The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-29 07:33:43

แผนบูรณาการ

แผนบูรณาการ

ภาพตวั อย่างท่ี ๑ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ จนิ ตนาการหรรษา แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๒

ภาพท่ีระบายดว้ ยสโี ปสเตอร์

ภาพตัวอยา่ งท่ี ๑ ภาพทีร่ ะบายดว้ ยสีชอลค์

ผลงานของ : นางสาวอาทติ ยา หงษต์ ้น
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นบา้ นหลุบเลา
สพป.สกลนคร เขต ๑
๑๑๐ ชุดกกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูก ู (ลสําุม หบรบัูรคณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๑๑๐

ภาพตัวอยา่ งท่ี ๒ หนว่ ยย่อยที่ ๒ จนิ ตนาการหรรษา แผนกาเรียนรทู้ ี่ ๒

ภาพทีร่ ะบายด้วยสีชอล์ค

ผลงานของ : เด็กหญงิ ชไมพร โคตรุขนั
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ โรงเรียนบ้านหลุบเลา
สพป.สกลนคร เขต ๑

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ั้นหรปับรคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๑๑

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

แบบสงั เกตการทางานของนกั เรียน

หนว่ ยบูรณาการเรียนรูท้ ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ หน่วยยอ่ ยท่ี ๒ จนิ ตนาการหรรษา
แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรือ่ ง วาดภาพระบายสีเพือ่ ถ่ายทอดจนิ ตนาการ

คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้ประเมินทาเครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ งระดับการปฏิบัตงิ านของนักเรยี น
โดยมีเกณฑ์ระดับคณุ ภาพการประเมินดังน้ี

๕ มพี ฤตกิ รรมการทางาน มากท่ีสุด ๔ มพี ฤติกรรมการทางาน มาก ๓ มีพฤตกิ รรมการทางาน ปานกลาง

๒ มีพฤติกรรมการทางาน น้อย ๑ มีพฤติกรรมการทางาน น้อยท่ีสดุ

พฤตกิ รรมการทางาน ระดับพฤตกิ รรม
๕ ๔ ๓ ๒๑

๑. มกี ารวางแผนในการทางาน

๒. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความมงุ่ มั่น กระตือรือร้น

๓. ทางานจนสาเรจ็

๔. มสี ่วนรว่ มในการทากิจกรรม

๕. รู้จักแก้ปญั หา

๖. ทาความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เม่ือเสร็จงาน

๗. มนี า้ ใจเอื้อเฟื้อในการปฏิบัตงิ านรว่ มกบั ผ้อู ่นื

๘. ใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์อย่างถูกต้อง

๙. ใชว้ สั ดุอปุ กรณ์อยา่ งประหยัดและค้มุ คา่

๑๐. ผลงานมคี วามคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์

ชื่อ......................................................................................................................... ...........................................
โรงเรียน .................................................................................... ชั้น ......................... เลขท่ี .......................

เกณฑ์การผ่าน ๗๐ % หมายถึงได้คะแนนระดบั พฤตกิ รรมรวมทุกข้อ ๓๕ คะแนนขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ น

๑๑๒ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูกู (ลสาํุมหบรบัูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรูผูสอน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๑๑๒

เกณฑ์การใหค้ ะแนนใบงาน

หนว่ ยย่อยที่ ๒ จนิ ตนาการหรรษา
แผนที่ ๒ วาดภาพระบายสเี พอื่ ถา่ ยทอดจินตนาการ

.............................................................

ระดบั ผลงาน ระดบั คะแนน หมายเหตุ
มีความคิดสร้างสรรค์ ถูกต้อง สวยงามมาก ๑๐
มีความคิดสร้างสรรค์ ถกู ต้อง สวยงาม ๘
ผลงานถกู ต้อง สวยงาม ๖

ผลงานถูกต้อง สวยงาม เป็นสว่ นน้อย ๔

เกณฑ์การผ่าน ๗๐ % หมายถึงได้ ๗ คะแนนขน้ึ ไปถือวา่ ผ่าน

เนอ่ื งจากผลงานศลิ ปะด้านทัศนศลิ ป์ มคี วามหลากหลายด้านความคิด เทคนิควธิ กี าร และความ
แตกต่างทางความพร้อมของวัสดอุ ปุ กรณ์ ดังน้นั การให้คะแนนผลงานใบงานของนกั เรยี นจงึ ขอให้อยใู่ น
ดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อนด้วย

กิจกรรมการเรยี นรูกลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชําั้นหรปบั รคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๑๑๓

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

คาชี้แจงประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้

แผนการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง เครื่องดนตรีไทยและสากล เวลา ๑ ช่ัวโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคญั ของแผน

การร้องเพลงต้องกลมกลืนกับเสียงดนตรที ใ่ี ช้ประกอบจังหวะและทานอง ซง่ึ เคร่ืองดนตรีนั้นมีหลาย

ประเภทท้งั เครอื่ งดนตรีไทยและสากล และมีบทบาทหน้าที่แตกตา่ งกันไป ในการบรรเลงเพลงนัน้ ๆ เราควรรู้

วิธีใช้และเกบ็ รักษาเครื่องดนตรีใหถ้ ูกต้องและปลอดภยั

๒. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมในการนาแผนการจัดการเรยี นรไู้ ปใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ครูควรศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้ สื่อและใบงานให้เข้าใจอย่างละเอียดกอ่ นจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ครูควรเตรียมใบงานใหเ้ พียงพอกับจานวนนกั เรยี น

ครอู ธิบายความหมายของเครื่องดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ ให้นักเรียนเขา้ ใจ

กิจกรรมการเรียนรู้

ครูให้นกั เรียนฟังเพลงลาวดวงเดอื น และเพลงระยะทาใจ แล้วใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบคาถาม

ครนู าภาพเคร่ืองดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรีสากลแตล่ ะประเภท มาใหน้ กั เรยี นดู แล้วให้นักเรยี น

ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ เปน็ เครอื่ งดนตรีประเภทใด และเป็นของภาคใด

ครูอธบิ ายให้นักเรียนเขา้ ใจวา่ เครอื่ งดนตรีไทยที่ใชใ้ นปจั จุบนั สามารถแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คอื
เคร่อื งดีด เครอ่ื งสี เคร่ืองตี เครอ่ื งเป่า และเคร่ืองดนตรีสากล แบ่งออกเปน็ ๔ ปรเภท คือ เครื่องสาย

เครอื่ งเปา่ เครอ่ื งลม และเครือ่ งคบี อร์ด

นักเรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรียนรู้จกั เคร่ืองดนตรีไทยชนิดใดบ้าง

แบ่งกลมุ่ นักเรียนออกเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน แตล่ ะกลุ่มศึกษาความรเู้ ร่ือง ประเภทและบทบาท

ของเครอ่ื งดนตรีไทยและเครอื่ งดนตรีสากล

นักเรียนผลัดกันอภปิ รายความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาความรู้เรอ่ื ง ประเภทของเครอื่ งดนตรีไทย และ

ดนตรีสากล ภายในกลมุ่ ซักถามข้อสงสยั และใหแ้ ต่ละกลุ่ม ทาใบงานท่ี ๐๑

๑. การเตรยี มส่ือ/วัสดอุ ุปกรณ์

- ใบงาน

๒. ใบงาน/ใบความรู้/ใบกจิ กรรม

- ใบงานท่ี ๐๑-๐๒

- ใบความร้ทู ี่ ๑

๓. การวดั และประเมนิ ผล

- ตรวจผลงาน

- แบบสังเกตพฤติกรรม

๑๑๔ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสํามุ หบรบัูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสุม บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรูท ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

แแนนววกกาารรจจัดัดกการเรยี นรูบ้ รู ณากกาารร หหนน่ววยยกกาารรเรเรยี ยีนนรู้ทรูที่ ๘ี่ ๘สุนสทนุ รทยี รศียิลศปลิ ์ ป: ห: นห่วนยวยย่อยทอ ยี่ ท๒ี่ ๒จนิ ตจนินาตกนาารกหารรหษรารษแาผนแกผารนเรกยีานรเรร้ทู ยี ่ี น๓รูทเ่ี ร๓ื่อง เรเคอื่ รงอ่ื งเดคนรต่อื รงีไดทนยตแรลไี ะทสยาแกละสากล
บบูรรูณณาากกาารกรกลลุ่มมุสาสราะรกะากราเรยีเรนียรนู้ศรลิ ศู ปิละปะภาภษาษไทายไทยเวลเาวล๑า ช๑ัว่ โชมว่ังโมชง้ันปชรัน้ะถปมรศะกึถษมาศปึกทีษี่ า๖ปท ี่ ๖

แนวทางการปฏิบัติกจิ กรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นนา ๑. ครใู หน้ ักเรยี นฟงั เพลงลาวดวงเดอื น และเพลงระยะทาใจ แล้วใหน้ กั เรียนช่วยกันตอบคาถาม
๒. ครูนาภาพเครือ่ งดนตรไี ทยและเคร่ืองดนตรสี ากลแต่ละประเภท มาให้นักเรียนดู แลว้ ใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นวา่ เปน็ เคร่ือง
ขนั้ สอน ดนตรีประเภทใด และเป็นของภาคใด

ขน้ั สรุป ๓. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เครื่องดนตรีไทยที่ใช้ในปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี
เครอ่ื งเปา่ และเคร่ืองดนตรสี ากล แบง่ ออกเปน็ ๔ ปรเภท คือ เครือ่ งสาย เคร่ืองเป่า เครื่องลม และเครอ่ื งคีบอรด์
๔. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ นักเรียนรู้จกั เคร่อื งดนตรไี ทยชนดิ ใดบ้าง
๕. แบง่ กลุ่มนักเรยี นออกเปน็ กลมุ่ กลุ่มละ ๔ คน แต่ละกลมุ่ ศกึ ษาความรู้เรื่อง ประเภทและบทบาทของเครื่องดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรี
สากล
๖. นกั เรียนผลัดกันอภปิ รายความรทู้ ไี่ ด้จากการศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ประเภทของเครอื่ งดนตรไี ทย และดนตรสี ากล ภายในกลมุ่ ซกั ถามขอ้ สงสยั
และใหแ้ ต่ละกลมุ่ ทาใบงานที่ ๐๑
๗. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั การใช้ และดูแลรกั ษาเคร่ืองดนตรีอย่างถกู ต้องและปลอดภัย
๘. ศึกษาใบงาน
๙. ใบงานท่ี ๐๑ ประเภทของเครื่องดนตรี
๑๐. ใบงานท่ี ๐๒ การใชแ้ ละดแู ลรกั ษาเครื่องดนตรี

๑๑. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรูเ้ ก่ยี วกบั การใชแ้ ละดแู ลเครอื่ งดนตรีไทย
๑๑๔
กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บหูรนณวยากการาชเรุดรียกน(ารสรูทจำ่ีดั ๘หกิจสรกุนบั รทรครมียรกศูผาิลรสู ปเรอ ยีชนน้นั รป)ู ร(สชะาํถน้ัหมรปศับกึ รคษะราูผถปสู มทอ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปูรรทณับาี่ปก๖รางุ ร) ๑๑๕
วัดและประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ ความรูเ้ ร่ือง ประเภทและบทบาทของเคร่ืองดนตรีได้
๒. ประเมนิ ทกั ษะ การใช้และเกบ็ รกั ษาเคร่ืองดนตรีอย่างถูกต้องและปลอดภยั
๓. ประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มั่นในการทางาน ความซ่อื สัตย์

แผนแกผานรจกดัารกจาดัรเกรายี รนเรียบู นรู รณบู้ าูรกณาารกาหรนว หยนกว่ ายรกเรายี รนเรรียทู น่ี ร๘ทู้ ่ี ส๘นุ ทสรนุ ยี ทศรลิ ียปศลิ :ป์ ห:นวหยนยว่ อ ยยยท่อ่ีย๒ท่ี ๒จนิ ตจนิ กตานรกหารรหษรราษาแผแนผกนารกเารรยี เนรยีรนทู ร่ี ู้ท๓ี่ ๓เรอ่ื เงรื่องเครเอ่ืคงรดือ่ นงดตนรตไี ทรยีไทแยลแะลสะาสกาลกล
บรู ณบาูรกณาารกกาลรมุกสลาุ่มรสะากราะรกเารรยี เนรรยี ศูนลิ รปู้ศลิะปภะาษภาษไทายไทยเวลเวาลา๑ ๑ชว่ั ชโมว่ั งโมงชน้ั ชปน้ั รปะรถะมถศมกึ ศษึกาษปาท ป่ี ีท๖่ี ๖
๑๑๕
๑๑๖ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสิลาํมุปหบชรับัน้รู ปคณรรูผะาูสถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีูรห๖ณรา(ฉับกบาคบัรรปผูรับูสปอรุงน) ) ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖สอ่ื / แหล่งเรียนรู้
ขอบเขตเนื้อหา ข้นั น ข้ันนา ๑. ใบความรู้ที่ ๑-๒
๑. ครใู หน้ ักเรียนฟังเพลงลาวดวงเดือน และเพลงระยะทาใจ (ครูสามารถเลอื กเพลงได้ตามความเหมาะสม) แล้วให้
- ประเภทและบทบาทของเครื่องดนตรี ภาระงาน/ชิน้ งาน
- การใช้ และเกบ็ รักษาเครอ่ื งดนตรี นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบคาถามต่อไปน้ี
- ลกั ษณะเสียงของผ้ขู ับร้องเพลงทั้งสองเปน็ อย่างไร - ใบงานท่ี ๐๑-๐๒
จุดประสงค์ - ลักษณะเสียงของผู้ขบั รอ้ งทั้งสองเพลงมีความกลมกลืนกับเสียงเคร่ืองดนตรีที่ใช้ประกอบจังหวะ
ความรู้ - เครอ่ื งดนตรีทใ่ี ช้เป็นเคร่อื งดนตรีประเภทใด การวดั และการประเมินผล
๑. บอกประเภทและบทบาทของเครื่องดนตรี ข้ันสอน - ประเมินความรเู้ รอ่ื งประเภทและ
ได้ ๒. ครนู าภาพเครอื่ งดนตรีไทยและเคร่อื งดนตรีสากลแตล่ ะประเภท มาให้นักเรียนดู แล้วให้นกั เรียนร่วมกนั บทบาทของเครือ่ งดนตรไี ด้
ทักษะ แสดงความคิดเห็นวา่ ดนตรใี นแตล่ ะภาพเป็นเคร่อื งดนตรีประเภทใด และเป็นของภาคใด - ประเมนิ ทักษะการใช้และเก็บ
๓. ครูอธบิ ายให้นกั เรียนเขา้ ใจวา่ เคร่อื งดนตรไี ทยท่ีใช้ในปจั จบุ ันสามารถแบ่งออกเปน็ ๔ ประเภท คอื เครอื่ งดดี รกั ษาเครื่องดนตรอี ย่างถูกตอ้ งและ
๑. การจาแนกประเภทและบทบาทของ เครอ่ื งสี เครื่องตี เครอื่ งเป่า และเคร่ืองดนตรีสากล แบง่ ออกเปน็ ๔ ประเภท คือ เครื่องสาย เครือ่ งเปา่ ปลอดภัย
เครื่องดนตรีได้ เครือ่ งลมและเครือ่ งคีบอร์ด - ประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
๒. ใช้และเก็บรักษาเครอ่ื งดนตรีอยา่ งถกู ต้อง ๔. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรยี นรจู้ กั เคร่ืองดนตรไี ทยชนิดใดบ้าง จงยกตัวอย่าง คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้ มุง่ มนั่ ในการทางาน
และปลอดภยั ๕. แบ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเป็นกลมุ่ กลุม่ ละ ๔ คน คละกนั ตามความสามารถ แตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาความรู้ ความซ่อื สัตย์
เรอ่ื งประเภทและบทบาทของเครื่องดนตรีไทย และเครอ่ื งดนตรีสากล ตามประเดน็ ที่กาหนด วิธกี าร
๓. การทางานกลมุ่ - ตรวจใบงาน
๖. นกั เรียนผลัดกันอภปิ รายความรู้ท่ีได้จากการศกึ ษาความรูเ้ รอื่ ง ประเภทของเคร่อื งดนตรีไทย และ - สงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี น
คณุ ธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ เครื่องดนตรีสากล ภายในกลุ่มซักถามข้อสงสยั และให้แตล่ ะกลมุ่ ช่วยการทาใบงานท่ี ๐๑ เคร่อื งมือ
อันพึงประสงค์ - ใบงาน ๐๑-๐๒
๑. ใฝเ่ รยี นรู้ ๗. ครูอธิบายเก่ียวกบั บทบาทน้าทข่ี องเครื่องดนตรีไทยแต่ละประเภทของแตล่ ะภาคให้นกั เรยี นฟงั - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
๒. ม่งุ มัน่ ในการทางาน ๘. ครใู ห้นักเรยี นดภู าพเคร่อื งดนตรีไทย และเครอ่ื งดนตรีสากลแล้วให้นักเรยี นช่วยกนั วิเคราะหว์ ่า เครอ่ื งดนตรีไทย เกณฑก์ ารประเมิน
๓. ความซ่อื สตั ย์ ในแต่ละประเภทมวี ธิ ีการดูแลรกั ษาอย่างไร ทาใบงานที่ ๐๒ - ผ่านเกณฑต์ ามท่ีกาหนด

ข้ันสรุป

๙. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้เกย่ี วกบั การใชแ้ ละดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทย

๑๑๖ บ ๘.๒/ผ ๓-๐๑

ใบงานที่ ๐๑ บ ๘.๒/ผ ๓-๐๑

เรือ่ ง ประเภทของเครื่องดนตรไี ทยและสากล
คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเขยี นช่อื เครื่องดนตรไี ทย และดนตรีสากล

...................................................... …………………………………………………..

เครื่องดีด ประเภทของเครื่องดนตรไี ทย เครอ่ื งสี
เคร่ืองตี เครอ่ื งเปา่

…………………………………………….. …………………………………………………

ประเภทของเครอ่ื งดนตรีสากล
๑. เคร่ืองสาย ได้แก่ .................................................................................................................
๒. เครอ่ื งลมไม้ ได้แก่ ...............................................................................................................
๓. เคร่อื งลมทองเหลอื ง ไดแ้ ก่ ..................................................................................................
๔. เคร่ืองคยี ์บอร์ด ไดแ้ ก่ .........................................................................................................
๕. เคร่ืองกระทบ ได้แก่ ............................................................................................................

ชื่อ......................................................................................................................... .........................................
โรงเรียน ................................................................................... ชนั้ ......................... เลขที่ .......................

กิจกรรมการเรียนรกู ลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชํานั้หรปับรคะรูผถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๑๗

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๑๑๗ บ ๘.๒/ผ ๓-๐๒

ใบงานท่ี ๐๒ บ ๘.๒/ผ ๓-๐๒

เร่ือง การใช้และดแู ลรักษาเครอ่ื งดนตรีไทย
คาชีแ้ จง ให้นกั เรยี นเขียนวธิ ใี ช้และการเกบ็ รักษาเครอื่ งดนตรีไทยทกี่ าหนด

๑. วิธีใช้

การเกบ็ รักษา

๒. วธิ ใี ช้
การเกบ็ รักษา

๓. วธิ ใี ช้
การเกบ็ รักษา

ชือ่ ...................................................................................................................................................................
โรงเรยี น ................................................................................... ช้ัน ......................... เลขที่ .......................

๑๑๘ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสําุม หบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรผู ูส อน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

บ ๘.๒/ผ ๓-๐๑

(แนวคาตอบ)
ใบงานที่ ๐๑

เรื่อง ประเภทของเครือ่ งดนตรไี ทยและสากล

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเขยี นชอื่ เครื่องดนตรีไทย

.......พณิ ........ ………ซอดว้ ง..............

เครอ่ื งดีด เครอ่ื งสี

ประเภทของเครอ่ื งดนตรีไทย

เครอื่ งตี เครื่องเปา่

กลองยาว ขลยุ่ เพียงออ

ประเภทของเคร่ืองดนตรีสากล

๑. เครื่องสาย ได้แก่ กตี ารโ์ ปร่ง ไวโอลิน

๒. เครอ่ื งลมไม้ ไดแ้ ก่ แซ็กโซโฟน

๓. เครื่องลมทองเหลือง ไดแ้ ก่ ...........เฟรนชฮ์ อร์น

๔. เครื่องคยี บ์ อรด์ ไดแ้ ก่ ....................หบี เพลงชกั

๕. เครื่องกระทบ ไดแ้ ก่ ..........................ไซโลโฟน.........................................

(โดยให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครูผสู้ อน)

กิจกรรมการเรยี นรูกลุม บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกูผารูส เรอยี นนร)ู (สชําั้นหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๑๑๙

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

บ ๘.๒/ผ ๓-๐๒

(แนวคาตอบ)

ใบงานท่ี ๐๒

เรื่อง การใช้และดแู ลรักษาเคร่ืองดนตรีไทย

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเขยี นวธิ ีใชแ้ ละการเก็บรักษาเครอ่ื งดนตรีไทยที่กาหนด

๑. วธิ ใี ช้ บรรเลงนัง่ พบั เพียบหรอื ขดั สมาธิ โดยใหล้ าตวั อยู่
กง่ึ กลางของเท้าระนาด
การเก็บรักษา

ควรเกบ็ ไม้ระนาดไว้ใต้ราง ไมว่ างท้ิงบนพ้ืน หรอื
วางบนผืนระนาด เพราะอาจจะหักได้

๒. วิธใี ช้ วิธีการนัง่ บรรเลงจะเข้ ใหน้ ่งั พบั เพยี บตัวตรง
ดา้ นกระพุ้งอยู่ด้านซ้ายมือของผู้บรรเลง
การเกบ็ รักษา
การทาความสะอาดจะเข้ควรใช้ผา้ ท่ีมีความน่มุ ชุบนา้
หมาดๆ ใช้ดว้ ยผ้าเพอ่ื กนั ฝุน่ ละออง

๓. วิธีใช้ ควรขึ้นสายซอเทียบเสียง น่ังตัวตรงมือซ้าย
จับคนั ซอเพื่อกด สายซอ มือขวา จบั คนั ชกั
การเก็บรักษา
กอ่ นหรือหลังเล่นให้ใช้ผ้าแห้ง ลบู เบาๆ เพ่ือขจัดฝ่นุ
และ คราบ ไคล ก่อนนาไปเก็บไว้

๑๒๐ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูก ู (ลสาํมุ หบรบัูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรูผูสอน) ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๑๒๐

ใบความร้สู าหรับครูและนกั เรยี นท่ี ๑

เรอ่ื ง ประเภทเครื่องดนตรสี ากล

๑. กีตาร์โปร่ง ๒. ไวโอลิน ๓. แซ็กโซโฟน

๔. เฟรนชฮ์ อร์น ๕. ไซโลโฟน ๖. หบี เพลงชัก

ประเภทเครอื่ งดนตรี
๑. เครือ่ งสาย ได้แก่ กตี ารโ์ ปรง่ ไวโอลนิ
๒. เครอื่ งลมไม้ ได้แก่ แซ็กโซโฟน

๓. เครื่องลมทองเหลือง ไดแ้ ก่ เฟรนชฮ์ อรน์

๔. เครื่องคียบ์ อรด์ ได้แก่ หีบเพลงชัก

๕. เครือ่ งกระทบ ไดแ้ ก่ ไซโลโฟน

กจิ กรรมการเรียนรูกลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชําัน้หรปับรคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๑๒๑

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ใบความรสู้ าหรบั ครูและนักเรยี นที่ ๒

เรือ่ ง วิธีการใชแ้ ละการการดแู ลรักษาเครอื่ งดนตรีไทย

ประเภทเคร่ืองดีด จะเข้
๑. วธิ ีการน่งั บรรเลงจะเข้ ใหน้ งั่ พับเพยี บตวั ตรง ดา้ นกระพงุ้ อยู่ดา้ นซ้ายมือของผู้บรรเลง ลูกบิดอยู่ด้าน

ขวามอื ของผ้บู รรเลงมือซ้ายใช้สาหรบั กดนมจะเข้ มอื ขวาสาหรบั พันไมด้ ดี และดีดสายจะเข้
๒. การอุ้มจะเข้ ต้องอุ้มให้ขนานกบั พื้น โดยนากระพุ้งแนบดา้ นข้างลาตวั ผู้ถือจะเข้
๓. การทาความสะอาดจะเขค้ วรใช้ผา้ ที่มคี วามนุ่มชบุ นา้ หมาดๆ ใช้ห่อดว้ ยผ้าเพื่อกนั ฝ่นุ ละออง

ประเภทเครอ่ื งตี ระนาดเอก
๑. ลกั ษณะการบรรเลงระนาดผ้บู รรเลงนั่งพับเพยี บหรือขดั สมาธิ โดยใหล้ าตัวอยู่กึง่ กลางของเทา้ ระนาด

การจับไมร้ ะนาดให้น้ิวชอี้ ยู่ดา้ นบนของก้านไม้ น้วิ โป้งอย่ดู า้ นขา้ งนิ้วกลางนว้ิ นางนิว้ ก้อยกาอยู่ใต้ไม้
๒. เม่ือบรรเลงเสร็จตอ้ งปลดเชือกคล้องหรู ะนาดดา้ นซ้ายมอื ลงเพ่ือปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ ชือกรับนา้ หนักของผืน

ตลอดเวลา
๓. ควรเก็บไมร้ ะนาดไวใ้ ต้ราง ไม่วางท้ิงบนพนื้ หรอื วางบนผนื ระนาด เพราะอาจจะหักได้ ในกรณนี ั่งทับ

ประเภทเครื่องสี ซอด้วงและซออู้
๑. ผู้บรรเลงควรข้ึนสายซอ และเลื่อนหย่องหรือหมอนใหอ้ ยู่ก่ึงกลางของหนา้ ซอ จากนัน้ เทยี บเสยี งของซอ

ตามประเภทซอน้นั ๆ ผบู้ รรเลงนง่ั ตัวตรง มอื ซ้ายจับคนั ซอเพอื่ กด สายซอ มือขวา จบั คนั ชกั
๒. เมื่อบรรเลงเสรจ็ ควรลดสายและปลดหยอ่ ง เลื่อนหมอนข้ึนไวบ้ นขอบกะโหลกซอ
๓. ควรใชผ้ ้าทม่ี คี วามนมุ่ และแห้งเช็ดซอทุกครั้งจากการบรรเลงเสรจ็ ควรใส่ถงุ เกบ็ เพื่อสะดวกในการเกบ็

ประเภทเครือ่ งเปา่ ขล่ยุ และป่ี
๑. ทา่ นัง่ ในการเป่า ผูเ้ ป่าสามารถน่ังได้ท้งั ทา่ พบั เพยี บและน่งั ขดั สมาธิ น่ังตวั ตรง ยกมือท้งั สองข้างใหแ้ ขนทง้ั

สองขา้ งกลางออกพอประมาณ ไม่หนบี แขน จับขลยุ่ และป่ีในทา่ สบาย โดยใชม้ อื ขวาอยู่ด้านบนมือซ้ายอยดู่ ้านลา่ ง
๒. การทาความสะอาดโดยการนาสว่ นที่เปยี กน้าลายไปลา้ งด้วยนา้ สะอาดส่วนใดที่ไม่ถูก น้าลายให้ใช้ผา้ เช็ด
๓. ไมค่ วรวางขล่ยุ หรอื ปวี่ างไว้กับพน้ื สามารถกลงิ้ หรอื ตกทาใหแ้ ตกได้ เก็บใส่กล่องหรือถุงใหเ้ รียบร้อย

๑๒๒ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูกู (ลสําุมหบรบัรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

คาช้ีแจงประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้

แผนการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง โน้ตดนตรไี ทยและสากล เวลา ๑ ชัว่ โมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคัญของแผน

การแสดงดนตรสี ่งิ ท่สี าคญั ทสี่ ุดประกอบดว้ ยตัวโนต้ จังหวะ ทานอง ไม่ว่าจะเป็นดนตรีไทยและ

ดนตรีสากล ควรใหม้ ีการฝึกทอ่ งตวั โน้ตใหไ้ ด้ก่อนจะเลน่ ดนตรี และฝึกบ่อย ๆ ครงั้ จนเกิดความชานาญ

๒. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมในการนาแผนการจดั การเรยี นรูไ้ ปใชจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ครูควรศกึ ษาแผนการจัดการเรยี นรู้ ส่ือและใบงานใหเ้ ขา้ ใจอย่างละเอยี ดก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ครูควรเตรียมใบงานใหเ้ พียงพอกับจานวนนกั เรยี น

ครูอธบิ ายความหมายของโน้ตดนตรีให้นักเรยี นเข้าใจ
กจิ กรรมการเรยี นรู้

ครูอธบิ ายให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับเพลงที่ฟงั มีท้ังเพลงไทย และเพลงสากล
ครูแบง่ นักเรียนเป็นกลุม่ กลุ่มละ ๔ คน ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศกึ ษาความร้เู ร่ืองโนต้ ดนตรไี ทย
เบอื้ งตน้ และโน้ตดนตรสี ากล ทาใบงานที่ ๐๑
นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ การอา่ นและเขยี นโน้ตเพลงไทยมีความสาคญั อย่างไร
ครเู ปดิ เพลงงามแสงเดือน ให้นักเรยี นฟงั แลว้ ให้นักเรยี นฝึกอ่านตามหรือดูจากใบความรู้ ครใู ห้

นกั เรียนฝกึ อ่าน และเขียนตวั โนต้ ทาใบงาน

ใบงานท่ี ๐๑ การอา่ น เขียนตวั โน้ตดนตรีไทย

ใบงานท่ี ๐๒ การอ่าน และเขียนโนต้ ดนตรสี ากล

๑. การเตรยี มส่อื /วัสดุอุปกรณ์

- ใบงาน

๒. ใบงาน/ใบความร/ู้ ใบกิจกรรม

- ใบงานที่ ๐๑-๐๒

- ใบความรู้ที่ ๑

๓. การวดั และประเมนิ ผล

- ตรวจผลงาน
- แบบประเมิน

กิจกรรมการเรียนรูกลุมบูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๒๓

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๑๒๓
๑๒๔ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสิลําุมปหบชรบั้นัูรปคณรรผูะาสูถกอมานศึก)รษก(ลาสปุมทบำี่รูห๖ณรา(ฉับกบาคับรรปผูรบั ูส ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖
แนวการจดั การเรียนรู้บูรณาการ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๘ สุนทรยี ศิลป์: หน่วยย่อยที่ ๒ จนิ ตนาการหรรษา แผนการเรยี นรู้ที่ ๔ เรื่องโน้ตดนตรีไทยและสากล
บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ เวลา ๑ ชั่วโมง ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

แนวการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา ๑. ครูให้นกั เรียนฟงั เพลงงามแสงเดือน ๒ เท่ียว และนักเรียนรอ้ งตาม พร้อมทัง้ ปรบมือตามจงั หวะเพลงทห่ี น้าชนั้

เรยี น

ข้นั สอน ๒. ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเก่ียวกับเพลงทีฟ่ ังมีท้ังเพลงไทย และเพลงสากล
๓. ครูแบ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๔ คน ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาความรเู้ รือ่ งโน้ตดนตรไี ทยเบ้ืองต้น
ข้นั สรุป และโน้ตดนตรสี ากล ทาใบงานที่ ๐๑
วดั และประเมนิ ผล ๔. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิดการอา่ นและเขียนโน้ตเพลงไทยมีความสาคัญอย่างไร
๕. ครเู ปดิ เพลงงามแสงเดอื น ให้นกั เรียนฟงั แล้วให้นักเรยี นฝกึ อ่านตามหรือดจู ากใบความรู้ ครใู ห้นักเรยี นฝึกอ่าน
และเขียนตวั โนต้ ทาใบงาน
๖. ใบงานท่ี ๐๑ การอา่ น เขียนตวั โน้ตดนตรีไทย
๗. ใบงานท่ี ๐๒ การอา่ น และเขยี นโน้ตดนตรีสากล

๘. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปหลักการอ่าน และเขียนโน้ตเพลงในบันไดเสียง 5 เสียง

๙. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ บันไดเสยี งมปี ระโยชนต์ ่อผูบ้ รรเลงดนตรสี ากลอย่างไร

๑. ประเมนิ ความรูเ้ ร่ืองสัญลกั ษณท์ างดนตรี โน้ตดนตรีไทยและสากล
๒. ประเมนิ ทักษะการออกเสยี งสงู ต่า และการปรบมือตามจังหวะ
๓. ประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทางานความซ่อื สัตย์

แผนการจัดแกผานรกเรารียจนัดรกบู ารูรเณรยี านกราู้บรูรณหากนาว รยกหานรว่ เยรกยี านรเรรทู ีย่ีน๘รู้ท่ี ส๘ุนทสนุรทียรศียิลศปลิ ป:์ :หหนนว ว่ ยยยอ่ ยยทที่ ่ี ๒๒ จินจตนิ นตกนากรหารรรหษรารษแาผนแกาผรนเรกียานรรเ้ทู รี่ีย๔นเรรทู ื่องี่ ๔โนเ้ตรด่ือนงตโรนีไทต ยดแนลตะสราีไกทลยและสากล
บูรณาการกลุมสาระกบารูรณเรายี กนารกูศลลิ มุ่ ปสะาระภกาษรเราียไทนรยู้ศลิ เปวะลาภา๑ษาไชทยว่ั โมเวงลาช๑นั้ ปชร่ัวะโถมมงศชึกัน้ ษปารปะถทมี่ ศ๖กึ ษาปที ี่ ๖

ขอบข่ายเนื้อหา ขนั้ นา ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้

โน้ตดนตรี ๑. ครใู ห้นกั เรยี นฟงั เพลงงามแสงเดือน ๒ เท่ียวและนักเรยี นร้องตาม พร้อมทงั้ ปรบมือตามจังหวะ ๑. ใบความรู้ที่ ๑ - ๒

๑. โน้ตดนตรไี ทย เพลงที่ ภาระงาน/ชิ้นงาน

๒. โน้ตดนตรสี ากล หนา้ ชนั้ เรียน จากนัน้ ครูอธิบายให้นักเรยี นเขา้ ใจเกย่ี วกบั เพลงทฟี่ ัง ๑. ใบงานท่ี ๐๑ - ๐๒

๒. ครูให้นักเรยี นดตู ัวโน้ตเพลงไทย แล้วให้นกั เรียนชว่ ยกันตอบคาถาม เชน่ การวดั และการประเมินผล

- ตวั โน้ตในภาพเกยี่ วขอ้ งกบั ดนตรปี ระเภทใด - ประเมนิ ความรเู้ รอ่ื งสญั ลกั ษณท์ างดนตรี โนต้
๑๓๙ดนตรไี ทยและสากล
๑๒๔- นกั เรียนรจู้ กั ตัวโนต้ ใดในภาพบา้ ง- ประเมินทกั ษะการออกเสียงสงู ต่า และการ
ปรบมอื ตามจงั หวะ
จดุ ประสงค์กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บหูรนณวยากการาชเรดุรยี กน(ารสรูทจำี่ัด๘หกิจสรกนุบั รทรครมยีรกศผูาิลรสู ปเรอ ียชนนั้นรป)ู ร(สชะาํถ้นัหมรปศับึกรคษะราูผถปสู มทอ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาบั บปปูรรทณับา่ีปก๖รางุ ร) ๑๒๕๓. นกั เรยี นทากจิ กรรมอา่ น และท่องตัวโน้ตเพลงงามแสงเดือน- ประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์
ความรู้ ขัน้ สอน ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทางาน
ความซื่อสัตย์
๑. อธบิ ายสญั ลักษณท์ างดนตรไี ด้ ๔. ครูแบง่ นักเรยี นเป็นกลุม่ กลุ่มละ ๔ คน คละกันตามความสามารถ คอื เก่ง ปานกลาง และอ่อน วธิ กี าร
- ตรวจใบงาน
๒. อ่านและเขยี นโนต้ เพลงไทย ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาความร้เู ร่ือง โนต้ ดนตรไี ทยเบ้ืองตน้ - สงั เกตพฤตกิ รรม
เครื่องมือ
และเพลงสากลอย่างงา่ ย ๆ ได้ ๕. นกั เรียนทากจิ กรรม การอา่ น สัญลกั ษณท์ างดนตรีไทย - ใบงาน ๐๑-๐๒
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
ทกั ษะ ๖. ครตู ดิ โน้ตดนตรไี ทย บนกระดานให้นกั เรยี นดู แล้วถามนักเรียนวา่ โนต้ ดนรไี ทยทม่ี ตี ัวโนต้ อะไร เกณฑ์การประเมิน
- ผ่านเกณฑต์ ามทกี่ าหนด
๑. ออกเสียจากเสยี งตา่ ไปหาเสียง ๗. นักเรียนตอบคาถามกระต้นุ ความคิด การอา่ น และเขยี นโน้ตไทยมีความสาคญั อยา่ งไร เครอ่ื งมอื วัด

สงู และจากเสยี งสูงไปเสยี งตา่ ๘. ครูให้นกั เรียนฝกึ อ่าน และเขียนตัวโน้ตดนตรไี ทย แล้วใหน้ ักเรยี นทากิจกรรมลงในใบงานท่ี ๐๑ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

๒. ปรบมือตามจังหวะทก่ี าหนด ๙. ครคู รูอ่านโนต้ ดนตรสี ากล นกั เรียนฟงั และใหน้ กั เรยี นฝึกอา่ น และเขียนโน้ตดนตรสี ากลจากใบ

คณุ ธรรม กจิ กรรมเดีย่ ความรู้
๑. ใฝ่เรยี นรู้
๑๐. ให้นกั เรยี น แต่ละคนฝึกอ่าน และเขยี นโนต้ ตวั โน้ตดนตรสี ากล ลงในใบงานท่ี ๐๒

๒. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๑๑. ข้นั สรุป ๒.
๓. ความซื่อสตั ย์ ๑๑. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ หลักการอ่าน และเขียนโน้ตเพลงในบนั ไดเสียง 5 เสยี ง -

๑๒. นักเรียนตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ - - แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

- นาเสนอผลงานการอา่ น และการเขยี นตวั โน้ตดนตรีไทย และดนตรสี ากล ๓. การประเมนิ ผลงาน

๓.๑ สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี น

๓.๒ ประเมินพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการ

นาเสนอผลงาน

บ ๘.๒/ผ ๔-๐๑

ใบงานที่ ๐๑

เร่ือง การอา่ น เขียนโน้ตดนตรไี ทย

คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นอ่าน เขียนโนต้ เพลงไทยอย่างง่าย ๆ ๑ เพลง

เพลง.......งามแสงเดือน.........

ชือ่ .......................................................................................................................................................... ........
โรงเรยี น .................................................................................. ช้นั ......................... เลขท่ี .......................

๑๒๖ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสาํุมหบรบัูรคณรผู าูสกอาน)รก(ลสุม บำรูหณราบักาครรูผูส อน) ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๑๒๖ บบ๘๘.๒.๒//ผผ๔๔--๐๐๒๒

ใบงานที่ ๐๒

เรอื่ ง การอ่าน และเขยี นตัวโน้ตดนตรีสากล

ตอนท่ี ๑
คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นอ่าน และ เขยี นตวั โน้ตดนตรีสากลทีก่ าหนดให้

ตอนท่ี ๒
คาช้แี จง ให้นักเรียนอ่าน เขยี นตวั โน้ตดนตรีสากล ตามท่ีกาหนด

๑. โนต้ ตัวกลม
๒. โนต้ ตัวขาว
๓. โน้ตตวั ดา
๔. โน้ตตัวเขบ็ต ๑ ชนั้
๕. กญุ แจซอล

ชอ่ื ......................................................................................................................... .........................................
โรงเรียน .................................................................................. ชน้ั ......................... เลขท่ี .......................

กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๑๒๗

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศิลป ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

( เฉลย ) บ ๘.๒/ผ ๔-๐๑
ใบงานท่ี ๐๑

เร่ือง การอา่ น เขยี นโน้ตเพลงไทยอย่างง่ายๆ

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอ่าน เขยี นโนต้ เพลงไทยอย่างงา่ ยๆ ๑ เพลง

เพลง งามแสงเดอื น

–––ด –ฟ–ร –ด–ด –ลดล –––ซ –ฟ–ร ––ดร –ฟ–ฟ
–––ด –ฟ–ร –ด–ด –ลดล –––ซ –ฟ–ร ––ดร –ฟ–ฟ
–––– –ด–ล –––ซ ลซฟร –––– –ฟ–ล ––ดล ซฟ–ซ
–––ซ ลซฟร –––– –ฟ–ซ –ซฟร –ด–ฟ –รดล –ซ–ฟ

( พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน )

๑๒๘ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูก ู (ลสาํมุ หบรบัูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำรูหณราบักาครรผู ูส อน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๑๒๘

( เฉลย ) บบ๘๘.๒.๒//ผผ๔๔--๐๐๒๑

ตอนที่ ๑ ใบงานท่ี ๐๒
คาชี้แจง
เรอ่ื ง การอ่าน และเขียนตัวโน้ตดนตรีสากล

ให้นกั เรียนอ่าน และ เขยี นตวั โน้ตดนตรสี ากลทกี่ าหนด

ตอนท่ี ๒
คาชี้แจง ให้นักเรียนอา่ น เขยี นสัญลักษณ์ทางดนตรที ี่กาหนด มาอย่างละ ๕ ตวั

๑. โน้ตตวั กลม
๒. โนต้ ตัวขาว
๓. โน้ตตัวดา
๔. โนต้ ตัวเขบต็ ๑ ชัน้

๕. กญุ แจซอล ....... …………… …............ ............... ................ ..

กิจกรรมการเรยี นรูก ลุมบูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ้นัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๒๙

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ใบความรู้สาหรับครแู ละนกั เรยี นท่ี ๑

เรือ่ ง โน้ตดนตรีไทยและโนต้ ดนตรสี ากล

โนต้ ดนตรี คอื เครอ่ื งหมายท่ีแทนคา่ เสยี งดนตรี เพอื่ ให้มีความเปน็ สากลในการบนั ทึกโน้ตดนตรใี ห้
นกั ดนตรเี ลน่ เราจะแบ่งพิจารณาใน ๒ ลกั ษณะคือ

๑. ระดบั เสยี งสูงตา่ ของโนต้ ดังกลา่ ว โดยสามารถทราบจากระบบ "บรรทัด ๕ เสน้ "

๒. การกาหนดค่าความสั้นยาวของเสียงโดยจะทราบจากลักษณะของตวั โนต๊ ดงั นี้

๑. โนต้ ตัวกลม เทา่ กับ ๔ จังหวะ
๒. โน้ตตัวขาว เท่ากบั ๒ จังหวะ
๓. โน้ตตวั ดา เทา่ กบั ๑ จงั หวะ
๔. โนต้ เขบ็ต ๑ ช้นั เท่ากบั ๑/๒ จงั หวะ
๕. โน้ตเขบ็ต ๒ ชั้น เทา่ กบั ๑/๔ จังหวะ

ประเภทของกญุ แจประจาหลกั
กุญแจประจาหลักในการบันทึกดนตรสี มยั ใหม่มีใช้อยู่เพยี งสามชนดิ คือ กญุ แจซอล กญุ แจโด และกญุ แจฟา ซ่งึ
กญุ แจแต่ละชนิดจะอา้ งถึงเสยี งซอล โด และฟา ตามลาดับ ตามตาแหน่งที่กุญแจนนั้ ได้ไปคาบเก่ียวไว้บนบรรทัด
เสน้ และช่องอนื่ ๆ ก็จะสัมพันธก์ ับโน้ตบนเส้นนัน้

กญุ แจซอล เสียงซอลที่อยูเ่ หนือเสียงโดกลาง ตาแหน่งทีค่ าบเกี่ยวสว่ นโคง้ ก้นหอยตรงกลาง

กุญแจโด เสยี งโดกลาง ตาแหนง่ ทค่ี าบเกยี่ วก่ึงกลางกุญแจโด

กญุ แจฟา เสยี งฟาท่ีอยูใ่ ต้เสยี งโดกลาง ตาแหนง่ ที่คาบเกี่ยวหวั ของกุญแจ หรอื ระหว่างสองจุด

๑๓๐ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสาํุมหบรบัรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสุม บำรูหณราับกาครรูผสู อน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๑๓๐

ใบความรสู้ าหรับครแู ละนักเรยี นที่ ๒

เรื่อง โน้ตดนตรไี ทยและโนต้ ดนตรีสากล

แผนภาพขน้ั บันไดระดบั เสียงดนตรี

เพลงงามแสงเดอื น

งามแสงเดือนมาเยือนส่องหลา้ งามใบหน้าเม่ืออยวู่ งรา (ซ้า)
เราเล่นเพื่อสนกุ เปลอ้ื งทุกข์วายระกา
ขอให้เลน่ ฟ้อนรา เพื่อสามคั คีเอย

–––ด –ฟ–ร –ด–ด เพลงงามแสงเดอื น ––ดร –ฟ–ฟ
–––ด –ฟ–ร –ด–ด –ลดล –––ซ –ฟ–ร ––ดร –ฟ–ฟ
–––– –ด–ล –––ซ –ลดล –––ซ –ฟ–ร ––ดล ซฟ–ซ
–––ซ ลซฟร –––– ลซฟร –––– –ฟ–ล –รดล –ซ–ฟ
–ฟ–ซ –ซฟร –ด–ฟ

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชําัน้หรปับรคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๑๓๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

แบบประเมนิ

คาชี้แจง : ให้ครผู ูส้ อนประเมินผลการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามที่กาหนด

ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน
๓๒๑

๑ นาเสนอเน้ือหาในผลงานได้ถูกต้อง
๒ การลาดบั ข้นั ตอนของเนื้อเรื่อง
๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ
๔ การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในกลุ่ม
๕ การตรงต่อเวลา

รวม

ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน
............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๒ คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ ๑ คะแนน

ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีข้อบกพร่องเป็นสว่ นใหญ่

๑๓๒ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสาํมุ หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรูผสู อน) ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรยี ศิลป ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๑๓๒

คาชแ้ี จงประกอบแผนการจัดการเรียนรู้

แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เร่ือง การประดิษฐ์ทา่ ราประกอบเพลง เวลา ๒ ช่ัวโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคัญของแผน

ศิลปะการฟ้อนราจะประกอบดว้ ยท่าทางการรา่ ยราเปน็ หลกั ในการฟอ้ นรา จึงมีการคิดประดษิ ฐ์ดัดแปลง

ท่าราตา่ ง ๆ ใหว้ จิ ิตรพสิ ดารและสวยงาม โดยใหส้ อดคลอ้ งผสมกลมกลนื ไปกับศิลปะทเ่ี ปน็ ส่วนประกอบอืน่ ๆ เชน่

เพลง ดนตรี และคารอ้ ง เพอื่ สือ่ ความหมายใหก้ ับผู้แสดงและผชู้ ม
๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ในการนาแผนการจดั การเรยี นรู้ไปใชจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้

๒.๑ ครูควรศึกษาแผนการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื และใบงานให้เข้าใจอยา่ งละเอยี ดกอ่ นจดั กิจกรรมการเรียนรู้

๒.๒ ครคู วรเตรียมใบงานใหเ้ พียงพอกับจานวนนักเรยี น

๒.๓ ครอู ธบิ ายความหมายทา่ ราใหน้ ักเรียนเข้าใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ครูสาธติ การประดษิ ฐ์ทา่ รา โดยนาบทขับร้องเพลงขอไทยอยู่เปน็ ไทย ๑ บรรทดั ตบี ทตามบท “ขอไทยเราอยู่

เปน็ ไทย ขอไทยเราอย่คู ฟู่ า้ ”

ใบกจิ กรรมที่ ๐๑ หลกั และการประดษิ ฐท์ า่ ราประกอบเพลงขอไทยอยเู่ ปน็ ไทย

ครูใหแ้ ต่ละกลมุ่ ที่นาเสนอผลงานการประดษิ ฐ์ท่ารา แสดงหนา้ ช้นั เรยี น

๑. การเตรียมส่อื /วสั ดอุ ุปกรณ์

- วดี ิทัศนก์ ารแสดงนาฏศลิ ป์ เชน่ การแสดงโขน นาฏศิลปไ์ ทยอนุรักษ์

- แผนภมู เิ พลง เพลงขอไทยอยู่เป็นไทย - แถบบันทกึ เสยี งเพลงขอไทยอยูเ่ ปน็ ไทย

- เครือ่ งกากบั จังหวะ - ใบความรู้เพลงขอไทยอยเู่ ป็นไทย

๒. ใบงาน/ใบความรู้

– ขบั รอ้ งเพลง เคาะจังหวะ แสดงทา่ ราประกอบเพลง

– ศกึ ษาหลกั การประดษิ ฐ์ทา่ รา

– ประดษิ ฐท์ า่ ราตามความหมายของบทเพลง อยา่ งสรา้ งสรรคโ์ ดยใช้หลักสาคญั มาใชใ้ นการประดิษฐ์ทา่ รา
๓. การวัดและประเมินผล

- ประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ กระตอื รอื ร้นในการทากิจกรรม กลา้ แสดงออกหรอื

แสดงความคดิ เหน็ ขยันหมนั่ เพยี รในการฝกึ ปฏิบตั ิ มคี วามรบั ผดิ ชอบ

- ประเมินความรเู้ ร่ืองประดิษฐท์ า่ ราประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย

- ประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ กระตอื รอื ร้นในการทากิจกรรม กลา้ แสดงออกหรอื

แสดงความคดิ เหน็ ขยนั หม่ันเพียรในการฝึกปฏบิ ัติ มีความรบั ผดิ ชอบ

กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชํา้นัหรปบั รคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๓๓

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๑๓๓
๑๓๔ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสิลํามุปหบชรบัั้นรู ปคณรรผูะาสูถกอมานศกึ)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคบัรรปูผรบั ูสปอรุงน) ) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖
แแนนววททาางกงกาารรจจดั ดักกาารรเรเรียยี นนรรู้บบู รู รู ณณาากกาารรหหนนว่ ว ยยกกาารรเเรรยี ยี นนรรทู้ทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป์ : หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒๒ จจนิ นิ ตตนนาากกาารรหหรรรรษษาา:แ:แผผนนกกาารรเรเรยี ียนนรรทู ทู้ ่ี ๕่ี ๕เรเอ่ืรือ่งงกการาปรประรดะดษิ ิษฐทฐ์ทา รา่ าํรปาประรกะอกบอเบพเพลงลง
บบูรรู ณณาากกาารรกกลลุม่ มุ สสาารระะกกาารรเรยี นรู้ศ ลิ ปะ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา เววลลาา๒๒ชชว่ั ั่วโโมมงง ชชน้ั น้ั ปปรระะถถมมศศกึ ึกษษาาปปท ีท่ี ๖ี่ ๖

แนวทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม กิจกรรมการเรียนรู้
ขน้ั นา
๑. ครใู หน้ ักเรียนชมวีดีทศั น์การแสดงนาฏศิลป์ ถามตอบนักเรียน
ข้ันสอน
๒. ครูสาธติ การประดษิ ฐท์ า่ รา โดยนาบทขบั รอ้ งเพลงขอไทยอยเู่ ปน็ ไทย ๑ บรรทดั ตบี ทตามบท “ขอไทยเราอยเู่ ป็นไทย ขอไทยเราอยคู่ ู่
ฟา้ ”
๓. แบ่งกล่มุ ตามระดับช้ัน คละนักเรยี นเกง่ ปานกลาง อ่อน ประดิษฐท์ า่ ราประกอบเพลงขอไทยอยู่เปน็ ไทย ใช้ความคิดสรา้ งสรรค์
หลกั การประดิษฐท์ า่ ราท่ตี อ้ งคานึงถงึ บทเพลง
๔. ใบกจิ กรรมท่ี ๐๑ หลักและการประดิษฐ์ทา่ ราประกอบเพลงขอไทยอยูเ่ ป็นไทย
๕. ครูให้แต่ละกลุ่มท่นี าเสนอผลงานการประดิษฐท์ า่ รา แสดงหนา้ ชัน้ เรียน

ขนั้ สรปุ ๖. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปและสรา้ งองคค์ วามรเู้ กยี่ วกับการนานาฏยศัพท์ ภาษาท่าทางไปประดิษฐเ์ ปน็ ทา่ รา ควรคานงึ ถึง
วดั และประเมินผล ความหมายของท่าราใหส้ อดคล้องตามความหมายของนาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ทาง

๑. ประเมินความรู้เร่ืองประดษิ ฐท์ า่ ราประกอบการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย
๒. ประเมนิ ทกั ษะการแสดงท่าทางการรา่ ยราประกอบเพลงขอไทยอยู่เป็นไทย ร้องและเคาะจงั หวะประกอบเพลง
๓. ประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ กระตือรือร้นในการทากจิ กรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคิดเหน็
ขยันหม่นั เพยี รในการฝกึ ปฏิบัติ มคี วามรับผดิ ชอบ

แผนจดั การเรยี นรูบ รู ณาการ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป : หนวยยอยที่ ๒ จนิ ตนาการหรรษา: แผนการเรยี นรทู ่ี ๕ เรอื่ ง การประดษิ ฐท าราํ ประกอบเพลง
บรู ณาการกลุม สาระการเรยี นรูศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒ ช่ัวโมง ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหรู นณว ยากการาชเรุดรยี กน(ารสรูทจำี่ัด๘หกิจสรกุนบั รทรครมยีรกศูผาิลรสู ปเรอ ยีชนนั้นรป)ู ร(สชะําถน้ัหมรปศับกึ รคษะราผูถปสู มท อ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบมุาบั บปปรู รทณับา่ีปก๖รางุ ร) ๑๓๕ ขอบเขตเนอ้ื หา ข้ันนา สื่อ / แหลง่ เรยี นรู้
- การประดิษฐ์ท่าราประกอบเพลง เปน็ การ ๑. ครชู ้ีแจงจุดประสงค์ใหน้ ักเรยี นทราบ ๑. วดี ที ัศน์การแสดงนาฏศลิ ป์ เชน่ การแสดงโขน นาฏศิลปไ์ ทย
สร้างสรรค์ท่าทางการราให้เหมาะสม ๒. ครใู ห้นักเรียนชมวดี ิทศั นก์ ารแสดงนาฏศิลป์ ๑ ชดุ ถามตอบนกั เรยี น อนุรกั ษ์
กบั เพลง โดยการนาภาษาท่านาฏศิลป์มา
ประดิษฐ์สรา้ งสรรค์เปน็ ท่าราประกอบการ ๑) วดี ิทศั น์การแสดงท่ีเหน็ นี้คือการรา่ ยราอะไร ประกอบเพลงอะไร ๒. แผนภมู ิเพลง เพลงขอไทยอยู่เป็นไทย
แสดง หรือประกอบเพลงตา่ ง ๆ ๒) นกั เรยี นเคยออกแบบทา่ รา หรือการแสดงในวนั สาคญั ๆ ท่ีโรงเรียนจดั บา้ งไหม
๓) นกั เรยี นคดิ ว่าการออกแบบทา่ ราควรมีวิธกี ารคิด หรือต้องคานึงถึงสิง่ ใด ๒. แถบบันทึกเสยี งเพลงขอไทยอย่เู ป็นไทย
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๔) การแปรแถวในชุดการแสดงวีดทิ ศั น์มีก่รี ปู แบบ
ความรู้ ๓. ครูเชอ่ื มโยงความรู้จากการตอบของนกั เรียน โดยการตัง้ คาถามตอ่ ๓. เคร่อื งกากบั จังหวะ
๑. ประดิษฐ์ท่าราประกอบการแสดงนาฏศลิ ป์ ขน้ั สอน
ไทยได้ ๔. ครกู างแผนภูมเิ พลง เพลงขอไทยอยู่เปน็ ไทย นักเรียนขบั รอ้ งเพลงขอไทยอยูเ่ ปน็ ไทย ครูตอ่ บทเพลงท่นี กั เรยี นยงั ร้องไม่ไดท้ ี ๔. ใบความรเู้ พลงขอไทยอยูเ่ ป็นไทย
๒. มคี วามรู้ความเขา้ ใจในการคิดประดษิ ฐ์ท่า ละวรรคจนจบ ครูเปดิ แถบบันทกึ เสยี งเพลงขอไทยอยู่เป็นไทย เคาะจังหวะตามทานองเพลง
ราในเพลงได้ ๕. ครูสาธิตการประดษิ ฐท์ า่ รา โดยนาบทขบั รอ้ งเพลงขอไทยอยเู่ ปน็ ไทย ๑ บรรทัด ตีบทตามบท “ขอไทยเราอยู่เปน็ ไทย ภาระงาน / ช้ินงาน
ทกั ษะ ขอไทยเราอยู่คู่ฟา้ ” (ดูจากแนวเฉลย) – ขับรอ้ งเพลง เคาะจงั หวะ แสดงทา่ ราประกอบเพลง
๑. แสดงทา่ ทางการรา่ ยราประกอบเพลงลาว ๖. ครูใหน้ กั เรียนสร้างสรรคร์ ูปแบบการแปรแถวทแ่ี ตกตา่ งไปจากที่เคยเห็น เชน่ แถวรูปตวั วี แถวตอน แถวหน้ากระดาน – ศกึ ษาหลักการประดิษฐท์ ่ารา
เสย่ี งเทียน เพอื่ นไทย ขอไทยอยู่เป็นไทย แถวเฉียง เปน็ ต้น ครูยกตวั อยา่ งการแปรแถวในรูปแบบการสร้างสรรค์ ๑ รปู แบบ (ดจู ากแนวเฉลย) – ประดิษฐท์ า่ ราตามความหมายของบทเพลง อย่างสรา้ งสรรค์โดยใช้
๒. รอ้ งและเคาะจงั หวะประกอบเพลง ๙. แบง่ กลุ่มตามระดับช้ัน คละนักเรียนเกง่ ปานกลาง ออ่ น ประดษิ ฐ์ท่าราประกอบเพลงขอไทยอยู่เป็นไทย แตล่ ะกลมุ่ จะ หลักสาคญั มาใช้ในการประดิษฐ์ทา่ รา
คุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ ประดษิ ฐท์ ่าราได้ดีนัน้ จะตอ้ งมคี วามเข้าใจนาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ภาษานาฏศิลปซ์ ึง่ เป็นพ้ืนฐานสาคญั ในการประดิษฐท์ ่ารา การวัดและประเมนิ ผล
๑. กระตือรือร้นในการทากจิ กรรม ๑. ประเมินความรู้เรอ่ื งประดษิ ฐท์ ่าราประกอบการแสดง
กล้าแสดงออกหรือแสดงความคิดเหน็ ๑๐. แตล่ ะกลุ่มรับใบงาน เพอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนในใบงาน แลว้ นาเสนอผลการปฏิบัตติ ่อหนา้ ช้ันเรยี น
๒. ขยนั หมัน่ เพยี รในการฝกึ ปฏบิ ัติ นาฏศิลป์ไทย
๓. มคี วามรบั ผดิ ชอบ ๑๑. ครูให้แต่ละกลมุ่ ทีน่ าเสนอผลงานการประดิษฐ์ท่ารา แสดงหนา้ ชัน้ เรยี น
ข้นั สรุป ๒. ประเมินทักษะการแสดงท่าทางการร่ายราประกอบ
๑๒. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปและสร้างองคค์ วามรเู้ กย่ี วกับการนานาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทางไปประดิษฐเ์ ปน็ ท่ารา
ควรคานึงถงึ ความหมายของท่าราให้สอดคลอ้ งตามความหมายของนาฏยศัพท์ ภาษาทา่ ทาง ขอไทยอยู่เป็นไทย ร้องและเคาะจังหวะประกอบเพลง

๓. ประเมนิ คณุ ธรรมจริยธรรม คณุ ลักษณะ
อันพึงประสงค์ กระตอื รือรน้ ในการทากจิ กรรม

กลา้ แสดงออกหรอื แสดงความคดิ เหน็ ขยันหม่ันเพยี รใน
การฝกึ ปฏิบตั ิ มีความรบั ผดิ ชอบ
วิธีการ
- ตรวจใบงาน
- สงั เกตการปฏิบัติกจิ กรรม
เครื่องมือ
- ใบงาน ๐๑-๐๓
- แบบประเมนิ พฤตกิ รรม
- แบบประเมนิ คุณธรรมจริยธรรม
เกณฑก์ ารประเมนิ

- ผ่านเกณฑต์ ามท่ีกาหนด

๑๓๕

บ ๘บ.๒๘/.ผ๒๕/ผ-๐๕๓-๐๓

ใบงานที่ ๐๓

เร่อื ง การประดษิ ฐ์ท่าราสร้างสรรคป์ ระกอบเพลงขอไทยอยูเ่ ปน็ ไทย

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ วางแผนและปรึกษากนั เพือ่ ปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ ตอ่ ไปนี้

๑. ศกึ ษาเนื้อเพลงขอไทยอย่เู ปน็ ไทย เรอื่ ง การประดิษฐท์ า่ ราสร้างสรรคป์ ระกอบเพลงขอไทย
อยู่เปน็ ไทย

๒. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ คดิ ประดษิ ฐท์ า่ ราประกอบเพลงขอไทยอยเู่ ปน็ ไทย คดิ ทา่ ทางประกอบ
เพลง ออกมานาเสนอผลงานทลี ะกลมุ่

๓. ใหน้ กั เรยี นออกแบบการแปรแถวเพลงขอไทยอยเู่ ปน็ ไทย อยา่ งนอ้ ย ๔ รปู แบบการแปร
แถว ออกมานาเสนอผลงานทลี ะกลมุ่

เพลงขอไทยอยเู่ ปน็ ไทย

ขอไทยเราอยูเ่ ปน็ ไทย ขอไทยเราอยคู่ ฟู่ ้า
ขอปวงหมปู่ ระชา ไทยเป็นสขุ และสมบรู ณ์พูนผล
ใครกลา้ มาผจญ จงให้ศตั รทู กุ คนแพ้ไทยมลายไป

๑๓๖ ชุดกกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสาํมุ หบรบัรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรผู ูสอน) ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๑๓๖

แนวคาตอบ

ใบงานท่ี ๐๓

เรื่อง หลกั และวิธีการประดิษฐท์ า่ ราประกอบเพลงขอไทยอยเู่ ปน็ ไทย

ทา่ รา เน้อื เพลง คาอธบิ ายทา่ รา

ขอไทยเราอยู่เปน็ ไทย เท้าขวาใช้จมูกเท้าแตะด้านหน้า
มือปฏบิ ตั ิในท่าขอ เอียงขวา

ขอไทยเราอยคู่ ฟู่ ้า เทา้ ขวาใช้จมกู เทา้ แตะด้านหน้า
มือขวาไวม้ อื มือซา้ ยเทา้ เอว เอยี งซ้าย

ขอปวงหมปู่ ระชา เท้าขวาใชจ้ มูกเทา้ แตะดา้ นหน้า มือ
ซา้ ยผายมือออกขา้ งลาตัว ตวั พระเมา้
เอว ตวั นางปล่อยมือลงข้างตัว เอียงขวา

ไทย เทา้ ซ้ายใชจ้ มูกเท้าแตะดา้ นหน้า

มอื ทง้ั สองจีบหงายทอ่ี ก เอียงขวา

เป็นสขุ เทา้ ขวาใช้จมูกเท้าแตะด้านหน้า

มอื ท้งั สองเหยียดตรึง ระดบั ไหล่

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ัน้หรปบั รคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๑๓๗

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ท่ารา เนอ้ื เพลง คาอธบิ ายทา่ รา

และสมบรู ณ์พนู ผล เท้าขวาใช้จมูกเท้าแตะดา้ นหน้า
มอื ปฏบิ ตั ใิ นท่าขอ เอยี งขวา

ใครกลา้ มาผจญ เทา้ ขวาใช้จมกู เทา้ แตะดา้ นหนา้
จงให้ศตั รูทกุ คน มือขวาใช้นว้ิ ชต้ี วดั น้ิวเข้าหาลาตัว
แพไ้ ทยมลายไป เอียงซา้ ย

เท้าซา้ ยใชจ้ มูกเทา้ แตะด้านหนา้
มอื ซ้ายชี้ ๓ จงั หวะ ด้านหนา้
กลาง ขา้ ง เอียงขวา

เทา้ ขวาใชจ้ มูกเทา้ แตะดา้ นหน้า
มอื ทั้งสองผายมือออกข้างลาตัว ควา่ มอื
ทัง้ สองผายมือออกขา้ งลาตวั ในจังหวะ
ต่อไป

๑๓๘ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสาํุมหบรับรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรผู ูสอน) ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๑๓๘

ใบความรู้สาหรบั ครแู ละนกั เรยี นที่ ๑

เร่ือง หลกั และวิธีการประดิษฐ์นาฏศิลป์

การแสดงประเภทสรา้ งสรรค์ปรบั ปรงุ ขึน้ ใหม่น้ี ลักษณะท่าราไม่ตายตวั จะมีการเปลย่ี นแปลง
ตลอดเวลาข้นึ อยู่กบั เหตุการณ์ ตัวบุคคลตลอดจนฝมี ือและความสามารถของผู้แสดงการประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์
ทา่ ราเปน็ การนาความรู้จากการฝกึ หัดนาฏศิลป์ไทย เช่น การฝึกหัดนาฏศลิ ป์เบ้ืองตน้ นาฏยศัพท์ การใช้
ท่าทางเพอื่ สื่อความหมายมาใชใ้ นการประดิษฐ์ท่ารา ดังนั้นการดิษฐ์สร้างสรรคท์ า่ รา จึงมีขั้นตอนจากง่ายไป
หายาก โดยเร่ิมจากขั้นตอนต่าง ๆ ดังน้ี

๑. การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย
การเคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบเพลงเปน็ การประดษิ ฐ์สร้างสรรคท์ ่าราอย่างอิสระโดยใช้ใหฟ้ ังเพลง
แล้วเคลอ่ื นไหวร่างกายพร้อมกับเสียงเพลง การเคลื่อนไหวรา่ งกายอย่างอสิ ระนี้ เคลอื่ นไหวร่างกายโดย
กระทบจังหวะเพยี งอย่างเดยี วเพ่ือเลยี นแบบธรรมชาติตามจนิ ตนาการของตนเอง การใชภ้ าษาทา่ ทางเพ่อื สื่อ
ความหมาย
การใชภ้ าษาทา่ ทางเพ่อื บ่งบอกความหมายนับวา่ เปน็ สิ่งสาคัญมาก เนื่องจากนาฏศิลป์ไทยเปน็ สาระ
ท่วี า่ ด้วยการฟ้อนรา ดังน้ัน การประดิษฐ์ทา่ ราต้องคานึงถึงการฟ้อนราที่ส่ือความหมายตามเนือ้ ร้อง โดยใช้
ทา่ ทางเพอ่ื สื่อความหมายแทนคาพูดซ่ึงอาจเป็นท่าทางเพ่ือเลียนแบบธรรมชาติหรอื สัตว์
๒. การใชท้ า่ ทางแทนคาพูดหรอื ใชภ้ าษานาฏศลิ ปป์ ระกอบเพลง
การประดิษฐ์ท่าราโดยทา่ ทางแทนคาพูดหรอื ใชภ้ าษานาฏศิลปป์ ระกอบเพลง เป็นการใช้ท่าทาง
บ่งบอกความหมายตามเน้อื เพลง ด้วยการร้อยเรียงแตล่ ะท่ารามาราประกอบเพลง โดยใช้ทา่ ทางเพอ่ื สื่อ
ความหมายของเพลงน้ัน ๆ ในข้ันตอนจะต้องนาหลักนาฏศิลป์ไทยมาใช้ในการประดิษฐท์ า่ รา กล่าวคอื แทนที่
จะใหผ้ เู้ รียนแสดงท่าทางอย่างอิสระและใช้ท่าทางตามแล้วยังตอ้ งนาทา่ ทางเหลา่ นน้ั มาประดษิ ฐใ์ หส้ วยงาม
ถกู ต้องตามหลักนาฏศลิ ป์ไทยดว้ ยซึง่ การประดิษฐ์ทา่ ราประกอบเพลงจาเป็นต้องคานึงถงึ หลักนาฏศิลปไ์ ทย
ดงั นี้

๒.๑ การใช้ทา่ ทางสือ่ ความหมายตามหลักนาฏศลิ ปไ์ ทย เชน่ หากตอ้ งการสื่อความหมายวา่
สวยงาม ก็จะใช้ท่าเฉิดฉิน หรอื หากจะประดิษฐ์ท่าราในทา่ รบั ช่วงทานองเพลง ก็จะใช้ท่าสงู แล้วลงมาจนถึง
ท่าต่า เช่นสอดสูง ผาลา ชา้ นางนอน เป็นต้น

๒.๒ การหลกี เล่ยี งการใชท้ า่ ซ้าเพื่อส่อื ความหมาย หากเน้ือร้องมเี น้ือร้องที่มคี วามหมายใกลเ้ คียง
กนั กจ็ ะไม่ใชท้ ่าราซา้ ๆ กนั ในการสอ่ื ความหมาย แตจ่ ะใช้ทา่ อน่ื ๆ ทีบ่ อกความหมายตามเนื้อร้องได้ถกู ตอ้ ง
เช่น เนื้อรอ้ งท่ีวา่ “โสมนสั เปรมปรีด์ิ” เป็นต้น

๒.๓ การใชท้ ่าทางสือ่ ความหมายต้องคานึงถึงความสัมพนั ธข์ องผู้แสดงใหค้ วามสัมพันธส์ อดคล้อง
สวยงามกลมกลนื กนั ในการประดษิ ฐท์ า่ รา ระบา ผปู้ ระดษิ ฐท์ า่ ราต้องคานึงถงึ ความสมั พนั ธข์ องผแู้ สดงทุกคน
ให้มีท่าราสัมพันธ์และสอดคล้องกลมกลืนกัน เช่น การประดิษฐ์ท่าคู่ การสอดสูงเข้าหากันหรือออกจากกัน
หรือการเข้าวงดว้ ยทา่ ราที่กลมกลนื กัน เปน็ ตน้

กจิ กรรมการเรียนรูกลุม บรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกูผารูส เรอยี นนร)ู (สชํา้นัหรปับรคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๓๙

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๒.๔ การประดษิ ฐท์ า่ ราประกอบเพลงต้องคานงึ ถึงวฒุ ิภาวะของผ้เู รยี นด้วย เนื่องจากผู้เรียนใน
แตล่ ะระดับช้นั จะประดิษฐ์ทา่ รายากง่ายแตกต่างกนั ออกไป เชน่ ผู้เรียนระดบั ประถมศกึ ษา กค็ วรจะใช้ท่าราท่ี
ง่ายไม่ซับซ้อน และเน้ือเพลงจะต้องไม่ยาวมาก สว่ นใหญ่ท่าราจะเป็นการใชท้ ่าทางส่อื ความหมายแทนคาพูด
และจะใชภ้ าษานาฏศลิ ปน์ ้อย แต่จะใช้ท่าทางธรรมชาตมิ าประดษิ ฐท์ า่ รามากท่ีสดุ เพราะงา่ ยแก่การ
เลียนแบบและจดจาเหมาะสมกับวัยเรยี น เป็นต้น

เปรยี บเทยี บทา่ ทางจากธรรมชาติมาประดษิ ฐส์ รา้ งสรรคเ์ ป็นทา่ รา ท่าทางธรรมชาติ

ทา่ รับกระทงพระประทีปพระราชทาน ท่าลอยกระทง

ทีม่ า : สานักงานวฒั นธรรมจงั หวดั สกลนคร. ๒๕๕๖

ประดษิ ฐส์ รา้ งสรรคเ์ ป็นท่ารา

ทีม่ า : วารณุ ีย์ กุลธรวิโรจน์. ๒๕๕๖

๑๔๐ ชุดกกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสําุมหบรบัูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรผู สู อน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๑๔๐

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
หนว่ ยย่อยท่ี ๒ แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๕
เร่อื ง การประดษิ ฐท์ า่ ราสร้างสรรค์ประกอบเพลง

ชื่อ – สกุล ...................................................เลขท.ี่ ...... ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่....................

คาสั่ง ครสู งั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี นตามรายการตอ่ ไปน้ี

ท่ี รายการสังเกต ผลการสังเกต หมาย

๑ กลา้ แสดงออก ๔ ๓ ๒ ๑ เหตุ
๒ ความร่วมมือในการร่วมกจิ กรรม
๓ มคี วามเชอื่ มัน่ ในตนเอง
๔ มีความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ และ

ช่นื ชมในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๕ การปรับปรงุ แกไ้ ขตนเอง

รวม

เกณฑ์การประเมนิ
๔ คะแนน ดมี าก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้
๑ คะแนน ปรบั ปรงุ

นกั เรียนได้คะแนน ๑๔ คะแนนขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

กิจกรรมการเรยี นรูก ลุม บรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชําน้ัหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๔๑

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

เกณฑก์ ารประเมินแบบสังเกตพฤตกิ รรม

หน่วยย่อยท่ี ๒ แผนการเรียนรูท้ ่ี ๕

เรอ่ื ง การประดษิ ฐ์ทา่ ราสร้างสรรค์ประกอบเพลง

รายการ ค่าคะแนน
๓๒
ประเมิน ๔ สร้างสรรคท์ า่ รา สรา้ งสรรค์ทา่ รา ๑
ได้เหมาะสมกบั ได้เหมาะสมกบั ไม่สรา้ งสรรค์
คดิ ท่าราได้ สรา้ งสรรคท์ ่าราได้ บทเพลงบางส่วน บทเพลง ทา่ รา

เหมาะสม เหมาะสมกบั ยังไม่เหมาะสม

สอดคลอ้ ง บทเพลงทง้ั เพลง

กับบทเพลง

ปฏบิ ัตติ าม ปฏบิ ัตทิ า่ ราท่ีคดิ ขน้ึ ปฏบิ ัตติ ามทา่ ราท่ี ปฏิบัตติ ามทา่ รา ปฏิบตั ไิ มต่ รงตาม
ท่าราท่คี ดิ ไม่ตลอดเพลง ทานองและ
ขนึ้ ได้ ทกุ ครัง้ แสดง คิดขนึ้ เปน็ เนื้อรอ้ ง

อารมณแ์ ละ บางท่า

ความร้สู กึ

ท่าราส่อื ทา่ ราส่อื ความหมาย ท่าราบางท่ายงั สอื่ ทา่ ราสอื่ ท่าราไม่ส่อื
ความหมาย
ความหมาย ไดด้ ที ุกทา่ ราและ ความหมาย ความหมายได้

ไดช้ ดั เจน หลายหลาก ไม่ชดั เจน เล็กน้อย

เกณฑก์ ารประเมนิ
๔ คะแนน ดีมาก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้
๑ คะแนน ปรบั ปรงุ

นักเรียนทไี่ ดค้ ะแนน ๑๔ คะแนนขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
คะแนน ๑๕-๒๐ ระดับ ๔ หมายถึง ดมี าก
คะแนน ๑๑-๑๔ ระดบั ๓ หมายถึง ดี
คะแนน ๖-๑๐ ระดบั ๒ หมายถงึ พอใช้
คะแนน ๑-๕ ระดับ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรุง

นักเรยี นตอ้ งได้ระดบั ดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

๑๔๒ ชุดกกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสําุมหบรบัรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๑๔๒

แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของนกั เรยี น
หน่วยยอ่ ยท่ี ๒ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๕

เรือ่ ง การประดษิ ฐท์ า่ ราสร้างสรรคป์ ระกอบเพลง

กลุม่ ที่ ..................... ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี............
คาส่งั ครปู ระเมินผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของนักเรยี น ตามรายการตอ่ ไปน้ี

ที่ รายการสงั เกต ผลการสงั เกต หมาย

๑ การอภปิ รายและการตอบคาถาม ๔ ๓ ๒ ๑ เหตุ
๒ การแสดงท่าฟอ้ นสมั พนั ธก์ บั จังหวะ
๓ ความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์
๔ การปรับปรงุ แกไ้ ขตนเอง
๕ ความพรอ้ มเพรียงในการแสดง

รวม

เกณฑก์ ารประเมนิ
๔ คะแนน ปฏิบตั ิไดด้ มี าก
๓ คะแนน ปฏบิ ตั ิไดด้ ี
๒ คะแนน ปฏิบตั ไิ ดพ้ อใช้
๑ คะแนน ปฏิบัตไิ ดแ้ ตค่ วรปรบั ปรงุ

นกั เรยี นไดค้ ะแนน ๑๑ คะแนนขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

ลงช่ือ................................................ผ้ปู ระเมนิ
(...................................................)

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ้ันหรปบั รคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๔๓

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

แบบประเมนิ ทักษะการปฏบิ ัตทิ ่ารา

หนว่ ยย่อยท่ี ๒ แผนการเรยี นร้ทู ่ี ๕

เร่อื ง การประดษิ ฐท์ ่าราสรา้ งสรรค์ประกอบเพลง

หัวข้อประเมิน : การปฏิบตั ิท่ารา

คิดทา่ ราได้ รายการ ทา่ ราสอื่

ชื่อ-สกุล เหมาะสม ประเมินปฏบิ ัติ ความหมายได้ รวม
สอดคลอ้ งกับ ตามท่าราที่คดิ ชดั เจน

บทเพลง ข้นึ ได้

๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑

ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ของกลุ่ม......................................................................................
ลงช่ือ
(.......................................................) ผูป้ ระเมนิ /ผสู้ อน

๑๔๔ ชดุ กกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสําุมหบรับูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๑๔๔

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนทักษะการปฏบิ ัติท่ารา
หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๕

เร่ือง การประดษิ ฐท์ า่ ราสรา้ งสรรคป์ ระกอบเพลง
-------------------------------------------

๑. เกณฑ์การประเมนิ
ได้คะแนน ๐-๓ คะแนน ถอื ว่า การปฏิบตั งิ านอยใู่ นชั้นควรปรบั ปรงุ
ไดค้ ะแนน ๔-๖ คะแนน ถือวา่ การปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นขั้นพอใช้
ไดค้ ะแนน ๗-๙ คะแนน ถือว่า การปฏิบัตงิ านอยู่ในขั้นดี
ได้คะแนน ๑๐-๑๒ คะแนน ถอื วา่ การปฏบิ ัตงิ านอยู่ในขัน้ ดีมาก

๒. เกณฑก์ ารตดั สนิ
ได้คะแนนตั้งแต่ ๖ คะแนนข้ึนไป ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

กจิ กรรมการเรียนรูกลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๑๔๕

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม

ประกอบแผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๙

ประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ หลักและวิธกี ารประดษิ ฐ์ทา่ ราประกอบเพลง

เร่อื ง การประดิษฐท์ า่ ราสรา้ งสรรคป์ ระกอบเพลง

คุณธรรม/จริยธรรม ผลการ

เลขที่ ชอื่ -สกุล ทปี่ ระเมิน รวม ประเมิน

๑๒๓๔๕๖ ผ มผ



















๑๐

๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

ขอ้ ประเมิน
๑. ใฝร่ ู้ สรา้ งสรรค์ ๒. กระตอื รือรน้ ในการทากิจกรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคิดเหน็ ๓. ปฏบิ ัติงานตามที่

ได้รบั มอบหมาย ๔. ขยนั หม่นั เพยี รในการฝึกปฏิบัติ ๕. ความสนใจ และเอาใจใส่ ๖. ความรบั ผิดชอบ

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดี ให้ ๓ คะแนน, ปานกลาง ให้ ๒ คะแนน, ควรปรับปรุง ให้ ๑ คะแนน
เกณฑก์ ารตัดสนิ ผา่ น : ได้ ๗๕% หรอื ๑๒ คะแนน

๑๔๖ ชุดกกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสํามุ หบรบัูรคณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู ูสอน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏิบตั กิ ิจกรรม

หนว่ ยย่อยที่ ๒ แผนการเรยี นร้ทู ี่ ๕
เร่อื ง การประดษิ ฐ์ท่าราสร้างสรรค์ประกอบเพลง

๑. ใฝร่ ู้ - สรา้ งสรรค์
๓ หมายถงึ มคี วามต้งั ใจ เอาใจใส่ในการปฏบิ ัติกจิ กรรม
๒ หมายถึงมคี วามตงั้ ใจ เอาใจใสใ่ นการปฏิบตั ิกิจกรรมกลา้ ซกั ถามเป็นบางคร้งั
๑ หมายถงึ ไม่มีความตงั้ ใจ ไม่ซักถาม

๒. กระตอื รือร้นในการทากิจกรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคดิ เห็น
๓ หมายถึงกระตือรอื รน้ ในปฏิบตั กิ ิจกรรม กล้าซกั ถาม
๒ หมายถึงกระตือรอื ร้น กลา้ ซักถาม
๑ หมายถึงไม่กระตือรอื รน้ เท่าทคี่ วร ไม่ซกั ถาม

๓. ปฏบิ ตั ิงานตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
๓ หมายถงึ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ทไี่ ด้รบั มอบหมาย
๒ หมายถึงปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีแต่ใหผ้ ู้อ่นื ชว่ ย
๑ หมายถงึ ไมป่ ฏิบัติหนา้ ทเ่ี ท่าที่ควร รบกวนเพอื่ น

๔. ขยนั หมั่นเพียรในการฝึกปฏิบัติ
๓ หมายถึงขยนั หม่นั ฝึกซ้อมปฏิบัตทิ า่ ราเปน็ ประจา
๒ หมายถึงขยันหมั่น ฝกึ ซอ้ มเปน็ บางครั้ง
๑ หมายถงึ ไมฝ่ กึ ซ้อมในการปฏบิ ัติท่ารา

๕. ความสนใจและเอาใจใส่
๓ หมายถึงมคี วามสนใจเอาใจใสต่ ่องานเปน็ อย่างดี
๒ หมายถึงมคี วามสนใจเอาใจใส่ต่องานเปน็ บางครั้ง
๑ หมายถงึ ไม่สนใจต่องานท่ีปฏิบตั ิ

๖. มคี วามรบั ผิดชอบ
๓ หมายถึงมีความรบั ผดิ ชอบต่องานที่ได้รบั มอบหมายเป็นอยา่ งดี
๒ หมายถงึ มีความรบั ผิดชอบแตต่ ้องใช้แรงเสริม หรอื เพื่อนชว่ ย
๑ หมายถงึ ไม่มีความรับผิดชอบ ไม่ทางาน

กจิ กรรมการเรียนรูก ลุมบูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกผูารูส เรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรูผถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๔๗

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

คาชแ้ี จงประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้

แผนการเรยี นรู้ที่ ๖ เร่ือง การแสดงนาฏศิลปไ์ ทย เวลา ๒ ชั่วโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคัญของแผน

นาฏศลิ ปไ์ ทยเปน็ ศลิ ปะการแสดงประกอบดนตรีไทย เช่น ฟอ้ นรา ระบา โขน ราวงมาตรฐาน

แต่ละท้องถ่นิ จะมชี ือ่ เรียกและมลี ีลาทา่ การแสดงทตี่ ่างกนั ไป ตามภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ ความเช่ือ ศาสนา ภาษา

และชีวิตความเปน็ อยู่ของแต่ละภาค

๒. ข้อเสนอแนะเพิม่ เติมในการนาแผนการจัดการเรยี นรไู้ ปใชจ้ ัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๒.๑ ครคู วรศึกษาแผนการจดั การเรียนรู้ ส่อื และใบงานใหเ้ ข้าใจอยา่ งละเอยี ดกอ่ นจดั กจิ กรรม การ

เรียนรู้

๒.๒ ครคู วรเตรยี มใบงานใหเ้ พยี งพอกบั จานวนนักเรยี น

๒.๓ ครอู ธบิ ายความหมายของนาฏศลิ ป์ไทยให้นักเรียนเข้าใจ

กิจกรรมการเรยี นรู้
ครใู หน้ ักเรียนมารวมกนั แลว้ ร้องเพลงราวงมาตรฐานพรอ้ มๆ กัน ขณะรอ้ งเพลงใหเ้ คาะจงั หวะไปด้วย ให้ฝึก

รอ้ งจนคลอ่ งโดยไมต่ ้องดูเนอื้ เพลง เพ่ือแสดงทา่ ราประกอบในชวั่ โมงต่อไป

ครสู าธิตการราวงมาตรฐานทา่ ตา่ งๆ ให้นักเรยี นดู ให้นักเรียนปฏบิ ตั ติ ามทลี ะทา่

ใบกิจกรรมท่ี ๐๑ – ราวงมาตรฐานเพลงดวงจนั ทร์ขวัญฟา้

ใบกจิ กรรมท่ี ๐๑ – ราวงมาตรฐานเพลงดวงจนั ทรข์ วญั ฟ้า

๑. การเตรยี มสือ่ /วสั ดุอุปกรณ์

- วีดที ัศน์การแสดงราวงมาตรฐาน
- แผนภูมิเพลงราวงมาตรฐาน

- แถบบนั ทกึ เสยี งเพลง

-เครอื่ งกากบั จังหวะ

๒. ใบงาน/ใบความรู้
- ศึกษาและปฏบิ ตั ิราวงมาตรฐาน

- ศึกษาท่าราท่ีใช้ประกอบเพลงราวงมาตรฐาน

- ขบั ร้องเพลง เคาะจังหวะ

ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ประจาหนว่ ยท่ี ๒

๓. การวดั และประเมนิ ผล
- ประเมนิ ความรู้ เรือ่ งความหมายของราวงมาตรฐาน และเพลงราวง

- ประเมนิ ทักษะการเคาะจงั หวะประกอบเพลง การราและรอ้ งประกอบเพลง

- ประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ใฝ่รู้และสร้างสรรค์ กระตือรอื รน้ ในการทา

กิจกรรมกล้าแสดงออก หรอื แสดงความคิดเหน็ ปฏบิ ตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๑๔๘ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูกู (ลสาํมุ หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรูผูส อน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

แนวทางการจดั การเรียนร้บู รู ณาการ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ : หน่วยย่อยที่ ๒ จนิ ตนาการหรรษา แผนการเรียนรู้ท่ี ๖ เรื่อง การแสดงนาฏศิลปไ์ ทย
บูรณาการกลุม่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ สุขพลศกึ ษา สังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม และภาษาไทย เวลา ๒ ชัว่ โมง ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บหรู นณวยากการาชเรดุรยี กน(ารสรทูจำี่ดั ๘หกิจสรกุนับรทรครมียรกศผูาลิรูสปเรอ ยีชนนัน้ รป)ู ร(สชะาํถั้นหมรปศับกึ รคษะราผูถปูสมท อี่นศ๖)ึก(กฉษลบมุาับบปปูรรทณับาี่ปก๖ราุงร) ๑๔๙ แนวการปฏบิ ัติกจิ กรรม กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั นา
๑. ทบทวนเพลงงามแสงเดือน เพลงคนื เดอื นหงาย นักเรยี นร้องเคาะจังหวะเพลงราวงมาตรฐานในชนั้ ท่ีเรยี นผ่านมา
๒. ทบทวนทา่ ราวงมาตรฐานเพลงท่ีนกั เรียนเรียนผา่ นมา เพลงงามแสงเดอื น (ทา่ สอดสร้อยมาลา) , เพลงคนื เดือนหงาย (ทา่ สอดสรอ้ ย
มาลาแปลง)

ขั้นสอน ๓. ครใู ห้นักเรียนมารวมกนั แล้วร้องเพลงราวงมาตรฐานพร้อมๆ กัน ขณะร้องเพลงใหเ้ คาะจงั หวะไปดว้ ย ใหฝ้ กึ ร้องจนคล่องโดยไม่ต้อง
ขั้นสรุป ดเู น้ือเพลง เพ่ือแสดงท่าราประกอบในชว่ั โมงตอ่ ไป
วัดและประเมนิ ผล ๔. ครสู าธติ การราวงมาตรฐานท่าต่างๆ ให้นักเรยี นดู ให้นักเรียนปฏิบตั ิตามทีละท่า
๕. ใบกจิ กรรมท่ี ๐๑ – ราวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า
๖. ครูคัดเลือกกลุ่มทแ่ี สดงทา่ ราวงมาตรฐานได้ถูกต้องสวยงามเพลงละ ๑ กลุ่ม แสดงหนา้ ชนั้ เรียนครูคัดเลอื กนักเรียนที่ราวงพื้นบา้ นได้
สวยงามดี ๔ – ๕ คู่ มาสาธิตการราวงเพลงงามแสงเดือนใหเ้ พอ่ื นๆ ดู โดยใหเ้ พื่อนๆเป็นผปู้ ระเมนิ ผลงาน

๑. ประเมินความรู้ เรื่องความหมายของราวงมาตรฐาน และเพลงราวง
๒. ประเมนิ ทกั ษะการเคาะจังหวะประกอบเพลง การราและรอ้ งประกอบเพลง
๓. ประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝร่ ูแ้ ละสร้างสรรค์ กระตือรอื ร้นในการทากจิ กรรมกลา้ แสดงออก หรอื แสดง
ความคิดเหน็ ปฏบิ ัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย

แผนจัดแกผานรจเรัดยี กนารเบู รูรยี ณนราูบ้ กรูาณร ากหานรวยหกนา่วรยเรกียานรเรรทู ียี่น๘รู้ทส่ี ุน๘ทสรุนียทศรลิ ียปศ ิล: ปห์น: วหยนย่วอ ยยยท่อ่ีย๒ท่ี ๒จนิ จตินนตานกากราหรรหรรษราษา แผแนผกนากราเรรเยีรยีนนรรทู ูท้ ี่ ๖ี่ ๖ เรเรือ่ ่ืองง กกาารรแแสดงนาฏศลิ ปไ์ไ ททยย
บูรณาบกรูาณรกาลกุมารสกาลร่มุะกสาระเรกียานรเรรศู ียลิ นประ้ศู ิลปสุขะพสลุขศพกึ ลษศาึกษสาังคสมังศคกึมษศาึกศษาสศนาสานแลาแะลวะฒั วนฒั ธนรธรรมรมเวเลวาลา๒๒ชช่ัวโ่วั มโมงง ชชน้ั ัน้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาปที ี่ ๖
๑๔๙
๑๕๐ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสลิ ํามุปหบชรับนั้รู ปคณรรูผะาูสถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีูรห๖ณรา(ฉับกบาคบัรรปูผรับสู ปอรงุน) ) ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ขอบเขตเนอื้ หาสือ่ / แหล่งเรยี นรู้
- ราวงมาตรฐานเปน็ การแสดงที่เป็น ขั้นนา ๑. วดี ที ัศนก์ ารแสดงราวงมาตรฐาน
ท่าราท่าหนง่ึ ประจาชาตไิ ทย ท่ีมกี าร ๑. ครูชแี้ จงตวั ชวี้ ดั ชัน้ ปี และจุดประสงค์ใหน้ กั เรยี นทราบ ๒. แผนภูมิเพลงราวงมาตรฐาน
พฒั นาใหม้ คี วามเป็นมาตรฐานบทเพลง ๒. ครเู ชือ่ มโยงความรเู้ ดมิ จากการเรียนราวงมาตรฐานในชั้นทีเ่ รียนผา่ นมา ประวตั คิ วามเป็นมา ท่าราที่ใชใ้ นเพลงทีเ่ รียน ๓. แถบบันทกึ เสยี งเพลง
ทใ่ี ชใ้ นการราวงมาตรฐาน ในช้นั (ป.๕) ๔. เครอื่ งกากับจังหวะ
๓. นักเรยี นรอ้ งเคาะจังหวะเพลงราวงมาตรฐานในชนั้ ทเ่ี รียนผ่านมา ทบทวนเพลงหญิงไทยใจงาม ภาระงาน / ชนิ้ งาน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ขนั้ ดาเนนิ กจิ กรรม กจิ กรรมรวมชัน้ ๑. ศกึ ษาและปฏิบตั ิราวงมาตรฐาน
ความรู้ ๔. ทบทวนท่าราวงมาตรฐานเพลงทน่ี ักเรียนเรยี นผ่านมา เพลงหญิงไทยใจงาม (ทา่ พรหมส่หี น้า ยงู ฟอ้ นหาง ๒. ศกึ ษาทา่ ราท่ใี ช้ประกอบเพลงราวงมาตรฐาน
๑. บอกความหมายของราวงมาตรฐานได้ ๕. แบง่ กลุม่ ตามระดับช้นั และให้นกั เรียนดูภาพการแสดงหรอื วดี ีทัศน์การประกอบ เพลงดอกจันทร์ขวญั ฟา้ ฝกึ ขับร้อง ๓. ขับรอ้ งเพลง เคาะจงั หวะ
๒. รคู้ วามหมายของเพลงราวงมาตรฐาน เพลง ๔. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ประจาหนว่ ยท่ี ๒
ทกั ษะ ๖. ให้แตล่ ะกลุ่มอภิปรายติ – ชม การร้องเพลงราวงมาตรฐานในกลมุ่ ของตนเองและปรบั ปรงุ การร้องใหด้ ขี ึ้น
๑. เคาะจังหวะประกอบเพลงได้ ๗. ครูให้นักเรียนมารวมกันแลว้ ร้องเพลงราวงมาตรฐานพร้อมๆ กนั ขณะรอ้ งเพลงใหเ้ คาะจงั หวะไปดว้ ย ใหฝ้ ึกรอ้ งจน การวดั และประเมินผล
๒. ราและร้องประกอบเพลงได้ คล่องโดยไม่ตอ้ งดูเน้อื เพลง เพ่อื แสดงทา่ ราประกอบในชวั่ โมงต่อไป - ประเมินความรู้ เรอ่ื งความหมายของราวงมาตรฐาน และ
๓. ปฏบิ ัติกจิ กรรมดว้ ยความสนกุ สนาน ๘. ครสู าธติ การราวงมาตรฐานท่าต่างๆ ใหน้ ักเรียนดู ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิตามทีละทา่ เพลงราวง
เพลิดเพลิน ๙. นักเรยี นจบั คชู่ าย หญิง จัดกลุม่ ๔ – ๕ คูเ่ พื่อฝกึ ปฏิบัตเิ ปน็ กลมุ่ - ประเมนิ ทกั ษะการเคาะจังหวะประกอบเพลง การราและ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะ ๑๐. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ฝึกปฏบิ ัติกับครู ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุม่ ไปฝกึ รอ้ งเพลงกันเอง ขณะร้องให้ รอ้ งประกอบเพลง
อันพึงประสงค์ จงั หวะประกอบการรอ้ งไปด้วย ถา้ ตดิ ขดั สงสัยอย่างไรใหถ้ ามครู - ประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะ
๑. ใฝ่รู้ และสร้างสรรค์ ๑๑. แต่ละกลุ่มรับใบกจิ กรรม เพ่ือปฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอนในใบกจิ กรรม แลว้ นาเสนอผลการปฏบิ ัติตอ่ หน้าชน้ั เรียน อันพึงประสงค์ ใฝร่ แู้ ละสรา้ งสรรค์ กระตอื รือรน้ ในการทา
๒. กระตอื รอื ร้นในการทากจิ กรรม กิจกรรม กล้าแสดงออกหรอื แสดงความคดิ เหน็ ปฏิบตั งิ าน
กลา้ แสดงออกหรอื แสดงความคิดเหน็ ๑๒. ครูคดั เลอื กกลมุ่ ที่แสดงทา่ ราวงมาตรฐานได้ถูกตอ้ งสวยงามเพลงละ ๑ กลุ่ม แสดงหนา้ ช้นั เรียนครูคดั เลอื กนกั เรียนท่ี ตามท่ีได้รับมอบหมาย
๓. ปฏิบตั งิ านตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย วธิ ีการ
ราวงพ้ืนบ้านไดส้ วยงามดี ๔ – ๕ คู่ มาสาธิตการราวงเพลงงามแสงเดือนใหเ้ พอื่ นๆ ดู โดยใหเ้ พ่อื นๆเป็นผปู้ ระเมินผลงาน - สงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรมตามใบงาน
- สงั เกตการจัดแสดงราวงมาตรฐาน
ข้นั สรปุ เครือ่ งมอื
- ใบงาน ๐๑
๑๓. นักเรียนและครรู ่วมกนั สรุปและสรา้ งองค์ความรเู้ กย่ี วกับการราวงมาตรฐานทมี่ ีทงั้ หมด ๑๐ เพลง ในชั้นเรียนของ - แบบประเมินการปฏบิ ัติงาน
นกั เรยี นจึงเรียนราวงมาตรฐานเหมือนกนั แต่แตกต่างเพลงทใ่ี ชเ้ รยี น - แบบประเมนิ ผลด้านความรู้

– แบบทดสอบหลงั เรยี น

เกณฑก์ ารประเมนิ
- ผา่ นเกณฑต์ ามท่กี าหนด

๑๕๐

ใบกิจกรรมที่ ๐๑ บบ ๘๘..๒๒//ผผ ๖๖--๐๐๑๑

เร่ือง ราวงมาตรฐาน

คาช้แี จง ๑. ใหน้ ักเรียนฝกึ ร้องเพลงราวงมาตรฐานเพลงดวงจันทรข์ วญั ฟา้ พร้อมแสดงท่าชา้ งประสานงา
ทา่ จันทร์ทรงกลด ฝึกซอ้ มให้คล่อง

๒. จับคชู่ าย – หญิง แล้วจดั กลุ่ม ๆ ละ ๔ - ๕ คู่ ออกมาแสดงท่าราประกอบเพลงหนา้ ชน้ั เรียน

เพลงดวงจนั ทร์ขวญั ฟ้า

คารอ้ ง ทา่ นผ้หู ญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง ครูเอ้ือ สนุ ทรสนาน

ดวงจันทรข์ วญั ฟ้า ชื่นชวี าขวัญพ่ี
จนั ทรป์ ระจาราตรี แต่ขวญั พ่ปี ระจาใจ
ทเี่ ทิดทูนคือชาติ เอกราชอธิปไตย
ถนอมแนบสนิทใน คอื ขวัญใจพี่เอย

กิจกรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชําั้นหรปับรคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณาี่ ก๖าร ๑๕๑

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ใบความรู้สาหรับครแู ละนกั เรยี นท่ี ๑

ราวง มกี าเนิดมาจาก ราโทน เป็นการละเล่นพืน้ เมอื งของภาคกลาง ในการฟ้อนราจะใช้จงั หวะโทน
ตตี ามหนา้ ทบั จงึ เรียกการฟ้อนราแบบนีว้ ่า ราโทน

ราวงมาตรฐาน เป็นท่าราท่าหน่งึ ประจาชาตไิ ทย ทีม่ กี ารพฒั นาให้มีความเปน็ มาตรฐานบทเพลงท่ี
ใชใ้ นการราวงมาตรฐาน

เพื่อเชิดชศู ลิ ปะการละเล่นพืน้ เมอื งนใ้ี ห้มรี ะเบยี บเรยี บร้อย เปน็ แบบฉบบั อันดงี ามตามแบบนาฏศิลป์
ของไทย กรมศิลปากรจงึ ได้สร้างบทร้องข้ึนใหม่ ๔ บท คือ งานแสงเดอื น ชาวไทย รามาซิมารา คืนเดือน
หงาย พร้อมท้ังท่าราทสี วยงาม ถูกต้องตามแบบนาฏศิลป์ไทย และกรมศลิ ปากรได้เปลี่ยนชื่อใหม่ จากท่ี
เรยี กว่า ราโทน เปน็ ราวง เพราะผู้เลน่ ร่วมวงกันเล่นและเคลอื่ นย้ายเวียนไปเป็นวง

ตอ่ มาทา่ นผูห้ ญงิ ละเอยี ด พิบลู สงคราม ไดแ้ ต่งบทขบั ร้องเพ่มิ เติมใหม่อีก ๖ เพลง คอื ดอกไม้ของ
ชาติ ดวงจันทรว์ นั เพญ็ หญงิ ไทยใจงาม ยอดชายใจหาญ ดวงจันทร์ขวัญฟ้า และ บูชานกั รบ โดยมกี รม
ประชาสัมพนั ธแ์ ละกรมศลิ ปากรเปน็ ผู้ประดษิ ฐ์ทานอง และกรมศลิ ปากรเป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารา

ปัจจุบันมีผนู้ าเอาไปเลน่ สลบั เตน้ ลีลาศ กรมศลิ ปากรจึงได้ปรบั ปรุงโดยมีจุดประสงคเ์ พื่อให้เปน็
ระเบียบเรยี บรอ้ ย เป็นแบบฉบับมาตรฐานและสะดวกในการเผยแพรน่ าฏศลิ ปข์ องไทยต่อไป จึงเรียกว่า ราวง
มาตรฐาน

เน้ือรอ้ ง ใชภ้ าษาทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย จงั หวะสนุกสนาน ความหมายเพลงส่วนใหญ่ มงุ่ ใหเ้ ห็น
ศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ ยกย่องความสามารถของบรรพบรุ ุษนกั รบไทย และความงามความสามารถของ
หญงิ ไทยสมยั โบราณ

วธิ แี สดง
๑. ก่อนการแสดงแต่ละเพลงจะมีการบรรเลงดนตรนี า ๑ วรรค เพือ่ ใหผ้ แู้ สดงเตรียมตัวตัง้ ต้นจงั หวะ

พรอ้ มกัน
๒. แสดงจับเปน็ คู่ชาย – หญงิ รากนั เป็นวงกลม
๓. จานวนผู้แสดงข้ึนอยกู่ ับความเหมาะสมของสถานท่ี
๔. ระยะห่างระหว่างคู่ไม่ห่างหรือชิดกันจนเกนิ ไป ขณะราควรรกั ษาวงไม่ให้เบี้ยวหรือขาดตอน
๕. ก่อนการแสดงชาย – หญงิ ต้องทาความเคารพซึ่งกนั และกันเพือ่ ถือวา่ เป็นการให้เกียรติต่อค่รู า

ของตนโอกาสที่แสดง งานประเพณีรนื่ เรงิ ตา่ งๆ
เครื่องแต่งกาย แบง่ เปน็ ๓ ประเภท
- แบบไทยพ้นื เมือง
- แบบไทยสากลนิยม
- แบบไทยประยุกต์
เคร่ืองดนตรี ไดแ้ ก่ ระนาดเอก ฆอ้ งวงใหญ่ โทน กรับ ฉงิ่ ฉาบ

๑๕๒ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสํามุ หบรบัรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสุม บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๑๕๒

เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า

คารอ้ ง ทา่ นผหู้ ญงิ ละเอียด พบิ ูลสงคราม ทานอง ครเู อ้ือ สนุ ทรสนาน

ดวงจนั ทร์ขวญั ฟา้ ชนื่ ชวี าขวญั พี่

จันทรป์ ระจาราตรี แตข่ วัญพปี่ ระจาใจ

ที่เทดิ ทูนคือชาติ เอกราชอธปิ ไตย

ถนอมแนบสนิทใน คอื ขวญั ใจพ่เี อย

ท่าทาง ท่ารา บทเพลง วิธีแสดง

ท่าชา้ งประสานงา ดวงจนั ทร์ขวัญฟ้า ก้าวขวา มอื ท้ังสองจบี คว่า

แขนงอเล็กนอ้ ย ก้าวเทา้

ซ้ายพร้อมท้งั พลิกฝ่ามอื ขึน้

เปน็ จบี หงาย แขนตงึ ยน่ื

ไปตรงหน้า เท้าขวาวาง

หลัง ศรี ษะ เอยี งซ้าย (ท่า

ช้างประสานงา)

ทา่ จันทรท์ รงกลด ช่นื ชีวาขวญั พ่ี เกา้ เท้าซ้าย พรอ้ มกบั มว้ น
แปลง มอื ทีจ่ ีบหงาย เปลยี่ นเป็น
ต้ังวงหน้า กา้ วเทา้ ขวา
ท่าชา้ งประสานงา จันทรป์ ระจาราตรี เทา้ ซา้ ยวางหลงั ศรี ษะ
เอียงขวา

ปฏบิ ตั ิเหมือนทา่ “ดวง
จันทร์ขวญั ฟา้ ” (ท่าช้าง
ประสานงา)

ท่าจันทรท์ รงกลด แต่ขวัญพ่ปี ระจาใจ ปฏบิ ตั ิเหมอื นทา่ “ชื่นชีวา
แปลง ขวัญพ่ี” (ทา่ จนั ทร์ทรงกลด
แปลง)

กิจกรรมการเรยี นรูกลุม บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ัน้หรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๑๕๓

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ท่าทาง ท่ารา บทเพลง วธิ ีแสดง

ท่าช้างประสานงา ทีเ่ ทิดทูนคอื ชาติ ปฏบิ ัติเหมือนทา่ “ดวง

จันทร์ขวัญฟ้า” (ทา่ ชา้ ง

ประสานงา)

ท่าจันทร์ทรงกลด เอกราชอธิปไตย ปฏบิ ตั เิ หมอื นทา่ “ช่ืน
แปลง ชวี าขวัญพี่” (ทา่ จนั ทรท์ รง

กลดแปลง)

ท่าชา้ งประสานงา ถนอมแนบสนทิ ใน ปฏิบัติเหมือนทา่ “ดวง
จันทรข์ วญั ฟา้ ” (ทา่ ช้าง

ประสานงา)

ทา่ จนั ทรท์ รงกลด คอื ขวัญใจพีเ่ อย ปฏิบตั ิเหมือนท่า “ชื่น
แปลง ชีวาขวญั พ่ี” (ท่าจันทร์ทรง

กลดแปลง)

การปฏบิ ตั ทิ า่ ชา้ งประสานงา , ท่าจันทรท์ รงกลด

๑๕๔ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรูผสู อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๑๕๔

แบบสังเกตพฤตกิ รรม

หนว่ ยย่อยที่ ๒ แผนที่ ๖

เร่อื ง ราวงมาตรฐาน

ชื่อ.........................................................................เลขท.่ี .............ชั้น..........................................................

คาชีแ้ จง ครสู ังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นตามรายการต่อไปน้ี

ท่ี รายการ ผลการสังเกต หมายเหตุ
๔ ๓๒ ๑
๑ กลา้ แสดงออก
๒ ความรว่ มมือในการร่วมกิจกรรม
๓ มคี วามเช่ือมั่นในตนเอง
๔ มคี วามสนกุ สนานเพลดิ เพลินและชื่นชมใน

การปฏบิ ตั ิกิจกรรม
๕ การปรับปรงุ แกไ้ ขตนเอง

รวม

เกณฑ์การประเมนิ
๔ คะแนน ดมี าก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้
๑ คะแนน ปรบั ปรุง

นักเรยี นได้คะแนน ๑๔ คะแนนขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุมบูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารูส เรอียนนร)ู (สชาํ น้ัหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๑๕๕

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรยี ศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบสงั เกตพฤติกรรม

หนว่ ยย่อยท่ี ๒ แผนที่ ๖

เรอ่ื ง หลักและวธิ กี ารปฏบิ ัตินาฏศิลป์

รายการ ค่าคะแนน

ประเมิน ๔ ๓๒ ๑

กลา้ แสดงออก มคี วามสนใจ ทา่ ทางมนั่ ใจแต่ ทา่ ทางเคอะเขิน ไมก่ ล้าแสดงออก

การแสดงออกและ ขาดความพรอ้ ม ไมม่ น่ั ใจ

พร้อมทจี่ ะแสดง ในการแสดง

ทันที

ความร่วมมือ ทุม่ เทกาลงั กาย ร่วมคดิ และรว่ ม ร่วมปฏบิ ัตงิ าน รว่ มปฏิบตั งิ านเปน็

การรว่ ม กาลังใจ อย่างเตม็ ปฏิบัติงานแตไ่ ม่ ตามคาสง่ั ของ บางครงั้

กจิ กรรม ความสามารถใน ร่วมแกป้ ญั หา กลุ่ม

การปฏิบตั ิงานจน ในการทางาน

ประสบความสาเร็จ

และรว่ มรบั ผดิ ชอบ

ตอ่ ความผดิ พลาด

ที่เกดิ ข้นึ

ความเชื่อมนั่ ใน มีความเช่อื ม่ันและ มคี วามเช่ือมัน่ มคี วามตง้ั ใจและ ขาดความเชอ่ื ม่ันใน

ตนเอง ตงั้ ใจในการแสดง ในการ มีความพยายาม การแสดงออก

อย่างเตม็ ท่ี แสดงออก ในการแสดงออก

ความ มคี วามสนกุ สนาน มคี วาม มีความ ไม่มคี วามสนกุ สนาน

สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ และ สนกุ สนาน สนกุ สนานและ และชน่ื ชมในการ

เพลิดเพลิน ชื่นชมในการปฏิบัติ เพลิดเพลนิ และ ชืน่ ชมใน ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

และชน่ื ชม กจิ กรรมอยา่ งเตม็ ท่ี ชนื่ ชมในการ การปฏิบตั ิ

ปฏบิ ัติกจิ กรรม ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม กิจกรรมเปน็

บางครัง้

๑๕๖ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสําุมหบรบัูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรูผูสอน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

รายการ ค่าคะแนน
ประเมนิ
๔ ๓๒ ๑
ปรบั ปรงุ แกไ้ ข มคี วามพรอ้ มและ ปรับปรงุ แกไ้ ข
สามารถปรบั ปรงุ สามารถ สามารถปรบั ปรงุ
แกไ้ ขตนเองได้ ตนเองไดบ้ างคร้งั
ทันทว่ งทีละถูกตอ้ ง ปรับปรงุ แกไ้ ข แกไ้ ขตนเองได้ และใชเ้ วลานาน

ตนเองได้ บางครงั้

เกณฑก์ ารประเมนิ
๔ คะแนน ดมี าก

๓ คะแนน ดี

๒ คะแนน พอใช้

๑ คะแนน ปรบั ปรงุ

นกั เรียนทไ่ี ดค้ ะแนน ๑๔ คะแนนขนึ้ ไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ

ระดบั คณุ ภาพ

คะแนน ๑๕-๒๐ ระดบั ๔ หมายถงึ ดีมาก

คะแนน ๑๑-๑๔ ระดบั ๓ หมายถึง ดี

คะแนน ๖-๑๐ ระดบั ๒ หมายถงึ พอใช้

คะแนน ๑-๕ ระดบั ๑ หมายถึง ปรบั ปรงุ

นกั เรียนตอ้ งได้ระดบั ดี ขึน้ ไป ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

กิจกรรมการเรียนรูกลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ นั้หรปบั รคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๑๕๗

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๑๕๗

แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของนกั เรยี น

หน่วยย่อยที่ ๒ แผนท่ี ๖
เรอ่ื ง ราวงมาตรฐาน

กล่มุ ที่.............................ชัน้ .........................................
คาช้แี จง ครปู ระเมนิ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมของนักเรียน ตามรายการต่อไปนี้

ท่ี รายการ ผลการสังเกต หมายเหตุ
๔๓๒๑
๑ การปฏบิ ตั ิทา่ นาฏยศัพทต์ ามทก่ี าหนดให้
๒ ความตั้งใจในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
๓ มคี วามสนุกสนานเพลดิ เพลิน
๔ การใหค้ วามรว่ มมือในกลุ่มตนเอง

รวม

เกณฑ์การประเมนิ
๔ คะแนน ปฏบิ ตั ิไดด้ มี าก
๓ คะแนน ปฏิบตั ไิ ด้ดี
๒ คะแนน ปฏิบตั ิไดพ้ อใช้
๑ คะแนน ปฏิบตั ไิ ด้แต่ควรปรบั ปรงุ

นักเรยี นได้คะแนน ๑๒ คะแนนข้ึนไป ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

(ลงชอื่ ).......................................ผปู้ ระเมนิ

๑๕๘ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสํามุ หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรูผสู อน) ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๑๕๘

เกณฑก์ ารประเมินแบบประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมของนกั เรียน

หน่วยยอ่ ยที่ ๒ แผนท่ี ๖

เรือ่ ง ราวงมาตรฐาน

รายการประเมิน คา่ คะแนน

๔ ๓๒ ๑
ปฏิบัตทิ ่า
๑.การปฏิบัตทิ ่า ปฏิบัติทา่ ปฏิบตั ทิ ่า ปฏิบตั ิทา่ ราวงมาตรฐาน
บางทา่ ตามที่
ราวงมาตรฐาน ราวงมาตรฐาน ราวงมาตรฐานบาง ราวงมาตรฐาน กาหนดให้
ไมถ่ กู ตอ้ งและ
ตามทกี่ าหนดให้ ตามท่ี ทา่ ตามที่กาหนดให้ บางท่าตามที่ ไมส่ วยงาม
ไม่มคี วามตงั้ ใจ
กาหนดใหไ้ ด้ ได้ถกู ตอ้ งและ กาหนดใหไ้ ด้ และสนใจใน
การฝกึ ปฏิบตั ิ
ถูกตอ้ งและ สวยงาม ถูกตอ้ งแตไ่ ม่ กจิ กรรมตา่ ง ๆ

สวยงาม สวยงาม ไมม่ คี วาม
กระตือรือร้นใน
๒.ความตง้ั ใจใน มีความตง้ั ใจ มีความตงั้ ใจและ มีความตง้ั ใจและ การฝึกปฏิบตั ิ
กิจกรรมตา่ ง ๆ
การฝึกปฏิบัติ และสนใจใน สนใจในการฝกึ สนใจในการฝกึ
สมาชิกในกลมุ่
การฝึกปฏิบัติ ปฏิบัติกิจกรรมดี ปฏิบตั ิกิจกรรม ไม่มีความสนใจ
และไม่เขา้ รว่ ม
กิจกรรม บางครง้ั กจิ กรรมของกลุ่ม

ดีมาก

๓.ความ มีความ มคี วาม มคี วาม
กระตอื รือรน้ ใน กระตอื รือรน้ ใน
สนกุ สนาน กระตือรอื ร้นใน การฝึกปฏบิ ตั ิ การฝกึ ปฏิบตั ิ
กจิ กรรมดี กจิ กรรมเพยี ง
เพลดิ เพลนิ การฝกึ ปฏบิ ตั ิ บางครั้ง
สมาชกิ ใหค้ วาม
กล้าแสดงออก กจิ กรรม สนใจและเขา้ ร่วม สมาชกิ ใหค้ วาม
กิจกรรมของกลุ่มดี สนใจและเขา้ รว่ ม
ดมี าก กิจกรรมของกลุ่ม
เป็นบางคร้ัง
๔.การใหค้ วาม สมาชิกใหค้ วาม

ร่วมมอื ภายใน สนใจและเขา้

กลุ่มของตน ร่วมกจิ กรรม

ของกลมุ่

ดีมาก

กิจกรรมการเรียนรกู ลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ้นัหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๑๕๙

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)


Click to View FlipBook Version