The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-29 07:33:43

แผนบูรณาการ

แผนบูรณาการ

หนว่ ย ช่ือหน่วย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา
ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ (ชว่ั โมง)
มฐ. ส ๒.๒
ตัวชว้ี ดั ที่ควรรู้ ป.๖/๑ - การเปรยี บเทยี บบทบาท หนา้ ท่ี ขององคก์ ร
ตัวชว้ี ดั ที่ควรรู้ ป.๖/๒ ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และรฐั บาล
ตัวช้ีวดั ที่ควรรู้ ป.๖/๓ - การมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมต่างๆท่ีสง่ เสริม
มฐ. ท ๓.๑ ประชาธิปไตย ในท้องถน่ิ และประเทศ
ตัวชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๑ - บทบาทความสาคัญ ในการใชส้ ทิ ธอิ อกเสียง
ตวั ชว้ี ัดท่คี วรรู้ ป.๖/๖ เลือกต้งั ตามระบอบประชาธิปไตย
มฐ. ต ๑.๑
ตวั ชี้วดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๑ - การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์
5 โลกสวย ของเรื่องที่ฟงั และดู
ดว้ ยมอื เรา มฐ. ส. ๕.๑ - มารยาทในการฟงั การดูและการพูด
ตัวชว้ี ัดทีค่ วรรู้ ป.๖/๑
ตัวช้ีวัดทีต่ อ้ งรู้ ป.๖/๒ - การปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง และ ๓๐
ตวั ชี้วดั ที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๓ คาแนะนา ที่ฟังและอ่าน
ตัวชว้ี ดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๔
มฐ. ส. ๕.๒ - ส่ิงตา่ งๆ รอบตัวท่เี กิดข้นึ เองตามธรรมชาติ
ตัวชีว้ ัดทีค่ วรรู้ ป.๖/๑ และทีมนุษย์สรา้ งขึ้น
ตัวชวี้ ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ - ความสัมพันธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทิศของสิง่
ตา่ งๆ รอบตวั
ตวั ชี้วดั ท่คี วรรู้ ป.๖/๓ - ทิศหลัก(เหนือ ตะวนั ออกตก ใต้ตะวันตก
- แผนผังแสดงตาแหนง่ สิ่งต่างๆในห้องเรียน
- การเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน

- สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพท่ีมีผลตอ่ ความ
เปน็ อยู่ของมนุษย์
- การเปลย่ี นแปลงของสิง่ แวดล้อมที่อยูร่ อบตวั
อทิ ธพิ ลของสิง่ แวดล้อมทส่ี ง่ ผลตอ่ การปฏิบตั ิ
ตนอยา่ งเหมาะสม
- การปฏบิ ัตติ นในการรักษาสิ่งแวดล้อมทบ่ี ้าน
และช้นั เรียน

๑๐ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูก ู (ลสาํุมหบรับรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุม บำูรหณราบักาครรผู สู อน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

หนว่ ย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา
ที่ การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ (ชัว่ โมง)

มฐ. ศ ๑.๑ - รูปรา่ ง ลักษณะและขนาดของสิง่ ต่าง ๆ
ตวั ชว้ี ดั ทต่ี ้องรู้ ป.๖/๑ รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งท่มี นษุ ย์สร้างข้นึ
- การแสดงความรสู้ กึ ทม่ี ตี ่อธรรมชาติ และ
ตวั ชว้ี ัดที่ควรรู้ ป.๖/๒ สงิ่ แวดล้อมรอบตวั
- การวาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ
ตวั ชี้วัดทต่ี อ้ งรู้ ป.๖/๕

๖ เดก็ ไทย ๑๕
หวั ใจ มฐ. ง ๒.๑
สร้างสรรค์ ตัวชี้วดั ควรรู้ ป.๖/๑ - ระบบเทคโนโลยี
ตัวช้วี ัดต้องรู้ ป.๖/๒ - การสรา้ งสงิ่ ของเครอ่ื งใชอ้ ย่างเปน็ ขั้นตอน
ตวั ช้วี ัดต้องรู้ ป.๖/๓ - ภาพร่าง ๓ มติ ิ
- การลงมอื สรา้ งช้ินงาน
มฐ. ง ๓.๑
ตวั ชี้วัดควรรู้ ป.๖/๑ - หลกั การเบือ้ งต้นของการแก้ปญั หา
ตัวชี้วัดตอ้ งรู้ ป.๖/๒ - การใชค้ อมพิวเตอรค์ ้นหาข้อมลู
ตวั ชี้วัดควรรู้ ป.๖/๓ - การเก็บข้อมลู ในรูปแบบตา่ งๆ
ตัวชี้วัดต้องรู้ ป.๖/๔ - การจัดกระทาข้อมูลเพ่ือการนาเสนอ
ตัวชี้วดั ควรรู้ ป.๖/๕ - การเลอื กใช้ซอฟต์แวร์ในการนาเสนอข้อมูล
- การใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการสร้างชิน้ งาน
มฐ. พ ๑.๑
ตัวชี้วดั ควรรู้ ป.๖/๑ - ความสาคัญของระบบสืบพันธ์ุ ระบบ
ไหลเวยี นโลหติ และระบบหายใจที่มีผลต่อ
มฐ. ศ ๑.๑ สุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการ
ตัวชว้ี ดั ควรรู้ ป.๖/๗
- การสรา้ งงานทัศนศลิ ปเ์ ปน็ แผนภาพ แผนผงั
และ ภาพประกอบ

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชําั้นหรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๑๑

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ เวลา
(ช่ัวโมง)
๗ ชีวติ สขุ สันต์ มฐ.ง ๑.๑
ในบ้านของ ตวั ชว้ี ดั ที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๑ - วางแผนและปรับปรุงการทางานแตล่ ะ ๑๕
เรา ข้นั ตอน
ตวั ชว้ี ดั ท่ตี อ้ งรู้ ป.๖/๒ - ใช้ทกั ษะการจัดการและการทางานรว่ มกัน
ขณะปฏิบัติงาน และเมอื่ ทางานสาเร็จแล้ว
ตัวชีว้ ัดท่ีควรรู้ ป.๖/๓ - ทางานกับสมาชิกในครอบครัวและผูอ้ ่นื
อยา่ งมีมารยาท
มฐ.ง ๔.๑
ตวั ชีว้ ดั ท่ตี อ้ งรู้ ป.๖/๑ - สารวจตนเองเพ่ือวางแผนในการเลือกอาชพี
ตวั ชว้ี ัดทต่ี ้องรู้ ป.๖/๒ - ความรู้ ความสามารถ และคณุ ธรรมที่
สัมพนั ธก์ บั อาชพี ทีส่ นใจ
มฐ. ศ ๑.๑
ตวั ชว้ี ดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๕ - รปู และพน้ื ทีว่ ่างในงานทัศนศลิ ป์

ตวั ช้ีวดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๗ - สร้างงานทศั นศิลปเ์ ปน็ แผนภาพ แผนผัง ๓๐
มฐ. พ ๒.๑ และภาพประกอบ
ตัวชว้ี ัดทตี่ ้องรู้ ป๖/๒ -ลักษณะของครอบครัวท่ีอบอุ่นตามวฒั นธรรม
มฐ ท ๒.๑ - การเขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ
ตวั ชว้ี ัดทค่ี วรรู้ ป๖/๓ ความคดิ
๘ สนุ ทรียศลิ ป์ มฐ. ศ ๑.๑ - สีคูต่ รงขา้ ม และอภปิ รายเกี่ยวกบั การใช้ สคี ู่
ตัวชี้วดั ที่ควรรู้ ป.๖/๑ ตรงข้าม ถ่ายทอดความคดิ และอารมณ์
ตัวชี้วดั ที่ควรรู้ ป.๖/๒ - หลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการ
ตัวชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๓ สร้างงานทัศนศลิ ป์
ตัวชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๔ - สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ปจ์ ากรปู แบบ ๒ มติ ิ
ตวั ชวี้ ัดท่ีควรรู้ ป.๖/๕ เปน็ ๓ มติ ิ โดยหลักการของแสง เงา น้าหนัก
ตัวชว้ี ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๖ - สรา้ งสรรค์งานป้นั โดยใช้หลกั การเพ่ิมและลด
ตัวชว้ี ดั ท่ีควรรู้ ป.๖/๗ - สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ ใช้หลักรปู พนื ทีว่ า่ ง
- สร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ โดยใช้สีคู่ตรงขา้ ม
หลักการจดั ขนาดสดั ส่วน และความสมดุล
- สรา้ งงานทัศนศิลป์เปน็ แผนภาพ แผนผงั
ภาพประกอบเร่ืองราวเหตุการณต์ ่าง ๆ

๑๒ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรับรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

หนว่ ย ชอ่ื หน่วย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา
ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง)
มฐ. ศ ๑.๒
ตวั ชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๑ - บทบาทของงานทัศนศลิ ป์ ที่สะท้อนชีวติ
ตวั ชี้วดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ และสงั คม
ตวั ชี้วดั ที่ควรรู้ ป.๖/๓ - อิทธิพลของความเช่ือความศรทั ธาในศาสนา
มฐ. ศ ๒.๑ ทมี่ ผี ลต่องานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ตัวชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๑ - อิทธิพลทางวฒั นธรรม ในท้องถ่นิ ท่มี ีผลตอ่
ตัวชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ การสร้างงานทัศนศลิ ปข์ องบุคคล
ตัวชี้วดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๓
ตัวชี้วัดท่คี วรรู้ ป.๖/๔ - องค์ประกอบดนตรี และศพั ทส์ งั คตี
ตัวชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๕ - ประเภทและบทบาทหนา้ ทเี่ ครอ่ื งดนตรีไทย
ตัวชี้วดั ที่ควรรู้ ป.๖/๖ และเคร่ืองดนตรที ่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
มฐ. ศ ๒.๒ - การอา่ น เขียน โน้ตไทย และโนต้ สากล
ตวั ชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๑ ทา้ นองง่าย ๆ
ตวั ชว้ี ดั ทคี่ วรรู้ ป.๖/ ๒ - เครอ่ื งดนตรบี รรเลงประกอบการรอ้ งเพลงด้น
ตัวชว้ี ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๓ สดทีม่ จี ังหวะและท้านองง่าย ๆ
มฐ. ศ ๓.๑ - ความรูส้ ึกท่มี ีต่อดนตรี
ตัวชว้ี ัดทีค่ วรรู้ ป.๖/๑ - ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ท้านอง จงั หวะ การ
ตัวชีว้ ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ ประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงท่ีฟงั
ตวั ชว้ี ดั ที่ควรรู้ ป.๖/๓
ตวั ชว้ี ดั ท่ีควรรู้ ป.๖/๔ - เร่ืองราวของดนตรไี ทยในประวัตศิ าสตร์
ตวั ชว้ี ดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๕ - ดนตรที ม่ี าจากยุคสมัยทต่ี ่างกัน
ตัวชว้ี ดั ที่ควรรู้ ป.๖/๖ - อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรใี นท้องถ่นิ

- การเคลือ่ นไหวและการแสดงโดยเนน้ การ
ถ่ายทอดลีลาหรอื อารมณ์
- การออกแบบ เคร่ืองแต่งกาย หรืออุปกรณ์
ประกอบการแสดง อยา่ งงา่ ย ๆ
- แสดงนาฏศลิ ป์และการละครง่าย ๆ
- ความรสู้ ึกของตนเองทีม่ ตี ่องานนาฏศิลป์และ
การละครอย่างสรา้ งสรรค์
- การแสดงความคดิ เหน็ ในการชมการแสดง
- ความสัมพันธร์ ะหวา่ งนาฏศิลปแ์ ละการละคร
กบั ส่งิ ทป่ี ระสบในชีวติ ประจา้ วัน

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ น้ัหรปบั รคะรผูถูส มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๑๓

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

หน่วย ชอื่ หน่วย ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา
ที่ การเรียนรู้ มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ (ชวั่ โมง)
มฐ. ศ ๓.๒
ตวั ชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๑ - สิ่งที่ส้าคัญต่อการแสดงนาฏศลิ ป์ ละคร
ตวั ชีว้ ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ - ประโยชน์ท่ไี ด้รับจากการแสดงหรอื การชม
มฐ. ท ๑.๑ การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร
ตัวชว้ี ดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๑
ตวั ชว้ี ดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ - การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
ตัวช้วี ัดที่ควรรู้ ป.๖/๓ - ความหมายของค้า ประโยค ขอ้ ความ โวหาร
ตัวชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๔ - การอ่านเร่อื งสัน ๆ
ตัวชีว้ ดั ที่ควรรู้ ป.๖/๕ - ข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเรอื่ งท่ีอา่ น
ตัวชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๖ - การน้าความรู้และความคดิ จากเร่ืองทีอ่ า่ นไป
มฐ. ท ๒.๑ ตดั สนิ ใจแก้ปัญหาในการด้าเนนิ ชวี ิต
ตัวช้ีวดั ท่ีควรรู้ ป.๖/๒ - การอ่านงานเขียนและปฏิบัตติ าม
ตวั ชว้ี ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๓
มฐ. ท ๓.๑ - การเขยี นสอ่ื สารทีถ่ ูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
ตวั ช้วี ัดท่คี วรรู้ ป.๖/๑ - การเขยี นแผนภาพความคดิ เพ่ือพฒั นางานเขยี น
ตวั ชว้ี ดั ที่ควรรู้ ป.๖/๒
ตวั ชว้ี ัดที่ควรรู้ ป.๖/๓ - การแสดงความเขา้ ใจจุดประสงค์เรือ่ งทฟี่ งั และดู
ตวั ชว้ี ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๔ - การตังคา้ ถามตอบค้าถามจากเรอ่ื งท่ีฟงั และดู
ตัวชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๖ - การวเิ คราะห์ความนา่ เช่อื ถือจากการฟงั และดู
มฐ. ค. ๓.๒ - การรายงานจากการฟงั การดแู ละการสนทนา
ตวั ชี้วัดทีต่ อ งรู ป.๖/๑ - มารยาทในการฟัง การดู และการพดู

มฐ. พ ๓.๑ - รูปคล่ขี องรูปเรขาคณิตสามมติ ิ (ทรงสเี่ หลีย่ ม
ตวั ชี้วดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๑ มุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซมึ พรี ะมิด
ตวั ชีว้ ดั ที่ควรรู้ ป.๖/๒ - การประดษิ ฐร ปู เรขาคณิต
ตัวชว้ี ัดที่ควรรู้ ป.๖/๕ - แสดงทักษะการเคลอ่ื นไหว
มฐ. ส ๒.๑ - หลักการเคล่ือนไหว
ตวั ชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๒ - การร่วมกจิ กรรมนันทนาการ
ตวั ชี้วดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๔
- การวิเคราะหก์ ารเปล่ียนแปลงวฒั นธรรม
- คุณค่าทางวัฒนธรรม ท่ีแตกต่างกันระหว่าง
กลุม่ คนในสังคมไทย

๑๔ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสาํุมหบรบัูรคณรผู าูส กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรูผสู อน) ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

หนว่ ย ชือ่ หน่วย ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา
ที่ การเรียนรู้ มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ (ชั่วโมง)
9 ถนิ่ ไทยวไิ ล มฐ. ส ๔.๑
ศลิ ป์ ตวั ชว้ี ัดที่ต้องรู้ ป.๖/๑ - ความสาคญั ของวิธกี าร ทางประวัตศิ าสตร์ ๓๐
ตวั ชว้ี ดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ ในการศึกษาเรื่องราวประวตั ิศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ยๆ
มฐ. ส ๔.๒ - การนาเสนอข้อมลู จากหลักฐานทหี่ ลากหลาย
ตวั ชว้ี ดั ทต่ี ้องรู้ ป.๖/๑ ในการทาความเข้าใจเรอ่ื งราวสาคัญในอดีต
ตวั ชี้วดั ทต่ี อ้ งรู้ ๖/๒
มฐ. ส ๔.๓ - สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งของ
ตวั ชี้วัดที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๑ ประเทศเพ่ือนบ้านในปจั จุบนั
ตวั ชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๒ - ความสมั พันธข์ องกลมุ่ อาเซียน

ตวั ชี้วัดท่ตี อ้ งรู้ ป.๖/๓ - การพฒั นาการของของไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์
ตัวชี้วดั ทีต่ ้องรู้ ป.๖/๔ - ปัจจัยทีส่ ่งเสรมิ ความเจริญรุ่งเรอื งทาง
มฐ. ท ๑.๑ เศรษฐกจิ และการปกครองของไทยสมยั
ตวั ชี้วดั ที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๔ รัตนโกสินทร์
ตวั ชว้ี ัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๕ - ผลงานของบุคคลสาคญั สมยั รตั นโกสนิ ทร์
ตวั ชว้ี ดั ทตี่ อ้ งรู้ ป.๖/๗ - ภมู ิปัญญาไทยท่ีสาคญั สมัยรัตนโกสนิ ทร์ที่นา่
ตวั ชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๘ ภาคภูมใิ จและควรคา่ แก่การอนุรกั ษไ์ ว้
มฐ. ท ๒.๑
ตัวชี้วดั ที่ต้องรู้ ป.๖/๑ - ข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ีอ่าน
ตวั ชี้วัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๓ - การนาความรู้และความคิด จากเรื่องที่อา่ น
ตัวชี้วัดทต่ี ้องรู้ ป.๖/๔ ไปตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดาเนนิ ชวี ิต
มฐ. ท ๓.๑ - ความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผงั
ตัวชี้วดั ทต่ี ้องรู้ ป.๖/๒ แผนท่ี แผนภมู ิ และกราฟ
ตัวชี้วดั ทต่ี ้องรู้ ป.๖/๔ - การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจและอธิบาย
คุณคา่ ท่ไี ดร้ บั

- การคดั ลายมือ
- การเขยี นแผนภาพเพื่อใช้พัฒนางานเขยี น
- การเขียนเรยี งความ

- การตง้ั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล
- การรายงานเรือ่ งหรือประเด็นที่ศกึ ษาคน้ คว้า

กิจกรรมการเรียนรูกลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชํา้ันหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๑๕

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

หน่วย ชือ่ หน่วย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา
ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ (ช่วั โมง)
มฐ. ท ๕.๑
ตวั ชี้วัดที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๒ - การเล่านทิ านพ้นื บ้านทอ้ งถ่ิน ๑๕
ตวั ชี้วดั ที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๓ - คุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน
และนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง
มฐ. ศ ๒.๒ - เรอ่ื งราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร์
ตวั ชี้วัดทต่ี ้องรู้ ป.๖/๑ - เครือ่ งดนตรที ่ีมาจากยุคสมัยท่ีตา่ งกัน
ตวั ชี้วัดท่ีตอ้ งรู้ ป.๖/๒ - อทิ ธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรใี นทอ้ งถน่ิ
ตวั ชว้ี ัดที่ต้องรู้ ป.๖/๓ - การใชค้ อมพิวเตอร์เพื่อการทางาน
มฐ. ง ๓.๑ - การเก็บรักษาข้อมลู ที่เปน็ ประโยชน์
ตัวช้ีวดั ทต่ี ้องรู้ ป.๖/๒ - การนาเสนอข้อมลู ในรูปแบบทีเ่ หมาะสม
ตวั ช้ีวัดทค่ี วรรู้ ป.๖/๓ - การใชค้ อมพิวเตอรช์ ่วยสร้างชน้ิ งาน
ตัวชี้วัดทต่ี อ้ งรู้ ป.๖/๔
ตัวชี้วดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๕

๑๐ อาเซียน มฐ. ส ๔.๒ - สภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของ
ศึกษา ตวั ชวี้ ัดทตี่ ้องรู้ ป.๖/๑ ประเทศเพื่อนบา้ นในปจั จุบัน
ตวั ชี้วดั ท่ีตอ้ งรู้ ป. ๖/๒ ความสมั พนั ธข์ องกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป -
มฐ. ส ๕.๑ - การใช้เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ระบลุ ักษณะ
ตวั ชี้วัดท่ีต้องรู้ ป.๖/๑ สาคญั ทางกายภาพและสังคมของประเทศ
ตวั ชว้ี ดั ที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๒ - ความสัมพนั ธร์ ะหว่างลักษณะทางกายภาพ
มฐ. ง ๑.๑ กบั ปรากฏการณท์ างธรรมชาตขิ องประเทศ
ตวั ชี้วัดที่ควรรู้ ป.๖/๑ - แนวทางในการทางาน
มฐ. ง ๓.๑ - ใช้คอมพิวเตอรใ์ นการคน้ หาขอ้ มูล
ตัวชี้วัดทตี่ ้องรู้ ป.๖/๑ - สร้างงานทศั นศลิ ป์ถ่ายทอดเหตุการณต์ า่ งๆ
มฐ. ศ ๑.๑ - การคดั ลายมือตามรปู แบบตัวอกั ษรไทย
ตัวชว้ี ดั ทค่ี วรรู้ ป.๖/๗ - การอ่านข้อความและบทกลอนสนั ๆ
มฐ. ท ๒.๑
ตัวชว้ี ดั ท่ตี ้องรู้ ป.๖/๑
มฐ. ต ๑.๑
ตัวชี้วดั ที่ตอ้ งรู้ ป.๖/๑

๑๖ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสําุมหบรบัรู คณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

สว นท่ี ๒



มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ดั ของหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
หน่วยท่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป์ (จานวน ๓๐ ช่วั โมง)

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชวี้ ดั
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ดั
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์

วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้
ในชวี ิตประจาวัน

ตัวชว้ี ัด ป.๖/๑ ระบุสคี ตู่ รงข้าม และอภิปรายเกยี่ วกับการใช้ สีคู่ตรงข้าม ในการถา่ ยทอดความคดิ
และอารมณ์

ตวั ชี้วดั ป.๖/๒ อธบิ ายหลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสรา้ งงานทศั นศิลป์
ตวั ชี้วดั ป.๖/๓ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์จากรูปแบบ ๒ มิติ เปน็ ๓ มติ ิ โดยใช้หลกั การของแสงเงา
และนา้ หนัก
ตวั ชี้วดั ป.๖/๔ สร้างสรรค์งานปั้นโดยใช้หลักการเพ่ิมและลด
ตัวชว้ี ัด ป.๖/๕ สรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ป์ โดยใช้หลักการของรูปและพื้นทีว่ า่ ง
ตัวชว้ี ัด ป.๖/๖ สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์ โดยใช้สีคตู่ รงข้ามหลักการจัดขนาดสดั สว่ น และความ
สมดุล
ตัวชว้ี ดั ป.๖/๗ สร้างงานทศั นศิลปเ์ ป็นแผนภาพ แผนผงั และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคดิ
หรือเรอื่ งราวเกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ งาน
ทศั นศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล
ตวั ชี้วัด ป.๖/๑ บรรยายบทบาทของงานทัศนศลิ ป์ ทสี่ ะท้อนชวี ิต และสังคม
ตัวชี้วัด ป.๖/๒ อภปิ รายเกีย่ วกับอิทธิพลของความเช่อื ความศรทั ธาในศาสนาทีม่ ีผลตอ่ งาน
ทศั นศิลป์ในทอ้ งถิน่
ตวั ชว้ี ดั ป.๖/๓ ระบุ และบรรยายอิทธพิ ลทางวฒั นธรรม ในท้องถน่ิ ที่มีผลต่อการสรา้ งงาน
ทัศนศลิ ปข์ องบุคคล
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณค์ ุณคา่
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรีอย่างอสิ ระ ชนื่ ชมและประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั
ตัวชว้ี ัด ป. ๖/๑. บรรยายเพลงทฟ่ี ัง โดยอาศัยองค์ประกอบดนตรี และศัพทส์ ังคีต
ตวั ชว้ี ัด ป. ๖/๒. จาแนกประเภทและบทบาทหน้าทเ่ี คร่ืองดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรที ี่มาจาก
วฒั นธรรมตา่ ง ๆ
ตวั ชี้วดั ป. ๖/๓ อ่าน เขียน โน้ตไทย และโนต้ สากลทานองง่าย ๆ
ตัวช้วี ดั ป. ๖/๔ ใชเ้ คร่ืองดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงดน้ สดท่ีมจี ังหวะและทานองง่าย ๆ
ตวั ชี้วดั ป. ๖/๕ บรรยายความรสู้ ึกท่มี ีต่อดนตรี
ตวั ชี้วัด ป. ๖/๖ แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ทานอง จังหวะ การประสานเสยี ง และคุณภาพเสยี ง
ของเพลงท่ีฟัง

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชาํ ัน้หรปับรคะรูผถูส มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณาี่ ก๖าร ๑๙

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรที เ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

ตัวช้ีวดั ป. ๖/๑ อธบิ ายเร่อื งราวของดนตรไี ทยในประวัติศาสตร์
ตวั ชว้ี ัด ป. ๖/๒ จาแนกดนตรที ีม่ าจากยุคสมยั ท่ีต่างกัน
ตวั ชี้วัด ป. ๖/๓ อภิปรายอทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมต่อดนตรใี นท้องถน่ิ
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า
นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอิสระ ชืน่ ชมและประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
ตวั ชวี้ ัด ป. ๖/๑ สรา้ งสรรค์การเคล่ือนไหวและการแสดงโดยเนน้ การถ่ายทอดลลี าหรืออารมณ์
ตัวชว้ี ดั ป. ๖/๒ ออกแบบ เคร่อื งแต่งกาย หรืออุปกรณป์ ระกอบการแสดง อยา่ งง่าย ๆ
ตวั ชี้วัด ป. ๖/๓ แสดงนาฏศิลป์และการละครง่าย ๆ
ตวั ชว้ี ดั ป. ๖/๔ บรรยายความรู้สกึ ของตนเองท่ีมีต่องานนาฏศิลปแ์ ละการละครอย่างสร้างสรรค์
ตัวชว้ี ดั ป. ๖/๕ แสดงความคดิ เหน็ ในการชมการแสดง
ตวั ชว้ี ดั ป. ๖/๖ อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศิลป์และการละครกบั ส่ิงทีป่ ระสบใน
ชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่าของนาฏศลิ ป์
ทเี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล
ตวั ชว้ี ดั ป. ๖/๑ อธบิ ายส่งิ ทม่ี ีความสาคญั ต่อการแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละคร
ตัวชี้วดั ป. ๖/๒ ระบปุ ระโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการแสดงหรอื การชมการแสดงนาฏศลิ ป์และละคร
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคิดเพอื่ นาไปใช้ตดั สินใจแก้ปญั หาในการ
ดาเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ัยรกั การอ่าน
ตวั ชว้ี ดั ป. ๖/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถกู ตอ้ ง
ตวั ชวี้ ัด ป. ๖/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่เี ปน็ โวหาร
ตวั ชว้ี ัด ป. ๖/๓ อา่ นเรอื่ งสนั้ ๆ อยา่ งหลากหลาย โดยจับเวลาแลว้ ถามเก่ยี วกบั เรือ่ งที่อา่ น
ตัวชี้วัด ป. ๖/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรือ่ งที่อ่าน
ตัวชี้วดั ป. ๖/๕ อธบิ ายการนาความรู้และความคดิ จากเรอ่ื งทอี่ ่านไปตดั สินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน
ชีวติ
ตวั ชี้วัด ป. ๖/๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาสง่ั คาแนะนาและปฏบิ ตั ิตาม
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบ
ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ตัวชว้ี ดั ป. ๖/๒ เขยี นส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
ตวั ชว้ี ดั ป. ๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพ่อื ใช้พัฒนางานเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ความคดิ และ
ความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชว้ี ดั ป. ๖/๑ พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรือ่ งทฟี่ งั และดู
ตวั ชีว้ ัด ป. ๖/๒ ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรอื่ งที่ฟงั และดู
๒๐ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรบัรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรผู ูสอน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ตัวชว้ี ดั ป. ๖/๓ วิเคราะห์ความนา่ เชือ่ ถอื จากการฟงั และดูสอื่ โฆษณาอย่างมีเหตุผล
ตวั ชี้วดั ป. ๖/๔ พดู รายงานเร่อื งหรือประเดน็ ท่ศี กึ ษาค้นควา้ จากการฟงั การดูและการสนทนา
ตวั ช้ีวัด ป. ๖/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนกึ ภาพ (visualization) ใชเ้ หตุผลเกี่ยวกบั ปรภิ ูมิ (Spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณติ (geometric madel)ในการแก้ปัญหา
ตัวช้วี ัด ป. ๖/๑ ประดษิ ฐส์ เี่ หล่ยี มมมุ ฉากทรงกระบอก กรวย ปริซึมและพรี ะมดิ จากรูปคล่ี หรอื
รูปเรขาคณติ สองมิติทกี่ าหนดให้
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า
ตัวชว้ี ัด ป.๖/๑ แสดงทักษะการเคลือ่ นไหวร่วมกบั ผู้อื่นในลกั ษณะแบบผลดั และแบบผสมผสานได้
ตามลาดับ ท้งั แบบอยู่กบั ที่ เคลอื่ นที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ และการเคลื่อนไหวประกอบเพลง
ตัวชีว้ ดั ป.๖/๒ จาแนกหลักการเคล่อื นไหวในเร่ืองการรับแรง การใชแ้ รงและความสมดลุ ในการ
เคลอื่ นไหวร่างกายในการเล่นเกม เล่นกีฬาและนาผลมาปรับปรุงเพม่ิ พูนวธิ ีปฏิบตั ิของตนและผอู้ ื่น
ตวั ช้ีวดั ป.๖/๕ ร่วมกจิ กรรมนันทนาการอยา่ งน้อย ๑ กจิ กรรมแลว้ นาความรูแ้ ละหลกั การท่ีไดไ้ ปใช้
เป็นหลกั ฐานการศึกษาหาความร้เู รอื่ งอืน่ ๆ
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ตั ติ นตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมอื งดี มคี ่านยิ มท่ดี ีงาม และธารง
รักษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดารงชวี ิตอยู่รว่ มกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอยา่ งสันติสุข
ตัวชี้วัด ป. ๖/๒ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธารงรักษาวัฒนธรรม
อนั ดีงาม
ตวั ชีว้ ดั ป. ๖/๔ อธบิ ายคุณคา่ ทางวฒั นธรรม ทแี่ ตกต่างกันระหวา่ งกลุ่มคนในสงั คมไทย

กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารูส เรอยี นนร)ู (สชําัน้หรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๒๑

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ช้ันประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ลาํ ดลับาดกับารกนาาํรนเสานเสอนแอนแวนควิดคหดิ ลหักลขักอขงอหงนหว นยว่ กยากราเรียเรนยี รนบู รูรู้บณรู ณากาากรารหนหวนยว่ ทย่ีท๘ี่ ๘สนุสทนุ ทรยีรศยี ลิศปิลป ์จจาํ นานววนน ๓๓๐๐ ชชั่วว่ัโมโมงง
๒๔
๒๒ หชดุนกกว ิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูทมร่ีก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสลิ ํามุปหบชรับน้ัูรปคณรรผูะาสูถกอมานศกึ)รษก(ลาสปมุ ทบำี่รูห๖ณรา(ฉับกบาคับรรปูผรับสู ปอรงุน) ) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ กาเนดิ งานศลิ ป์หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ จินตนาการหรรษาหน่วยยอ่ ยท่ี ๓ ลีลาศิลปไ์ ทยหน่วยยอ่ ยที่ ๔ ภูมิใจในงานศลิ ป์
(๖ ช่วั โมง) (๘ ชว่ั โมง) (๑๐ ชั่วโมง) (๖ ช่วั โมง)

ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม การสรา้ งงานทัศนศิลปโ์ ดยใช้ การสรา้ งสรรค์งานศิลปท์ ั้งงานทศั นศลิ ป์ งานทศั นศลิ ป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์
เป็นแหลง่ กาเนิดงานศลิ ปท์ ั้ง นา้ หนกั แสงเงาเป็นสามมติ ิ การเขยี น ดนตรแี ละนาฏศิลป์ เปน็ การถา่ ยทอด สามารถสะท้อนภาพชีวติ
ในดา้ นทศั นศิลป์ ดนตรี และ โน้ตดนตรี การรอ้ งเพลง การแสดง ความคิดความรู้สกึ และอารมณ์อย่างงดงาม ความเปน็ อยู่ วฒั นธรรมในแต่ละ
นาฏศิลป์ งานศิลปท์ ่ีดีต้องมี นาฏศลิ ปแ์ ละละคร เปน็ การส่งเสริม ให้เห็นคณุ ค่าลลี าศลิ ปไ์ ทย ยคุ สมยั เปน็ การส่งเสริมใหเ้ กิด
องคป์ ระกอบท่ีครบถว้ นสมบูรณ์ จินตนาการ เกดิ ความสนกุ สนาน ความรกั ความภาคภมู ิใจ หวงแหน
งานศิลปส์ วยดว้ ยการพมิ พภ์ าพ และอนรุ ักษง์ านศิลปไ์ ทย
รปู ร่าง รปู ทรง จาก ๒ มติ ิ สู่ ๓ มติ ิ การสรา้ งงานทศั นศลิ ปโ์ ดยใช้
น้าหนัก - สี - แสงเงา สร้างสรรค์งานปนั้ งานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนชีวิตและ
การจดั องค์ประกอบศิลป์ วัฒนธรรม
การวาดภาพถา่ ยทอดความร้สู กึ รอ้ งเพลงไทยและเพลงสากลท่ีเหมาะกับวัย
ประเภทเคร่ืองดนตรี และจินตนาการ ดนตรใี นแตล่ ะยุคสมัย
และองคป์ ระกอบของดนตรี การใชด้ นตรีในการแสดงออก
อา่ นเขียนโนต้ ดนตรไี ทยและสากลทานอง การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทต่าง
หลักและวธิ ีการปฏิบัตนิ าฏศลิ ป์ ง่าย ๆ หลักและองคป์ ระกอบทางนาฏศลิ ป์
และการละคร ความหมาย ความเปน็ มาและ
ใชเ้ คร่ืองดนตรบี รรเลงประกอบการรอ้ ง ความสาคญั ของนาฏศลิ ป์และการ
เพลงงา่ ย ๆ การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละคร
ละคร
หลกั และการประดิษฐ์ท่าราประกอบเพลง

การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย

แผนท่ี ๑ สแี ละวรรณะสี โคโรคงรสงสราร้างงแแผผนนกการจดั กกาารรเเรรียียนนรรู้ขขูอองหงนหว่นยวกยากรเารรยี เนรยีรู้บนูรรณบู าูรกณารากหานรว่ ยหทนี่ ว๘ยทส่ีนุ ๘ทรยีสศนุ ิลทปร์ ยี ศิลป

- วงสธี รรมชาติ และสคี ู่ตรงข้าม แผนที่ ๑ รปู รา่ งรปู ทรง แผนท่ี ๔ หลกั และการปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์ แผนที่ ๑ การพิมพภ์ าพ
- วรรณะสี
- การใชส้ วี รรณะอนุ่ และใช้สีวรรณะเย็น - รูปรา่ ง รปู ทรง เส้น สี พ้ืนผวิ พืน้ ทว่ี ่าง จังหวะและ - พนื้ ฐานการราและแสดงออกตามลกั ษณะ - การพิมพ์ภาพ
วาดภาพถ่ายทอดความรูส้ กึ และจินตนาการ และแบบแผนของนาฏศิลปเ์ บื้องต้นบนหลกั - การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์สร้างงานพมิ พภ์ าพ
- การนาเสนอผลงาน ตาแหน่งของสงิ่ ต่าง ๆ ในธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อมและงาน ของความงาม - การพดู นาเสนอผลงาน
ทัศนศิลป์
แผนที่ ๒ วาดภาพระบายสี - หลกั การจัดขนาด สดั ส่วนความสมดุลในงานทศั นศลิ ป์ แผนที่ ๒ การปัน้
เพอ่ื ถ่ายทอดจนิ ตนาการ - การนาเสนอขอ้ มลู
- การสรา้ งงานปัน้ เพอ่ื ถ่ายทอดจนิ ตนาการ
- การใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ นการวาดภาพระบายสี ๒๕แผนท่ี ๒ การจดั องค์ประกอบศลิ ป์หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑แผนที่ ๓ ดนตรีนา่ รู้ด้วยการใช้ดินนา้ มนั หรือดินเหนียว
- ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของงานทศั นศลิ ป์ เรื่อง กาเนิดงานศลิ ป์ - วัสดุอปุ กรณท์ ใี ชใ้ นงานป้นั
- การสรา้ งงานทศั นศลิ ป์เปน็ แผนภาพ แผนผงั และกจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บหรู นณวยากการาชเรดุรียกน(ารสรูทจำี่ดั ๘หกิจสรกุนับรทรครมียรกศผูาิลรสู ปเรอ ยีชนนนั้ รป)ู ร(สชะําถน้ัหมรปศบั กึ รคษะราผูถปสู มท อ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาบั บปปูรรทณับาี่ปก๖ราุงร) ๒๓- การจัดระยะความลึก นา้ หนักและแสงเงา- ประโยคของบทเพลง- การใชห้ ลักการเพิ่มและลดในการสร้างสรรคง์ านป้นั
ภาพประกอบ ในการวาดภาพจากภาพ ๒ มิติ สูภ่ าพ ๓ มิติ เวลา ๖ ช่วั โมง - การถา่ ยทอดอารมณเ์ พลง - การพูดนาเสนอผลงาน
- การพดู แสดงความรสู้ ึกในการสร้างผลงาน - การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์และการสอ่ื - องคป์ ระกอบดนตรีและศพั ท์สังคีต
ความหมายในงานทัศนศลิ ป์ แผนท่ี ๓ การขบั รอ้ งเพลงไทย
แผนที่ ๓ เครอ่ื งดนตรไี ทยและสากล - การพดู นาเสนอผลงาน
- หลกั การขบั รอ้ งเพลงไทย
- ประเภทและบทบาทของเครอื่ งดนตรี หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ หน่วยย่อยท่ี ๓ - - การขับร้องเพลงสากลและเพลงสากล
- การใช้และเก็บเครือ่ งดนตรี เรือ่ ง จนิ ตนาการหรรษา เรอ่ื ง สนุ ทรยี ศิลป์ เรอ่ื ง ลีลาศลิ ป์ไทย
เวลา ๑๐ ชวั่ โมง แผนท่ี ๔ การขบั ร้องเพลงพน้ื บ้าน
แผนที่ ๔ โนต้ ดนตรีไทยและสากล เวลา ๘ ชว่ั โมง เวลา ๓๐ ช่วั โมง
- การดน้ สด
โนต้ ดนตรี แผนที่ ๑ งานทัศนศิลปส์ ะทอ้ น หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ แผนที่ ๔ นาฏศิลปแ์ ละการละคร - การสร้างสรรคป์ ระโยคเพลงถาม - ตอบ
- โนต้ ดนตรีไทย ชีวติ และวฒั นธรรม เร่อื ง ภมู ใิ จในงานศลิ ป์
- โนต้ ดนตรีสากล -- นาฏศลิ ป์และการละครมคี วามสาคญั กบั แผนท่ี ๕ หลกั และองคป์ ระกอบทางนาฏศลิ ป์
- งานทศั นศิลปใ์ นทอ้ งถน่ิ ต่าง ๆ เวลา ๖ ช่ัวโมง การดาเนินชีวิตของมนุษย์ตั้งแตเ่ กดิ จนตาย และการละคร
แผนท่ี ๕ การประดษิ ฐท์ ่าราประกอบเพลง- - อิทธพิ ลทางวัฒนธรรมในทอ้ งถน่ิ ทมี่ ผี ลต่อ มีความสาคญั ในการแสดงถึงความเปน็
การสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ แผนท่ี ๓ การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทตา่ ง ๆ อารยประเทศ และยังเปน็ แหลง่ รวบรวม - องค์ประกอบการแสดงนาฏศลิ ป์จะประกอบด้วย
- การประดิษฐท์ ่าราประกอบเพลง - การพูดนาเสนอผลงาน - นาฏศลิ ปไ์ ทย คอื ศลิ ปะการฟอ้ นราทมี่ นษุ ย์ ศลิ ปะแขนงตา่ ง ๆ ซ่ึงบทบาทของ องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ท่ีชว่ ยใหก้ ารแสดงน้ันดูสมบรู ณส์ วยงาม
เป็นการสรา้ งสรรคท์ ่าทางการราใหเ้ หมาะสม สรา้ งสรรคแ์ ละประดษิ ฐ์ข้ึน มคี วามงดงาม นาฏศิลปแ์ ละการละครยงั มคี วามสัมพนั ธ์
กับเพลง โดยการนาภาษาทา่ นาฏศิลปม์ าประดิษฐ์ แผนท่ี ๒ ดนตรีและการอนุรกั ษ์ ประณีต แผนที่ ๖ นาฏศิลป์และการละคร
สรา้ งสรรค์เปน็ ท่าราประกอบการแสดง หรอื - ดนตรีและการอนุรักษ์ กบั ชีวิตประจาวนั ได้แก่ การเล่า
ประกอบเพลงตา่ ง ๆ - ดนตรีกบั งานประเพณี นิทาน การเลียนแบบ กิจกรรมเพ่ือ - บทบาทของนาฏศิลป์และการละครเป็น
- วิวฒั นาการดนตรไี ทยใน ความบันเทงิ กิจกรรมท่ปี รากฏอยู่ในสงั คม มีความสมั พันธ์
แผนที่ ๖ การแสดงนาฏศิลปไ์ ทย ประวตั ิศาสตร์ กบั ชีวิตประจาวนั

- ราวงมาตรฐานเปน็ การแสดงท่ีเปน็ ท่าราทา่ หนงึ่
ประจาชาติไทย ท่ีมีการพัฒนาให้มีความเปน็
มาตรฐานบทเพลงที่ใชใ้ นการราวงมาตรฐาน



หนวยยอยที่ ๑
กําเนิดงานศลิ ป



๒๗

ใบสรุปหนา้ หน่วยย่อย

หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ ชอื่ หนว่ ยย่อย กาเนิดงานศิลป์

จานวนเวลาเรยี น ๖ ชว่ั โมง จานวนแผนการเรยี นรู้ ๔ แผน

สาระสาคญั ของหน่วย

งานทัศนศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศิลป์เปน็ สงิ่ ท่ที ุกคนควรไดเ้ รียนรู้ ด้านทัศนศลิ ปเ์ กิดจากเส้น รูปร่าง

รูปทรงในธรรมชาติสงิ่ แวดลอ้ ม และรปู ทรงเรขาคณิต ด้านดนตรีประกอบดว้ ยการกาเนิดเสียงในธรรมชาติ

เสียงท่มี นษุ ยส์ รา้ งข้นึ เครอ่ื งดนตรนี า่ รู้ และดา้ นนาฏศลิ ป์เกดิ จากการเลียนแบบท่าทางการเคลอื่ นไหว

ของสัตว์ การแสดงความรู้สึกนกึ คิดของมนุษย์

มาตรฐานตัวช้ีวดั

มฐ. ศ ๑.๑ ตัวชี้วัด ป.๖/๑,๒

มฐ. ศ ๒.๑ ตัวชี้วดั ป. ๖/๑,๒

มฐ. ศ ๓.๑ ตัวช้ีวดั ป.๖/๑,๒,๓

มฐ. ท ๑.๑ ตัวชีว้ ดั ป.๖/๑,๒,๕

มฐ. ท ๒.๑ ตวั ชี้วดั ป.๖/๓

มฐ. ท ๓.๑ ตัวชว้ี ัด ป.๖/๑,๒,๔

มฐ. ค ๓.๒ ตวั ชวี้ ัด ป.๖/๑

มฐ. พ ๓.๑ ตัวชี้วัด ป.๖/๑,๒

ลาดบั การเสนอแนวคิดหลัก

รปู รา่ ง รปู ทรง จาก ๒ มิติ สู่ ๓ มติ ิ

การจดั องค์ประกอบศิลป์

ประเภทเครื่องดนตรีและองค์ประกอบของดนตรี

หลกั และวธิ กี ารปฏิบตั ินาฏศิลป์

โครงสร้างของหน่วย

แผนที่ ช่อื แผน เวลา หมายเหตุ

๑ รูปรา่ งรูปทรง ๑ ช.ม.

๒ การจดั องคป์ ระกอบศิลป์ ๑ ช.ม.

๓ ดนตรนี ่ารู้ ๒ ช.ม.

๔ หลักและการปฏิบตั นิ าฏศลิ ป์ ๒ ช.ม.

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชําัน้หรปบั รคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๒๗

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๒๘ หชดุนกกวิจายรกกจารดัรรกเรจิมียกนกรรราูทมรี่ก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสิลําุมปหบชรับน้ัูรปคณรรูผะาสูถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคับรรปูผรับสู ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ โครงสร้างแผนการจัดการเรียนร้ขู องหนว่ ยการเรยี นรู้บูรณาการ หน่วยที่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป์ หนว่ ยย่อยท่ี ๑ กาเนิดงานศลิ ป์

แผนท่ี ๑ รปู รา่ งรปู ทรง หน่วยยอ่ ยที่ ๑ แผนท่ี ๔ หลักและการปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์
เรือ่ ง กาเนดิ งานศลิ ป์
- รูปรา่ ง รปู ทรง เสน้ สี พนื้ ผวิ พนื้ ทว่ี า่ ง จงั หวะ - พ้ืนฐานการราและแสดงออกตามลักษณะ
และตาแหนง่ ของสิ่งต่าง ๆในธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ ม เวลา ๖ ชวั่ โมง และแบบแผนของนาฏศลิ ป์เบื้องต้นบนหลกั
และงานทัศนศิลป์ ของความงาม
- หลกั การจดั ขนาด สดั ส่วนความสมดลุ ในงาน
ทศั นศิลป์ แผนที่ ๓ ดนตรนี ่ารู้
- กานาเสนอผลงาน
- ประโยคของบทเพลง
แผนที่ ๒ การจดั องคป์ ระกอบศิลป์ - การถา่ ยทอดอารมณ์เพลง
- องคป์ ระกอบดนตรีและศัพท์สงั คีต
- การจัดระยะความลกึ น้าหนักและแสงเงา
ในการวาดภาพ จากภาพ ๒ มติ ิ สภู่ าพ ๓ มติ ิ
- การจดั องคป์ ระกอบศิลป์และการส่อื
ความหมายในงานทศั นศลิ ป์
- การพดู นาเสนอผลงาน

คาชี้แจงประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้

แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เร่ือง รูปร่างรูปทรง เวลา ๒ ช่ัวโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคัญของแผน

รูปร่างรปู ทรง รวมถงึ จังหวะ ตาแหน่ง การจัดขนาดสัดสว่ นความสมดุลของส่งิ ต่าง ๆ

จากธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อม สามารถนามาสรา้ งสรรค์งานวาดภาพได้อย่างลงตวั การฝกึ วาดรูปร่างรูปทรง

และสงิ่ ท่ีพบเห็นในธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อม ให้เกดิ ความมุ่งม่นั ในการทางาน มคี วามใฝเ่ รยี นรู้

๒. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ในการนาแผนการจดั การเรยี นรู้ไปใชจ้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้
๒.๑ ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรยี นรู้ ส่อื และใบงานให้เขา้ ใจอย่างละเอียดก่อนจัดกิจกรรม

การเรยี นรู้

๒.๒ ครคู วรเตรยี มใบงานใหเ้ พียงพอกับจานวนนกั เรยี น

๒.๓ ครอู ธิบายความหมายรูปร่าง รปู ทรง จังหวะ ตาแหน่ง และความสมดลุ ของธรรมชาติ

ส่ิงแวดลอ้ มใหน้ ักเรยี นเข้าใจ

กิจกรรมการเรยี นรู้
ครูนานกั เรยี นศึกษาบรเิ วณรอบโรงเรยี นเพ่ือสังเกตลกั ษณะตา่ ง ๆ ของสง่ิ ที่พบเห็น
ครูสาธิตการวาดเลียนแบบของจรงิ
นักเรยี นทาใบงาน ๐๑ สิง่ ทีเ่ หน็ กับส่ิงทเี่ ปน็
นักเรียนนาเสนอผลงาน

๑. การเตรยี มสอื่ /วัสดอุ ุปกรณ์

- ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
- ใบความรู้
๒. ใบงาน/ใบความร้/ู ใบกจิ กรรม

- ทดสอบก่อนเรยี น
- ใบงานท่ี ๐๑
- การนาเสนอผลงาน
๓. การวัดและประเมนิ ผล

- การทาใบงาน ๐๑
- สังเกตการร่วมตอบคาถาม

กิจกรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ นั้หรปับรคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๒๙

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๓๐ หชดุนกกวิจายรกกจารดัรรกเรจิมียกนกรรราูทมรี่ก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสิลําุมปหบชรับน้ัูรปคณรรูผะาสูถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคับรรปูผรับสู ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ แนวการจัดการเรยี นรบู้ รู ณาการ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป์ : หนว่ ยย่อยที่ ๑ กาเนิดงานศิลป์ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง รปู รา่ งรูปทรง
บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย เวลา ๑ ช่ัวโมง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

แนวการจดั กิจกรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นา
๑. ครูชีแ้ จงตวั ชี้วดั ชน้ั ปี และจดุ ประสงค์การเรียนรใู้ หน้ ักเรียนทราบ
๒. ทดสอบก่อนเรยี นประจาหน่วยท่ี ๑ เร่อื ง กาเนิดงานศิลป์
๓. ครสู นทนาเกย่ี วกับการพบเหน็ ส่ิงตา่ ง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ ม

ข้นั สอน ๔. ครนู านักเรยี นศกึ ษาบรเิ วณรอบโรงเรยี นเพ่ือสังเกตลกั ษณะตา่ ง ๆ ของสิ่งท่ีพบเหน็
๕. ครูสาธติ การวาดเลียนแบบของจรงิ
๖. นกั เรยี นทาใบงาน ๐๑ สิง่ ทเี่ ห็นกับส่งิ ท่ีเปน็
๗. นักเรยี นนาเสนอผลงาน

ขน้ั สรปุ ๘. ครนู ักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้และวจิ ารณ์ผลงาน

วดั และประเมินผล ๑. การทาใบงาน ๐๑
๒. สงั เกตการรว่ มตอบคาถาม

แผนกาแรจผดันกกาารรเจรดั ียกนารบรูบ เูรรรูณียณนาากรบกบู้ารู ารูรณรกณาลากหุมกานสารราวกรยละหกุ่มกานสารา่วรเรยรเะรกียกียานานรรรเรูทรเูศรยี่ี ียิล๘นนปรรทู้ะสู้ศ่ีุนลิ๘คทปณระสียิตนุ ศคศทิลณารปสียติ ตศศร:ิลา ปสภห์ตานร:ษว์ าภหยไายนทษอว่ยายยไทยท่อเ่ียว๑ยลทาเี่กว๑ําล๑เานกิดาช๑เง่วันาโดินชมงศ่วังาโิลนมปชศงนั้ลิ ปแปชผ์รั้นะนแปถกผรมาะนศถรกเึกมารษศรียเึกานรษปยีราททูนปรี่่ี ๖๑ทีู้ที่่ี ๖๑เรอื่ เรงือ่ รงปู รรูปารง่ารงปู รทูปรทงรง

ขอบเขตเน้ือหา ขน้ั นา สอ่ื / แหลง่ เรียนรู้
๑. ธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
- รูปร่าง รปู ทรง เสน้ สี พ้นื ผวิ พ้ืนท่วี ่าง ๑. ครูชแ้ี จงตวั ช้วี ดั ช้นั ปี และจุดประสงค์การเรียนร้ใู หน้ ักเรียนทราบ ๒. ใบความรู้
ภาระงาน / ชน้ิ งาน
จงั หวะและตาแหน่งของสงิ่ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติ ๒. ทดสอบก่อนเรียน หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ กาเนดิ งานศิลป์ ๑. ทดสอบกอ่ นเรียน
๒. ใบงานท่ี ๐๑
ส่ิงแวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ ๓. ครูสนทนากับนกั เรยี นเกีย่ วกบั ลกั ษณะรปู รา่ ง รปู ทรง สีสนั ขนาด และ ๓. การนาเสนอผลงาน
- หลักการจดั ขนาด สดั สว่ นความสมดลุ ในงาน ตาแหนง่ การจดั วางของส่งิ ต่าง ๆ ที่พบเห็นตามธรรมชาติ เช่น ผลไม้ทรงกลม
ทัศนศิลป์ ตน้ ไม้ทรงกระบอก สใี บไม้ท่ีมีท้ังสเี ขียวเข้ม-เขยี วอ่อน-เหลอื ง-แดง-นา้ ตาล การ การวัดและประเมินผล
- การนาเสนอผลงาน จดั วางของส่งิ ต่าง ๆ ท้ังอยู่ชิดติดกัน ห่างพอประมาณ และหา่ งกันมาก ฯลฯ ๑. ประเมินความรเู้ รอื่ งรูปรา่ ง
๓๑ รปู ทรง จังหวะการจดั ตาแหน่ง
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหรู นณว ยากการาชเรดุรยี กน(ารสรูทจำี่ัด๘หกจิสรกุนับรทรครมียรกศผูาิลรูสปเรอ ียชนนัน้ รป)ู ร(สชะาํถนั้หมรปศบั กึ รคษะราผูถปูสมท อี่นศ๖)ึก(กฉษลบุมาบั บปปูรรทณับาี่ปก๖ราุงร) ๓๑จุดประสงค์การเรยี นรู้ขน้ั สอน๒. ประเมินทักษะการวาดรปู รา่ ง
ความรู้ ๔. ครนู านักเรยี นไปสงั เกตบริเวณรอบ ๆ โรงเรียน และอธิบายลกั ษณะต่าง ๆ รปู ทรง ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
๑. บอกลกั ษณะของรูปรา่ งรูปทรงทพ่ี บเหน็ ใน ของวตั ถุสงิ่ ของท่ีพบเห็นทีม่ จี ังหวะ สดั ส่วน ในการวางตวั ท่สี มดุล และสว่ นที่ ๓. ประเมินคณุ ธรรมจริยธรรมและ
ธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอ้ มได้ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ความ
วางตัวไมเ่ หมาะสม มุ่งมน่ั ในการทางาน ความใฝ่เรยี นรู้
๒. บอกหลักการจดั ตาแหนง่ ขนาดสัดสว่ นความ วธิ กี าร
๕. ครสู าธติ การวาดภาพเลยี นแบบสิง่ ของท่ีพบเห็น นามาสร้างสรรค์โดยใช้ ๑. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น
สมดุล ในการสร้างงานทัศนศิลป์ หลกั การจดั ตาแหน่ง ขนาด สัดส่วนให้สมดลุ สวยงาม ๒. ตรวจใบงาน
ทักษะ ๓. สงั เกตการทางาน
๑. การวาดรูปรา่ งรูปทรง ๖. นักเรยี นทาใบงาน ๐๑ สง่ิ ท่ีเห็นกับสง่ิ ท่เี ปน็ เครอื่ งมอื
๑. แบบทดสอบกอ่ นเรียน
๒. ทกั ษะการวาดภาพธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อม ๗. แต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงานไวห้ นา้ ช้นั เรียน ๒. ใบงาน ๐๑
โดยใช้หลกั การจัดขนาด ตาแหน่ง สดั ส่วนให้ ข้ันสรปุ ๓. แบบสงั เกตการทางาน
๘. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความรู้ที่ได้ พรอ้ มนาใบงานของนักเรยี นมา เกณฑ์การประเมิน
สมดุลสวยงาม ผา่ นเกณฑ์ตามทีก่ าหนด
นาเสนอและวิจารณ์

คณุ ธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะ

อนั พงึ ประสงค์

๑. มคี วามมงุ่ มน่ั ในการทางาน

๒. มคี วามใฝ่เรยี นรู้

แบบทดสอบก่อนเรียน
หนว่ ยการเรียนรบู้ ูรณาการที่ ๘ สนุ ทรียศิลป์ หน่วยย่อยที่ ๑ กาเนิดงานศลิ ป์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมาย  ทับตัวอักษรหนา้ คาตอบทถ่ี ูกต้องที่สดุ เพยี งคาตอบเดยี ว

๑. ภาพวาดทีจ่ ะแสดงจาก ๒ มิติ ใหด้ ูเป็น ๓ มติ ิต้องใช้องค์ประกอบใดช่วย
ก. แสงเงา - นา้ หนกั
ข. ระยะ - สัดสว่ น
ค. พ้นื ท่ีวา่ ง - ขนาด
ง. สดั สว่ น - พน้ื ทีว่ ่าง

๒. หากส่งิ ของทเ่ี ราจะวาดมีขนาดต่างกันมาก เราต้องคานึงถงึ ข้อใด
ก. แสงเงา
ข. จดั วางระยะ
ค. พน้ื ทีว่ า่ ง
ง. สดั สว่ น

๓. ขอ้ ใดมผี ลต่อความสมดุลของภาพนอ้ ยท่สี ดุ
ก. สีคู่ตรงขา้ ม
ข. วรรณะสี
ค. พ้ืนท่ีว่าง
ง. สัดสว่ น

๔. ถา้ ตอ้ งการถ่ายทอดให้รถู้ ึงบรรยากาศกลางคืนมแี สงจันทรก์ ระทบสง่ิ ของควรใชส้ ใี ด
ก. น้าเงนิ - เขียว - เหลอื ง
ข. นา้ เงิน - ส้ม - เหลอื ง
ค. มว่ ง - ส้ม - เขียว
ง. แดง - สม้ - เหลอื ง

๕. การแสดงภาษาทา่ เพ่ือจุดมงุ่ หมายข้อใด
ก. เพอื่ ใหเ้ กียรติศลิ ปนิ ผู้คดิ ค้น
ข. เพื่อสอดคล้องกบั จังหวะทานอง
ค. เพ่ือความสวยงามของการแสดง
ง. เพ่อื สอื่ ความร้สู ึกของผแู้ สดง

๓๒ ชุดกกิจารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสํามุ หบรับรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรผู ูส อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๖. การตง้ั วงทปี่ ลายนว้ิ อยใู่ นระดับไหล่ การตั้งวงแบบใด
ก. ตั้งวงบน
ข. ตงั้ วงหน้า
ค. ต้ังวงกลาง
ง. ตงั้ วงลา่ ง

๗. การแสดงใหร้ วู้ า่ เหนอ่ื ย ต้องทาอยา่ งไร
ก. ทาทา่ กระโดด
ข. ทาทา่ โบกมอื
ค. ทาท่าเกาหัว
ง. ทาทา่ หอบ

๘. องคป์ ระกอบดนตรีมีความสาคญั อย่างไร
ก. ทาให้บรรเลงดนตรีเก่งขนึ้
ข. ทาให้บทเพลงมีความละเอยี ด
ค. ทาให้บทเพลงมีความไพเราะน่าฟงั
ง. ทาใหเ้ นือ้ เพลงมีความหมายแปลกใหม่

๙. ศัพทส์ ังคตี ดนตรีไทยข้อใดเป็นเสยี งร้องท่ีไม่ตรงกับระดับเสียงท่ีถูกต้อง
ก. ไหว
ข. เพยี้ น
ค. เออื้ น
ง. ทาง

๑๐. ข้อใดไมใ่ ช่องคป์ ระกอบของดนตรี
ก. จังหวะ
ข. ทานอง
ค. ผู้ประพันธ์เพลง
ง. การประสานเสยี ง

กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ั้นหรปบั รคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๓๓

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

เฉลยแบบทดสอบ

หน่วยบูรณาการเรียนรทู้ ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป์ หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ กาเนดิ งานศลิ ป์
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน

๑. ก ๖. ค
๒. ข ๗. ง
๓. ข ๘. ค
๔. ข ๙. ข
๕. ง ๑๐. ค

๓๔ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสํามุ หบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรผู สู อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ใบงานท่ี ๐๑ บ ๘.๑/ผ ๑-๐๒

เรือ่ ง สง่ิ ท่เี หน็ กบั สงิ่ ทเ่ี ปน็

คาชี้แจง ๑. แบ่งนกั เรยี นกลุ่มละ ๓ คน

๒. ให้แต่ละกลมุ่ เลือกบริเวณรอบ ๆ โรงเรยี นที่นักเรียนชอบแลว้ ชว่ ยกันวาดภาพลายเส้นของ

สิ่งแวดล้อมทน่ี ักเรยี นเหน็ บนกระดาษพร้อมทั้งระบายสีใหส้ วยงาม

๑. ชื่อ...........................................................................................ชนั้ ............................เลขท.่ี ......................
๑. ชอื่ ...........................................................................................ชั้น............................เลขท.่ี ......................
๑. ชื่อ...........................................................................................ชนั้ ............................เลขท.่ี ......................

กจิ กรรมการเรียนรูกลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกผูารูสเรอียนนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรูผถูส มอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๓๕

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ใบความร้สู าหรับครูและนกั เรียนที่ ๑

หน่วยย่อยท่ี ๑ กาเนิดงานศิลป์ แผนการเรยี นรู้ที่ ๑
เรอ่ื ง รปู รา่ งรูปทรง

..............................................................................................................................................................................

รูปร่างในธรรมชาติ คอื โครงสรา้ งรอบนอกของวัตถุ
รูปทรง คือ รปู พรรณสณั ฐานของวตั ถุที่เรารมองเหน็ เปน็ ด้านกวา้ ง ดา้ นยาว ด้านลึกหรอื หนาของวัตถุ
เป็นสามมิติ เชน่

แตงกวาของจรงิ รูปรา่ งของแตงกวา รูปทรงของแตงกวา

มะเขือของจรงิ รูปร่างมะเขือ รูปทรงมะเขือ

กอ้ นหนิ ของจริง รูปร่างของกอ้ นหนิ รูปทรงกอ้ นหิน

๓๖ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูกู (ลสําุมหบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ใบความรูส้ าหรับครแู ละนกั เรียนท่ี ๒

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๑ กาเนดิ งานศิลป์ แผนการเรียนรู้ท่ี ๑
เร่อื ง การจดั วางในงานทัศนศิลป์

ในการสร้างงานทศั นศลิ ป์โดยเฉพาะงานวาดภาพ ตาแหนง่ การจัดวางภาพ รปู รา่ ง รปู ทรง และสี

แสงเงา ต้องอยใู่ นตาแหนง่ ท่ีลงตวั เปน็ จงั หวะทีม่ ีความพอดี เช่น ขนาด ระยะหรือตาแหนง่ ให้มจี ุดเดน่

ถา่ ยทอดอารมณ์ความรสู้ กึ ได้เหมอื นจรงิ ตัวอยา่ งการจัดวางภาพ

กระจดั กระจาย จดุ เดน่ เหมาะสม
เป็นกลุ่มกอ้ นมีเอกภาพ วางมมุ เกนิ ไป

ใหญเ่ กนิ ไป เล็กเกินไป

มีระยะความลกึ มจี ุดเด่น ระยะนาสายตา

กิจกรรมการเรียนรกู ลุม บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๓๗

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

เกณฑ์การให้คะแนนใบงาน
หน่วยย่อยท่ี ๑ แผนการเรียนรทู้ ี่ ๑

.............................................................

ระดบั ผลงาน ระดับคะแนน หมายเหตุ
มคี วามคดิ สร้างสรรค์ ถูกต้อง สวยงามมาก ๑๐
มีความคดิ สรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง สวยงาม ๘
ผลงานถกู ต้อง สวยงามเป็นส่วนมาก ๖
ผลงานถกู ต้อง สวยงาม เปน็ ส่วนนอ้ ย ๔

เกณฑ์การผ่าน ๗๐ % หมายถึงได้ ๗ คะแนนขนึ้ ไปถือวา่ ผ่าน

หมายเหตุ เนอ่ื งจากผลงานศิลปะด้านทศั นศิลป์ มคี วามหลากหลายดา้ นความคดิ เทคนิควธิ กี าร
และความแตกตา่ งทางความพรอ้ มของผเู้ รียนและวสั ดุอุปกรณ์ ดังนนั้ การให้คะแนนผลงานใบงานของนกั เรยี น
จงึ ขอให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของครูผสู้ อนดว้ ย

๓๘ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูก ู (ลสําุมหบรบัูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรูผูสอน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๓๙

แบบสังเกตการทางานของนกั เรียน

หน่วยบรู ณาการเรยี นรูท้ ี่๘ สุนทรยี ศิลป์ หน่วยย่อยที่ ๑ กาเนดิ งานศิลป์ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๑
คาช้แี จง ใหผ้ ู้ประเมนิ ทาเครื่องหมาย / ลงในชอ่ งระดับการปฏิบัติงานของนักเรยี น
โดยมเี กณฑ์ระดบั คุณภาพการประเมนิ ดังนี้

๕ มพี ฤติกรรมการทางาน มากทสี่ ุด ๔ มีพฤติกรรมการทางาน มาก ๓ มีพฤติกรรมการทางาน ปานกลาง

๒ มีพฤตกิ รรมการทางาน น้อย ๑ มพี ฤติกรรมการทางาน นอ้ ยทส่ี ดุ

พฤตกิ รรมการทางาน ระดับพฤติกรรม

๕ ๔ ๓ ๒๑

๑. มกี ารวางแผนในการทางาน

๒. ปฏิบตั ิงานด้วยความมุง่ มั่น กระตือรือร้น

๓. ทางานจนสาเรจ็

๔. มสี ว่ นรว่ มในการทากิจกรรม

๕. รจู้ ักแกป้ ญั หา

๖. ทาความสะอาดและเกบ็ อุปกรณ์เม่ือเสรจ็ งาน

๗. มีน้าใจเออ้ื เฟอื้ ในการปฏิบตั ิงานร่วมกบั ผอู้ ืน่

๘. ใช้วสั ดุอปุ กรณ์อย่างถูกต้อง

๙. ใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่างประหยัดและคุ้มค่า

๑๐. ผลงานมคี วามคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์

ช่อื ......................................................................................................................... ...........................................
โรงเรยี น .................................................................................... ชัน้ ......................... เลขท่ี .......................

เกณฑ์การผา่ น ๗๐ % หมายถงึ ได้คะแนนระดบั พฤตกิ รรมรวมทกุ ข้อ ๓๕ คะแนนข้นึ ไปถือวา่ ผ่าน

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชําั้นหรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๓๙

หนวยการเรยี นรูท ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

คาช้ีแจงประกอบแผนการจดั การเรียนรู้

แผนการเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่ือง การจดั องคป์ ระกอบศิลป์ เวลา ๑ ชั่วโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคญั ของแผน

สี พืน้ ทผี่ ิว พ้นื ท่ีว่าง ระยะความลึก แสงเงา เปน็ องค์ประกอบในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์

ทีส่ ่ือความใหป้ ระทับใจผพู้ บเหน็

๒. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ในการนาแผนการจดั การเรียนรู้ไปใชจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้
๒.๑ ครูควรศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้ สอื่ และใบงานให้เข้าใจอยา่ งละเอียดก่อนจดั กิจกรรม

การเรยี นรู้

๒.๒ ครูควรเตรียมใบงานใหเ้ พียงพอกับจานวนนกั เรยี น

๒.๓ ครอู ธบิ ายความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ ภาพทีม่ ีระยะความลึก ให้นักเรยี นเข้าใจ

กิจกรรมการเรยี นรู้

ครนู าตวั อยา่ งภาพให้นักเรียนสังเกตความแตกต่าง
ครูอธบิ ายการจัดระยะ ความลึก น้าหนัก แสงเงา และการจัดองคป์ ระกอบศิลป์
ครสู าธติ การวาดภาพใหเ้ กิดระยะ ความลึก นา้ หนกั แสงเงา
นกั เรียนปฏบิ ัตใิ บงาน ๐๑
นกั เรยี นนาเสนอผลงาน
ครูนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายผลงาน
๑. การเตรยี มส่ือ/วสั ดอุ ุปกรณ์

- ธรรมชาติสงิ่ แวดลอ้ มรอบ ๆ โรงเรยี น
- ใบความรู้
๒. ใบงาน/ใบความร/ู้ ใบกิจกรรม

- ใบงาน ๐๑
- การพูดนาเสนอผลงาน
๓. การวดั และประเมนิ ผล

- การทาใบงาน ๐๑
- สงั เกตการร่วมตอบคาถาม

๔๐ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรบัรู คณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรผู ูสอน) ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

แนวการจดั การเรยี นรู้บูรณาการ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป์ : หนว่ ยย่อยที่ ๑ กาเนิดงานศลิ ป์ แผนการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรื่อง การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์
บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ภาษาไทย เวลา ๑ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

แนวการจัดกจิ กรรม กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครนู านกั เรียนชมธรรมชาติรอบ ๆ โรงเรียน
๔๑
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหรู นณว ยากการาชเรดุรียกน(ารสรทูจำี่ัด๘หกิจสรกุนบั รทรครมยีรกศูผาิลรสู ปเรอ ียชนนน้ั รป)ู ร(สชะําถน้ัหมรปศับกึ รคษะราผูถปูสมทอ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปรู รทณบั า่ีปก๖ราุงร) ๔๑
ข้ันสอน ๒. ครูนาตัวอยา่ งภาพให้นกั เรียนสังเกตความแตกต่าง
๓. ครูอธิบายการจดั ระยะ ความลึก นา้ หนัก แสงเงา และการจัดองคป์ ระกอบศิลป์
๔. ครสู าธติ การวาดภาพให้เกิดระยะ ความลกึ นา้ หนัก แสงเงา
๕. นกั เรยี นปฏิบตั ใิ บงาน ๐๑
๖. นักเรียนนาเสนอผลงาน
๗. ครูนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายผลงาน

ข้ันสรุป ๘. ครนู ักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้ เรื่องการจัดภาพให้มีระยะ ความลกึ มติ ิ และการจัดองคป์ ระกอบศิลป์ที่สมบรู ณ์
วัดและประเมนิ ผล
๑. การทาใบงาน ๐๑
๒. สังเกตการรว่ มตอบคาถาม

แผนการแจผัดนกกาารรเจรัดียกนารรบู เรรู บยีณรู นณารกูบ้าากูรราณรบากหกูรลนาณุ่มวรสายากกหราานะรรก่วกเายรลรียกมุเนารสรยีราเนูทรรยีร่ีะ๘ู้ศนกิลราู้ทปรส่ีเะนุ ร๘ทียนรภสียรานุ ศูศษทลิิลารไปปียทะศยลิ: ปเภหว์ านล:ษาว าหยไน๑ยทว่อยยยชยท่ัวเ่อวโี่ มยล๑ทงา่ี ชก๑๑ั้นําเปนกชราิด่วัะเงนถโามมดิ นงศงศาึกิลนชษปศนั้าลิปปปทีแร์ะผี่ ๖ถแนผมกนศากึกราเษรราียเรปนียทรนทูี่ ร๖่ี ทู้ ๒่ี ๒เรเ่ือรง่ืองกากราจรจดั ัดอองคงคป ์ปรระะกกออบบศศิลิลปป ์
๔๒
๔๒ หชดุนกกว ิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูทมร่ีก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสลิ ํามุปหบชรับน้ัูรปคณรรผูะาสูถกอมานศกึ)รษก(ลาสปมุ ทบำีู่รห๖ณรา(ฉับกบาคับรรปูผรับสู ปอรงุน) ) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ขอบเขตเนอื้ หาขน้ั นาส่ือ / แหล่งเรยี นรู้
- การจัดระยะความลึก น้าหนักและแสงเงา ๑. ครูนานกั เรียนออกไปสงั เกตบรเิ วณถนนหนา้ โรงเรียน วา่ นักเรยี นสังเกตเหน็ ๑. ธรรมชาตสิ งิ่ แวดล้อมรอบ ๆ
ในการวาดภาพ จากภาพ ๒ มติ ิ สภู่ าพ ๓ มติ ิ โรงเรียน
ความแตกตา่ งของส่ิงท่ีอยู่รอบ ๆ อย่างไร ๒. ใบความรู้
- การจดั องคป์ ระกอบศลิ ปแ์ ละการสือ่ ความหมายใน ข้ันสอน ภาระงาน/ชน้ิ งาน
งานทศั นศิลป์ ๒. ครนู าภาพ ๒ ภาพทม่ี คี วามแตกตา่ งกันดา้ นระยะ ความลึก และแสงเงามาให้ ๑. ใบงาน ๐๑
- การพดู นาเสนอผลงาน ๒. การพดู นาเสนอผลงาน
นกั เรยี นสงั เกต
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓. ครูอธบิ ายถึงหลักการจดั ระยะความลึก นา้ หนกั แสงเงา และการจัด การวัดและประเมินผล
ความรู้ ๑. การประเมนิ ความรเู้ รอื่ งการจดั
๑. บอกลักษณะของภาพทเ่ี น้นระยะ ความลึก องค์ประกอบศิลป์ จากภาพ ๒ มิติเปน็ ภาพ ๓ มิตอิ ยา่ งนา่ สนใจ องคป์ ระกอบศิลป์
น้าหนัก และแสงเงาในภาพได้ ๒. การประเมนิ ทกั ษะการวาดภาพ
๒. บอกหลกั การจดั องค์ประกอบศิลปใ์ นงาน ๔. ครอู ธบิ ายการนาความรเู้ ร่ืองรูปรา่ งรปู ทรง การจดั ระยะความลกึ นา้ หนัก โดยใชห้ ลกั องคป์ ระกอบศิลป์
ทศั นศลิ ป์ได้ แสงเงามาใชใ้ นการวาดภาพจากส่งิ แวดล้อมแลว้ ให้ปฏบิ ตั ใิ บงาน ๐๑ หาดทราย ๓. การประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม
ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
๑. วาดภาพธรรมชาติแสดงระยะ ความลกึ แสนสวย ความมุง่ ม่นั ในการทางาน
นา้ หนักและแสงเงา โดยจัดองค์ประกอยศิลปท์ ี่ ความใฝเ่ รียนรู้
สมบรู ณไ์ ด้ ๕. ครูเลอื กผลงานบางส่วนใหน้ ักเรียนนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน พร้อมท้ังแนะนา วิธกี าร
คณุ ธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอนั พึง เพิ่มเติม ๑. ตรวจใบงาน
ประสงค์ ขนั้ สรุป ๒. สงั เกตการทางาน
๖. ครสู รปุ ความรู้ เร่อื งการจดั ภาพให้มีระยะ ความลกึ มิติ และการจัด เคร่ืองมอื
องคป์ ระกอบศลิ ป์ทสี่ มบูรณ์

๑. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๑. ใบงาน ๐๑
๒. ใฝ่เรียนรู้ ๒. แบบสังเกตการทางาน
เกณฑ์การประเมิน

ผา่ นเกณฑต์ ามทีก่ าหนด

๔๓ บ ๘.บ๑/๘ผ.๑๒/ผ-๐๒๑-๐๑

ใบงานที่ ๐๑

หนว่ ยย่อยท่ี ๑ กาเนิดงานศลิ ป์ แผนการเรียนรู้ท่ี ๒
เรอื่ ง หาดทรายแสนสวย

คาชแ้ี จง ให้นักเรียนวาดภาพระบายสีหาดทรายแสนสวย ให้เกดิ มิตสิ วยงาม

โชรอ่ื ง.เ.ร..ยี...น.......................................................................................................................แ......น......ว......ค......า......ต......อ......บ.............ช...้นั ........................................................เ.ล..ข...ท..่ี................................................

กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุม บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกูผารูสเรอยี นนร)ู (สชํา้นัหรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๔๓

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ใบความรู้สาหรับครูและนกั เรยี นที่ ๑

หน่วยยอ่ ยที่ ๑ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๒
เร่อื ง การจัดองคป์ ระกอบศิลป์

การจัดองค์ประกอบศลิ ป์ คือการนาเอาองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของศิลปะอันได้แก่ เสน้ สี แสงและเงา
รูปรา่ ง รูปทรง พื้นท่ผี วิ พน้ื ทีว่ ่าง ฯลฯ มาจัดเข้าด้วยกันเพือ่ ใหเ้ กดิ ความงาม ภาพท่ีสมบูรณแ์ ละสวยงาม

จะต้องรบั รู้ถงึ รูปทรง แสงเงา ระยะน้าหนักทเ่ี หมาะสมเหมือนจรงิ และดูมีมติ ิ

ตัวอยา่ ง ภาพทจี่ ดั องคป์ ระกอบศิลป์ท่ีเหมาะสม
- ภาพทแ่ี สดงถึงน้าหนกั แสงเงาโดยใช้วัสดตุ า่ งกนั

ดนิ สอดา ปากกาลูกล่นื

สชี อลค์ น้ามัน สนี า้
- ภาพทแี่ สดงระยะความลึก น้าหนักและแสงเงา

สีบอกระยะความลกึ สีบอกความลึกและแสงเงา

๔๔ ชุดกกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรับรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู ูสอน) ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๔๕

ภาพตวั อยา่ งท่ี ๑

หนว่ ยย่อยที่ ๑ กาเนิดงานศิลป์ แผนการเรียนรู้ท่ี ๒
ภาพแสดงระยะ - ความลึก

ผลงานของ : เดก็ ชายกติ ตพิ งษ์ จนั ทรท์ อง
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบ้านหลบุ เลา
สพป.สกลนคร เขต ๑

กจิ กรรมการเรียนรูกลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชําั้นหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๔๕

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ภาพตวั อย่างท่ี ๒

หน่วยยอ่ ยที่ ๑ กาเนดิ งานศิลป์ แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๒
ภาพทีไ่ ม่แสดงระยะ - ความลกึ

ผลงานของ : เดก็ หญงิ รุจริ า คณุ ปญั ญา
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรยี นบ้านหลบุ เลา
สพป.สกลนคร เขต ๑

๔๖ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูกู (ลสํามุ หบรบัรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรูผูสอน) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๔๗

แบบประเมนิ ผลงาน หน่วยย่อยที่ ๑ กาเนนิ งานศลิ ป์

แผนการเรียนร้ทู ่ี ๒ การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์

.............................................................

ระดับผลงาน ระดบั คะแนน หมายเหตุ
มคี วามคิดสร้างสรรค์ ถูกต้อง สวยงาม ๑๐
มคี วามคิดสร้างสรรค์ ถกู ต้อง ๘
ผลงานถูกต้อง สวยงามเปน็ สว่ นใหญ่ ๖
ผลงานถูกต้อง สวยงาม เปน็ สว่ นน้อย ๔

เกณฑ์การผา่ น ๗๐ % หมายถงึ ได้ ๗ คะแนนข้นึ ไปถือว่าผา่ น

เนื่องจากผลงานศิลปะด้านทัศนศิลป์ มีความหลากหลายด้านความคิด เทคนิควิธีการ และความ
แตกต่างทางความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ ดังนั้นการให้คะแนนผลงานใบงานของนักเรียนจึงขอให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครผู สู้ อนดว้ ย

กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๔๗

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

แบบสงั เกตการทางานของนักเรียน

หนว่ ยบูรณาการเรยี นรู้ที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๑ กาเนิดงานศิลป์
แผนการเรยี นร้ทู ี่ ๒ เรอื่ ง การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์

คาชี้แจง ใหผ้ ูป้ ระเมนิ ทาเคร่ืองหมาย / ลงในชอ่ งระดบั การปฏบิ ัตงิ านของนักเรยี น
โดยมีเกณฑร์ ะดับคุณภาพการประเมนิ ดังนี้

๕ มพี ฤตกิ รรมการทางาน มากทส่ี ดุ ๔ มีพฤติกรรมการทางาน มาก ๓ มีพฤติกรรมการทางาน ปานกลาง

๒ มีพฤตกิ รรมการทางาน น้อย ๑ มพี ฤตกิ รรมการทางาน น้อยที่สดุ

พฤติกรรมการทางาน ระดบั พฤตกิ รรม
๕ ๔ ๓ ๒๑
๑. มีการวางแผนในการทางาน
๒. ปฏิบตั งิ านด้วยความมุง่ มั่น กระตือรอื ร้น
๓. ทางานจนสาเรจ็
๔. มสี ่วนรว่ มในการทากิจกรรม
๕. ร้จู ักแก้ปัญหา
๖. ทาความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เม่ือเสร็จงาน
๗. มีน้าใจเอื้อเฟอื้ ในการปฏิบตั งิ านร่วมกบั ผอู้ ่ืน
๘. ใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่างถูกต้อง
๙. ใช้วสั ดุอปุ กรณ์อย่างประหยดั และคุม้ ค่า
๑๐. ผลงานมีความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์

ชือ่ ......................................................................................................................... ...........................................
โรงเรียน .................................................................................... ชน้ั ......................... เลขท่ี .......................

เกณฑ์การผ่าน ๗๐ % หมายถึงได้คะแนนระดบั พฤตกิ รรมรวมทุกข้อ ๓๕ คะแนนขึน้ ไปถือวา่ ผา่ น

๔๘ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรับูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรูผูส อน) ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๔๙

คาชี้แจงประกอบแผนการจดั การเรียนรู้

แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๓ เร่อื ง ดนตรนี า่ รู้ เวลา ๒ ชัว่ โมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. สาระสาคัญของแผน

หลักการร้องเพลงให้ไพเราะนั้นประกอบด้วยน้าเสยี งท่ีไพเราะ โครงสรา้ งของบทเพลง ความหมาย

ของประโยคเพลง การสอ่ื อารมณ์ ท้านองจังหวะ นอกจากน้นั ยงั มีองค์ประกอบของดนตรี ศพั ทส์ งั คีต และ

ประเภทของเครื่องดนตรี ในการร้องเพลงต้องมีการฝกึ ซ้าบ่อย ๆ คร้ัง ก่อใหเ้ กิดทกั ษะการร้องเพลง มีวนิ ยั

ใฝเ่ รยี นรู้ และมคี วามมุ่งมนั่ ในการท้างาน

๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการนาแผนการจดั การเรียนรไู้ ปใชจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้
ครคู วรศึกษาแผนการจดั การเรยี นรู้ สือ่ และใบงานใหเ้ ข้าใจอย่างละเอยี ดกอ่ นจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ครูควรเตรยี มใบงานให้เพียงพอกบั จ้านวนนกั เรียน

ครอู ธบิ ายความหมายของประโยคเพลง ศัพทส์ ังคีตให้นกั เรียนเขา้ ใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ครเู ปิดเพลงอมิ่ อุ่น และเพลงตืน่ เถดิ ชาวไทย ใหน้ กั เรยี นฟังแลว้ ให้นกั เรยี นช่วยกันตอบคา้ ถาม

ใหน้ ักเรียนแบ่งกล่มุ เป็น ๔ กลุ่ม ๆ

ให้แตก่ ลมุ่ จับคู่รอ้ งเพลงที่ตนเองชอบแล้วนา้ เสนอผลงานนา้ ชัน้ เรียน

ศึกษาใบงาน

ใบงานท่ี ๐๑ การแบง่ ประโยคของบทเพลง

ใบงานท่ี ๐๒ ดนตรสี ือ่ อารมณ์

ใบงานที่ ๐๓ ศัพท์สังคีตดนตรี

๑. การเตรยี มสอ่ื /วสั ดอุ ุปกรณ์

- ใบงาน

- .ใบความรู้

๒. ใบงาน/ใบความรู้/ใบกิจกรรม

- ใบงานท่ี ๐๑-๐๓

- ใบความรทู้ ี่ ๑ – ๒

๓. การวัดและประเมินผล

- ตรวจผลงาน

- แบบสงั เกตพฤติกรรม

กิจกรรมการเรียนรกู ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารูส เรอยี นนร)ู (สชํานั้หรปับรคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณาี่ ก๖าร ๔๙

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๕๐ หชดุนกกวิจายรกกจารดัรรกเรจิมียกนกรรราูทมรี่ก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสิลําุมปหบชรับน้ัูรปคณรรูผะาสูถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคับรรปูผรับสู ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ แนวการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ : หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ กาเนิดงานศลิ ป์ แผนการเรยี นร้ทู ี่ ๓ เรอื่ ง ดนตรีนา่ รู้
บรู ณาการรายวชิ าศลิ ปะ ภาษาไทย เวลา ๒ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

แนวการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขั้นนา ๑. นกั เรียนรอ้ งเพลงช้าง และบอกวา่ เนอ้ื เพลงท่รี ้องมีกป่ี ระโยค

ข้ันสอน ๒. ครเู ปิดเพลงอมิ่ อ่นุ และเพลงต่ืนเถดิ ชาวไทย ให้นกั เรียนฟงั แล้วใหน้ ักเรียนช่วยกันตอบคาถาม
๓. ให้นักเรยี นแบง่ กลุ่มเป็น ๔ กลมุ่ ๆ
๔. ให้แต่กลมุ่ จับคู่รอ้ งเพลงท่ีตนเองชอบแลว้ นาเสนอผลงานน้าช้ันเรยี น
๕. ศึกษาใบงาน
๖. ใบงานท่ี ๐๑ การแบง่ ประโยคของบทเพลง
๗. ใบงานท่ี ๐๒ ดนตรีส่ืออารมณ์
๘. ใบงานที่ ๐๓ ศพั ท์สงั คีตดนตรี

ขั้นสรุป ๙. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้ เร่ืองโครงสรา้ งของบทเพลง การสื่ออารมณ์ของบทเพลงและองคป์ ระกอบดนตรแี ละศัพท์สังคีต
วดั และประเมนิ ผล ๑๐. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ เคร่ืองดนตรีชนิดใดบ้าง ท่ีสามารถสรา้ งจังวะและทานองเพลงได้อย่างหลากลาย

๑. ประเมนิ ความรู้เร่ืองประโยคเพลงและองค์ประกอบของดนตรไี ทยและดนตรีสากล
๒. ประเมนิ ทกั ษะ จาแนกประเภทและองค์ประกอบของเคร่ืองดนตรีไทยและสากล
๓. ประเมินคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ มวี ินัย มุง่ มน่ั ในการทางาน

แผแนผกนากรจารัดจกดั ากราเรรียเรนยี รนูบรรู ู้บณรู ณากาากรารหนหวนย่วกยากราเรรเียรนยี นรูทร้ทูี่ ี่๘๘ สสุนนุ ททรรียียศศลิ ลิ ปป ์::หหนนว ว่ ยยยยออ่ ยยทท่ี ี่ ๑๑ กําเนิดงานศิลป์ แผนกกาารรเเรรียียนนรรทู้ ทู ่ี ่ี ๓๓ เรเร่อื ือ่ งง ดดนนตตรรนี ีน่าารรู้ ู
บบูรูรณณาากกาารรราายยววชิ ชิ าาศศิลลิปปะะภภาษาษาไาทไทยยเวเลวาลา๒๒ชัว่ ชโั่วมโงมงชน้ั ชปั้นรปะรถะมถศมกึ ศษึกาษปาที ป่ี ท๖ี่ ๖

ขอบเขตเนอ้ื หา ขนั้ นา ส่อื / แหล่งเรยี นรู้
- โครงสรา้ งของบทเพลง ๑. ครนู กั เรยี นรว่ มกนั ร้องเพลงชา้ ง แล้วนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ วา่ ในเพลงชา้ งมี ๑. ใบความร้ทู ่ี ๑
- องคป์ ระกอบดนตรีในเพลงทใ่ี ช้ ภาระงาน/ชิ้นงาน
ทงั้ หมดกป่ี ระโยค ๑. ผลงานตามใบงานท่ี๐๑-๐๓
สื่ออารมณ์ ๒. ครนู กั เรยี นชว่ ยกันอธิบายความหมายของประโยคเพลง
๒. การนาเสนอผลงาน
- องค์ประกอบดนตรแี ละศัพทส์ ังคตี ๓. ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่า ประโยคเพลงหมายถึง ทานองเพลงกลุ่มหนึ่ง ซง่ึ ในเพลงจะ
ประกอบดว้ ยประโยคเพลงหลายประโยคเพลง การวดั และประเมินผล
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้นั สอน ๑. ประเมนิ ความรู้เร่อื งประโยคเพลงและ
ความรู้ องคป์ ระกอบของดนตรไี ทยและดนตรีสากล
๑. บอกความมายของประโยคเพลง ๔. ครเู ปิดเพลงอ่มิ อ่นุ นักเรยี นฟงั แลว้ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๒. ประเมินทักษะ จาแนกประเภทและ
๒. แบง่ ประโยคเพลง องคป์ ระกอบของเครอ่ื งดนตรไี ทยและสากล
๓. ระบอุ งคป์ ระกอบของดนตรไี ทย - นักเรยี นฟงั และร้องเพลงอ่มิ อนุ่ แล้ว อธบิ ายเหตผุ ล สอื่ ความหมายอย่างไร ๓. ประเมินคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและ
และดนตรสี ากล คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ มีวินยั
ทกั ษะ ๕. ครูอธิบายใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ ฟังเพลงแล้วสามารถถ่ายทอดความรสู้ กึ อารมณ์และ มุ่งม่ันในการทางาน
๑. จาแนกประเภทของเครือ่ งดนตรี วธิ กี าร
ไทยและสากลได้ ความหมายของเพลงผูฟ้ งั รับรไู้ ด้ โดยมอี งคป์ ระกอบทางดนตรเี ปน็ ส่วนหนงึ่ ทชี่ ว่ ยในการถา่ ยทอด ๑. ตรวจใบงาน
๒. การจาแนก องคป์ ระกอบของดนตรี ๖. แบง่ นกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ คละช้นั ตามความเหมาะสม และมอบหมายให้นักเรยี นศกึ ษา ๒. สงั เกตพฤตกิ รรม
ไทยและสากลได้ เคร่ืองมือ
คุณธรรม จริยธรรมและคณุ ลักษณะ เก่ยี วกับเรอื่ ง การสื่ออารมณข์ องบทเพลง (จงั หวะและทานองของอารมณเ์ พลง) และ ๑. ใบงาน ๐๑ - ๐๓
อันพึงประสงค์ ๒. แบบสังเกตพฤติกรรม
๑. ใฝเ่ รยี นรู้ องคป์ ระกอบดนตรีและศพั ท์สังคตี จากใบความรู้ ๓. แบบการนาเสนอผลงาน
๒. มวี นิ ยั เกณฑ์การประเมนิ
๓. มงุ่ มนั่ ในการทางาน ๗. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ นาความรทู้ ีไ่ ดเ้ ปน็ พื้นฐานในการทาใบงานท่ี ๐๑ ผ่านเกณฑต์ ามท่ีกาหนด
๒. เครอ่ื งมือวดั
๘. ครสู ่มุ กลมุ่ นักเรยี นออกมานาเสนอคาตอบหน้าช้ันเรยี น
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
๙. ให้นกั เรียนศึกษาเก่ียวกบั ประเภทเครื่องดนตรไี ทย-ดนตรีสากล และการใช้ การดูแลรกั ษา - แบบการนาเสนอผลงาน
๑๐. นกั เรยี นแตล่ ะคนนาความร้ทู ่ีไดเ้ ป็นพนื้ ฐานในการทาใบงานที ๐๒,๐๓ ๓. เกณฑ์การประเมินผลงาน
ขนั้ สรุป
๑๑. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรู้ เรอ่ื งโครงสรา้ งของบทเพลง การสอื่ อารมณ์ของบท ผา่ นเกณฑต์ ามทก่ี าหนด

เพลงและองคป์ ระกอบดนตรีและศัพท์สงั คตี และประเภทของเครอ่ื งดนตรไี ทย และการใช้ การดแู ล
รกั ษา
๕๑
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลมุ บหรู นณว ยากการาชเรดุรยี กน(ารสรทูจำี่ดั ๘หกจิสรกุนับรทรครมียรกศผูาิลรูสปเรอ ยีชนนั้นรป)ู ร(สชะาํถน้ัหมรปศับกึ รคษะราผูถปสู มทอ่ีนศ๖)กึ (กฉษลบุมาบั บปปูรรทณับาี่ปก๖ราุงร) ๕๑

ใบงานท่ี ๐๑ บ ๘.๑/ผ ๓-๐๑

เรอ่ื ง การแบ่งประโยคของบทเพลง

คาช้ีแจง ให้นักเรยี นร้องเพลง และแบง่ ประโยคของบทเพลงทีก่ าหนด

เพลง พรปใี หม่

คาร้อง : พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพญ็ ศริ ิ
ทานอง : พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว

สวสั ดวี นั ปีใหมพ่ า ใหบ้ รรดาเราท่านรน่ื รมย์ ฤกษย์ ามดเี ปรมปรดี ์ชิ ื่นชม ตา่ งสขุ สมนิยมยินดี

ขา้ วิงวอนขอพรจากฟ้า ใหบ้ รรดาปวงท่านสุขศรี ประทานพรโดยปรานี ใหช้ าวไทยล้วนมโี ชคชัย

ใหบ้ รรดาปวงท่านสขุ สันต์ ทุกวันทุกคืนช่นื ชมให้สมฤทัย ใหร้ ่งุ เรืองในวนั ปีใหม่ ผองชาวไทยจงสวัสดี

ตลอดปีจงมีสุขใจ ตลอดไปนับแต่บดั นี้ ใหส้ ิน้ ทกุ ขส์ ขุ เกษมเปรมปรีดิ์ สวัสดวี นั ปใี หมเ่ ทอญ

ประโยคของบทเพลงพรปีใหม่ มดี ังน้ี

ชือ่ ......................................................................................................................... .........................................
โรงเรียน ................................................................................. ช้นั ......................... เลขท่ี .......................

๕๒ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรูผสู อน) ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๕๓ บบ๘๘.๑.๑//ผผ๓๓--๐๐๒๒

ใบงานท่ี ๐๒

เรื่อง ดนตรีทีใ่ ช้ส่อื อารมณ์

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนฟัง-ร้องเพลงที่กาหนดให้ แลว้ วิเคราะห์ และการสื่ออารมณ์ของบทเพลง

เพลงอิ่มอนุ่

ศลิ ปิน : ศุ บญุ เลีย้ ง

อุ่นใดใดโลกน้ีมมิ ีเทียบเทยี ม อนุ่ อกอ้อมแขนอ้อมกอดแมต่ ระกอง

รักเจ้าจึงปลูกรกั ลูกแม่ย่อมห่วงใย ไม่อยากจากไปไกลแม้เพยี งคร่ึงวัน

* ให้กายเราใกล้กนั ให้ดวงตาใกลต้ า ใหด้ วงใจเราสองเช่ือมโยงผกู พัน

อิ่มใดใดโลกน้ีมมิ เี ทียบเทียม อิ่มอกอม่ิ ใจอ่มิ รกั ลูกหลับนอน

นา้ นมจากอกอาหารของความอาทร แมพ่ ร่าเตือนพรา่ สอนสอนสง่ั

** ให้เจ้าเป็นเด็กดีใหเ้ จ้ามพี ลัง ใหเ้ จ้าเปน็ ความหวังของแมต่ ่อไป

*** ใชเ่ พียงอุน่ ทอ้ ง ทล่ี ูกรา่ รอ้ งเพราะต้องการไออุ่น

อุ่นไอรักอนุ่ ละมุน ขอน้านมอุ่นจากอกให้ลกู ด่ืมกิน

(ซ้า * ,**, ***)

๑. จังหวะของเพลง  ช้า  ปานกลาง  เร็ว

๒. ทานอง  มีระดบั เสียงสูง-ตา่ ของเสยี งดนตรรี อ้ ยเรียงกันค่อนขา้ งถี่ ทาใหม้ เี สียงกระชับ ไมย่ ดื
 มีระดับเสยี งสงู -ต่าของเสยี งดนตรีร้อยเรยี งกันค่อนขา้ งห่าง ทาให้มีเสยี งยืดยาวออกไป

๓. การสือ่ อารมณ์ของบทเพลง
........................................................................................................................... ..............................................................
.................................................................................................................. ......................................................................

ชื่อ......................................................................................................................... .........................................
โรงเรียน .................................................................................. ชั้น ......................... เลขที่ .......................

กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารูสเรอียนนร)ู (สชําั้นหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๕๓

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

บ ๘.๑/ผ ๓-๐๓

ศพั ท์สังคตี ใบงานท่ี ๐๓
๑. กรอ
๒. กวาด เรอ่ื ง ศพั ทส์ งั คีตดนตรี

๓. ขับ คาอธบิ าย

๔. คลอ

๕. ทอด

ชือ่ ..................................................................................................................................................................
โรงเรยี น .................................................................................. ชนั้ ......................... เลขที่ .......................

๕๔ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสาํมุ หบรบัรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๕๕ บ ๘.๑/ผ ๓-๐๑

เฉลยแนวคาตอบ บ ๘.๑/ผ ๓-๐๑
ใบงานที่ ๐๑

เรอ่ื ง การแบง่ ประโยคเพลง

คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นรอ้ งเพลง และแบ่งประโยคเพลงทก่ี าหนด

เพลง พรปใี หม่

คาร้อง : พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จกั รพนั ธเ์ พญ็ ศิริ
ทานอง : พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว

สวัสดี / วนั ปใี หม่พา / ให้บรรดา / เราทา่ นรืน่ รมย์
ฤกษย์ ามดี / เปรมปรีดช์ิ น่ื ชม / ตา่ งสุขสม / นยิ มยนิ ดี
ข้าวงิ วอน / ขอพรจากฟ้า / ให้บรรดา / ปวงท่านสขุ ศรี
ประทานพร / โดยปรานี / ใหช้ าวไทย / ล้วนมโี ชคชยั
ให้บรรดา / ปวงทา่ นสขุ สนั ต์ / ทกุ วันทุกคนื / ช่ืนชมใหส้ มฤทัย
ใหร้ ุง่ เรือง / ในวนั ปใี หม่ / ผองชาว / ไทยจงสวัสดี
ตลอดปี / จงมีสุขใจ / ตลอดไป / นับแตบ่ ดั นี้
ให้ส้นิ ทุกข์ / สขุ เกษมเปรมปรีด์ิ / สวสั ดี / วนั ปีใหมเ่ ทอญ

กจิ กรรมการเรียนรกู ลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชํา้ันหรปบั รคะรูผถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๕๕

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

บ ๘.๑/ผ ๒-๐๑

เฉลยแนวตอบ
ใบงานที่ ๐๒

เรื่อง ดนตรีท่ใี ชส้ ือ่ อารมณ์

คาชี้แจง ให้นกั เรียนฟัง-ร้องเพลงทก่ี าหนดให้ แลว้ วเิ คราะห์ และการสอ่ื อารมณข์ องบทเพลง

เพลงอิ่มอนุ่

ศลิ ปนิ : ศุ บุญเลย้ี ง

อนุ่ ใดใดโลกนี้มมิ ีเทยี บเทียม อนุ่ อกอ้อมแขนอ้อมกอดแมต่ ระกอง

รกั เจ้าจงึ ปลกู รกั ลูกแม่ย่อมห่วงใย ไม่อยากจากไปไกลแมเ้ พยี งครึ่งวนั

* ให้กายเราใกล้กนั ใหด้ วงตาใกลต้ า ใหด้ วงใจเราสองเช่ือมโยงผูกพนั

อิ่มใดใดโลกนี้มิมเี ทียบเทยี ม อิ่มอกอิ่มใจอม่ิ รกั ลูกหลับนอน

นา้ นมจากอกอาหารของความอาทร แม่พรา่ เตือนพรา่ สอนสอนส่งั

** ใหเ้ จ้าเปน็ เด็กดีให้เจ้ามพี ลัง ใหเ้ จา้ เป็นความหวงั ของแมต่ ่อไป

*** ใช่เพียงอุ่นท้อง ที่ลกู ร่ารอ้ งเพราะต้องการไออุ่น

อนุ่ ไอรักอุ่นละมนุ ขอนา้ นมอนุ่ จากอกให้ลูกด่ืมกิน

(ซา้ * ,**, ***)

๑. จงั หวะของเพลง  ช้า  ปานกลาง  เร็ว

๒. ทานอง  มรี ะดับเสียงสูง-ต่าของเสยี งดนตรีรอ้ ยเรียงกนั ค่อนข้างถี่ ทาให้มเี สยี งกระชับ ไมย่ ืด
 มรี ะดบั เสยี งสูง-ต่าของเสียงดนตรีรอ้ ยเรยี งกนั ค่อนข้างหา่ ง ทาใหม้ ีเสียงยดื ยาวออกไป

.๓... การส่ืออารมณ์ของบทเพลง
...........เป็นบทเพลงทส่ี อื่ อารมณ์ความสมั พนั ธ์ของแม่ท่ีมีตอ่ ลูก....เม่ือได้ฟงั จะซาบซ้งึ ในความร้สู กึ ที่ได้จาก.เ.น...้ือ..เ..พ..ล...ง....
.......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................

๕๖ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสําุมหบรบัรู คณรผู าูส กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

บ ๘.๑/ผ ๓-๐๓

เฉลยแนวคาตอบ
ใบงานท่ี ๐๓

เรอื่ ง ศัพทส์ งั คตี ดนตรี

ศัพท์สงั คตี คาอธิบาย

๑. กรอ เปน็ วธิ กี ารบรรเลงดนตรีประเภทเครอื่ งตี โดยมากมักจะเป็นภาษาเอกดาเนนิ ทานองเพ่อื ให้เกิด
เสยี งตอ่ เน่อื งกันเป็นเสียงยาวสม่าเสมอ

๒. กวาด เปน็ วธิ กี ารบรรเลงดนตรปี ระเภทเครอ่ื งตีดาเนินทานอง เช่น ระนาดเอก ระนาดท้มุ ฆ้องวงใหญ่
ฆ้องวงเลก็ เปน็ ต้น โดยใช้หัวไมต้ ีลากไปบนเคร่ืองดนตรโี ดยเร็ว เพ่อื ใหเ้ กิดเสียงต่อเน่อื งกัน

๓. ขบั เปน็ การเปลง่ เสยี งออกมาเพ่อื นาเสนอเรอื่ งราวดว้ ยทานองท่ไี มซ่ บั ซอ้ น เช่น ขบั เสภา ขับกล่อม
เป็นต้น

๔. คลอ เป็นการบรรเลงดนตรีไปพร้อมกบั การขับร้อง เชน่ การสีซอสามสายไปกบั การขบั ร้อง

๕. ทอด ๑. เป็นการผอ่ นจงั หวะใหช้ ้าลง โดยมากใชก้ ับการบรรเลงก่อนทจี่ บเพลงหรอื จบท่อน
๒. เป็นการขบั รอ้ งเพลงละครนอกอยา่ งหนึง่

กิจกรรมการเรียนรกู ลุมบูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ้ันหรปบั รคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๕๗

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ใบความรสู้ าหรับครูและนกั เรียนท่ี ๑

เรือ่ ง ศัพท์สังคีตดนตรี

ศัพทส์ ังคตี ดนตรไี ทย คาอธิบาย
๑. กรอ เป็นวธิ กี ารบรรเลงดนตรีประเภทเคร่ืองตี โดยมากมักจะเป็นภาษาเอกดาเนินทานอง
๒. กวาด เพอ่ื ให้เกิดเสียงต่อเนื่องกันเป็นเสยี งยาวสมา่ เสมอ

๓. ขับ เป็นวธิ กี ารบรรเลงดนตรปี ระเภทเคร่อื งตดี าเนินทานอง เช่น ระนาดเอก ระนาดทมุ้
๔. คลอ ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก เปน็ ต้น โดยใช้หัวไมต้ ีลากไปบนเครื่องดนตรโี ดยเร็ว เพ่ือให้
เกดิ เสียงต่อเน่ืองกัน
๕. ทอด
เป็นการเปล่งเสียงออกมาเพื่อนาเสนอเรื่องราวดว้ ยทานองทไ่ี ม่ซบั ซ้อน เช่น ขับเสภา
๖. เดี่ยว ขบั กล่อม เป็นต้น
๗. ตบั
๘. ทาง เป็นการบรรเลงดนตรไี ปพร้อมกบั การขบั ร้อง เชน่ การสซี อสามสายไปกับ
๙. เพี้ยน
๑๐. ไหว การขับร้อง
๑๑. เออื้ น
๑. เป็นการผอ่ นจังหวะใหช้ ้าลง โดยมากใชก้ ับการบรรเลงก่อนทจ่ี บเพลงหรอื

จบทอ่ น
๒. เปน็ การขบั รอ้ งเพลงละครนอกอยา่ งหน่งึ
เป็นวิธีการบรรเลงดนตรดี ้วยเพลงท่ีแต่งขึน้ เป็นพเิ ศษ เพื่อแสดงความสามารถของ
ผบู้ รรเลงและภมู ิปัญญาของผู้แต่งเพลงน้ัน โดยใช้เคร่ืองหมายประเภททานอง

เปน็ เพลงประเภทหนึ่งท่นี าเพลงหลายๆ เพลง มาขับร้องและบรรเลงตดิ ต่อกนั ไป

เป็นวธิ ดี าเนนิ ทานองโดยเฉพาะของเคร่ืองดนตรีแตล่ ะอยา่ ง เชน่ ทางระนาดเอก
ทางจะเข้ เป็นต้น

เปน็ เสยี งที่ไม่ตรงกบั ระดบั เสยี งทถี่ กู ตอ้ ง

เป็นวิธีการบรรเลงใหเ้ สยี งดนตรีมีระยะถ่แี ละจังหวะเร็วมากกวา่ ธรรมดา

๑. เปน็ วธิ ขี บั รอ้ งโดยเปลง่ เสยี งเป็นทานองดนตรรี ะหวา่ งคารอ้ ง
๒. เป็นวิธกี ารบรรเลงดนตรีโดยทาเสยี งดนตรีให้เลอ่ื นไหลติดตอ่ กนั

๕๘ ชุดกกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสาํุมหบรบัูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๕๙

ศพั ทส์ ังคีตดนตรสี ากล

ศพั ท์สังคีตดนตรสี ากล เป็นคาส่ังทางดนตรีท่บี อกใหผ้ เู้ ล่นปฏบิ ัตติ าม เพ่อื ให้เกดิ อารมณเ์ พลงตามทผี่ แู้ ต่ง
ต้องการ นิยมเขยี นเป็นภาษาอิตาเลียน โดยอาจแบ่งเปน็ หมวดหมู่ ดังนี้
๑. ศัพท์สังคีตท่ีแสดงความชา้ หรอื เร็วของจังหวะเพลง เช่น

Largamente [ ลาร์กาเมนเต ] หมายถงึ ช้า
Allegretto [ อัลเลเกรตโต ] หมายถงึ เร็ว
๒. ศัพทส์ งั คตี ท่ีแสดงความดงั หรอื เบาของเสียง เช่น
Forte [ ฟอรเ์ ต ] หมายถงึ ดงั
Piano [ เปียโน ] หมายถึง เบา
๓. ศัพทส์ งั คีตที่ใชแ้ สดงความรสู้ ึก เชน่
Amoroso [ อาโมโรโซ ] หมายถงึ หวานซง้ึ
Vivace [ ววี าเช ] หมายถึง อยา่ งมีชวี ิตชีวา
๔. ศพั ทส์ ังคีตทว่ั ไปทีใ่ ช้กบั ดนตรี เช่น
Introduction [ อินโทรดักช้ัน ] หมายถึง ตอนนาหรือทอ่ นนาของเพลง
Solo [ โซโล ] หมายถงึ เพลงเด่ียวหรือแสดงเดี่ยว

กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ัน้หรปบั รคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๕๙

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )


Click to View FlipBook Version