้การได้ยินที่หลงเหลืออยู่ในชีวติ ประจำวัน
๒.๑ รูว้ ่ามเี สียง/ไม่มเี สียง
๒.๒ บอกเสยี งที่ไดย้ นิ
๒.๓ บอกแหล่งท่ีมาของเสีย

ตวั บ่งชี้ ๑๓.๒.3 สามารถเปลง่ เสียงหรือพูดตามแบบ
๓.๑ เปล่งเสยี งคำท่ีไม่มีความหมายตามแบบ
๓.๒ พูดคำง่าย ๆ ทีม่ ีความหมายตามแบบ
๓.๓ พูดเปน็ วลงี ่าย ๆ ตามแบบ
๓.๔ พูดเปน็ ประโยคง่าย ๆ ตามแบบ

ตวั บง่ ชี้ ๑๓.2.4 สามารถอ่านริมฝปี าก
๔.๑ อา่ นรมิ ฝีปากและเข้าใจความหมาย
๔.๒ ทำรูปปากเป็นคำที่มีความหมายและผู้อืน่ เขา้ ใจได้
๔.๓ ทำรูปปากเปน็ วลีง่าย ๆ และผ้อู น่ื เขา้ ใจได้
๔.๔ ทำรปู ปากเปน็ ประโยคง่าย ๆ และผอู้ ่นื เข้าใจได้

124

ที่พงึ ประสงค์

สภาพท

ตวั บง่ ชี้ ๑๓.๒.5 สามารถใช้ภาษาท่าทางและภาษามือ ในการสือ่ สาร
๕.๑ ใช้ภาษาท่าทางในการสื่อสาร
๕.๒ ใชภ้ าษามือบอกชื่อสง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว
๕.๓ ใชภ้ าษามือเพ่ือการสนทนาและสื่อสาร

ตัวบ่งช้ี ๑๓.๒.6 สามารถสะกดนิ้วมือ
๖.๑ สะกดนว้ิ มอื พยัญชนะไทย
๖.๒ สะกดนว้ิ มอื สระและสระเปลี่ยนรปู
๖.๓ สะกดน้วิ มือ วรรณยกุ ต์
๖.๔ สะกดนวิ้ มอื ชือ่ ตนเอง
๖.๕ สะกดนว้ิ มอื คำงา่ ย ๆ
๖.๖ สะกดน้ิวมอื อักษรภาษาอังกฤษ

ตวั บง่ ชี้ ๑๓.2.7 สามารถใช้เทคโนโลยสี ิง่ อำนวยความสะดวก เครอ่ื งชว่ ยในกา
7.๑ ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยในการสอื่ สารทางเลือก
7.๒. ใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการเข้าถึงคอมพวิ เตอรเ์ พือ่ การเรยี นรู้
7.๓ ใช้โปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเตอรเ์ พ่ือชว่ ยในการเรยี นรู้

125

ทพี่ งึ ประสงค์
ารเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version