The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by secrn, 2021-11-09 03:54:50

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

หลักสูตรสถานศึกษาศกศ.รน2564

ตวั บง่ ช้ี ๑๓.5.5 มคี วามสามารถในการบอกตำแหน่ง/ ทิศทาง

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี สภาพท
- 1.บ

ตัวบ่งชี้ ๑๓.5.6 สามารถใช้เทคโนโลยสี ิ่งอำนวยความสะดวก เคร่อื งช่วยในการ

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี

- - ๑ใ

๒.

คอ

๓ใ

ชว่

มาตรฐาน ๑๓.6 การพัฒนาทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางการพูดและภ

ตวั บง่ ช้ี ๑๓.6.1 สามารถควบคุมอวยั วะในการออกเสยี ง

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี

1.เคลอ่ื นไหวอวัยวะในการพูด 1.เคล่ือนไหวอวยั วะในการพูด

๒ ควบคุมอวัยวะในการพดู

50

ทพ่ี ึงประสงค์

อายุ (๔-๕ ป)ี อายุ (๕-๖ ปี)

บอกทิศทางหรือตำแหน่งของสงิ่ ตา่ ง ๆ 1.บอกทศิ ทางหรือตำแหน่งของส่งิ ต่าง ๆ

รเรยี นรู้ อายุ (๕-๖ ป)ี

ที่พงึ ประสงค์ ๑ ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการสื่อสารทางเลือก
๒. ใช้อุปกรณช์ ่วยในการเขา้ ถึงคอมพิวเตอร์
อายุ (๔-๕ ป)ี เพอ่ื การเรียนรู้
๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผา่ นคอมพวิ เตอรเ์ พื่อชว่ ย
ใช้อปุ กรณ์ช่วยในการส่ือสารทางเลือก ในการเรยี นรู้
ใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยในการเข้าถึง
อมพวิ เตอรเ์ พื่อการเรียนรู้
ใช้โปรแกรมเสริมผา่ นคอมพิวเตอรเ์ พอื่
ยในการเรยี นรู้
ภาษา

ที่พึงประสงค์ อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๔-๕ ปี) 1.เคล่อื นไหวอวัยวะในการพูด
๒ ควบคมุ อวยั วะในการพดู
1.เคลือ่ นไหวอวัยวะในการพูด
๒ ควบคุมอวัยวะในการพูด

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.6.2 สามารถออกเสียงตามหนว่ ยเสยี งไดช้ ดั เจน

สภาพท

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ป)ี
- -

ตวั บ่งชี้ ๑๓.6.3 สามารถเปลง่ เสียงให้เหมาะสมกับธรรมชาตขิ องแตล่ ะคน

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

- 1.เปล่งเสียงในระดบั เสยี งทท่ี ำใหผ้ ูอ้ ่นื

ฟงั ได้

ตวั บง่ ชี้ ๑๓.6.4 สามารถควบคมุ จังหวะการพูด

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ป)ี สภาพท
- -
๑ ควบ
(๗๐-๑

51

ทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ปี)
อายุ (๔-๕ ปี)
๑ การออกเสียง หน่วยเสียงสระได้ชดั เจน
๑ การออกเสยี ง หนว่ ยเสียงสระได้ ๒ การออกเสยี ง หน่วยเสียงพยัญชนะได้
ชดั เจน ชัดเจน
๓ การออกเสียงคำไดช้ ัดเจน

ที่พึงประสงค์

อายุ (๔-๕ ป)ี อายุ (๕-๖ ปี)

1.เปลง่ เสียงในระดบั เสียงที่ทำให้ผอู้ ื่น 1.เปลง่ เสียงในระดบั เสยี งทท่ี ำให้ผอู้ ่ืนฟังได้

ฟังได้

ท่พี ึงประสงค์ อายุ (๕-๖ ปี)
อายุ (๔-๕ ปี)
๑ ควบคุมจังหวะการพูดได้เป็นจงั หวะปกติ
บคุมจงั หวะการพดู ไดเ้ ป็นจงั หวะปกติ (๗๐-๑๐๐ คำต่อนาที)
๑๐๐ คำตอ่ นาที) ๒ พดู ได้คล่องหรือลดภาวะการติดอา่ ง
๓ พดู เว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.6.5 สามารถใช้เทคโนโลยีสิง่ อำนวยความสะดวก เครอ่ื งชว่ ยในการ

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

- - .๑ ใช้อ

๒. ใชอ้

เพื่อกา

๓ ใช้โป

ในการเ

มาตรฐาน ๑๓.7 การพัฒนาทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางพฤติกรรมแล

ตวั บ่งชี้ ๑๓.7.1 สามารถจัดการกบั อารมณ์ของตนเองได้

สภาพท

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ป)ี อายุ (๔-

---

ตวั บ่งช้ี ๑๓.7.2 สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี) อายุ (๔-

---

52

รเรยี นรู้

ทพี่ งึ ประสงค์

อายุ (๔-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ป)ี

อุปกรณ์ชว่ ยในการสือ่ สารทางเลือก ๑ ใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการส่ือสารทางเลือก

อปุ กรณช์ ่วยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์ ๒. ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์

ารเรยี นรู้ เพื่อการเรียนรู้

ปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วย ๓ ใช้โปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเตอร์เพื่อ

เรียนรู้ ชว่ ยในการเรยี นรู้

ละอารมณ์

ที่พงึ ประสงค์
-๕ ป)ี อายุ (๕-๖ ปี)

1.ควบคมุ ความรู้สกึ หรืออารมณข์ องตนเองได้
๒. แสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์

ที่พงึ ประสงค์
-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ป)ี

1.ควบคุมตนเองในการทำกิจกรรมรว่ มกับเพอ่ื นได้อยา่ งเหมาะสม

ตวั บ่งชี้ ๑๓.7.3 สามารถปรับตัวในการอยู่ร่วมกับสงั คม

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ปี) สภาพท
- - อายุ (๔-

-

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.7.4 สามารถใช้เทคโนโลยสี ่ิงอำนวยความสะดวก เครอ่ื งชว่ ยในการ

สภาพท

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ป)ี อายุ (๔-

---

53

ทพ่ี งึ ประสงค์
-๕ ปี) อายุ (๕-๖ ป)ี

1.การปฏบิ ัตติ ามกฎกติกาและมารยาททางสังคมได้อย่างถูกต้อง

รเรยี นรู้
ที่พงึ ประสงค์
-๕ ป)ี อายุ (๕-๖ ปี)

1.ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยในการสือ่ สารทางเลือก
๒. ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยในการเขา้ ถึงคอมพวิ เตอร์เพ่ือการเรยี นรู้
๓ ใช้โปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเตอร์เพอ่ื ช่วยในการเรยี นรู้

มาตรฐาน ๑๓.8 การพฒั นาทกั ษะจำเปน็ เฉพาะบคุ คลออทิสติก

ตัวบง่ ช้ี ๑๓.8.1 ตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าจากประสาทสมั ผัสไดเ้ หมาะสม

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ป)ี

- 1.ตอบสนองต่อการทรงตวั ได้เหมาะสม

2.ตอบสนองต่อการเคลอื่ นไหวเอ็นและ

ข้อต่อไดเ้ หมาะสม

3.ตอบสนองต่อกายสัมผสั ได้เหมาะสม

ตัวบง่ ชี้ ๑๓.8.2 เขา้ ใจภาษาและแสดงออกทางภาษาได้อย่างเหมาะสม

สภาพท

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

- 1 ปฏบิ ัตติ ามคำสั่งได้

54

ทีพ่ ึงประสงค์

อายุ (๔-๕ ป)ี อายุ (๕-๖ ป)ี

ม 1.ตอบสนองต่อการทรงตวั ได้เหมาะสม 1.ตอบสนองต่อการทรงตัวได้เหมาะสม

ะ 2.ตอบสนองต่อการเคลือ่ นไหวเอ็นและ ๒ ตอบสนองต่อการเคลือ่ นไหวเอน็ และ

ข้อต่อได้เหมาะสม ขอ้ ต่อไดเ้ หมาะสม

ม 3.ตอบสนองต่อกายสัมผสั ไดเ้ หมาะสม ๓ ตอบสนองต่อกายสัมผัสได้เหมาะสม

4.ตอบสนองต่อการดมกล่นิ ได้เหมาะสม ๔ ตอบสนองต่อการดมกล่นิ ได้เหมาะสม

5.ตอบสนองต่อเสียงที่ได้ยนิ ได้ ๕ ตอบสนองต่อเสยี งที่ได้ยนิ ได้

เหมาะสม

๖ ตอบสนองต่อการเห็นได้เหมาะสม

๗ ตอบสนองต่อการลิ้มรสไดเ้ หมาะสม

ท่พี งึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ปี)

อายุ (๔-๕ ป)ี 1 ปฏบิ ัติตามคำสัง่ ได้
๒ ส่อื สารโดยการใช้ทา่ ทาง รูปภาพ
1 ปฏบิ ัติตามคำสง่ั ได้ สัญลกั ษณค์ ำพูดในชวี ิตประจำวนั
๒ ส่ือสารโดยการใชท้ ่าทาง รูปภาพ
สัญลักษณ์คำพดู ในชวี ิตประจำวนั

ตวั บ่งช้ี ๑๓.8.3 แสดงพฤติกรรมท่เี หมาะสมตามสถานการณ์

อายุ (๐-๓ ปี) อายุ (๓-๔ ปี) สภาพท
- -
๑ รับรแู้ ละแ
บคุ คลอน่ื อย

ตวั บง่ ชี้ ๑๓.8.4 สามารถใช้เทคโนโลยสี ่งิ อำนวยความสะดวก เคร่ืองชว่ ยในการ

สภาพ

อายุ (๐-๓ ป)ี อายุ (๓-๔ ปี)

--

55

ท่พี งึ ประสงค์ อายุ (๕-๖ ปี)
อายุ (๔-๕ ปี)
แสดงอารมณ์ของตนเองและ ๑ รบั รู้และแสดงอารมณ์ของตนเองและบุคคลอน่ื อยา่ ง
ยา่ งเหมาะสม เหมาะสม
๒ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงของห้องเรยี นและโรงเรยี น
๓ ปฏิบัติตนเหมาะสมตามสถานการณ์ ต่าง ๆ
4. สามารถรอคอยในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
5. เข้าใจและยอมรับการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ได้
6 สามารถควบคุมตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

รเรยี นรู้ อายุ (๕-๖ ปี)
พทีพ่ งึ ประสงค์
๑ ใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยในการสื่อสารทางเลอื ก
อายุ (๔-๕ ปี) ๒. ใชอ้ ุปกรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอมพวิ เตอร์เพื่อการเรียนรู้
- ๓ ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเตอร์เพอื่ ช่วยในการเรยี นรู้

56

โครงสร้างหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยสำหรบั เดก็ ที่มคี วามตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษ
ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจำจงั หวัดระนอง

การพัฒนาศักยภาพเด็กพิการ หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความ

ต้องการจำเป็นพิเศษ ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๕๖๔ จำเป็นต้องคำนึงถึง

โครงสรา้ งหลักสตู ร ดงั น้ี

มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์

๑. พัฒนาการดา้ นร่างกาย ๕. พัฒนาการด้านทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความพกิ าร

๒. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ๑). พฒั นาการทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการเหน็

๓. พัฒนาการด้านสงั คม ๒). พัฒนาการทกั ษะจำเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ

๔. พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ๓). พัฒนาการทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางสตปิ ัญญา

๔). พัฒนาการทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย

หรอื การเคลือ่ นไหว หรอื สขุ ภาพ

๕). พัฒนาการทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางการ

เรยี นรู้

๖). พฒั นาการทกั ษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางการพดู

และภาษา

๗). พัฒนาการทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางพฤตกิ รรม

หรืออารมณ์

๘). พฒั นาการทกั ษะจำเป็นเฉพาะออทสิ ติก

๙). พฒั นาการทักษะจำเปน็ เฉพาะพิการซอ้ น

เวลาเรียน ตามอายุจรงิ ตัง้ แตแ่ รกเกิด ถงึ ๖ ปี

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น

๑. กจิ กรรมทัศนศึกษา

๒. กจิ กรรมนันทนาการ

๓. กจิ กรรมคณุ ธรรม จริยธรรม

๔. กิจกรรมเทคโนโลยสี าระสนเทศ

แผนภาพที่ ๑ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ

ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจงั หวดั ระนอง พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

57

การจัดเวลาเรยี น

………………………………..
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาใน
การจดั ประสบการณ์ให้กับเด็ก ใน 1 ปกี ารศึกษาโดยประมาณ มเี วลาเรียนไมน่ ้อยกวา่ ๑๘๐ วัน ในแตล่ ะวันจะใช้
เวลาไม่นอ้ ยกว่า ๕ ช่ัวโมง ทง้ั นี้ ข้นึ อยูก่ ับอายุของเด็กทเ่ี ร่ิมเข้าสถานศึกษาหรือศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ เวลาเรียน
จึงขึ้นอยู่กับความพร้อม พัฒนาการ และศักยภาพของเด็กพิการตามประเภท และสภาพความพิการของแต่ละ
บุคคล

สาระการเรียนรู้
..................................

สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ อายุ ๐-๖ ปี
เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา ซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยอาจจัดในรูปแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ หรือเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย สาระการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย ๒ ส่วน คือ
ประสบการณ์สำคญั และสาระท่ีควรเรยี นรู้ ดังนี้

๑. ประสบการณ์สำคัญ ประสบการณ์สำคัญ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้เด็กได้ลงมือทำด้วย
ตนเอง เพ่ือพัฒนาเด็กทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะระยะแรกเริ่มชีวิต
และชว่ งระยะปฐมวัยมีความสำคัญเปน็ พเิ ศษ เนอ่ื งจากเป็นรากฐานของพัฒนาการก้าวต่อไปของชีวิตเด็กแต่ละ
คน ตลอดจนเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดความสามารถ แรงจูงใจ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และความกระตือรือร้นในการ
พัฒนาตนเองของเด็ก ที่จะส่งผลต่อเนื่องจากช่วงวัยเด็กไปสู่วัยรุ่น และวัยผู้ใหญ่ ประสบการณ์สำคัญจะ
เกี่ยวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อมทุกด้านที่กระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และมีความสามารถในการสร้าง
ความสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในวิถีชีวิตของเด็ก และในสังคมภายนอก อันจะสั่งสมเป็นทักษะพื้นฐานท่ี
จำเปน็ ตอ่ การเรียนรู้ และสามารถพัฒนาตอ่ เน่ืองไปสรู่ ะดบั ที่สูงขึน้

ประสบการณส์ ำคญั ท่ชี ว่ ยส่งเสรมิ พฒั นาการทางร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา ของเด็ก
นั้น พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจำเป็นต้องสนับสนุนให้เด็กมีประสบการณ์ตรงด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า การ
เคล่อื นไหวสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย การสรา้ งความรักความผูกพันกับคนใกล้ชิด การปฏิสมั พันธก์ บั ผู้คน และส่ิง
ตา่ ง ๆ รอบตัว และการรู้จกั ใช้ภาษาส่ือความหมาย ดงั นนั้ การฝกึ ทักษะต่าง ๆ ตอ้ งให้เด็กมปี ระสบการณส์ ำคัญ
ผ่านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และการเล่น ให้เด็กเกิดการเรียนรู้จากการเลียนแบบ ลองผิดลองถูก สำรวจ
ทดลอง และลงมือกระทำจริง การปฏิสัมพันธ์กับวัตถุสิ่งของ บุคคล และธรรมชาติรอบตัวเด็กตามบริบทของ
สภาพแวดล้อม จำเป็นต้องมกี ารจัดประสบการณส์ ำคัญแบบองค์รวมท่ยี ึดเดก็ เป็น สำคญั ดังตอ่ ไปน้ี

๑. ประส
๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสน
สมั พันธร์ ะหว่างกล้ามเน้ือ และระบบประสาท ในการทำกิจวัตรประจำวันหรือทำกจิ
รกั ษาความปลอดภยั ดงั น้ี

มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัย และมสี ุขนิสัยทด่ี ี

มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ

อายุพัฒนาการ สภาพทพี่ ึงประสงค์

ตวั บง่ ช้ี ๑.๑ น้ำหนกั สว่ นสูง และเส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์

แรกเกิด – ๓ ปี 1. น้ำหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์ ได้รับ

2. เสน้ รอบศรี ษะตามเกณฑ์ เส้นร

๓ – ๖ ปี ๑. นำ้ หนัก และสว่ นสูงตามเกณฑข์ องกรมอนามยั

ตัวบ่งช้ี ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัยสุขนสิ ัยที่ดี

แรกเกดิ – ๓ ปี 1. มีภมู ติ ้านทานโรค ไมป่ ว่ ยบอ่ ย ขบั ถ่ายเปน็ เวลา ๑. ฝ

รับประทานอาหาร นอน และพักผอ่ นเหมาะสมกบั -
วัย -
๒. กิจกรรมการเคลื่อนไหวสอดคลอ้ งตามพัฒนาการ -
๓– ๔ ปี ๑. ยอมรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และดื่มน้ำที่

สะอาด -
๒. ลา้ งมอื ก่อน-หลังรบั ประทานอาหาร และหลังจาก -
ขับถา่ ย การใชห้ ้องน้า ห้องสว้ ม

๓. ดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปาก และฟัน

๔. นอนพกั ผอ่ นเปน็ เวลา

๕. ออกกำลังกายอย่างสมำ่ เสมอ

58

สบการณส์ ำคญั
นับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสาน
จกรรมตา่ ง ๆ และสนบั สนนุ ใหเ้ ด็กมโี อกาสดูแลสุขภาพ และสุขอนามัย สุขนิสัย และการ

ญเติบโตตามวัย และมสี ุขนิสัยทด่ี ี แนวทางการจัดกิจกรรม
ประสบการณ์สำคัญ

บการตรวจ และประเมิน น้ำหนัก ส่วนสูง ๑. ผ้สู อนส่งเสริม และปลูกฝังการดแู ล
รอบศีรษะตามเกณฑ์ของกรมอนามัย สขุ ภาพร่างกายของตวั เองให้ถูกต้อง และ

ถกู สุขลกั ษณะตามหลักของสาธารณสุข

ฝกึ ปฏบิ ัติตามสุขบญั ญตั ิเกี่ยวกบั สขุ อนามัย ๑. ผู้สอนส่งเสริม และปลูกฝังการดูแล

ลา้ งมือกอ่ น-หลังรบั ประทานอาหาร สุขภาพร่างกายของตัวเองให้ถูกต้อง และ
ทำความสะอาดหลังเข้าหอ้ งน้ำ หอ้ งสว้ ม ถกู สุขลกั ษณะตามหลักของสาธารณสขุ
รบั ประทานอาหารตามหลักโภชนาการ ๒. ผู้สอนส่งเสริม และปลูกฝั่งการดูแลทำ
ความสะอาดร่างกายตนเองผ่านการทำ
อาหารหลัก ๕ หมู่
กิจกรรมในชีวติ ประจำวัน
ออกกาลงั กาย
ดูแลรกั ษาความสะอาดตนเอง และของใช้ ๓. ผู้สอนส่งเสริม ฝึกฝนให้ผู้เรียน ดูแล
ส่วนตวั สุขภาพอนามัยของตนเอง และการเรียนรู้
การสุขาภิบาลของตนเอง ผ่านการทำ

กจิ กรรมในชีวิตประจำวัน

มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจริญ

อายุพัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์

๔– ๕ ปี ๑. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และดื่มนำ้ ๒. ท

สะอาดได้ พฒั น

๒. ลา้ งมอื ก่อน-หลงั รบั ประทานอาหาร และหลงั จาก เดิน

ขับถา่ ย การใชห้ อ้ งน้ำ ห้องสว้ ม

๓. ดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปาก และฟันโดยการบว้ นปาก/

แปรงฟันได้

๔. นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา

๕. ออกกำลังกายเปน็ เวลา

๕– ๖ ปี ๑. รับประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ และด่ืมนำ้

สะอาด

๒. ล้างมอื ก่อน-หลังรบั ประทานอาหาร และหลงั จาก

ขับถา่ ย การใชห้ ้องนา้ ห้องสว้ ม

๓. ดแู ลสุขภาพช่องปาก และฟันโดยการบว้ นปาก/

แปรงฟนั ได้

๔. นอนพักผ่อนเป็นเวลา

๕. ออกกำลังกายเปน็ เวลา

๖. รับประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ตามหลกั

โภชนาการ

ตัวบ่งช้ี ๑.๓ มสี ุขภาพอนามัยสุขนิสยั ที่ดี

๓– ๔ ปี 1. เลน่ และทำกจิ กรรมอย่างปลอดภยั ๑. ป

๔– ๕ ปี 1. เลน่ และทำกิจกรรมอย่างปลอดภยั

59

ญเติบโตตามวยั และมีสุขนสิ ยั ท่ีดี

ประสบการณ์สำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

ทำกจิ กรรมการเคลอื่ นไหวท่ีสอดคล้องตาม ๔. ผสู้ อนสง่ เสริม ฝึกฝนให้ผ้เู รยี น ดแู ล

นาการ เช่น นอน นง่ั ตบมอื คืบ คลาน สขุ ภาพอนามยั ของตนเอง และการเรยี นรู้

วง่ิ กระโดด การสขุ าภบิ าลของตนเอง รวมทงั้ เรียนรู้

เรอื่ งอาหารดมี ีประโยชน์ ผ่านการทำ

กจิ กรรมในชีวติ ประจำวัน

ปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยในกิจวัตรประจำวัน ๑. ผสู้ อน สอนใหผ้ ู้เรยี นร้จู ักปฏิบัติตน
ใหป้ ลอดภัยจากสถานการณ์อันตรายเพ่อื

มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่พี ึงประสงค์
๕– ๖ ปี
๑. เลน่ ทำกจิ กรรม และปฏบิ ัตติ ่อผอู้ น่ื อยา่ ง ๒. ฟ

ปลอดภยั ป้องก

๓. เล

๔. เล

60

ญเติบโตตามวยั และมีสุขนสิ ยั ทดี่ ี

ประสบการณ์สำคัญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

ฟังนทิ าน เรื่องราว เหตุการณ์ เกี่ยวกบั การ ปอ้ งกนั อนั ตรายทจี่ ะเกดิ ข้นึ กับนกั เรียนเอง

กนั และการรักษา ความปลอดภยั โดยการสอนให้ผเู้ รียนได้ปฏบิ ัตซิ ำ้ ๆ ใน

ลน่ เครอื่ งเลน่ อยา่ งปลอดภยั เรื่องความปลอดภัย การใหผ้ ูเ้ รียนไดท้ ำ

ลน่ บทบาทสมมตเิ หตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ กิจกรรมซำ้ ๆ ท่ไี ด้ใช้รา่ งกายในการ มอง

ฟัง และเคลือ่ นไหวผ้เู รยี นจะไดซ้ ึมซับ

ขอ้ มูลที่เปน็ นามธรรมไดง้ ่ายโดยใชเ้ ทคนิค

การสอนแบบละคร (บทบาทสมมติ)

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเน้อื ใหญ่ และกลา้ มเนอ้ื เล็กแขง็ แรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอื้ ใหญ่ และกลา้ มเน้ือเล็กแ

อายุพัฒนาการ สภาพท่พี งึ ประสงค์

ตัวบ่งชี้ ๒.๑ เคลอ่ื นไหวร่างกายอยา่ งคลอ่ งแคล่วประสานสมั พันธ์ และทรงตัวได้

แรกเกิด – ๓ ปี 1.นอนหงาย และหันหนา้ ไปขา้ งใดข้างหน่งึ ได้ ๑. ฝกึ เคลือ่

- นอน น่งั

เอว มือ แล

เทา้ และปล

๒. ฝกึ เคลอ่ื

- คืบ คลา

เคลื่อนที่ไป

ขวา หมนุ ตัว

- ฝกึ เคลื่อ

จังหวะดนต

๓. ฝกึ เคลื่อ

- การเคล

โดยใช้วัสดุอ

วัสดุอน่ื ๆ

4. ฝึกเคลอ่ื

การใช้กล้า

การจบั การ

แรกเกดิ – ๓ ปี 2.พลิกตะแคงตัวไปด้านซา้ ย และขวาได้ ๕. ฝึกเลน่ เค

- เล่นอิสระ

ปา่ ย โหน ม

61

ว และ ประสานสมั พนั ธก์ นั

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว และ ประสานสัมพันธ์กัน

ประสบการณ์สำคญั แนวทางการจดั กจิ กรรม

อนไหวอยกู่ ับท่ี ๑. ผู้สอนจัดทา่ ผูเ้ รียนในทา่ นอนหงายโดยผสู้ อนนั่ง

ง ตบมอื ผงกศีรษะ เคล่ือนไหวไหล่ อยปู่ ลายเทา้ ของผู้เรียน
ละแขน นิ้ว และนิ้วมือ เคาะเท้า ๒. ผู้สอนนำกระดิ่งหรือของเล่นมีเสียง สีสันสดใส
กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจมองหรือหันศีรษะตาม
ลายเทา้ อยกู่ ับท่ี
ทศิ ทางของการกระตนุ้
อนไหวเคลอ่ื นที่

าน เดิน วิ่ง กระโดด ก้าวกระโดด

ปข้างหน้า ข้างหลัง ข้างซ้าย ข้าง



อนไหวสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย ตาม

ตรี

อนไหวพร้อมวัสดุอปุ กรณ์

ลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

อุปกรณ์ เช่น ราวฝึกเดิน เชือก ผ้า

อนไหวทใ่ี ช้การประสานสมั พนั ธ์ของ

ามเนื้อใหญ่ในการกลิ้ง การขว้าง

รโยน การรบั การเตะ

ครือ่ งเล่นสนามอยา่ งอิสระ ๑. จัดท่าผู้เรียนโดยจัดแขนด้านที่ต้องการพลิก

ะ เล่นเครื่องเล่นในสนาม เล่นปีน เหยียดเหนือศีรษะ เพื่อไม่ให้พลิกตะแคงทับแขน

มดุ ลอดเครอ่ื งเล่น ตนเอง งอเข่าด้านตรงข้ามการพลิกตะแคง จับที่

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเน้ือใหญ่ และกลา้ มเน้อื เล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี ึงประสงค์

ตัวบ่งช้ี ๒.๑ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพนั ธ์ และทรงตัวได้

แรกเกิด – ๓ ปี 3.นอนคว่ำยกศีรษะ และหันไปข้างใดข้าง
หนึง่ ได้

4. นอนคว่ำยกศีรษะ และอกพน้ พืน้
แรกเกิด – ๓ ปี 5. ยันหน้าอกพ้นพ้นื โดยใชแ้ ขนช่วย

62

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และ ประสานสัมพนั ธ์กนั

ประสบการณ์สำคญั แนวทางการจัดกจิ กรรม

สะโพกเพื่อช่วยดันสะโพกให้พลิกไปด้านข้าง แล้ว
ใหโ้ ยกช้า ๆ เบา ๆ
๒. ในท่าตะแคง เพื่อให้ผู้เรียนรับรู้การเคลื่อนไหว
และการถ่ายเทน้ำหนักร่างกายการพลิกตะแคง
ด้วยตวั เอง ผ้เู รยี นนอนหงาย เขย่าของเล่นท่ีมีเสียง
หรอื สีสนั สดใสท่ผี ูเ้ รยี นสนใจ ด้านข้างระดับสายตา
ดา้ นใดดา้ นหน่งึ กระตุ้นใหผ้ ูเ้ รยี นพลิกตะแคงตัว

๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนอยู่ในท่านอนคว่ำ เขย่าของ
เล่นที่มี เสียงตรงหน้าผู้เรียน ระยะห่างประมาณ
๓๐ เซนติเมตร
๒. เมื่อผู้เรียนมองที่ของเล่นแล้วค่อย ๆ เคลื่อน
ของเล่น มาทางด้านซ้าย เพื่อให้ผู้เรียนหันศีรษะ
มองตาม(ค่อย ๆ เคลื่อน ของเล่นกลับมาที่เดิม)
ทำซ้ำอีกครั้ง โดยเปลี่ยนให้เคลื่อนของเล่นมา
ทางดา้ นขวา

๑. ให้กระตุ้นผเู้ รยี นโดยการเรียกช่ือ หรือเขย่าของ
เล่นด้านหน้าผู้เรียนโดยยกให้สูงกว่าระดับสายตา
ค้างไว้ สักครู่เพื่อให้ผู้เรียนมอง และพยายามยก
ศรี ษะข้นึ ประมาณ ๙๐ องศา

๑. จัดให้ผู้เรียนนอนคว่ำลงน้ำหนักที่แขนทั้งสอง
ข้าง ข้อศอกตรง กรณีผู้เรียนไม่สามารถอยู่ในท่า

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอื้ ใหญ่ และกล้ามเน้ือเล็กแ

อายุพัฒนาการ สภาพท่ีพึงประสงค์

ตัวบ่งชี้ ๒.๑ เคลอื่ นไหวร่างกายอยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสานสมั พันธ์ และทรงตวั ได้

6. นั่งได้โดยต้องมีผู้ประคองนั่งโดยใช้มือยัน
พ้ืนด้วยตนเอง

7. นง่ั หลังตรง และเอีย้ วตัวใช้มือเล่นได้อย่าง
อสิ ระ

แรกเกิด – ๓ ปี 8. คลานโดยใช้มอื และเขา่

63

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พันธก์ ัน

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

เหยียดข้อศอกได้ผู้สอนจดั ท่าผู้เรียนพาดบนหมอน
สามเหลย่ี ม หมอนข้างเลก็ ๆ หรอื ผ้าขนหนูม้วนลง
น้ำหนักบนท่อนแขนทั้งสองข้าง (ท่าเหยียดศอก)
ผู้สอนจัดผู้เรียน ในท่านอนคว่ำแขนยันพ้ืนให้
ข้อศอกเหยียดตรงอยู่ข้างหน้า ไหล่ ค้างไว้ชั่ว
คร(ู่ ประมาณ ๑๕-๒๐ วนิ าที)

๑. ผู้สอนพยุงผู้เรียนนั่งบนพื้นโดยช่วยจับบริเวณ
ไหลใ่ หม้ ั่นคงผู้สอนกระตนุ้ ให้ผูเ้ รียนยกศีรษะตั้งข้ึน
โดยผู้สอนใช้สิ่งของท่ีผู้เรียนสนใจ หรือพูดคุยกับ
ผู้เรียนกระตุน้ ให้มอง และพยายามควบคุมศีรษะ

๑. ผู้สอนจัดผู้เรียนอยู่ในท่านั่งวางของเล่นไว้ที่พื้น
ทางด้านขา้ ง เยอ้ื งไปด้านหลังของผู้เรียนในระยะที่
ผูเ้ รียนเอ้อื มถงึ ผสู้ อนเรียกช่อื หรอื เขยา่ ของเลน่ ให้
ผเู้ รยี นสนใจเพ่ือจะไดเ้ อี้ยวตัวไปหยบิ ของเล่น แล้ว
ทำอีกขา้ งสลับกันไป

๑. ผู้สอนจัดท่าผู้เรียนให้อยู่ในท่าตั้งคลาน โดยมือ
ทั้งสองยันพื้น (ข้อศอก เหยียด)ยกลำตัวขึ้นอยู่ใน
ท่าตั้งคลาน ถ้าผู้เรียนไม่สามารถใช้มือดันขึ้นเอง
ผสู้ อนชว่ ยจดั ท่าผ้เู รียนตงั้ ข้นึ ฝึกโดยให้ผู้เรียนอยู่ใน
ท่าตั้งคลานอยู่กับที่ชั่วครู่เพื่อให้ผู้เรียนมีความ

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนอื้ ใหญ่ และกล้ามเนอ้ื เล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพท่พี ึงประสงค์

ตวั บง่ ชี้ ๒.๑ เคล่อื นไหวร่างกายอย่างคล่องแคลว่ ประสานสมั พนั ธ์ และทรงตัวได้

9.เมื่อจับยืนเริ่มลงน้ำหนักที่เท้าทั้งสองข้าง
ได้
แรกเกิด – ๓ ปี 10. ยืนเกาะเครื่องเรือนสูงระดบั อกได้

11. ยืนทรงตวั (ตงั้ ไข)่ ไดช้ ่วงส้ัน ๆ

64

แขง็ แรง ใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และ ประสานสัมพนั ธ์กนั

ประสบการณส์ ำคญั แนวทางการจดั กจิ กรรม

พร้อมของกล้ามเนื้อในการทรงท่าทาง และเตรียม
เคลอ่ื นไหว
๒. ผู้สอนกระตนุ้ ให้ผเู้ รียนเอ้อื มมือมาหยิบของเล่น
ในขณะต้ังคลาน เปลี่ยนมอื ทั้งซ้าย และขวา
๓. ฝึกให้ผู้เรียนคลาน โดยผู้สอน ใช้มือกระตุ้นให้
เกิดการคลานมือจับที่ไหล่ และข้อสะโพกสลับกัน
คอื ไหล่ซ้ายสะโพกขวา ไหล่ขวาสะโพกซ้าย ดันให้
มกี ารเคลื่อนทไี่ ปด้านหน้าเมื่อผู้เรยี นทำได้ดีลดการ
ช่วยเหลือลงผู้สอนใช้ของเล่นที่ผู้เรียนชอบกระตุ้น
ให้ผู้เรียนสนใจเพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีการเคลื่อนท่ีโดยการ
คลานตามส่งิ ของนัน่ ๆ

๑. จัดท่าให้ผู้เรียนนั่งที่เก้าอี้ แล้วผู้สอนจับมือ
ผู้เรียนทั้งสองข้างเพื่อช่วยพยุงตัว แล้วกระตุ้นให้
ผูเ้ รยี นยนื ข้นึ

๑. ผ้สู อนจัดท่าให้ผูเ้ รียนยนื กางขาหา่ งกนั ประมาณ
๑ ช่วงไหล่ของผู้เรยี น
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนเหยียดขาลงน้ำหนักขาท้ัง
สองข้าง โดยมอื ท้งั สองข้างเกาะวตั ถุที่ม่นั คงอยู่

๑. จัดท่าให้ผู้เรียนยืนทรงตัว โดยผู้สอนคอย
ประคองดูแลความปลอดภยั อยา่ งใกล้ชิด

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอื้ ใหญ่ และกลา้ มเนือ้ เล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

ตัวบ่งช้ี ๒.๑ เคลอื่ นไหวรา่ งกายอย่างคล่องแคลว่ ประสานสัมพันธ์ และทรงตวั ได้

12. หยอ่ นตวั ลงนั่งจากทา่ ยืน

13. ลกุ ขน้ึ ยืนด้วยตนเอง

แรกเกดิ – ๓ ปี 14. ยนื ได้เองอย่างอสิ ระ

15. ยนื แล้วกม้ ลงหยบิ ของทพ่ี นื้ ได้
16. เกาะเดนิ ไปด้านขา้ ง และดา้ นหน้าได้

65

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสัมพันธก์ ัน

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

๑. จัดท่าให้ผู้เรียนยืนอยู่หน้าเก้าอี้ ผู้สอนยืนอยู่
ด้านหลังของผู้เรียน มือผู้สอนประคองอยู่ตรง
สะโพก และไหล่ของผู้เรยี น บอกให้ผู้เรยี นก้มตัวลง
มาด้านหน้า และ คอ่ ย ๆ หยอ่ นตวั ลงนั่ง

๑. ผู้สอนจัดทา่ ผเู้ รียนใหน้ ง่ั บนเก้าอ้ีทีม่ ขี นาด และ
ความสงู เหมาะสม โดยเท้าของผู้เรยี นวางราบกบั
พน้ื
๒. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นโน้มตัวไปข้างหนา้ ลงน้ำหนักที่
ขา เหยยี ดเข่าเหยียดสะโพกดันตวั ลกุ ข้นึ ยนื

๑. ผู้สอนจดั ทา่ ให้ผู้เรยี นยนื กางขาห่างกันประมาณ
๑ ชว่ ง ไหล่ของผู้เรยี น โดยผู้สอนจบั เอวผู้เรียนเพ่ือ
ช่วยพยงุ
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนเหยียดขาลงน้ำหนักขาท้ัง
สองข้างยืนทรงตัวด้วยตนเอง

๑. ผู้สอนยืนด้านข้างของผู้เรียน และนำมือ
ประคองตรง สะโพกของผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนย่อ
เขา่ ลงน่ัง และเก็บของท่พี ื้น

๑. ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รยี นจบั ราวฝกึ เดิน โดยผู้สอนกระต้นุ
ให้ผู้เรียนก้าวไปด้านข้าง กรณีผู้เรียนทำไม่ได้ ให้
ผู้สอนช่วยจับขาก้าวไปด้านข้าง เมื่อผู้เรียนเริ่มทำ
ได้เองแล้วจึงลดการช่วยเหลือลงหากต้องการเพิ่ม

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนือ้ ใหญ่ และกลา้ มเน้ือเล็กแ

อายุพัฒนาการ สภาพทพ่ี ึงประสงค์

ตวั บ่งชี้ ๒.๑ เคลือ่ นไหวร่างกายอยา่ งคลอ่ งแคล่วประสานสัมพนั ธ์ และทรงตวั ได้

17. เริม่ วิ่งหรอื เดนิ เร็ว ๆ ได้

แรกเกิด – ๓ ปี 18. เดินขึ้นบันได โดยมือข้างหนึ่งจับราว
บนั ไดอกี มือจับมอื ผูใ้ หญ่กา้ วเท้าโดยมีการพัก
เท้าในขั้นเดยี วกนั

19. ว่งิ และหยุดไดท้ ันที และเริ่มว่ิงใหม่

66

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พนั ธ์กัน

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

ความทนทาน และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อให้
เพิ่มจำนวนรอบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถ
ของผู้เรียน

๑. ผสู้ อนจบั แขนผูเ้ รียนพาวิ่งไปขา้ งหนา้ พรอ้ มกนั
2. ผู้สอนให้ผ้เู รยี นวิ่งไปขา้ งหน้าด้วยตนเอง

๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนจับราวบันได ผู้สอนยืนต่ำ
กว่าผู้เรียนกระตุ้นให้ผู้เรียนก้าวขาข้างหนึ่งขึ้น
บันไดแล้วก้าวขาอีกข้างหนึ่งขึ้นมาอยู่ขั้นเดียวกัน
ผู้สอนจับบริเวณสายรัดเอวหรือขอบกางเกงคอย
พยุง และช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการ
เคลื่อนไหวทีถ่ กู ต้อง
2) ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนจับราวบันได ผู้สอนยืนต่ำ
กว่าผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนก้าวขาลงบันไดแล้ว
ก้าวขาอีกข้าหนึ่งลงมาอยู่ขั้นเดียวกัน ผู้สอนจับ
บริเวณสายรัดเอวหรือขอบกางเกงคอยพยุง และ
ช่วยเหลือให้ผู้เรียนมีทิศทางการเคลื่อนไหวท่ี
ถูกต้อง ฝึกซ้ำจนผู้เรียนมีการทรงตัวที่ดี และ
สามารถเดนิ ข้ึน-ลงบนั ไดโดยจับราวบันได แบบพัก
เทา้ ดว้ ยตนเอง

๑. ผู้สอนจัดกิจกรรมบนลานกวา้ งปลอดภัยโดยทำ
สัญลักษณ์หยุดวิ่ง เช่น เทปกาวแปะที่พื้นแล้วให้

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนื้อใหญ่ และกลา้ มเนือ้ เล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี ึงประสงค์

ตัวบง่ ช้ี ๒.๑ เคลอ่ื นไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพนั ธ์ และทรงตวั ได้

แรกเกดิ – ๓ ปี 20. นัง่ ยอง ๆ เลน่ โดยไมเ่ สียการทรงตัว
21. เดนิ ถอยหลงั ได้

22. เดินขึ้นลงบันได โดยมือข้างหนึ่งจับราว
และกา้ วเทา้ โดยมกี ารพกั เทา้ ในข้นั เดียวกัน

23. กระโดดอยู่กบั ที่ โดยเทา้ ทั้งสองข้างลอย
พน้ พน้ื

67

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสัมพนั ธก์ นั

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

ผู้เรียนวิ่งไปถึงเทปกาวแล้วหยุดหลังจากนั้นให้เร่ิม
วิง่ ใหม่ไปถงึ เปา้ หมายทก่ี ำหนด

๑. ให้ผู้เรียนนั่งยอง ๆ แล้วเอื้อมหยิบของเล่นรอบ
ๆ ตวั โดยไมใ่ หเ้ สียการทรงตัว

๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเดินก้าวขาถอยหลัง โดย
ช่วงแรกผสู้ อนอาจชว่ ยจบั ไหลผ่ เู้ รยี นกระตุ้นใหก้ า้ ว
ถอยหลังทีละก้าว เมื่อผู้เรียนเริ่มทำได้เองแล้วจึง
ลดการช่วยเหลือลงหากต้องการเพิ่มความทนทาน
และความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือใหเ้ พิ่มจำนวนรอบ
ทง้ั น้ขี ้ึนอยู่กับระดบั ความสามารถของผูเ้ รยี น

๑. ผู้สอนให้ผเู้ รยี นยนื จบั ราวบันไดหนง่ึ ข้าง และให้
ก้าวขึ้นบันไดทีละขั้นโดยมีการพักเท้า และมี
ผสู้ อนคอยประกบใหช้ ่วยเหลอื ผู้เรียน

๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดอยู่กับที่โดยเท้าทั้งสอง
พ้นจากพื้นแล้วให้ผู้เรียนทำตาม กรณีที่ผู้เรียน
กระโดดไม่ได้ผู้สอนจับมือผู้เรียน ให้จังหวะย่อ
กระโดด หรือ ๑ ๒ ๓
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนกระโดดอยู่กับที่โดยเท้าทั้งสอง
พน้ จากพนื้ ดว้ ยตนเอง

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่ และกล้ามเนอ้ื เล็กแ

อายุพัฒนาการ สภาพทีพ่ ึงประสงค์

ตวั บง่ ชี้ ๒.๑ เคลอ่ื นไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคลว่ ประสานสัมพนั ธ์ และทรงตวั ได้

แรกเกิด – ๓ ปี 24. ยนื ขาเดียวได้

๓ – ๔ ปี 1. เดินตามทศิ ทางท่ีกำหนดได้

2. กระโดดสองขาข้ึนลงบนพ้ืนตา่ งระดบั ได้

68

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พนั ธ์กัน

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กจิ กรรม

๑. ผสู้ อนสาธิตการยืนขาเดียวให้ผู้เรียนดู ให้ผูเ้ รยี น
ทำตามผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนยืนขาเดียวค้างไว้
สักครู่
กรณีผู้เรียนยังทรงตัวในท่ายืนขาเดียวไม่ได้ ให้ฝึก
ยืนแล้วยกขาขึ้นหนึ่งข้าง โดยใช้ระยะเวลาสั้น ๆ
ก่อนแล้วจึงเพิ่มเวลานานข้ึน และ/หรือฝึกการทรง
ตัวขณะยืนด้วยขาข้างเดียวผ่านการทำกิจกรรมอื่น
ๆ เช่น เตะลกู บอลเดนิ ขา้ มสง่ิ กีดขวาง เปน็ ตน้

๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเดินก้าวขาไปด้านหน้าตาม
ลูกศรหรือเส้นโดยช่วงแรก ผู้สอนอาจช่วยจับขา
ผูเ้ รียนกระต้นุ ใหก้ า้ วไปดา้ นหน้า
ทีละก้าวเมื่อผู้เรียนเริ่มทำได้เองแล้วจึงลดการ
ช่วยเหลอื ลง
๒. หากต้องการเพิ่มความทนทาน และความ
แข็งแรงของกล้ามเนื้อให้เพิ่มจำนวนรอบทั้งนี้
ข้นึ อยกู่ ับระดับความสามารถของผู้เรียน

๑. จับมือเด็กไว้ทั้งสองข้าง และฝึกกระโดดจาก
บันไดขน้ั ท่ีติดกับพ้นื หรือจากพื้นต่างระดับ
2) หลังจากน้นั ให้เร่มิ ฝึกกระโดดที่พืน้ โดยจับมือท้ัง
สองข้างของเด็กไว้ย่อตัวพร้อมกับเด็กแล้วบอกให้

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนือ้ ใหญ่ และกลา้ มเน้ือเล็กแ

อายุพัฒนาการ สภาพท่พี งึ ประสงค์

ตวั บ่งช้ี ๒.๑ เคล่ือนไหวรา่ งกายอย่างคล่องแคลว่ ประสานสัมพันธ์ และทรงตวั ได้

๓ – ๔ ปี 3. กระโดดขา้ มสิ่งกดี ขวางได้

4.ว่ิงแล้วหยดุ ได้ตามท่ีกำหนด
5. รบั ลกู บอลโดยใชม้ ือ และลำตวั ช่วย

69

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พันธ์กนั

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

เด็กกระโดดซ้ำหลายครั้งจนมั่นใจ และสนุกจึง
ปลอ่ ยให้กระโดดเอง
3.ควรระมัดระวังเรื่องความปลอดภัยในระหว่าง
การกระโดด

1.ผู้สอนยืนอยู่ด้านข้างผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียน
กา้ วขาไปข้างหน้าข้ามสิ่งกีดขวาง ระยะกา้ วเดินส้ัน
ๆ ทำซ้ำจนกว่าผู้เรียนจะทำได้เองกรณีผู้เรียนทำ
ไม่ได้ ผู้สอนให้ความช่วยเหลือ หากผู้เรียนทำได้
แลว้ ให้ลดการชว่ ยเหลือ
2.ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกการเดินข้ามสิ่งกีดขวางผ่าน
การทำกิจกรรม เช่น เดินข้ามบล็อกโฟม แผ่นโฟม
แผ่นกระดาษ หรือขอนไม้ โดยการปรับระดับจาก
กิจกรรมที่ง่ายไปสู่กิจกรรมที่ยากขึ้นเพื่อเพิ่ม
ส่งเสริมทักษะและความสามารถของผูเ้ รยี น

๑. ผู้สอนจับแขนผู้เรียนพาวิ่งไปข้างหน้าพร้อมกัน
หลังจากนน้ั ออกคำสง่ั ใหห้ ยดุ
2) ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งไปข้างหน้าด้วยตนเอง
หลังจากน่ันผู้สอนออกคำส่งั ใหห้ ยุด

๑. ผู้สอนสาธิตรับลูกบอลที่โยนมาขณะยืนอยู่ผู้เรียน
ทำตาม

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนอ้ื ใหญ่ และกลา้ มเนือ้ เล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพที่พงึ ประสงค์

ตวั บ่งชี้ ๒.๑ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคล่วประสานสมั พนั ธ์ และทรงตวั ได้

๔– ๕ ปี 1. เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้โดย
ไม่ต้องกางแขน

2. กระโดดขาเดียวอยกู่ ับที่ได้ โดยไมเ่ สียการ
ทรงตวั

70

แขง็ แรง ใชไ้ ด้อย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พันธ์กนั

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

๒. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนยืน ผ้สู อนจับมือผู้เรียนกาง และ
หุบแขน เพ่อื รับลกู บอลทโ่ี ยนมา
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนในท่าที่เหมาะสม ผู้สอนจับ
มือผู้เรียนกาง และหุบแขน เพื่อรับลูกบอลที่โยน
มา
๔. ผู้สอนสามารถปรับระดับความยากง่ายของ
กิจกรรมเริ่มจากลูกบอลขนาดใหญ่ไปหาลูกบอล
ขนาดเลก็ ระยะทาง และความเรว็ ที่แตกตา่ งกนั
ผู้สอนให้ผู้เรียนทำซ้ำจนผู้เรียนสามารถทำได้ด้วย
ตนเอง

๑. ผู้สอนสาธิตการเดินต่อส้นเท้าข้างหน้าเป็น
เส้นตรงได้โดยไม่ต้องกางแขนแลว้ ให้ผูเ้ รยี นทำตาม
2. ผ้สู อนให้ผเู้ รียนเดนิ ต่อสน้ เท้าตามเส้นตรงกรณี
ผู้เรยี นทำไม่ได้ผสู้ อนให้ความช่วยเหลอื หากผเู้ รียน
ทำไดแ้ ล้วใหล้ ดการชว่ ยเหลือลง

๑. ผู้สอนสาธิตการกระโดดขาเดียวอยู่กับที่ ให้
ผู้เรียนทำตาม กรณีผู้เรียนกระโดดไม่ได้ผู้สอนจับ
มือผเู้ รยี นใหจ้ ังหวะ ย่อ กระโดด

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเน้อื ใหญ่ และกล้ามเนื้อเล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

ตวั บ่งชี้ ๒.๑ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคล่วประสานสัมพันธ์ และทรงตัวได้

3. วง่ิ หลบหลกี สงิ่ กีดขวางได้

๔– ๕ ปี 4. รบั ลูกบอลโดยใชม้ ือทงั้ สองข้าง

71

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พันธ์กนั

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

2. ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนทำกจิ กรรมการกระโดดขาเดียว
อยู่กับที่ เช่น กระโดดขาเดียวแตะลูกบอลแขวน
เหนือศีรษะ กระโดดขาเดียวบนแผ่นกันกระแทก
เปน็ ต้น

๑. ผู้สนจัดกิจกรรมบนลานกว้างปลอดภัย โดยจัด
สถานการณ์ให้มีการหลบหลีกสิ่งกีดขวาง เช่น
กรวยจราจร กล่องกระดาษ บล็อกโฟม แผ่นโฟม
แผ่นกระดาษ (จากง่ายไปหายาก) ขึ้นอยู่กับระดับ
ความสามารถของผู้เรยี น
๒. ผู้สอนจับแขนผู้เรียนพาวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวาง
ไปพร้อม ๆ กันผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งหลบหลีกสิ่งกีด
ขวางดว้ ยตนเอง

๑. ผู้สอนสาธิตรับลูกบอลที่กลิ้งมาขณะนั่งอยู่กับ
พืน้ ผูเ้ รยี นทำตาม
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนนั่งกับพื้น ผู้สอนจับมือผู้เรียน
กาง และหบุ แขนเพ่อื รบั ลกู บอลทีก่ ลง้ิ มา
๓. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนในท่าที่เหมาะสมผู้สอนจับ
มือผู้เรียนกาง และหุบแขน เพื่อรับลูกบอลที่โยน
มา

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่ และกลา้ มเน้ือเล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

ตัวบ่งช้ี ๒.๑ เคลือ่ นไหวรา่ งกายอย่างคลอ่ งแคลว่ ประสานสมั พนั ธ์ และทรงตวั ได้

๕– ๖ ปี 1. เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรงได้โดยไม่
ต้อง กางแขน

๕– ๖ ปี 2. กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้อย่าง
ต่อเน่อื งโดยไม่ เสียการทรงตวั

3. วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่าง
คล่องแคลว่

4. รบั ลูกบอลท่ีกระดอนขึ้นจากพนื้ ได้

72

แข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พนั ธก์ ัน

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

๔. ผู้สอนสามารถปรับระดับความยากง่ายของ
กิจกรรมเริ่มจากลูกบอลขนาดใหญ่ไปหาลูกบอล
ขนาดเล็ก ระยะทาง และความเร็วท่แี ตกตา่ งกัน

๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนเดินก้าวขาถอยหลังโดยการต่อ
เท้าช่วงแรกผู้สอน อาจช่วยจับไหล่ผู้เรียนกระตุ้น
ให้ก้าวถอยหลงั ทลี ะก้าว แล้วคอ่ ย ๆ ใหผ้ ูเ้ รียนเดิน
ตอ่ เท้าถอยหลงั เอง

๑. ผ้สู อนสาธิตการกระโดดขาเดยี วไปขา้ งหน้า
๒. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมกระโดดขาเดียวไป
ด้านหน้า

๑. ผู้สนจัดกิจกรรมบนลานกว้างปลอดภัย โดยจัด
สถานการณ์ให้มีการหลบหลีกสิ่งกีดขวาง เช่น
กรวยจราจร กล่องกระดาษ บล็อกโฟม แผ่นโฟม
แผ่นกระดาษ (จากง่ายไปหายาก) ขึ้นอยู่กับระดับ
ความสามารถของผเู้ รียน
๒. ผู้สอนจับแขนผู้เรียนพาวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวาง
ไปพร้อม ๆ กัน ผู้สอนให้ผู้เรียนวิ่งหลบหลีกสิ่งกีด
ขวางดว้ ยตนเอง

๑. ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนในท่าที่เหมาะสม ผู้สอนจับ
มือผู้เรียนกาง และหุบแขน เพื่อรับลูกบอลที่โยน
มา

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่ และกลา้ มเน้อื เล็กแ

อายุพัฒนาการ สภาพทีพ่ ึงประสงค์

ตัวบ่งชี้ ๒.๑ เคลอื่ นไหวรา่ งกายอย่างคลอ่ งแคลว่ ประสานสัมพันธ์ และทรงตัวได้

ตัวบ่งช้ี ๒.๒ ใชม้ อื -ตาประสานสัมพนั ธ์กนั (1)
สร้า
แรกเกดิ – ๓ ปี 1. จ้องมองไดม้ องเหน็ ในระยะหา่ ง ๘-๑๒ นิว้ - ตอ่
๒. มองตามวตั ถุท่เี คลอื่ นไหว บล็อ
๓. กำหรอื จบั ส่ิงของทใ่ี สใ่ หใ้ นมอื (2)
๔. เอ้ือมคว้าใกล้ ๆ ตัวได้ -เขีย
๕. เออื้ มมือหยบิ วตั ถุในท่านอนหงาย วสั ด
๖. มองตามของตก ทบั ส
๗. เปลย่ี นมอื ถือของได้ทีละมือ (3)
๘. จับของมากระทบกันด้วยมือ ๒ ข้าง -ปั้น
๙. เร่ิมใชน้ ิ้วหวั แมม่ ือนิว้ ชแ้ี ละน้ิวกลางหยบิ ของช้ินเลก็ ๆ (4) ฝ
1๐. หยบิ ของใส่และเอาออกจากภาชนะได้ -สร้า
๑๑. ถือ กดั และเคี้ยวอาหารได้ด้วยตนเอง วสั ด
๑๒. วางก้อนไม้ซ้อนกนั ได้ ๒ ก้อน
๑๓. เปิดหนังสอื ทีละ ๓-๔ หน้า
๑๔. วางก้อนไม้ซ้อนกนั ได้ ๔-๖ ก้อน
๑๕. เปดิ พลกิ หน้าหนังสอื ไดท้ ีละแผน่

73

แข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว และ ประสานสมั พันธ์กัน

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจัดกิจกรรม

๒. ผู้สอนสามารถปรับระดับความยากง่ายของ
กิจกรรมเริ่มจากลูกบอลขนาดใหญ่ไปหาลูกบอล
ขนาดเล็ก ระยะทาง และความเรว็ ทีแ่ ตกตา่ งกับ
ผู้สอนให้ผู้เรียนทำซ้ำจนผู้เรียนสามารถทำได้ด้วย
ตนเอง

ฝึกเลน่ เครอ่ื งเลน่ สัมผสั และ การ 1. ครูผสู้ อนใช้การทำงานท่ีประสานสัมพนั ธ์
างสง่ิ ต่าง ๆ จากแทง่ ไม้ บล็อก ระหวา่ งมือกบั ตา ในการจ้องมองได้มองเหน็ ใน
อเลโก้ น็อตปกั หมดุ กระดานตะปู ระยะท่ีกำหนด โดยการหยิบ จบั และเคลือ่ นย้าย
อกไม้หรอื พลาสตกิ วัตถุ ทม่ี รี ปู ทรง ขนาด น้ำหนักตา่ ง ๆ ตาม
ฝึกเขียนภาพและการเล่นกับสี คำแนะนำ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
ยนภาพด้วยสีเทยี น สีไม้ สี จาก
ดุธรรมชาติ เลน่ กับสีนำ้ เชน่ เปา่ สี
สี พบั สี หยดสี ละเลงสี กลง้ิ สี
ฝกึ ป้ัน
นดินเหนียว ดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์
ฝึกประดิษฐ์สงิ่ ต่าง ๆ ดว้ ยเศษวัสดุ
างชน้ิ งานจากวสั ดุธรรมชาติหรอื
ดเุ หลือใช้

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนือ้ ใหญ่ และกล้ามเนอื้ เล็กแ

อายุพัฒนาการ สภาพทพี่ งึ ประสงค์

ตวั บ่งช้ี ๒.๑ เคล่ือนไหวรา่ งกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพนั ธ์ และทรงตัวได้

๑๖. จบั สีเทียนแท่งใหญ่เพื่อขีดเขียนได้ (5)

๑๗. เลียนแบบลากเส้นเปน็ วงต่อเนอ่ื ง หรือเส้นตรง กรร

แนวดงิ่ การ

๓ – ๔ ปี 1. ใช้กรรไกรตดั กระดาษขาดจากกนั ได้โดยใชม้ อื

เดียว

2. เขียนรปู วงกลมตามแบบได้

3. ร้อยวสั ดุทม่ี รี ูขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง ๑ ชม. ได้

๔– ๕ ปี 1. ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน้ ตรงได้
2. เขยี นรปู ส่ีเหลยี่ มตามแบบไดอ้ ย่างมมี ุมชัดเจน

74

แข็งแรง ใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พนั ธก์ นั

ประสบการณส์ ำคัญ แนวทางการจดั กิจกรรม

ฝกึ หยิบจับ การพับ การใช้
รไกร การฉกี การตัด การปะ และ
รร้อยวัสดุ

๑. ผู้สอน ให้ผูเ้ รียนจบั กรรไกร ในท่าท่ีถกู ต้องโดยสอด
นว้ิ หัวแม่มือเข้าไปในรขู า้ งหนึ่งของกรรไกร สอดนวิ้ กลาง
(ไม่ใชน้ ้วิ ชี้)เข้าไปในรูด้านล่างของกรรไกร วางนิ้วช้ีไว้ใต้
ด้ามกรรไกรหดั ง้าง เปดิ ปิดกรรไกรด้วยการโยก
นิ้วหัวแม่มือข้ึนลง
๒. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นฝึกขดี เขยี นเป็นเสน้ ลงบนกระดาษ

๑. ผสู้ อนสาธติ การเขียนรปู วงกลม
ผู้สอนให้ผู้เรยี นเขียนรูปวงกลม ถ้า ผ้เู รยี นเขยี น
ไมไ่ ด้ผู้สอนจับมือผเู้ รียนเขยี นวงกลม

๑. ผ้สู อนใหผ้ ู้เรียนรอ้ ยวตั ถทุ ี่มีขนาดหรือรปู ทรง
ตา่ ง ๆ เชน่ หลอดด้าย ลูกปดั หลอดดูด กระดาษ
แขง็ ทีเ่ จาะรู ดอกไม้ฯ

1.ผสู้ อนให้ผูเ้ รยี นตดั กระดาษตามแนวตรงใหข้ าด
ออกจากกนั

1.ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนฝึกขีดเขยี นเป็นเสน้ ลงบนกระดาษ
๒. ผสู้ อนสาธิตการเขยี นรปู สี่เหล่ยี ม ผ้สู อนให้
ผู้เรียนเขียนรูปส่เี หลีย่ ม ถา้ ผู้เรยี นเขยี นไม่ได้
ผสู้ อนจบั มอื ผู้เรยี นเขยี นส่เี หล่ียม

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเน้ือใหญ่ และกลา้ มเนอื้ เล็กแ

อายพุ ัฒนาการ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

ตวั บง่ ช้ี ๒.๑ เคลือ่ นไหวร่างกายอยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสานสัมพนั ธ์ และทรงตวั ได้

๔– ๕ ปี 3. ร้อยวัสดุทม่ี รี ขู นาดเส้นผา่ นศูนย์กลาง ๐.๕ ซม. ได้

๕– ๖ ปี 1. ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเส้นโค้งได้
2. เขยี นรปู สามเหลยี่ มตามแบบได้อย่างมีมุมชัดเจน

3. ร้อยวสั ดุทม่ี ีรูขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ๐.๒๕ ชม.
ได้

75

แขง็ แรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสัมพนั ธ์กัน

ประสบการณ์สำคัญ แนวทางการจัดกจิ กรรม

1.ผสู้ อนให้ผู้เรียนร้อยวตั ถุทีม่ ีขนาดหรือรูปทรง
ตา่ ง ๆ เช่น หลอดด้าย ลูกปดั หลอดดูด กระดาษ
แข็งทีเ่ จาะรู ดอกไม้ฯ

1.ผูส้ อนใหผ้ เู้ รียนตัดกระดาษตามแนวเสน้ โค้งให้
ขาดออกจากกัน

1.ผสู้ อนให้ผเู้ รียนฝึกขีดเขยี นเป็นเสน้ ลงบน
กระดาษ
๒. ผสู้ อนสาธติ การเขยี นรปู สามเหล่ยี ม
ผ้สู อนใหผ้ ู้เรียนเขยี นรูปสามเหล่ียม ถ้า ผู้เรียน
เขียนไม่ไดผ้ ู้สอนจบั มอื ผู้เรยี นเขยี นสามเหลี่ยม

1.ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นรอ้ ยวตั ถุทมี่ ีขนาดหรอื รปู ทรง
ตา่ ง ๆ เชน่ หลอดด้าย ลูกปัด หลอดดูด กระดาษ
แขง็ ท่เี จาะรู ดอกไม้ฯ


Click to View FlipBook Version