The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-29 07:33:43

แผนบูรณาการ

แผนบูรณาการ

ใบความรสู้ าหรับครูและนกั เรียนที่ ๑

เพลงพวงมาลัยสุภาษิต

ชาย เอ้อระเหย ลอยมา ลอยมาประสบพบพาน (ซา้ )
วันนีพ้ ่ีขอเชญิ ชวน ใหแ้ มห่ นา้ นวลมาร่วมสาราญ (สาราญ)
มาร้องเพลงพวงมาลัย หยบิ ภาษาไทยมาไขมาขาน
พวงเจ้าเอ๋ย บวั บาน ภาษิตโบราณมคี ุณค่าเอย (รบั )
ฟังคาเชญิ ชวน เล่นภาษติ ไทย (ซา้ )
หญิง เอ้อระเหย ลอยนวล ทาตามประสงค์ดว้ ยความเตม็ ใจ (เต็มใจ)
นอ้ งนยี้ นิ ดรี ่วมวง พอ่ี ย่าอาพรางตอบมาไวไว
ภาษิต “ใกล้เกลือกินด่าง” หมายความวา่ อย่างไร ว่าไปเอย (รบั )
พวงเจา้ เอย๋ กล้วยไม้ ทาไม่ใกล้เกลือกลบั ต้องกินด่าง (ซา้ )
ไมร่ ูจ้ กั ใชป้ ระโยชน์ถูกทาง (ถูกทาง)
ชาย เออ้ ระเหย ลอยเรอื “เกี่ยวแฝกมุงป่า”ว่าไวเ้ ปน็ กลาง
แปลว่าของดีอย่ใู กล้ เชิญแม่เอวบางตอบหน่อยเอย (รับ)
พี่ถามน้องบ้างละหนา แปลวา่ ทนุ มีนอ้ ย ทาการใหญ่ (ซา้ )
พวงเจ้าเอ๋ย ชอ้ งนาง ใชจ้ า่ ยจดั งานบานปลายออกไป (ออกไป)
“มากหมอมากความ” แปลว่าอยา่ งไร
หญิง เออ้ ระเหย ลอยวารี พ่ปี ญั ญาไวเชญิ ตอบเอย (รับ)
เพราะไม่รจู้ ักประมาณ
คราวนีน้ อ้ งจะขอถาม
พวงเจา้ เอ๋ย หงอนไก่

เพลงคืนเดือนหงาย ทานอง มนตรี ตราโมท
บทรอ้ ง เฉลมิ เศวตนนั ท์ เยน็ พระพายโบกพลิว้ ปลวิ มา
เทา่ เย็นผูกมติ รไม่เบื่อระอา
ยามกลางคนื เดือนหงาย เยน็ ยงิ่ นา้ ฟา้ มาประพรมเอย

เยน็ อะไรก็ไมเ่ ยน็ จติ
เยน็ ร่มธงไทยปกไทยทวั่ หลา้

เพลงใครรักใคร

ใครรกั ใครโคง้ ใคร ไม่ต้องเกรงอกเกรงใจ

ใครรกั ใครโค้งออกมารา (ซ้า) คู่หนึง่ เขาราสวยเดน่

ค่สู องสวยเด่นงามตา คสู่ ามงามหนักหนา

คสู่ ห่ี วานตา คหู่ ้าหวานใจ

ใครจะสวยกวา่ ใคร ฉันมองไปแล้วก็มองมา

๒๑๐ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูกู (ลสําุมหบรบัรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๒๐๖

คาชี้แจงประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้
แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๕ เรื่อง หลกั และองค์ประกอบทางนาฏศิลป์และการละคร
--------------------------------------------------เ-ว---ล--า----๒----ช---ว่ั --โ-ม--ง---------------------------------------------------

๑. สาระสาคัญของแผผน
นาฏศิลปไ์ ทยเปน็ ศิลปะที่มคี ัวามงง่ นช้งย สวยแาม เปน็ มรดกทาแวฒญ นธรรม มีงแคั์ประกงบ

ท่สี าคัขญ คัืง เนื้งร้งแผละทานงแเพลแ การบรรเลแดนตรี จญแหวะ การผต่แกาย การผต่แหนา้ เคัรื่งแดนตรี
ทบี่ รรเลแ งุปกรณก์ ารผสดแผละการฟ้งนรา
๒. อ้งเสนงผนะเพมิ่ เติมในการนาผผนการจญดการเรียนรู้ไปใชจ้ ดญ กิจกรรมการเรียนรู้

๒.๑ คัรคู ัวรศึกษาผผนการจดญ การเรียนรู้ สงื่ ผละใบแานใหเ้ อา้ ใจงยา่ และเงียดกง่ นจญดกิจกรรม การ

เรียนรู้

๒.๒ คัรคู ัวรเตรยี มใบแานให้เพยี แพงกญบจานวนนญกเรยี น

๒.๓ คัรูงธบิ ายคัวามหมายองแงแคัป์ ระกงบทาแนาฏศลิ ป์ ใหน้ ญกเรียนเอา้ ใจ

กิจกรรมการเรียนรู้
ให้นญกเรยี นผบแ่ กลมุ่ ๆ ละ ๔ – ๕ คัน ผจกใบแาน ให้รว่ มกนญ ศกึ ษาประเภทองแนาฏศิลปไ์ ทยใหน้ กญ เรียนสรปุ

งแคัป์ ระกงบองแการผสดแนาฏศิลป์ โดยใช้การผสดแชุดฟ้งนเแย้ี วในการจดญ งแคั์ประกงบองแการผสดแ
คัรูสาธติ ท่าราเพลแฟ้งนเแีย้ วทีละทา่ ให้นกญ เรียนดูผละฝกึ ปฏบิ ตญ ติ ามไปพร้งมๆ กญบคัรู โดยเนน้ ให้นกญ เรยี น

ผสดแทา่ ใหส้ วยแาม ดูกระฉบญ กระเฉแผละพร้งมเพรยี แกญน
ใบแานท่ี ๐๑ - หลกญ ผละงแคั์ประกงบองแนาฏศิลป์

๑. การเตรยี มสือ่ /วสั ดอุ ปุ กรณ์

- วีดทิ ญศน์การผสดแนาฏศลิ ป์
- ใบคัวามรงู้ แคัป์ ระกงบนาฏศลิ ป์ผละการละคัร
- ใบคัวามรเู้ พลแฟ้งนเแ้ยี ว

๒. ใบงาน/ใบความรู้
– ศึกษาคัวามหมายผละท่ีมาองแนาฏศิลปไ์ ทย
– ศกึ ษาหลญกการ งแคัป์ ระกงบในการผสดแ
– ฝกึ ซง้ มการผสดแฟง้ นเแยี้ วโดยใช้หลกญ ผละงแคัป์ ระกงบองแการผสดแนาฏศลิ ป์
– ใบแานท่ี ๐๑
- ใบกจิ กรรมท่ี ๐๑ - ๐๒

๓. การวดั และประเมนิ ผล
- ประเมนิ คัวามรู้ เร่ืงแบงกคัวามหมายผละที่มาองแนาฏศลิ ปไ์ ทยบงกงแคั์ประกงบผละประเภทองแ

นาฏศลิ ป์ไทย
- ประเมินทกญ ษะการสรุปงแคัป์ ระกงบองแการผสดแนาฏศลิ ปไ์ ด้ โดยใชง้ แคัป์ ระกงบการผสดแนาฏศลิ ป์

- ประเมินคัณุ ลญกษณะงญนพแึ ประสแคั์ การใฝ่รู้ ผละสร้าแสรรคั์ กระตืงรงื ร้นในการทากจิ กรรม กลา้

ผสดแงงกหรืงผสดแคัวามคักดิ ิจเหก็นรรปมฏกิบาญตรแิเรายีนนตารมูก ทลี่ไมุ ดบ้รญบูรณมงาบกหาชมดุรกา(ายสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชํา้นัหรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๑๑

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๒๐๗
๒๑๒ หชุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูท มรี่ก๘เารรสยี เนุรนยีทนรรรยีูก ูศ(ลสิลํามุปหบชรบัั้นรู ปคณรรผูะาสูถกอมานศกึ)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคบัรรปูผรบั ูสปอรุงน) ) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖
แนวทางการจัดการเรียนรบู้ รู ณาการ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ : แผนการเรยี นร้ทู ี่ ๕ เรอ่ื ง หลักและองค์ประกอบทางนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร
บรู ณาการกล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ สขุ พลศกึ ษาและพลศกึ ษา สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาไทย เวลา ๒ ชว่ั โมง ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

แนวการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครูช้แี จงจดุ ประสงคใ์ หน้ กั เรยี นทราบ
ขั้นสอน ๒. ครนู าภาพการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยนกั เรยี นดูแลว้ รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ นกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ จากคาถามของครู เร่ือง
ความหมายท่ีมาของนาฏศลิ ป์ไทย องคป์ ระกอบของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย
๓. ให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๕ คน แจกใบงาน ให้ร่วมกันศึกษาประเภทของนาฏศิลป์ไทย

๔. นักเรียนสรุป องคป์ ระกอบของการแสดงนาฏศลิ ป์ โดยใช้การแสดงชุดฟ้อนเง้ียวในการจดั องค์ประกอบของการแสดง

๕. ครสู าธิตทา่ ราเพลงฟ้อนเง้ียวทลี ะท่า ให้นักเรียนดแู ละฝึกปฏิบตั ิตามไปพร้อมๆ กับครู โดยเน้นใหน้ กั เรยี นแสดงทา่ ให้
สวยงาม ดกู ระฉบั กระเฉงและพร้อมเพรยี งกัน
๖. ใบงานท่ี ๐๑ - หลักและองค์ประกอบของนาฏศลิ ป์

ขั้นสรุป ๗. นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นและอภปิ รายสรุป เรื่อง ความหมายที่มาของนาฏศิลปไ์ ทย และองค์ประกอบของการ
วดั และประเมินผล แสดงนาฏศิลป์ เปน็ ความคิดของชัน้ เรยี น โดยครคู อยใหค้ วามรู้เสริมในส่วนทนี่ กั เรียนไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกับจุดประสงค์
การเรียนรู้
๑. ประเมนิ ความรู้ เร่ืองบอกความหมายและทม่ี าของนาฏศิลปไ์ ทยบอกองคป์ ระกอบและประเภทของนาฏศลิ ป์ไทย
๒. ประเมินทักษะการสรุปองค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์ได้ โดยใชอ้ งคป์ ระกอบการแสดงนาฏศลิ ป์

๓. ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การใฝร่ ู้ และสรา้ งสรรค์ กระตือรอื รน้ ในการทากจิ กรรม กลา้ แสดงออกหรอื แสดงความ

คดิ เหน็ ปฏิบัตงิ านตามที่ได้รบั มอบหมาย

แผแนผจนดั จกดั ากราเรรยี เรนยี รนบู รรู บู้ณรู าณกาากราหรนหว นยว่ กยากราเรรยีเรนียรนทู ร่ี ู้ท๘่ี ๘สนุ สทนุ รทยี รศยี ลิ ศปิล ป: ห์ :นหว นย่วยยอ ยยอ่ ทย่ี ท๓ี่ ๓ลลี ลาลี ศาลิ ศปลิ ไ ปทไ์ยทยแผแนผกนากราเรรยีเรนยี รนทู ร่ี ู้ท๕่ี ๕เรอ่ื เรงื่อหงลหกั ลแักลแะลอะงอคงป คร์ปะรกะอกบอทบาทงานงานฏาศฏลิ ศปลิ แปลแ์ ะลกะากราลระลคะรคร
บรู ณาการบกรู ลณุ่มาสการาะรกาลรมุ เสรยีารนะรกู้ศาลิ รปเระยี นสรุขศู พลิ ลปศะึกษสาขุ แพลละศพกึ ลษศาึกแษลาะพสลงั ศคกึมษศาึกษสางัศคามสศนกึาแษลาะศวาฒัสนาธแรลรมะวฒัแลนะธภรารษมาไแทลยะภเาวษลาไ๒ทยชั่วเโวมลงา ๒ชชน้ั ว่ัปโรมะงถมศึกษาปที ี่ ๖

๒๐๘ขอบเขตเน้ือหาขั้นนา สอ่ื / แหลง่ เรยี นรู้
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลมุ บหรู นณว ยากการาชเรุดรยี กน(ารสรูทจำี่ัด๘หกจิสรกนุบั รทรครมียรกศผูาิลรูสปเรอ ียชนน้ันรป)ู ร(สชะําถ้ันหมรปศับึกรคษะราผูถปูสมท อ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปูรรทณับา่ีปก๖รางุ ร) ๒๑๓- องค์ประกอบการแสดงนาฏศิลปจ์ ะ๑. ครชู ้แี จงจุดประสงค์ให้นกั เรียนทราบ๑. วดี ที ัศน์การแสดงนาฏศิลป์
ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ทช่ี ่วย ๒. ครูนาภาพการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยนักเรยี นดแู ล้วรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามดังนี้ ๒. ใบความรู้องค์ประกอบนาฏศลิ ป์และการละคร
ให้การแสดงนัน้ ดสู มบรู ณส์ วยงาม ๓. ใบความรู้เพลงฟอ้ นเงี้ยว
- ความหมายของนาฏศลิ ป์ คอื อะไร ใหน้ ักเรยี นร่วมกันระดมความคดิ แลว้ ตอบคาถาม ภาระงาน / ชนิ้ งาน
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - ทม่ี าของนาฏศิลป์มาจากอะไร – ศึกษาความหมายและทม่ี าของนาฏศลิ ปไ์ ทย
ความรู้ ๓. ครูเชอื่ มโยงคาตอบของนกั เรยี นตงั้ คาถามตอ่ – ศึกษาหลกั การ องค์ประกอบในการแสดง
๑. บอกความหมายและทีม่ าของนาฏศลิ ป์ไทย ขั้นสอน – ฝึกซ้อมการแสดงฟ้อนเงี้ยวโดยใช้หลักและองค์ประกอบ
ได้ ของการแสดงนาฏศิลป์
๒. บอกองคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ไทยได้ ๔. ครแู จกใบความรู้ เร่อื งความหมายและที่มาของนาฏศลิ ป์ไทย ใหน้ ักเรยี นสรุปลงแผนผังความคดิ – ใบงานท่ี ๐๑
๓. จาแนกประเภทของนาฏศิลป์ไทยได้ - ใบกิจกรรมท่ี ๐๑ - ๐๒
ทกั ษะ / กระบวนการ ๕. ครเู ปดิ วีดิทัศนก์ ารแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยใหน้ กั เรียนชม และตั้งคาถามถามว่าการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยชดุ นม้ี ี
การวดั และประเมินผล
๔. สรปุ องค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลปไ์ ด้ ชอ่ื ชดุ การแสดงว่าอย่างไร และมอี งค์ประกอบในการแสดงอะไรบา้ ง - ประเมนิ ความรู้ เรือ่ งบอกความหมายและทม่ี าของ
นาฏศลิ ปไ์ ทยบอกองค์ประกอบและประเภทของ
๕. จัดการแสดงนาฏศิลปโ์ ดยใชอ้ งคป์ ระกอบ ๖. ครูนาคาตอบของนักเรยี นมาเชอื่ มโยงกับเร่อื งองคป์ ระกอบการแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลปไ์ ทย
- ประเมินทกั ษะการสรุปองค์ประกอบของการแสดง
การแสดงนาฏศิลป์ ๗. ครูนาเสนอเนอื้ หาเร่อื ง องค์ประกอบของการแสดงนาฏศลิ ป์ โดยการบรรยายและยกตวั อย่างประกอบ
นาฏศิลป์ได้ การแสดงนาฏศิลปโ์ ดยใชอ้ งคป์ ระกอบการ
๖. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว้ ยความสนกุ สนาน ๘. ให้นกั เรยี นสรุป ท่ีมาของนาฏศลิ ป์ องค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์ จากการศึกษาในใบงาน
แสดงนาฏศิลป์
เพลดิ เพลนิ ๙อง.คทป์ กุ รคะนกรอ้อบงทเพาลใบงฟงาอ้ นนทเงี่ ๐้ียว๑ตามแถบบนั โทคกึรเงสสยี รง้างพหร้อนม่วทย้ังกตาบรมเือรใียหนจ้ งัรหู้ปวะ๑-๓๒ จบ ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามใบ
- ประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ การใฝร่ ู้ และ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ กิจกรรมท่ี ๐๑ สร้างสรรค์ กระตือรือร้นในการทากจิ กรรม กลา้
ประสงค์ (A)
๑๐. ครูสาธติ ทา่ ราเพลงฟ้อนเงย้ี วทีละท่า ใหน้ กั เรียนดูและฝกึ ปฏิบตั ติ ามไปพร้อมๆ กบั ครู โดยเน้นให้ แสดงออกหรอื แสดงความคดิ เห็น ปฏิบตั งิ านตามทไ่ี ดร้ ับ
๑. ใฝร่ ู้ และสร้างสรรค์
นักเรียนแสดงท่าให้สวยงาม ดูกระฉบั กระเฉงและพรอ้ มเพรยี งกัน มอบหมาย
๒. กระตือรือรน้ ในการทากจิ กรรม
กลา้ แสดงออกหรอื แสดงความคดิ เห็น ๑๑. ให้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ๆ ละ ๔ – ๕ คน แลว้ ทาใหแ้ ต่ละกลมุ่ ฝกึ ซ้อมทา่ ประกอบเพลงฟ้อนเงย้ี ว ( เครือ่ งมือประเมินผลการเรยี นรู้
๓. ปฏิบัตงิ านตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย – แบบบันทกึ ขอ้ มูลการแสดงความคดิ เหน็ และการ
๑๒. ครูใหน้ กั เรยี นจดั การแสดงนาฏศลิ ปใ์ นเพลงฟอ้ นเงยี้ ว โดยใช้หลกั และองค์ประกอบของการแสดง
นาฏศลิ ป์ อภิปราย
ขน้ั สรุป
๑๓. นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ และอภิปรายสรปุ เร่อื ง ความหมายท่ีมาของนาฏศลิ ปไ์ ทย และ - แบบประเมินการปฏิบัตงิ าน
องคป์ ระกอบของการแสดงนาฏศลิ ป์ เปน็ ความคดิ ของชนั้ เรียน โดยครูคอยใหค้ วามรเู้ สรมิ ในสว่ นทน่ี ักเรียน
ไม่เข้าใจหรอื สรุปไมต่ รงกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ – ใบงาน ใบกจิ กรรม

– แบบประเมินผลด้านความรู้

บ ๘.๓/ผ ๕-๐๑

ใบงานท่ี ๐๑

เร่อื ง หลักและองคป์ ระกอบของนาฏศิลป์

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นสรปุ ทมี่ า และองค์ประกอบของนาฏศิลป์ลงในแผนภาพ

ท่ีมาของนาฏศิลป์ไทย

………….............................. …………..............................
.......................................... ..........................................

………….............................. …………..............................
.......................................... ..........................................

………….............................. …………..............................
.......................................... ..........................................

………….............................. …………..............................
.......................................... ..........................................

องค์ประกอบของนาฏศลิ ป์

………….............................. ………….............................. …………..............................
.......................................... .......................................... ..........................................

๒๑๔ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสําุม หบรบัูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรผู ูสอน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

บ ๘.๓/ผ ๕-๐๒

ใบงานที่ ๐๒

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นโยงเส้นจบั คู่ภาพกบั คารอ้ งเพลงฟ้อนเงีย้ วใหถ้ ูกต้อง
๑.

ก. สรรพมง่ิ มงคล

๒. ข. สังฆานุภาพเจ้า
๓. ค. เทวดาช่วยเฮา
๔.

ง. พระคณุ เลิศล้า
๕.

จ. ขอเทวาช่วยรักษาเถดิ

๖. ฉ. ขอฮ้ืออยู่สุขา

๗. ช. ชว่ ยแนะนาผล
กิจกรรมการเรียนรกู ลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชํานั้หรปับรคะรผูถูส มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๑๕

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

บ ๘.๓/ผ ๕-๐๓

ใบงานท่ี ๐๓

ร่ายราเพลงฟอ้ นเงีย้ ว

๑. ใหท้ กุ คนร้องเพลงฟ้อนเง้ียวตามแถบบนั ทกึ เสยี ง พร้อมทัง้ ตบมอื ใหจ้ ังหวะ ๒ จบ
๒. เปิดเทปเพลงฟ้อนเงย้ี ว เฉพาะดนตรีประกอบเพลง (เปิดเฉพาะดนตรีประกอบเพลงจะถงึ คาร้อง)

พรอ้ มทั้งร้องคลอไปดว้ ย โดยออกเสียงดงั ตวั อยา่ ง เชน่ หน่อย นอย นอ้ ย หนอย นอย
หน่อย นอย นอย นอ้ ย หน่อย นอย นอย น้อย นอย นอย นอย หน่อย
๓. ใหน้ ักเรยี นดภู าพแล้วครทู าท่าให้ดู นักเรยี นฝกึ ตาม
๔. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มฝกึ ทาทา่ ต่อเนือ่ งกันไปตามลาดับ โดยครูคัดเลอื กนักเรียนทแี่ สดงท่าทางได้ดใี นแต่
ละกลุม่ เปน็ ผ้นู าฝกึ
๕. ให้กลมุ่ เพ่ือนชว่ ยกนั ประเมนิ ซง่ึ กันและกนั แลว้ ปรับปรุงแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งต่าง ๆ
๖. ให้นักเรียนฝกึ ซ้อมการแสดงชุดฟ้อนเง้ยี วไปจัดการแสดงโดยใชห้ ลกั และองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์
ในช่วงพกั เที่ยงบนเวทีของโรงเรยี น

๒๑๖ ชุดกกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูกู (ลสาํมุ หบรับรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรูผูส อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

แนวคาตอบ บ ๘.๓/ผ ๕-๐๑
ใบงานที่ ๐๑

เร่อื ง หลักและองค์ประกอบของนาฏศลิ ป์

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนสรปุ ทีม่ า องค์ประกอบของนาฏศิลป์ลงในแผนภาพ

ที่มาของนาฏศลิ ปไ์ ทย

.....การละเล่นของ............ การแสดงที่เป็นแบบแผน
ชาวบ้านในทอ้ งถิ่น........... ..........................................

การรบั อารยธรรมของ การเลียนแบบธรรมชาติ
อินเดีย............................... ..........................................

.........การฟอ้ นรา.............. .......จงั หวะ........................

...........เนอ้ื รอ้ งและทานอง .........การแต่งกาย ...........
เพลง ..............................

องค์ประกอบของนาฏศิลป์

.........การแตง่ หน้า .......... .......เครื่องดนตรีท่ีบรรเลง อุปกรณ์ประกอบการแสดง
ประกอบการแสดง........... ละคร การแสดงนาฏศิลป์
ไทยบางชดุ .....................

กิจกรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชําั้นหรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๑๗

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

บ ๘.๓/ผ ๕-๐๒

เฉลย

ใบงานที่ ๐๒

คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นโยงจับคภู่ าพกับคาร้องเพลงฟ้อนเง้ียวให้ถกู ตอ้ ง
๑.

ก. สรรพมงิ่ มงคล

๒. ข. สังฆานุภาพเจ้า
๓. ค. เทวดาชว่ ยเฮา
๔.

ง. พระคุณเลิศลา้
๕.

จ. ขอเทวาช่วยรกั ษาเถดิ

๖. ฉ. ขอฮ้ืออยู่สุขา

ช. ชว่ ยแนะนาผล
๒๑๘ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูกู (ลสํามุ หบรับูรคณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรผู ูสอน) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๒๑๔

ใบความรู้สาหรบั ครแู ละนักเรยี นท่ี ๑

ความหมายและที่มาของนาฏศลิ ปไ์ ทย

พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พทุ ธศักราช ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของคาว่านาฏศิลป์ ไว้วา่
“เป็นศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรา”
ทม่ี าของนาฏศลิ ปไ์ ทย

๑. จากการละเล่นของชาวบ้านในทอ้ งถิ่น หลงั จากเสร็จจากภารกิจในแต่ละวนั ชาวบา้ นหาเวลาวา่ ง
มาร่วมกนั ร้องราทาเพลง และตามนิสยั ของคนไทยท่ีเปน็ คนเจา้ บทเจา้ กลอน

๒. จากการแสดงท่ีเป็นแบบแผน เป็นท่ีทราบกันดีว่า นาฏศิลป์ไทยที่เป็นมาตรฐาน จะได้รับการ
ถ่ายทอดการปลูกฝังจากปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์ไทยในวังหลวง นาฏศิลป์มาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็น
ราชธานี เพราะได้มีการจารกึ ไว้ในหลักศิลาจารกึ ท่ี ๘ วา่ “ระบา รา เต้น เหล้น ทกุ ฉนั ”

๓. จากการรบั อารยธรรมของอินเดยี ประเทศอนิ เดยี เปน็ ประเทศหนึ่งที่มีอารยธรรมเก่าแกแ่ ละ
เจรญิ รุ่งเรืองมาตงั้ แต่โบราณกาล พระผเู้ ป็นเจ้าที่ชาวอินเดียนับถือ เป็นตานานแหง่ การฟ้อนรา

๔. จากการเลยี นแบบธรรมชาติ กิริยาท่าทางตามธรรมชาติของมนุษย์จะบ่งบอกความหมายและส่ือ
ความหมายกับผู้อื่นควบคู่ไปกับการพูด การใช้ท่าทางธรรมชาติเป็นพ้ืนฐานในการประดิษฐ์ท่าราและเลือกใช้
ได้เหมาะสมบ่งบอกความหมายได้ถูกต้อง
องคป์ ระกอบของนาฏศิลปไ์ ทย

องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทยประกอบด้วยการร้อง การบรรเลงดนตรี และการฟ้อนรา ทั้งนี้
เพราะการแสดงออกของนาฏศลิ ป์ไทยจะตอ้ งอาศยั บทร้องทานองเพลงประกอบการแสดง ดงั น้ี

๑. การฟ้อนรา เป็นท่าทางของการเย้ืองกรายฟ้อนราทส่ี วยงาม โดนมนุษยเ์ ปน็ ผปู้ ระดิษฐท์ า่ รา
เหลา่ นน้ั ให้ถูกต้องตามแบบแผน

๒. จังหวะ จังหวะเป็นส่วนย่อยของบทเพลงที่ดาเนินไปเป็นระยะและสม่าเสมอ การฝึกหัด
นาฏศิลป์ไทยจาเป็นต้องใช้จังหวะเป็นพ้ืนฐาน แต่ถ้าผู้เรียนไม่เข้าจังหวะทาให้ท่าราไม่ลงตามจังหวะเรียกว่า
“ยอดจังหวะ” การราก็จะไมส่ วยงามและไม่ถกู ต้อง

๓. เนื้อร้องและทานองเพลง การแสดงลีลาท่าราแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และ
ทานองเพลง ท้ังนี้เพื่อบอกความหมายท่ารา ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการแสดงได้ตามเน้ือเรื่อง
ตลอดจนสามารถส่ือความหมายใหก้ บั ผู้ชมเขา้ ใจตรงกันได้ เช่น การแสดงอารมณร์ กั ผ้นู าประสานมือทาบไว้
ท่หี น้าอก ใบหน้ายม้ิ ละไม สายตามองไปยังตัวละครท่ีรารกู้ นั เป็นต้น

๔. การแตง่ กาย การแต่งกายเป็นการแสดงนาฏศิลป์ สามารถบ่งบอกถึงยศ ฐานะและบรรดาศักดิ์
ของผแู้ สดงละครตัวนน้ั ๆ โดยเฉพาะการแสดงโขน การแต่งกายจะเปรียบเสมอื นแทนสกี ายของตวั ละคร

๕. การแต่งหน้า เป็นองค์ประกอบหนึ่งท่ีทาให้ผู้แสดงสวยงาม นอกจากนี้ยังสามารถใช้วิธีการ
แตง่ หนา้ เพอ่ื บอกวยั บอกลักษณะเฉพาะของตวั ละคร

กิจกรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๑๙

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๖. เคร่ืองดนตรีท่บี รรเลงประกอบการแสดง การแสดงนาฏศลิ ป์นาฏศลิ ป์จาเป้นอยา่ งย่ิงท่จี ะต้อง
ใช้เครอื่ งดนตรบี รรเลงประกอบการแสดง

๗. อปุ กรณป์ ระกอบการแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชดุ อาจตอ้ งมีอุปกรณ์
ประกอบการแสดงละครดว้ ย เช่นระบาพัด ฟ้อนเทยี น ฟ้อนเล็บ เปน็ ตน้
ประเภทของนาฏศลิ ป์ไทย

นาฏศิลป์ไทยแบ่งออกไดห้ ลายประเภท ดังน้ี
๑. ระบา หมายถึงศลิ ปะการราท่มี ีผ้แู สดงพร้อมกนั เป็นหมู่ ไม่ดาเนนิ เรื่องราว
๒. รา หมายถงึ การแสดงทา่ ทางเคลอ่ื นไหวรา่ งกายประกอบจงั หวะเพลงร้อง จะเปน็ การราเดย่ี ว

ราคู่ ราประกอบเพลง ราอาวุธ เช่น ราฉยุ ฉาย ราสนี วล เป็นตน้
๓. ฟอ้ น หมายถึง ระบาทม่ี ผี ูแ้ สดงพร้อมกนั เปน็ หมู่ เปน็ ศิลปะการร่ายราท่ีมีลีลาเฉพาะใน

ทอ้ งถ่นิ ลา้ นนา เช่น ฟอ้ นเมือง ฟ้อนมา่ นมยุ้ เชยี งตา ฟอ้ นสาวไหม เป็นต้น
๔. เซงิ้ หมายถึง การรอ้ งราทาเพลงแบบพืน้ เมืองอีสาน ลลี าและจังหวะการร่ายราจะรวดเร็ว

การแต่งกาย แต่งแบบพืน้ เมืองของชาวอสี าน เชน่ เซง้ิ สวิง เซ้ิงกระต๊บิ ข้าว เซิง้ โปงลาง
๕. ละคร หมายถึง มหรสพอย่างหน่งึ ท่ีแสดงเปน็ เรอ่ื งราว โดยนาภาพจากประสบการณ์และ

จนิ ตนาการของมนุษยม์ าผกู เป็นเร่อื งราว
๖. โขน หมายถึง ศลิ ปะการแสดงของไทยรูปแบบหนงึ่ อากัปกิริยาของตวั ละครจะมีท้งั การรา

และการเต้นที่ออกทา่ ทางเข้ากับดนตรี

๒๒๐ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรบัูรคณรผู าูส กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรูผูสอน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๒๑๖

ใบความรู้สาหรับครูและนกั เรยี นที่ ๒

การแสดงทา่ ทางรา่ ยราประกอบเพลงฟอ้ นเง้ียว
เสียงดนตรี
กา้ วทา้ วซา้ ย ขวา ซา้ ย กระโดดขาเดียวจนจบดนตรีท่อนแรก

ก้าวเทา้ ซ้าย ขวา ซา้ ย กระโดด
ขออวยชัย

ยกมือทงั้ สอง ฝ่ามือหงายแบข้นึ สูงระดบั หน้าผาก
ใหม้ อื ซา้ ยสงู กว่ามือขวาเลก็ น้อย

ก้าวเท้าซ้าย ขวา ซา้ ย ( ก้าวไปขา้ งหน้า )
พุทธิไกร ช่วยก๊า

มอื ซ้ายเท้าเอว มือขวาจีบเข้าหาตัวระดบั อกแล้วคลาย
จบี ชา้ ๆ ยกมอื สูงข้ึนหงายมือ ปลายนวิ้ ชอ้ี อกสูงระดบั หน้าผาก

ก้าวเท้าขวา ซา้ ย ขวา ( ถอยหลงั )
พระคณุ เลศิ ล้า

มอื ขวาเท้าเอว มือซา้ ยจีบระดบั อก แลว้ คลายออกช้า ๆ
จนเป็นลกั ษณะหงายมือ โดยปาดมือออกจากขวาไปซา้ ย

ก้าวเทา้ ซ้าย ขวา ซา้ ย ( ก้าวไปข้างหนา้ )

ไปทกุ ทัว่ ตัวตน
มอื ซา้ ยเท้าเอว มือขวาชี้จากซ้ายไปขวา เอยี งศีรษะด้านซ้าย

กา้ วเท้าขวา ซา้ ย ขวา ( ถอยหลงั )

กิจกรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ้นัหรปบั รคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๒๑

หนว ยการเรียนรูท ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

จงไดร้ บั
ยกมือทั้งสอง ฝา่ มอื หงายแบขน้ึ สงู ระดบั หนา้ ผาก
ใหม้ อื ซา้ ยสงู กว่ามือขวาเลก็ น้อย

กา้ วเท้าซ้าย ขวา ซา้ ย (กา้ วไปข้างหน้า)
สรรพม่งิ มงคล

มือซา้ ยเทา้ เอว มอื ขวายกสูงระดับหนา้ ผาก มือแบปลายนิ้วตงั้ ขน้ึ

ก้าวเท้าซ้าย ขวา ซา้ ย ( ถอยหลงั )
นาทา่ นนา

พนมมืออย่รู ะหวา่ งอก

กา้ วเท้าซา้ ย ขวา ซา้ ย (กา้ วไปขา้ งหนา้ )

ขอเทวาชว่ ยรกั ษาเถดิ
ยกมือที่พนมอยู่ขึน้ จรดหนา้ ผาก เงยหน้าเล็กน้อย
แล้วลดมอื ที่พนมอยูน่ น้ั ลงมาระหว่างอก กม้ หนา้ ตามเลก็ น้อย

ก้าวเทา้ ซา้ ย ขวา ซา้ ย (ก้าวไปข้างหนา้ )

ขอฮื้ออยสู่ ุขา
จีบสองมือระหว่างอก แลว้ คลายมอื จบี ออก
แขนตึงระดบั ไหล่

ก้าวเทา้ ขวา ซา้ ย ขวา (ก้าวไปข้างหน้า)

๒๒๒ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสาํุม หบรับูรคณรผู าูส กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๒๑๘

โดยธรรมานุภาพ
มือซ้ายเท้าเอว มือขวายกสูงระดบั หน้าผาก
มอื แบปลายน้วิ ตงั้ ขึ้น

ก้าวเท้าซ้าย ขวา ซา้ ย ( ถอยหลงั )
เทพดาช่วยเฮา

มอื ขวาเท้าเอว มือซา้ ยจบี ที่หนา้ อก เอียงขวา

กา้ วซา้ ย ขวา ซา้ ย (กา้ วไปข้างหน้า)
ถอื เปน็ มง่ิ มงคล

มือซ้ายเท้าเอว มือขวายกสงู ระดับหน้าผาก
มือแบปลายนว้ิ ต้งั ข้นึ

ก้าวท้าวขวา ซา้ ย ขวา ( ถอยหลัง )
สงั ฆานุภาพเจ้า

มอื พนมไว้ในท่าไหว้อยูข่ ้างศรี ษะด้านซ้าย เอยี งซา้ ย

ก้าวเทา้ ซ้าย ขวา ซา้ ย ( ก้าวไปขา้ งหน้า )
ช่วยแนะนาผล

มอื ขวาเท้าเอว มอื ซ้ายช้จี ากขวาไปซา้ ยเอยี งขวา

กา้ วเทา้ ขวา ซา้ ย ขวา ( ถอยหลัง )

กิจกรรมการเรยี นรูก ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชํา้นัหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๒๓

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

สรรพมิง่ ท่วั ไปเนอ
ซ้อนมือควา่ ลงข้างหนา้ ระหว่างอก แลว้ หงายมือแบออกไปขา้ งตัวอยู่
ระดับเอวงอศอกเล็กน้อย

กา้ วเทา้ ซา้ ย ขวา ซา้ ย (กา้ วไปขา้ งหนา้ )

มงคล
มอื ซ้ายเทา้ เอว มอื ขวายกสงู ระดบั หน้าผาก
มือแบปลายน้วิ ตั้งข้ึน

กา้ วเทา้ ขวา ซา้ ย ขวา ( ถอยหลัง )

เทพดาทกุ แหง่ หน
มือขวาเทา้ เอว มือซ้ายชี้ออกจากขวาไปซ้าย
เอยี งขวา

กา้ วเทา้ ซา้ ย ขวา ซา้ ย (ก้าวไปข้างหนา้ )

ขอบันดลช่วยคา้ จ่ิม
มอื ซ้ายเทา้ เอว มอื ขวาจบี คว่าอยู่ระหว่างหน้าผาก

กา้ วเท้าขวา ซา้ ย ขวา ( ถอยหลัง )

มง แซะ มง แซะ แซะ มง ตะลุ่ม ตมุ้ มง
ยืนอย่กู นั ทเ่ี ทา้ ชดิ กนั บดิ สะโพก ซา้ ย – ขวา
สลบั กันตามจังหวะ ซา้ ย ขวา ทก่ี าหนดให้ขา้ งลา่ ง

กา้ วเทา้ ซ้าย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา ซา้ ย ขวา

๒๒๔ ชดุ กกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสําุมหบรับรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราับกาครรูผูสอน) ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

๒๒๐

แบบสังเกตพฤติกรรมการเคลอ่ื นไหวตามจังหวะ

วันท่ี......เดอื น..................... พ.ศ. ...........ครั้งท่ี ........ปีการศึกษา........................

รายการ ระดับคุณภาพ
๒๑๐
๑. การเลือกจังหวะและท่าทาง
๒. การเคล่ือนไหวที่สวยงามและเหมาะสม
๓. การรจู้ กั แก้ไขข้อบกพร่องดว้ ยตนเอง
๔. ความพร้อมเพรียงในกลุม่
๕. ความคล่องแคล่วในการแสดงออก
๖. ความมน่ั ใจในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
๗. ความตั้งใจในการปฏบิ ัติกิจกรรม
๘. ความย้มิ แย้มแจม่ ใสในการปฏิบตั กิ ิจกรรม

ระดบั คุณภาพ ๒ = ดมี าก , ๑ = พอใช้, ๐ = ตอ้ งปรบั ปรุง

(ลงชือ่ )……………….....................…………ผู้ประเมิน

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกผูารูส เรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณาี่ ก๖าร ๒๒๕

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบสังเกตพฤตกิ รรม

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป์

เร่ือง หลักและองค์ประกอบทางนาฏศิลปแ์ ละการละคร

รายการ ๔ คา่ คะแนน ๑
ประเมิน มีความสนใจ ๓๒ ไมก่ ล้าแสดงออก
กลา้ แสดงออก การแสดงออกและ ท่าทางมนั่ ใจแต่ ท่าทางเคอะเขิน
พร้อมที่จะแสดง ขาดความพรอ้ ม ไมม่ นั่ ใจ ร่วมปฏบิ ัตงิ านเปน็
ความร่วมมือ ทนั ที ในการแสดง บางคร้งั
การรว่ ม
กิจกรรม ทมุ่ เทกาลงั กาย รว่ มคิดและรว่ ม ร่วมปฏบิ ัตงิ าน ขาดความเชอื่ มั่นใน
กาลงั ใจ อย่างเตม็ ปฏบิ ตั ิงานแตไ่ ม่ ตามคาสงั่ ของ การแสดงออก
ความเชือ่ มนั่ ใน ความสามารถใน ร่วมแกป้ ญั หา กลมุ่ ไม่มคี วามสนุกสนาน
ตนเอง การปฏิบตั งิ านจน ในการทางาน และชน่ื ชมในการ
ประสบความสาเรจ็ ปฏิบัตกิ ิจกรรม
ความ และรว่ มรบั ผดิ ชอบ มีความเชอื่ มน่ั มคี วามตงั้ ใจและ
สนกุ สนาน ต่อความผดิ พลาด ในการ มีความพยายาม
เพลิดเพลิน ทีเ่ กิดขึน้ แสดงออก ในการแสดงออก
และชน่ื ชม มคี วาม มีความ
ปฏิบตั กิ ิจกรรม มีความเชอ่ื มัน่ และ สนกุ สนาน สนกุ สนานและ
ตง้ั ใจในการแสดง เพลดิ เพลินและ ชื่นชมใน
อยา่ งเตม็ ที่ ชน่ื ชมในการ การปฏบิ ตั ิ
ปฏิบตั กิ จิ กรรม กจิ กรรมเปน็
มีความสนกุ สนาน
เพลิดเพลนิ และ บางครง้ั
ชน่ื ชมในการปฏบิ ัติ
กิจกรรมอย่างเตม็ ที่

๒๒๖ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสํามุ หบรบัรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรูผสู อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรูท ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๒๒๒

รายการ ค่าคะแนน
ประเมิน
๔ ๓๒ ๑
ปรับปรุงแกไ้ ข มีความพรอ้ มและ ปรับปรงุ แกไ้ ข
สามารถปรบั ปรงุ สามารถ สามารถปรบั ปรงุ ตนเองได้บางครงั้
แกไ้ ขตนเองได้ และใชเ้ วลานาน
ทันท่วงทีละถูกตอ้ ง ปรบั ปรุงแกไ้ ข แกไ้ ขตนเองได้

ตนเองได้ บางครั้ง

เกณฑ์การประเมนิ
๔ คะแนน ดีมาก

๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้

๑ คะแนน ปรบั ปรงุ
นักเรยี นท่ีไดค้ ะแนน ๑๔ คะแนนขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมนิ

ระดบั คุณภาพ

คะแนน ๑๕-๒๐ ระดบั ๔ หมายถึง ดีมาก

คะแนน ๑๑-๑๔ ระดบั ๓ หมายถงึ ดี

คะแนน ๖-๑๐ ระดบั ๒ หมายถึง พอใช้

คะแนน ๑-๕ ระดบั ๑ หมายถงึ ปรับปรงุ

นักเรยี นตอ้ งไดร้ ะดบั ดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์การประเมนิ

กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๒๒๗

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

เกณฑ์การประเมนิ แบบประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมของนักเรียน

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป์

เร่ือง หลักและองคป์ ระกอบทางนาฏศิลปแ์ ละการละคร

รายการประเมิน ค่าคะแนน

๔ ๓๒ ๑
ปฏิบัตทิ ่าราบาง
๑.การปฏิบตั ทิ า่ ปฏบิ ตั ทิ ่าราตาม ปฏิบตั ิทา่ ราบาง ปฏบิ ัติทา่ ราบาง ท่าตามที่
กาหนดให้
ตามทก่ี าหนดให้ ทก่ี าหนดใหไ้ ด้ ทา่ ตามที่ ท่าตามท่ี ไมถ่ กู ตอ้ งและ
ไมส่ วยงาม
ถูกตอ้ งและ กาหนดใหไ้ ด้ กาหนดใหไ้ ด้

สวยงาม ถกู ตอ้ งและ ถูกตอ้ งแตไ่ ม่

สวยงาม สวยงาม

๒.ความตงั้ ใจใน มคี วามตงั้ ใจและ มีความตง้ั ใจและ มคี วามตงั้ ใจและ ไมม่ ีความตง้ั ใจ
การฝึกปฏบิ ัติ สนใจในการฝกึ และสนใจใน
สนใจในการฝกึ สนใจในการฝกึ ปฏิบตั กิ จิ กรรม การฝกึ ปฏิบตั ิ
๓.ความ บางครงั้ กจิ กรรมตา่ ง ๆ
สนุกสนาน ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ปฏบิ ัติกจิ กรรมดี ไม่มีความ
เพลดิ เพลิน มคี วาม กระตือรือร้นใน
กล้าแสดงออก ดมี าก กระตือรือร้นใน การฝกึ ปฏิบัติ
การฝกึ ปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ
๔.การใหค้ วาม มคี วาม มีความ กิจกรรมเพียง
ร่วมมอื ภายใน บางครงั้ สมาชิกในกลุม่
กลุ่มของตน กระตอื รือร้นใน กระตือรอื ร้นใน ไมม่ ีความสนใจ
สมาชกิ ใหค้ วาม และไม่เขา้ รว่ ม
การฝกึ ปฏบิ ัติ การฝกึ ปฏบิ ตั ิ สนใจและเขา้ รว่ ม กิจกรรมของกล่มุ
กิจกรรมของกลุ่ม
กิจกรรม กจิ กรรมดี เป็นบางครงั้

ดมี าก

สมาชกิ ใหค้ วาม สมาชิกใหค้ วาม

สนใจและเข้า สนใจและเขา้ ร่วม

รว่ มกจิ กรรมของ กิจกรรมของกลมุ่

กลุม่ ดี

ดมี าก

๒๒๘ ชุดกกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูกู (ลสํามุ หบรับรู คณรผู าสู กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู ูสอน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๒๒๔

เกณฑก์ ารประเมิน
๔ คะแนน ปฏบิ ัตไิ ดด้ มี าก
๓ คะแนน ปฏิบัตไิ ดด้ ี
๒ คะแนน ปฏิบัตไิ ด้พอใช้
๑ คะแนน ปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ต่ควรปรบั ปรุง

นกั เรียนทไี่ ดค้ ะแนน ๑๒ คะแนนข้ึนไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ
ระดบั คณุ ภาพ

คะแนน ๑๒-๑๖ ระดบั ๔ หมายถึง ดมี าก
คะแนน ๙-๑๑ ระดบั ๓ หมายถงึ ดี
คะแนน ๕-๖ ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๔ ระดบั ๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ
นักเรียนตอ้ งได้ระดบั ดี ข้ึนไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชําั้นหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๒๙

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของนักเรยี น

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป์

เรอ่ื ง หลกั และองคป์ ระกอบทางนาฏศิลปแ์ ละการละคร

กลมุ่ ท.่ี ............................ชนั้ .........................................
คาชแ้ี จง ครูประเมนิ ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของนักเรยี น ตามรายการตอ่ ไปน้ี

ท่ี รายการ ผลการสังเกต หมายเหตุ
๔๓๒๑
๑ การปฏิบตั ทิ ่านาฏยศพั ทต์ ามทีก่ าหนดให้
๒ ความตั้งใจในการปฏิบตั กิ ิจกรรม
๓ มีความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ
๔ การให้ความรว่ มมือในกลมุ่ ตนเอง

รวม

เกณฑก์ ารประเมิน
๔ คะแนน ปฏบิ ัตไิ ดด้ มี าก
๓ คะแนน ปฏบิ ัติไดด้ ี
๒ คะแนน ปฏบิ ตั ิได้พอใช้
๑ คะแนน ปฏบิ ัติไดแ้ ตค่ วรปรบั ปรงุ

นกั เรียนไดค้ ะแนน ๑๒ คะแนนขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

(ลงชื่อ).......................................ผปู้ ระเมนิ

๒๓๐ ชุดกกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสําุมหบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรูผูสอน) ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

๒๒๖

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏิบัตกิ ิจกรรม

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป์

หนอ่ ยยอ่ ยที่ ๓ หลักและองค์ประกอบทางนาฏศิลปแ์ ละการละคร

คุณธรรม/จรยิ ธรรม ผลการ

เลขท่ี ช่ือ-สกุล ทีป่ ระเมิน รวม ประเมิน

๑ ๒ ๓ ๔ ๕๖ ผ มผ



















๑๐

๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ................................................................................................................................

............................................................................................................................. ........................................

ขอ้ ประเมนิ
๑ ใฝ่รู้ สร้างสรรค์ ๒. กระตอื รือรน้ ในการทากจิ กรรม กล้าแสดงออกหรือแสดงความคดิ เหน็

๓. ปฏิบัติงานตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

เกณฑก์ ารให้คะแนน ดี ได้ ๓ คะแนน ปานกลาง ให้ ๒ คะแนน
ควรปรบั ปรุง ให้ ๑ คะแนน
เกณฑก์ ารตัดสนิ ผ่าน : ได้ ๗๕% หรอื ๗ คะแนน

กิจกรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ั้นหรปับรคะรผูถูสมอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๒๓๑

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรียศลิ ป ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

เกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรมการปฏิบัตกิ จิ กรรม

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป์
หน่อยยอ่ ยท่ี ๓ หลักและองคป์ ระกอบทางนาฏศิลป์และการละคร

------------------------------------------------
๑. ใฝ่รู้ - สร้างสรรค์

๓ หมายถึง มคี วามต้ังใจ เอาใจใสใ่ นการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม กลา้ ซักถาม
๒ หมายถงึ มีความตง้ั ใจ เอาใจใส่ในการปฏบิ ัติกิจกรรม กล้าซักถามเป็นบางครง้ั
๑ หมายถึง ไม่มีความตง้ั ใจ ไม่ซักถาม
๒. กระตอื รือร้นในการทากจิ กรรม กล้าแสดงออกหรือแสดงความคิดเห็น
๓ หมายถึง กระตือรือรน้ ในปฏบิ ตั กิ จิ กรรม กลา้ ซกั ถาม
๒ หมายถึง กระตือรอื รน้ ในการปฏิบตั กิ ิจกรรมบา้ ง กลา้ ซักถาม
๑ หมายถึง ไม่กระตือรือรน้ เท่าทค่ี วร ไม่ซกั ถาม
๓. ปฏบิ ัตงิ านตามที่ได้รับมอบหมาย
๓ หมายถึง ปฏบิ ตั ิหน้าทท่ี ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
๒ หมายถึง ปฏิบัติหนา้ ท่แี ต่ใหผ้ ู้อ่นื ช่วย
๑ หมายถงึ ไมป่ ฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีเทา่ ท่ีควร รบกวนเพอื่ น

---------------------------------------------------------

๒๓๒ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสําุม หบรับูรคณรูผาูส กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรูผสู อน) ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

คาช้แี จงประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้

แผนการเรียนรู้ที่ ๖ เร่ือง นาฏศลิ ป์และการละคร เวลา ๒ ชว่ั โมง
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. สาระสาคัญของแผน
นาฏศิลป์เปน็ การแสดงการฟอ้ นราทส่ี วยงาม ถูกต้องตามแบบแผนของกรมศิลปากร ภาษาทา่ และ

นาฏยศัพท์ ส่วนการละคร เปน็ การแสดงออกทมี่ ลี กั ษณะเป็นเรอ่ื งราว ซงึ่ การแสดงละครไทยจะเป็นการใชภ้ าษา

ทา่ ทางท่สี วยงามอยา่ งออ่ นชอ้ ย ดงั น้นั ภาษาทา่ จงึ มคี วามสาคญั มากในการแสดงนาฏศิลปแ์ ละ

ละครไทย

๒. ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติมในการนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใชจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นรู้
๒.๑ ครคู วรศึกษาแผนการจดั การเรยี นรู้ ส่อื และใบงานให้เขา้ ใจอย่างละเอียดก่อนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

๒.๒ ครูควรเตรียมใบงานให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน

๒.๓ ครอู ธบิ ายความหมายของนาฏศิลป์และการละคร ใหน้ ักเรียนเข้าใจ

กิจกรรมการเรยี นรู้
ครูแบ่งนกั เรยี นเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๖ คน แล้วให้แตล่ ะกลมุ่ แสดงท่าราประกอบเพลง ระบาไก่

ครูสาธิตการราประกอบเพลงระบาไก่ ใหน้ ักเรยี นดแู ละฝึกปฏบิ ตั ติ ามไปพรอ้ มๆ กบั ครู โดยเนน้ ให้นกั เรียน

แสดงท่าใหส้ วยงาม และพรอ้ มเพรยี งกัน

ใบกิจกรรมท่ี ๐๑ การปฏิบัตทิ ่าราเพลงระบาไก่

ครูและนกั เรียนคัดเลือกกลมุ่ ทีแ่ สดงได้ดี ชุด ระบาไก่ ออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรียน
๑. การเตรียมสอื่ /วสั ดอุ ุปกรณ์

- รปู ภาพหรือวีดที ัศนก์ ารแสดงละครพันทาง เร่ืองพระลอ
- แผนภมู ิเพลง เพลงนกขมน้ิ

- เครอ่ื งบันทกึ เสียง
- แถบบันทึกเสยี ง
- เครอื่ งกากับจังหวะ

๒. ใบงาน/ใบความรู้
- ศึกษาใบความรู้

- ใบงาน ๐๑

- ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ประจาหนว่ ยท่ี ๓
๓. การวดั และประเมินผล

๑. ประเมินความรเู้ รอื่ งประวตั แิ ละความเปน็ มาของเพลงระบาไก่ และบอกวามสัมพนั ธน์ าฏศลิ ป์และการ

ละคร

๒. ประเมินทักษะการร้องและเคาะจังหวะ และการแสดงท่าทางร่ายรา ประกอบเพลงระบาไก่ เพลง

นกขมิ้น
๓. ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ใฝ่รู้ และสรา้ งสรรคใ์ นการทากจิ กรรม กลา้ แสดงออกหรอื แสดง

ความคิดเห็นปฏิบัตงิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุม บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๓๓

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๒๓๔ ชหุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเรจิมียกนกรรราูทมรี่ก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสิลาํมุปหบชรับ้ันูรปคณรรผูะาสูถกอมานศกึ)รษก(ลาสปุม ทบำี่รูห๖ณรา(ฉบักบาคับรรปผูรับสู ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ แนวทางการจัดการเรียนรูบ้ ูรณาการ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๘ สนุ ทรียศิลป์ : หน่วยย่อยท่ี ๓ ลีลาศลิ ปไ์ ทย: แผนการเรียนรู้ที่ ๖ เรือ่ ง นาฏศิลปแ์ ละการละคร
บูรณาการกล่มุ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ สขุ พลศกึ ษาและพลศึกษา สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม และภาษาไทย เวลา ๒ ชว่ั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

แนวการจดั กิจกรรม กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นา
๑. ครเู ปดิ วีดทิ ัศนก์ ารแสดงละครพนั ทาง เรือ่ งพระลอ ตอนปู่เจา้ เรียกไก่ ครถู ามนักเรียนเม่ือชมการแสดงจบ
ขั้นสอน ๒. ครูเปิดแถบบันทึกเสยี ง และให้นักเรียนดูภาพการแสดงละครพันทางการประกอบเพลงระบาไกท่ คี่ รนู ามาเป็นสื่อและยกใหด้ ู
ขนั้ สรุป
วัดและประเมินผล ๓. ครูแบ่งนกั เรยี นเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๖ คน แลว้ ให้แต่ละกล่มุ แสดงท่าราประกอบเพลง ระบาไก่
๔. ครสู าธติ การราประกอบเพลงระบาไก่ ใหน้ กั เรียนดูและฝึกปฏิบตั ติ ามไปพร้อมๆ กบั ครู โดยเน้นใหน้ ักเรยี นแสดงทา่ ให้
สวยงาม และพร้อมเพรียงกัน
๕. ปฏบิ ตั ิตามใบกิจกรรมที่ ๐๓ การปฏบิ ตั ทิ า่ ราเพลงระบาไก่
๖. ครูและนกั เรียนคัดเลือกกล่มุ ทแ่ี สดงไดด้ ี ชดุ ระบาไก่ ออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรียน
๗. ครูสรุปใหน้ กั เรยี นฟังว่า ละคร เปน็ การแสดงท่มี ีลักษณะเป็นเรอ่ื งราว

๑. ประเมนิ ความรู้เร่ืองประวัติและความเปน็ มาของเพลงระบาไก่ และบอกวามสัมพนั ธ์นาฏศิลป์และการละคร
๒. ประเมินทกั ษะการร้องและเคาะจงั หวะ และการแสดงทา่ ทางร่ายรา ประกอบเพลงระบาไก่ เพลงนกขมน้ิ
๓. ประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ใฝร่ ู้ และสรา้ งสรรค์ในการทากจิ กรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคดิ เห็นปฏิบัตงิ านตามท่ี
ได้รบั มอบหมาย

แผนจดั แกผานรจเรัดียกนารูบเรรูยี ณนราบู้กูราณร าหกานรวยหกนาว่รยเรกียานรเรรูท ีย่ี น๘รู้ทสีุ่น๘ทสรนุียศทิลรยีปศ :ิลหป์น:ว หยนยว่ อยยยท่อี่ย๓ท่ี ๓ลลี าลศีลิลาศปิลไ ทป์ไยท:ยแ:ผแนผกนากราเรเยี รนียรนทู รทีู่้ ๖่ี ๖เรเือ่รือ่งง นนาาฏฏศศลิ ิลปปแ แ์ ลละะกการละคร
บรู ณากบาูรรณกาลกุมาสรากรละุ่มกสาารรเะรกียานรรเศูรยีลิ นประศู้ ลิ สปุขะพลสศุขกึพษลาศแึกลษะาพแลละศพึกลษศากึ ษสาังคสมงั ศคึกมษศาึกศษาาสศนาสาแนลาแะลวะัฒวนฒั ธนรธรรมรมเวเลวาลา๒๒ชัว่ชโ่ัวมโมงง ชช้นั น้ั ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปที ่ี ๖

ขอบเขตเน้ือหา ขั้นนา ส่ือ / แหล่งเรียนรู้
๑. ครชู ้ีแจงตวั ชีว้ ดั ชนั้ ปี และจุดประสงค์ให้นกั เรยี นทราบ ๑. รูปภาพหรอื วีดทิ ศั นก์ ารแสดงละครพนั ทาง เรอ่ื ง
- บทบาทของนาฏศิลป์และการละคร ๒. ครเู ปิดวดี ทิ ศั น์การแสดงละครพันทาง เร่อื ง พระลอ ตอนปเู่ จ้าเรียกไก่ ครถู ามนักเรยี นเม่อื ชมการแสดงจบ พระลอ
เปน็ กิจกรรมที่ปรากฏอย่ใู นสังคม ๒. แผนภมู ิเพลง เพลงนกขมน้ิ
มีความสมั พนั ธก์ บั ชีวติ ประจาวัน ๑. การแสดงทน่ี กั เรียนไดช้ มเปน็ การแสดงประเภทใด ๒. เครอื่ งบันทกึ เสียง
๒. นกั เรยี นเคยได้ชมหรอื ฟงั เพลงและเห็นการร่ายราอยา่ งนไ้ี หม เห็นที่ไหน ๓. แถบบนั ทกึ เสยี ง
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓. ครูสนทนากับนักเรียนเกยี่ วกบั การนาภาษาทา่ และนาฏยศพั ทท์ ี่เรยี นมาใช้ประกอบ ซึ่งนกั เรยี นได้ฝกึ ปฏบิ ตั มิ าแลว้ ใน ๔. เครอ่ื งกากับจังหวะ
ความรู้ ภาระงาน / ชิ้นงาน
๑. บอกประวตั แิ ละความเป็นมาของ วันนี้นักเรยี นจะไดเ้ รียนรู้และฝกึ นาภาษาทา่ และนาฏยศพั ท์มาใชป้ ระกอบในการ แสดงละคร ๑. ศกึ ษาใบความรู้
เพลงระบาไก่ ๒. ใบงาน ๐๑
๒. บอกความสมั พนั ธน์ าฏศลิ ป์และการ ขัน้ สอน ๓. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ประจาหน่วยท่ี ๓
ละคร
ทกั ษะ ๔. ครใู หน้ กั เรียนศึกษาใบความรู้ เร่อื ง ความสัมพนั ธ์ของละครกับชีวิตมนุษย์ และให้นักเรยี นตอบคาถาม การวดั และประเมนิ ผล
๑. ร้องและเคาะจงั หวะประกอบเพลง ๑. ประเมนิ ความรู้เร่ืองประวตั ิและความเป็นมาของ
ระบาไก่ ๑. นาฏศลิ ปแ์ ละการละครมคี วามสัมพันธก์ บั ชีวติ มนษุ ยอ์ ยา่ งไร เพลงระบาไก่ และบอกวามสัมพันธน์ าฏศิลปแ์ ละการ
๒. แสดงทา่ ทางการร่ายราประกอบเพลง ละคร
ระบาไก่ ๕. ครใู ห้นักเรียนฝกึ ขบั ร้องเพลงตามแผนภูมิเพลง โดยฟังจากแถบบันทกึ เสยี ง เพลงระบาไก่ ร้องตามครูทีละวรรคจนจบ ๒. ประเมนิ ทักษะการรอ้ งและเคาะจงั หวะ และการ
คณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึง เพลง แสดงทา่ ทางรา่ ยรา ประกอบเพลงระบาไก่ เพลงนก
ประสงค์ ๖. ครสู าธิตการราประกอบเพลงระบาไก่ ใหน้ กั เรยี นดูและฝึกปฏบิ ัติตามไปพรอ้ มๆ กบั ครู โดยเน้นใหน้ กั เรียนแสดงทา่ ให้ ขมน้ิ
๑. ใฝร่ ู้ และสร้างสรรค์ ๓. ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ใฝร่ ู้ และ
๒. กระตอื รอื ร้นในการทากจิ กรรม สวยงาม และพรอ้ มเพรียงกัน สรา้ งสรรค์ในการทากจิ กรรม กล้าแสดงออกหรือ
กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคดิ เหน็ แสดงความคดิ เหน็ ปฏิบัตงิ านตามท่ไี ด้รับมอบหมาย
๓. ปฏิบัติงานตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ๗. ครแู บง่ นกั เรยี นเปน็ กล่มุ กลุม่ ละ ๖ คน แลว้ ให้แต่ละกลุ่มแสดงท่าราประกอบ เพลงระบาไก่ วธิ กี าร
๑. สนทนาซักถามโดยครู
๘. แต่ละกลมุ่ รบั ใบงาน เพอื่ ปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนในใบงาน แลว้ นาเสนอผลการปฏบิ ัติต่อหนา้ ชัน้ เรียน ๒. ตรวจแบบทดสอบ
๓. สงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรม
๙. ครแู ละนกั เรียนคัดเลือกกล่มุ ที่แสดงเพลงระบโาคไกร่ไงด้ดสี รอ้อากงมหานนา่วเสยนกอาหรนเา้ รชียนั้ เนรียรนู้ป ๑-๓ เครอ่ื งมอื
๑. ใบงาน ๐๑-๐๓
ข้ันสรปุ ๒. แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๑๐. ครสู รปุ ให้นักเรียนฟังวา่ ละคร เปน็ การแสดงที่มีลักษณะเป็นเรอ่ื งราว โดยนาเสนอในรปู แบบทแ่ี ตกต่างกันไป ซ่ึงการ
แสดงละครไทย จะเป็นการใช้ภาษาทา่ ทางทสี่ วยงามออ่ นชอ้ ย ดงั นน้ั ภาษาทา่ จึงมีความสาคญั มากในการแสดงละคร ๔. แบบทดสอบหลังเรยี น
ไทย เพราะนอกจากความสวยงามแลว้ ยงั สามารถส่ือความหมายและเรอ่ื งราวของการแสดงให้ ผู้ชมเขา้ ใจ และได้รับความ
สนุกสนานเพลดิ เพลินอีกดว้ ย
๒๒๙
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหูรนณวยากการาชเรดุรียกน(ารสรทูจำี่ัด๘หกิจสรกนุับรทรครมยีรกศูผาิลรสู ปเรอ ียชนนัน้ รป)ู ร(สชะาํถน้ัหมรปศับึกรคษะราูผถปสู มท อ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปูรรทณับา่ีปก๖รางุ ร) ๒๓๕
เกณฑ์การประเมนิ
ผ่านเกณฑต์ ามทก่ี าหนด

บ ๘.๓/ผ ๖-๐๑

ใบงานท่ี ๐๑

เรอ่ื ง การแสดงระบาไก่

------------------------------------------------------------------------------------------------
คาชแ้ี จง นักเรียนแบง่ เป็นกล่มุ ๆ ละ๖ คนปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ดังนี้

๑. ศึกษาใบความรู้ เร่ือง ระบาไก่
๒. ฝึกปฏบิ ตั ิท่าราระบาไก่ ทา่ ราท่ี ๑ – ๓๑ จากใบความรู้
๓. แต่ละกลุม่ รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั ข้อบกพร่องและควรปรบั ปรงุ แก้ไข

ขอ้ บกพร่องที่พบในกลมุ่ ของตนเอง
๔. แต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าขน้ึ เรียน

๒๓๖ ชุดกกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสําุม หบรับูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู ูส อน) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรียศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๒๓๑

ใบความรู้สาหรบั ครแู ละนักเรยี นที่ ๑

ความสัมพนั ธข์ องละครกับชีวิตมนุษย์

ละครเปน็ ศิลปะที่สะท้อนกับชีวติ โดยอาศัยส่ือต่าง ๆ ในการนาเสนอภาพเร่ืองราวของชวี ติ ฉะนัน้
“มนุษย์" คือ สาระอย่างหนง่ึ ของละคร ศลิ ปะการละครเป็นการแสดงอย่างหนง่ึ ของมนุษย์ทีม่ นุษย์
นาประสบการณ์ของชีวติ จรงิ บวกกบั จินตนาการสรา้ งสรรค์ใหเ้ ป็นเรื่องขึน้ มา แล้วถ่ายทอดเป็นการแสดง
ในรปู แบบตา่ งๆ โดยมีนักแสดงเป็นผู้ถา่ ยทอดเร่ืองราวความรู้สกึ อืน่ ๆ ต่อผู้ชม ท้ังน้ีเพื่อสร้างความบนั เทิง
ความประทับใจ หรือจะมวี ัตถุประสงค์อ่ืนนอกเหนอื จากที่กลา่ วมากไ็ ด้ ซ่งึ เราสามารถสรุปความสัมพันธ์ของ
ละครกบั ชีวติ มนุษย์ได้ ดังน้ี
ละครช่วยตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์
ศิลปะการละคร มจี ุดมงุ่ หมายเพือ่ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ๓ ระดบั ดังนี้
๑. อารมณ์ ละครทกุ รปู แบบมีจดุ ม่งุ หมาย ให้ความบนั เทิงแกม่ นุษย์ได้ผอ่ นคลายความเครียดหรอื บางครั้ง
กก็ ระตุ้นอารมณ์ ให้เกิดความร้สู ึกเกดิ ตื่นเต้น ทาใหม้ นุษย์มีความสขุ กระตือรือรน้ ในการดาเนินชวี ติ

๒. สมอง ให้คณุ ค่าทางสติปัญญา โดยการดลู ะครแลว้ กลบั มาพจิ ารณาปัญหาต่างๆ เกีย่ วกับตนอง เกี่ยวกับ
มนุษย์ชาติและเกย่ี วกบั สังคมร่วม

๓. จติ ใจ ความสัมพนั ธ์ของศิลปะการละครกบั จิตใจของมนุษย์มีมาแต่โบราณ จะเห็นได้ว่าการละครตะวันออก
และตะวนั ตก ลว้ นถอื กาเนิดมาจากพิธบี วงสรวงเทพเจา้ เพื่อขอพร และใหเ้ ทพเจา้ บันดาลส่ิงต่างๆ ท่มี นุษย์
ปรารถนาหรือถ้าจะใหช้ ัดเจนยง่ิ ข้ึน กพ็ ิจารณาไดจ้ ากละครทีวี ท้งั น้เี พราะสิ่งทเ่ี กดิ ขน้ึ ในละครทวี ีมลี ักษณะ
เหมือนชวี ติ จรงิ ๆ ของมนุษย์ คอื เหตุการณ์เกิดขน้ึ มาแล้วก็ผ่านเลยไป ผูช้ มสามารถหยุดพกั เหมือนการอ่าน
หนังสอื หรือดโู ทรทัศน์ เช่น เมื่อรู้สึกเบ่ือกส็ ามารถปดิ หนังสอื หรอื โทรทัศน์ได้ แตผ่ ูช้ มละครจะต้องนงั่ อยูใ่ นโรง
ละคร เพ่ือร่วมร้เู หน็ การกระทาของตวั ละครจนจบเรอื่ ง จะให้ละครหยดุ พักการแสดงเมื่อเราไม่อยากชมและ
ถา้ จะชมต่อก็จะเริม่ แสดงตรงช่วงนน้ั ๆ ตอ่ เนือ่ งไปย่อมไมส่ ามารถจะกระทาได้ เพราะละครแมจ้ ะเป็นผแู้ สดง
ชุดเดียว บทเดียวกนั แต่ตา่ งช่วงเวลา การแสดงจะย่อมไมเ่ หมือนกันเสียทเี่ ดียวทั้งหมด ละครทีวที ่ีมีลักษณะ
เหมือนประสบการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ ในชีวิตจริงๆ

ดังนน้ั จึงกลา่ วได้วา่ ละครสามารถให้ได้ทั้งความบันเทิง กระต้นุ เร้าความคดิ ให้การศึกษา ให้ความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน สอนบทเรียน ใหค้ วามฝนั ทีค่ นดปู รารถนาและเปน็ เสมอื นโลกที่งดงาม ให้ผ้คู นหลีกหนี
จากชวี ติ ท่ีสบั สน ได้มาพักสมองผ่อนคลายความเครียดได้ช่ัวขณะหน่ึง

กจิ กรรมการเรียนรูกลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกผูารูส เรอยี นนร)ู (สชํานั้หรปบั รคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๒๓๗

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ใบความรู้สาหรบั ครูและนักเรยี นที่ ๒

ระบาไก่เปน็ ชุดการแสดงท่ีประดษิ ฐ์ข้ึนเพ่ือใชป้ ระกอบการแสดง ในละครพนั ทางเร่ืองพระลอ
บทพระราชนิพนธใ์ นพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระนราธปิ ประพันธพ์ งศ์ อนั เป็นวรรคคดีชนิ้ เอกเร่ืองหน่งึ
การแสดงระบาไก่ปรากฏอย่ใู นตอนทน่ี ยิ มเรียกกนั มั่วไปวา่ พระลอตามไก่ โดยมเี นือ้ เรื่องโดยยอ่ ดงั นี้

พระเพือ่ นพระแพง สองสาวงามแหง่ เมืองสรองได้ขอให้ปู่เจ้าสมิงพรายใช้เวทมนตรค์ าถานาพระลอ
กษตั รยิ ์แหง่ เมืองแมนสรวงใหม้ าหาตน ปเู่ จา้ จงึ ใชพ้ ระเวทยเ์ รยี กไกแ่ กว้ มา 1 ตวั แลว้ ใชใ้ หไ้ ปคอยรอวนเวยี น
อยู่บรเิ วณทพี่ ระลอกับพเ่ี ลี้ยงจะผา่ นมา

การแสดงของระบาชดุ น้ีจะถ่ายทอดใหเ้ ห็นถึงความงดงามของการร่ายราท่เี ลียนแบบอากัปกิรยิ า
ของไก่ ประกอบกับบทขับร้องและเพลงบรรเลงอย่างไพเราะ

เพลงลาวจ้อย

บทรอ้ งเพลงระบาไก่ (ปี่พาทย์ทานองเพลงลาวจ้อย) ทานองเพลง อ.มนตรี ปราโมท

สร้อยแสงแดงพระพราย ขนเขยี วลายระยบั

ปกี สลบั เบญจรงค์ เลอื่ มลายยงหงสบาท (ดนตรีรบั )

ขอบตาชาดพระพรง้ิ สิงคล้งิ หงอนพรายพรรณ

ขานขนั เสยี งเอาใจ เดอื ยหงอยใสสลี ายอง (ดนตรรี ับ)

สองเท้าเทียมนพมาศ ปานฉลชุ าดทารง (ดนตรรี บั )

ปกู่ ใ็ ช้ให้ผลี ง ผีก็ลงแกไ่ ก่ (ดนตรรี บั )

ไกแ่ ก้วไซรบ้ ่มิกลัว ขกุ ผกหัวองอาจ

ผาดผันตปี ีกปอ้ ง ร้องเรื่อยเฉ่ือยฉาดฉาน(ดนตรีรบั )

วงดนตรี ทใี่ ช้ประกอบด้วยการแสดงในระบาไก่ ไดแ้ ก่ วงป่ีพาทย์ไมน้ วมขนาดวงขน้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสม

ของโอกาสในการแสดง

ลักษณะการแต่งกายของการแสดงชดุ ระบาไก่

๑. เสอื้ คอกลมแบบผา่ หน้า ติดกระดุมแขนส้ัน ใช้เศษผ้าตัดเป็นรวิ้ แบบขนไก่เย็บตดิ รอบ ๆ ตวั เสอื้

ไกแ่ ก้วเป็นสีขาว ไก่บริวารเปน็ สตี ่าง ๆ เชน่ สีแดง สเี ขียว เปน็ ต้น กางเกงขายาวแบบสามสว่ น รดั ครึง่ น่อง

มีสีเดียวและลักษณะเหมือนกันกับเสื้อ หางทาด้วยกระดาษแข็งวาดเป็นลวดลาย หรืออาจปักให้สวยงาม

ดว้ ยดิน้ หรือเลื่อม

๒. กรองคอ ทาด้วยผา้ ตาดสเี หลืองทอง

๓. จนี้ าง ทาจากผา้ ตาดสเี หลืองทอง.จี้นาง ทาจากผา้ หรอื โลหะชบุ ทอง

๔. ข้อมือและข้อเท้า ทาจากผา้ ปักดนิ้ และเลื่อม

๕. ศรี ษะ ทาเป็นรปู หวั ไก่สวมเปิดหนา้ มกี ระบงั หน้าตดิ เปน็ กรอบใหส้ วยงาม

๒๓๘ ชุดกกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํุมหบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๒๓๓

โอกาสท่ใี ชใ้ นการแสดง
เดิมประดิษฐ์ขึ้นเพ่ือใช้ประกอบการแสดงละครพนั ทาง เรือ่ งพระลอในตอนทีเ่ รียกว่า พระลอตามไก่

ตอ่ เนือ่ งมาจากการแสดงชดุ นี้มีความสวยงามของท่ารา และความไพเราะของบทเพลง จึงนยิ มนามาแสดงให้
ไดช้ มกันโดยทวั่ ไป
ท่าออกระบาไก่ ดนตรีรบั

อธบิ ายทา่ รา : ผ้แู สดงตั้งวงบนมอื ขวา มือซา้ ยทชี่ ายพก เอียงขวา ยกขาซ้าย จากนั้นกา้ วเทา้ ซ้ายไป

ข้างหน้าตามดว้ ยเท้าขวา วางเทา้ ซา้ ยลงข้างหลังแลว้ ยกขาขวา พร้อมกับเปล่ียนเป็นมือซ้ายตงั้ วงบน มือขวา

จีบหงายทช่ี ายพก เอยี งซ้าย ปฏิบตั ทิ ่าราดงั กลา่ วสลับซา้ ยขวา จนกระท่งั หมดจังหวะ

๑. ทา่ ราบทรอ้ ง “สร้อยแสงแดง” ๒. ท่าราบทร้อง “พระพราย”

อธบิ ายท่ารา : ผู้แสดงก้าวเท้าขวาไขว้และ อธิบายท่ารา : ผแู้ สดงก้าวซ้ายไขว้และทาท่าสอด ทาทา่
สอดสรอ้ ยตัง้ วงขวาเอียงซ้าย สร้อยตงั้ วงซา้ ยเอียงขวา

๓. ท่าราบทร้อง “ขนเขยี วลาย” ๔. ท่าราบทร้อง “ระยับ”

อธิบายทา่ รา : ผู้แสดงจบี หงายท้ังสอง อธิบายท่ารา : ตง้ั วง กางออก ต้ังแขน กระดกเทา้
มือระดับอก

ต้งั วง กิจกรรมการเรียนรูกลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ นั้หรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๓๙

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

๕. ท่าราบทร้อง “ปีกสลบั ” ๖. ท่าราบทร้อง “เบญจรงค์”

อธิบายทา่ รา : ผ้แู สดงกา้ วหน้าดว้ ย เทา้ ขวา กระทุ้งเทา้ ซา้ ยแลว้ หนั ขวามือ มอื ท่ังจบี หงายด้านข้าง

นามาวางขา้ งหนา้ มว้ นมือจีบ ออกเป็นตัง้ งอแขนระดบั ไหล่ เอยี งขวา วงกลาง เอยี งซา้ ยหักข้อมือลงม้วน

มอื ขึ้น

๗. ท่าราบทร้อง “เลือ่ มลายยง” ๘. ทา่ ราบทร้อง “หงสบาท”

อธบิ ายท่ารา : ผแู้ สดงหันซา้ ยจีบหงายด้านขา้ ง อธิบายท่ารา : ผแู้ สดงวางเทา้ ในลกั ษณะเดิม ระดับ
ไหล่ เอยี งซ้าย แตส่ ลับข้าง มว้ นมอื ขึ้นตง้ั วง กางมือออก

๙. ดนตรีรบั พร้อมกับสั่นมือ

อธิบายทา่ รา : ผู้แสดงปรบมอื ข้างลาตัว ก้าวเทา้ เหมือนกบั ท่าออก
๒๔๐ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสําุม หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรูผูสอน) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศิลป ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๑๐. ทา่ ราบทร้อง “ขอบตาชาด” ๒๓๕
๑๑. ท่าราบทร้อง “พระพร้งิ ”

อธบิ ายทา่ รา : ผู้แสดงจบี หงายด้านขา้ งระดบั อธิบายทา่ รา : ผู้แสดงม้วนมือขึ้น ตั้งวงหางตา

ก้มหน้าลง เปดิ สน้ เทา้ กางออก ยกเท้าซา้ ย ก้าวไปขา้ งหน้า

๑๒. ทา่ ราบทรอ้ ง “สงิ คลงิ้ หงอนพรายพรรณ”

อธบิ ายทา่ รา : ผแู้ สดงปฏบิ ตั ิโดยมอื ซา้ ยต้งั วงระดับหน้า มือขวาจีบหงายด้านหนา้ ระดับเดียวกัน จากน้ัน
กระดกเทา้ ซา้ ย มว้ นซา้ ยข้นึ จีบ มอื ขวาจีบสง่ หลัง เอียงขวา

๑๓. ท่าราบทร้อง “ขานขนั เสียงเอาใจ”

อธบิ ายท่ารา: ผู้แสดงกา้ วเท้าเขา้ หากนั นามือด้านในจีบเขา้ หาตัวระดับปาก มืออีกข้างตง้ั วงระดับเดยี วกัน
เอยี งศรี ษะเขา้ หากัน จากน้ันเปล่ยี นมอื ทจี่ บี ออกเปน็ ตั้งวงบน สว่ นมือท่ตี ้ังวงนาไปจีบส่งหลงั กลับเอียง
ศีรษะอกี ขา้ ง

กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชํา้ันหรปับรคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๔๑

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๑๔. ทา่ ราบทร้อง “เดอื ยหงายใสสลี ายอง”

อธิบายท่ารา : ผู้แสดงเดินขา้ งออกดา้ นนอกวง จากนนั้ ม้วนมือขน้ึ ต้ังวงและหักข้อมือลงจบี สง่ หลงั เทา้ วาง
ในลักษณะเดิม

หมายเหตุ : ผแู้ สดงรอ้ ง “เอก อิ เอก้ เอ้ก”
๑๕. ดนตรีรับ

อธบิ ายทา่ รา : ผ้แู สดงหันหน้าตรง ยกขาซ้ายกามือทัง้ ๒ โดยมอื ขวาวางแนบแก้ม มือซ้ายวางใต้ศอก

เอียงขวา จากนั้นก้าวขาซ้ายลง ตามด้วยเท้าขวา วางเท้าซ้ายลงหลังแล้วยกขาขวา พร้อมกับเปลี่ยนเป็น

มือซ้ายวางแนบแก้ม มือขวาวางใตศ้ อก ปฏบิ ตั ทิ ่าดังกลา่ วสลับซา้ ยขวา จนหมดจังหวะ

๑๖. ทา่ ราบทร้อง “สองเท้าเทยี ม” ๑๗. ทา่ ราบทรอ้ ง “นพมาศ”

อธิบายทา่ รา : ผู้แสดงยกเท้าซ้ายขนึ้ อธิบายทา่ รา : ผ้แู สดงปฏิบัตทิ า่ เดิม แต่เอยี งซ้าย
แบมอื แตะบริเวณเอวเอียงไปด้านซ้ายมือ ปฏิบตั ิด้านขวามือ เท้าสลับขา้ ง

๒๔๒ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรบัรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรผู ูสอน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๑๘. ทา่ ราบทร้อง “ปานฉลชุ าดทารง” ๒๓๗
๑๙. ทา่ ราบทรอ้ ง “ปู่กใ็ ช้ให้ผีลง”

อธิบายทา่ รา : ผู้แสดงก้าวเท้าขวา ซา้ ย-ขวา อธิบายท่ารา : ผู้แสดงวางขาลงหลงั กา้ วเทา้ วางหลงั
มือปฏิบตั เิ หมือนเดิม ซา้ ย-ขวา –ซ้ายวางหลงั มอื ปฏิบัติเหมอื นเดมิ

๒๐. ท่าราบทร้อง “ผกี ็ลง” ๒๑. ท่าราบทรอ้ ง “แกไ่ ก”่

๒๒. ท่าราบทรอ้ ง “ท่อนเอือ้ น” ๒๓. ดนตรีรับ
อธบิ ายท่ารา : ผูแ้ สดงเคลื่อนวงกลมตามจงั หวะ อธบิ ายทา่ รา : ผู้แสดงเคลื่อนตวั เขา้ วง
โดยปฏิบัตทิ ่าดังนี้ เมอื่ ยกมือทั้ง ๒ ชขู น้ึ ใหย้ ก ตง้ั เขา่ มอื จับเปน็ วงกลม

เทา้ ขวาศรี ษะตรง จากนน้ั กระโดดลง

๒๔. ดนตรีรับ

อธิบายทา่ รา : ผแู้ สดงกระโดดแล้วนาเท้ามาวาง ชดิ กนั ๒ เท้า ลดมือที่จบั ลง ว่งิ วนทางขวาตามวง แล้ว
ยกมือชูขน้ึ พร้อมกับยกขาขวาอีกครัง้ ปฏบิ ัตทิ ่าดังกลา่ วสลบั กนั จนหมดจังหวะ

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลุม บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรูผถูส มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๔๓

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๒๕. “ดนตรีรับ”

อธิบายทา่ รา: ผู้แสดงมือซา้ ยต้ังวงระดบั ชายพก มอื ขวาจีบคว่า ตั้งแขนระดบั ไหล่ เอียงขวา ยกเท้าขวาแล้ว

ปฏบิ ัติทา่ สลบั กนั พรอ้ มกับเดนิ เหมือนท่าออก ค่อยๆคลายวงมาอยู่แถวเดิม

ผแู้ สดงไก่แก้วออกในทา่ เดียวกนั

๒๖. ท่าราบทร้อง “ไกแ่ กว้ ไซร”้ ๒๗. ท่าราบทรอ้ ง “บ่มิกลัว”

อธบิ ายท่ารา : ผ้แู สดงวางขาขวาลง ม้วนมอื ตั้งวง อธบิ ายทา่ รา: ผแู้ สดงอย่ใู นทา่ เดมิ เงยศรี ษะตึงแขน
ระดบั ไหล่ กม้ ศีรษะเล็กน้อย พรอ้ มกบั สา่ ยศรี ษะเล็กน้อย

๒๘. ทา่ ราบทรอ้ ง “ขกุ ผกหัว”

๒๙. ท่าราบทร้อง “องอาจ” อธบิ ายท่ารา : ผ้แู สดงไกแ่ ก้วก้าวเทา้ ขวา-ซา้ ย-ขวา
วางหลัง มอื อยู่ในลักษณะเดิมไก่บรวิ ารหนั หนา้ เขา้ หากัน
กา้ วขาเหมือนผแู้ สดงไกแ่ กว้ มอื อยใู่ นลกั ษณะเดมิ กม้ หนา้

เลก็ น้อย
๓๐. ท่าราบทรอ้ ง “ผาดผันตีปีกป้อง”

อธิบายทา่ รา : ผแู้ สดงวางเทา้ ปฏิบตั ิทา่ เดิม
อธิบายทา่ รา : ผแู้ สดงไก่บริวารหนั ลาตวั แตเ่ งยศรี ษะ ไกท่ ้ังหมดโขยกขาพร้อมกับขยบั ปกี

๒๔๔ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูกู (ลสาํมุ หบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรูผสู อน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรูท ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๒๓๙
๓๑. ท่าราบทรอ้ ง “ร้องเร่อื ยเฉอื่ ยฉาดฉาน” ๓๒. ทา่ ราบทรอ้ ง “ท่อนเอื้อน”

อธิบายทา่ รา : ผแู้ สดงปฏบิ ัติทา่ เดมิ อธบิ ายทา่ รา : ผแู้ สดงกา้ วข้างดา้ นนอกและ แต่
สลับด้านปฏิบัติ ปฏบิ ัติท่ารบั เปดิ สน้ เทา้ มว้ นมือข้นึ ต้ัง

๓๓. ทา่ ราประกอบดนตรีรับ วงและม้วนมือลงจบี สง่ หลงั

อธิบายทา่ รา : ผ้แู สดงหันหนา้ ไปดา้ นขวามอื ยกเทา้ ขวา ม้วนมือขน้ึ ตง้ั วง ระดับไหล่และ ไกบ่ รวิ ารหนั ออก
นอกวง มือปฏิบัตใิ น

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุมบูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชําั้นหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๔๕

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สุนทรียศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

หนว่ ยย่อยท่ี ๓ แผนที่ ๖

เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์และการละคร

ชอ่ื .........................................................................เลขท.ี่ .............ชั้น..........................................................
คาชแ้ี จง ครสู งั เกตพฤติกรรมนกั เรียนตามรายการตอ่ ไปนี้

ที่ รายการ ผลการสงั เกต หมายเหตุ
๔ ๓๒ ๑
๑ กล้าแสดงออก
๒ ความรว่ มมอื ในการรว่ มกิจกรรม
๓ มีความเช่ือมนั่ ในตนเอง
๔ มคี วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ และชืน่ ชมใน

การปฏิบตั กิ จิ กรรม
๕ การปรับปรงุ แกไ้ ขตนเอง

รวม

เกณฑก์ ารประเมิน
๔ คะแนน ดมี าก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้
๑ คะแนน ปรบั ปรงุ

นักเรียนไดค้ ะแนน ๑๔ คะแนนขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน

๒๔๖ ชดุ กกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูก ู (ลสาํุมหบรับรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรูผูสอน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๒๔๑

เกณฑ์การประเมนิ แบบสังเกตพฤตกิ รรม

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป์

เรื่อง การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละคร

รายการ ๔ ค่าคะแนน ๑
ประเมนิ มคี วามสนใจ ๓๒ ไมก่ ลา้ แสดงออก
กล้าแสดงออก การแสดงออกและ ท่าทางมนั่ ใจแต่ ท่าทางเคอะเขนิ
พรอ้ มท่จี ะแสดง ขาดความพรอ้ ม ไม่มน่ั ใจ รว่ มปฏบิ ตั งิ านเปน็
ความร่วมมอื ทันที ในการแสดง บางคร้ัง
การรว่ ม
กิจกรรม ท่มุ เทกาลงั กาย รว่ มคิดและรว่ ม ร่วมปฏบิ ตั งิ าน ขาดความเชือ่ มน่ั ใน
กาลังใจ อยา่ งเตม็ ปฏบิ ตั งิ านแตไ่ ม่ ตามคาสงั่ ของ การแสดงออก
ความเชือ่ มน่ั ใน ความสามารถใน ร่วมแกป้ ัญหา กลุ่ม ไมม่ คี วามสนุกสนาน
ตนเอง การปฏิบตั งิ านจน ในการทางาน และชนื่ ชมในการ
ประสบความสาเรจ็ ปฏิบตั ิกิจกรรม
ความ และรว่ มรับผดิ ชอบ มคี วามเชื่อม่นั มคี วามตง้ั ใจและ
สนุกสนาน ต่อความผดิ พลาด ในการ มีความพยายาม
เพลิดเพลนิ ท่เี กิดขึน้ แสดงออก ในการแสดงออก
และชนื่ ชม มคี วาม มีความ
ปฏบิ ัติกิจกรรม มคี วามเชอื่ มน่ั และ สนุกสนาน สนกุ สนานและ
ตง้ั ใจในการแสดง เพลดิ เพลนิ และ ชน่ื ชมใน
อย่างเตม็ ที่ ชนื่ ชมในการ การปฏบิ ตั ิ
ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม กจิ กรรมเปน็
มีความสนกุ สนาน
เพลดิ เพลนิ และ บางครง้ั
ชนื่ ชมในการปฏบิ ัติ
กิจกรรมอยา่ งเตม็ ที่

กิจกรรมการเรยี นรูกลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารูส เรอยี นนร)ู (สชํา้ันหรปับรคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๔๗

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

รายการ คา่ คะแนน
ประเมนิ
๔ ๓๒ ๑
ปรับปรุงแกไ้ ข มคี วามพรอ้ มและ ปรับปรงุ แกไ้ ข
สามารถปรบั ปรงุ สามารถ สามารถปรบั ปรงุ
แกไ้ ขตนเองได้ ตนเองได้บางครง้ั
ทันทว่ งทลี ะถกู ตอ้ ง ปรบั ปรงุ แกไ้ ข แก้ไขตนเองได้ และใช้เวลานาน

ตนเองได้ บางคร้งั

เกณฑก์ ารประเมิน
๔ คะแนน ดมี าก

๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้

๑ คะแนน ปรบั ปรุง
นักเรียนท่ไี ด้คะแนน ๑๔ คะแนนข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

ระดบั คณุ ภาพ

คะแนน ๑๕-๒๐ ระดบั ๔ หมายถึง ดมี าก

คะแนน ๑๑-๑๔ ระดบั ๓ หมายถงึ ดี

คะแนน ๖-๑๐ ระดบั ๒ หมายถึง พอใช้

คะแนน ๑-๕ ระดบั ๑ หมายถึง ปรับปรงุ

นกั เรยี นตอ้ งไดร้ ะดบั ดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน

๒๔๘ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสาํมุ หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสุม บำรูหณราับกาครรผู สู อน) ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้ันประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๒๔๓

แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติกจิ กรรมของนักเรยี น

หน่วยยอ่ ยท่ี ๓ แผนท่ี ๖
เรือ่ ง การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละคร

กลมุ่ ท่ี.............................ชนั้ .........................................
คำชีแ้ จง ครูประเมินผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของนกั เรียน ตามรายการตอ่ ไปนี ้

ท่ี รายการ ผลการสงั เกต หมาย
๔ ๓ ๒ ๑ เหตุ
๑ การปฏิบตั ทิ า่ ราตามท่ีกาหนดให้
๒ ความตงั้ ใจในการปฏิบตั กิ ิจกรรม
๓ มีความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ
๔ การให้ความร่วมมือในกลมุ่ ตนเอง

รวม

เกณฑ์การประเมิน
๔ คะแนน ปฏบิ ตั ิได้ดมี าก
๓ คะแนน ปฏบิ ตั ไิ ด้ดี
๒ คะแนน ปฏบิ ตั ิได้พอใช้
๑ คะแนน ปฏิบตั ไิ ด้แตค่ วรปรับปรุง

นกั เรียนได้คะแนน ๑๒ คะแนนขนึ ้ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

(ลงช่ือ).......................................ผ้ปู ระเมิน

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชาํ นั้หรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๒๔๙

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานกิจกรรมของนกั เรยี น

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป์

เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์และการละคร

รายการประเมนิ คา่ คะแนน

๔ ๓๒ ๑
ปฏบิ ตั ทิ า่
๑.การปฏบิ ตั ทิ ่า ปฏิบตั ิท่า ปฏิบัติท่า ปฏิบตั ทิ ่า ราวงมาตรฐาน
บางทา่ ตามที่
ราวงมาตรฐาน ราวงมาตรฐาน ราวงมาตรฐาน ราวงมาตรฐาน กาหนดให้
ไมถ่ กู ตอ้ งและ
ตามทก่ี าหนดให้ ตามทก่ี าหนดให้ บางทา่ ตามท่ี บางทา่ ตามที่ ไมส่ วยงาม
ไม่มคี วามตง้ั ใจ
ได้ถกู ตอ้ งและ กาหนดใหไ้ ด้ กาหนดใหไ้ ด้ และสนใจใน
การฝึกปฏิบตั ิ
สวยงาม ถูกตอ้ งและ ถกู ตอ้ งแตไ่ ม่ กจิ กรรมตา่ ง ๆ
ไมม่ คี วาม
สวยงาม สวยงาม กระตือรือร้นใน
การฝกึ ปฏบิ ตั ิ
๒.ความตงั้ ใจใน มคี วามตง้ั ใจและ มีความตง้ั ใจและ มคี วามตง้ั ใจและ กิจกรรมตา่ ง ๆ
การฝกึ ปฏิบตั ิ สนใจในการฝกึ
ปฏิบตั ิกิจกรรม สนใจในการฝกึ สนใจในการฝกึ สมาชิกในกล่มุ
๓.ความ ดีมาก ไมม่ คี วามสนใจ
สนุกสนาน ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดี ปฏิบัติกิจกรรม และไมเ่ ขา้ รว่ ม
เพลิดเพลนิ มีความ กจิ กรรมของกล่มุ
กลา้ แสดงออก กระตือรอื รน้ ใน บางครงั้
การฝึกปฏบิ ัติ
๔.การใหค้ วาม กิจกรรม มคี วาม มีความ
ร่วมมอื ภายใน ดมี าก
กลมุ่ ของตน กระตอื รือรน้ ใน กระตอื รอื รน้ ใน
สมาชิกใหค้ วาม
สนใจและเขา้ การฝกึ ปฏิบัติ การฝึกปฏิบตั ิ
ร่วมกจิ กรรมของ
กลุ่ม กิจกรรมดี กจิ กรรมเพยี ง
ดมี าก
บางครง้ั

สมาชิกใหค้ วาม สมาชิกใหค้ วาม

สนใจและเข้ารว่ ม สนใจและเข้ารว่ ม

กิจกรรมของกลุ่ม กิจกรรมของกลุ่ม

ดี เปน็ บางคร้งั

๒๕๐ ชดุ กกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูก ู (ลสํามุ หบรบัูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำรูหณราับกาครรผู ูสอน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๒๔๕

เกณฑก์ ารประเมนิ
๔ คะแนน ปฏิบตั ไิ ดด้ มี าก
๓ คะแนน ปฏิบัตไิ ดด้ ี
๒ คะแนน ปฏบิ ัตไิ ด้พอใช้
๑ คะแนน ปฏิบัตไิ ดแ้ ต่ควรปรับปรุง

นกั เรียนทีไ่ ด้คะแนน ๑๒ คะแนนขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
ระดบั คุณภาพ

คะแนน ๑๒-๑๖ ระดบั ๔ หมายถงึ ดีมาก
คะแนน ๙-๑๑ ระดบั ๓ หมายถงึ ดี
คะแนน ๕-๖ ระดบั ๒ หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๔ ระดบั ๑ หมายถึง ปรับปรงุ
นกั เรียนต้องไดร้ ะดบั ดี ขน้ึ ไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกูผารูส เรอียนนร)ู (สชาํ ั้นหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๕๑

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

แบบประเมินพฤตกิ รรมการปฏิบัติกิจกรรม

หน่วยย่อยที่ ๓ แผนที่ ๖

เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละคร

คณุ ธรรม/จรยิ ธรรม ผลการ

เลขท่ี ช่ือ-สกลุ ที่ประเมนิ รวม ประเมิน

๑ ๒ ๓ ๔ ๕๖ ผ มผ



















๑๐

๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ................................................................................................................................

............................................................................................................................. ........................................

ข้อประเมนิ
๑ ใฝร่ ู้ สร้างสรรค์

๒. กระตือรอื ร้นในการทากจิ กรรม กล้าแสดงออกหรอื แสดงความคดิ เหน็

๓. ปฏิบตั งิ านตามท่ีได้รับมอบหมาย
เกณฑก์ ารให้คะแนน ดี ให้ ๓ คะแนน

ปานกลาง ให้ ๒ คะแนน

ควรปรับปรุง ให้ ๑ คะแนน
เกณฑก์ ารตัดสนิ ผ่าน : ได้ ๗๕% หรือ ๗ คะแนน

๒๕๒ ชุดกกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรบัูรคณรูผาูส กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรผู ูสอน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๒๔๗

เกณฑก์ ารประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิกิจกรรม

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๓ แผนที่ ๖

หน่อยย่อยท่ี ๓ การแสดงนาฏศลิ ป์และการละคร
------------------------------------------------

๑. ใฝ่รู้ - สรา้ งสรรค์
๓ หมายถึง มคี วามตง้ั ใจ เอาใจใสใ่ นการปฏบิ ตั ิกิจกรรม กลา้ ซักถาม
๒ หมายถงึ มคี วามตง้ั ใจ เอาใจใส่ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม กลา้ ซักถามเปน็ บางครงั้
๑ หมายถึง ไม่มีความตัง้ ใจ ไม่ซกั ถาม

๒. กระตอื รอื ร้นในการทากจิ กรรม กลา้ แสดงออกหรอื แสดงความคิดเหน็
๓ หมายถึง กระตือรือร้นในปฏบิ ัติกิจกรรม กลา้ ซักถาม
๒ หมายถงึ กระตือรอื ร้น ในการปฏบิ ัติกิจกรรมบา้ ง กล้าซักถาม
๑ หมายถงึ ไมก่ ระตือรอื ร้นเท่าที่ควร ไม่ซกั ถาม

๓. ปฏิบตั งิ านตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย
๓ หมายถึง ปฏบิ ัตหิ นา้ ทท่ี ี่ได้รับมอบหมาย
๒ หมายถงึ ปฏบิ ัติหนา้ ทแ่ี ต่ใหผ้ อู้ น่ื ช่วย
๑ หมายถึง ไม่ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่เทา่ ที่ควร รบกวนเพอื่ น
---------------------------------------------------------

กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๕๓

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

แบบทดสอบหลังเรียน

หนว่ ยการเรียนร้บู รู ณาการท่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป์ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๓ ลีลาศิลปไ์ ทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนทาเครอ่ื งหมาย  ทับตวั อักษรหน้าคาตอบทถี่ ูกต้องทสี่ ดุ เพียงคาตอบเดยี ว

๑. การพิมพ์ภาพจะมคี วามประทบั ใจต้องคานงึ ถงึ องคป์ ระกอบใด
ก. รปู ร่าง รปู ทรง ระยะ
ข. รูปร่าง สสี ัน แสงเงา
ค. สสี ัน รูปและพื้นที่วา่ ง ระยะ
ง. แสงเงา รูปทรง พ้ืนทวี่ ่าง

๒. ขอ้ ใดกลา่ วเปรยี บเทยี บระหว่างภาพพิมพ์กับภาพวาดได้ดที สี่ ุด
ก. ภาพพิมพใ์ ช้น้อยสีกวา่ ภาพวาด
ข. ภาพพิมพส์ ามารถทาซา้ ไดด้ กี วา่ ภาพวาด
ค. ภาพพมิ พม์ ีวิธีการทม่ี ากกาวา่ ภาพวาด
ง. ภาพพมิ พ์เปน็ งาน ๒ มิติ ภาพวาดเปน็ งาน ๓ มิติ

๓. การปั้นดนิ เหนียวลักษณะใดทใ่ี ช้การลดมากกวา่ การเพมิ่ ดิน
ก. แบบนูนตา่
ข. แบบนนู สูง
ค. แบบนนู สงู และลอยตัว
ง. แบบลอยตวั

๔. ขอ้ ใดเป็นการเคลือ่ นไหวทางนาฏศลิ ป์
ก. การโยกตวั
ข. การหมุนตัว
ค. การยักไหล่
ง. การกลอ่ มไหล่

๕. การเคล่ือนไหวตามจังหวะ เคลอ่ื นไหวอย่างไร
ก. เคล่อื นไหวอย่างอสิ ระ
ข. เคลอ่ื นไหวอยา่ งสมา่ เสมอ
ค. เคลอื่ นไหวอยา่ งช้าๆ
ง. เคลื่อนไหวอยา่ งเรว็ ๆ

๒๕๔ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสําุมหบรับรู คณรผู าสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรูผสู อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๒๔๙

๖. การเคลือ่ นไหวประกอบจังหวะเปน็ หมคู่ ณะต้องคานงึ ถึงสิ่งใด
ก. ความพร้อมเพรยี ง
ข. ความคดิ สร้างสรรค์
ค. ความออ่ นชอ้ ย
ง. ความขงึ ขงั

๗. เพลงระบาไก่ แทรกอยใู่ นบทละครเรื่องใด
ก. พระเพือ่ น พระแพง
ข. อเิ หนา
ค. พระลอ
ง. รามเกยี รติ์

๘. ข้อใดคอื หลักการร้องเพลงไทยที่ถูกต้อง
ก. อ่านเนื้อครงั้ เดยี วแลว้ รอ้ งเลย
ข. ทาความเข้าใจกบั เน้อื เพลงก่อนร้อง
ค. รอ้ งในทานองและจังหวะของตนเอง
ง. ร้องเพลงใหม้ นี า้ เสียงท่ีแปลกใหม่

๙. ลักษณะเด่นของเพลงไทย คือข้อใด
ก. ผู้ขบั รอ้ งจะยืนร้องด้วยความมน่ั ใจ
ข. มีการเอื้อนเสยี งใหส้ อดคลอ้ งกับจงั หวะ
ค. มกี ารแต่งกายใหท้ ันสมัยสวยงาม
ง. มีการร้องตะโกนเสียงดังให้ผ้ฟู ังไดย้ ิน

๑๐. ลกั ษณะเดน่ ของการรอ้ งเพลงดน้ สด คือข้อใด
ก. มีการเอื้อนทาใหไ้ พเราะ นุม่ นวล
ข. มที านองและจังหวะที่แปลกใหม่
ค. ผ้ขู บั ร้องต้องมกี ารศึกษาสงู
ง. ผู้ขบั รอ้ งต้องคิดเนือ้ เพลงขึน้ เองในเวลานัน้

กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ น้ัหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๕๕

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

เฉลยแบบทดสอบ
หนว่ ยบูรณาการเรียนร้ทู ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป์ หน่วยยอ่ ยที่ ๓ ลีลาศลิ ปไ์ ทย

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน

๑. ค ๖. ก

๒. ข ๗. ค

๓. ก ๘. ข

๔. ง ๙. ข

๕. ข ๑๐. ง

๒๕๖ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสําุมหบรบัรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสุม บำรูหณราบักาครรูผูสอน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

หนว ยยอ ยท่ี ๔
ภูมใิ จในงานศลิ ป



๒๕๒

ใบสรปุ หน้าหน่วยย่อย

หน่วยย่อยท่ี ๔ ชือ่ หนว่ ยย่อย ภมู ิใจในงานศลิ ป์

จานวนเวลาเรยี น ๖ ชัว่ โมง จานวนแผนการเรยี นรู้ ๔ แผน

สาระสาคญั ของหน่วย

งานทัศนศลิ ป์ ดนตรี นาฏศิลป์เปน็ ส่งิ สะท้อนวฒั นธรรมประเพณแี ละภมู ปิ ัญญาของคนไทยทมี่ ีมาแต่

โบราณ เป็นมรดกทางวฒั นธรรมท่คี วรศึกษาเรียนรใู้ หเ้ หน็ คุณคา่ และอนุรกั ษ์ให้คงอยูต่ ่อไป

มาตรฐานตัวชี้วดั

มฐ. ศ ๑.๒ ตวั ชว้ี ัด ป.๖/๑,๒,๓

มฐ. ศ ๒.๒ ตัวชีว้ ดั ป.๖/๑,๒
มฐ. ศ ๓.๒ ตัวชวี้ ดั ป.๖/๑,๒

มฐ. ท ๓.๑ ตัวชีว้ ดั ป.๖/๑,๖

มฐ. พ ๓.๑ ตัวชี้วดั ป.๖/๑,๒
มฐ. ส ๔.๒ ตวั ช้วี ดั ป.๖/๒,๔

ลาดบั การเสนอแนวคดิ หลกั

งานทัศนศลิ ป์ทส่ี ะท้อนชวี ติ และวัฒนธรรม

ดนตรใี นแต่ละยุคสมยั

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง

ความหมาย ความเป็นมาและความสาคญั ของนาฏศลิ ป์และการละคร

โครงสรา้ งของหน่วย

แผนที่ ชอื่ แผน เวลา หมายเหตุ

๑ งานทศั นศลิ ปส์ ะท้อนชีวติ และวฒั นธรรม ๒ ช.ม.

๒ ดนตรแี ละการอนุรักษ์ ๒ ช.ม.

๓ นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร ๑ ช.ม.

๔ การแสดงนาฏศิลปป์ ระเภทต่าง ๆ ๑ ช.ม.

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารูสเรอียนนร)ู (สชําัน้หรปับรคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๒๕๙

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)


Click to View FlipBook Version