The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Mini Book July-December 2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MuayPatsy, 2024-06-01 00:46:50

Mini Book 7-12.2020

Mini Book July-December 2020

á´‹à¾×è͹ æ ¢Í§¢ŒÒ¾à¨ŒÒ จาก ไดซาขุ อิเคดะ ÍÕ¡ 50 »‚¢ŒÒ§Ë¹ŒÒ ¤×ͪ‹Ç§àÇÅҢͧÂØǪ¹ ´ŒÇ¡ÒõÃÐ˹ѡÃÙŒÇ‹Ò ·Ø¡·‹Ò¹ÅŒÇ¹à»š¹¼ÙŒ¹íÒ ·ÕèÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒöáÅÐÂÔè§ãËÞ‹ ·Ø¡·‹Ò¹¨§Â×¹ËÂÑ´¢Öé¹ÁÒ ÃѺ¼Ô´ªÍºË¹ŒÒ·Õèà¾×èͻǧª¹ (จากเอสจีไอกราฟก ฉบับเดือนมกราคม ค.ศ. 2005)


สมำคมสรำงคุณค่ำในประเทศไทย email: [email protected] www.sgt.or.th บรรณาธิการ นวรัตน ชิโนมี กองบรรณาธิการ เรืองระวี ไชยพูนพัฒน พัชรี โพธิพัฒนธนากร ณัฐพร งามสิริกุล ภาษาญี่ปุน เพียงตา หลิมไชยกุล อนงคนาถ มโนจุรีหกุล อาคิโกะ โฮโซดะ โยโกะ โอดะ สมพร เจนจารุพันธุกุล ภาษาอังกฤษ หทัยรัตน แซ่จึง ศศมน โพธิพัฒนธนากร ทิพยสุดา บุนฑารักษ ออกแบบสรางสรรค์ กุลลดา อัศวฉัตรโรจน พิสูจน์อักษร วรรณี สถาพรพิชญ ผูจัดการ ณรินทร ลัทธยาพร สงวนลิขสิทธิ์ โดยสมาคมสรางคุณค่าในประเทศไทย ISSN 2586-8675


สารบัญ บทบรรณำธิกำรของอำจำรย์อิเคดะ ความทุ่มเทที่เด็ดเดี่ยวของโพธิสัตวจากพื้นโลก 5 ธรรมนิพนธ์ ความสูงส่งของธรรมะ 11 ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ 21 ควำมคิดค�ำนึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” บทที่ 43) พีระมิดมนุษย 6 ชั้นที่ไม่อาจทําลายได 25 บทสนทนำเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เล่ม 3) บทที่ 2) คุณแม่ไม่พ่ายแพต่อสิ่งใด (ต่อ) 35 โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับศาสนาแห่งมนุษยนิยม บทที่ 3) การก่อตั้งคําสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน : 47 รุ่งอรุณแห่งศาสนาเพ� อมวลมนุษยชาติ 123456


บทบรรณำธิกำรของ อำจำรย์อิเคดะ (ในวารสารไดเบียะขุเร็งเงะ)


5 ความทุมเทที่เด็ดเดี่ยวของ โพธิสัตว์จำกพื้นโลก มิถุนายนเป็นเดือนเกิดของอาจารย์จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ ประธานผู้ก่อตั้งสมาคมโซคา นับเป็นความบังเอิญอย่างน่า อัศจรรย์ที่ท่านเกิดเมื่อ ค.ศ. 1871 ที่จังหวัดนิอิงาตะ ประเทศญี่ปุน โดยเป็นเวลา 600 ปพอดี หลังจากพระนิชิเร็นไดโชนินถูกเนรเทศไป ที่เกาะซาโดะ ซึ่งปจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนิอิงาตะ ใน “ธรรมนิพนธ์เร� องการปรากฏตามคำาพยากรณ์ ของพระพุทธะ” ที่เขียนที่เกาะซาโดะ พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนว่า “อาตมาประสบกับความยากลำาบากวันแล้ววันเล่า เดือนแล้ว เดือนเล่า เมื่อ 2 - 3 ปที่แล้ว ในท่ามกลางเรื่องอื่น ๆ อาตมาเกือบจะ ถูกประหารชีวิต มีโอกาสหนึ่งในหมื่นที่จะรอดปนั้นหรือกระทั่ง เดือนนั้นมาได้” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 402) ภายใต ้สถานการณ ์อ ันโหดร ้ายส ุดจะพรรณนาของการถูกเนรเทศ นี่เอง ที่พระนิชิเร็นไดโชนินได้พยากรณ์อย่างห้าวหาญว่า ในอนาคต พุทธธรรมแห่งดวงอาทิตย์จะส่องแสงแก่ทั่วโลก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสายเลือดแห่ง ‘ ’


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ คำาสอนที่ถูกต้องของพุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนิน จวนเจียนจะ ด ับสูญ อาจารย ์มาค ิง ุจ ิอ ุท ิศช ีว ิตของท ่านด ้วยความเส ียสละเพ ื ่อ เผยแผ่ธรรมมหัศจรรย์ โดยยึดคำามั่นสัญญาในฐานะโพธิสัตว์จาก พื้นโลกเป็นรากฐาน อาจารย์มาคิงุจิซึ่งถูกจำาคุก เนื่องจากความเชื่อศรัทธา ได ้ประกาศในจดหมายท ี ่ท ่านเข ียนข ึ ้นในเวลาน ั ้นว ่า “ความยาก ลำาบากที่ผมเผชิญอยู่ในเวลานี้ เทียบไม่ได้กับความยากลำาบาก ที่พระนิชิเร็นไดโชนินต้องทนประสบบนเกาะซาโดะ”1 “หัวใจราชสีห์” ที่ไม่พ่ายแพ้ ที่อาจารย์มาคิงุจิแสดง ให้เห็น โดยยอมเสี่ยงชีวิตของท่านพร้อมกับพระนิชิเร็นไดโชนินอยู่ ในใจเสมอ คือจุดเริ่มต้นชั่วนิรันดร์ของเจตนารมณ์แห่งอาจารย์กับ ศิษย์ในสมาคมโซคา บนเส้นทางชีวิตของเราและการเผยแผ่ธรรมไพศาล อาจมีช่วงเวลาที่จำาต้องอยู่ในสถานการณ์ของความไม่แน่นอนที่ทั้ง ยากลำาบากและท้าทาย แต่เมื่อคิดถึงอาจารย์มาคิงุจิ ผู้เสียชีวิตเพื่อ 1 แปลจากภาษาญี่ปุน จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ, มาคิงุจิ จึเนะซาบุโร เซ็นชู (รวบรวมงานเขียนของอาจารย์จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ) เลม 10 (กรุงโตเกียว : สํานักพิมพ์ไดซันบุนเม ค.ศ. 1987) หน้า 282


7 ความเชื่อศรัทธาและความเพียรอุทิศตน จนวาระสุดท้ายเพื่อเผยแผ่ คำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน ขณะที่อดทนต่อการบีฑาธรรมแล้ว ก็ไม่มีเหตุอันใดให้เราต้องรู้สึกกลัดกลุ้มหรือกระวนกระวาย อาจารย์โจเซอิ โทดะ ประธานสมาคมโซคา ท่านที่ 2 อาจารย์ผู้มีพระคุณและข้าพเจ้าก็มีความทุ่มเทที่เด็ดเดี่ยว เช่นเดียวกันนั้น พระนิชิเร็นไดโชนินสอนพวกเราว่า “เมื่อปฏิบัติ ส ัทธรรมป ุณฑร ิกสูตร [ในสม ัยธรรมปลาย] ความยากล ำาบากจะ ปรากฏขึ้นมา และสิ่งเหล่านี้ให้ถือว่าคือ ‘การปฏิบัติที่สงบสุข’” (บันทึกคําสอนปากเปลา ฉบับภาษาอังกฤษ หน้า 115) เมื่อพวกเรา สวดนัมเมียวโฮเร็งเงเคียว และลงมือดำาเนินการเพื่อเอาชนะความ ยากลำาบากที่ประสบอยู่ พวกเรากำาลังปฏิบัติพุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนินอย่างแท้จริง และสั่งสมบุญวาสนาที่ยิ่งใหญ่ พระนิชิเร็นไดโชนินยังเขียนว่า “ถ้าชาตินี้ประสบกับ ความท ุกข ์แสนสาห ัส [เน ื ่องจากศร ัทธาต ่อส ัทธรรมป ุณฑร ิกสูตร] ความทุกข์ของนรกจะอันตรธานไปทันที” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษา อังกฤษ เลม 1 หน้า 199) ตามหลักธรรมของ “การผอนกรรมหนัก ใหไดรับโดยเบา” พวกเราจะบรรลุสภาพชีวิตโลกพุทธะที่มิอาจ ทำาลายได้ อีกทั้งมอบความหวังและความกล้าหาญแก่ผู้คนรอบกาย ได้


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ ขณะที่มนุษยชาติร่วมแรงร่วมใจกันเผชิญเรื่องท้าทาย ที่ยากลำาบากในเวลานี้ ช่างน่าอุ่นใจยิ่งที่มีเครือข่ายยุวพลเมืองโลก ของโซคา ผู้เจิดจรัสด้วยใจที่ยึดมั่นในหลักพุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนิน ที่ให้ความสำาคัญต่อชีวิตและมีปญญาในการ เปลี่ยนพิษเป็นยา เสียงยุวชนของพวกเราที่เปล่งออกมาในบทเพลง ประสานทั้งโลกเข้าด้วยกัน ช่างสร้างแรงบันดาลใจและทำาให้จิตใจ เบิกบานได้อย่างแท้จริง สมาชิกในประเทศอินเดียกำาลังขับขานอย่าง ภาคภูมิใจว่า à¸ÍáÅЩѹËÇÁ¡Ñ¹ äÁ‹¾‹ÒÂᾌµÅÍ´¡ÒÅ µŒÍ§à»š¹àÇÅÒ¹Õéà·‹Ò¹Ñé¹ äÁ‹¾‹ÒÂᾌµÅÍ´¡ÒÅ2 ขอให้เทือกเขากว้างใหญ่แห่งโพธิสัตว์จากพื้นโลกผู้มี ความสามารถซึ่งสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์มาคิงุจิ จงสาดแสง โชติช่วงของเหล่าลูกศิษย์ที่กำาลังกลายเป็น “สีครามเขมกวาคราม” 2 จากเนื้อเพลงในเพลงใหมของสมาคมโซคาภารตะ (บีเอสจี) ชื่อเพลง “ไมพายแพ้ตลอดกาล”


9 ÀÙ¼Ò Íѹà¡ÃÕ§ä¡Ã µÑ駵ÃÐ˧‹Ò¹äÁ‹ÊÑ蹤Å͹ ¨Ò¡¾ÒÂØ äÃŒ¤ÇÒÁ¡ÅÑ´¡ÅØŒÁËÃ×ÍËÇÑè¹äËÇ ¨§ÊÌҧÊÒÂÃØŒ§§ÒÁáË‹§ªÑª¹Ð (จากบทบรรณาธิการ วารสารไดเบียะขุเร็งเงะ ฉบับเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2020)


ธรรมนิพนธ์


11 ธรรมนิพนธเร� อง ควำมสูงส่งของธรรมะ ความเปนมา ธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เป็นจดหมายที่พระนิชิเร็น ไดโชนินเขียนที่เขามิโนบุใน ค.ศ. 1275 (ปเคนจิที่ 1) เพื่อมอบแก่ ลูกศิษย์ผู้เป็นมารดาของเด็กหญิงที่ชื่อ “โอโตะ” ซึ่งอาศัยอยู่ที่เมือง คามาคูระ มารดาของเด็กหญิงโอโตะแยกทางกับสามี และเลี้ยง ‘ ’ สี¤ÃÒÁÁÒ¨Ò¡¤ÃÒÁ ᵋàÁ×èÍÂŒÍÁ«éíÒ æ ¨Ð ÁÕÊÕࢌÁ¡Ç‹ÒµŒ¹¤ÃÒÁ ÊÑ·¸ÃÃÁ»Ø³±ÃÔ¡ÊÙµÃÂѧ¤§à´ÔÁ ᵋËÒ¡ºÑ§à¡Ô´¤ÇÒÁµÑé§ã¨·ÕèࢌÁá¢ç§ÂÔè§ æ ¢Öé¹Í‹ҧµ‹Í à¹×èͧ Êբͧ·‹Ò¹¨Ð´Õ¡Ç‹Ò¼ÙŒÍ×è¹ áÅШÐä´ŒÃѺºØÞ¡ØÈÅ ÁÒ¡¡Ç‹Ò¼ÙŒÍ×è¹ (¸ÃÃÁ¹Ô¾¹¸Ë¹ŒÒ 1221)1 1 ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 615


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ ดูบุตรสาวเพียงลำาพัง พร้อมกับปฏิบัติศรัทธาอย่างบริสุทธิ์มาโดย ตลอด หลังจากที่พระนิชิเร็นไดโชนินถูกเนรเทศไปเกาะ ซาโดะ บรรดาลูกศิษย์ที่คามาคูระถูกกดขี่มากขึ้นด้วย และมีจำานวน มากถอยศรัทธาไป ท่ามกลางสภาวะเช่นนั้น มารดาของเด็กหญิง โอโตะย ังม ีจ ิตใจใฝ หาธรรม พาบ ุตรสาวไปเย ี ่ยมเย ียนพระน ิช ิเร ็น ไดโชนินถึงเกาะซาโดะ และศรัทธาอย่างเข้มแข็งจนถึงที่สุด พระ นิชิเร็นไดโชนินจึงยกย่องจิตใจดังกล่าว และขนานนามเธอด้วยชื่อ ที่สูงส่งที่สุดว่า “นิชิเมียวโชนิน” (อริยบุคคลนิชิเมียว) ใน ค.ศ. 1274 (ปบุนเอที่ 11) ซึ่งพระนิชิเร็นไดโชนิน ได้เข้าพำานักที่เขามิโนบุแล้ว ภัยพิบัติจากการรุกรานของต่างชาติได้ เกิดขึ้นจริง โดยมองโกลรุกรานประเทศญี่ปุน (การรุกรานสมัยบุนเอ) ท่ามกลางสังคมที่สับสนวุ่นวาย ผู้คนหวาดกลัวว่า มองโกลจะกลับมารุกรานอีกครั้ง ทว่ามารดาของเด็กหญิงโอโตะยัง ไปเย ี ่ยมเย ียนพระน ิช ิเร ็นไดโชน ินถ ึงเขาม ิโนบ ุ ด ้วยหน ึ ่งขณะจ ิตท ี ่ ใฝหาธรรมอย่างไม่เปลี่ยนแปลง ในธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ พระนิชิเร็นไดโชนินยกย่องความ ศรัทธาที่มุ่งมั่นของมารดาของเด็กหญิงโอโตะ ท่านได้ให้สัญญาว่า เทพธรรมบาลจะปกปองคุ้มครอง โดยกล่าวว่า “ตราบใดที่ธำารง ความศรัทธาใหมั่นคงแลว ยอมไดรับการปกปองอยางเต็มที่จาก


13 เทวดาแนนอน” (ธรรมนิพนธ์หน้า 1220)2 นอกจากนี้ ท่านยังกระตุ้น มารดาของเด็กหญิงโอโตะ ให้บากบั่นศรัทธาอย่างเข้มแข็งมากกว่า ปจจุบันอีกขั้นหนึ่ง เพราะแม้จะเป็นสัทธรรมปุณฑริกสูตรเหมือนกัน แต่หากเพิ่มพูนความตั้งใจมากยิ่งขึ้น บุญกุศลก็จะมากกว่าผู้อื่นด้วย และนี่ก็คือข้อความที่ศึกษากันในครั้งนี้ พ ระนิชิเร็นไดโชนินได้สอนความสำาคัญขอ ง “ความตั้งใจ” ในการหมั่นเพียรปฏิบัติศรัทธา โดยยกตัวอย่าง น้ำาแข็งและสีครามเข้มกว่าคราม เมื่อนำาน้ำาไปแช่เย็น จะได้น้ำาแข็งที่ ม ีความเย ็นมากกว ่าน ้ ำา เม ื ่อน ำาส ีท ี ่ค ั ้นจากต ้นครามมาย ้อมผ ้าซ ้ ำา หลาย ๆ ครั้ง ก็จะได้สีครามเข้มสดยิ่งขึ้น ท่านยกตัวอย่างเหล่านี้ เพื่อชี้ถึงความหมายสำาคัญของการทำาให้ความศรัทธาลึกซึ้งมากขึ้น ยิ่งเราหมั่นเพียรปฏิบัติศรัทธา ก็จะเป็นดังที่พระนิชิเร็น ไดโชนินกล่าวว่า “สีของทานจะดีกวาผูอ� น และจะไดรับบุญกุศล มากกวาผูอ� น” กล่าวคือ พลังและประกายสดใสในร่างกายจะเพิ่ม มากขึ้น สามารถแสดงข้อพิสูจน์ทางความเป็นจริงของบุญกุศลอย่าง ชัดเจน หนทางของการบรรลุพุทธภาวะในชั่วชีวิตนี้และการ เผยแผ่ธรรมไพศาล เป็นการต่อสู้อย่างต่อเนื่องไม่หยุดหย่อนระหว่าง 3 ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 614


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ พระพุทธะกับมาร หากปลุกเร้าจิตใจแห่งปณิธานมิให้ย่อหย่อน และ สามารถเดินหน้าต่อไปไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น ย่อมได้รับการปกปอง คุ้มครองอย่างเข้มแข็ง และสามารถสร้างสภาพชีวิตแห่งความสุขที่ ไม่มีวันพังทลาย ในช่วงเริ่มต้นปนี้ อาจารย์อิเคดะเรียกร้องว่า “มาเถิด บัดนี้ มาอธิษฐานกันอีกครั้ง เรียกผู้มีความ สามารถจากพื้นโลกให้ปรากฏขึ้นมาจากผืนแผ่นดินใหญ่แห่ง ปณิธาน พลางก้าวหน้าด้วยความปติยินดีในการปฏิวัติมนุษย์ ก ้าวหน ้าด ้วยความกล ้าหาญในการก ่อต ั ้งค ำาสอนท ี ่ถูกต ้องเพ ื ่อให ้ ประเทศเกิดสันติ และเริ่มต้นเดินหน้าเพื่อความหวังและชัยชนะใน การเผยแผ่ธรรมไพศาล” ขอให้ภาคภูมิใจที่เป็นลูกศิษย์ของอาจารย์อิเคดะ ท้าทายในการแผ่ขยายการเผยแผ่ธรรม ข้ามพ้นทุกความยากลำาบาก และทำาให้ชัยชนะปรากฏให้ได้ “พยายามเขานะ” เมื่อครั้งที่ดิฉัน (คุณโยโกะ ทานากะ) ทำากิจกรรมใน ฐานะหัวหน้ารวมจังหวัดโอซาก้าฝายผู้ใหญ่หญิงอยู่นั้น คุณพ่อปวย เป็นโรคภาวะสมองเสื่อม (Alzheimer-type dementia) และคุณแม่ก็


15 ตรวจพบว่ามีเนื้องอกในสมอง (Brain tumor) ทุก ๆ วันดิฉันจึงวุ่นอยู่ กับการดูแลและพยาบาลท่านทั้งสอง นอกจากนี้ ตัวดิฉันเองยังมี อาการหูดับเฉียบพลัน (Sudden Deafness) เวียนศีรษะถึงขนาดที่ไม่ สามารถยืนได้ ขณะที่สวดไดโมขุทั้งที่ทุกข์ทรมาน ดิฉันพลันนึกขึ้น ได้ถึงเหตุการณ์ที่ได้พบกับอาจารย์อิเคดะใน ค.ศ. 1980 (ปโชวะที่ 55) อาจารย์ผู้เป็นแนวหน้าในการต่อสู้รุกกลับของคันไซ กล่าวว่า “ดูแล คุณแม่ให้ดีนะ พยายามเข้านะ” ดิฉันตั้งใจแน่วแน่แล้วว่า “จะ ต ิดตามอาจารย ์ไปตลอดช ีว ิต และด ำาเน ินช ีว ิตท ี ่ไม ่พ ่ายแพ ้อย ่าง เข้มแข็งจนถึงที่สุด” ดิฉันนึกถึงคำามั่นสัญญาที่ให้ไว้กับอาจารย์ในวันนั้น จึงตั้งใจว่าเวลานี้นี่เองจะต้องชนะให้ได้ พ่ายแพ้สถานการณ์ที่ ทุกข์ยากไม่ได้เด็ดขาด และอธิษฐานอย่างเข้มแข็งจนถึงที่สุด อีกทั้ง ได้รับกำาลังใจอย่างอบอุ่นจากเพื่อนสมาชิก จึงเผชิญหน้ากับความ ทุกข์ยากได้ ในท้ายที่สุด คุณพ่อคุณแม่ได้สิ้นอายุขัยและจากไปเขา คิชฌกูฏในสภาพที่เปยมด้วยความพึงพอใจ สุขภาพของดิฉันก็ฟืน กลับมาดีดังเดิม และดำาเนินชีวิตด้วยความรู้สึกขอบคุณในทุก ๆ วัน หลังจากที่แต่งงานแล้ว คุณหมอบอกว่าดิฉันจะมีบุตร ยาก ทว่าดิฉันได้ให้กำาเนิดบุตร 2 คนได้อย่างน่าอัศจรรย์ ปจจุบัน บุตรสาวคนโตมีบุตร 1 คนและกำาลังเคลื่อนไหวใน “กลุ่มยังก์ไวท์


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ ลิลลี่ [ลิลลี่ขาวรุนเยาว์ (Young White Lilly)]” ดิฉันอธิษฐานถึงการเติบโตของกลุ่มยังก์ไวท์ลิลลี่และ ทุกคนในฝายยุวชนหญิง ดังคำากล่าวว่า “สีครามเขมกวาคราม” ด้วยจิตใจแห่งการขอบคุณและการตอบแทนบุญคุณ พร้อมกับ เดินหน้าไปด้วยกัน ขอให้ส่งเสริมยุวชนผู้สืบทอด ให้อยู่ในแนวหน้า ท้าทายการสนทนาด้วยความกล้าหาญ ตลอดจนแผ่ขยายสายลม แห่งความสุข สู่ท้องถิ่นและสังคมไปด้วยกัน (บรรยายโดย คุณโยโกะ ทานากะ หัวหน้ารวมจังหวัดโอซาก้า ฝายผู้ใหญหญิง)


17 คําชี้นํา ของอำจำรย์อิเคดะ อาจารยกับศิษยนี่เอง คือหนทำงอันยิ่งใหญ่ที่ท�ำใหตนเองเบ่งบำน ตั้งแต่สมัยยุวชน ข้าพเจ้าสู้ด้วยความตั้งใจว่า “จะมี ชัยชนะในทุก ๆ เรื่อง เพื่อประกาศความถูกต้องเที่ยงธรรมของอาจารย์ โทดะต่อโลก จะสู้เพื่ออาจารย์ จะทำาให้อาจารย์ปติยินดี” กล่าวคือ ต้นกำาเนิดพลังของข้าพเจ้ามีอยู่ในเส้นทางแห่งอาจารย์กับศิษย์ ... ภายในตัวของอาจารย์แห่งการเผยแผ่ธรรมไพศาล มีสภาพ ชีวิตอันยิ่งใหญ่ของโพธิสัตว์จากพื้นโลก ผู้ช่วยเหลือประชาชนทั้งหมด เต้นเป็นชีพจรอยู่ เมื่อต่อสู้โดยตั้งใจว่า “เพ� ออาจารย์” ชีวิตจะประสาน สอดคล้องกัน และสภาพชีวิตของตนเองก็จะเปดออก ข้าพเจ้าสามารถเชื่อมต่อกับชีวิตและสภาพชีวิตของอาจารย์ โทดะได ้ด ้วยการท ำาเช ่นน ี ้ ช ีว ิตของเราจะล ุกโชน ความกล ้าหาญท ี ่ไม ่ม ี ขีดจำากัดจะพวยพุ่ง ปญญาจะพรั่งพรู แม้เผชิญกำาแพงแห่งความยาก ล ำาบากท ี ่ไม ่ว ่าใครก ็ค ิดว ่าเป ็นไปไม ่ได ้และดูเหม ือนจะคร ั ่นคร ้าม ก ็ ‘ ’


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ สามารถพุ่งชนอย่างกล้าหาญเด็ดเดี่ยวและข้ามพ้น ไปได้ อีกทั้งสามารถต่อสู้อย่างทรหดอดทน เส้นทางแห่งอาจารย์กับ ศิษย์ไม่เป็นสองนี่เอง คือหนทางอันยิ่งใหญ่ที่ทำาให้ตนเองเบ่งบาน (จากปฏิวัติมนุษย์-ใหม เลมที่ 24 บท “ประภาคาร”) อธิบำยเพิ่มเติม สีครามเขมกวาคราม “สีครามเข้มกว่าคราม” เป็นถ้อยคำาที่อยู่ใน “มหาสมถ วิปสสนา” ของพระมหาธรรมาจารย์เทียนไท้ ซึ่งมาจากคำากล่าวของซุ่นจื่อ นักคิดของประเทศจีนที่กล่าวว่า “สีครามเปนสีนำาเงินที่ไดจากคราม แต เขมกวาคราม” พระนิชิเร็นไดโชนินได้นำามาใช้ใน 2 ความหมาย ความหมายแรก เป ็นการเปร ียบเท ียบว ่า เม ื ่อหม ั ่นเพ ียร ปฏิบัติศรัทธา บุญกุศลจะยิ่งปรากฏออกมาดังที่ท่านกล่าวว่า “สัทธรรม ปุณฑริกสูตรเปนดั่งคราม และการปฏิบัติที่เขมแข็งของบุคคลก็ ‘ ’


19 เหมือนกับสีนำาเงินที่เขมขึ้น” (ธรรมนิพนธ์ฉบับ ภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 457) ความหมายอีกประการหนึ่ง หมายถึงการเจริญเติบโตของ ผู้สืบทอด พระนิชิเร็นไดโชนินมีความปติยินดีจากใจจริง ในการเจริญเติบโต ของท่านนันโจโทขิมิจึ ผู้ที่ท่านส่งเสริมกำาลังใจอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ “วัยเยาว์” ดังข้อความที่กล่าวว่า “สีครามเข้มกว่าคราม และน้ำาแข็งเย็น กว่าน้ำา ช่างน่ามหัศจรรย์ ช่างน่ามหัศจรรย์” (ธรรมนิพนธ์หน้า 1554)3 อาจารย์อิเคดะเน้นย้ำาผ่านคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินว่า “การกระทำาที่อาบเหงื่อต่างน้ำา เพื่อเพื่อนผู้สืบทอดแห่งสีครามเข้มกว่าคราม เป็นงานอันศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในบรรดางานศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ที่เชื่อมตรงกับ พระศากยมุนีพุทธะและพระนิชิเร็นไดโชนิน” และสอนถึงความสำาคัญของ การเสริมสร้างผู้มีความสามารถที่สืบทอดการเผยแผ่ธรรม 3 ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 809


ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ


21 ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ ดิฉันเริ่มเข้าศรัทธาพร้อมคุณแม่เมื่อ พ.ศ. 2529 โดย เพื่อนบ้านเป็นผู้แนะนำาธรรม และมีโอกาสเข้าร่วมประชุมกับรุ่นพี่ ยุวชนหญิงตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เมื่อจบ มหาวิทยาลัยก็กลับมาอยู่บ้านที่จังหวัดอุดรธานี และทำางานที่ ธนาคารแห่งหนึ่ง พ.ศ. 2541 ดิฉันแต่งงานและย้ายตามสามีมาค้าขาย ที่หาดปาตองซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยว เรา 4 คน พ่อ แม่ ลูกสาวคนโต และลูกชายคนเล็กปฏิบัติศรัทธาเข้มแข็งมาตลอด ในช่วงประสบภัย สึนามิ ร้านค้าของเราเสียหายทั้งหมด แต่ก่อนเกิดสึนามิไม่กี่วัน มี นักท่องเที่ยวมาเหมาสินค้าในร้านไปเป็นจำานวนมาก เป็นการปกปอง คุ้มครองจากโงะฮนซนจริง ๆ พ.ศ. 2557 ดิฉันและครอบครัวย้ายมาจังหวัดอุดรธานี บ้านเกิด เพื่อดูแลคุณพ่อที่กำาลังปวย ในช่วง 6 เดือนสุดท้ายของ ท่านนี้ ดิฉันก็ทำาอย่างเต็มที่ทุกวัน และตั้งใจจะดูแลคุณแม่ให้ดีที่สุด พวกเราใช้ชีวิตแบบพอเพียง โดยมีรายได้จากค่าเช่าโรงแรมและบ้าน ที่จังหวัดภูเก็ต ดิฉันเข้าร่วมกิจกรรมของสมาคมในระบบการที่ ’ ‘


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ประสบการณ ความศรัทธาสูชัยชนะ อุดรธานี พาคุณแม่และคุณน้าร่วมประชุมอย่างสม่ำาเสมอ พ.ศ. 2560 ลูกสาวสอบเข้าคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ ปถัดมาลูกชายสอบเข้าคณะบริหารธุรกิจ และการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ แต่สละสิทธิ์เพราะอยาก เรียนที่กรุงเทพฯ จึงเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยเอกชนโดยเรียนเป็นภาษา อังกฤษทั้งหมด ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากมาก เพราะลูกชายไม่ได้เตรียม พร้อมมาก่อน ต่อมาลูกชายติดการพนันออนไลน์ มีหนี้สินจำานวน มาก ทำาให้ดิฉันและสามีเสียใจและผิดหวังมาก เราให้โอกาสลูกโดย จ่ายหนี้ให้หลายครั้ง แต่ลูกก็ยังกลับไปเล่นอีกทั้ง ๆ ที่สัญญาว่าจะ เลิก ครั้งหลังสุดหนักกว่าเดิม จึงต้องตัดสินใจให้ลูกหยุดเรียนและ กลับบ้าน จากนั้นได้พาลูกไปบำาบัดอาการติดพนัน แต่ก็ไปได้เพียง ครั้งเดียวเพราะติดสถานการณ์โควิด-19 ดิฉันสวดมนต์มากมาย ขอขมาอย่างจริงใจต่อ โงะฮนซนที่เคยหมิ่นประมาทธรรมไว้ในอดีต และอธิษฐานให้ ชะตากรรมเรื่องลูกชายหมดไป ให้ลูกชายเข้าใจด้วยตัวเองได้ ต่อมา ลูกชายได้เข้าใจและมาขอโทษดิฉัน ดิฉันรู้สึกขอบคุณโงะฮนซนอย่าง ที่สุด ซึ่งเป็นช่วงเดียวกับที่ดิฉันรับหน้าที่ผู้ช่วยหัวหน้าเขต ตั้งใจที่จะ ทำาหน้าที่ให้ดีที่สุด จะปฏิวัติชีวิตตัวเอง จะทำากิจกรรมของสมาคม ด้วยความศรัทธาที่เข้มแข็ง ด้วยเชื่อมั่นว่าจะเปลี่ยนพิษเป็นยา


23 ลูกชายจะต้องดีขึ้นอย่างแน่นอน ต่อมาไม่นาน ลูกชายได้ทำางานที่โรงแรมเล็ก ๆ แห่งหนึ่ง ในจังหวัดอุดรธานี ทำาให้เขารู้คุณค่าของเงิน มีความรับผิดชอบมาก ขึ้น ในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อนสนิทของดิฉันซึ่งอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ทราบเรื่องนี้ ก็ได้ให้กำาลังใจและชวนลูกชายไปเรียนและทำางานที่นั่น โดยจะดูแลให้ทุกเรื่อง ดิฉันกับสามียินดี และลูกชายก็พร้อมที่จะไป หลังจากสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลายลง ด้วยการสวดมนต์อธิษฐานอย่างจริงจัง แม้เพียง แค่คิด สิ่งที่ปรารถนาก็ปรากฏเป็นจริง ดิฉันสามารถซื้อบ้านใจกลาง เมืองอุดรได้ในราคาที่ไม่แพงนัก และจู่ ๆ ก็มีคนขอซื้อที่ดินของดิฉัน ซึ่งอยู่ข้าง ๆ สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย สาขาอุดรธานี ดิฉัน ต ัดส ินใจขายที ่ด ินแปลงน ี ้ ท ่ามกลางสถานการณ ์โคว ิด-19 เช ่นน ี ้ การขายที่ได้ นับเป็นผลบุญที่ยอดเยี่ยมมาก ขณะที่พวกเราสมาชิกและผู้นำาของสมาคมสร้าง คุณค่าในประเทศไทย ร่วมใจกันสวดมนต์ให้สถานการณ์โควิด-19 หมดไปจากโลกน ี ้โดยเร ็ว ด ิฉ ันสวดไดโมข ุท ุกว ันอย ่างน ้อยว ันละ 2 ชั่วโมง โทรศัพท์ส่งเสริมกำาลังใจสมาชิกวันละ 1 คน โดยเชื่อมั่น ว่า ด้วยหนึ่งขณะจิตที่ยึดมั่นต่อธรรมมหัศจรรย์ จะมีความสุขได้ อย่างแน่นอน กานต์รวี เพิ่มผลทวีคูณ ฝายผู้ใหญหญิง อุดรธานี


ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย์-ใหม่” โดย โฮ โงะคู บทความจากอาจารย์ไดซาขุ อิเคดะ


25 บทที่ 43) พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น ที่ไมอาจทําลายได “คงอยูนิรันดร์ ไมมีสิ้นสุด ไมเสื่อมสลาย ความคิดไมมีใครเห็น”1 นี่คือคํากลาวของลอร์ด ไบรอน กวีและนักปฏิวัติ เหตุการณ์ที่น่าจดจำาไม่มีวันลืมเกิดขึ้นเมื่อ 17 ป ที่แล้ว ในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1982 วันนั้น งานวัฒนธรรมสันติภาพ ยุวชนคันไซครั้งที่ 1 ซึ่งเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ได้ถูกจัดขึ้นที่ สนามกีฬากลางแจ้งนางาอิ ในโอซาก้า งานวัฒนธรรมฉลองที่ระลึกครบ 30 ปของการเริ่ม เคลื่อนไหวเพื่อการเผยแผ่ธรรมไพศาลในคันไซ งานเริ่มเวลา 13.29 น. 1 ลอร์ด ไบรอน, “เมื่อความหนาวเย็นหอหุ้มกายมนุษย์ผู้ทุกข์ยาก”, ไบรอน : งานกวี, บรรณาธิการ เฟรเดอริก เพจ (ออกซ์ฟอร์ด : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด, ค.ศ. 1970) หน้า 81


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ด้วยขบวนพาเหรดของยุวชน 10,000 คน ทุกคนล้วนเป็นสมาชิกใหม่ ที่เพิ่งเข้าร่วมกับสมาคมโซคา เดินขบวนแถวเข้าสู่สนามกีฬา และแล ้วก ็ถ ึงเวลา 14.48 น. หล ังจากสมาช ิกของ แต่ละฝายได้สร้างความตื่นตาตื่นใจให้ผู้ชม ด้วยการแสดงที่ ยอดเยี่ยมแล้ว ยุวชน 4,000 คน ก็รีบวิ่งกรูกันออกมาที่สนามอย่าง รวดเร็ว พวกเขาคือกลุ่มกายกรรมฝายยุวชนชาย พวกเขาต่อตัวขึ้น เป็นหอคอย 5 ชั้นจำานวน 8 กลุ่ม คลี่บานออกพร้อมกันอย่างสวยงาม ราวกับดอกบัว 8 กลีบ จากนั้นที่ตรงกลางสนาม ยุวชนชายกลุ่มหนึ่ง เริ่มเรียงตัวกันต่อตัวขึ้นใหม่ ดวงตาของผู้ชมทุกคู่ จริง ๆ แล้วก็คือ ดวงตาของเพื่อนสมาชิกคันไซทุกคนที่ต่างก็จดจ่ออยู่ที่พวกเขา จ้องมองและอธิษฐานเพื่อความสำาเร็จของ “หอคอยแหงชัยชนะ ของประชาชน” พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น ผู้แสดง 60 คนที่เป็นฐานพีระมิดเอาแขนโอบไหล่ของ กันและกันไว้ อีก 20 คน ปนขึ้นไปเพื่อเป็นชั้นที่ 2 และอีก 10 คน ปนซ้อนขึ้นไปด้านบนเพื่อสร้างชั้นที่ 3 จากนั้น อีก 5 คนปนขึ้นไป ด้านบนเพื่อสร้างชั้นที่ 4 อีก 3 คนปนขึ้นไปเป็นชั้นที่ 5 และท้ายที่สุด คนสุดท้ายปนขึ้นไปบนยอดสุด จากนั้น ผู้ที่หมอบอยู่ในชั้นที่ 2 ก็ ค่อย ๆ ยืนขึ้นอย่างช้า ๆ หลายปที่ผ่านมา สมาคมโซคาถูกวิพากษ์วิจารณ์และ เหยียดหยามอย่างรุนแรง ซึ่งธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเร็นไดโชนินได้


27 ทำานายถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับผู้ที่ปฏิบัติตรงตามคำาสอนของพระพุทธะ การโจมตีกล่าวร้ายต่อพวกเรา ล้วนเป็นความเท็จไม่มีมูลความจริง คำาพูดเหล่านั้นมิใช่สิ่งใดอื่น นอกจากคลื่นแห่งความประสงค์ร้ายและ มุ่งทำาลายที่รุนแรง สมาชิกคันไซ ไม่เคยสะทกสะท้านต่อการโจมตีของ ศัตรูที่เข้มแข็ง 3 ชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมาชิกฝายผู้ใหญ่หญิง และยุวชนหญิงยังคงเคลื่อนไหวในการทุ่มเทตนเองอย่างขยันขันแข็ง ในกิจกรรมของสมาคม ด้วยรอยยิ้มที่อ่อนโยนของทูตสวรรค์ ไม่ว่า จะถูกใส่ร้าย ถูกดูถูกเหยียดหยามรุนแรงเพียงใด ไม่ว่าจะถูกโจมตี ด ้วยถ ้อยค ำาท ี ่เส ียดแทง ฉ ีกท ึ ้ง เช ือดเฉ ือนห ัวใจพวกเขาเพ ียงใด สมาชิกคันไซ ก็ไม่เคยลืมที่จะกระทำาและพูดออกไปด้วยศักดิ์ศรีและ ความกล้าหาญ สมาช ิกเหล ่าน ั ้น ผู ้พล ิกโฉมเปล ี ่ยนงานว ัฒนธรรม คันไซที่เปยกชุ่มท่ามกลางสายฝนใน ค.ศ. 1966 ไปสู่ความสำาเร็จที่ เต็มไปด้วยพลังกระตือรือร้นช่างเข้มแข็ง และในขณะนี้ สมาชิกฝาย ยุวชน ก็ไร้ซึ่งความกลัวและไม่พรั่นพรึงใด ๆ ต่างลุกโชนด้วยความ กระตือรือร้น ที่จะสร้างสรรค์การรวมตัวที่โดดเด่นอย่างแท้จริงของ ยุวชนในคันไซ เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1981 หลังการเดินทางไปให้ คำาชี้นำาอันทรงคุณค่าน่าจดจำาที่ชิโกกุ ข้าพเจ้าได้กลับมาที่โอซาก้า


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” เพื่อเข้าร่วมการประชุมรวมคันไซ ครั้งที่ 3 ตอนนั้น สมาชิกยุวชน คันไซของเรา ด้วยหัวใจสว่างโชติช่วงดุจดวงอาทิตย์อันเจิดจ้า ได้ บอกข้าพเจ้าว่า “พวกเรากำาลังจะจัดงานวัฒนธรรมเพื่อแสดงให้โลก รู้ว่า สมาคมของเราอยู่ที่นี่และอาจารย์ของพวกเรายังคงมีพลัง กระฉับกระเฉงเช่นเคย” “สมาชิกฝายยุวชนคันไซ 1 แสนคน กำาลัง รออาจารย์อยู่ครับ” ทันทีหลังขึ้นปใหม่ (ค.ศ. 1982) ข้าพเจ้าเดินทางไป จังหวัดอาคิตะที่ปกคลุมไปด้วยหิมะ เพื่อมอบคำาชี้นำาและส่งเสริม กำาลังใจสมาชิก และเริ่มรณรงค์ต่อสู้กับอุปสรรค 3 มาร 4 ข้าพเจ้า กระโจนเข้าไปอยู่ในแนวหน้าของการต่อสู้เฉกเช่นราชสีห์ที่ทรงพลัง ยิ่งใหญ่ มุ่งมั่นตั้งใจที่จะโค่นล้มพลังใส่ร้ายปายสีที่คอยจ้องทำาลาย พุทธศาสนา การริเริ่มเช่นนี้เป็นการส่งสัญญาณถึงสมาชิกทุกคน เป็น แรงบันดาลใจให้ทุกคนสู้และพูดออกไป ในขณะเดียวกันนั้น สมาชิกคันไซผู้เยาว์วัยได้เริ่ม ฝกซ้อมเพื่องานวัฒนธรรมดังกล่าว อดทนต่อสู้กับลมหนาวที่เย็น ยะเยือกในสวนปราสาทโอซาก้า และในที่อื่น ๆ คณะทำางานของ พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น ต้องขอยืมใช้โรงพละของโรงเรียนมัธยมโซคา คันไซในคาตาโนะเพื่อฝกซ้อมอยู่บ่อย ๆ ทว่าจวบจนถึงวันงาน วัฒนธรรม พวกเขาต่อตัวสำาเร็จเป็นพีระมิดได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ฮิโรมาสะ ลูกชายคนโตของข้าพเจ้า ขณะนั้นเป็นคุณครูอยู่ที่โรงเรียน


29 แห่งนั้น ได้อยู่ตอนที่พวกเขาต่อตัวสำาเร็จและได้ร่วมแบ่งปนความ รู้สึกตื่นเต้นดีใจกับพวกเขาด้วย “ผมจะไม่มีวันลืมความรู้สึกตื่นเต้น ระทึกใจกับชั่วขณะแห่งประวัติศาสตร์นั้นเลย ตราบที่ผมยังมีชีวิต อยู่” เขาบอกเช่นนั้น แท้ที่จริงแล้ว แค่ก่อนวันงานวัฒนธรรม สมาชิกคน หนึ่งในกลุ่มกายกรรมฝายยุวชนชายได้เสียชีวิตเพราะความเจ็บปวย กะทันหัน เขาคือเพื่อนที่ดีที่สุดของยุวชนชายคนที่จะขึ้นยืนอยู่บน ยอดส ุดของพ ีระม ิด ขณะน ี ้พ ีระม ิดจ ึงกลายเป ็นอน ุสรณ ์เพ ื ่อเป ็น เกียรติแก่ยุวชนชายผู้นั้น ที่ไม่สามารถร่วมงานวัฒนธรรมครั้งนี้ด้วย เย็นวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1982 ข้าพเจ้าเดินทางถึง โอซาก้า มีฝนตกหนักมาก งานวัฒนธรรมในวันแรกจึงถูกยกเลิก ข ้าพเจ ้าได ้แวะไปส ่งเสร ิมก ำาล ังใจและปล ุกเร ้าจ ิตใจย ุวชนท ี ่ก ำาล ัง ประชุมเจ้าหน้าที่จัดงาน ซึ่งข้าพเจ้าแน่ใจว่าพวกเขาต้องรู้สึกผิดหวัง แน่นอน ข้าพเจ้าบอกพวกเขาว่า เป็นการคาดหวังมากเกินไปที่จะทำา พีระมิด 6 ชั้นให้สำาเร็จต่อเนื่องกัน 2 วัน เพราะการต่อตัวให้สำาเร็จ ต้องใช้ความระมัดระวังที่ถูกต้องแม่นยำาและสมาธิอย่างใหญ่หลวง จึงเป็นเรื่องดีที่ฝนตก ข้าพเจ้าบอกและปลุกเร้าพวกเขาให้มอบ การแสดงที่เปยมด้วยจิตวิญญาณสูงสุดแก่พวกเราในวันถัดไป ภายใต้ท้องฟาสีครามแจ่มกระจ่าง พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้นได้ก่อตัวขึ้นบนผืนดินประวัติศาสตร์อันสูงส่ง สมาชิกที่อัฒจันทร์


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ด้านหนึ่งถือแผ่นกระดาษสีสันสดใสทำาเป็นฉากขนาดยักษ์ แปรอักษร คำาว่า “ยุวชน ปนภูเขาแหงการเผยแผธรรมไพศาลในศตวรรษ ที่ 21” ชั้นที่ 4 ของพีระมิดลุกขึ้นยืน อย่างช้า ๆ และมั่นคง ชั้นที่ 5 ลุกขึ้นยืน เวลา 15.06 น. ยุวชนชายเพียงคนเดียวบนชั้นที่ 6 ลุกขึ้นยืนและเงยหน้าขึ้นมองสู่สวรรค์ เขาร้องเรียกชื่อเพื่อนผู้ล่วงลับ ไปและตะโกนว่า “พวกเราทำาได้แล้ว” เขาชูแขนขึ้นทั้ง 2 ข้าง ภาพ แห่งศักดิ์ศรีของชีวิตที่ไม่มีขีดจำากัด ในจังหวะนั้นสมาชิกบน อัฒจันทร์ที่ถือกระดาษแปรตัวอักษรสีแดงสดใสบนฉากหลังสีทอง คำาว่า “คันไซ สปริต” (จิตวิญญาณคันไซ) พีระมิดยืนตระหง่าน อย่างมีชัยต่อท้องฟาสีครามอันสดใสไร้เมฆหมอกแห่ง “คันไซ ชัยชนะตลอดกาล” เสียงโห่ร้องแห่งชัยชนะดังกึกก้องไปทั่ว ชั่วขณะนั้น ดวงตะวันแห่งสมาคมโซคาได้ส่อง ประกายแสงอันเจิดจรัสสง่างาม บรรยากาศกระหึ่มดังด้วยเสียงเชียร์ กระแสคลื่นเสียงแห่งการยกย่องสรรเสริญราวกับเสียงแตรที่แซ่ซ้อง สรรเสริญอย่างพร้อมเพรียงกัน หอคอยมห ึมาแห ่งช ัยชนะและความเท ี ่ยงธรรมของ ยุวชน ช่างสง่างาม สง่างามจริง ๆ ยืนหยัดขึ้นสูงเหนือความลุ่มหลง


31 ทั้งหลายทั้งชื่อเสียงและผลประโยชน์ส่วนตัว เปล่งแสงแห่งความหวัง อันยิ่งใหญ่ แขกรับเชิญผู้มีชื่อเสียงที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุนกล่าวว่า พีระมิด มนุษย์ 6 ชั้นนี้เป็นความสำาเร็จยอดเยี่ยมที่ไร้สิ่งใดเทียมได้ในโลกนี้ เมื่อการแสดงอันน่าทึ่งจบลง ผู้ชม 10,000 คนและนัก แสดงรวมตัวกันอยู่ในความเงียบ สมาชิกทุกคนที่ได้ร่วมในวันนั้นต่าง ประจ ักษ ์ถ ึงประกายแสงอันร ุ ่งโรจน์แห ่งช ัยชนะ มาซาโตะ โอน ิช ิ หัวหน้าฝายยุวชนคันไซ (ปจจุบัน [ค.ศ. 1999] เปนรองประธาน สมาคมโซคา) ได้มาที่ไมโครโฟน “เพื่อนของผม ผู้เข้มแข็ง 100,000 คน ลูกศิษย์ของ อาจารย์อิเคดะ จากทุกพื้นที่คันไซ” ขณะที่คำากล่าวเปดในการ ประกาศเพื่อสันติภาพซึมซาบไปด้วยคำาปฏิญาณของลูกศิษย์ที่ แท้จริง ดังลั่นออกมา บรรยากาศที่เคร่งขรึมจริงจังก็ได้ปกคลุมไปทั่ว สนามกีฬา “พวกเราต ั ้งปณ ิธานว ่า จะยกระด ับพ ุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนินให้เป็นเจตนารมณ์ของยุคสมัยของเรา เป็น เจตนารมณ์ของทั่วโลก อยู่บนพื้นฐานอุดมคติของการเคารพศักดิ์ศรี ของชีวิตและสันติภาพเพื่อมวลมนุษยชาติทั้งปวง จะก้าวหน้าในการ เคลื่อนไหวเพื่อให้สันติภาพคงอยู่นิรันดร์ ตามหลักการของการก่อตั้ง คำาสอนที่ถูกต้องเพื่อให้ประเทศเกิดสันติ (ริชโชอันโคขุ)”


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ข้าพเจ้าได้กล่าวคำาปราศรัยปดงาน ซึ่งหลังจากกล่าว แสดงความขอบคุณต่อประมุขสงฆ์และแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน ข้าพเจ้าได้เรียกร้องต่อยุวชนว่า “สันติภาพคือความปรารถนาที่ แท้จริงของมนุษยชาติ การเอาชนะคำานินทาว่าร้ายและดูถูก เหยียดหยาม พวกเราต้องรุดไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องเพื่อสันติภาพ ผมขอส่งมอบความรับผิดชอบในเส้นทางนี้แก่คุณ เพื่อนยุวชน ของผม” ข้าพเจ้าจำาได้ว่า 2 - 3 วันหลังงานวัฒนธรรม ข้าพเจ้า ได้รับข้อความจากสำาน ักวัดใหญ่ให้ไปที่นั่นทันที ประมุขสงฆ ์ผู้น่า อ ับอายท ี ่ม ีจ ิตใจร ิษยาอาฆาต ได ้เร ียกข ้าพเจ ้าไปพบ ข ้าพเจ ้าม ี กำาหนดการที่จะไปเยี่ยมสมาชิกที่เกียวโตและชิบะ จึงต้องเปลี่ยน แผนและรีบไปสำานักวัดใหญ่ด้วยกันกับประธานอาคิย่ะ และหัวหน้า ระดับสูงท่านอื่น นั่นคือวันที่ 25 มีนาคม ประมุขสงฆ์รอพวกเราอยู่ เต็มไปด้วยความโกรธ ราวกับอสูร (ปศาจที่ชอบทะเลาะวิวาทในตํานานอินเดียโบราณ) เขา ตะคอกเสียงดังอย่างยโสโอหังว่า คำาประกาศของฝายยุวชนที่มี ปณ ิธาน “ท ี ่จะยกระด ับพ ุทธธรรมของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ินให ้เป ็น เจตนารมณ์ของยุคสมัยของเรา เป็นเจตนารมณ์ของทั่วโลก” เขา กล่าวหาว่านั่นเป็นการไม่ให้ความเคารพที่เสนอว่า พุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนินที่สูงส่งอยู่แล้วจะมายกระดับให้สูงส่งยิ่งขึ้นอีก


33 เขายังตำาหนิถ้อยคำาปราศรัยของข้าพเจ้าด้วย ในคำากล่าวขอบคุณ เขาที่มาร่วมงาน ข้าพเจ้าเรียกเขาว่า “ท่านนิกเค่นโชนินผู้สูงส่ง” แทนที่จะเรียกว่า “ท่านประมุขสงฆ์ผู้สูงส่ง” นี่คือทั้งหมดที่เขาพูดหลังจากได้ประจักษ์ถึงงาน ว ัฒนธรรมท ี ่น ่ามห ัศจรรย ์ ช ่างโง ่เขลาและน ่าเศร้าอะไรเช่นน ี้ น ่า สมเพชต ่อความพยายามท ี ่จะย ืนกรานอ ำานาจอ ันชอบธรรม ด ้วย ความเจ็บใจอย่างเห็นได้ชัด นิกเค่นได้เปดเผยตัวตนออกมาเป็นสงฆ์ ที่ไม่มีความศรัทธาซ่อนตัวอยู่ภายใต้จีวรของประมุขสงฆ์ เป็นบุคคล ที่ถูกครอบงำาด้วยพลังอำานาจของมารที่ชั่วร้าย และเสียสติไปแล้ว ด้วยความอิจฉาริษยา เหตุการณ์นี้ทำาให้เรารู้สึกเดือดดาล ขณะเดียวกันก็เป็นเรื่องเหลวไหลน่าขำาน่าชวนหัวเราะ ทว่ากลับไม่มี ความสนุกเลย ดังที่พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนเอาไว้ว่า “อสูรผูซึ่งยิง ธนูไปยังพระอาทิตย์ ศีรษะไดแตกเปน 7 เสี่ยง” “พีระมิดของยุวชน” ที่ยืนหยัดอย่างอาจหาญและ สูงเสียดขึ้นไปสู่ท้องฟาอันสดใสของคันไซ เป็นเครื่องหมายแสดง จุดเปลี่ยนที่สำาคัญยิ่ง เปดเส้นทางสำาหรับการตอบโต้ที่ไม่หวั่นไหว ของสมาคม ต่อการคุกคามและแผนการที่ชั่วร้ายของคณะสงฆ์ จากว ันน ั ้น จากช ั ่วขณะน ั ้น จาก “คันไซ ชัยชนะ ตลอดกาล” ด้วยคำามั่นสัญญาที่สดใหม่ตลอดกาลเพื่อการเผยแผ่ เขายังตำาหนิถ้อยคำาปราศรัยของข้าพเจ้าด้วย ในคำากล่าวขอบคุณ เขาที่มาร่วมงาน ข้าพเจ้าเรียกเขาว่า “ท่านนิกเค่นโชนินผู้สูงส่ง” แทนที่จะเรียกว่า “ท่านประมุขสงฆ์ผู้สูงส่ง” นี่คือทั้งหมดที่เขาพูดหลังจากได้ประจักษ์ถึงงาน ว ัฒนธรรมท ี ่น ่ามห ัศจรรย ์ ช ่างโง ่เขลาและน ่าเศร้าอะไรเช่นน ี้ น ่า สมเพชต ่อความพยายามท ี ่จะย ืนกรานอ ำานาจอ ันชอบธรรม ด ้วย ความเจ็บใจอย่างเห็นได้ชัด นิกเค่นได้เปดเผยตัวตนออกมาเป็นสงฆ์ ที่ไม่มีความศรัทธาซ่อนตัวอยู่ภายใต้จีวรของประมุขสงฆ์ เป็นบุคคล ที่ถูกครอบงำาด้วยพลังอำานาจของมารที่ชั่วร้าย และเสียสติไปแล้ว ด้วยความอิจฉาริษยา เหตุการณ์นี้ทำาให้เรารู้สึกเดือดดาล ขณะเดียวกันก็เป็นเรื่องเหลวไหลน่าขำาน่าชวนหัวเราะ ทว่ากลับไม่มี ความสนุกเลย ดังที่พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนเอาไว้ว่า “อสูรผูซึ่งยิง ธนูไปยังพระอาทิตย์ ศีรษะไดแตกเปน 7 เสี่ยง” “พีระมิดของยุวชน” ที่ยืนหยัดอย่างอาจหาญและ สูงเสียดขึ้นไปสู่ท้องฟาอันสดใสของคันไซ เป็นเครื่องหมายแสดง จุดเปลี่ยนที่สำาคัญยิ่ง เปดเส้นทางสำาหรับการตอบโต้ที่ไม่หวั่นไหว ของสมาคม ต่อการคุกคามและแผนการที่ชั่วร้ายของคณะสงฆ์ จากว ันน ั ้น จากช ั ่วขณะน ั ้น จาก “คันไซ ชัยชนะ ตลอดกาล” ด้วยคำามั่นสัญญาที่สดใหม่ตลอดกาลเพื่อการเผยแผ่ 33


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ธรรมไพศาล ความก้าวหน้าอย่างยิ่งใหญ่ของพันธมิตรของเรา เพื่อ ความจริงและความเที่ยงธรรมได้เริ่มต้นมุ่งหน้าสู่ยอดเขาแห่งชัยชนะ ของโซคาในศตวรรษที่ 21 เม ื ่ออาคารส ำาน ักงานใหญ ่ค ันไซแห ่งใหม่สร ้างเสร ็จ สมบูรณ์ รูปปนพีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น จะประดับไว้ให้เห็นอย่าง เด่นชัดที่อาคารแห่งนี้ (จากหนังสือพิมพ์เซเคียว ฉบับวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1999) จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ธรรมไพศาล ความก้าวหน้าอย่างยิ่งใหญ่ของพันธมิตรของเรา เพื่อ ความจริงและความเที่ยงธรรมได้เริ่มต้นมุ่งหน้าสู่ยอดเขาแห่งชัยชนะ ของโซคาในศตวรรษที่ 21 เม ื ่ออาคารส ำาน ักงานใหญ ่ค ันไซแห ่งใหม่สร ้างเสร ็จ สมบูรณ์ รูปปนพีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น จะประดับไว้ให้เห็นอย่าง เด่นชัดที่อาคารแห่งนี้ (จากหนังสือพิมพ์เซเคียว ฉบับวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1999) ธรรมไพศาล ความก้าวหน้าอย่างยิ่งใหญ่ของพันธมิตรของเรา เพื่อ


35 35 บทสนทนาเรื่อง แม่กับลูกมุ่งสู่ศตวรรษที่ 21 (เลม 3)


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) บทที่ 2) คุณแม่ไม่พ่ำยแพต่อสิ่งใด (ตอ) โตะอำหำร เปนสถานที่สําคัญ ที่จะบ่มเพำะจิตใจและร่ำงกำยของเด็ก อาจารยอิเคดะ : แมจะอยู่ใน “สถานที่เดียวกัน” แต่ใช้ “เวลา ตางกัน” เป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “ครอบครัวโรงแรม” ครับ อยู่บ้านเดียวกัน แต่ต่างคนต่างรับประทานอาหาร ต่างคนต่างดูรายการโทรทัศน์ที่ตัวเองชอบ ใช้ชีวิตอยู่คนละห้องอย่าง เป็นอิสระ พักผ่อนในเวลาต่างกัน... อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับสมัยก่อนแล้ว เวลา ของ “การจับกลุมพูดคุยกันอยางสนุกสนาน” คงจะน้อยลงอย่าง แน่นอนนะครับ โอกะโนะ : ค่ะ เวลานี้ “การทานคนเดียว” ซึ่งเด็กนั่งรับประทาน อาหารคนเดียวกำาลังเป็นปญหาอยู่ค่ะ ก่อนหน้านี้ รายการโทรทัศน์ได้นำาเสนอสภาพที่แท้จริง ของนักเรียนประถมศึกษา ซึ่ง 1 ใน 4 คน กำาลังรับประทานอาหาร เช้าเพียงลำาพัง


37 เด็ก ๆ วาดรูปแสดงถึงลักษณะที่ตัวเองนั่งรับประทาน อาหาร ที่โตะอาหารขนาดใหญ่มีเด็กกำาลังนั่งรับประทานอาหารอยู่ เพียงคนเดียว พ่อแม่ไม่อยู่บ้าง กำาลังทำาอย่างอื่นบ้าง ครอบครัวที่มี ลักษณะเช่นนี้มีมากเกินคาด... รู้สึกตกใจมากค่ะ กล่าวได้ว่า “การทานคนเดียว” ไม่เพียงขาดการ สื่อสารของครอบครัวเท่านั้น แต่ยังเป็นสาเหตุให้เด็กรับประทาน อาหารไม่ครบหมู่มากขึ้น ในการขจัดความชอบ-ไม่ชอบของเด็กออกไปนั้น สิ่ง สำาคัญคือพ่อแม่ต้องรับประทานอาหารพร้อมกับลูก แสดงท่าทางให้ ลูกเห็นว่าพ่อแม่รับประทานอย่างเอร็ดอร่อย สิ่งสำาคัญนอกจากนี้ก็คือ แม้ไม่อาจรับประทานอาหารพร้อมกันก็ตาม แม่ก็ต้องดูให้เห็นกับ ตาว่า ลูกรับประทานอะไรบ้าง และอะไรที่ลูกรับประทานไม่หมดบ้าง แม่ต้องพูดกับลูกอย่างจริงจังว่าควรรับประทานอาหารให้หมด ดิฉันดูรายการโทรทัศน์แล้วรู้สึกว่า หากเด็ก ๆ ยังคง รับประทานอาหารที่ไม่สมดุลอย่างนี้ต่อไปเรื่อย ๆ การเจริญเติบโต ของเด็กก็น่าเป็นห่วงจริง ๆ อาจารยอิเคดะ : เนื่องจากการรับประทานอาหารเป็นพื้นฐานของการ ดำาเนินชีวิต โตะอาหารเป็นสถานที่ที่ครอบครัวจับกลุ่มพูดคุยกันอย่าง สนุกสนาน พ่อแม่จำาเป็นต้องระมัดระวังให้มากที่สุด เพื่อการเจริญ เติบโตทางจิตใจและร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ของลูก


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ในการสื่อสารระหว่างบุคคลกับบุคคล สถานที่ รับประทานอาหารก็สำาคัญ อาจารย์โทดะสอนอยู่เสมอว่า “ในขณะ ที่รับประทานอาหารกันพลางก็คุยกัน ต่างคนต่างก็จะเปดเผยความ ในใจต่อกันนะ” ผมก็มองหาโอกาสเช่นนั้นครับ รับประทานอาหารกับ บุคคลหลากหลายประเภท พลางก็สนทนาและให้กำาลังใจมาตลอด ครอบครัว เหมือนเคร� องบิน ที่บินไปสู่เปำหมำยเดียวกัน มาซาโมริ : ก่อนหน้านี้หนังสือพิมพ์ได้รายงานผลสำารวจที่น่าสนใจ จากสำานักนายกรัฐมนตรีว่า ในบรรดาหัวข้อแบบสำารวจหัวข้อที่สอบถามถึงเหตุผล ที่สตรีรู้สึกว่าเหนื่อยยากในการเลี้ยงดูลูก ข้อที่เลือกตอบมากที่สุดคือ “เวลาสวนตัวหายไป” ไม่ใช่แค่ฝายพ่อแม่เท่านั้น ตัวเด็กเองที่คิดว่า “อยาก ใชเวลาตามใจชอบ” ก็เพิ่มขึ้นด้วย จึงรู้สึกได้ว่าการนั่งโตะอาหาร รับประทานคนเดียว เป็นภาพสะท้อนถึงจิตใจของครอบครัวที่มี ลักษณะเช่นนั้น


39 ประเด็นนี้ ก่อนหน้านี้ดิฉันเคยอ่านหนังสือของอาจารย์ ชื่อ “การปฏิวัติครอบครัว” และจำาคำาพูดที่เป็นจุดมุ่งหมายได้ว่า “ครอบครัวที่อยู่ในสังคมปจจุบันไม่ใช่ปราสาท แต่ใกล้เคียงกับ เครื่องบิน ที่ยอมรับว่าเป็นเครื่องบิน เนื่องจากทุกคนจะสนุกกับการ ขับเครื่องบิน สายตาทุกคู่ที่จ้องมองไปยาวไกลถึงฟากโน้น มองไปใน ทิศทางเดียวกัน นี่คือครอบครัวที่แข็งแกร่งในปจจุบัน” อาจารยอิเคดะ : แม้จะบอกว่าการจับกลุ่มพูดคุยกันของครอบครัว เป็นสิ่งสำาคัญ แต่เนื่องจากรูปแบบของการดำาเนินชีวิตกับจังหวะของ การดำาเนินชีวิตในปจจุบันมีความหลากหลาย ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่าง จะเหมือนกับเมื่อก่อนคงไม่ได้ นี่คือความเป็นจริง นอกจากนี้ ผมพอจะเข้าใจความรู้สึกของคุณแม่ ทั้งหลายที่ “อยากมีเวลาสวนตัวเปนของตัวเอง” กระทั่งทุกวันนี้ คุณแม่ต้องรับภาระหนักในการเลี้ยง ดูลูก โดยเฉพาะด้านจิตใจ คนรอบข้างจะช่วยกันสนับสนุนอย่างไรนั้น ถือได้ว่าเป็นปญหาใหญ่ของสังคมนะครับ อย่างไรก็ตาม ครอบครัวจะขาดความรู้สึกเห็นอก เห็นใจซึ่งกันและกันไม่ได้ ไม่ใช่ “โรงแรม” ที่แต่ละคนใช้ชีวิตอยู่กันคนละทิศ คนละทาง สิ่งสำาคัญคือการสร้าง “ครอบครัว” ด้วยจิตใจร่วมกัน


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) แม้จะนั่งห่างกัน แต่เดินทางไปสู่จุดหมายปลายทางเดียวกันเหมือน กับ “เคร� องบิน” โอกะโนะ : จริงด้วยค่ะ ความรู้สึกมั่นคง ที่เกิดจากความสัมพันธ์ของพ่อแม่ลูก ที่อยู่ในส่วนที่ลึกที่สุดของจิตใจนั้น เป็นรากฐานของการเจริญเติบโต ซึ่งจะขาดเสียไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำาหรับเด็กเล็ก อาจารยอิเคดะ : ครั้งหนึ่ง อาจารย์โทดะเคยพูดเกี่ยวกับเครื่องบินว่า “สมัยก่อน ผมเคยนั่งเครื่องบินจากเซ็นไดกลับมา โตเกียว ระหว่างทางที่บินถึงปากแม่น้ำาอาบุคุมะงาวะ เกิดลมแรงจัด เนื่องจากเครื่องบินในสมัยก่อนไม่เหมือนสมัยนี้ เป็น เครื่องบินธรรมดา 6 ที่นั่ง เครื่องสั่นสะเทือนขึ้นลงอย่างรุนแรง แทบ จะบินต่อไม่ได้ จากเซ็นไดถึงโตเกียว เครื่องบินต้องต่อสู้ปะทะกับ กระแสลมแรง มองดูการต่อสู้ของเครื่องบินแล้ว เป็นการต่อสู้ที่ ยอดเยี่ยมมาก” ท่านเป็นอาจารย์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างคือการต่อสู้ โดยใช้การอธิบายที่เป็นรูปธรรม เข้าใจง่าย ทั้งการเลี้ยงดูลูกและเรื่องของครอบครัว ทั้งหมด เป็นการต่อสู้กับความเป็นจริงทั้งสิ้น แต่ไหนแต่ไรก็ไม่ได้สบาย และมี


41 เรื่องมากมายที่ไม่ได้เป็นดังที่คิด แต่หากตัดสินใจที่จะมุ่งไปยัง จุดหมายและสามารถฝากระแสลมแรงจัดแห่งความทุกข์ยากไปได้ แล้ว ณ ที่นั้น ท้องฟาแห่งความหวังที่แจ่มใสก็จะเปดกว้างออกไป พุทธธรรมกล่าวว่า “ความทุกข์” กับ “ความสบาย” เป็นคนละด้านของเหรียญเดียวกัน ท่ามกลาง “ความทุกข์ยาก ลำาบาก” เท่านั้นที่จะมี “ความสนุกสนาน” สิ่งสำาคัญคือการไม่ พ่ายแพ้ การไม่ยอมแพ้ ความสมบูรณ์แบบของชีวิต คือการมีชัยชนะข้ามพ้น ความยากลำาบากที่หนักหน่วงเท่านั้น จึงสามารถดื่มด่ำากับชีวิตได้ ทำานองเดียวกับเครื่องบินที่ต้องบินฝาต่อไปอย่างลำาบากเท่านั้น จึงจะ สามารถไปถึงจุดหมายปลายทางได้สำาเร็จ พลังของแม่ จะเช� อมโลกใหเปนหนึ่งเดียว มาซาโมริ : สำาหรับแม่ มีภาระหน้าที่ในฐานะ “กัปตันเคร� องบินที่มี ช� อเสียง” ที่จะลำาเลียงทุกคนในครอบครัวไปสู่เส้นทางแห่งความสุข ในฐานะฝายผู้ใหญ่หญิงของสมาคมโซคา ได้ทำาการ รณรงค์ให้สังคมไตร่ตรองถึงลักษณะของครอบครัวแบบนี้อีกครั้ง และ หนึ่งในการรณรงค์ดังกล่าวก็คือ “นิทรรศการพวกเราคือ


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ครอบครัวโลก” ซึ่งเริ่มจัดขึ้นในป 1994 “ปแหงครอบครัวสากล” ขององค์การสหประชาชาติ นิทรรศการนี้ได้หมุนเวียนจัดขึ้นทั่วประเทศ ตอนที่จัด แสดงที่จังหวัดฮิโรชิมะ (มกราคม ค.ศ. 1995) มีผู้เข้าชมมากกว่า 9 หมื่นคน ได้รับการตอบรับที่ดีมาก อาจารยอิเคดะ : ตรงทางเข้าของสถานที่จัดงาน มีข้อความที่ชูไว้สูง เป็นสารจากคุณเจฟ ไวล์เดอร์ (Jeff Wilder) ตัวแทนผู้อำานวยการ องค ์การยูน ิเซฟประจ ำาประเทศญ ี ่ป ุ น ท ี ่กล ่าวว ่า “‘ม ือท ี ่ไกวเปล เขยื้อนโลก’ เป็นคำาพูดที่ผมชอบมาก สมาชิกฝายผู้ใหญ่หญิงของ สมาคมโซคาสอนคำาพูดนี้แก่ผม” “มือที่ไกวเปล” สิ่งนี้คือพลังของคุณแม่ที่เลี้ยงดูชีวิต ผมก็เชื่อมั่นว่าพลังนี้เท่านั้น ที่เป็นพลังขับเคลื่อนที่จะเชื่อมโลกให้เป็น หนึ่งเดียว ข้ามพ้นพรมแดนและชนชาติ โอกะโนะ : เมื่อดูภาพต่าง ๆ ของครอบครัวจาก 65 ประเทศทั่วโลก ที่จัดแสดงในนิทรรศการแล้ว แสดงถึงความอบอุ่นของครอบครัวที่ ยอดเยี่ยมมาก นิทรรศการที่จังหวัดฮิโรชิมะ ได้นำาเสนอภาพถ่าย เกี่ยวกับการดำาเนินชีวิตหลังสงคราม 50 ป ของเหยื่อระเบิดนิวเคลียร์ ตลอดจนเครื่องใช้ไม้สอยและสมุดบันทึกที่เขียนด้วยลายมือ


43 มาซาโมริ : ป 1995 เป็นปที่ครบ 50 ป หลังระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม จังหวัดฮิโรชิมะ และเดินหน้าแผนงานที่ตัดสินใจมุ่งสร้าง “สันติภาพ” สู่อนาคต ดังนั้น ณ “มุมฮิโรชิมะ” จึงได้นำาเสนอย่างก้าวของ ชีวิตตลอด 50 ป ของสหาย 60 คนที่ข้ามพ้นความทุกข์ยากจากการ ถูกระเบิดและสนับสนุนครอบครัว พร้อมกับส่งสาร “จิตใจแหง สันติภาพ” หนึ่งในผู้เข้าชม คุณฮารา มิชิโอะ นักวาดภาพและกวี ได้กล่าวว่า “ดิฉันได้วาดภาพหัวข้อเกี่ยวกับแม่ต่อเนื่องกันมานาน 25 ป ท่ามกลางประวัติศาสตร์ของการใช้กำาลังรุนแรงที่เริ่มจาก สงคราม แม่มักจะถูกบังคับให้สะสางความผิดพลาดอันน่าเศร้าใจที่ ผู้อื่นก่อไว้ แต่ผู้ใหญ่หญิงของสมาคมโซคาทุกท่านยืนหยัดขึ้น มาปกปองเด็ก ๆ และกำาลังพยายามต่อสู้อยู่ ดิฉันรู้สึกประทับใจจิตใจ ของฝายผู้ใหญ่หญิงค่ะ” อาจารยอิเคดะ : ศตวรรษที่ 21นั้นสตรีจะนำายุคสมัย เป็นยุคสมัยที่ สร้างสังคมที่ทุกคนมีความสุขด้วยสันติภาพ เมื่อ 20 กว่าปที่แล้ว ผมเคยสนทนากับคุณคูเดนโฮฟ


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) คาเลอร์กี (Coudenhove-Kalergi) หัวหน้าผู้สนับสนุนการรวมยุโรปเป็น หนึ่งเดียว ในการสนทนา ผมได้พูดกับท่านว่า “บุคลิกท่าทางที่ มีความสุขและความทุกข์ของสตรีเท่านั้น ที่จะแสดงให้เห็นอย่างเป็น รูปธรรมว่า สังคมหนึ่งหรือประเทศหนึ่งมีความสงบสุข และมีความ แข็งแกร่งที่สมบูรณ์หรือไม่” คุณคาเลอร์กีได้กล่าวกับผมดังนี้ “ถ้าให้โอกาสสตรีทำาหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายที่ยิ่งใหญ่ จนสำาเร็จ เพียงเท่านี้โลกก็จะมีสันติภาพ เพราะสตรีเป็นนักสันตินิยม มาตั้งแต่ไหนแต่ไรแล้ว” “หากทั่วโลกมีสตรีในสภาผู้แทนราษฎรและรัฐบาล จำานวนกึ่งหนึ่งแล้ว สันติภาพโลกจะมั่นคง” เป็นคำาพูดที่มีนัยลึกซึ้งที่ไม่สามารถลืมได้ครับ ผูที่สรำงสันติภำพของโลก คือสตรี โอกะโนะ : บุคคลผู้ทรงปญญาชั้นนำาของโลกทั้งหลาย ได้แก่ ท่าน คานธี ท่านฐากูร ดร. กัลตุง นักสันติภาพ หรือ ดร. เอสควิเวล นักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนชาวอาร์เจนตินา ต่างก็กล่าวว่า “ผูที่สราง ศตวรรษแหงสันติภาพนั้นคือสตรี”


45 อาจารยอิเคดะ : ถูกต้องครับ นั่นคือแนวโน้มของยุคสมัยที่ถูกต้อง ครั้งหนึ่ง ท่านคานธีเคยกล่าวชมเชยบุคลิกของสตรีที่ ต่อสู้ท่ามกลางการต่อสู้เพื่อความเป็นเอกราชของประเทศอินเดียว่า “หากคำาว่า ‘พลัง’ หมายถึงพลังของจิตใจแล้ว สตรีจะมีพลังที่ ยอดเยี่ยมกว่าบุรุษอย่างมากมาย หากการไม่ใช้กำาลังรุนแรงคือกฎ ระเบียบของมนุษย์แล้ว อนาคตก็เป็นของสตรี” มาดามเมตตาก็กล่าวไว้ว่า “ท่านคานธีสอนว่า ‘ให้มีความกล้าหาญ ต่อสู้เพื่อ ความเที่ยงธรรม พูดความจริง’ และสันติภาพของสังคมจะถูกสร้าง ขึ้นมาได้โดยการวางรากฐานสันติภาพแห่งจิตใจของสตรี ณ เวลานั้น พลังแห่งสันติภาพในสตรี จะกลายเป็นพลังที่ยิ่งใหญ่มหาศาลที่ สามารถเปลี่ยนแปลงสังคมได้” ผู้ใหญ่หญิงทุกท่านมีการกระทำาที่ริเริ่มมาจากตัวเอง และกำาลังเพียรพยายามทำางานอยู่แนวหน้าของยุคสมัย กำาลังทำา กิจกรรมอย่างจริงจัง เพื่อโลก เพื่อผู้คน เป็นเรื่องที่สูงส่งจริง ๆ รู้สึก ขอบคุณครับ ทุกท่านคือความหวังของโลก มนุษยชาติกำาลังจ้อง มองการกระทำาที่มุ่งสู่อนาคตของพวกท่านอยู่


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) การกระทำาแต่ละอย่างอาจจะไม่โดดเด่น แต่กำาลัง นำาพาสังคม กำาลังนำาพาโลกไปสู่ทิศทางของความสุขอย่างต่อเนื่อง การกระทำาเช่นนั้นจะเป็นการเปด ‘อนาคตแหงความหวัง’ ของ เด็ก ๆ ด้วย ขอให้มีความภาคภูมิใจและก้าวไปข้างหน้ากันเถิด เพื่อสร้าง “ศตวรรษแหงสันติภาพ” ! และมีชัยชนะใน “ชีวิตที่มีภาระหนาที่” ! {จบ/บทที่ 2}


47 โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับ ศาสนาแหงมนุษยนิยม


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ บทที่ 3) กำรก่อตั้งค�ำสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน : รุงอรุณแหงศาสนาเพ� อมวลมนุษยชาติ ไซโต : วันที่ 28 เมษายน ที่จะมาถึงนี้ (ค.ศ. 2002) พวกเราจะฉลอง ครบ 750 ปของการก่อตั้งคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน (นับตาม แบบดั้งเดิมของชาวญี่ปุน) สมาชิกเอสจีไอใน 180 ประเทศและเขต การปกครองทั่วโลก (192 ประเทศและเขตการปกครอง ณ เดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 2010) จะร่วมรำาลึกถึงเหตุการณ์สำาคัญนี้ อาจารยอิเคดะ : การเผยแผ่นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวไปทั่วโลก คือคำา ส ั ่งเส ียท ี ่เป ็นความม ุ ่งมาดปรารถนาของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน ด ังท ี ่ กล่าวอ้างอิงอยู่ในงานเขียนของท่านว่า “พุทธธรรมยอนกลับสู ตะวันตก” และ “การเผยแผธรรมมหัศจรรย์ออกไปอยางกวาง ไกล” 1 เอสจีไอ เป็นการรวมตัวกันของบุคคลเพียงองค์กรเดียวเท่านั้น 1 พระนิชิเร็นไดโชนินกลาววา “ดวงจันทร์เคลื่อนจากทิศตะวันตกไปสูทิศตะวันออก อันเปนสัญญาณที่แสดงให้เห็นวาพุทธธรรมแหงอินเดียเผยแผ ไปทางทิศตะวันออก ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก อันเปนศุภนิมิตวา พุทธธรรมแหงญี่ปุนถูกกําหนดให้กลับไปสูแคว้นกุศานะ” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 936) ทานยังประกาศด้วยวา “การเผยแผ (ธรรมะนี้) ไปสูทั่วโลก ในที่สุดจะบรรลุผลสําเร็จได้อยางแนนอน” (ธรรมนิพนธ์ หน้า 816)


49 ที่นำาความปรารถนานี้ของพระนิชิเร็นไดโชนินไปสู่การปฏิบัติ และ ท ำาให ้เป ็นจร ิงข ึ ้นมา น ี ่ค ือความจร ิงอ ันสูงส ่งและเป ็นข ้อพ ิสูจน ์ว ่า เอสจีไอคือผู้สืบทอดที่ถูกต้องแท้จริงตรงตามพุทธเจตนาพุทธบัญชา พระน ิช ิเร ็นไดโชน ินจะต ้องยกย ่องชมเชยความเพ ียรพยายามของ พวกเราอย่างแน่นอน ! ไซโต : ผมทราบมาว่า 50 ปที่แล้ว ตอนฉลองครบ 700 ปของการ ก ่อต ั้งค ำาสอนของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน จ ำานวนสมาช ิกของสมาคม โซคาม ีประมาณ 10,000 ครอบคร ัวเท ่าน ั ้น ในระยะเวลาอ ันส ั ้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เรามีการเติบโตขึ้นอย่างมากมายมหาศาล นี่คือ ความสำาเร็จอันใหญ่หลวงที่ส่องประกายเจิดจรัสในบันทึก ประวัติการณ์ของพุทธศาสนา เมื่อคิดถึงเรื่องนี้ทำาให้ผมเต็มไปด้วย ความรู้สึกปติยินดียิ่งนัก ในการประชุมหัวหน้าภาคเมื่อเร็ว ๆ นี้ อาจารย์ได้พูด ถึงการกำาหนดวิสัยทัศน์ของพวกเราในอีก 50 ปข้างหน้าว่า “ในอีก 50 ปข้างหน้า (ค.ศ. 2052) เราจะฉลอง 800 ปการก่อตั้งคำาสอนของ พระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน ในเวลาน ั ้นเราจะสามารถท ำาการเผยแผ ่ธรรม ไพศาลให้ก้าวหน้าไปได้สักเพียงใด ผมขอมอบความไว้วางใจ ทุกอย่างแก่สมาชิกฝายยุวชนและฝายอนาคตของพวกเรา ผม ไว้วางใจพวกคุณ” ถ้อยคำาเหล่านี้ยังกระตุ้นผมให้รู้สึกกระตือรือร้น มากยิ่งขึ้นด้วยครับ


จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ อาจารยอิเคดะ : การประกาศก่อตั้งคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน เป็นการปาวประกาศที่ยิ่งใหญ่ ที่จะนำาความสุขไปสู่ประชาชนทั้งปวง เป็นเวลากว่าหมื่นปและยาวนานกว่านั้นของสมัยธรรมปลาย ปณิธานที่มุ่งไปสู่อนาคตอย่างต่อเนื่องด้วยความพากเพียรที่จะนำาพา ผู้คนทั่วทุกแห่งหนไปสู่ความสุขเช่นนี้ จึงเป็นหัวใจของคำาสอนของ พระนิชิเร็นไดโชนิน การเริ่มต้นวาระครบรอบการประกาศก่อตั้งคำาสอน ของพระนิชิเร็นไดโชนิน ที่เต็มไปด้วยจิตวิญญาณในการทำางาน เพื่อการเผยแผ่ธรรมไพศาล และเปยมด้วยความหวังสำาหรับอนาคต จริง ๆ แล้ว ถือเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการฉลองวันอันเป็นศุภมงคลนี้ นี่คือจิตวิญญาณของสมาชิกเอสจีไอ การปาวประกาศคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินต่อ สาธารณชน ยังเป็นการแสดงออกถึงมหาปณิธานของท่านที่จะทำาให้ ประชาชนทุกคนมีความสุข และช่วยบรรเทาความทุกข์ขั้นพื้นฐานใน สมัยธรรมปลายสำาเร็จเป็นจริงด้วย หากปราศจากความเข้าใจในเรื่อง นี้แล้ว เราก็ไม่สามารถเข้าใจเจตจำานงที่แท้จริงของพระนิชิเร็น ไดโชนิน ในการวิพากษ์วิจารณ์ตำาหนิติเตียนพุทธศาสนานิกายอื่น ๆ ในยุคสมัยของท่านอย่างรุนแรง ในช่วงที่ครบ 700 ป สมาคมโซคาแน่นอนว่ายังเป็น องค์กรขนาดเล็กมาก ๆ แต่นั่นก็ไม่สามารถหยุดยั้งอาจารย์โจเซอิ


Click to View FlipBook Version