The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-29 07:33:43

แผนบูรณาการ

แผนบูรณาการ

คาช้ีแจงประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้

แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๔ หลกั การปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์ เร่ือง เวลา ๒ ช่วั โมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคญั ของแผน

การปฏบิ ัตินาฏศิลปใ์ ห้เกดิ ความอ่อนชอ้ ย สวยงามถูกต้องตามแบบฉบบั ของกรมศิลปากร ผแู้ สดง

จกั ตอ้ งแสดงการฟ้อนราให้ถูกต้องตามหลกั นาฏศิลป์ไทย หรือนาฏยศพั ท์ เชน่ การจีบ การตง้ั วง นอกจากนี้

ภาษาทา่ ทางหรือนาฏยศัพทย์ ังสามารถสอ่ื ความหมายใหผ้ แู้ สดงและผู้ชมไดเ้ ขา้ ใจเร่ืองราวทแ่ี สดงไดส้ มบรู ณ์

มากขึ้น

๒. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมในการนาแผนการจดั การเรียนรู้ไปใช้จดั กจิ กรรมการเรียนรู้

๒.๑ ครูควรศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้ สือ่ และใบงานให้เข้าใจอย่างละเอียดก่อนจดั กิจกรรม

การเรยี นรู้

๒.๒ ครูควรเตรียมใบงานให้เพยี งพอกับจานวนนักเรียน

๒.๓ ครอู ธิบายความหมายของนาฏยศัพท์ และภาษาท่านกั เรยี นเขา้ ใจ

กิจกรรมการเรยี นรู้

นกั เรียนแบ่งกลุ่มเพื่อฝกึ ปฏิบัติเป็นกลุ่ม รับใบกิจกรรมเพื่อปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนในใบกจิ กรรม แล้ว

นาเสนอผลการปฏบิ ตั ิตอ่ หน้าชั้นเรยี น
ครูสาธติ การทาท่านาฏยศัพท์ ภาษาท่าทาง นักเรียนฝึกปฏิบตั ิตามการสาธิต

ใบงานที่ ๐๑ - ตบี ทผญา

๑. การเตรียมสื่อ/วัสดอุ ุปกรณ์

- แผนภูมบิ ทผญา
- ใบความรูน้ าฏยศัพท์ ภาษาทา่ ทาง

๒. ใบงาน/ใบความรู้
- ใบงาน ๐๑ - ๐๕

– แบบทดสอบหลังเรียน ประจาหนว่ ยท่ี ๑
๓. การวดั และประเมนิ ผล

- ประเมินความรู้เรื่องนาฎยศัพท์ ภาษาท่าทาง

- ประเมนิ ทักษะการอธิบายท่านาฎยศัพท์ การแสดงทา่ ราตามนาฎยศพั ท์ ภาษาทา่ ทางและราแมบ่ ท

- ประเมินคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝ่รู้ และสร้างสรรค์ กระตือรือรน้ ในการทา

กจิ กรรม กล้าแสดงออก

๖๐ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํุมหบรบัูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

แนวทางการจดั การเรียนรูบ ูรณาการ หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป : หนวยยอยที่ ๑ กาํ เนิดงานศิลป แผนการเรยี นรทู ่ี ๔ เรื่อง หลักและการปฏบิ ตั ินาฏศิลป
บูรณาการกลมุ สาระการเรยี นรูศ ิลปะ สขุ พลศึกษาและพลศกึ ษา สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาไทย เวลา ๒ ชั่วโมง ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖

แนวทางการปฏบิ ตั ิกิจกรรม กิจกรรมการเรยี นรู้

กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บหรู นณวยากการาชเรุดรยี กน(ารสรทูจำ่ีดั ๘หกิจสรกุนบั รทรครมียรกศูผาลิรูสปเรอ ยีชนนั้นรป)ู ร(สชะําถ้นัหมรปศบั ึกรคษะราผูถปสู มท อ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปูรรทณบั าี่ปก๖ราุงร) ๖๑ ขน้ั นา ๑. ครแู จ้งจดุ ประสงคร์ ายปี ใหน้ ักเรยี นทบทวนท่านาฏยศัพท์ ภาษาท่าทาง ทีน่ ักเรียนเรยี นผ่านมา
๒. ครใู หน้ ักเรียนดูรปู ภาพหรือวีดที ัศน์การแสดงท่านาฏยศัพท์ ภาษาท่าทาง

ข้ันสอน ๓. นกั เรียนแบง่ กลุม่ เพ่อื ฝึกปฏิบัติเป็นกลมุ่ รบั ใบกจิ กรรมเพ่อื ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนในใบกิจกรรม แลว้ นาเสนอผลการปฏบิ ัติตอ่ หน้าช้นั เรียน
๔. ครูสาธติ การทาทา่ นาฏยศัพท์ ภาษาท่าทาง นักเรียนฝึกปฏบิ ัตติ ามการสาธติ
๕. ใบงานท่ี ๐๑ - ตีบทผญา

ขั้นสรุป ๖. ครูและนักเรียนสรุปทา่ ราในนาฏยศัพท์ท่ีเรียนมา ทบทวนท่านาฏยศัพท์พรอ้ มกัน กจิ กรรมรวมชน้ั นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปและสร้าง
วัดและประเมนิ ผล องค์ความรู้เกยี่ วกับการนานาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทางและการแปลความหมายของบทราท่ีตอ้ งมีความสอดคล้องกนั กบั ภาษาทา่ ทาง และนาฏยศพั ท์
การบรู ณาการกบั วชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษา

๑. ประเมนิ ความรู้เรื่องนาฎยศัพท์ ภาษาทา่ ทาง
๒. ประเมินทกั ษะการอธิบายท่านาฏยศัพท์ การแสดงท่าราตามนาฎยศัพท์ ภาษาทา่ ทางและราแม่บท
๓. ประเมนิ คณุ ธรรมจริยธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ใฝร่ ู้ และสรา้ งสรรค์ กระตือรือรน้ ในการทากจิ กรรม กลา้ แสดงออก

แผนจดัแผกนารจเดัรกยี านรรเูบรยีรู นณรา้บู กูราณรากหานรว ยหกนา่วรยเกรายี รนเรรยีูท น่ี ๘รทู้ สี่ ๘ุนทสรนุ ียทศริลียปศิล:ปห์ น: หว ยนย่วอยยย่อทยี่ ๑ท่ี ๑กาํ กเนาเดิ นงดิ างนาศนลิศปลิ ป ์ แแผผนนกกาารรเรเรียียนนรรูทู้ท่ี ่ี๔๔ เเรรือ่ อื่ งง หหลลกักั แแลละะววธิิธีกีกาารรปปฏฏิบิบตั ัตนิ ินาาฏฏศศิลลิปป์ 
บรู ณาบกรูาณรกาลกมุารสกาลร่มุะกสาระเรกียานรเรรูศยี ลิ นประูศ้ ิลปสขุะศสกึ ุขษศากึแษลาะแพลละศพึกลษศาึกษสางั คสมงั คศมึกศษกึ าษศาศสานสานแาลแะลวะฒั วฒันธนรธรรมรมแแลละะภภาาษษาาไไททยย เเววลลาา ๒๒ ช่ัวโมง ชน้ั ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ท ่ี ๖่ี ๖
๖๒
๖๒ หชดุนกกว ิจายรกกจารัดรรกเริจมียกนกรรราูทมร่ีก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสลิ ํามุปหบชรับน้ัูรปคณรรผูะาสูถกอมานศกึ)รษก(ลาสปมุ ทบำี่รูห๖ณรา(ฉับกบาคับรรปูผรับสู ปอรงุน) ) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ขอบเขตเนื้อหา
- พืน้ ฐานการราและแสดงออกตาม ขน้ั นา สอื่ / แหล่งเรียนรู้
ลักษณะและแบบแผนของนาฏศลิ ป์ ๑. ครูชแ้ี จงตวั ช้ีวดั ชัน้ ปี และจุดประสงคใ์ หน้ กั เรยี นทราบ ๑. แผนภูมิบทผญา
เบ้ืองต้นบนหลกั ของความงาม ๒. ครเู ชอื่ มโยงความร้เู ดมิ จากการเรียนนาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทางในชั้นที่เรยี นผา่ นมา ( ในช้นั ป.๕ ) เช่นความหมาย ๒. ใบความรนู้ าฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ทาง
นาฏยศัพท์ ภาษาท่าทาง ให้นักเรียนชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ งครนู าคาตอบของนักเรยี นมาถามตอ่ ภาระงาน / ชิ้นงาน
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓. ทบทวนท่านาฏยศัพท์ ภาษาท่าทาง ที่นกั เรยี นเรยี นผ่านมา (จีบ ตั้งวง กระทุ้งเทา้ กระดกเทา้ รัก ย้มิ ปฏิเสธ - ใบงาน ๐๑ - ๐๕
ความรู้ ไป มา เศร้าโศก ฉัน เธอ เปน็ ใหญ่ ทา่ น ดม เกอ้ เขิน เจริญรงุ่ เรือง) – แบบทดสอบหลงั เรียน ประจาหนว่ ยท่ี ๑
๑. บอกความหมายของคาวา่ นาฏยศพั ท์ ขน้ั สอน
ภาษาทา่ ทางไดถ้ กู ต้อง ๔. ครใู หน้ ักเรียนดูรูปภาพหรือวีดทิ ัศน์การแสดงทา่ นาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ทาง สาธติ ท่าราทลี ะทา่ พร้อมท้งั อธิบายขัน้ ตอน การวดั และประเมนิ ผล
ทักษะ กระบวนการ การปฏบิ ตั ิ ๑. ประเมนิ ความรู้เร่ืองนาฏยศัพท์ ภาษาทา่ ทาง
๒. เขียนคาอธบิ ายท่ารา นาฏยศพั ท์ ภาษา ๕. นักเรยี นจับคู่ ฝกึ ซอ้ มท่านาฏยศพั ทจ์ นชานาญ และเปลย่ี นกนั ปฏิบัติทา่ นาฏยศพั ท์ ใหเ้ พือ่ นวจิ ารณท์ า่ รา ๒. ประเมินทักษะการอธิบายทา่ นาฏยศัพท์
ท่าทาง ได้ นาฏยศัพทเ์ พอ่ื ให้เกดิ การพัฒนา และเห็นข้อบกพร่องของตนเอง และเพอ่ื นและปรับปรงุ ให้สวยงามและถกู ตอ้ งตาม การแสดงท่าราตามนาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ทางและ
๓. ราท่านาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทาง และทา่ รา หลักนาฏศิลปไ์ ทย ราแมบ่ ท
แมบ่ ทตามไดถ้ กู ตอ้ งสวยงาม ๖. ในการปฏบิ ตั ิให้นกั เรยี นปฏิบัติทลี ะทา่ ช้า ๆพร้อม ๆกนั เพื่อครูจะได้แนะนาแกไ้ ขไปพรอ้ ม ๆ กนั ด้วย หรอื ให้ทบทวน ๓. ประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ
๔. นาทา่ รานาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ทาง และ
ทา่ ราแมบ่ ทมาใช้ตบี ทประกอบการแสดงละคร กันเอง แยกนกั เรยี นทีม่ ีทกั ษะด้านนาฏศิลป์ดูนกั เรียนท่ยี ังขาดทกั ษะ โดยครูเปน็ คอยแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด ประสงค์ ใฝร่ ู้และสรา้ งสรรค์ กระตือรือร้น
๕. นักเรียนสามารถแสดงท่าประกอบบทกลอน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะ ๗. ใหน้ ักเรียนดูแผนภมู บิ ทผญา ใหน้ กั เรียนตที ่าทางใหส้ อดคล้องกบั บทผญา ในการทากิจกรรม กลา้ แสดงออก
๘. ให้นักเรียนอา่ นบทกลอนพร้อมกนั อกี ครั้ง ครสู าธติ ภาษาท่าตามบทกลอนนนั้ ๆใหน้ กั เรยี นดูแลว้ ตรวจสอบท่าทกี่ ลมุ่
อนั พึงประสงค์ ตนคดิ ว่าสอดคล้องกบั ทคี่ รสู าธิตหรือไม่ วธิ ีการ
๙. แบ่งกลุม่ นักเรยี นออกเป็นสองกลมุ่ กลุ่มหนง่ึ อ่านบทกลอน อกี กลมุ่ หนงึ่ แสดงภาษาทา่ ตามบทกลอนนนั้ ๑. ตรวจใบงาน, ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น
๑. ใฝ่รู้ และสร้างสรรค์ ๒. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการรว่ มกิจกรรม
๑๐. แบง่ กลมุ่ ฝกึ ภาษาท่าตามบทกลอนบทอ่ืน ซโคึ่งนรกั งเรสียรน้หางามหานเอ่วง ยแกลาะใรหเ้วรจิ ียานรณร์ตู้ปิ –๑ช-ม๓กันเองพร้อมปรับปรงุ เคร่ืองมอื วัด
๒. กระตอื รอื รน้ ในการทากจิ กรรม ๑. ใบงาน
๓. กลา้ แสดงออก ภาษาทา่ ภายในกลุ่มของตนใหด้ ีขนึ้ ๒. แบบทดสอบหลงั เรยี น
๑๑. นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปและสรา้ งองค์ความรู้เกย่ี วกบั การนานาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทางและการนาไปการแปล ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรม, แบบประเมนิ
ความหมายของบทราท่ตี อ้ งมคี วามสอดคลอ้ งกนั กบั ภาษาท่าทาง และนาฏยศพั ท์ การบูรณาการกบั วิชาสุขศกึ ษาและ เกณฑ์การประเมนิ
พลศกึ ษา
ขน้ั สรปุ ผา่ นเกณฑต์ ามกาหนด
๑๒. ครูและนกั เรยี นสรปุ ทา่ ราในนาฏยศพั ทท์ ่ีเรยี นมา ทบทวนท่านาฏยศัพทพ์ รอ้ มกนั

๑๓. ครคู ัดเลือกนกั เรยี นท่รี ่ายราได้คลอ่ งแคลว่ สวยงามมาแสดงท่าการตีทา่ ทางตามบทละครโขน ใหเ้ พ่ือน ๆ ชมอกี

คร้ัง ครสู รุปหลกั การตบี ททา่ ราตอ้ งสอดคลอ้ งกันซ่งึ เป็นการนา นาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ทาง มาตบี ทจากบทผญา

๖๓

ใบงานท่ี ๐๑ บ ๘.๑/ผ ๔-๐๑

เรือ่ ง นาฏยศัพท์ ภาษาท่าทาง บ ๘.๑/ผ ๔-๐๑

คาชแี้ จง ให้นกั เรียนฝึกปฏิบัติท่านาฏศัพท์ ภาษาท่าทาง แลว้ ผลัดกันประเมนิ ผล ลงในตารางทก่ี าหนดให้
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ปฏบิ ัติให้ได้ ๖ ท่า

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ปฏบิ ตั ใิ ห้ได้ ๑๒ ท่า

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปฏิบตั ใิ ห้ได้ ๑๗ ท่า

การปฏิบตั ิ ผลการปฏิบัติ
ดมี าก ดี ควรแกไ้ ข
๑. ทา่ ตัวเรา
๒. ทา่ ตัวเธอ
๓. ทา่ ปฏเิ สธ
๔. ทา่ เกลยี ด
๕. ท่าไวม้ ือ
๖. ทา่ เทพพนม
๗. ทา่ ตาย
๘. ท่ามอง
๙. ท่าพรหมสี่หนา้
๑๐. ทา่ สอดสรอ้ ยมาลา
๑๑. ทา่ เฉดิ ฉนิ
๑๒. ทา่ กดี กัน
๑๓. ท่าขอโทษ
๑๔. ทา่ ศรศิลป์
๑๕. ทา่ ลักคอ
๑๖. ท่าหม่ เข่า
๑๗. ท่าขยั่นเทา้

กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกผูารูสเรอียนนร)ู (สชําน้ัหรปบั รคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๖๓

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

บ ๘.๑/ผ ๔-๐๒

ใบงานท่ี ๐๒

เร่ือง นาฏยศัพท์ ภาษาทา่ ทาง

คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเขียนบรรยายภาษาท่าต่อไปนว้ี ่าหมายถงึ อะไร

…………………………. ………………………………

………………………….. ……………………………..

………………………… …………………………..

………………………………. ……………………………

………………………………. ……………………………

๖๔ ชุดกกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูก ู (ลสําุมหบรับูรคณรผู าูส กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

๖๕ บบ๘๘.๑.๑//ผผ๔๔--๐๐๕๕

ใบงานท่ี ๐๕

เรอ่ื ง ตบี ทผญา

คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนการตคี วามหมายของบทละครราออกมาเปน็ การแสดงนาฏศลิ ป์ โดยการนานาฏยศัพท์
ภาษาท่าทาง ประดิษฐ์เป็นท่าราใหไ้ ด้ความหมายที่ถูกต้องตามหลักนาฏศิลป์

บทเพลงประกอบการแสดง
ฟอ้ นสิบสองเพ็งไทสกล
เน้ือรอ้ ง วารณุ ยี ์ กุลธรวโิ รจน์
ทานอง ภูไท
บทผญา

อภิวนั ทนานอ้ ม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช

เหนือกระหม่อม ประชาไทยนบนอบน้อมเทิดพระเกยี รติไวโ้ ดยบญุ

พระมหากรณุ าธิคณุ นาหนุนฟ้า ปวงประชาชมชนื่

คืนเดอื นเพง็ ใสดงั่ แก้ว งามแล้วทกุ ประการ

พระราชทานไฟพรอ้ ม พระประทปี เพื่อลอยล่อง

พระครองเมืองสบื สรา้ ง ยืนหม้ันอยเู่ กษม

น้อมเกล้ายงั้ กระหม่อม จอมพระทยั เฮาเอย

กิจกรรมการเรยี นรูกลุม บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ั้นหรปับรคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๖๕

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

เฉลย

ใบงานที่ ๐๒

เรื่อง นาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทาง

คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นเขยี นบรรยายภาษาทา่ ต่อไปนี้วา่ หมายถงึ อะไร

…………ท่าฉัน………………. …………ทา่ เปน็ ใหญ…่ ………

……....ท่าเทพพนม…..….. …………ทา่ เธอ…………..

………ท่าตาย………… …………ท่าทา่ น………..

……....ท่าเฉิดฉนิ …..……. ......ทา่ สอดสรอ้ ยมาลา.....…

…....…ท่าขอโทษ………… …..…ทา่ กางก้ัน…………

๖๖ ชุดกกจิ ารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสําุมหบรับูรคณรผู าูสกอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรูผูสอน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๖๗

เฉลย

ใบกิจกรรมที่ ๐๓

เร่อื ง ตบี ทผญา

ทา่ รา บทละคร คาอธิบายทา่ รา
อภวิ ันทนานอ้ ม นั่งทบั สน้ เท้า พนมมือ

พระบาทสมเด็จพระ ไหวข้ ้นึ เหนือศรี ษะ
เจา้ อยหู่ ัวภมู ิพลอดุลยเดช
มหาราช

เหนอื กระหม่อม โคง้ ลาตัวลงมา ปฏิบตั เิ หมอื นท่าท่ี ๑

ประชาไทยนบนอบน้อม น่ังพบั เพยี บลง มือปฏบิ ัติเหมือนเดมิ
เทิดพระเกียรติไวโ้ ดยบุญ

พระมหากรณุ าธิคุณนา กม้ ลาตวั ลงมา มือขวาประกบลงมือซา้ ย

หนนุ ฟ้า ดนั ลาตวั ขึ้น

กจิ กรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ัน้หรปับรคะรผูถูส มอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณา่ี ก๖าร ๖๗

หนวยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรยี ศิลป ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ท่ารา บทละคร คาอธิบายท่ารา
ปวงประชาชมชนื่ ตัง้ เขา่ ซา้ ย มือซา้ ยจีบส่งหลัง มอื ขวา

ผายมือออกข้างลาตัว

คืนเดอื นเพง็ ใสด่งั แก้ว เท้าซา้ ยก้าวเทา้ หน้า มอื ขวาช้ไี ป
ดา้ นข้างหักขอ้ มอื ลง เอียงขวา

งามแลว้ ทุกประการ เทา้ ขวาก้าวเท้าหนา้ มือปฏิบัตใิ นท่าขอ
เอยี งขวา

พระราชทานไฟพร้อม เทา้ ขวาก้าวเท้าข้าง มอื ปฏิบัติในท่าไหว้
เอียงขวา

พระประทีปเพอ่ื ลอยล่อง เท้าซา้ ยก้าวเท้าข้าง มอื ปฏิบัติในทา่ ไหว้
เอยี งซ้าย

พระครองเมืองสืบสรา้ ง เท้าขวาก้าวเท้าหนา้ มือทัง้ สองตั้งวงหกั
ข้อมือลงขา้ งลาตวั วาดขึน้ ระดับศีรษะ
เปล่ยี นเป็นตัง้ วงลา่ ง เอยี งขวา

๖๘ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรับรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรผู สู อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๖๙

ทา่ รา บทละคร คาอธิบายทา่ รา

ยนื หมัน้ อย่เู กษม กระดกเท้าขา้ งเข้าหากนั มือซ้ายจบี คว่า

สอดสงู ตงั้ วงหงายมือระดบั สูง มือขวา

ตงั้ วงระดบั ปาก เอยี งข้างเท้าทก่ี ระดก

เส้ียว

น้อมเกล้า นั่งทับสน้ เท้า พนมมือ

ยั้งกระหม่อม นัง่ พบั เพยี บลงดา้ นซา้ ย

จอมพระทัยเฮาเอย กม้ ลาตวั ลงมา มือขวาประกบลงมือซา้ ย
ดันลาตัวข้ึน

กจิ กรรมการเรียนรูกลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกูผารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ ัน้หรปบั รคะรูผถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๖๙

หนว ยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ใบความรู้

เรือ่ ง นาฏยศพั ท์ ภาษาท่าทาง

คาวา่ นาฏยศัพท์ เปน็ คาสมาสระหวา่ งคาวา่ นาฏย-ศพั ท์ พจนานกุ รมฉบบั
ราชบัณทิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใ้ ห้ความหมายว่า

นาฏย ( นาดตะยะ ) หมายถึง การฟ้อนรา การแสดงละคร
ศพั ท์ หมายถงึ เสียง คา คายากท่ีต้องแปล
นาฏยศัพท์ หมายถงึ ศพั ทท์ ่ีใช้เรยี กช่ือทา่ ราแตล่ ะท่าในวงการนาฏศลิ ป์ไทย มีชือ่ เรียกและ
ลกั ษณะการปฏบิ ัติทต่ี รงกัน
ความสาคญั ของนาฏยศพั ท์
๑. เป็นพืน้ ฐานความรใู้ นการฝกึ หัดทา่ รา
๒. เปน็ การความหมายใหร้ ับรูต้ รงกัน
๓. เสรมิ สรา้ งทักษะท่าราให้มลี ีลางดงาม
๔. ช่วยลดเวลาในการเรยี นการสอน
นาฏยศพั ทห์ รือทา่ ราเบ้ืองตน้ ทคี่ วรศกึ ษามีดังน้ี
๑. ถดั เทา้ คือ การวางเทา้ หลงั ถ่ายนา้ หนกั ตวั ไปดา้ นหลงั แลว้ ใช้จมูกเทา้ ถดั ไปข้างหน้า
แล้ววางเทา้ ที่ถัดราบลงพนื้ ถ่ายนา้ หนกั ตวั มาข้างหน้า ยกเทา้ หลังเหนอื พนื้ วางจมูกเท้าหลงั อกี เพือ่ เตรยี ม
ถัดจังหวะต่อไป การถัดเท้าแบง่ ได้สองชนิดคอื ถดั เท้าอยู่กบั ท่ี และถัดเทา้ ไขว้
๒. ตีไหล่ คอื การตีไหลไ่ ปข้างหลงั แลว้ ตไี หลก่ ลับมาขา้ งหนา้
๓. ลกั คอ หมายถึง การเอียงศีรษะและไหลใ่ นทางตรงกันขา้ ม สามารถลักคอใดก่อนกไ็ ด้หรือจะลกั
คอซ้าย-ขวา สลบั กันก็ได้ การลกั คอข้างขวา ต้องกดไหล่ซ้ายลงในเอยี งศีรษะขวา ต้องกดไหลข่ วา
ลงให้เอยี งศรี ษะข้างซ้าย

๗๐ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรูกู (ลสําุม หบรับรู คณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรูผสู อน) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

หนวยการเรียนรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๗๑
๔. ห่มเข่า เป็นกิริยาเพื่อเนน้ จังหวะในการรา อยใู่ นกริ ิยาการยกเท้าหรอื กระดกเท้า โดยเริม่ จาก
ยดื ตัวและยบุ ตัวลงเลก็ นอ้ ยอย่างรวดเร็ว คลา้ ยกบั การกระตุกหวั เขา่ อาจจะเป็นการปฏิบัตทิ เ่ี น้นจงั หวะก่อน
การกา้ วเท้า มักปรากฏในการราเชดิ ฉง่ิ การห่มเขา่ จะต้องอยู่ในกิริยาการย่อเขา่ เสมอ

๕. การขย่ันเท้า สามารถปฏบิ ตั ิได้ทง้ั ซ้ายและขวา ถ้าขยน่ั เทา้ ขวา จะเรม่ิ ดว้ ยการกา้ วเท้าขวาไป
ขา้ งหน้า เมือ่ จะขยัน่ เทา้ ให้เทนาหนักตวั มาทเี่ ท้าซา้ ยเล็กนอ้ ย ขยับเทา้ ข้นึ และวางลง น้าหนกั กลับมาอยเู่ ท้า
ขวา แลว้ ยกเทา้ ซา้ ยขนึ้ วางลงด้วยจมูกเท้าทาสลบั กนั ไปให้พร้อมกบั จังหวะเพลง การขย่นั เท้านา้ หนักจะอยู่ที่
ปลายเท้าหนา้ เปน็ หลัก เปดิ ส้นเทา้ เลก็ น้อย สามารถปฏิบตั ิได้ท้งั การขยั่นเทา้ อยู่กับที่และเคลื่อนที่

ภาษานาฏศลิ ป์
ภาษานาฏศลิ ป์ เป็นการนาทา่ ทางการเคลื่อนไหว อารมณก์ ารแสดงออกทีแ่ ตกต่างกันไป

ของมนษุ ยม์ าประดิษฐเ์ ทา่ ทางให้สวยงาม มรี ูปแบบมาตรฐานมากขนึ้ ทาให้สามารถส่งความหมาย
เพ่ือส่ือสารให้ผชู้ มเข้าใจภาษานาฏศลิ ปน์ ัน้ หมายถึงอะไร ภาษานาฏศิลป์ท่ีควรรูจ้ ักและนาไปฝึกปฏิบัติมดี ังน้ี

กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกูผารูสเรอยี นนร)ู (สชาํ ัน้หรปบั รคะรผูถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๗๑

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ทา่ ทาง ชื่อท่า ความหมาย วิธีแสดง

ท่าตัวเรา ฉนั ตวั เรา ข้าพเจ้า มือซ้ายจีบหงายเขา้ อกมอื

ขวาเท้าเอว เอียงขวา

ทา่ เธอ เธอ ชน้ี ้ิวตะแคงมือไปหาคน
ขา้ งๆ ตัว

ทา่ ปฏิเสธ หา้ ม ไมร่ บั มอื ข้างใดข้างหน่ึง ตั้งวง
ทา่ เกลยี ด ระดบั หัวเขม็ ขัด สา่ ยมือ
เกลียด ดรุ ้าย ชั่ว เล็กนอ้ ย สว่ นมืออีกข้างเท้า
ขู่เขญ็ เอว หรอื ส่งจบี หลังก็ได้

นิ้วช้ีฟาดนิ้วลงต่า แล้วเก็บ
น้ิวชี้

ท่าไว้มือ คนสาคญั ประเทศชาติ มือข้างใดข้างหนงึ่ แบมือ

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ นวิ้ ท้งั หา้ ชิดติดกัน

ท้ิงข้อมอื ไปข้างหน้า

มืออกี ข้างเท้าเอว

ท่าเทพนม เคารพ ไหว้ บิดา มือท้ังสองข้างประกบกนั
มารดา สิง่ ศกั ดิ์สิทธิ์ ระดบั อก ปลายนิ้วบาน
ออก

๗๒ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรับรู คณรูผาูส กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราับกาครรผู สู อน) ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๗๓

ท่าทาง ช่อื ทา่ ความหมาย วิธีแสดง

ท่าตาย ตาย แบมอื คว่าสองข้างระดบั หัว

เข็มขัด งอศอกแล้วหงาย

มือออก แขนตงึ ข้างลาตัว

ทา่ มอง มองดู มองหา เพ่ง มอื ขา้ งใดข้างหนึ่งจบี หงาย
ระดับหัวเข็มขดั มืออีกข้าง
สง่ จีบหลังเอียงขา้ งมือส่ง
จีบหลงั

ท่าพรหมสหี่ นา้ ยิง่ ใหญม่ โหฬารค้าจุน มอื ทัง้ สองจบี ควา่ ขา้ งลาตวั
เจริญรุง่ เรอ่ื งยง่ั ยืน ระดบั เอว หงายจบี คลาย
ออกแบมือระดับศีรษะ

ท่าสอดสรอ้ ย เอยี งซ้ายมอื ขวาต้งั วงมือ
มาลา ซ้ายจบี หงายระดบั หวั เข็ม
ขัด แล้วคลายมอื จบี ออก
ท่าเฉดิ ฉนิ สวยงามงดงาม ข้างลาตัวส่วนมือขวาท่ีตง้ั
วงใหจ้ บี ควา่ ระดับเขม็ ขัด
แล้วเปลี่ยนเป็นมือซา้ ยต้งั
วง มอื ขวาจบี หงายเอียง
ขวา

เอียงซา้ ย มือซ้ายจีบหงาย
ระดับอก มือขวาต้งั วงบน
ม้วนมือจบี ปล่อยออกเป็น
ทา่ ต้ังวง มอื ขวาแบหงาย
ระดับศรี ษะเปล่ยี นเปน็
เอยี งขวา

กิจกรรมการเรยี นรูกลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชํานั้หรปบั รคะรผูถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๗๓

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ท่าทาง ชอื่ ท่า ความหมาย วธิ แี สดง

ท่ากีดกนั กีดกนั ผู้แสดงฝา่ ยชาย กางแขน

ออกท้งั สองข้างระดับไหล่

ศรี ษะเอยี งดา้ นซ้ายมือ

ผู้แสดงฝา่ ยหญิง มือซ้าย

เหยยี ดตรงระดับไหลใ่ ห้

ขนานกับแขนขวาของฝา่ ย

ชาย แขนขวาตัง้ วงระดับ

ชายพกหันศีรษะเขา้ หาฝ่าย

ชาย

ท่าขอโทษ ขอโทษ ผแู้ สดงฝ่ายชายและฝา่ ย

หญงิ มอื ขวาเท้าเอว แขน

ซ้ายงอศอกเลก็ น้อยมือซา้ ย

ต้ังอยู่ในระดบั อก ใบหนา้

ตรงมาดา้ นหน้า

ทา่ ศรศิลป์ ศรศิลป์ (ยิงธนู) ผู้แสดงฝา่ ยชาย เหยียด

แขนซ้ายตรงตั้งมือระดบั

ไหล่ แขนขวายกข้ึนงอ

ขอ้ ศอกใหต้ งั้ ฉากกับพื้นมือ

ขวาจบี เข้าหาใบหน้า

ศรี ษะหันไปดา้ นหนา้

ผู้แสดงฝา่ ยหญิง ปฏบิ ัติ
เช่นเดยี วกันกบั ฝ่ายชาย

หลกั การตีบทหรือแสดงภาษาท่าประกอบละคร
การตีความหมายของบทละครราออกมาเปน็ ทา่ ราน้นั ควรเลือกท่าทเ่ี ปน็ ใจความสาคญั ของ

วรรคนน้ั ๆ พอ เพราะลลี าของการแสดงละครราเช่อื งช้า บางท่รี ้องเพลงไปได้วรรคหน่ึง อาจจะแสดงไดเ้ พียง

หน่งึ สองเท่านน้ั หลักของการตีความ มีดังน้ี

๑. แสดงแต่ทา่ สาคัญในวรรคนัน้ ๆ ทา่ รากับคู่พูดต้องคลอ้ งกนั

๒. ความสวยงาม การสอ่ื ความหมายให้ชัดเจน

๓. ควรเลีย่ งทา่ ซา้ กนั การเอียงศีรษะ อย่าเอียงซา้ กันหลายท่า

๔. ในการแสดงทา่ ราแต่ละท่า พยายามเปลยี่ นมือซ้ายขวาสลับกนั ไปมา อย่าใช้มือเดียวซ้ากัน

หลายทา่

๗๔ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํุม หบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราบักาครรูผูสอน) ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศิลป ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๗๕

แบบประเมินตนเอง

การปฏบิ ัตทิ ่านาฏยศัพท์

ช่อื ..........................................................เลขท่ี.......................ช้ัน................................

๑. ใหน้ กั เรียนประเมนิ ค่าตนเองว่าสามารถปฏบิ ตั ิทา่ นาฏยศพั ท์ตอ่ ไปนี้ระดบั ใด

รายการประเมนิ ผลการประเมนิ

๑.๑ ท่าตัวเรา ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

๑.๒ ท่าตวั เธอ

๑.๓ ทา่ ปฏิเสธ

๑.๔ ท่าเกลยี ด

๑.๕ ท่าไวม้ อื

๑.๖ ทา่ เทพพนม

๑.๗ ท่าตาย

๑.๘ ทา่ มอง

๑.๙ ทา่ พรหมส่ีหน้า

๑.๑๐ ทา่ สอดสรอ้ ยมาลา

๑.๑๑ ท่าเฉดิ ฉนิ

๑.๑๒ ทา่ กดี กัน

๑.๑๓ ท่าขอโทษ

๑.๑๔ ท่าศรศิลป์

๑.๑๕ ทา่ ลักคอ

๑.๑๖ ท่าห่มเข่า

๑.๑๗ ท่าขยน่ั เทา้

๒. นาฏยศพั ท์ คอื .................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

กจิ กรรมการเรยี นรูกลุมบรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ้นัหรปับรคะรผูถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๗๕

หนวยการเรียนรูท ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

เรือ่ ง หลกั และวิธกี ารปฏบิ ตั นิ าฏศิลป์

ชอ่ื .........................................................................เลขท.่ี .............ช้ัน..........................................................
คาชแ้ี จง ครูสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียนตามรายการต่อไปน้ี

ที่ รายการ ผลการสงั เกต หมายเหตุ
๔ ๓๒ ๑
๑ กล้าแสดงออก
๒ ความรว่ มมือในการร่วมกจิ กรรม
๓ มคี วามเช่อื ม่ันในตนเอง
๔ มคี วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ และชน่ื ชมใน

การปฏิบตั ิกจิ กรรม
๕ การปรบั ปรุงแกไ้ ขตนเอง

รวม

เกณฑ์การประเมิน
๔ คะแนน ดมี าก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้
๑ คะแนน ปรบั ปรงุ

นักเรียนได้คะแนน ๑๔ คะแนนขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

๗๖ ชดุ กกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรับรู คณรูผาูส กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรผู สู อน) ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศิลป ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

๗๗

เกณฑก์ ารประเมินแบบสงั เกตพฤติกรรม

เรื่อง หลกั และวิธีการปฏบิ ตั ินาฏศิลป์

รายการ คา่ คะแนน
๓๒
ประเมนิ ๔ ท่าทางมนั่ ใจแต่ ทา่ ทางเคอะเขนิ ๑
ขาดความพรอ้ ม ไมม่ นั่ ใจ ไม่กลา้ แสดงออก
กล้าแสดงออก มีความสนใจ ในการแสดง
รว่ มปฏบิ ัตงิ านเปน็
การแสดงออกและ ร่วมคิดและร่วม ร่วมปฏบิ ตั งิ าน บางครั้ง
ปฏบิ ัตงิ านแตไ่ ม่ ตามคาสงั่ ของ
พรอ้ มทีจ่ ะแสดง รว่ มแกป้ ญั หา กลมุ่ ขาดความเชื่อมนั่ ใน
ในการทางาน การแสดงออก
ทันที ไม่มีความสนกุ สนาน
มีความเช่อื มั่น มีความตงั้ ใจและ และชน่ื ชมในการ
ความรว่ มมือ ทมุ่ เทกาลงั กาย ในการ มคี วามพยายาม ปฏบิ ัติกจิ กรรม
แสดงออก ในการแสดงออก
การรว่ ม กาลังใจ อย่างเตม็ มคี วาม มีความ
สนกุ สนาน สนุกสนานและ
กจิ กรรม ความสามารถใน เพลิดเพลนิ และ ช่ืนชมใน
ชนื่ ชมในการ การปฏบิ ตั ิ
การปฏิบตั งิ านจน ปฏิบัติกิจกรรม กจิ กรรมเปน็

ประสบความสาเรจ็ บางครัง้

และรว่ มรับผดิ ชอบ

ต่อความผดิ พลาด

ท่เี กิดขึ้น

ความเชอ่ื มน่ั ใน มีความเชอื่ ม่นั และ

ตนเอง ต้ังใจในการแสดง

อยา่ งเตม็ ที่

ความ มคี วามสนกุ สนาน

สนกุ สนาน เพลดิ เพลินและ

เพลิดเพลิน ช่ืนชมในการปฏิบตั ิ

และชนื่ ชม กจิ กรรมอย่างเตม็ ท่ี

ปฏิบตั กิ จิ กรรม

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกับรรคมรกผูารูสเรอยี นนร)ู (สชําน้ัหรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๗๗

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

๗๘

รายการ ค่าคะแนน
ประเมิน
๔ ๓๒ ๑
ปรับปรุงแกไ้ ข มีความพรอ้ มและ ปรับปรงุ แกไ้ ข
สามารถปรบั ปรงุ สามารถ สามารถปรบั ปรงุ ตนเองได้บางครง้ั
แกไ้ ขตนเองได้ และใช้เวลานาน
ทนั ทว่ งทีละถูกตอ้ ง ปรับปรุงแกไ้ ข แก้ไขตนเองได้

ตนเองได้ บางครัง้

เกณฑ์การประเมิน
๔ คะแนน ดมี าก
๓ คะแนน ดี
๒ คะแนน พอใช้
๑ คะแนน ปรบั ปรุง

นกั เรียนท่ไี ดค้ ะแนน ๑๔ คะแนนขึ้นไป ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

ระดบั คุณภาพ

คะแนน ๑๕-๒๐ ระดบั ๔ หมายถงึ ดีมาก

คะแนน ๑๑-๑๔ ระดบั ๓ หมายถึง ดี

คะแนน ๖-๑๐ ระดบั ๒ หมายถงึ พอใช้

คะแนน ๑-๕ ระดบั ๑ หมายถึง ปรับปรุง

นกั เรยี นตอ้ งไดร้ ะดบั ดี ข้ึนไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

๗๘ ชดุ กกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสาํมุ หบรบัูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรผู ูส อน) ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สุนทรียศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

๗๙

เกณฑก์ ารประเมินแบบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านกิจกรรมของนกั เรยี น

เร่อื ง หลักและวิธีการปฏบิ ตั นิ าฏศลิ ป์

รายการประเมนิ คา่ คะแนน

๔ ๓๒๑

๑.การปฏบิ ตั ทิ า่ ปฏบิ ตั ิท่า ปฏิบัตทิ ่า ปฏิบตั ทิ ่า ปฏบิ ัติท่า

ตามทก่ี าหนดให้ นาฏยศัพทต์ าม นาฏยศพั ท์บางทา่ นาฏยศพั ทบ์ างทา่ นาฏยศัพท์บางทา่

ที่กาหนดใหไ้ ด้ ตามทกี่ าหนดใหไ้ ด้ ตามทก่ี าหนดใหไ้ ด้ ตามทกี่ าหนดให้

ถกู ตอ้ งและ ถูกตอ้ งและ ถกู ตอ้ งแตไ่ ม่ ไมถ่ กู ตอ้ งและ

สวยงาม สวยงาม สวยงาม ไม่สวยงาม

๒.ความตงั้ ใจใน มคี วามตงั้ ใจและ มคี วามตงั้ ใจและ มคี วามตงั้ ใจและ ไมม่ คี วามต้ังใจ
การฝึกปฏบิ ตั ิ สนใจในการฝกึ และสนใจใน
สนใจในการฝกึ สนใจในการฝกึ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม การฝึกปฏบิ ัติ
๓.ความ บางคร้งั กจิ กรรมตา่ ง ๆ
สนุกสนาน ปฏิบตั ิกจิ กรรม ปฏิบัตกิ จิ กรรมดี ไมม่ ีความ
เพลดิ เพลิน มีความ กระตอื รอื รน้ ใน
กลา้ แสดงออก ดมี าก กระตอื รอื ร้นใน การฝกึ ปฏิบัติ
การฝกึ ปฏิบัติ กจิ กรรมตา่ ง ๆ
๔.การใหค้ วาม มีความ มคี วาม กจิ กรรมเพยี ง
ร่วมมอื ภายใน บางครง้ั สมาชิกในกลุ่ม
กลุม่ ของตน กระตอื รือร้นใน กระตอื รือร้นใน ไมม่ คี วามสนใจ
สมาชกิ ใหค้ วาม และไม่เขา้ รว่ ม
การฝึกปฏิบตั ิ การฝกึ ปฏิบตั ิ สนใจและเข้ารว่ ม กจิ กรรมของกลุ่ม
กจิ กรรมของกลุ่ม
กจิ กรรม กิจกรรมดี เปน็ บางครัง้

ดมี าก

สมาชกิ ใหค้ วาม สมาชิกใหค้ วาม

สนใจและเข้า สนใจและเข้าร่วม

รว่ มกิจกรรมของ กิจกรรมของกลุ่ม

กลมุ่ ดี

ดมี าก

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุม บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกผูารูสเรอียนนร)ู (สชาํ นั้หรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๗๙

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

เกณฑก์ ารประเมนิ
๔ คะแนน ปฏิบตั ไิ ดด้ ีมาก
๓ คะแนน ปฏิบตั ไิ ดด้ ี
๒ คะแนน ปฏิบัตไิ ด้พอใช้
๑ คะแนน ปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ตค่ วรปรับปรุง

นักเรียนทไ่ี ดค้ ะแนน ๑๒ คะแนนข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
ระดบั คณุ ภาพ

คะแนน ๑๒-๑๖ ระดบั ๔ หมายถงึ ดมี าก
คะแนน ๙-๑๑ ระดับ ๓ หมายถึง ดี
คะแนน ๕-๖ ระดบั ๒ หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๔ ระดบั ๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ
นกั เรียนตอ้ งได้ระดบั ดี ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ

๘๐ ชุดกกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสําุมหบรับูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสุม บำรูหณราบักาครรูผูสอน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๘๑

แบบประเมินผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของนกั เรยี น

เรอ่ื ง หลักและวิธีการปฏบิ ตั ินาฏศลิ ป์

กล่มุ ท่ี.............................ชนั้ .........................................
คาช้แี จง ครูประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมของนักเรียน ตามรายการต่อไปน้ี

ท่ี รายการ ผลการสังเกต หมายเหตุ
๔๓๒๑
๑ การปฏบิ ตั ิท่านาฏยศพั ท์ตามทก่ี าหนดให้
๒ ความตั้งใจในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๓ มคี วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ
๔ การให้ความรว่ มมอื ในกลุม่ ตนเอง

รวม

เกณฑ์การประเมิน
๔ คะแนน ปฏบิ ัตไิ ดด้ มี าก
๓ คะแนน ปฏบิ ัตไิ ดด้ ี
๒ คะแนน ปฏบิ ัติได้พอใช้
๑ คะแนน ปฏบิ ตั ิไดแ้ ตค่ วรปรบั ปรงุ

นกั เรียนได้คะแนน ๑๒ คะแนนขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน

(ลงชอ่ื ).......................................ผปู้ ระเมนิ

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกิจรกบั รรคมรกูผารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ้ันหรปับรคะรผูถูสมอนศ)กึ กษลุมาบปูรทณาี่ ก๖าร ๘๑

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

แบบประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรม

เรอื่ ง หลกั และวธิ ีการปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์

คณุ ธรรม/จริยธรรม ผลการ

เลขที่ ชือ่ -สกุล ที่ประเมนิ รวม ประเมนิ

๑ ๒ ๓ ๔ ๕๖ ผ มผ



















๑๐

๑๑

๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ................................................................................................................................

............................................................................................................................. ........................................

ข้อประเมิน
๑ ใฝร่ ู้ สรา้ งสรรค์ ๒. กระตอื รือร้นในการทากจิ กรรม กลา้ แสดงออกหรือแสดงความคิดเหน็

๓. ปฏบิ ัตงิ านตามท่ีได้รับมอบหมาย

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ได้ ๓ คะแนน ปานกลาง ให้ ๒ คะแนน
ควรปรับปรงุ ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสนิ ผ่าน : ได้ ๗๕% หรือ ๗ คะแนน

๘๒ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสาํมุ หบรบัรู คณรผู าูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราับกาครรผู สู อน) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

เกณฑก์ ารประเมนิ พฤติกรรมการปฏิบัติ

เรือ่ ง หลกั และวิธกี ารปฏิบตั ินาฏศิลป์

------------------------------------------------
๑. ใฝ่รู้ - สรา้ งสรรค์

๓ หมายถึง มีความต้งั ใจ เอาใจใสใ่ นการปฏิบัตกิ ิจกรรม กลา้ ซักถาม
๒ หมายถงึ มีความตงั้ ใจ เอาใจใส่ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม กลา้ ซักถาม เป็นบางคร้ัง
๑ หมายถงึ ไมม่ ีความตงั้ ใจ ไมซ่ กั ถาม
๒. กระตอื รือร้นในการทากิจกรรม กล้าแสดงออกหรือแสดงความคิดเห็น
๓ หมายถึง กระตือรอื ร้นในปฏบิ ตั ิกจิ กรรม กลา้ ซกั ถาม
๒ หมายถงึ กระตือรอื รน้ ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมบา้ ง กล้าซักถาม
๑ หมายถึง ไม่กระตือรือร้นเท่าท่คี วร ไม่ซกั ถาม
๓. ปฏิบัติงานตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๓ หมายถึง ปฏบิ ตั หิ น้าท่ที ี่ได้รบั มอบหมาย
๒ หมายถึง ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่แตใ่ ห้ผอู้ ื่นชว่ ย
๑ หมายถึง ไมป่ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีเทา่ ที่ควร รบกวนเพ่ือน

---------------------------------------------------------

กิจกรรมการเรยี นรกู ลุมบรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกิจรกับรรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชําัน้หรปับรคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปูรทณาี่ ก๖าร ๘๓

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรบู้ ูรณาการที่ ๘ สนุ ทรยี ศิลป์ หน่วยย่อยที่ ๑ กาเนดิ งานศลิ ป์

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นทาเครอ่ื งหมาย  ทับตวั อักษรหน้าคาตอบท่ีถูกต้องท่สี ุดเพียงคาตอบเดยี ว

๑. ภาพวาดที่จะแสดงจาก ๒ มิติ ใหด้ ูเปน็ ๓ มติ ติ อ้ งใช้องค์ประกอบใดชว่ ย
ก. แสงเงา - นา้ หนกั
ข. ระยะ - สัดส่วน
ค. พืน้ ท่ีว่าง - ขนาด
ง. สัดส่วน - พืน้ ทวี่ า่ ง

๒. หากส่งิ ของทีเ่ ราจะวาดมีขนาดตา่ งกันมาก เราตอ้ งคานงึ ถงึ ข้อใด
ก. แสงเงา
ข. จัดวางระยะ
ค. พื้นที่ว่าง
ง. สดั ส่วน

๓. ขอ้ ใดมีผลต่อความสมดลุ ของภาพนอ้ ยทสี่ ุด
ก. สคี ู่ตรงข้าม
ข. วรรณะสี
ค. พน้ื ที่ว่าง
ง. สดั สว่ น

๔. ถ้าตอ้ งการถ่ายทอดให้ร้ถู ึงบรรยากาศกลางคนื มแี สงจันทรก์ ระทบส่งิ ของควรใชส้ ใี ด
ก. น้าเงนิ - เขยี ว - เหลือง
ข. นา้ เงิน - ส้ม - เหลอื ง
ค. ม่วง - ส้ม - เขียว
ง. แดง - สม้ - เหลอื ง

๕. การแสดงภาษาทา่ เพื่อจุดมุ่งหมายข้อใด
ก. เพ่อื ให้เกียรตศิ ิลปนิ ผู้คิดคน้
ข. เพื่อสอดคล้องกบั จังหวะทานอง
ค. เพ่อื ความสวยงามของการแสดง
ง. เพอื่ ส่ือความรู้สกึ ของผูแ้ สดง

๘๔ ชดุ กกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสาํมุ หบรบัูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำรูหณราับกาครรผู ูสอน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๘๕

๖. การตงั้ วงทป่ี ลายน้ิวอยใู่ นระดับไหล่ เปน็ การตั้งวงแบบใด
ก. ตัง้ วงบน
ข. ต้งั วงหนา้
ค. ต้ังวงกลาง
ง. ตัง้ วงล่าง

๗. การแสดงใหร้ วู้ ่าเหน่ือย ต้องทาอยา่ งไร
ก. ทาท่ากระโดด
ข. ทาทา่ โบกมือ
ค. ทาท่าเกาหัว
ง. ทาทา่ หอบ

๘. องค์ประกอบดนตรีมคี วามสาคัญอย่างไร
ก. ทาให้บรรเลงดนตรเี ก่งขึ้น
ข. ทาให้บทเพลงมีความละเอยี ด
ค. ทาให้บทเพลงมีความไพเราะนา่ ฟัง
ง. ทาให้เนือ้ เพลงมีความหมายแปลกใหม่

๙. ศัพท์สังคีตดนตรีไทยข้อใดเป็นเสียงรอ้ งท่ีไม่ตรงกบั ระดับเสยี งที่ถกู ต้อง
ก. ไหว
ข. เพ้ยี น
ค. เออ้ื น
ง. ทาง

๑๐. ขอ้ ใดไม่ใช่องค์ประกอบของดนตรี
ก. จงั หวะ
ข. ทานอง
ค. ผูป้ ระพันธ์เพลง
ง. การประสานเสยี ง

กิจกรรมการเรยี นรูก ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกผูารูส เรอยี นนร)ู (สชําั้นหรปับรคะรผูถูส มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๘๕

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรียศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

เฉลยแบบทดสอบ

หน่วยบูรณาการเรียนรู้ท่ี ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป์ หนว่ ยย่อยท่ี ๑ กาเนดิ งานศลิ ป์
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน
๑. ก ๖. ค
๒. ข ๗. ง
๓. ค ๘. ค
๔. ข ๙. ข
๕. ง ๑๐. ค

๘๖ ชุดกกิจารกจรัดรกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูกู (ลสําุม หบรบัูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู ูส อน) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

หนว ยยอยท่ี ๒
จินตนาการหรรษา



ใบสรุปหนา้ หน่วยย่อย จานวนแผนการเรียนรู้ ๖ แผน
หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ ชื่อหน่วยย่อย จินตนาการหรรษา

จานวนเวลาเรียน ๘ ชัว่ โมง

สาระสาคญั ของหนว่ ย
ทศั นศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ ล้วนมีกาเนดิ จากการประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์งานเลียนแบบธรรมชาติ

ให้เกดิ ความประทับใจผ้พู บเห็น การจะสรา้ งสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ทม่ี คี วามสวยงาม

เกิดความสนกุ สนานและส่งเสริมจินตนาการ

มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชว้ี ดั ป.๖/๒,๓,๖,๗
มฐ. ศ ๒.๑ ตัวชวี้ ัด ป.๖/๒,๓
มฐ. ศ ๓.๑ ตัวชว้ี ัด ป.๖/๒,๓,๔
มฐ. ท ๑.๑ ตัวชว้ี ัด ป.๖/๒
มฐ. ท ๒.๑ ตัวชว้ี ัด ป.๖/๒

มฐ. ท ๓.๑ ตวั ชว้ี ัด ป.๖/๑,๒,๓,๖
มฐ. พ ๓.๑ ตัวชี้วัด ป.๖/๑,๒

ลาดบั การเสนอแนวคดิ หลัก
การสรา้ งงานทัศนศิลปโ์ ดยใชน้ ้าหนัก - สี - แสงเงา
การวาดภาพถา่ ยทอดความรู้สึกและจินตนาการ
อ่านเขยี นโน้ตดนตรีไทยและสากลทานองง่าย ๆ
ใช้เครือ่ งดนตรบี รรเลงประกอบการรอ้ งเพลงง่าย ๆ
หลักและการประดิษฐท์ า่ ราประกอบเพลง
การแสดงนาฏศิลป์ไทย

กิจกรรมการเรียนรูก ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ น้ัหรปบั รคะรผูถสู มอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๘๙

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศิลป ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

โครงสรา้ งของหน่วย

แผนที่ ช่ือแผน เวลา หมายเหตุ
๑ สีและวรรณะสี ๑ ช.ม.

๒ การวาดภาพระบายสีเพ่ือถ่ายทอดจินตนาการ ๑ ช.ม.

๓ เครื่องดนตรีไทยและสากล ๑ ช.ม.

๔ โนต้ ดนตรไี ทยและสากล ๑ ช.ม.

๕ การประดิษฐ์ท่าราประกอบเพลง ๒ ช.ม.

๖ การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย ๒ ช.ม.

๙๐ ชดุ กกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรกู ู (ลสาํุมหบรับูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู ูสอน) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สนุ ทรียศิลป ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

โครงสรา้ งแผนการจดั การเรียนรขู้ องหนว่ ยการเรยี นร้บู รู ณาการ หนว่ ยที่ ๘ สุนทรียศิลป์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ จินตนาการหรรษา

แผนท่ี ๑ สีและวรรณะสี แผนที่ ๖ การแสดงนาฏศิลปไ์ ทย

- วงสีธรรมชาติ และสีคูต่ รงข้าม - ราวงมาตรฐานเป็นการแสดงท่ีเป็นท่าราทา่ หน่งึ
- วรรณะสี
- การใชส้ ีวรรณะอนุ่ และใชส้ วี รรณะเยน็ ประจาชาตไิ ทย ที่มีการพฒั นาให้มคี วามเปน็
- วาดภาพถ่ายทอดความรสู้ ึกและ
จินตนาการ มาตรฐานบทเพลงที่ใชใ้ นการราวงมาตรฐาน
- การนาเสนอผลงาน ๙๐
กจิ กรรมการเรียนรกู ลมุ บหรู นณว ยากการาชเรดุรยี กน(ารสรูทจำี่ดั ๘หกจิสรกุนบั รทรครมียรกศผูาลิรูสปเรอ ียชนนัน้ รป)ู ร(สชะาํถนั้หมรปศบั กึ รคษะราผูถปูสมท อี่นศ๖)ึก(กฉษลบุมาบั บปปูรรทณับาี่ปก๖ราุงร) ๙๑หนว่ ยย่อยที่ ๒แผนที่ ๕ การประดิษฐ์ทา่ ราประกอบเพลง
แผนที่ ๒ วาดภาพระบายสีเพ่ือถ่ายทอดจนิ ตนาการ เร่ือง จินตนาการหรรษา - การประดษิ ฐท์ ่าราประกอบเพลง
- การใช้วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการวาดภาพระบายสี เป็นการสร้างสรรคท์ ่าทางการราให้เหมาะสม
- ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของงานทัศนศิลป์ เวลา ๘ ชวั่ โมง กบั เพลง โดยการนาภาษาท่านาฏศลิ ปม์ าประดิษฐ์
- การสร้างงานทศั นศิลปเ์ ปน็ แผนภาพ แผนผังและ สร้างสรรคเ์ ปน็ ท่าราประกอบการแสดง หรอื
ภาพประกอบ ประกอบเพลงตา่ ง ๆ
- การพูดแสดงความรสู้ ึกในการสรา้ งผลงาน

แผนที่ ๓ เคร่อื งดนตรีไทยและสากล แผนที่ ๔ โน้ตดนตรไี ทยและสากล

- ประเภทและบทบาทของเครื่องดนตรี โน้ตดนตรี

- การใชแ้ ละเกบ็ เครอ่ื งดนตรี - โน้ตดนตรไี ทย

- โน้ตดนตรสี ากล

คาชแี้ จงประกอบแผนการจดั การเรียนรู้

แผนการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่ือง สแี ละวรรณะสี เวลา ๑ ชั่วโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. สาระสาคญั ของแผน

สีและวรรณะสีเป็นส่ิงท่ีก่อให้เกิดความรู้สึกในลักษณะแตกต่างกนั การร้จู กั เลือกใช้สีและวรรณะสี

เพอ่ื ถา่ ยทอดอารมณ์ความรู้สึกในการสร้างสรรค์งานวาดภาพ รวมถึงการเลือกใชส้ แี ละวรรณะสใี นชีวิต

ประจาวัน เพื่อสรา้ งความสวยงามและประทับใจแกผ่ ู้พบเห็น การฝกึ การวาดภาพโดยใชส้ ใี นวรรณะตา่ ง ๆ

ให้เกิดทักษะจินตนาการ ความม่งุ มั่นในการทางานและมคี วามใฝ่เรยี นรู้

๒. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ในการนาแผนการจดั การเรียนรู้ไปใช้จดั กิจกรรมการเรยี นรู้
๒.๑ ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ สอ่ื และใบงานให้เขา้ ใจอย่างละเอยี ดก่อนจัดกิจกรรม

การเรียนรู้

๒.๒ ครูควรเตรยี มใบงานให้เพียงพอกับจานวนนกั เรยี น

๒.๓ ครอู ธิบายความหมายวรรณะสีและสีคู่ตรงขา้ มให้นักเรียนเข้าใจ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ครูอธิบายอิทธพิ ลของสที ี่มตี ่อความรู้สึก
ครอู ธิบายทีม่ าของวรรณะสี
นักเรยี นศึกษาใบความรู้ที่ ๑
นกั เรียนทาใบงานที่ ๐๑ วงสีธรรมชาติ
นักเรียนนาเสนอผลงาน

๑. การเตรียมสอ่ื /วัสดุอุปกรณ์

- ภาพตัวอย่าง
- ใบความรู้
๒. ใบงาน/ใบความรู้
- ใบงาน ๐๑
๓. การวดั และประเมนิ ผล
- การทาใบงาน ๐๑
- สงั เกตการรว่ มตอบคาถาม

๙๒ ชุดกกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูก ู (ลสาํมุ หบรับูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรูผสู อน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๘ สนุ ทรียศิลป ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

แนวการจดั การเรียนรู้บูรณาการ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๘ สุนทรยี ศิลป์ : หนว่ ยย่อยท่ี ๒ จินตนาการหรรษา แผนการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง สแี ละวรรณะสี
บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาษาไทย เวลา ๑ ชว่ั โมง ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖

กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหรู นณว ยากการาชเรดุรยี กน(ารสรูทจำ่ีัด๘หกจิสรกุนับรทรครมยีรกศผูาลิรูสปเรอ ยีชนนั้นรป)ู ร(สชะาํถน้ัหมรปศบั ึกรคษะราูผถปูสมทอ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบมุาับบปปรู รทณบั า่ีปก๖ราุงร) ๙๓ แนวการปฏิบตั ิกจิ กรรม กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นา
๑. ครูชี้แจงตวั ชีว้ ดั ชัน้ ปี และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
๒. ทดสอบก่อนเรยี นประจาหนว่ ยท่ี ๒ เร่ือง จนิ ตนาการหรรษา
๓. ครสู นทนากบั นักเรียนเรอ่ื งความร้สู ึกท่ีได้รับจากสใี นชวี ิตประจาวนั

ข้ันสอน ๔. ครูอธิบายอทิ ธิพลของสีท่ีมตี ่อความรู้สึก
๕. ครอู ธิบายที่มาของวรรณะสี
๖. นักเรียนศกึ ษาใบความร้ทู ี่ ๑
๗. นักเรยี นทาใบงานที่ ๐๑ วงสธี รรมชาติ
๘. นกั เรยี นนาเสนอผลงาน

ขั้นสรุป ๘. ครนู กั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้และวจิ ารณผ์ ลงาน

วดั และประเมนิ ผล ๑. การทาใบงาน ๐๑
๒. สงั เกตการรว่ มตอบคาถาม

๙๔ หชดุนกกวิจายรกกจารดัรรกเรจิมียกนกรรราูทมรี่ก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสิลําุมปหบชรับน้ัูรปคณรรูผะาสูถกอมานศึก)รษก(ลาสปมุ ทบำ่ีรูห๖ณรา(ฉบักบาคับรรปูผรับสู ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ แผนการจัดการเรยี นรูบ้ ูรณาการ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป์ : หน่วยย่อยท่ี ๒ จินตนาการหรรษา แผนการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรือ่ ง สีและวรรณะสี
บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาษาไทย เวลา ๑ ชวั่ โมง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖

ขอบเขตเนื้อหา ขั้นนา สอื่ / แหลง่ เรียนรู้
- วงสธี รรมชาติ และสีค่ตู รงข้าม ๑. ครชู ีแ้ จงตัวชว้ี ดั ชนั้ ปี และจุดประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นักเรียนทราบ - ภาพตัวอย่าง
- วรรณะสี - ใบความรู้
- การใช้สวี รรณะอนุ่ และใช้สีวรรณะเยน็ ๒. ทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยย่อยท่ี ๒ จนิ ตนาการหรรษา
วาดภาพถา่ ยทอดความรู้สึกและจนิ ตนาการ ๓. ครูสนทนากบั นกั เรียนเร่อื งความรสู้ กึ ทีไ่ ด้รบั จากสใี นชวี ิตประจาวนั เชน่ เสือ้ ผ้า ภาระงาน / ชิ้นงาน
- การนาเสนอผลงาน - ใบงาน ๐๑
เคร่ืองใชต้ า่ ง ๆ ทม่ี สี อี อ่ น สีแก่ สีเขม้ สจี าง หรอื สีฉดู ฉาด สที มึ ๆ เป็นตน้
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขั้นสอน การวดั และประเมนิ ผล
ความรู้ ๕. ครูอธิบายอิทธิพลของสีท่ีมตี ่อความร้สู ึก เชน่ ตน่ื เตน้ รอ้ นแรง เรยี กวา่ - ประเมนิ ความรเู้ รอื่ งวรรณะสี
๑. บอกสีวรรณะอุ่น สีวรรณะเยน็ และสคี ตู่ รงขา้ มได้ สวี รรณะอนุ่ รสู้ กึ เย็นสบาย สดช่นื เรยี กวา่ สีวรรณะเยน็ อทิ ธิพลของวรรณะสี
๒. บอกอิทธพิ ลของสีวรรณะอนุ่ และสวี รรณะเยน็ ที่มตี ่อ - ประเมนิ ทักษะการวาดภาพ
อารมณ์ความรสู้ ึกของมนุษย์ได้ ๖. ครูอธบิ ายท่มี าของวรรณะสี โดยแนะนาจากแมส่ ี ๓ สี แลว้ ผสมข้นั ที่ ๒ และผสม วรรณะสเี พ่ือถ่ายทอดความรูส้ กึ
๓. บอกหลกั การใชส้ วี รรณะอ่นุ สวี รรณะเยน็ และสีคู่ตรง - ประเมินคุณธรรม จริยธรรม
ขา้ มในงานทัศนศลิ ปไ์ ด้ ขน้ั ที่ ๓ แล้วให้นกั เรียนศกึ ษาใบความรูท้ ี่ ๑ เพ่มิ เติม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ความ
ทักษะ มงุ่ มั่นในการทางาน ความใฝเ่ รียนรู้
๑. วาดภาพระบายสีโดยใชว้ รรณะสีเพ่อื ถา่ ยทอดอารมณ์ ๕. แบ่งนักเรียนเป็นกลมุ่ ๆ ละ ๓ คน ทาใบงาน ๐๑ วาดภาพระบายสีโดยใชส้ ี วธิ กี าร
ความรู้สกึ ได้ วรรณะอุ่นหรือวรรณะเย็น - ตรวจใบงาน
๒. ใช้หลักการจัดขนาด สดั สว่ นน้าหนัก แสงเงา วรรณะสี - สงั เกตการทางาน
สีคตู่ รงข้าม และความสมดุล ในงานทศั นศิลป์ได้ ๖. นักเรียนนาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น เคร่อื งมอื
คุณธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ข้นั สรปุ - ใบงาน ๐๑
๑. ความมงุ่ ม่นั ในการทางาน ๗. ครนู กั เรียนร่วมกนั สรปุ ความร้เู ร่ืองวรรณะสี พร้อมถามนักเรยี นวา่ - แบบสังเกตการทางาน
๒. ใฝ่เรยี นรู้ ถา้ นกั เรยี นอยากให้บา้ นร้สู ึกเยน็ สบายจะทาสีบา้ นดว้ ยสีใด เกณฑ์การประเมนิ
- ผา่ นเกณฑต์ ามที่กาหนด

๙๔

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

หน่วยการเรยี นร้บู ูรณาการท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ หนว่ ยย่อยท่ี ๒ จินตนาการหรรษา
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นทาเครอ่ื งหมาย  ทับตัวอักษรหนา้ คาตอบทถี่ กู ต้องทสี่ ดุ เพยี งคาตอบเดียว

๑. สคี ู่ใดเปน็ สีคู่ตรงขา้ ม
ก. เหลอื ง - สม้
ข. น้าเงนิ - เขยี ว
ค. แดง - สม้
ง. เหลอื ง - มว่ ง

๒. ถา้ วาดภาพพนื้ หลงั เป็นสมี ว่ ง ควรระบายสีในภาพดว้ ยสใี ดจึงจะทาให้ภาพเด่นข้นึ
ก. เขียว นา้ เงิน
ข. เหลอื ง เขียวเหลอื ง
ค. แดง สม้ แดง
ง. เขียว มว่ งแดง

๓. ข้อใดสรา้ งสรรค์โดยไมต่ ้องใชภ้ าพวาดระบายสปี ระกอบกไ็ ด้
ก. แผนภาพ
ข. แผนผงั
ค. ภาพประกอบ
ง. แผนภูมิ

๔. เพลงดวงจนั ทรข์ วญั ฟ้า ตอ้ งใช้ท่าราข้อใด
ก. ทา่ ชักแปง้ ผัดหน้า
ข. ท่าสอดสรอ้ ยมาลา
ค. ทา่ จนั ทร์ทรงกลด
ง. ทา่ ราส่าย

๕. ความรูภ้ าษาไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ ารแสดงนาฏศลิ ป์ขอ้ ใด
ก. ทา่ รา
ข. บทเจรจา
ค. การสร้างฉาก
ง. การเคล่อื นไหว

กจิ กรรมการเรียนรกู ลุมบูรณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ น้ัหรปับรคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๙๕

หนว ยการเรียนรูท ี่ ๘ สุนทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

๖. การใชภ้ าษาทา่ ประกอบเพลงปลุกใจ ควรมีลักษณะอย่างไร
ก. ออ่ นชอ้ ย
ข. กระฉับกระเฉง
ค. แข็งกระดา้ ง
ง. เชอ่ื งชา้

๗. การอา่ นโนต้ เพลงไทย มีหลกั การอ่านอย่างไร
ก. อา่ นจากซา้ ยไปขวา
ข. อา่ นจากขวาไปซ้าย
ค. อ่านทอ่ นใดก็ได้
ง. อา่ นจากท่อนสุดท้ายไปท่อนแรก

๘. สญั ลักษณท์ างดนตรีที่ใชส้ าหรับบนั ทกึ ตัวโนต้ คอื อะไร
ก. บนั ไดเสียง
ข. บรรทัด ๕ เสน้
ค. เคร่ืองหมายพักเสียง
ง. เครือ่ งหมายกากบั บรรทดั

๙. ตวั โน้ตตวั ใดทีอ่ ตั ราความยาวของเสยี งสนั้ ทส่ี ุด
ก. ตวั กลม
ข. ตัวขาว
ค. ตัวเขบ็ตสองชั้น
ง. ตวั เขบต็ สามชนั้

๑๐. หอ้ งเพลงของเพลงไทยจะบนั ทึกตัวโนต้ ได้มากที่สุดก่ีตัว
ก. ๒ ตวั
ข. ๓ ตัว
ค. ๔ ตัว
ง. ๕ ตวั

๙๖ ชดุ กกิจารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรูก ู (ลสาํุมหบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราบักาครรผู สู อน) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

หนวยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรียศิลป ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๙๖

เฉลยแบบทดสอบ

หนว่ ยบูรณาการเรยี นรทู้ ่ี ๘ สุนทรยี ศิลป์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ จนิ ตนาการหรรษา

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน

๑. ง ๖. ข

๒. ข ๗. ก

๓. ง ๘. ข

๔. ค ๙. ง

๕. ข ๑๐. ค

กจิ กรรมการเรียนรูก ลมุ บรู ณากาชดุรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกผูารสู เรอียนนร)ู (สชาํ นั้หรปบั รคะรูผถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๙๗

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สุนทรียศิลป ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

บ ๘.๑/ผ ๑-๐๑

ใบงานท่ี ๐๑

เรอ่ื ง ธรรมชาติแสนสวย

คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นวาดภาพระบายสี โดยใชส้ วี รรณะอนุ่ หรือสวี รรณะเย็น

ชอ่ื ......................................................................................................................... ....................................
โรงเรยี น ............................................................................. ช้ัน ......................... เลขท่ี .......................

๙๘ ชุดกกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนยี นรรูกู (ลสําุม หบรบัรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสมุ บำูรหณราบักาครรผู สู อน) ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนวยการเรยี นรูที่ ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๙๘

ตัวอย่างภาพที่ ๑

หนว่ ยย่อยท่ี ๒ จนิ ตนาการหรรษา แผนที่ ๑

...................................................................................................................................

ภาพสวี รรณะเยน็

ผลงานของ : ศิริ สตั ถาผล

กจิ กรรมการเรยี นรูก ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกับรรคมรกผูารูส เรอยี นนร)ู (สชาํ ้ันหรปบั รคะรูผถสู มอนศ)ึกกษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๙๙

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ตัวอย่างภาพที่ ๑

หนว่ ยย่อยท่ี ๒ จนิ ตนาการหรรษา แผนที่ ๑

...................................................................................................................................

ภาพสีวรรณะอนุ่

ผลงานของ : สนาม จนั ทรเ์ กาะ

๑๐๐ ชุดกกจิ ารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรียเรนยี นรรกู ู (ลสํามุ หบรับูรคณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำูรหณราบักาครรูผูสอน) ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรยี ศิลป ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

๑๐๐

ใบความรู้สาหรับครูและนักเรียนที่ ๑

หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ จนิ ตนาการหรรษา

เรือ่ ง นา้ หนกั แสง-เงา วรรณะสี วงสธี รรมชาติ สีคู่ตรงช้าม

น้าหนกั แสง - เงา ในภาพ หมายถึง ความเข้มของสีวัตถุท่เี กิดจากแสงสว่างส่องมายงั วัตถตุ า่ ง ๆ แลว้
สามารถมองเหน็ เป็นรูปรา่ งรูปทรงอย่างไร นอกจากนั้นแสงเงาหรอื น้าหนกั สยี ังบอกได้ถงึ การจดั ระยะ ความ
ลึกในภาพดูมีมิติ มีความสมจริงได้ด้วย

วรรณะสี แบ่งออกเปน็ วรรณะสีอุน่ และวรรณะสีเยน็
สวี รรณะอ่นุ คือสีท่ใี ห้ความร้รู ้อนแรง ตื่นเตน้ รู้สกึ สว่างเสมือนเวลากลางวนั
สวี รรณะเย็น คือสที ่ีใหค้ วามร้สู ึกเยน็ สบาย สดชน่ื เยอื กเย็น รู้สึกสงบเสมือนเวลากลางคืน

สีท่ีเปน็ ไดท้ ัง้ วรรณะอุ่น - วรรณะเย็นคือ สมี ว่ งแดง และสีเหลอื ง

สีวรรณะอ่นุ
สีวรรณะเยน็

วงสีธรรมชาติ ไดแ้ ก่การนาแม่สมี าผสมให้เกิดสีใหม่ ประกอบด้วย

- สีขัน้ ที่ ๑ คือแม่สี ไดแ้ ก่ สแี ดง สเี หลือง สนี ้าเงิน

- สีข้ันที่ ๒ คอื สที ่เี กิดจากสีขั้นท่ี ๑ (แม่สี) ผสมกนั ในอัตราสว่ นเท่ากนั จะทาใหเ้ กิดสีใหม่ ๓

สไี ดแ้ ก่ สแี ดง ผสมกบั สเี หลอื ง ได้สีส้ม

สีแดง ผสมสนี า้ เงนิ ไดส้ ีม่วง ๑

สีเหลอื ง ผสมสีน้าเงิน ไดส้ ีเขยี ว

๒๒


๑๑

กิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ บูรณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกับรรคมรกูผารูส เรอียนนร)ู (สชาํ ้ันหรปับรคะรูผถูสมอนศ)ึกกษลุมาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๑๐๑

หนวยการเรยี นรูท ี่ ๘ สุนทรียศิลป ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

- สีขน้ั ท่ี ๓ คือสที ่ีเกดิ จากสีขัน้ ที่ ๑ ผสมกบั สีขน้ั ท่ี ๒

ในอัตราส่วนเท่ากนั จะได้สีอ่ืน ๆ อีก ๖ สี ได้แก่

๑. สีแดง ผสมกับสี ส้ม ได้สี ส้มแดง ๒. สีแดง ผสมกับสี มว่ ง ไดส้ ี มว่ งแดง

๓. สีเหลอื ง ผสมกับสี เขียว ไดส้ ี เขยี วเหลือ'ง ๔. สนี ้าเงนิ ผสมกับสี เขียว ไดส้ ี เขยี วน้าเงิน

๕. สนี า้ เงิน ผสมกบั สี มว่ ง ได้สี ม่วงน้าเงนิ ๖. สเี หลอื ง ผสมกับสี สม้ ได้สี สม้ เหลือง


๓๓

๒ ๒
๓ ๓

๓ ๒๓
๑๑

สคี ่ตู รงข้าม หรอื สีตัดกนั คือ สีท่ีไม่ไดเ้ กดิ จากการผสมกนั ของสีน้ัน ๆ เช่น สเี ขยี ว เกิดจาก สีน้าเงิน

ผสมสีเหลอื ง เพราะฉะนน้ั สีคตู่ รงข้ามของสเี ขียว คอื สแี ดง หรอื สงั เกตงา่ ย ๆ สีคตู่ รงขา้ ม คือ สีที่อยู่
ตรงกนั ข้ามกันในวงสีนน่ั เอง

การสร้างงานศิลปะโดยนาสีตัดกนั ไปใช้จะทาใหภ้ าพดูมชี ีวิตชีวา แต่ถ้าใชม้ ากเกนิ ไปกจ็ ะทาให้ภาพ
ดแู ข็งกระด้าง ดังน้ันเราสามรถใชส้ ีดาหรือสขี าวมาข้นั ลดความแข็งกระดา้ งดงั กล่าวลงได้

๑๐๒ ชุดกกจิ ารกจรัดรกิจมกกรรามรกเารรียเรนียนรรูกู (ลสาํุม หบรับูรคณรูผาูสกอาน)รก(ลสมุ บำรูหณราบักาครรูผสู อน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๘ สุนทรียศิลป ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

๑๐๒

แบบสังเกตการทางานของนกั เรียน

หนว่ ยบูรณาการเรยี นรู้ท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ หน่วยยอ่ ยท่ี ๒ จินตนาการหรรษา
แผนการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง สีและวรรณะสี

คาชแ้ี จง ให้ผปู้ ระเมินทาเคร่อื งหมาย / ลงในชอ่ งระดบั การปฏิบัติงานของนักเรียน
โดยมีเกณฑ์ระดบั คณุ ภาพการประเมินดังน้ี

๕ มีพฤตกิ รรมการทางาน มากท่ีสดุ ๔ มพี ฤติกรรมการทางาน มาก ๓ มพี ฤติกรรมการทางาน ปานกลาง

๒ มีพฤติกรรมการทางาน น้อย ๑ มีพฤติกรรมการทางาน นอ้ ยทส่ี ุด

ระดบั พฤติกรรม

พฤติกรรมการทางาน ๕ ๔ ๓ ๒๑

๑. มกี ารวางแผนในการทางาน

๒. ปฏิบตั งิ านดว้ ยความมุ่งม่ัน กระตือรือร้น

๓. ทางานจนสาเร็จ

๔. มสี ว่ นรว่ มในการทากจิ กรรม

๕. รู้จักแก้ปัญหา

๖. ทาความสะอาดและเกบ็ อุปกรณเ์ มื่อเสรจ็ งาน

๗. มนี า้ ใจเอ้อื เฟอื้ ในการปฏิบตั ิงานรว่ มกบั ผ้อู ่ืน

๘. ใชว้ สั ดุอุปกรณ์อยา่ งถูกต้อง

๙. ใช้วสั ดุอปุ กรณ์อย่างประหยัดและค้มุ ค่า

๑๐. ผลงานมคี วามคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์

ช่อื ......................................................................................................................... ...........................................
โรงเรียน .................................................................................... ชัน้ ......................... เลขท่ี .......................

เกณฑ์การผ่าน ๗๐ % หมายถึงได้คะแนนระดบั พฤตกิ รรมรวมทกุ ข้อ ๓๕ คะแนนข้ึนไปถือวา่ ผ่าน

กิจกรรมการเรยี นรูก ลุม บรู ณากาชุดรก(าสรจำดั หกจิรกบั รรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชํานั้หรปับรคะรูผถูส มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณาี่ ก๖าร ๑๐๓

หนว ยการเรียนรูท ี่ ๘ สุนทรยี ศลิ ป ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

เกณฑ์การให้คะแนนใบงาน

หน่วยยอ่ ยท่ี ๒ จินตนาการหรรษา แผนที่ ๑

.............................................................

ระดบั ผลงาน ระดับคะแนน หมายเหตุ
มีความคิดสร้างสรรค์ ถูกต้อง สวยงามมาก ๑๐
มคี วามคิดสร้างสรรค์ ถกู ต้อง สวยงาม ๘
ผลงานถกู ต้อง สวยงาม ๖

ผลงานถูกต้อง สวยงาม เป็นสว่ นนอ้ ย ๔

เกณฑ์การผ่าน ๗๐ % หมายถึงได้คะแนน ๗ คะแนนขึ้นไปถือว่าผา่ น

เน่ืองจากผลงานศลิ ปะด้านทัศนศิลป์ มีความหลากหลายด้านความคดิ เทคนิควธิ ีการ และความ
แตกตา่ งทางความพร้อมของวัสดอุ ปุ กรณ์ ดังนั้นการให้คะแนนผลงานใบงานของนกั เรียนจงึ ขอให้อยูใ่ นดลุ ย
พินจิ ของครผู ูส้ อนด้วย

๑๐๔ ชดุ กกจิ ารกจรดั รกจิมกกรรามรกเารรียเรนียนรรกู ู (ลสาํมุ หบรับูรคณรผู าสู กอาน)รก(ลสุม บำูรหณราับกาครรผู ูสอน) ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๑๐๔

คาชี้แจงประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้
แผนการเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่ือง วาดภาพระบายสเี พ่ือถา่ ยทอดจนิ ตนาการ เวลา ๒ ช่ัวโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. สาระสาคัญของแผน

การวาดภาพตามจนิ ตนาการเปน็ การถา่ ยทอดจินตนาการออกมาเป็นภาพเพอื่ ใหผ้ อู้ น่ื ไดร้ ับรู้
การวาดภาพจะทาไดด้ ี ผวู้ าดภาพจะต้องมีความรูเ้ ร่อื งการใช้วัสดอุ ุปกรณใ์ นการวาดภาพท่ีถูกต้อง เข้าใจ
ลกั ษณะของภาพทเ่ี กดิ จากวสั ดุที่แตกต่างกัน สามารถนาความรจู้ ากการวาดภาพมาทาเปน็ แผนภาพ แผนผงั
หรือภาพประกอบตา่ ง ๆ ได้ การฝึกวาดภาพตามจนิ ตนาการทาใหเ้ กดิ ทักษะ ความมุ่งมั่นในการทางานและ
ความใฝ่เรยี นรู้
๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการนาแผนการจดั การเรียนรู้ไปใช้จดั กิจกรรมการเรียนรู้

๒.๑ ครคู วรศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้ สื่อและใบงานใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งละเอยี ดก่อนจัดกจิ กรรม
การเรียนรู้

๒.๒ ครคู วรเตรยี มใบงานใหเ้ พยี งพอกับจานวนผู้เรยี น
๒.๓ ครอู ธิบายความหมายของการวาดภาพตามจนิ ตนาการ แผนภาพและแผนผังใหน้ ักเรียนเข้าใจ
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ครแู นะนาการใชส้ ีประเภทต่าง ๆ
ครนู าภาพท่วี าดด้วยสชี อลค์ และสีโปสเตอร์มาให้นักเรยี นสงั เกต
ครแู นะนาการนาความรไู้ ปใช้สรา้ งแผนภาพ แผนผงั หรือภาพประกอบ
นกั เรียนทาใบงานท่ี ๐๑
นักเรียนนาเสนอหน้าชัน้ เรียน
๑. การเตรยี มสือ่ /วัสดอุ ุปกรณ์
- ชอล์ค,ดินสอสี,สโี ปสเตอร์
- พู่กนั ,จานระบายสี
- ภาพตัวอย่าง
๒. ใบงาน/ใบความรู้
- ใบความรู้
- ใบงาน ๐๑
- การพดู แสดงความรู้สึก
๓. การวดั และประเมินผล
- การทาใบงาน ๐๑
- สังเกตการรว่ มตอบคาถาม

กจิ กรรมการเรยี นรกู ลมุ บรู ณากาชุดรก(าสรจำัดหกจิรกบั รรคมรกูผารสู เรอียนนร)ู (สชาํ ัน้หรปับรคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปรู ทณา่ี ก๖าร ๑๐๕

หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ สนุ ทรยี ศลิ ป ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

๑๐๖ ชหุดนกกวิจายรกกจารัดรรกเรจิมียกนกรรราูทมรี่ก๘เารรสยี เุนรนยีทนรรรยีกู ูศ(ลสิลาํมุปหบชรับ้ันูรปคณรรผูะาสูถกอมานศกึ)รษก(ลาสปุม ทบำี่รูห๖ณรา(ฉบักบาคับรรปผูรับสู ปอรุงน) ) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ แนวการจัดการเรยี นร้บู ูรณาการ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ สุนทรียศลิ ป์ : หน่วยย่อยที่ ๒ จินตนาการหรรษา แผนการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง วาดภาพระบายสีเพอ่ื ถ่ายทอดจนิ ตนาการ
บรู ณาการกล่มุ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ ภาษาไทย เวลา ๑ ชั่วโมง ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

แนวการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม กิจกรรมการเรียนรู้

๑. ครชู แ้ี จงตัวชี้วดั ชั้นปี และจุดประสงค์การเรียนรใู้ ห้นกั เรียนทราบ
ขั้นนา ๒. ครสู นทนาถึงความสาคัญของการวาดภาพกบั ชวี ิตประจาวนั

๓. ครูแนะนาการใช้สปี ระเภทต่าง ๆ
๔. ครนู าภาพทวี่ าดด้วยสชี อล์คและสีโปสเตอร์มาให้นักเรียนสงั เกต
ขั้นสอน ๕. ครูแนะนาการนาความรู้ไปใชส้ รา้ งแผนภาพ แผนผงั หรือภาพประกอบ
๖. นักเรียนทาใบงานท่ี ๐๑
๗. นักเรียนนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น

ขน้ั สรุป ๘. ครนู ักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้และวิจารณผ์ ลงาน
วัดและประเมนิ ผล
๑. การทาใบงาน ๐๑
๒. สงั เกตการร่วมตอบคาถาม

แผนการจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๘ สุนทรยี ศลิ ป์ : หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ จนิ ตนการหรรษา แผนการเรียนรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง วาดภาพระบายสีเพ่ือถ่ายทอดจนิ ตนาการ
บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ภาษาไทย เวลา ๑ ชวั่ โมง ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

ขอบเขตเนื้อหา ข้นั นา สอื่ / แหลง่ เรียนรู้
- การใชว้ ัสดุ อปุ กรณใ์ นการวาดภาพระบายสี ๑. ครูสนทนากบั นกั เรยี นเกยี่ วกบั ความสาคญั ของการวาดภาพกบั ชวี ิตประจาวัน ๑. สีชอล์ค,ดนิ สอส,ี สโี ปสเตอร์
- ประโยชน์และคุณคา่ ของงานทัศนศลิ ป์ ๒. พูก่ นั ,จานระบายสี
และนาเสนอเรอื่ งวสั ดุอุปกรณท์ ที่ าให้เกิดงานศิลปะ ๓. ภาพตัวอยา่ ง
- การสรา้ งงานทศั นศิลป์เป็นแผนภาพ ข้ันสอน ๔. ใบความรู้
แผนผังและภาพประกอบ ๒. ครูอธบิ ายคุณสมบตั ิและการใชด้ นิ สอสี สชี อล์ค และสีโปสเตอร์ ภาระงาน / ชิ้นงาน
- การพูดแสดงความร้สู ึกในการสร้างผลงาน ๑. ใบงาน ๐๑
๓. ครูนาภาพตวั อยา่ งที่วาดภาพด้วยสชี อล์ค และสโี ปสเตอร์มาใหน้ กั เรยี นสังเกต ๒. การพดู แสดงความรู้สกึ
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ความรู้ ๔. นักเรยี นทาใบงานท่ี ๐๑ เขียนแผนผังหมบู่ า้ นของฉนั โดยครูคอยให้ การวัดและประเมนิ ผล
๑. บอกความแตกตา่ งของงานทศั นศลิ ปท์ ี่สร้างสรรค์ ๑. การประเมินความรู้เรอื่ งความแตกตา่ ง
ด้วยวสั ดุ อปุ กรณ์ และวิธกี ารทีต่ า่ งกนั คาแนะนาขัน้ ตอนการทางานของนักเรียนตลอดเวลา และประโยชนข์ องงานทศั นศิลป์
๒. บอกประโยชน์และคณุ คา่ ของงานทัศนศิลปท์ มี่ ี ๕. ครูคัดเลอื กผลงานบางส่วนมาเสนอแนะตชิ ม พร้อมใหน้ กั เรียนเจา้ ของผลงาน ๒. การประเมินทักษะการใชอ้ ปุ กรณ์
ตอ่ ชวี ติ ของคนในสังคม ในการวาดภาพ การวาดภาพตาม
ทักษะ แสดงความรูส้ ึกหรอื แรงบันดาลใจในการสรา้ งผลงาน จนิ ตนาการ การสร้างแผนภาพ แผนผัง
๑. วาดภาพระบายสีโดยใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์ พื้นฐานได้ ข้ันสรปุ และภาพประกอบ
๒. วาดภาพระบายสตี ามจินตนาการและสรา้ ง ๖. ครนู ักเรียนร่วมกันสรปุ ความรู้ เรอ่ื งการใชว้ สั ดุอุปกรณ์ในการวาดภาพรวมถงึ ๓. การประเมินคณุ ธรรม ความมุ่งมั่นใน
แผนภาพ แผนผงั และภาพประกอบได้ ความแตกตา่ งของผลงานท่ีเกิดจากวสั ดทุ ี่แตกตา่ งกัน และการนาความรทู้ าง การทางาน ความใฝ่เรยี นรู้
คุณธรรมจริยธรรมและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ วิธกี าร
๑. มคี วามมงุ่ ม่นั ในการทางาน ทัศนศลิ ปส์ ร้างงานแผนภาพแผนผงั หรอื ภาพประกอบ ๑. ตรวจใบงาน
๑๐๖๒. มีความใฝเ่ รยี นรู้ ๒. สังเกตการทางาน
กจิ กรรมการเรยี นรกู ลุมบหรู นณว ยากการาชเรุดรยี กน(ารสรทูจำี่ดั ๘หกจิสรกนุบั รทรครมียรกศผูาิลรูสปเรอ ียชนน้นั รป)ู ร(สชะาํถน้ัหมรปศับึกรคษะราูผถปสู มท อ่ีนศ๖)ึก(กฉษลบุมาับบปปูรรทณับา่ีปก๖รางุ ร) ๑๐๗เคร่อื งมือ
๑. ใบงาน ๐๑
๒. แบบสังเกตการทางาน
เกณฑ์การประเมนิ
ผ่านเกณฑ์ตามท่ีกาหนด

บ ๘.๒/ผ ๒-๐๑

ใบงานท่ี ๐๑

เร่อื ง หม่บู ้านของฉัน

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นวาดภาพเพื่อสรา้ งแผนผังหมบู่ ้านของตนเอง แสดงสถานทีส่ าคัญของหมู่บา้ น

ช่อื .................................................................................................................... ...............................................
โรงเรยี น ................................................................................... ชนั้ ......................... เลขท่ี .......................
๑๐๘ ชุดกกิจารกจรดั รกิจมกกรรามรกเารรยี เรนียนรรกู ู (ลสํามุ หบรับรู คณรูผาสู กอาน)รก(ลสุมบำรูหณราับกาครรูผูสอน) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรูที่ ๘ สุนทรยี ศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

๑๐๘

ใบความรสู้ าหรับครแู ละนกั เรยี นที่ ๑

หน่วยย่อยที่ ๒ จินตนาการหรรษา แผนท่ี ๒

เร่ือง การสรา้ งงานทศั นศลิ ป์เป็นแผนภาพ แผนผงั และภาพประกอบ
.................................................................................................................................................
๑. แผนภาพ คอื ภาพที่ช่วยอธิบายเรื่อง เพอ่ื ให้เหน็ ภาพส่งิ ที่ต้องการอธบิ ายให้เขา้ ใจง่ายขึน้
ตวั อย่างแผนภาพ (โทษของการตดั ไม้ทาลายป่า)

๒. แผนผงั คอื ภาพแสดงตาแหนง่ ที่ต้งั ของส่ิงต่าง ๆ โดยยอ่ ย ซึง่ วิธีการวาดแบบการมองจากที่สูงลงสู่
ด้านลา่ ง ทาให้เหน็ ภาพรวมทงั้ หมดของสถานทีเ่ หล่านั้น
ตวั อย่างแผนผังแสดงสถานท่ีสาคัญในหมู่บา้ น

๓. ภาพประกอบ คือภาพท่ีทาขึ้นเพือ่ ประกอบการอธิบายเรือ่ งราวต่าง ๆ ที่มีรายละเอียดมากใหผ้ ู้อืน่ รับรู้
ได้ง่ายขนึ้ เช่น "ภาพประกอบเร่อื งชีวิตปูเสฉวนในวันนี้"

๑๒ ๓

กิจกรรมการเรียนรกู ลมุ บูรณากาชดุรก(าสรจำัดหกิจรกบั รรคมรกผูารสู เรอยี นนร)ู (สชาํ ั้นหรปบั รคะรผูถสู มอนศ)กึ กษลมุาบปูรทณา่ี ก๖าร ๑๐๙

หนวยการเรียนรทู ่ี ๘ สนุ ทรียศลิ ป ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)


Click to View FlipBook Version