The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-29 07:33:43

แผนบูรณาการ

แผนบูรณาการ

๒๖๐ หชุดนกกว ิจายรกกจารดัรรกเริจมยี กนกรรราูทมร่ีก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรียูกูศ(ลสลิ าํุมปหบชรับ้ันูรปคณรรูผะาูสถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคบัรรปผูรับูสปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นร้ขู องหนว่ ยการเรียนร้บู รู ณาการ หนว่ ยที่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ หน่วยย่อยที่ ๔ ภูมใิ จในงานศิลป์

แผนที่ ๑ งานทศั นศลิ ปส์ ะท้อนชีวิตและวฒั นธรรม แผนท่ี ๔ นาฏศิลป์และการละคร

- งานทัศนศลิ ป์ในท้องถนิ่ ต่าง ๆ -- นาฏศิลปแ์ ละการละครมีความสาคัญกบั การดาเนนิ
- อิทธิพลทางวฒั นธรรมในท้องถ่ินทม่ี ผี ลตอ่ การสร้างงานทัศนศิลป์ ชวี ติ ของมนุษย์ตง้ั แตเ่ กิดจนตาย มีความสาคญั ในการ
- การพูดนาเสนอผลงาน แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ และยงั เปน็ แหลง่
รวบรวมศลิ ปะแขนงตา่ ง ๆ ซึ่งบทบาทของนาฏศลิ ปแ์ ละ
หนว่ ยย่อยท่ี ๔ การละครยังมีความสัมพันธ์กับชีวิตประจาวนั ได้แก่ การ
เรอ่ื ง ภมู ใิ จในงานศิลป์ เล่านิทาน การเลยี นแบบ กิจกรรมเพ่ือความบันเทงิ

เวลา ๖ ชัว่ โมง

แผนท่ี ๒ ดนตรแี ละการอนรุ กั ษ์ แผนที่ ๓ การแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง ๆ

- ดนตรีและการอนรุ ักษ์ - นาฏศิลปไ์ ทย คอื ศิลปะการฟอ้ นราทม่ี นษุ ย์
- ดนตรีกับงานประเพณี สร้างสรรคแ์ ละประดิษฐข์ ้นึ มีความงดงาม
- ววิ ฒั นาการดนตรีไทยในประวัตศิ าสตร์

๒๕๔

คาช้ีแจงประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้

แผนการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง งานทัศนศิลปส์ ะทอ้ นชวี ติ และวัฒนธรรม เวลา ๒ ชวั่ โมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. สาระสาคญั ของแผน

งานทัศนศิลป์เป็นส่ิงสะท้อนวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ท่มี ีอทิ ธิพลต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์
และสงั คม ซง่ึ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ควรสง่ เสรมิ ให้มกี ารเรียนรฝู้ ึกฝนให้เหน็ คุณค่าและธารงรกั ษาไวส้ ืบไป

๒. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ในการนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใชจ้ ัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๒.๑ ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ ส่อื และใบงานให้เข้าใจอยา่ งละเอียดก่อนจัดกิจกรรม

การเรียนรู้
๒.๒ ครูควรเตรยี มใบงานให้เพยี งพอกับจานวนนักเรียน
๒.๓ ครอู ธิบายความหมายของวัฒนธรรม ให้นักเรียนเข้าใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ชั่วโมงที่ ๑)
ครูอภปิ รายถงึ เครอื่ งมือเครื่องใช้ที่บรรพบุรุษสรา้ งขน้ึ มาเพื่อใช้งานมาจนถึงปจั จุบนั
ครูนาภาพงานทัศนศลิ ป์ในภาคตา่ ง ๆ มาให้นักเรยี นศึกษา
ครยู กตวั อยา่ งผลงานทศั นศิลปท์ ีม่ าจากอิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธา ศาสนา วัฒนธรรม

ประเพณี การดารงชวี ิต
นกั เรยี นทาใบงานที่ ๐๑

(ช่วั โมงท่ี ๒)
แบง่ นักเรยี นเป็นกลุม่ ๆ ละ ๓ คน ครมู อบหมายให้นักเรียนศกึ ษาใบความรู้ แลว้ ทาใบงาน ๐๒
นักเรยี นนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น
ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายผลงาน

๑. การเตรียมส่อื /วสั ดอุ ุปกรณ์

- ใบความรู้

๒. ใบงาน/ใบความร/ู้ ใบกิจกรรม

- ทดสอบกอ่ นเรยี น
- ใบงาน ๐๑ – ๐๒
- นาเสนอผลงาน

๓. การวดั และประเมินผล
- การทาใบงาน ๐๑ – ๐๒
- สังเกตการร่วมตอบคาถาม

กจิ กรรมการเรียนรกู ลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ ัน้หรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๖๑

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๒๖๒ ชหุดนกกว ิจายรกกจารัดรรกเรจิมยี กนกรรราทู มร่ีก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรียกู ูศ(ลสลิ าํุมปหบชรบันั้รู ปคณรรูผะาสูถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีูรห๖ณรา(ฉับกบาคับรรปผูรับูส ปอรงุน) ) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖แนวการจดั การเรียนรบู้ ูรณาการ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป์ : หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ ภูมใิ จในงานศิลป์ แผนการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง งานทัศนศิลป์สะท้อนชีวติ และวัฒนธรรม
บูรณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาไทย เวลา ๒ ชว่ั โมง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

แนวการจัดกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้

(ชัว่ โมงที่ ๑)
ขนั้ นา ๑. ครชู ้แี จงตวั ชีว้ ดั ชั้นปี และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ใหน้ ักเรียนทราบ

๒. ทดสอบก่อนเรยี น

๓. ครอู ภปิ รายถงึ เครือ่ งมือเครือ่ งใชท้ บ่ี รรพบุรุษสรา้ งข้นึ มาเพื่อใช้งานมาจนถึงปจั จุบัน

๔. ครูนาภาพงานทัศนศิลป์ในภาคตา่ ง ๆ มาใหน้ ักเรียนศึกษา

๕. ครูยกตัวอยา่ งผลงานทัศนศิลปท์ ่มี าจากอิทธิพลของความเชือ่ ความศรัทธา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

การดารงชวี ิต

ข้นั สอน ๖. นกั เรยี นทาใบงานท่ี ๐๑

(ช่วั โมงที่ ๒)

๗. แบง่ นกั เรยี นเป็นกลมุ่ ๆ ละ ๓ คน ครูมอบหมายให้นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้ แลว้ ทาใบงาน ๐๒

๘. นกั เรยี นนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรยี น

๙. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายผลงาน

ข้นั สรุป ๑๐. ครูนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรู้
วดั และประเมนิ ผล
๑. การทาใบงาน ๐๑ - ๐๒
๒. สังเกตการรว่ มตอบคาถาม

แผแผนนกากราจรดัจดักการาเรรเียรยีนนรร้บู บู ูรรูณณาากกาารรหหนน่วว ยยกกาารรเรเรียยี นนรรทู้ ทู ี่ ่ี๘๘สสุนนุ ททรรยี ยี ศศิลลิ ปป์ : หนว่ ยยอ่ ยที่ ๔ ภมู ใิ จในงานศลิ ป์ แผนกกาารรเเรรยี ยี นนรรทู ู้ท่ี ี่๑๑เรเรอ่ื ่ืองง งงาานนททศั ศันนศศลิ ิลปปส ส์ะทะทอ ้อนนชชวี ตวีิ ติแแลละวะฒัวัฒนนธรธรมรม
บบูรรูณณาากกาารรกกลลุ่มมุ สสาารระะกกาารรเเรรยี ยี นนรรู้ศศู ลิ ปะ สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ภาษาไทย เวลา ๒ ชชว่ั ั่วโโมมงง ชชน้ั น้ั ปปรระะถถมมศศกึ กึ ษษาาปปท ีท่ี ๖่ี ๖

๒๕๖ขอบเขตเนือ้ หา(ชว่ั โมงที่ ๑) ส่อื / แหลง่ เรียนรู้
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหูรนณวยากการาชเรุดรยี กน(ารสรทูจำี่ัด๘หกิจสรกนุับรทรครมยีรกศูผาิลรูส ปเรอ ยีชนนัน้ รป)ู ร(สชะําถ้นัหมรปศบั กึ รคษะราูผถปสู มทอ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปูรรทณับา่ีปก๖รางุ ร) ๒๖๓- งานทศั นศลิ ปใ์ นท้องถน่ิ ต่าง ๆ๑. ใบความรู้
- อทิ ธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถ่ินท่ีมีผลต่อ ข้ันนา ภาระงาน / ช้ินงาน
การสร้างงานทัศนศลิ ป์ ๑. ครูชี้แจงตวั ช้ีวัดชั้นปี และจุดประสงค์การเรยี นรู้ใหน้ ักเรียนทราบ ๑. ทดสอบก่อนเรียน
- การพูดนาเสนอผลงาน ๒. ทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ ภมู ใิ จในงานศิลป์ ๒. ใบงาน ๐๑ - ๐๒
๓. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกับเคร่ืองใชห้ รืออุปกรณต์ า่ ง ๆ ที่พ่อ - ๓. นาเสนอผลงาน
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แม่ บรรพบุรุษของเราในท้องถน่ิ เราพากันทาขึ้นมาใช้งานเองในชีวิตประจาวนั
ความรู้ สบื มาจนทุกวนั น้ี การวดั และประเมินผล
๑. บอกงานทัศนศิลปท์ ี่พบเห็นในท้องถ่ินได้ ข้ันสอน ๑. การประเมินความรู้เรอ่ื งงาน
๒. บอกความสาคัญและบทบาทของงาน ๔. ครูนาภาพตวั อยา่ งผลงานทศั นศลิ ปท์ ีเ่ ป็นของประจาถนิ่ (ภาคตา่ ง ๆ) มาให้ ทัศนศิลปใ์ นทอ้ งถน่ิ ความสาคญั
ทัศนศลิ ป์ที่มตี อ่ ชีวิตและสงั คมทอ้ งถ่นิ ได้ นกั เรียนดู แล้วใหน้ กั เรียนอภิปรายเกี่ยวกบั ความสาคญั ของผลงานนั้น ๆ ของงานทัศนศิลป์ตอ่ ชีวติ ประจาวนั
๓. บอกงานทัศนศลิ ป์ทสี่ รา้ งขึน้ จากอิทธิพล ๕. ครอู ธิบายพร้อมยกตัวอย่างผลงานทศั นศิลป์ทม่ี าจากอิทธพิ ลของความเชื่อ ๒. การประเมินคณุ ธรรม ความ
ความเชอื่ ศาสนา และวัฒนธรรมในท้องถ่นิ ได้ ความศรทั ธา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี การดารงชีวติ ของสังคมแต่ละ มุ่งม่นั ในการทางาน ความใฝร่ ู้ใฝ่
คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะ ทอ้ งถิ่นหรอื ชนเผ่า รวมถึงการธารงรักษาไวใ้ ห้เป็นมรดกส่ลู ูกหลานตอ่ ไป เรียน
อันพงึ ประสงค์ ๖. นกั เรียนทาใบงาน ๐๑ และนาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น วธิ กี าร
๑. มคี วามม่งุ มน่ั ในการทางาน ๗. ครูนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายผลงาน ๑. ตรวจแบบทดสอบ
๒. มคี วามใฝ่เรียนรู้ (ชัว่ โมงท่ี ๒) ๒. ตรวจใบงาน
๓. ความสามคั คี ๘. แบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ ๓ คน ครมู อบหมายให้นักเรยี นศึกษา ๓. สังเกตการทางาน
ใบความรู้ แล้วทาใบงาน ๐๒ เครอ่ื งมอื
๙. ให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ นาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น ๑. แบบทดสอบกอ่ นเรียน
ขั้นสรุป กจิ กรรมรวมกลมุ่ ๒. ใบงาน ๐๑-๐๒
๑๐. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ แลว้ ร่วมกนั สรปุ ความรู้ ๓. แบบสงั เกตการทางาน
เกณฑก์ ารประเมนิ
ผ่านเกณฑ์ตามทก่ี าหนด

แบบทดสอบก่อนเรยี น

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการที่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ หนว่ ยย่อยที่ ๔ ภมู ิใจในงานศิลป์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน

คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นทาเครอ่ื งหมาย  ทบั ตวั อักษรหน้าคาตอบทถี่ กู ตอ้ งท่ีสดุ เพียงคาตอบเดยี ว

๑. งานทัศนศลิ ป์จากภมู ิปัญญาท้องถิ่น ข้อใดเปน็ การเขยี นภาพระบายสสี ่วนใหญ่
ก. ปราสาทผ้งึ จงั หวดั สกลนคร
ข. ตุ๊กตาชาววังจงั หวัดอา่ งทอง
ค. ผีตาโขนจงั หวัดเลย
ง. กระทงจังหวดั สุโขทัย

๒. ข้อใดเปน็ อาชีพทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ภาพเขียนทเี่ ป็นอิทธพิ ลจากความเช่ือ
ก. ช่างตดั ผม
ข. ชา่ งเยบ็ ผ้า
ค. ช่างสักลาย
ง. ชา่ งกอ่ สรา้ ง

๓. อทิ ธิพลข้อใดทท่ี าให้ท้องถ่นิ ต่าง ๆ มีงานทัศนศิลปแ์ ละภูมิปัญญาตา่ งกนั
ก. สภาพภมู ศิ าสตร์
ข. การดารงชวี ติ
ค. ศาสนา
ง. ถกู ทกุ ข้อ

๔. ถ้าชมการแสดงเร่อื งโศกเศร้า ไมค่ วรทาขอ้ ใด
ก. นัง่ เงยี บ
ข. ตงั้ ใจดู
ค. หวั เราะเสยี งดัง
ง. ร้องไหต้ าม

๕. ก่อนชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ควรศกึ ษาท่าราเพื่อประโยชนใ์ นขอ้ ใด
ก. สามารถเลา่ ใหเ้ พื่อนฟงั ได้
ข. เขา้ ใจการแสดงมากขน้ึ
ค. สามารถจับผิดผู้แสดงได้
ง. ตอบคาถามเพื่อรับรางวัล

๒๖๔ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสําุม หบรับรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๒๕๘

๖. การแสดงบทบาทสมมุตเิ ป็นเรื่องราว ผแู้ สดงควรแสดงอยา่ งไร
ก. แสดงตามบทบาท
ข. แสดงตามเพ่ือนบอก
ค. แสดงตามใจตนเอง
ง. แสดงเลยี นแบบคนอ่ืน

๗. ข้อใด ไมใ่ ช่ ปัจจัยที่ทาให้การละเลน่ พน้ื เมืองแตล่ ะทอ้ งถ่ินแตกต่างกัน
ก. สภาพภูมศิ าสตร์
ข. ประเพณี
ค. เศรษฐกิจ
ง. ศาสนา

๘. สมยั รัชกาลที่ ๕ มเี ครอ่ื งดนตรีประเภทใดเกดิ ขนึ้
ก. วงมโหรี
ข. วงแตรสงั ข์
ค. วงป่พี าทย์
ง. วงเครอื่ งสาย

๙. ข้อใดแสดงถงึ วัฒนธรรมดนตรีทมี่ ีอิทธิพลต่อคนในท้องถิ่น
ก. การเปดิ เพลงพ้ืนบ้านของท้องถน่ิ อนื่ ฟงั
ข. การเต้นประกอบจงั หวะของเด็กวยั รนุ่
ค. การซื้อเครื่องเสยี งตา่ งประเทศมาเล่น
ง. การเลน่ ดนตรใี นพธิ ีกรรมงานศพ

๑๐. ดนตรไี ทยในประวตั ิศาสตรเ์ ริ่มมีหลักฐานปรากฏเปน็ ลายลักษณ์อักษรในสมยั ใด
ก. สมยั สโุ ขทัย
ข. สมยั อยธุ ยา
ค. สมัยธนบุรี
ง. สมัยรตั นโกสนิ ทร์

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารูสเรอยี นนร)ู (สชําัน้หรปบั รคะรูผถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๒๖๕

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

เฉลยแบบทดสอบ

หน่วยบรู ณาการเรยี นรทู้ ่ี ๘ สนุ ทรียศิลป์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ ภูมใิ จในงานศิลป์

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน

๑. ค ๖. ก

๒. ค ๗. ค

๓. ง ๘. ง

๔. ก ๙. ง

๕. ข ๑๐. ก

๒๖๖ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูก ู (ลสํามุ หบรับูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสุม บำรูหณราับกาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

บ ๘.๔/ผ ๑-๐๑

ใบงานท่ี ๐๑

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ ภมู ใิ จในงานศิลป์ แผนท่ี ๑
เร่ือง งานทศั นศิลป์ในท้องถิน่ ของฉัน

คาช้ีแจง ให้นักเรียนสรา้ งแผนภาพงานทศั นศลิ ปท์ ี่มีในท้องถิ่นของตนเอง

ชื่อ............................................................................................................................. ....................................
โรงเรยี น .................................................................................... ชั้น ........................ เลขที่ .....................

กจิ กรรมการเรียนรูกลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารูส เรอียนนร)ู (สชําัน้หรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๖๗

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

บ ๘.๔/ผ ๑-๐๒

คาช้แี จง ใบงานที่ ๐๒

เรอ่ื ง ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน

๑. แบ่งนักเรียนเปน็ กล่มุ ๆ ละ ๓ คน

๒. แตล่ ะกลุ่มเขียนชอ่ื งานทัศนศิลปท์ ี่สะทอ้ นชีวิตและวัฒนธรรมของภาคต่าง ๆ ใหม้ ากทส่ี ุด

ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื ภาคใต้

๑. ชื่อ ......................................................................................................ช้นั ................ เลขท่ี ............
๒. ชอ่ื ......................................................................................................ช้ัน ................ เลขท่ี ............
๓. ชอ่ื ......................................................................................................ชั้น ................ เลขท่ี ............
โรงเรียน ................................................................................................................................................

๒๖๘ ชดุ กกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูก ู (ลสําุมหบรบัรู คณรผู าสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรูผูสอน) ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรูท ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ใบความรู้สาหรับครแู ละนกั เรยี นที่ ๑

หน่วยยอ่ ยท่ี ๔ ภมู ใิ จในงานศิลป์ เรือ่ ง งานทศั นศิลปส์ ะทอ้ นชวี ิตและวฒั นธรรม
.....................................................................................

งานทัศนศิลปข์ องคนเรามีมาตัง้ แตอ่ ดตี จนถึงปจั จบุ นั เปน็ งานท่ีผกู พันเช่อื มโยงกบั วิถชี วี ิต
คนในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ เช่น บ้านท่ีอยอู่ าศัย วฒั นธรรมดา้ นการรับประทานอาหาร เครือ่ งใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั เป็นต้น ดงั ตัวอย่าง

งานทัศนศิลป์ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

ข้อง หมอนขดิ

กระติบข้าว ผ้าแพรวา กาฬสนิ ธ์ุ

การแกะสลักเทียนพรรษา อบุ ลราชธานี ผตี าโขน จงั หวัดเลย

กจิ กรรมการเรียนรกู ลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชาํ ้นัหรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๖๙

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

งานทศั นศิลป์ภาคเหนอื

ตุง การเขียนภาพร่มบ่อสร้าง

งานแกะสลักไม้ เชยี งใหม่ ถว้ ยตาไก่ ลาปาง

ผ้าลายนา้ ไหล น่าน เคร่อื งเงนิ

๒๗๐ ชดุ กกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสาํุมหบรับูรคณรผู าูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราับกาครรูผูสอน) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรียศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

งานทศั นศลิ ป์ภาคกลาง

งานสานปลาตะเพียนใบลาน อยธุ ยา โอง่ มังกร ราชบรุ ี

บ้านทรงไทย ต๊กุ ตาชาววงั อา่ งทอง

งอบ ลอบดกั ปลา

กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ้ันหรปับรคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๗๑

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

งานทศั นศลิ ป์ภาคใต้

ผลติ ภณั ฑ์ยา่ นลเิ ภา ผลติ ภณั ฑ์จากกะลามะพร้าว

หมาตกั นา้ กรงนก

ผา้ บาติก หมวกกะปเิ ยาะห์ (สาหรับใสล่ ะหมาด)

๒๗๒ ชุดกกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํุมหบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู ูส อน) ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

๒๖๖

แบบสังเกตการทางานของนักเรียน

หน่วยบูรณาการเรยี นรทู้ ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป์ หน่วยยอ่ ยท่ี ๔ ภูมใิ จในงานศิลป์
แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง งานทศั นศลิ ป์สะทอ้ นชวี ติ และวฒั นธรรมวฒั นธรรม

คาช้ีแจง ให้ผปู้ ระเมินทาเครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ งระดบั การปฏิบัติงานของนักเรียน
โดยมเี กณฑ์ระดับคณุ ภาพการประเมินดังน้ี

๕ มีพฤติกรรมการทางาน มากทส่ี ดุ ๔ มพี ฤติกรรมการทางาน มาก ๓ มพี ฤติกรรมการทางาน ปานกลาง

๒ มีพฤตกิ รรมการทางาน น้อย ๑ มพี ฤติกรรมการทางาน นอ้ ยท่สี ดุ

พฤติกรรมการทางาน ระดับพฤตกิ รรม
๕ ๔ ๓ ๒๑

๑. มกี ารวางแผนในการทางาน

๒. ปฏบิ ตั ิงานด้วยความมุ่งมั่น กระตือรือร้น

๓. ทางานจนสาเรจ็

๔. มีสว่ นรว่ มในการทากิจกรรม

๕. รจู้ กั แก้ปญั หา

๖. ทาความสะอาดและเกบ็ อุปกรณ์เม่ือเสร็จงาน

๗. มนี ้าใจเอ้อื เฟอื้ ในการปฏิบัตงิ านร่วมกับผู้อืน่

๘. ใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์อย่างถูกต้อง

๙. ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์อยา่ งประหยดั และคุ้มค่า

๑๐. ผลงานมคี วามคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์

ช่ือ ..................................................................................... ช้ัน ................................. เลขท่ี ..................
โรงเรยี น ............................................................................. จังหวัด ...........................................................

เกณฑ์การผา่ น ๗๐ % หมายถึงได้คะแนนระดับพฤตกิ รรมรวมทกุ ข้อ ๓๕ คะแนนขึ้นไปถือวา่ ผ่าน
กจิ กรรมการเรียนรูกลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ้ันหรปบั รคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณาี่ ก๖าร ๒๗๓

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

เกณฑก์ ารให้คะแนนใบงาน

หนว่ ยยอ่ ยที่ ๔ ภูมิใจในงานศลิ ป์

แผนท่ี ๑ งานทศั นศลิ ปส์ ะทอ้ นชวี ิตและวัฒนธรรมวฒั นธรรม

.............................................................

ระดบั ผลงาน ระดบั คะแนน หมายเหตุ
มคี วามคดิ สร้างสรรค์ ถูกต้อง สวยงามมาก ๑๐
มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง สวยงาม ๘
ผลงานถกู ต้อง สวยงาม ๖
ผลงานถูกต้อง สวยงาม เปน็ ส่วนนอ้ ย ๔

เกณฑ์การผ่าน ๗๐ % หมายถงึ ได้คะแนน ๗ คะแนนข้นึ ไปถือวา่ ผ่าน

เนอื่ งจากผลงานศิลปะด้านทศั นศลิ ป์ มคี วามหลากหลายด้านความคดิ เทคนิควธิ กี าร และความ
แตกต่างทางความพร้อมของวัสดุอปุ กรณ์ ดังนั้นการให้คะแนนผลงานใบงานของนกั เรียนจึงขอให้อย่ใู นดลุ ย
พินจิ ของครผู ้สู อนด้วย

๒๗๔ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรูผูส อน) ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๒๖๘

คาชี้แจงประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้

แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เร่อื ง ดนตรีพืน้ บ้านและการอนรุ ักษ์ เวลา ๒ ชั่วโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคญั ของแผน

การแสดงดนตรีเปน็ ส่ิงสะท้อนวฒั นธรรม ประเพณีและภมู ิปญั ญาท้องถิ่นทีม่ ีมาแต่สมยั โบราณ

เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมทคี่ วรศกึ ษาเรียนรู้ ฝกึ ฝนใหเ้ ห็นคุณค่า และอนรุ กั ษใ์ หส้ บื ทอดต่อไป

๒. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมในการนาแผนการจดั การเรียนรู้ไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ครคู วรศึกษาแผนการจดั การเรยี นรู้ สื่อและใบงานใหเ้ ข้าใจอย่างละเอียดกอ่ นจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

ครูควรเตรยี มใบงานให้เพยี งพอกับจานวนนกั เรยี น

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ครูนาวีดีทัศน์เก่ยี วกบั การแสดงของดนตรภี าคต่าง ๆ มาให้นกั เรียนดู แล้วใช้คาถามเพื่อให้นักเรียน

ร่วมกันแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับเรื่องดงั กลา่ ว

แบง่ กลุ่มนักเรียนออกเป็น ๔ กลมุ่ กลุม่ ละเท่า ๆ กัน ตัวแทนกล่มุ ออกมาจบั สลาก ศกึ ษาใบ
ความรู้เก่ียวกบั การอนรุ ักษ์ดนตรดี นตรกี ับงานประเพณแี ละววิ ฒั นาการดนตรีไทยในประวัติศาสตร์

๑. การเตรยี มส่อื /วัสดุอุปกรณ์
๑.๑ ใบงาน

๒. ใบงาน/ใบความรู้/ใบกิจกรรม
๒.๑ ใบงานท่ี ๐๑-๐๒

๒.๒ ใบความร้ทู ี่ ๑

๓. การวดั และประเมนิ ผล
๓.๑ ตรวจผลงาน
๓.๒ แบบสังเกตพฤติกรรม

กิจกรรมการเรยี นรูก ลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชํานั้หรปับรคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๗๕

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๒๖๙
๒๗๖ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสลิ าํุมปหบชรับั้นรู ปคณรรผูะาูสถกอมานศกึ)รษก(ลาสปมุ ทบำี่รูห๖ณรา(ฉับกบาคบัรรปูผรบั สู ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖
แนวทางการจดั การเรยี นรูบ ูรณาการ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป : หนว ยยอยท่ี ๔ ภมู ิใจในงานศลิ ป แผนการเรียนรทู ี่ ๒ เรือ่ ง ดนตรีและการอนุรักษ
แนวทางการจดั การเรยี นรบู้ รู ณากบารู รณหากนา่วรยรกาายรวเิชรยีานศลิรู้ทปี่ะ๘ ภสานุษทาไรทยี ยศลิ แปล์ :ะหพนล่วศยึกยษ่อายทเว่ี ๔ลา ภ๒ูมใิ จชใ่วั นโงมางนศชลิ นั้ ปป์ รแะถผมนศกกึาษรเารปยี ทนี่ร๖ู้ที่ ๒ เรอ่ื ง ดนตรแี ละการอนรุ กั ษ์

บูรณาการรายวิชาศลิ ปะ ภาษาไทย และพลศกึ ษา เวลา ๒ ชวั่ โมง ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

แนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขน้ั นา ๑. ครูนาวดี ทิ ัศน์ เก่ียวกบั การแสดงของดนตรภี าคตา่ ง ๆ มาใหน้ ักเรียนดู แล้วใชค้ าถามเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับ
เร่ืองดงั กลา่ ว

๒. ครูนาแผนภาพเคร่ืองดนตรีพืน้ บ้านของภาคตา่ ง ๆ มาให้นกั เรยี นดู โดยครูใช้คาถามเพ่อื ให้นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ

เร่อื งดังกลา่ ว
๓. นักเรยี นสรปุ แผนภาพความคิดเกย่ี วกับดนตรีพืน้ บา้ นของภาคต่าง ๆ ในหวั ข้อตอ่ ไปน้ี ชนดิ ของเคร่ืองดนตรี และลักษณะของ

ขน้ั สอน เสียงดนตรี ทาใบงานที่ ๐๑
๓. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นออกเปน็ ๔ กลุม่ กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั ตัวแทนกลมุ่ ออกมาจบั สลาก ศกึ ษาใบความรู้เกย่ี วกบั การอนุรกั ษด์ นตรี กับ

งานประเพณีและ

วิวฒั นาการดนตรไี ทยในประวตั ิศาสตร์ ทาใบงานที่ ๐๒

๔. สมุ่ แต่ละกลุ่มจากทุกชัน้ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลงานทก่ี ลมุ่ ตนเองรบั ผดิ ชอบหนา้ ชัน้ เรียน

๕. ศึกษาใบงาน

๖. ใบงานที่ ๐๑ เร่ือง เครอื่ งดนตรีของวงดนตรี ๔ ภาค

๗. ใบงานที่ ๐๒ เร่ือง การอนรุ ักษ์ดนตรีไทย

๘. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุปดนตรีกบั การอนรุ ักษ์ และงานประเพณี
ข้ันสรุป ๙. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปการวิวฒั นาการดนตรีไทยในประวัตศิ าสตร์

วดั และประเมินผล - ประเมินความรเู้ รื่องดนตรพี นื้ บ้าน การอนรุ ักษ์ดนตรี งานประเพณี และววิ ัฒนาการของดนตรีไทย
- ประเมนิ ทักษะ การจาแนกเคร่ืองดนตรีพืน้ บา้ น
- ประเมินคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางานรกั ความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ

แผแนผกนากรจารดั จกดั ากราเรียเรนียรนู้บรรูบณูรณากาากรารหหนนว่ ยวกยการาเรรเรยี ียนนรรูท้ ทู ่ี ี่ ๘๘ สสุนนุ ททรรียยี ศศลิ ิลปป์ :: หหนน่ว ยย่อ ยที่ ๔ ภูมใิ จในนงงาานนศศิลลิ ปป ์ แแผผนนกกาารรเรเรียยีนนรทูร้ทูี่ ี่๒๒เรเื่อรงอ่ื งดนดตนรตแี รลแี ะลกะากราอรนอุรนักรุ ษกั  ษ์
บูรบณรู ณากาากรารารยายววชิ ชิาศาศิลลิปปะะ ภภาาษษาาไไททยย พพลลศศึกึกษษาาแและพลศึกษา เวลา ๒๒ ชชั่ววั่ โโมมงง ชช้นั ัน้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปทีท่ ี่๖๖

ขอบข่ายเน้อื หา ขั้นนา สอื่ / แหล่งเรียนรู้
- ดนตรีและการอนรุ ักษ์ ๑. ใบความรู้ท่ี ๐๑
- ดนตรีกับงานประเพณี ๑. ครนู าวีดทิ ศั นเ์ กี่ยวกบั การแสดงของดนตรีภาคตา่ ง ๆ มาใหน้ ักเรยี นดู แล้วใช้คาถามเพอ่ื ใหน้ ักเรยี น ภาระงาน/ชน้ิ งาน
- วิวัฒนาการดนตรไี ทยใน ๑. ใบงานที่ ๐๑ - ๐๒
ประวัตศิ าสตร์ รว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเร่ืองดังกล่าว ดงั นี้ - ๒. การนาเสนอผลงาน

จดุ ประสงค์ - การแสดงดนตรพี ้นื บา้ นมเี ครือ่ งดนตรชี นดิ ใดบ้างท่นี ักเรยี นรู้จกั การวดั และการประเมินผล
ความรู้ ๑. ประเมินความรูเ้ ร่อื งดนตรีพนื้ บ้าน
๑. บอกเครอื่ งดนตรพี ้นื บา้ นได้ - เครอื่ งดนตรีพน้ื บา้ นจดั เปน็ เครือ่ งดนตรปี ระเภทใด การอนุรกั ษ์ดนตรี งานประเพณี และ
๒๗๐๒. บอกวิธกี ารอนุรักษด์ นตรี วิวัฒนาการของดนตรไี ทย
กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บหรู นณวยากการาชเรดุรยี กน(ารสรูทจำ่ีดั ๘หกิจสรกนุบั รทรครมยีรกศผูาลิรสู ปเรอ ยีชนน้นั รป)ู ร(สชะําถ้ันหมรปศับึกรคษะราผูถปสู มท อ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปูรรทณับา่ีปก๖รางุ ร) ๒๗๗๓. บอกการเลน่ ดนตรีกบั งานประเพณี- นักเรียนคดิ วา่ การแสดงดนตรขี องแตล่ ะภาค ทน่ี กั เรยี นชมจากวดี ิทัศน์ ใหค้ วามรสู้ กึ อยา่ งไร๒. ประเมนิ ทกั ษะ การจาแนกเคร่ือง
๔. บอกววิ ฒั นาการดนตรีไทยใน ดนตรพี นื้ บา้ น การทางานกลุ่ม
ประวัตศิ าสตร์ - นกั เรียนคดิ ว่าจะอนุรักษก์ ารแสดงดนตรีพนื้ บา้ นควรทาอยา่ งไร ๓. ประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ทักษะ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้
๑. จาแนกเครือ่ งดนตรพี ้นื บ้านได้ ขัน้ สอน มงุ่ ม่นั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย
๒. การทางานกลมุ่ มีจติ สาธารณะ
คุณธรรม จรยิ ธรรม/คุณลกั ษณะอันพงึ ๒. ครนู าแผนภาพเคร่ืองดนตรีพ้นื บ้านของภาคต่าง ๆ มาใหน้ ักเรียนดู โดยครใู ชค้ าถามเพอ่ื ให้นกั เรยี น วิธีการ
ประสงค์ ๑. ตรวจใบงาน
๑. ใฝ่เรยี นรู้ รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เรอื่ งดังกล่าว ดังน-้ี ชื่อเครื่องดนตรีของภาคตา่ ง ๆ ๓. สังเกตการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๒. ม่งุ มั่นในการทางาน เคร่ืองมอื
๓. รักความเป็นไทย ๓. นกั เรียนทาใบงานที่ ๐๑ ๑. ใบงาน
๔. มจี ติ สาธารณะ ๒. แบบสงั เกตพฤติกรรม
๔. แบง่ กลมุ่ นักเรยี นออกเป็น ๔ กลมุ่ กลุ่มละเทา่ ๆ กนั ตัวแทนกลุ่มออกมาจบั สลาก ศึกษาใบ เกณฑ์การประเมิน
ผ่านตามเกณฑท์ ี่กาหนด
ความรเู้ กีย่ วกับการอนุรกั ษ์ดนตรดี นตรกี ับงานประเพณีและวิวัฒนาการดนตรีไทยในประวัตศิ าสตร์
ทาใบงานที่ ๐๒

๕. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลงานที่กลมุ่ ตนเองรบั ผดิ ชอบหนา้ ชน้ั เรียน
๖. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ และอธิบายเพ่มิ เติม

๗. ให้นกั เรียน สารวจดนตรีพ้นื บา้ นของภาคทีต่ นเอง อาศัยอยแู่ ล้วบนั ทึกขอ้ มูลตามทกี่ าหนดให้

ข้นั สรปุ

๘. ครูและนักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ และสรปุ เกี่ยวกับวงดนตรีของภาคตา่ ง ๆ และ

การอนรุ ักษ์ดนตรีพน้ื บ้าน

บ ๘.๔/ผ ๒-๐๑

ใบงานที่ ๐๑

เรื่อง เครอื่ งดนตรีของวงดนตรี ๔ ภาค

คาชแ้ี จง นกั เรยี นพจิ ารณาช่ือเครอ่ื งดนตรีทก่ี าหนด แล้วเขียนชอ่ื เครื่องดนตรพี ื้นเมือง
ของภาคตา่ ง ๆ ลงในกรอบ

๑. ระนาดทมุ้ ๒. ปจ่ี มุ ๓. ขล่ยุ เพยี งออ ๔. ฆอ้ งวงเลก็
๕. กลองชาตรี ๖. ซอด้วง ๗. สะลอ้ ๘. ตะโพน
๙. กลองทดั ๑๐. ซออู้ ๑๑. แคน ๑๒. โหวด
๑๓. จะเข้ ๑๔. โหมง่ ๑๕. กรบั ๑๖. โปงลาง
๑๗. พิณอสี าน ๑๘. กระจบั ป่ี

เครื่องดนตรีพน้ื เมืองของภาคต่าง ๆ

ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคอสี าน ภาคใต้

ช่อื ...................................................................................................................................................................
โรงเรียน ................................................................................... ช้นั ......................... เลขท่ี .......................

๒๗๘ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสาํมุ หบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรผู ูส อน) ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๒๗๒ บบ๘๘.๑.๑//ผผ ๒๒--๐๐๒๒

ใบงานที่ ๐๒

เรอ่ื ง การอนรุ ักษ์ดนตรไี ทย
คาช้แี จง ให้นกั เรียนเขยี นแผนผงั ความคิดแสดงวิธีการอนุรกั ษ์ดนตรีไทย

ชื่อ ........................................................................................................................................................................
โรงเรียน ................................................................................ ช้ัน ............................... เลขที่ ...........................

กจิ กรรมการเรียนรกู ลุม บรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ น้ัหรปบั รคะรผูถูส มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๗๙

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

บ ๘.๔/ผ ๒-๐๑

เฉลย ใบงานท่ี ๐๑

เร่อื ง เครอื่ งดนตรขี องวงดนตรี ๔ ภาค

คาชี้แจง นกั เรียนพิจารณาชือ่ เครอื่ งดนตรีทก่ี าหนด แลว้ เขียนช่อื เครอื่ งดนตรีพ้นื บ้าน
ของภาคตา่ ง ๆ ลงในกรอบ

เครอ่ื งดนตรีพ้นื เมอื งของภาคตา่ ง ๆ

ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคอสี าน ภาคใต้
กระจับปี กลองชาตรี
ระนาดทุม้ พณิ อสี าน
ปีจ่ มุ โหมง่
สะลอ้ กลองชาตรี แคน

จะเข้ กรบั โหวด

กลองทัด ตะโพน โปงลาง

ฆ้องวงเลก็

ซอด้วง ซอดว้ ง

ขลยุ่ เพียงออ

๒๘๐ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูกู (ลสาํมุ หบรบัรู คณรผู าสู กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรผู สู อน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๒๗๔ บบ๘๘.๑.๑//ผผ ๒๒--๐๐๒๒

เฉลย ใบงานท่ี ๐๒

6.1เรือ่ ง วธิ กี ารอนรุ กั ษด์ นตรไี ทย
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นเขียนแผนผงั ความคดิ แสดงวธิ ีการอนรุ ักษ์ดนตรีไทย

๑) เข้าร่วมกจิ กรรมท่ีแสดง
ดนตรีไทยเม่ือมีโอกาส

๕) พูดคยุ แลกเปลย่ี นความ วธิ กี ารอนรุ ักษ์ ๒) เขา้ ชมนิทรรศการเก่ยี วกับ
คดิ เห็นกับศิลปินเมื่อมี ดนตรีไทย ดนตรีไทย เพราะจะได้
โอกาส เพื่อจะได้รบั ความรู้ ความรู้เพิ่มเติม และได้รบั
เพมิ่ เติม ประสบการณ์ใหม่ๆ

๔) เรียนรกู้ ารบรรเลงเครื่องดนตรี ๓) ฝึกขบั ร้องเพลงไทยบ่อยๆ
ไทย โดยอาจเรม่ิ จากฝึกบรรเลง จะไดเ้ กิดความชานาญ
เครอื่ งเคาะจังหวะจนไปเลน่ เครือ่ ง และสามารถสอนคนอื่นได้
ดนตรีท่ยี ากขน้ึ

( ใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน )
กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารูส เรอยี นนร)ู (สชําัน้หรปับรคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๒๘๑

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ใบความร้ทู ี่สาหรบั ครแู ละนกั เรียนท่ี ๑

เรอื่ ง เครอื่ งดนตรพี นื้ บา้ นภาคอสี าน

๑. โปงลาง เป็นเคร่อื งดนตรีประเภทเคร่ือง ๒. พณิ เป็นเครอื่ งดนตรใี นสกลุ เครอ่ื งสายซึ่ง

เคาะหรือเคร่ืองตี มีลกั ษณะคล้ายระนาดแต่แขวนใน ประกอบดว้ ย กะโหลกและคอ

แนวด่ิง นิยมทาจากไม้มะหาด หรอื ไมห้ มากเหลือ้ ม มสี ายขงึ ใช้ดดี อาจดีดดว้ ยมือแผน่ พลาสตกิ หรือแม้แต่

เพราะเปน็ ไม้ทม่ี ีความอยู่ตัวมากกวา่ ไมอ้ ืน่ ๆ เศษวัสดทุ ีเ่ ปน็ แผน่ ถากออกมาจากเขาสตั วห์ รือ

โปงลาง ๑ ชดุ จะมจี านวนประมาณ ๑๒ ลกู ใช้ กระดองเต่า ทาจากวตั ถธุ รรมชาติ เช่น ผลนา้ เต้า

เชือกรอ้ ยรวมกนั เป็นผืน เป็นเคร่ืองดนตรีประจา กะโหลกมะพรา้ ว กระบอกไม้ไผ่หรอื ไมท้ ่ีขุดทะลุ

จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ทะลวงตลอด จึงเรยี กส่วนนีว้ ่า กระพงุ้ พิณ

๓. แคน เปน็ ชอื่ เครือ่ งดนตรพี ้ืนเมืองภาค ๔. โหวด เป็นชอื่ เครอื่ งเป่าไม่มลี ้นิ
อีสานทีเ่ ก่าแก่มมี าแต่โบราณ แคน ทาด้วยไม้ไผ่ (ชนิดหนึ่ง) แบบเดียวกับขลุ่ยแต่
ประกอบดว้ ย ขลุย่ ตา่ งชนดิ หลายเลาตดิ อยูร่ อบแกน
เป็นเครอื่ งดนตรที ใ่ี ชป้ ากเปา่ ใหเ้ ป็นเพลง ทาด้วย
แตล่ ะเลาใหร้ ะดบั เสยี งเพยี ง ๑ ระดับ เวลาเปา่ หรอื
ไมอ้ ้อ หรือไมเ้ ห้ยี น้อย
แกว่งจะมีเสยี งดงั "โหวดๆ"

๒๘๒ ชดุ กกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํุมหบรับูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรูท ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๒๗๖

ดนตรีพน้ื บ้านภาคเหนือ

๑. ซึง เป็นเคร่อื งดนตรพี ้ืนบ้านประเภทดีดของ ๒. สะล้อ เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองลา้ นนาประเภท
ภาคเหนือ นยิ มทาจากไมส้ กั หรอื ไม้ขนุน มีลกั ษณะ เครือ่ งสี ทาด้วยกะลามะพร้าวซง่ึ มที ง้ั
๒ สายและ ๓ สาย สะล้อเรยี กอีกอย่างหน่ึง
คลา้ ยกีตา้ ร์ มี ๔ สาย
ว่า ทร้อ หรอื ซะล้อ มรี ปู รา่ งคลา้ ยซออู้ของภาคกลาง

บรรเลงโดยการสีดว้ ยคันชัก

๓. กลองแอว เปน็ กลองขน้ึ หนังหน้าเดยี ว ๔. กลองสะบัดชัย เป็นกลองที่มีมานานแลว้

เชน่ เดียวกับกลองยาวภาคกลาง แตม่ ีขนาดยาวและ นับหลายศตวรรษ ในสมยั ก่อนใชต้ ี ยามออกศึก

ใหญ่กวา่ หลายเทา่ เปน็ กลองทมี่ สี ะเอว ตัวกลอง สงคราม เพื่อเปน็ สริ มิ งคล และ เป็น ขวัญกาลงั ใจ

กว้างใหญ่ เอวคอด ตอนท้ายเรียว ปลายบาน ใหแ้ ก่เหล่าทหารหาญในการต่อสู้ใหไ้ ด้ชัยชนะ ทานอง

คล้ายดอกลาโพง กลองชนดิ นี้มปี ระจาตามวดั ตา่ ง ๆ ท่ใี ช้ในการตีกลองสะบัดชัยโบราณมี ๓ ทานอง คือ

เพ่ือใช้ตีเป็นสัญญาณประจาวัด นอกจากนยี้ ังใชต้ ี ชัยเภร,ี ชัยดิถี และชนะมาร

รว่ มกับเครอื่ งดนตรีอื่น ๆ ประกอบการเล่นพ้ืนเมือง

ในงานพิธตี า่ ง ๆ

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ นั้หรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๘๓

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

เครื่องดนตรพี ้นื บา้ นภาคใต้

๑. กลองโนราห์ เป็นเคร่ืองดนตรปี ระเภทกลอง ๒. ทบั (โทนหรือทับโนรา) เป็นคู่ เสียงตา่ งกัน
ชนิดหน่งึ ใช้ประกอบการแสดงโนราหห์ รือหนงั ตะลงุ
เลก็ นอ้ ย ใช้คนตีเพยี งคนเดยี ว เป็นเคร่ืองตีที่สาคญั
โดยท่ัวไปมีสว่ นสูงประมาณ ๑๒ นวิ้ และมขี นาด
ท่สี ุด เพราะทาหน้าท่ี คมุ จังหวะและเป็นตัวนาในการ
เสน้ ผา่ ศูนย์กลางของหนา้ กลองทั้ง ๒ ดา้ น ประมาณ ๑๐ นวิ้
กลองโนราหน์ ิยมทาดว้ ยแก่นไมข้ นนุ หนงั ทห่ี มุ้ กลองใช้หนังวัว เปลย่ี นจงั หวะทานอง (แต่จะต้องเปลย่ี นตามผ้รู า
หรือควายหนุม่ มหี มดุ ไม้หรอื ภาษาใตเ้ รียกว่า "ลกู สัก" ไมใ่ ช่ผู้รา เปลี่ยน จงั หวะลีลาตามดนตรี ผทู้ าหนา้ ทีต่ ี
ทับจึงตอ้ งนั่งใหม้ องเหน็ ผ้รู าตลอดเวลาและต้องร้เู ชิง

ของผ้รู า)

๓. โหมง่ คือ ฆ้องคู่ ใช้ตีกากับจังหวะ ชดุ ๔. ป่ี เปน็ เครอ่ื งเปา่ เพยี งช้นิ เดยี วของวง
หนึง่ มสี องลูก ลูกใหญใ่ ห้เสยี งตา่ ลูกเล็กใหเ้ สียงสงู นิยมใช้ปใ่ี น หรอื บางคณะอาจใชป้ ีน่ อก ใชเ้ พียง ๑
เสียงแหลม เรยี กว่า “เสยี งโหม้ง”
เสียงทุม้ เรยี กว่า “เสียงหมุ่ง” หรอื บางครง้ั อาจจะ เลา ปี่มวี ธิ ีเป่าที่คลา้ ยคลึงกบั ขล่ยุ ปม่ี ี ๗ รูแต่สามารถ
เรียกว่าลกู เอกและลูกทุ้ม ไม้ตีทาด้วย แผน่ หนังววั กาเนิดเสียงได้ ถึง ๒๑ เสยี งซ่ึงคลา้ ยคลึงกับเสียงพูด
หรือหนังควายตัดเป็นวงกลม เจาะรูตรงกลางใสก่ า้ น
ไม้ มากที่สดุ

๒๘๔ ชดุ กกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสําุมหบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู ูสอน) ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๒๗๘

เครอื่ งดนตรีพื้นบ้านภาคกลาง

๑. จะเข้ เปน็ เครื่องดนตรีท่วี างดีดตามแนวนอน ๒. ระนาด น่าจะมีววิ ัฒนาการจากกรบั หลาย ๆ
ทาดว้ ยไมท้ ่อนขุดเปน็ โพรงอยู่ภายในนิยมใชไ้ ม้แกน่ อนั มาวางเรียงตีให้เกิดเสียงแล้วเอามาวางบนราง
เพอื่ ให้อมุ้ เสียงได้ แล้วใชเ้ ชอื กรอ้ ยไม้กรบั ขนาดต่างๆ
ขนนุ เพราะให้เสยี งกังวานดี ด้านลา่ งเป็นพนื้ ไม้ ซงึ่ แล้วจึงวางไวบ้ นราง ตีแลว้ เกิดเสยี งกงั วาน ลดหล่ัน
กันไปตามลูกระนาด ระนาดที่ให้เสยี งแกร่งกร้าว อนั
มกั ใช้ไมฉ้ าฉา เจาะรูไว้ให้เสยี งออกดขี น้ึ มีขาอยู่ เปน็ ระนาดดั้งเดิมเรียกว่า ระนาดเอก
ตอนหัว ๔ ขา ตอนท้าย ๑ ขา มีสาย ๓ สาย เวลา

ดดี จะใช้ไม้ดีดท่ีทาด้วยงาหรือเขาสตั ว์

๓. ฆ้อง ตวั ฆอ้ งทาดว้ ยโลหะแผ่นรปู วงกลมตรง ๔. กลองชาตรี มรี ปู ร่างลักษณะและการตี
กลางทาเปน็ ปุ่มนูน เพื่อใชร้ องรบั การตีใหเ้ กิดเสยี ง เชน่ เดยี วกับกลองทัด แตข่ นาดเล็กกว่ากลองทัด
เรยี กวา่ ปุม่ ฆอ้ ง ต่อจากป่มุ เป็นฐานแผ่ออกไป แลว้ งอ ประมาณครง่ึ หน่งึ ข้ึนหนังสองหนา้ ใชบ้ รรเลงรว่ มใน
ง้มุ ลงมาโดยรอบเรยี กว่า "ฉัตร" สว่ นที่เป็นพนื้ ราบรอบ วงปีพาทยใ์ นการแสดงละครชาตรีท่ีเรยี กว่า "ปีพาทย์
ปมุ่ เรยี กว่า "หลงั ฉตั ร" หรอื " ชานฉตั ร" สว่ นทงี่ อ ชาตร"ี ใชเ้ ลน่ คู่กบั โทนชาตรี
เปน็ ขอบเรียกว่า "ใบฉตั ร" ทีใ่ บฉัตรน้ีจะมีรูเจาะ
สาหรับรอ้ ยเชอื กหรือหนังเพือ่ แขวนฆอ้ ง ถา้ แขวนตี
ทางตัง้ จะเจาะสองรู ถา้ แขวนตีทางนอนจะเจาะสร่ี ู
ฆ้องใช้ในการบรรเลงได้สองลักษณะคือ ใชต้ ีกากบั
จังหวะ

กิจกรรมการเรียนรกู ลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๘๕

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

คําชี้แจงประกอบแผนการจัดการเรยี นรู

แผนการเรียนรทู ี่ ๓ เร่ือง การแสดงนาฏศลิ ปประเภทตาง ๆ เวลา ๑ ช่วั โมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาํ คัญของแผน
นาฏศลิ ปไทยเปน ศลิ ปะฟอนราํ ท่คี นไทยไดสรางสรรคแ ละประดิษฐข ้ึน มคี วามสวยงามประณีต การแสดง
นาฏศลิ ปไ ทยมหี ลายประเภท เชน ราํ วงมาตรฐาน ระบาํ โขน ละครไทย

๒. ขอเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ในการนาํ แผนการจดั การเรียนรไู ปใชจัดกจิ กรรมการเรียนรู

๒.๑ ครคู วรศึกษา แผนการจัดการเรียนรู สอื่ และใบงานใหเขา ใจอยางละเอยี ดกอนจดั กจิ กรรมการเรียนรู

๒.๒ ครคู วรเตรยี มใบงานใหเ พียงพอกับจาํ นวนนกั เรยี น

๒.๓ ครูอธบิ ายความหมายของนาฏศลิ ป ใหนกั เรียนเขาใจ

กิจกรรมการเรยี นรู
ใหน กั เรยี นเปล่ยี นสลับขึน้ มาดา นหนา แบงเปนกลมุ ๆละ ๖ คน ฝก ซอ มใหช าํ นาญ

ครสู าธิตการรํา ใหน ักเรียนฝก ปฏิบตั ทิ า รําทลี ะทาตามทคี่ รูสาธิตเปน รายบคุ คล

แบง นักเรียนเปน ตามช้นั ใหนกั เรยี นศึกษาใบความรตู ามทีก่ าํ หนด ฝก ปฏิบัติทารําตามใบงาน
ใบงานที่ ๐๑ เพลงราํ เชญิ พระขวัญ
ใบงานที่ ๐๒ ออกแบบอปุ กรณท ี่ใชป ระกอบการแสดง

ครคู ัดเลือกกลุมทีแ่ สดงไดดสี วยงาม ๑ กลุม เพลงราํ เชญิ พระขวัญ นาํ เสนอหนาชนั้ เรียนทลี ะกลุม

๑. การเตรยี มส่ือ/วัสดอุ ุปกรณ

- รปู ภาพการแสดงรําวงมาตรฐาน เพลงรําเชญิ พระขวญั
- วีดที ศั นการแสดง เพลงรําเชิญพระขวัญ
- แผนภูมเิ พลง เพลงราํ เชิญพระขวญั
- แถบบนั ทกึ เสยี งเพลง

- เครื่องกาํ กับจงั หวะ
๒. ใบงาน/ใบความรู
- ศึกษาและปฏบิ ตั กิ ารแสดง เพลงราํ เชิญพระขวัญ

- ศกึ ษานาฏยศพั ท ภาษาทาทางทีใ่ ชกับปฏิบัตกิ ารแสดง เพลงรําเชญิ พระขวัญ
๓. การวดั และประเมินผล

๑. การประเมนิ ความรเู ร่อื งรปู แบบของการแสดงนาฏศลิ ป การแสดงละครไทย ประวตั ิของเพลงทใ่ี ช

ประกอบการแสดง เคร่ืองดนตรที ่ีใชประกอบเพลงและการแปลความหมายของบทเพลง

๒. การประเมนิ ทักษะการสรปุ การแสงนาฏศลิ ปไ ทย การเคาะจงั หวะและรองเพลงประกอบเพลง การ
แสดงทาทางประกอบเพลง

๓. การประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ใฝร ู และสรางสรรค กระตอื รือรนในการทํา
กจิ กรรม กลา แสดงออกหรอื แสดงความคดิ เห็นปฏบิ ตั ิงานตามท่ีไดรับมอบหมาย

๒๘๖ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสาํมุ หบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

แนวทางการจดั การเรยี นรบู รู ณาการ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป : หนว ยยอ ยท่ี ๔ ภมู ใิ จในงานศลิ ป แผนการเรยี นรทู ่ี ๓ เรอ่ื ง การแสดงนาฏศลิ ปป ระเภทตา ง ๆ
บรู ณาการกลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ สขุ พลศกึ ษาและพลศกึ ษา สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ภาษาไทย เวลา ๑ ชว่ั โมง ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บหรู นณวยากการาชเรดุรยี กน(ารสรทูจำี่ดั ๘หกิจสรกุนับรทรครมียรกศผูาลิรูสปเรอ ยีชนนัน้ รป)ู ร(สชะาํถั้นหมรปศับกึ รคษะราผูถปูสมท อี่นศ๖)ึก(กฉษลบมุาับบปปูรรทณับาี่ปก๖ราุงร) ๒๘๗ แนวการจดั กิจกรรม กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ นา
๑. ครแู จง้ จดุ ประสงค์รายปี ครใู หน้ กั เรียนชมภาพการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยประเภทต่าง ๆ แล้วถามนักเรียนว่าการแสดงที่นักเรียนได้ชม
ขั้นสอน นั้นมลี กั ษณะการแสดงอยา่ งไร โดยให้นกั เรยี นแสดงความคิดเห็นและอภปิ รายตามความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณต์ นเอง
ข้ันสรุป ๒. ครเู ปิดวีดิทัศน์การแสดงให้นกั เรียนชม ครใู ห้นักเรียนนาเสนอเน้อื หาเรื่อง รูปแบบการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย
วดั และประเมินผล
๓. ใหน้ กั เรียนเปล่ียนสลบั ขึน้ มาด้านหน้า แบง่ เป็นกลุ่ม ๆละ ๖ คน ฝึกซอ้ มใหช้ านาญ
๔. ครสู าธติ การรา ใหน้ ักเรียนฝึกปฏบิ ัติทา่ ราทีละท่าตามทีค่ รูสาธติ เปน็ รายบุคคล
๕. แบ่งนกั เรยี นเปน็ ตามชนั้ ให้นกั เรียนศึกษาใบความรตู้ ามทก่ี าหนด ฝกึ ปฏบิ ัติทา่ ราตามใบงาน

ใบงานที่ ๐๑ เพลงราเชญิ พระขวญั
ใบงานท่ี ๐๒ ออกแบบอปุ กรณ์ท่ใี ชป้ ระกอบการแสดง
๖. ครคู ดั เลือกกล่มุ ท่แี สดงได้ดีสวยงาม ๑ กลุ่ม เพลงราเชิญพระขวญั นาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี นทีละกล่มุ
๗. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ และอภิปรายสรปุ เรอื่ ง รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ไทย เปน็ ความคิดของชนั้ เรยี น โดยครูคอยให้

ความรู้เสริมในส่วนทนี่ กั เรียนไมเ่ ข้าใจหรือสรปุ ไมต่ รงกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

๑. การประเมินความรู้เรอื่ งรูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ การแสดงละครไทย ประวัตขิ องเพลงที่ใช้ประกอบการแสดง เครื่องดนตรีท่ีใช้

ประกอบเพลงและการแปลความหมายของบทเพลง

๒. การประเมนิ ทักษะการสรปุ การแสงนาฏศลิ ป์ไทย การเคาะจงั หวะและรอ้ งเพลงประกอบเพลง การแสดงทา่ ทางประกอบเพลง
๓. การประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรม คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ใฝ่รู้ และสรา้ งสรรค์ กระตือรอื ร้นในการทากจิ กรรม กล้าแสดงออกหรือ
แสดงความคิดเหน็ ปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

แผนจัดกแาผรนเรจียัดนกรารบู เรู ณยี นารกู้บารู รณาหกนาวรยกหานร่วเยรยีกนารรเทูรยี่ ๘นรส้ทู นุ ี่ ๘ทรสียุนศทิลรปยี ศิล: ปห์ น: วหยนย่วอ ยยยทอ่ ี่ ย๔ท่ี ภ๔มู ใิภจมู ใิในจงใานนงาศนลิ ศปลิ  ป์แผแนผกนากราเรเียรนยี นรทูร้ทู่ี ี่ ๓๓ เรเรือ่ อื่ งง กกาารรแแสดงนาฏศิลลปป์ปปรระะเภเภททตตา่ างงๆๆ
บูรณากบาูรรณกลากุม าสรากรละ่มุ กสาารรเระยีกนารรเศูรียลิ นประศู้ ลิ สปุขะพลสศขุ พึกษลศากึ ษสาังคสมังศคกึ มษศากึ ศษาาสศนาาสแนลาะแวลฒัะวนัฒธนรธรรมรมเวเลวาลา๑๑ชวั่ชโว่ั มโมงงรระะดดับบั ชชั้นั้นปปรระะถถมศกึ ษาปทีท ่ี ่ี ๖๖
๒๘๑
๒๘๘ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสลิ าํุมปหบชรับนั้รู ปคณรรูผะาูสถกอมานศกึ)รษก(ลาสปุมทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคบัรรปผูรับสู ปอรุงน) ) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ขอบเขตเน้อื หาขน้ั นา ส่อื / แหล่งเรียนรู้
- นาฏศลิ ป์ไทย คอื ศิลปะการฟอ้ นราทมี่ นษุ ย์ ๑. ครูชีแ้ จงตวั ช้ีวดั ชนั้ ปี และจดุ ประสงคใ์ ห้นักเรยี นทราบ ๑. รูปภาพการแสดงราวงมาตรฐาน เพลงราเชิญพระขวัญ
สรา้ งสรรค์และประดิษฐข์ ้ึน มคี วามงดงามประณีต ๒. วีดที ศั น์การแสดง เพลงราเชิญพระขวัญ
๒. ครูใหน้ กั เรยี นชมภาพการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยประเภทตา่ ง ๆ แลว้ ถามนักเรียนว่าการแสดงทน่ี ักเรียนได้ชม ๓. แผนภมู ิเพลง เพลงราเชิญพระขวัญ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๔. แถบบนั ทกึ เสียงเพลง
ความรู้ น้นั มลี กั ษณะการแสดงอย่างไร โดยให้นกั เรียนแสดงความคดิ เห็นและอภิปรายตามความรู้ ความเข้าใจ และ ๕. เครือ่ งกากบั จังหวะ
๑. อธบิ ายรูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ ภาระงาน / ช้ินงาน
การแสดงละครไทยได้ ประสบการณต์ นเอง ๑. ศึกษาและปฏบิ ตั ิการแสดง เพลงราเชญิ พระขวัญ
๒. บอกประวตั ขิ องเพลงทีใ่ ชป้ ระกอบการแสดงได้ ๒. ศกึ ษานาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทางทใ่ี ช้กบั ปฏิบตั ิการแสดง
๓. บอกเคร่อื งดนตรีทใี่ ช้ประกอบเพลงได้ ๓. ครูเชอื่ มโยงสิ่งท่นี กั เรยี นตอบกบั เรอื่ ง รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย รา เพลงราเชิญพระขวญั
๔. แปลความหมายของเนอ้ื เพลงได้
ทักษะ ข้ันสอน การวดั และประเมนิ ผล
๕. สรุปรปู แบบของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยได้ ๔. ครูเปดิ วีดิทัศนก์ ารแสดงให้นักเรยี นชม ครูให้นกั เรียนนาเสนอเนอ้ื หาเรอื่ ง รูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย ๑. การประเมนิ ความรู้เรอ่ื งรปู แบบของการแสดงนาฏศิลป์
๖. เคาะจังหวะและร้องเพลงประกอบการแสดงได้ การแสดงละครไทย ประวัติของเพลงทใ่ี ช้ประกอบการ
ถกู ต้องตรงจงั หวะและทานองเพลง ว่ามลี กั ษณะอยา่ งไรบ้าง แสดง เครือ่ งดนตรีทีใ่ ช้ประกอบเพลงและการแปล
๗. แสดงท่าทางประกอบเพลงได้เหมาะสมกบั ความหมายของบทเพลง
ความหมายของเน้อื เพลง ๕. ครใู หน้ ักเรยี นอา่ นออกเสยี งเนอื้ เพลงราเชญิ พระขวญั ในแผนภูมเิ พลงพรอ้ มกัน แลว้ ซกั ถามนักเรยี น ๒. การประเมินทกั ษะการสรปุ การแสงนาฏศลิ ปไ์ ทย การ
คุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เคาะจงั หวะและรอ้ งเพลงประกอบเพลง การแสดงท่าทาง
๑. ใฝ่รู้ และสรา้ งสรรค์ วา่ เพลงราวงมาตรฐาน เพลง เพลงราเชิญพระขวัญ เปน็ เพลงประเภทใด และใหค้ วามรสู้ กึ อยา่ งไร ประกอบเพลง
๒. กระตือรอื รน้ ในการทากิจกรรม ๓. การประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พึง
กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคดิ เห็น ๖. ครูถามนักเรียนอกี ว่า นักเรยี นเคยรอ้ งเพลง ราวงมาตรฐาน เพลงระบาอธิษฐาน เพลงราเชิญพระขวัญ ประสงค์ ใฝ่รู้ และสร้างสรรค์ กระตือรอื ร้นในการทา
๓. ปฏบิ ัตงิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย กจิ กรรม กล้าแสดงออกหรอื แสดงความคิดเหน็ ปฏิบตั ิงาน
หรือไม่ แลว้ ครเู ปดิ เพลงเลอื ดสุพรรณให้นักเรียนฟงั ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย
วิธีการ
๗. ครใู ห้นกั เรยี นฝึกรอ้ งเพลง เพลงราเชิญพระขวญั แล้วรอ้ งเพลงพรอ้ มกัน เม่ือรอ้ งจบครูถามนกั เรยี นวา่ มี ๑. สนมนาซักถามโดยครู
๒. ตรวจใบงานใบงาน
ความรสู้ ึกอย่างไร ๓. สงั เกตการปฏบิ ัตงิ าน
เครื่องมือ
๘อะ. ไครรบูสา้ นงทนนากั ซเรักียถนาไมดนน้ กั าเภรียาษนาเกทย่ี า่ วแกลับะภนโาาคษฏรายงทศส่าัพแรทล้า์มะงานหใาชนฏป้ ่วยรศยะกพักอทาบรท์ กเีเ่รราียียรนแนสใรนดู้ปบงอท๑ยเ-ร่า๓ียงไนรทบ่ี ้าผงา่ นใมหาน้ วกั า่ มีทา่ – แบบบันทึกข้อมูลการแสดงความคิดเห็นและการอภปิ ราย
เรียนรว่ มกัน - แบบประเมินการปฏบิ ัตงิ าน
– ใบงาน ใบกจิ กรรม
อภปิ รายแสดงความคดิ เห็น – แบบประเมินผลดา้ นความรู้
เกณฑ์การประเมนิ
๙. ครสู าธิตการราเพลงราเชญิ พระขวญั ให้นักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ่าราทีละท่าตามทีค่ รสู าธติ เป็นรายบุคคล ให้ ผ่านเกณฑ์ตามท่กี าหนด

นักเรยี นเปลี่ยนสลับขนึ้ มาด้านหนา้ แบง่ เป็นกลมุ่ ๆละ ๖ คนศึกษาใบความรู้และ ฝึกซอ้ มให้ชานาญ (ป.๖)

๑๐. นักเรยี นออกแบบอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ประกอบการแสดง คอื เชงิ เทียน โดยออกแบบลงในใบงานกอ่ น (ป.๖)

๑๑. ครคู ัดเลือกกลมุ่ ที่แสดงไดด้ ีสวยงามช้ันละ ๑ กลมุ่ ป.๔ เพลงระบาอธษิ ฐาน ป.๕ เพลงรามาซมิ ารา ป.๖

เพลงราเชิญพระขวญั นาเสนอหนา้ ชน้ั เรียนทีละกลุ่มท์ ภาษท
ขัน้ สรุป

๑๒. นักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ และอภปิ รายสรปุ เรือ่ ง รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย เปน็ ความคิด

ของชน้ั เรียน โดยครคู อยใหค้ วามรเู้ สรมิ ในสว่ นที่นกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรปุ ไมต่ รงกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

๒๘๒

แผนภมู ิ

แผนภูมิเพลง เชิญพระขวญั

ขวัญเจา้ เอยขวญั เอยมาส่อู งคเ์ อย (ซ้า) ขอเชญิ พระขวญั เม่อื วนั เดือนเพญ็
ใหอ้ ยูร่ ่มเย็นอย่าหนีไปไหน ขวญั เจ้าเอยขวัญเอยขวญั เจา้ อยา่ เลยไปไกล (ดนตรรี ับ)
อยา่ เท่ยี วจนเพลิดอย่าระเหนิ ระหก อย่ามัวชมนกอย่ามัวชมบา้ น
ขอเชิญขวัญเจา้ รีบเข้าสู่กาย อยา่ รี่หนหี ายเลยนะขวญั เจา้ เอย

กจิ กรรมการเรียนรูกลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกูผารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ ัน้หรปับรคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๘๙

หนวยการเรยี นรูท ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ใบความรู้สาหรับครแู ละนักเรียนที่ ๑

เรื่อง ท่าราประกอบเพลงราเชิญพระขวญั

ทา่ รา เน้ือเพลง คาอธบิ ายทา่ รา

ท่าออก กา้ วเทา้ ไขว่ สลับซา้ ย ขวา มือซ้ายถอื

เชงิ เทียนตั้งวงสูง มือขวาจบี ค่้า

เอยี งซ้าย

ทา่ ออก ก้าวเทา้ ไขว่ สลบั ซ้าย ขวา มอื ซ้ายถือ
เชิงเทียนต้งั วงสงู มอื ขวาปล่อยจบี
คลายจบี ออกข้างล้าตวั เอียงขวา

ท่าออก ผแู้ สดงคอ่ ย ๆ น่ังลง มือซ้ายถือเชิง
เทยี นตั้งวงสูง มือขวาปลอ่ ยจีบคลายจีบ
ออกข้างลา้ ตวั เอียงขวา

ทา่ ออก มอื ซา้ ยถอื เชิงเทยี นต้ังวงสูง มือขวาจีบ
ค่า้ ระดับลา่ ง เอียงขวา

ขวัญเจา้ เอย มอื ทงั้ สองจบั เชิงเทยี นด้านหน้า

๒๙๐ ชดุ กกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรบัรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรผู ูสอน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๒๘๔

ท่ารา เน้ือเพลง คาอธบิ ายท่ารา

ขวัญเอยมาสู่องค์เอย ไหวข้ ึน้ ระดับศรี ษะ

เอื้อน มอื ขวาหักข้อมือผายออกดา้ นข้าง
(ทา่ ปัดควันเทยี น)

ขอเชญิ พระขวัญ กระดกเท้าขวา ผแู้ สดงปฏบิ ตั ทิ า่ ขอ
มือขวาถือเชิงเทียนระดบั สูง เอียงขวา

เมื่อวนั เดอื นเพ็ญ กระดกเทา้ ซ้าย มอื ซ้ายถือเชงิ เทียน
ใหอ้ ยู่ ระดบั ล่าง มือขวาชก้ี ดปลายน้ิวลง

ตงั้ วงบนมือขวา มือซา้ ยถือเชิงเทยี น
ระดับลา่ ง เอียงขวา

ร่มเย็น ม้วนมือจบี เปลยี่ นเป็นจบี ปรกขา้ ง
เอยี งซ้าย

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชําั้นหรปับรคะรูผถูส มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๙๑

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ทา่ รา เนอื้ เพลง คาอธิบายท่ารา

อยา่ หนีไปไหน มือวา้ ยถือเชงิ เทยี นระดับลา่ ง มือขวา

ต้ังวงล่าง สั่นปลายมือเลก็ น้อย

เอียงขวา

ขวญั เจา้ เอยขวญั เอยขวญั ตั้งเขา่ ขวา มือซา้ ยถอื เชิงเทยี นระดับ
เจา้ ล่าง มอื ซา้ ยจีบหงายระดบั เดียวกนั

เอยี งซา้ ย

อยา่ เลยไปไกล(ดนตรรี ับ) ลกุ ขนึ้ ยนื มอื ขวาจบี หงายแขนตรงึ
หมนุ รอบตวั เอง เอียงซ้าย

อยา่ เทีย่ วจนเพลดิ ก้าวเท้าหนา้ ด้านขวา มือทั้งสองอยู่
ระดับเดยี วกนั มือขวาตั้งวงส่ันปลาย
น้ิวเล็กน้อย เอียงขวา

อย่าระเหินระหก ถอนเท้าซา้ ย แตะเท้าขวา มือซา้ ยถอื
เชงิ ถอื ในระดบั สงู มือขวาแบมือ
กระดกมือตามจงั หวะ ๓ จังหวะ

อยา่ มวั ชมนก กระดกเทา้ ขวา มอื ขวาตง้ั วงกดปลาย
นวิ้ ลง มือซา้ ยถือเชิงเทยี น ระดับเอว

๒๙๒ ชุดกกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํุม หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรผู ูส อน) ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

๒๘๖

ทา่ รา เนอื้ เพลง คาอธิบายทา่ รา

อย่ามวั ชมไม้ เทา้ ซา้ ยกา้ วเทา้ ข้าง เปิดส้นเท้าหลัง

มือซ้ายตั้งวงในระดับสงู มือขวาช้ลี งท่ี

พืน้ มองตามมือ

ขอเชิญขวัญเจ้า เทา้ ขวาก้าวเท้าหน้า มือซ้ายถือเชงิ
เทียนในระดบั สงู มือขวาปฏบิ ตั ทิ ่าขอ

รีบเข้าสู่กาย มือซา้ ยแขนตรึง มือขวาแตะที่แขน
เอียงซา้ ย

อย่าร่ีหนีหาย เทา้ ขวาก้าวเท้าหนา้ มือทง้ั สองอยใู่ น
ระดบั หวั เข็มขดั มือซ้ายถือเชิงเทียน
มอื ขวาตั้งวงส่ันปลายน้ิวเล็กน้อย

เลยนะขวัญเจา้ เอย กระดกเท้าหลัง มือทั้งสองถือเชงิ เทยี น
ไหว้ข้ึนศรี ษะ

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชําัน้หรปบั รคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๙๓

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรียศิลป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

บ ๘.๔/ผ ๓-๐๑

คาชี้แจง ใบงานที่ ๐๑

๑. แบ่งนกั เรียนออกเปน็ กลุ่ม ๆ ละ ๔ - ๖ คน
๒. แต่ละกล่มุ ศกึ ษาใบความรู้
๓. ฝึกปฏบิ ตั ทิ า่ รา้ เพลงเชิญพระขวญั

๒๙๔ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสาํุมหบรับูรคณรูผาูส กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรผู ูส อน) ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรูท ่ี ๘ สุนทรียศิลป ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

บ ๘.๔/ผ ๓-๐๒

ใบงานที่ ๐๒

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นออกแบบเชิงเทยี นทใ่ี ชป้ ระกอบในการแสดงรา้ เชิญพระขวัญลงลงในใบงาน

กจิ กรรมการเรียนรกู ลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกผูารูสเรอียนนร)ู (สชําั้นหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๙๕

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

แบบสังเกตพฤติกรรม

หนว่ ยยอ่ ยที่ ๔ แผนท่ี ๓

เรื่อง การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทต่าง ๆ
.......................................................................................................

ชื่อ.........................................................................เลขท.ี่ .............ชั้น..........................................................
คาช้ีแจง ครสู ังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นตามรายการต่อไปน้ี

ท่ี รายการ ผลการสังเกต หมายเหตุ
๔ ๓๒ ๑
๑ กล้าแสดงออก
๒ ความร่วมมอื ในการร่วมกิจกรรม
๓ มีความเชอื่ ม่ันในตนเอง
๔ มคี วามสนกุ สนานเพลิดเพลินและชืน่ ชมใน

การปฏิบตั ิกจิ กรรม
๕ การปรับปรุงแกไ้ ขตนเอง

รวม

เกณฑก์ ารประเมนิ
๔ คะแนน ดมี าก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้
๑ คะแนน ปรบั ปรงุ

นักเรียนได้คะแนน ๑๔ คะแนนขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

๒๙๖ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํุมหบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรูผูสอน) ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรูท ่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๒๙๐

เกณฑก์ ารประเมินแบบสังเกตพฤตกิ รรม

หน่วยย่อยท่ี ๔ แผนท่ี ๓

เรอื่ ง การแสดงนาฏศิลป์ประเภทตา่ ง ๆ

รายการ คา่ คะแนน

ประเมิน ๔ ๓๒ ๑

กลา้ แสดงออก มคี วามสนใจ ท่าทางมน่ั ใจแต่ ท่าทางเคอะเขิน ไม่กลา้ แสดงออก

การแสดงออกและ ขาดความพรอ้ ม ไมม่ นั่ ใจ

พร้อมท่ีจะแสดง ในการแสดง

ทนั ที

ความร่วมมือ ทมุ่ เทกา้ ลงั กาย ร่วมคดิ และรว่ ม รว่ มปฏิบัตงิ าน ร่วมปฏบิ ตั งิ านเปน็

การรว่ ม กา้ ลังใจ อยา่ งเตม็ ปฏบิ ัติงานแตไ่ ม่ ตามคา้ ส่ังของ บางครัง้

กจิ กรรม ความสามารถใน รว่ มแกป้ ัญหา กลมุ่

การปฏิบตั ิงานจน ในการท้างาน

ประสบความส้าเรจ็

และรว่ มรบั ผดิ ชอบ

ตอ่ ความผดิ พลาด

ทเี่ กิดขึ้น

ความเช่ือมน่ั ใน มคี วามเช่ือมน่ั และ มคี วามเชอื่ ม่ัน มีความตงั้ ใจและ ขาดความเช่ือมั่นใน

ตนเอง ตั้งใจในการแสดง ในการ มีความพยายาม การแสดงออก

อย่างเตม็ ที่ แสดงออก ในการแสดงออก

ความ มีความสนกุ สนาน มคี วาม มีความ ไมม่ ีความสนกุ สนาน

สนุกสนาน เพลิดเพลินและ สนุกสนาน สนกุ สนานและ และชน่ื ชมในการ

เพลดิ เพลิน ชืน่ ชมในการปฏบิ ัติ เพลิดเพลนิ และ ชื่นชมใน ปฏิบัติกิจกรรม

และชนื่ ชม กิจกรรมอยา่ งเตม็ ท่ี ชื่นชมในการ การปฏบิ ตั ิ

ปฏิบัติกิจกรรม ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม กิจกรรมเปน็

บางครง้ั

กจิ กรรมการเรยี นรูกลุม บรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณาี่ ก๖าร ๒๙๗

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรียศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

รายการ คา่ คะแนน
ประเมิน
๔ ๓๒ ๑
ปรบั ปรงุ แกไ้ ข มีความพรอ้ มและ ปรับปรงุ แกไ้ ข
สามารถปรบั ปรงุ สามารถ สามารถปรบั ปรงุ
แกไ้ ขตนเองได้ ตนเองได้บางครง้ั
ทนั ท่วงทลี ะถกู ตอ้ ง ปรบั ปรงุ แกไ้ ข แก้ไขตนเองได้ และใช้เวลานาน

ตนเองได้ บางคร้งั

เกณฑ์การประเมนิ
๔ คะแนน ดีมาก

๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้

๑ คะแนน ปรับปรงุ
นกั เรยี นทีไ่ ด้คะแนน ๑๔ คะแนนขึน้ ไป ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

ระดบั คุณภาพ

คะแนน ๑๕-๒๐ ระดบั ๔ หมายถึง ดมี าก

คะแนน ๑๑-๑๔ ระดบั ๓ หมายถงึ ดี

คะแนน ๖-๑๐ ระดบั ๒ หมายถึง พอใช้

คะแนน ๑-๕ ระดบั ๑ หมายถึง ปรับปรงุ

นกั เรยี นตอ้ งไดร้ ะดบั ดี ขึน้ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

๒๙๘ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสําุม หบรับูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราับกาครรูผูสอน) ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๒๙๒

แบบประเมินผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของนกั เรยี น

หนว่ ยย่อยท่ี ๔ แผนที่ ๓
เรอ่ื ง การแสดงนาฏศลิ ปป์ ระเภทต่าง ๆ
..........................................................................................................................

กลุ่มที.่ ............................ชนั้ .........................................

คาชแี้ จง ครปู ระเมนิ ผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของนกั เรยี น ตามรายการต่อไปนี้

ท่ี รายการ ผลการสงั เกต หมายเหตุ
๔๓๒๑
๑ การปฏบิ ตั ิทา่ นาฏยศัพท์ตามทีก่ ้าหนดให้
๒ ความตั้งใจในการปฏิบตั กิ ิจกรรม
๓ มคี วามสนกุ สนานเพลดิ เพลิน
๔ การใหค้ วามร่วมมือในกลุ่มตนเอง

รวม

เกณฑก์ ารประเมิน
๔ คะแนน ปฏบิ ตั ไิ ดด้ ีมาก
๓ คะแนน ปฏบิ ตั ิไดด้ ี
๒ คะแนน ปฏบิ ตั ิไดพ้ อใช้
๑ คะแนน ปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ตค่ วรปรบั ปรงุ

นักเรียนได้คะแนน ๑๒ คะแนนขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

(ลงช่อื ).......................................ผ้ปู ระเมนิ

กิจกรรมการเรียนรกู ลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกูผารูส เรอยี นนร)ู (สชํา้ันหรปบั รคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๙๙

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานกจิ กรรมของนกั เรยี น

หน่วยย่อยท่ี ๔ แผนที่ ๓

เร่ือง การแสดงนาฏศลิ ปป์ ระเภทตา่ ง ๆ

รายการประเมนิ ๔ ค่าคะแนน ๑
๓๒

๑.การปฏบิ ตั ทิ า่ ปฏบิ ัติทา่ รา้ ปฏบิ ัตทิ า่ ร้า ปฏิบัตทิ า่ รา้ ปฏิบตั ิท่ารา้

มาตรฐานตามท่ี มาตรฐานตามท่ี มาตรฐานบางท่า มาตรฐานบางท่า มาตรฐานบางทา่

กา้ หนดให้ กา้ หนดใหไ้ ด้ ตามทก่ี า้ หนดให้ได้ ตามทกี่ ้าหนดให้ได้ ตามทก่ี ้าหนดให้

ถูกตอ้ งและ ถูกตอ้ งและ ถกู ตอ้ งแตไ่ ม่ ไม่ถกู ตอ้ งและ

สวยงาม สวยงาม สวยงาม ไม่สวยงาม

๒.ความตง้ั ใจใน มคี วามตง้ั ใจ มคี วามตง้ั ใจและ มคี วามตงั้ ใจและ ไม่มคี วามต้งั ใจ
การฝึกปฏบิ ัติ และสนใจใน สนใจในการฝกึ สนใจในการฝกึ และสนใจใน
การฝึกปฏิบัติ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดี ปฏิบตั กิ จิ กรรม การฝกึ ปฏิบัติ
๓.ความ กิจกรรม บางคร้งั กิจกรรมตา่ ง ๆ
สนุกสนาน ดมี าก มคี วาม
เพลิดเพลิน กระตือรอื รน้ ใน มคี วาม ไมม่ ีความ
กลา้ แสดงออก มีความ การฝึกปฏิบตั ิ กระตือรือร้นใน กระตอื รือรน้ ใน
กระตือรือร้นใน กจิ กรรมดี การฝกึ ปฏิบตั ิ การฝกึ ปฏิบตั ิ
๔.การใหค้ วาม การฝกึ ปฏิบตั ิ กิจกรรมเพียง กิจกรรมตา่ ง ๆ
ร่วมมอื ภายใน กิจกรรม สมาชกิ ใหค้ วาม บางครัง้
กลุ่มของตน ดีมาก สนใจและเข้ารว่ ม สมาชกิ ใหค้ วาม สมาชิกในกลุ่ม
กิจกรรมของกลมุ่ ดี สนใจและเข้าร่วม ไมม่ ีความสนใจ
สมาชกิ ใหค้ วาม กิจกรรมของกล่มุ และไมเ่ ขา้ รว่ ม
สนใจและเข้า เป็นบางครั้ง กิจกรรมของกลมุ่
ร่วมกจิ กรรม
ของกลมุ่
ดีมาก

๓๐๐ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรับูรคณรผู าูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรูผูส อน) ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรูท ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๒๙๔

เกณฑก์ ารประเมนิ
๔ คะแนน ปฏิบตั ไิ ดด้ มี าก
๓ คะแนน ปฏิบัตไิ ดด้ ี
๒ คะแนน ปฏบิ ัตไิ ด้พอใช้
๑ คะแนน ปฏิบัตไิ ดแ้ ต่ควรปรับปรุง

นกั เรียนทีไ่ ด้คะแนน ๑๒ คะแนนขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
ระดบั คุณภาพ

คะแนน ๑๒-๑๖ ระดบั ๔ หมายถงึ ดีมาก
คะแนน ๙-๑๑ ระดบั ๓ หมายถงึ ดี
คะแนน ๕-๖ ระดบั ๒ หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๔ ระดบั ๑ หมายถึง ปรับปรงุ
นกั เรียนต้องได้ระดบั ดี ขน้ึ ไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกูผารูส เรอียนนร)ู (สชาํ ั้นหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๓๐๑

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั ิกิจกรรม
หนว่ ยย่อยที่ ๔ แผนที่ ๓

เร่อื ง การแสดงนาฏศิลปป์ ระเภทต่าง ๆ

คุณธรรม/จรยิ ธรรม ผลการ
เลขที่ ช่อื -สกุล รวม ประเมิน
ทป่ี ระเมิน

๑ ๒ ๓ ๔ ๕๖ ผ มผ



















๑๐

๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ................................................................................................................................

............................................................................................................................. ........................................

ข้อประเมิน
๑ ใฝ่รู้ สร้างสรรค์

๒. กระตือรือร้นในการท้ากจิ กรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคิดเหน็

๓. ปฏิบตั งิ านตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดี ให้ ๓ คะแนน ปานกลาง ให้ ๒ คะแนน
ควรปรบั ปรุง ให้ ๑ คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สิน ผ่าน : ได้ ๗๕% หรอื ๗ คะแนน

๓๐๒ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสาํมุ หบรบัูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู ูสอน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๒๙๖

เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป์
หนอ่ ยย่อยท่ี ๔ การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทต่าง ๆ

------------------------------------------------
๑. ใฝ่รู้ - สร้างสรรค์

๓ หมายถงึ มคี วามต้ังใจ เอาใจใสใ่ นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม กล้าซักถาม
๒ หมายถึง มคี วามต้ังใจ เอาใจใส่ในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม กลา้ ซักถามเปน็ บางครง้ั
๑ หมายถงึ ไมม่ ีความต้งั ใจ ไมซ่ กั ถาม
๒. กระตือรือร้นในการท้ากิจกรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคดิ เหน็
๓ หมายถงึ กระตือรือรน้ ในปฏิบตั ิกจิ กรรม กลา้ ซกั ถาม
๒ หมายถงึ กระตือรือร้น ในการปฏิบัติกิจกรรมบา้ ง กล้าซักถาม
๑ หมายถึง ไม่กระตือรอื รน้ เท่าทีค่ วร ไม่ซักถาม
๓. ปฏบิ ัตงิ านตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
๓ หมายถึง ปฏบิ ตั หิ นา้ ทท่ี ี่ไดร้ ับมอบหมาย
๒ หมายถึง ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่แตใ่ ห้ผู้อ่ืนช่วย
๑ หมายถงึ ไม่ปฏิบตั หิ นา้ ที่เทา่ ที่ควร รบกวนเพอื่ น

---------------------------------------------------------

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชําั้นหรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๓๐๓

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

คาช้ีแจงประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้

แผนการเรียนรทู้ ่ี ๔ เร่ือง นาฏศลิ ป์ และการละคร เวลา ๑ ชั่วโมง
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคญั ของแผน

นาฏศลิ ปแ์ ละการละครมคี วามสาคัญกบั การดาเนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยต์ งั้ แต่เกิดจนตาย มีความสาคัญในการ

แสดงถึงความเปน็ อารยประเทศ และเป็นแหล่งรวบรวมศลิ ปะแขนงตา่ ง ๆ ท่ีควรศกึ ษาและอนรุ ักษ์

ใหส้ บื ทอดต่อไป

๒. ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ในการนาแผนการจดั การเรียนรู้ไปใช้จดั กจิ กรรมการเรียนรู้

๒.๑ ครคู วรศึกษาแผนการจัดการเรยี นรู้ ส่อื และใบงานให้เขา้ ใจอย่างละเอียดกอ่ นจัดกิจกรรม การ

เรียนรู้

๒.๒ ครูควรเตรียมใบงานใหเ้ พยี งพอกับจานวนนักเรียน

กจิ กรรมการเรียนรู้
ครใู หน้ ักเรียนแบ่งกลมุ่ กล่มุ ละ ๕ – ๖ คน พร้อมแจกตัวอย่างบทละคร เรอ่ื ง พยาบาลผู้อารี (หรอื บทละคร

เรื่องอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม) ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มไปศกึ ษาองคป์ ระกอบของบทละคร

ใหน้ กั เรยี นเขียนสรปุ ลงในใบงาน และใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกมาอธิบายถงึ องค์ประกอบของละครเวทีให้ครแู ละ
เพื่อน ๆ ฟัง พร้อมทงั้ รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น

ใบงานที่ ๐๑ นาฏศลิ ป์และการละคร
ครคู ดั เลือกกล่มุ ที่แสดงได้สมบทบาท โดยใหเ้ พอ่ื นๆเปน็ ผปู้ ระเมนิ ผลงาน
๑. การเตรยี มสอื่ /วสั ดอุ ปุ กรณ์

- ใบความรู้เรอื่ ง ละคร

- วีดีทศั น์การแสดงละคร

๒. ใบงาน/ใบความรู้

- ศกึ ษาและปฏบิ ัตริ ปู แบบละคร - ศกึ ษาหลกั การแสดงละคร

- วิเคราะหต์ วั ละครจากใบงาน - ทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยยอ่ ยที่ ๔

- ใบกิจกรรม - ใบงาน

๓. การวัดและประเมนิ ผล

๑. ประเมนิ ความรเู้ ร่อื งความหมายองค์ประกอบของบทละครและความรสู้ กึ เก่ยี วกับการแสดงออกของ

ตนเอง

๒. ประเมนิ ทักษะการแสดงออกตามเร่อื งราวที่แตง่ ขึ้นในรปู แบบการแสดงสด สรปุ เร่อื งราวทเี่ กิดขน้ึ ในชีวิต

ของมนุษย์

๓. ประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝร่ ู้ และสรา้ งสรรค์ กระตอื รือรน้ ในการทา

กจิ กรรม กล้าแสดงออกหรือแสดงความคิดเหน็ ปฏบิ ตั งิ านตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

๓๐๔ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํุม หบรบัรู คณรผู าสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรผู สู อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

แนแวนทวาทงกางากรจารดั จกดั ากรเารรยี เนรยี รนบู รรู ู้บณรู าณกาารกาหรนหว นย่วกยารกเารรยี เนรียรทูน่ีร๘ทู้ ่ี ๘สนุ สทนุรยีทศรลิียปศลิ ป: ์ ห:นหว ยนย่วอยยยท่อ่ีย๔ที่ ๔ภมู ใิภจูมใใินจงใานนงศาลินปศ:ิลแปผ์:นแกผานรกเรายี รนเรรยี ทู น่ี ๔รูท้ เี่ร๔อ่ื งเร่อืนงาฏนศาลิ ฏปศแ ิลลปะ์แกลาระลกะารคลระคร
บบูรณรู ณากาการากรกลลุ่มมุสสาราะรกะการาเรรเรียยีนนรรศู้ ศูิลลิปปะะ สสุขขุ พพลลศศึกกึษษาา สสังงัคคมมศศึกกึ ษษาาศศาาสสนนาาแแลละะววฒั ฒั นนธธรรรรมมแแลละะภภาาษษาาไทไทยย เวเวลลาา๑๑ชชั่วว่ั โโมมงง ชช้ันน้ั ปปรระะถถมมศศกึ กึ ษษาาปปีทท ี่ ่ี๖๖

แนวการจดั กิจกรรม กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้นั นา
ครสู นทนาซกั ถามนักเรียนว่าบทละครคอื อะไร และมอี งค์ประกอบอะไรบ้างแลว้ ใหน้ ักเรียนชว่ ยตอบพรอ้ มท้งั ช่วยแสดงความคดิ เหน็ อย่างอสิ ระ
ครนู าเสนอเนื้อหาเรอ่ื ง บทละคร เกยี่ วกบั ความหมายของบทละคร และองคป์ ระกอบของบทละคร โดยการบรรยายและยกตวั อย่างประกอบ
๒๙๘
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหูรนณวยากการาชเรุดรียกน(ารสรูทจำี่ดั ๘หกจิสรกุนับรทรครมยีรกศูผาลิรสู ปเรอ ียชนนั้นรป)ู ร(สชะําถัน้หมรปศับกึ รคษะราูผถปสู มท อี่นศ๖)กึ (กฉษลบมุาับบปปรู รทณับาี่ปก๖รางุ ร) ๓๐๕
ข้นั สอน ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ – ๖ คน พรอ้ มแจกตัวอย่างบทละคร เรือ่ ง พยาบาลผู้อารี (หรือบทละครเรื่องอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม) ให้
ขนั้ สรปุ แตล่ ะกลุม่ ไปศึกษาองคป์ ระกอบของบทละคร
ให้นักเรยี นเขียนสรปุ ลงในใบงาน และใหแ้ ต่ละกลมุ่ ออกมาอธบิ ายถึงองคป์ ระกอบของละครเวทีให้ครแู ละเพื่อน ๆ ฟัง พร้อมทง้ั รว่ มกันแสดง
ความคดิ เห็น
ใบงานท่ี ๐๑ นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร
ครูคัดเลือกกลุม่ ที่แสดงไดส้ มบทบาท โดยให้เพอ่ื นๆเป็นผปู้ ระเมนิ ผลงาน

นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรปุ และสรา้ งองค์ความรู้เกยี่ วกบั การแสดงละครและการนาไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวัน

วดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมินความร้เู ร่อื งความหมายองค์ประกอบของบทละครและความรู้สึกเก่ยี วกับการแสดงออกของตนเอง
๒. ประเมนิ ทักษะการแสดงออกตามเรอ่ื งราวที่แต่งขึน้ ในรูปแบบการแสดงสด สรุปเร่อื งราวท่ีเกิดข้ึนในชีวิตของมนุษย์
๓. ประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ใฝร่ ู้ และสร้างสรรค์ กระตือรอื รน้ ในการทากิจกรรม กล้าแสดงออกหรือแสดง
ความคดิ เหน็ ปฏิบัติงานตามท่ไี ด้รับมอบหมาย

แผนจดั แกผานรจเรดั ยี กนารูบเรูรยี ณนราบู้กรูาณร าหกานรวยหกนาว่รยเรกยี านรรเรูทยี ี่ น๘รู้ทส่ีนุ ๘ทสรุนยี ศทิลรียปศ :ลิ หป์น:ว หยนยว่ อยยยท่อ่ีย๔ที่ ๔ภูมภิใจูมใใิ นจงในานงาศนิลศปลิ : แปผ์:แนผกนากราเรเียรนียรนูท รทู้่ี ่ี๔๔เรเอ่ืรื่องง นนาาฏฏศศิลิลปปแ แ์ ลละะกการละคร
บรู ณากบาูรรณกาลกุมาสรการละมุ่ กสาารเะรกยี านรรเรูศยี ิลนประูศ้ ิลสปุขะพสลุขศพึกลษศากึ ษสาังคสมังศคึกมษศากึ ศษาาสศนาาสแนลาะแวลฒัะวนัฒธนรธรรมรมเวลเวาลา๑๑ชั่วชโ่วั มโงมง ชชั้น้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปท ีที่ ่ี ๖๖
๒๙๙
๓๐๖ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสิลาํมุปหบชรับัน้รู ปคณรรูผะาูสถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีูรห๖ณรา(ฉับกบาคับรรปผูรับูสปอรุงน) ) ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖
ขอบเขตเนอ้ื หา ขั้นนา สอ่ื / แหล่งเรยี นรู้
- นาฏศิลป์และการละครมีความสาคญั กบั การ ๑. ครูชแี้ จงตวั ช้ีวัดชนั้ ปี และจุดประสงคใ์ หน้ กั เรียนทราบ ๑. ใบความรู้เรอ่ื ง ละคร
ดาเนนิ ชวี ิตของมนษุ ยต์ ั้งแตเ่ กดิ จนตาย ๒. ครูสนทนาซักถามนกั เรียนวา่ บทละครคืออะไร และมอี งค์ประกอบอะไรบ้างแลว้ ให้นกั เรียนชว่ ยตอบพรอ้ มทง้ั ช่วยแสดงความ ๒. วีดิทศั นก์ ารแสดงละคร
มีความสาคัญในการแสดงถงึ ความเปน็ ภาระงาน / ชน้ิ งาน
อารยประเทศ และยังเปน็ แหลง่ รวบรวมศิลปะ คิดเหน็ อย่างอสิ ระ ๑. ศกึ ษาและปฏิบัตริ ปู แบบละคร
แขนงต่าง ๆ ซ่ึงบทบาทของนาฏศลิ ปแ์ ละการ ๒. ศึกษาหลักการแสดงละคร
ละครยงั มคี วามสมั พนั ธก์ บั ชวี ิตประจาวนั ได้แก่ ๓. ครูเชื่อมโยงส่งิ ท่นี กั เรียนตอบกบั เรอื่ ง บทละคร ๓. วิเคราะห์ตวั ละครจากใบงาน
การเลา่ นิทาน การเลียนแบบ กิจกรรมเพื่อ - นักเรียนเคยไดเ้ หน็ การแสดงละครไหม ๔. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยยอ่ ยที่ ๔
ความบันเทงิ - ละครมีความสัมพนั ธ์กบั ชวี ติ ของเราอยา่ งไร ๕. ใบกิจกรรม
๖. ใบงาน
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ - เรามาเรยี นรู้การแสดงละครกนั ดไี หม
ความรู้ การวัดและประเมินผล
๑. อธบิ ายความหมาย องค์ประกอบของบท ขน้ั สอน ๑. ประเมนิ ความรู้เรื่องความหมายองคป์ ระกอบ
ละครได้ ๔. ครนู าเสนอเน้ือหาเร่ือง บทละคร เกย่ี วกบั ความหมายของบทละคร และองคป์ ระกอบของบทละคร โดยการบรรยายและ ของบทละครและความรสู้ กึ เกยี่ วกับการ
๒. อธิบายความร้สู กึ เกีย่ วกบั การแสดงของ แสดงออกของตนเอง
ตนเองและเพอ่ื นอย่างจรงิ ใจและสร้างสรรค์ ยกตวั อยา่ งประกอบ ๒. ประเมนิ ทักษะการแสดงออกตามเรอื่ งราวที่
ทกั ษะ/กระบวนการ แต่งขนึ้ ในรปู แบบการแสดงสด สรุปเรือ่ งราวท่ี
๕. ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ ๕ – ๖ คน พร้อมแจกตัวอยา่ งบทละคร เรื่อง พยาบาลผู้อารี (หรือบทละครเรอื่ งอ่ืน ๆ ตาม เกดิ ข้นึ ในชวี ติ ของมนุษย์
๓. สามารถแสดงออกตามเรือ่ งราวทีแ่ ตง่ ขน้ึ ใน ๓. ประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะ
ความเหมาะสม) ให้แตล่ ะกลุม่ ไปศกึ ษาองค์ประกอบของบทละคร อันพึงประสงค์ ใฝ่รู้ และสร้างสรรค์ กระตือรอื ร้น
รปู แบบการแสดงสด ในการทากิจกรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดง
๖. ใหน้ กั เรยี นเขยี นสรปุ ลงในใบงาน และใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ออกมาอธิบายถึงองคป์ ระกอบของละครเวทีให้ครูและเพือ่ น ๆ ฟงั พรอ้ ม ความคิดเหน็ ปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๔. รบั รบู้ ทบาทสมมตุ มิ ที ่มี าจากเร่ืองราวท่ี วธิ ีการ
ทัง้ รว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ ๑. ตรวจแบบทดสอบ
เกิดขึน้ ในชวี ติ ของมนุษย์ ๒. ตรวจใบงาน
๗ตัว. ลคะรคูใหรแน้ ลกั ะเรวยีานงลแักบษ่งกณละุ่มนิสกัยลขมุ่ อลงะต๖ัวลคะนครใหค้รวว่ามมโกคคันดิ รแหตงรือง่สบแรทก้า่นลงะขหคอรงนเร๑่วอื่ งยเรแกอื่ ลางะรตบเาทรมสียในบนทงานรน้าูปทขน้ึี่ ๑๐ใ-ห๑๓ม่โพดรย้อใหมน้เขกั ยี เรนยี ลนงใคนิดใโบคงรางนเรื่อง ๓. สังเกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ เคร่อื งมอื
ประสงค์ ๘. ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาบทละครท่แี ต่ละกลมุ่ ไดแ้ ต่งข้ึนนามาแสดงหนา้ ชั้นเรยี นใหค้ รแู ละเพอ่ื น ๆ ชม โดยใหก้ ล่มุ ทไี่ ม่ได้ ๑. แบบทดสอบหลงั เรยี น
๑. ใฝร่ ู้ และสรา้ งสรรค์ แสดง ๒. ใบงาน ๐๑
๒. กระตือรือร้นในการทากิจกรรม ๙. ครูคัดเลอื กกลมุ่ ที่แสดงไดส้ มบทบาท โดยให้เพ่อื นๆเป็นผ้ปู ระเมนิ ผลงาน ๓. แบบสงั เกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม
กล้าแสดงออกหรือแสดงความคิดเหน็ เกณฑ์การประเมนิ
๓. ปฏบิ ตั ิงานตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ขั้นสรปุ ผ่านเกณฑ์ตามท่ีกาหนด

๑๐. นักเรยี นและครูร่วมกันสรุปและสร้างองค์ความรเู้ กย่ี วกบั การแสดงละครและการนาไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวัน นกั เรียน

รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นและอภิปรายสรุปเรอ่ื ง บทละคร เป็นความคดิ ของช้ันเรียน โดยครคู อยให้ความรู้เสรมิ ในส่วนที่นกั เรียน

ไมเ่ ข้าใจหรือสรุปไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

เคร่ืองมือประเมนิ ผลการเรียนรู้

๓๐๐

บบ๘๘..๔๔//ผผ ๔๔--๐๐๑๑

ใบงานที่ ๐๑
เรอ่ื ง นาฏศลิ ป์และการละคร

๑. แบํงกลํุมนกั เรยี น ๕ – ๖ คน แล๎วจับสลากเลือกชอื่ เร่ืองท่ีกาหนดให๎ ดงั นี้
๑. ผ๎ูพทิ ักษ์สนั ตริ าษฎร์
๒. แมํพิมพ์ของชาติ

๒. จากนัน้ ให๎นักเรียนแตลํ ะกลํมุ ชวํ ยกันแตงํ เรื่องราวท่ีกลํมุ ของนักเรยี นจบั สลากไดแ๎ ละบันทกึ
ขอ๎ มลู ลงในแบบบันทึก

๓. รวํ มกนั วางแผนการแสดงตามเรอื่ งท่กี ลํุมของนกั เรียนแตํง ดังนี้
๑. เขียนบทสนทนาของตวั ละคร
๑. คัดเลือกผ๎ูแสดงตามบทบาทตําง ๆ
๑. คดิ และประดิษฐ์อุปกรณ์ท่ีใชใ๎ นการแสดงและประกอบฉาก จากนน้ั รํวมกนั

ฝกึ ซอ๎ ม และให๎แตลํ ะกลํมุ ออกมาแสดงหนา๎ ช้ันเรยี น โดยครแู ละนักเรยี นรวํ มกันแสดงความคิดเห็น

เกี่ยวกบั ข๎อคดิ ทไ่ี ด๎ และความสามารถในการแสดงของกลํุมตนเองและเพื่อน

กจิ กรรมการเรียนรกู ลุมบูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ น้ัหรปบั รคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๓๐๗

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

แบบสงั เกตพฤติกรรม
หน่วยยอ่ ยท่ี ๔ แผนที่ ๔
เรือ่ ง นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร

.......................................................................................................................

ชื่อ.........................................................................เลขท.ี่ .............ช้นั ..........................................................
คาช้ีแจง ครสู ังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นตามรายการตํอไปน้ี

ท่ี รายการ ผลการสังเกต หมายเหตุ
๔ ๓๒ ๑
๑ กลา๎ แสดงออก
๒ ความรวํ มมอื ในการรํวมกิจกรรม
๓ มคี วามเชอ่ื ม่ันในตนเอง
๔ มีความสนกุ สนานเพลดิ เพลินและชน่ื ชมใน

การปฏิบตั ิกจิ กรรม
๕ การปรบั ปรุงแกไ๎ ขตนเอง

รวม

เกณฑก์ ารประเมิน
๔ คะแนน ดมี าก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช๎
๑ คะแนน ปรบั ปรุง

นักเรียนไดค๎ ะแนน ๑๔ คะแนนขน้ึ ไป ผํานเกณฑก์ ารประเมนิ

๓๐๘ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูก ู (ลสาํมุ หบรับรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราับกาครรูผูสอน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๓๐๒

เกณฑ์การประเมินแบบสงั เกตพฤตกิ รรม

หนว่ ยย่อยท่ี ๔ แผนท่ี ๔

เร่อื ง นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร

รายการ คา่ คะแนน

ประเมนิ ๔ ๓๒ ๑

กล๎าแสดงออก มคี วามสนใจ ทาํ ทางมน่ั ใจแตํ ทาํ ทางเคอะเขิน ไมํกลา๎ แสดงออก

การแสดงออกและ ขาดความพร๎อม ไมํมนั่ ใจ

พร๎อมทจ่ี ะแสดง ในการแสดง

ทันที

ความรํวมมอื ทมํุ เทกาลงั กาย รวํ มคดิ และรํวม รํวมปฏิบตั งิ าน รวํ มปฏิบัตงิ านเปน็

การรวํ ม กาลงั ใจ อยาํ งเต็ม ปฏบิ ัตงิ านแตไํ มํ ตามคาส่งั ของ บางครงั้

กิจกรรม ความสามารถใน รวํ มแกป๎ ัญหา กลุํม

การปฏิบตั ิงานจน ในการทางาน

ประสบความสาเร็จ

และรวํ มรับผดิ ชอบ

ตอํ ความผดิ พลาด

ทเ่ี กิดข้นึ

ความเช่อื มน่ั ใน มคี วามเชื่อม่ันและ มคี วามเช่อื มั่น มคี วามตงั้ ใจและ ขาดความเชื่อมั่นใน

ตนเอง ตง้ั ใจในการแสดง ในการ มคี วามพยายาม การแสดงออก

อยํางเตม็ ที่ แสดงออก ในการแสดงออก

ความ มีความสนกุ สนาน มีความ มคี วาม ไมํมีความสนกุ สนาน

สนุกสนาน เพลิดเพลินและ สนกุ สนาน สนกุ สนานและ และชน่ื ชมในการ

เพลดิ เพลิน ช่ืนชมในการปฏบิ ัติ เพลดิ เพลินและ ชื่นชมใน ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

และชน่ื ชม กิจกรรมอยาํ งเตม็ ที่ ชน่ื ชมในการ การปฏิบตั ิ

ปฏบิ ตั ิกิจกรรม ปฏิบัตกิ ิจกรรม กิจกรรมเปน็

บางคร้งั

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุม บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารูส เรอียนนร)ู (สชาํ ้นัหรปับรคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๓๐๙

หนวยการเรยี นรูท ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )


Click to View FlipBook Version