31 พวกเขาทำางานหนัก ซื่อสัตย์และอดทน ด้วยจิตใจที่สูงส่งไม่พยาบาท มาดร้ายไม่เห็นแก่ตัว ทำาให้พวกเขาสามารถตั้งบ้านเรือนในที่ที่เปน อิสระจากอำานาจการปกครองของกษัตริย์ และพวกเขายังทำาให้ สกอตแลนด์โลดแล่นไปในเวทีโลกด้วย อาจารย์มาคิงุจิ ได้บันทึก คุณลักษณะเช่นนี้ไว้ในหนังสือ จินเซอิ ชิริงะขุ (ภูมิศาสตร์มนุษย์) ของท่านด้วย ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ 1995 1 ปหลังการเยือน กลาสโกว์ ข้าพเจ้าบินไปประเทศเนปาล สถานที่ประสูติของ พระศากยมุนีพุทธะ เพื่อรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ด้าน อักษรศาสตร์จากมหาวิทยาลัยตรีภูวัน ข้าพเจ้าประหลาดใจที่ วงดนตรีบรรเลงเพลง “สกอตแลนด์ที่กลาหาญ” เพื่อเปนเกียรติ แก่ข้าพเจ้า คิดถึงเพื่อน ๆ ที่สกอตแลนด์ ยืนตระหง่านอย่างภาคภูมิ ดุจดังยอดเขาหิมาลัย ใบหน้าอาบด้วยแสงแห่งมิตรภาพและความ ปรารถนาดี ข้าพเจ้าฟังด้วยความรู้สึกเคารพสูงสุด (จากหนังสือพิมพ์เซเคียว ฉบับวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1999)
บทสนทนาเรื่อง แม่กับลูกมุ่งสู่ศตวรรษที่ 21 (เลม 3)
33 บทที่ 3) สำยสัมพันธ์ที่ช่วยเหลือ สนับสนุนกันและกัน (ตอ) หำกพ่อใชสติ ครอบครัวจะไมหวั่นวิตก ฟุจิโนะ : จริงค่ะ ครอบครัวดิฉันเคยล้มละลาย 2 ครั้ง จึงเข้าใจความ รู้สึกของครอบครัวของคุณฮิราคาวาดีค่ะ ช่วงที่คุณพ่อบริหารงานอยู่ที่โรงงาน ธุรกิจดำาเนินไป อย ่างราบร ื ่น พวกเราได ้อาศ ัยอยู ่ในบ ้านหล ังใหญ ่ ความเป นอยู ่ ค่อนข้างดี ของทันสมัยอย่างโทรทัศน์ก็รีบซื้อมา ถึงเวลา ท่องเที่ยวก็มักเช่าแท็กซี่ไปกันทั้งครอบครัว ตอนที่ดิฉันอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ธุรกิจล้ม ทำาให้ การดำาเนินชีวิตเปลี่ยนจากหน้ามือเปนหลังมือ ยังจำาได้ว่าใบประกาศ สีชมพูที่จะยึดบ้านถูกปดไว้ทั่วบ้าน ตัวดิฉันเองรู้สึกสับสนว่า “ทำาไม จึงเปนอย่างนี้” ตั้งแต่นั้นมาจนถึงตอนที่ขายบ้านได้ คนที่ตามทวงหนี้ ก็มาและคอยเฝาไม่ให้พวกเราหลบหนีในตอนกลางคืน แม้ดำาเนิน
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ชีวิตอยู่ท่ามกลางสภาพเช่นนั้นก็ตาม แต่ผู้ที่ทำาให้ครอบครัวไม่มืดมน ก็คือคุณพ่อกับคุณแม่ค่ะ ทั้ง 2 ท่านไม่ท้อ ยังคงมานะบากบั่น และ มีการกระทำาที่ร่าเริงสดใส ตกค่ำา คุณพ่อจะเล่นไพ่ และบางครั้งก็เล่นเกมใบ้คำา (จากการแสดงทาทาง) กับพวกเรา คุณพ่อยังชวนคนทวงหนี้ให้มา เล่นเกมด้วย คนทวงหนี้ก็งงและสงสัยว่า “บ้านนี้ต้องเอาสมบัติไป ซ่อนไว้ที่ไหนสักแห่งแน่ ๆ” (หัวเราะ) อาจารยอิเคดะ : คุณพ่อไม่ละความพยายามนะครับ ท่านคงอยากจะโอบอุ้มความรู้สึกที่เศร้าโศกของ ครอบครัวอย่างสุดชีวิตด้วยความร่าเริงสดใส ในยามคับขัน ถ้าคุณพ่อตั้งสติได้ ลูก ๆ จะไม่หวั่น วิตก ความรู้สึกของลูกที่สามารถรับรู้ได้ถึงความเข้มแข็งของคุณพ่อ ทำาให้สายสัมพันธ์แห่งความไว้วางใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น ปัจจุบัน เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำาอย่างต่อเนื่อง การว่างงานและธุรกิจล้มละลาย อันเปนสาเหตุทำาให้ครอบครัว ตกอยู่ในสภาพที่ทุกข์ยากมีจำานวนเพิ่มมากขึ้น การได้รับความทุกข์ยากจากสาเหตุดังกล่าว ไม่ใช่การ
35 พ่ายแพ้หรืออะไรทั้งสิ้น แม้จะปฏิบัติศรัทธา ก็ต้องพบกับความ เจ็บป่วยและความทุกข์ใจ กับความยากลำาบากทางเศรษฐกิจที่เกิด จากกระแสคลื่นของยุคสมัย อาจารย์โทดะเองก็เคยล้มเหลวในการประกอบธุรกิจ แม้กระนั้น บุคลิกท่าทางดุจราชสีห์ของท่านก็ไม่เปลี่ยนเลยแม้แต่น้อย ท่ามกลางสถานการณ์ที่ตกต่ำาย่ำาแย่สุดขีด อาจารย์ โทดะกล่าวว่า “ผมลมเหลวทางธุรกิจ แต่ไม่ยอมแพต่อชีวิต” แล้วท่านก็ลุกขึ้นยืนหยัด บุคลิกท่าทางของท่านแม้ในขณะนี้ก็ยังสลัก อยู่ในจิตใจของผม แม้จะมืดมนเพียงใดก็ตาม แต่ไม่มีค่ำาคืนใดที่รุ่งอรุณ จะไม่ตามมา เวลาที่ยากลำาบากเช่นนี้ ขอให้เชื่อมั่นว่าจะต้องดีขึ้น อย่างแน่นอน การสนับสนุนกันและกันของครอบครัวเปนสิ่งสำาคัญ มากยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด คนที่จะกลายเปนคนสำาคัญก็คือคุณพ่อ ฮิราคาวา : คุณพ่อเปนคนที่เข้มงวดกับตัวเอง แต่กับคนอื่นใจดีมาก ตอนที่เพิ่งเปดร้านเครื่องใช้ไฟฟา คุณพ่องานยุ่งจึงไม่ ค่อยมีเวลาเล่นด้วยกัน แต่ตอนกลางคืนหลังเสร็จงาน ก่อนเข้านอน คุณพ่อจะพูดว่า “ราตรีสวัสดิ์” และลูบหัวของดิฉันทุกครั้ง
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) นอกจากนี้ สมัยนั้นในบ้านไม่มีที่อาบน้ำา หลังจากปด ร้านตอนกลางคืนแล้ว คุณพ่อจะพาดิฉันไปยังโรงอาบน้ำาสาธารณะ เปนความทรงจำาที่น่าปติยินดี ดิฉันยังจำาได้ดี ตอนที่คุณพ่อผู้เปนที่รักยิ่งของดิฉันเสียชีวิตจากการ เจ็บป่วย ในใจของดิฉันรู้สึกเคว้งคว้าง คิดอะไรไม่ออก ท่ามกลางงานศพที่รีบเร่ง ดิฉันซึ่งเปนลูกสาวคนโต คิดว่าตัวเองต้องหนักแน่นมั่นคง ขยันขันแข็งเพื่อน้องสาวอายุ 6 ขวบ และน้องชายอายุ 3 ขวบด้วย ปัจจุบันนี้ ทั้งน้องสาวและน้องชายก็กำาลังต่อสู้อย่าง เข้มแข็งในสวนแห่งการเผยแผ่ธรรมไพศาลของสมาคม อธิษฐำนเพ� อควำมสุข ของทุกคนในครอบครัว ฟุจิโนะ : เมื่อถึงยามคับขัน ผู้คนในสังคมจะเย็นชาไร้น้ำาใจ เพื่อนบ้านของดิฉันก็เหมือนกัน โดยเฉพาะตอนที่ คุณพ่อล้มละลายใหม่ ๆ ช่างโหดร้ายมาก ผู้คนที่เคยมีอัธยาศัยดี มาโดยตลอดก็เปลี่ยนไปจากหน้ามือเปนหลังมือ เพราะธุรกิจของคุณพ่อล้มเหลว สายตาที่มองมายัง
37 ครอบคร ัวเราจ ึงราวก ับว ่าพวกเราเป นอาชญากร และถูกว ิพากษ ์ วิจารณ์ด้วย ดิฉันตกใจจริง ๆ แต่การมีประสบการณ์เช่นนั้นทำาให้ดิฉันเข้มแข็งขึ้น อาจารยอิเคดะ : ขอเล่าเรื่องราวตอนที่ธุรกิจของอาจารย์โทดะ ประสบปัญหา และบริษัทมีหนี้ก้อนใหญ่มากจนล้มละลาย พนักงานทุกคนเดินหนีอาจารย์โทดะ บางคนตำาหนิ อาจารย์โทดะและเรียกท่านว่า “นักต้มตุน” หรือ “นักฉ้อโกง” ท้ายที่สุด เหลือผมเพียงคนเดียวเท่านั้น ธ ุรก ิจของอาจารย ์โทดะไม ่ม ีว ี ่แววว ่าจะฟ นฟูส ำาเร ็จ ครั้งหนึ่ง ขณะที่อาจารย์โทดะกับผมออกไปเดินเล่นข้างนอกด้วยกัน อาจารย์โทดะก็พูดขึ้นมาทันทีว่า “ไดซาขุ เราสองคนเปดร้านยากิโทริ (ไกยาง) กันไหม (หัวเราะ)” เพราะใกล้ ๆ สถานีรถไฟมีร้านยากิโทริอยู่ร้านหนึ่ง กำาลังรุ่งเรืองมาก เปนคำาพูดที่ทำาให้ผมต้องระมัดระวังในการใช้ชีวิต และกินอยู่อย่างประหยัด คำาพูดสั้น ๆ ที่เต็มไปด้วยน้ำาใจของอาจารย์โทดะ แม้ ในขณะนี้ ผมก็ยังหวนนึกถึง รูปลักษณ์ภายนอกของเราทั้งคู่อาจดูยากจนและ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) น่าสงสาร แต่จิตใจกำาลังลุกโชนด้วยความเร่าร้อนเพื่อ “การเผยแผ่ ธรรมไพศาล” แม้ฤดูหนาวที่หนาวเหน็บ ท่านก็ไม่ได้สวมโอเวอร์โค้ต สวมเสื้อเชิ้ตคอเปดเพียงตัวเดียว ท่านยังเคยเดินลากรถเข็นที่กินซ่า ผมได้ต่อสู้ด้วยความรู้สึกว่า “อาจารย์ครับ ไม่ต้อง เปนห่วงนะครับ เพราะผมจะแก้ไขทุกอย่างเองครับ” และแล้ว เราสองคน อาจารย์กับศิษย์ก็เอาชนะข้ามพ้นความยากลำาบาก ทั้งหมดได้ ฟุจิโนะ : รู้สึกประทับใจในสายสัมพันธ์อันเข้มงวดของอาจารย์ กับศิษย์ค่ะ การฟนฟูกิจการของเราเริ่มจากความศรัทธาของ คุณแม่ ญาติเปนคนแนะนำาธรรมให้คุณแม่ ตอนแรกทั้ง คุณพ่อ คุณปู่และคุณย่าคัดค้านการศรัทธามาก ได้ฉีก “หนังสือพิมพ์ เซเคียว” และ “วารสารไดเบียะขุเร็งเงะ” ที่มีอยู่ในบ้านทิ้งเกือบหมด ดังนั้นคุณแม่จึงซ่อน “วารสารไดเบียะขุเร็งเงะ” ที่หลง เหลืออยู่เล่มหนึ่งไว้ อ่านแล้วอ่านอีกหลายต่อหลายครั้งจนหนังสือ ขาด ความศรัทธาจึงลึกซึ้งขึ้น
39 อยู่มาวันหนึ่ง คุณพ่อซึ่งสะสมความเหนื่อยล้าทาง จิตใจและมีอาการกังวลเกินปกติ ได้บ่นพึมพำากับคุณแม่ว่า “เราตาย พร้อมกันนะ” คุณแม่ได้พูดเรื่องพุทธธรรมว่า “หากคิดว่าตายไปแล้ว จะทำาอะไรก็ได้ใช่ไหม” คุณพ่อและครอบครัวจึงเข้าเปนสมาชิก เหลือดิฉันคนเดียวที่ไม่ได้เข้าเปนสมาชิก เพราะยัง รู้สึกต่อต้านอยู่บ้าง ฮิราคาวา : อย่างนั้นหรือคะ นึกภาพตอนนั้นไม่ออกเลยค่ะ... (หัวเราะ) ฟุจิโนะ : นับแต่นั้น ผ่านไปครึ่งป ใกล้ถึงวันครบรอบแต่งงานของคุณพ่อคุณแม่ ดิฉัน ถามค ุณแม ่ว ่า “อยากได ้อะไรไหม” ค ุณแม ่บอกว ่า “จร ิงส ินะ... มาศรัทธาพร้อมกันสิลูก” ดิฉันลังเล แต่ได้คิดทบทวนว่า “ถ้าการเข้าศรัทธา เปนการตอบแทนบุญคุณพ่อแม่แล้วละก็” ดิฉันจึงตัดสินใจเข้าเปน สมาชิกด้วย ด ิฉ ันทราบจากค ุณแม ่ในภายหล ังว ่า ท ่านเป นห ่วง ดิฉันมาตลอดเพราะเปนคนเดียวที่ยังไม่เข้าศรัทธา คำาอธ ิษฐานที่
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) สอดคล้องกันของคุณแม่คือ “อยากให้ทุกคนในครอบครัวมีความสุข โดยไม่ตกหล่นแม้แต่คนเดียว” ควำมคิดของคุณแม่.. สรางความสุขที่ไมพังทลาย อาจารยอิเคดะ : ขอบคุณคุณแม่นะครับ คำาอธิษฐานที่ลึกซึ้งจากจิตใจที่รักและเมตตาว่า อยาก ให ้ท ุกคนในครอบคร ัวม ีความส ุข จะห ่อห ุ ้มท ั ้งครอบคร ัวและเป ด เส้นทางโคจรของชีวิตที่ถูกต้อง แม่จะคิดแม้กระทั่งว่าตัวเองจะต้อง เสียสละก็ไม่เปนไร ผู้ที่มีความคิดที่ยิ่งใหญ่แบบนี้ก็คือคุณแม่ แน่นอนว่า ในตัวของเด็กเองก็มีพร้อมพลังที่จะเปด ประตูชีวิต แต่ด้วยการเชื่อตัวเองและการที่มีคนอธิษฐานให้มี ความสุขไม่ว่าจะอยู่ที่ใดนี่เอง จะกลายเปนพลังที่ลูกต้องการเพื่อที่ จะสามารถเปดประตูชีวิตออกมาได้ นิทานเรื่องหนึ่งของคุณโรแม็ง โรลลองด์ นักเขียนชาว ฝรั่งเศส มีอยู่ตอนหนึ่งเขียนถึงความลึกซึ้งของความคิดของแม่ที่มี ต่อลูก ตอนที่คุณโรลลองด์ได้รับรางวัลชนะเลิศด้าน
41 วรรณกรรมอันทรงเกียรติ คุณแม่ของท่านได้กล่าวกับท่านว่า “ถ้าลูกดีใจที่ประสบความสำาเร็จและมีเกียรติ ถ้าลูก ทำาเพียงเพื่อสิ่งนี้เท่านั้น แม่ก็ดีใจด้วย แต่สำาหรับแม่ การที่ลูกเปน คนดีคนหนึ่ง แม่จะดีใจมากกว่า และถ้ามีภรรยาที่ดี มีลูกที่ยอดเยี่ยม อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขและลูกไม่สนใจชื่อเสียงแล้ว สำาหรับแม่ แล้วจะยิ่งดีใจนะ” สิ่งที่ควรเพรียกหามิใช่ชื่อเสียงหรือความรุ่งเรือง สิ่งสำาคัญคือการขัดเกลาชีวิตมนุษย์และการก่อสร้างความสุขที่ ไม่พังทลาย ผมคิดว่า นี่คือสิ่งที่คุณแม่ของคุณโรลลองด์อยากจะ เรียกร้องครับ หากไม่ก่อสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งแล้ว จะไม่สามารถ มีความสุขได้ คุณแม่กล้าพูดอย่างเข้มงวดก็เพื่อโรลลองด์ลูกชายของ ตนเอง ฟุจิโนะ : เข้าใจดีค่ะ คุณแม่ของดิฉันเปนคนชอบโคลงกลอน ท่าน มักเขียนบรรยายช่วงชีวิตด้วยบทกลอน ตอนวันเกิดครบ 20 ปของดิฉัน ขณะที่คิดว่าจะได้ อะไรเปนของขวัญนะ ปรากฏว่าได้รับกลอนบทหนึ่งค่ะ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ตองทาทายขามพน ภูเขาแหงความยากลําบาก หากลองไดมาถึงแลว ขางหนาที่จะไปตอ ก็มีภูเขา ตอนนั้นคิดเพียงว่า อะไรกัน ทำาไมคุณแม่ให้บทกลอน เปนของขวัญวันเกิด (หัวเราะ) ไม่เข้าใจความคิดของคุณแม่เลย แต่ไม่นาน ดิฉันก็แต่งงาน คุณแม่สามีซึ่งอาศัยอยู่ บ้านเดียวกันล้มป่วยกะทันหัน ต้องนอนติดเตียง ตอนแต่งงานขึ้น ปที่ 3 ตอนนั้นรับหน้าที่เปนหัวหน้าเขตหญิง อุ้มลูกซึ่งยังเล็กไปด้วย และทุ่มเทในการทำากิจกรรมอย่างเต็มที่ การเลี้ยงดูลูกอายุ 2 ขวบ ทั้งทำากิจกรรมสมาคม และ ดูแลปรนน ิบ ัต ิแม ่สาม ี... อ ีกท ั ้งก ำาล ังต ั ้งท้องลูกคนถ ัดไป ร ่างกาย ทำางานหนักหักโหมเกินไป จนถึงขนาดต้องเข้าโรงพยาบาลให้ น้ำาเกลือด้วยค่ะ ฮิราคาวา : แต่งงานได้ไม่กี่ปก็ลำาบากแล้วนะคะ ฟุจิโนะ : ค่ะ ตอนแรกดิฉันคิดว่า “ทำาไมจึงมีเพียงฉันที่เจอกับเรื่อง ไม่ดีแบบนี้” “การดูแลแม่สามีที่นอนติดเตียงคือชีวิตของฉันหรือ” ทุกวันมีแต่ความทุกข์ทรมานใจ ‘ ’
43 คุณแม่สามีมีอาการหลง ๆ ลืม ๆ ด้วย แม้ไปห้อง ผู้ป่วยก็เข้าใจผิดคิดว่าดิฉันเปนพยาบาล ทำาให้ดิฉันหมดกำาลังใจ ดิฉันเคยรู้สึกท้อแท้หมดกำาลังใจในสภาพความ เปนจริงที่ค่อนข้างทุกข์ทรมาน แต่ก็สวดมนต์อธิษฐานวันละ 5 - 6 ชั่วโมง หากไม่อธิษฐานก็จะไม่สามารถเดินหน้าต่อไปได้แม้แต่ ก้าวเดียว ระหว่างที่สวดไดโมขุอย่างไม่คิดชีวิตเช่นนั้น ทัศนะ ชีวิต 3 โลกก็ผุดขึ้นมาในใจอย่างฉับพลัน “การได้พบกับคุณแม่สามี ก็เพราะท่านเปนคุณแม่ ของสามีอยู่แล้วหรือเปล่า เพราะบังเอิญฉันเปนลูกสะใภ้จึงต้องมา ดูแลท่านหรือเปล่า ไม่สิ คงไม่ใช่เช่นนั้นหรอก ในอดีตชาติ คุณแม่ สามีคงเปนผู้มีพระคุณที่เคยช่วยฉันไว้ และฉันได้ตั้งปณิธานว่า ชาติหน้าจะตอบแทนบุญคุณท่าน ฉันจึงได้เกิดมา” และเมื่อดิฉันตัดสินใจยอมรับแล้ว อาการหลง ๆ ลืม ๆ ของคุณแม่สามีก็หายไป จู่ ๆ ท่านก็พูดออกมาทันทีด้วยหน้าตา ที่ขึงขังจริงจังว่า “ฉันให้เธอยืมเงินไป 28 เยนใช่ไหม” เงินจำานวนนี้เปนเศษเงินผ่อนตู้เย็นที่ท่านสำารองจ่าย
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ไปก ่อนตอนท ี ่ท ่านย ังไม ่ล ้มป ่วย ไม ่มีการ “ทวงหน ี ้” ใดท ี ่น่าด ีใจ เยี่ยงนี้อีกแล้ว คุณแม่สามีหายเปนปกติแล้ว หากลองเปนท่านช่วง ที่ป่วยคงจำาอะไรไม่ได้เลย หลังจากนั้น ดิฉันเริ่มดูแลปรนนิบัติท่านที่บ้าน ด้วย ความร่วมมือของครอบครัวและการส่งเสริมกำาลังใจที่อบอุ่นของ สมาชิกในพื้นที่ ดิฉันจึงสามารถทำากิจกรรมเพื่อการเผยแผ่ธรรมอย่าง สุดความสามารถได้ { โปรดติดตามตอนตอไป }
45 โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับ ศาสนาแห่งมนุษยนิยม
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ บทที่ 3) กำรก่อตั้งค�ำสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน : รุงอรุณแหงศาสนาเพ� อมวลมนุษยชาติ (ตอ) ควำมหมำยส�ำคัญของ คติพจน 4 ประการ อาจารยอิเคดะ : จากมุมมองนี้ ชัดเจนว่า พระนิชิเร็นไดโชนิน มิได้มีเจตจำานงที่จะโจมตีเหล่าลูกศิษย์ของพุทธศาสนานิกายอื่น ๆ เปนการเฉพาะหรือเพียงเพื่อแผ่ขยายนิกายของท่านเองแต่อย่างใด แก่นของการปฏิบัติของพระนิชิเร็นไดโชนินอยู่ในการต่อสู้กับ ธรรมชาติมารที่ชั่วร้ายของพลังและอำานาจที่ปฏิบัติต่อผู้คนด้วยการ ดูถูกเหยียดหยาม โดยพื้นฐานแล้ว นี่คือการต่อสู้กับพลังที่พยายาม รั้งผู้คนไว้ไม่ให้เข้าสู่มรรคแห่งการรู้แจ้ง ผมคิดว่า เราสามารถพูดได้ ว่าการประกาศก่อตั้งคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินเปนการ ป่าวประกาศปรัชญาที่มีชีวิตมีพลังกระฉับกระเฉงแห่งมนุษยนิยม ที่ เปดเส้นทางสู่การบรรลุพุทธภาวะเพื่อทุกคน ไซโต : เช่นนั้นแล้ว หลักสำาคัญของการปฏิบัติของท่าน ก็คือการต่อสู้ กับพลังมารที่ชั่วร้ายทั้งหลายรวมทั้งนิกายอื่น ๆ โดยไม่ยกเว้น ขณะท ี ่ท ่านร ุกไล ่การต ่อสู ้น ี ้ พระน ิช ิเร ็นไดโชน ินได ้ ตำาหนิอย่างรุนแรงต่อนิกายสุขาวดี นิกายเซน นิกายมนตรยาน นิกาย วินัย และนิกายอื่น ๆ คำาวิพากษ์วิจารณ์ของท่านสามารถสรุปสั้น ๆ
47 ดังที่เรียกกันว่า คติพจน์ 4 ประการ กล่าวคือ 1) “สุขาวดีนำาไปสู่ นรกอเวจี” 2) “เซนคือเล่ห์กลเทวมาร” 3) “มนตรยานคือคำาสอน มารทำาให้ชาติล่มจม” และ 4) “วินัยคือผู้ทรยศประเทศ” (อ้างอิง ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 1016) แต่เนื่องด้วยการ วิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงของท่าน พุทธธรรมของพระนิชิเร็น ไดโชนินจึงถูกมองว่าเปนคำาสอนที่อหังการเย่อหยิ่ง มั่นใจว่าเฉพาะ คำาสอนของตัวเองถูกต้อง ส่วนคำาสอนอื่นเปนคำาสอนที่ผิด และมี แนวคิดกีดกันผู้อื่น อาจารยอิเคดะ : คติพจน์ 4 ประการค่อย ๆ ถูกกำาหนดเปนแนวทาง ในการต่อสู้ของพระนิชิเร็นไดโชนินต่อการทำางานที่ชั่วร้ายของมาร เพื่อที่จะนำาพาประชาชนไปสู่ความสุขในสมัยธรรมปลาย แนวทาง เหล่านี้คือการตกผลึกความเมตตากรุณาและปัญญาของท่าน ซึ่ง มิใช่ยึดมั่นแต่เฉพาะคำาสอนของตนเองว่าถูกต้องหรือตำาหนิติเตียน ค ำาสอนของผู ้อ ื ่นว ่าผ ิด ทว ่าเป นการว ิพากษ ์ว ิจารณ ์น ิกายเหล ่าน ี ้ อย่างเปนตรรกะ การนำาคติพจน์ 4 ประการมาใช้เพื่อโจมตีพุทธศาสนา นิกายอื่นอย่างง่าย ๆ เช่นนี้อาจเปนการปฏิเสธความตั้งใจที่แท้จริง ของพระนิชิเร็นไดโชนิน จึงไม่มีทางที่ท่านจะสร้างแรงจูงใจด้วยการ ยึดมั่นว่าเฉพาะคำาสอนของตนเองถูกต้อง และมีแนวคิดกีดกันผู้อื่น หรือความเชื่อเรื่องการแบ่งแยกคำาสอนที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ไซโต : ดูเหมือนว่าการวิพากษ์วิจารณ์คำาสอนของนิกายสุขาวดีมี
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ ความสำาคัญอย่างเด่นชัดในการเทศนาที่พระนิชิเร็นไดโชนินให้ไว้ที่ วัดเซโชจิ เมื่อตอนประกาศก่อตั้งคำาสอนของท่าน อาจารยอิเคดะ : ในเวลานั้น พุทธศาสนานิกายอื่นต่างยอมรับว่า นิกายสุขาวดีเปนนิกายที่มีวิธีปฏิบัติที่ง่าย1 นอกจากนี้ ลูกศิษย์ของ สงฆ์โฮเน็นได้แผ่ขยายการปฏิบัติเฉพาะของนิกายสุขาวดี2 อย่าง แข็งขัน ทำาให้คำาสอนนิกายสุขาวดีได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง มากทีเดียว แน่นอนว่า เบื้องหลังความนิยมนี้คือลักษณะของลัทธิ การมองโลกในแง่ร้ายที่ฝังรากลึกของสมัยธรรมปลาย ไซโต : ผมคิดว่า เหตุผลของพระนิชิเร็นไดโชนินสำาหรับการเริ่มการ วิพากษ์วิจารณ์ที่พุ่งตรงไปที่นิกายสุขาวดีของท่าน สามารถสรุปได้ ดังนี้: ประการที่ 1 ในการโฆษณาชวนเชื่อว่าการหลุดพ้น คือการได้เกิดใหม่ในดินแดนอื่น นิกายสุขาวดีเห็นขัดแย้งกับสัทธรรม 1 วิธีปฏิบัติที่งาย : 1 ใน 2 ลําดับขั้นของการปฏิบัติพุทธธรรมที่สอนโดย นิกายสุขาวดี ถูกกอตั้งขึ้นเพื่อบรรดาผู้ที่มีศักยภาพน้อย หมายถึงด้วยการสวดเรียกชื่อของพระพุทธะ และขอพลังชวยในการหลุดพ้น อีกลําดับขั้นคือ วิธีปฏิบัติที่ยาก 2 การปฏิบัติเฉพาะของนิกายสุขาวดี : ด้วยการอุทิศตนในการปฏิบัติสวดเรียก ชื่อพระอมิตาภพุทธะเพียงอยางเดียวเทานั้น เพื่อที่จะไปเกิดใหมในดินแดน สุขาวดี ในงานเขียนเรื่อง สุขาวดีถูกเลือกให้เหนือกวาทุกนิกาย (เซนชะขุชู) ของโฮเน็น ผู้กอตั้งนิกายเน็มบุตจึ (สุขาวดี) ในประเทศญี่ปุน รับรองวา หากผู้คนปรารถนาที่จะเกิดใหมในดินแดนสุขาวดีของพระอมิตาภพุทธะ พวกเขาจะต้องปฏิบัติเฉพาะนิกายสุขาวดี
49 ปุณฑริกสูตร ที่สอนว่าประชาชนทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ ในชาตินี้ ประการที่ 2 การยืนยันของสงฆ์โฮเน็นที่ว่า มีเพียง การปฏิบัติเฉพาะของนิกายสุขาวดีที่นำาไปสู่การเกิดใหม่ในดินแดน สุขาวดีเท่านั้นที่สามารถมอบการหลุดพ้นในสมัยธรรมปลาย เปน คำาสอนที่หมิ่นประมาทต่อสัทธรรมปุณฑริกสูตรอย่างชัดเจน ประการที่ 3 การเดินทางไปทางตะวันออกของญี่ปุ่น บรรดาลูกศ ิษย ์ของสงฆ ์โฮเน ็นและลูกศ ิษย ์ของพวกเขาได ้จ ัดการ แก้ไขปรับเปลี่ยนและดัดแปลงคำาสอนของนิกายสุขาวดี ก็เพื่อที่จะ ได้รับการสนับสนุนของผู้นำารัฐบาลคามาคูระ อย่างไรก็ตาม พวกเขา ยังคงยืนยันให้การสนับสนุนว่าการปฏิบัติเฉพาะของนิกายสุขาวดี เปนการปฏิบัติที่ถูกต้อง ประการที่ 4 ความศรัทธานิกายสุขาวดีได้ยึดครอง ชีวิตของประชาชนจำานวนมากมาย เปนสาเหตุให้ลัทธิการมองโลก ในแง่ร้ายหยั่งรากลึกลงไปในสังคม อาจารยอิเคดะ : ยังมีข้ออธิบายอื่น ๆ อีกด้วยว่า เหตุใดพระนิชิเร็น ไดโชนินจึงได้เริ่มทำาการหักล้างนิกายสุขาวดี ไซโต : ความจริงที่ว่า สงฆ์ผู้คงแก่เรียนของนิกายสุขาวดีจำานวนหนึ่ง เปนฝพุพองเน่าเปอยทั้งตัวอย่างกะทันหันและเสียชีวิตอย่างน่า สยดสยอง การตายด้วยความเจ็บปวดทุกข์ทรมานเช่นนี้คงจะมีผล
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ ต่อการตัดสินใจของท่าน3 อาจารยอิเคดะ : อีกปัจจัยหนึ่งอาจเปนได้ว่า นิกายสุขาวดีรุ่งเรือง เฟองฟูมานานที่วัดเซโชจิ ซึ่งเปนสถานที่ที่ท่านเทศนาคำาสอนเปน ครั้งแรก และท่านโทโจ คาเงโนบุ เจ้าหน้าที่ผู้ปกครองท้องถิ่น ก็เปน ผู้เลื่อมใสศรัทธาแรงกล้าของนิกายสุขาวดี ไซโต : เห็นได้ชัดว่า ท่านคาเงโนบุช่างหลงใหลในความเชื่อของเขา อย่างยิ่ง จึงทำาให้เขาพยายามบังคับบรรดาสงฆ์ทั้งหลายให้เชื่อใน นิกายสุขาวดี4 อาจารยอิเคดะ : ดูเหมือนว่าจะเปนพวกลูกศิษย์สาวกของนิกาย สุขาวดี ผู้ซึ่งกำาลังวางแผนลับชั่วร้ายร่วมกันกับผู้มีอำานาจ นั่นก็คือ การให้ยึดถือเฉพาะแต่ของตนเองว่าเปนฝ่ายถูกต้องและกีดกันผู้อื่น ในหลาย ๆ ด้าน พระนิชิเร็นไดโชนินย่อมต้องเข้าใจได้อย่างทะลุ ปรุโปร่งถึงธรรมชาติมารชั่วร้ายที่มีฤทธิ์รุนแรงอย่างยิ่งยวด ซึ่งกำาลัง เปนพิษอยู่ในจิตใจของผู้คนที่ศรัทธาต่อนิกายสุขาวดีในยุคนั้น 3 ธรรมนิพนธ์เรื่อง “เหตุใดปจจุบันผู้ปฏิบัตินิกายสุขาวดีจึงถูกกําหนดให้ ตกนรกอเวจี” พระนิชิเร็นไดโชนินกลาววา “... ทั้งหมดยอมจํานนตอ ความเจ็บปวยที่รุนแรง ดังเชน การปะทุออกมาของฝร้ายและวาระสุดท้าย การตายของพวกเขาก็อยูในสภาพจิตใจที่วิกลจริตผิดปกติ” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 291) 4 ธรรมนิพนธ์เรื่อง “จดหมายถึงสงฆ์วัดเซโชจิ” พระนิชิเร็นไดโชนินกลาววา “ทานโทโจ ซาเอมน คาเงโนบุผู้ชั่วร้ายเคยลากวางและสัตว์อื่น ๆ ที่อยูใน วัดเซโชจิและพยายามบังคับพระสงฆ์ในกุฏิตาง ๆ ของวัดให้เปนผู้ศรัทธา ของนิกายสุขาวดี” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 651)
51 ไม่ว่าศาสนาใดต่างก็จะยืนยันความถูกต้องสัมบูรณ์ ของคำาสอนของตนเอง ด้วยเหตุผลที่ชัดเจนเช่นนี้ จึงเปนเรื่องง่าย สำาหรับศาสนาที่จะนำามุมมองที่มีเจตนาร้ายในการทำาให้ผู้คนหลงผิด และอิทธิพลเชิงลบนี้จะแปรเปลี่ยนได้โดยขึ้นอยู่กับความถูกต้องของ คำาสอนที่นำามากล่าวอ้างนั้นว่าเปนอย่างไร การตอบสนองต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างเฉพาะ เจาะจงของยุคนั้น พระนิชิเร็นไดโชนินได้หักล้างธรรมชาติมาร อันชั่วร้ายที่เข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ของพุทธศาสนานิกายอื่น ๆ ทีละ นิกาย ๆ ไซโต : เมื่อตอนที่ประกาศก่อตั้งคำาสอน ท่านได้หักล้างนิกายเซนใน เวลาเกือบจะไล่เลี่ยกับที่หักล้างนิกายสุขาวดี หลังการกลับจากถูก เนรเทศไปอิสุ ท่านพุ่งเปาไปที่นิกายมนตรยาน (ลัทธิลับที่มาจากทาง ตะวันออก) และนิกายวินัย และสุดท้าย ขณะพำานักที่เขามิโนบุ ท่าน ได้หักล้างคำาสอนลับที่คงรักษาไว้โดยนิกายเท็นได5 อาจารยอิเคดะ : ขอพักการพูดคุยรายละเอียดการหักล้างของท่าน ไว้สนทนากันในโอกาสต่อไปนะครับ โดยทั่วไป การหักล้างคำาสอน เหล่านี้อาจเปรียบได้กับการวินิจฉัยโรคของแพทย์ การวินิจฉัยหา สาเหต ุของการเจ ็บป ่วยก ็ข ึ ้นอยู ่ก ับอาการพ ื ้นฐานทางพยาธ ิว ิทยา 5 นิกายมนตรยานกอตั้งโดยสงฆ์โคโบ ถูกเรียกวา ลัทธิลับที่มาจาก ทางตะวันออก ในขณะที่นิกายเท็นไดแหงเขาฮิเออิถูกเรียกวา ลัทธิลับเท็นได
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ ที่มีอยู่ในชีวิต ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า พระนิชิเร็นไดโชนินได้เริ่มต้น ด ้วยการร ักษาอาการเบ ื ้องต ้นก ่อน และจากน ั ้นก ็ท ำาการร ักษาให ้ เข้าถึงต้นตออันเปนสาเหตุของการเจ็บป่วย ไซโต : ยาดีที่ท่านสั่งจ่ายให้เพื่อการรักษาความเจ็บป่วยนี้ก็คือ นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวอย่างแน่นอน อาจารยอิเคดะ : ใช่แล้วครับ นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวคือยาดีที่ทรง คุณประโยชน์สูงสุดและมหัศจรรย์ที่ช่วยให้เราสามารถสำาแดงปรากฏ โลกพุทธะออกมาได้ การกระทำาของพระนิชิเร็นไดโชนินได้รับแรงจูงใจที่อยู่ เหนือทุกสิ่งด้วยความปรารถนาที่เมตตากรุณาในการบรรเทาความ ทุกข์ยากของประชาชน นี่ยังสันนิษฐานได้ว่าพระนิชิเร็นไดโชนินได้ วิเคราะห์แยกแยะธรรมชาติอันชั่วร้ายของตัวแทนพุทธศาสนานิกาย ต่าง ๆ ในยุคนั้นอย่างเคร่งครัดมีเหตุผลและเปนกิจจะลักษณะ เพื่อ ที่จะทำาให้ภาระหน้าที่อันยิ่งใหญ่ในการนำาพาประชาชนทุกคนที่ดำารง ชีวิตอยู่ในสมัยธรรมปลายไปสู่ความสุขบรรลุผลสำาเร็จ ไซโต : อาจกล่าวได้ว่า คติพจน์ 4 ประการเปนการบรรยายลักษณะ ของความเจ็บป่วยที่ทำาให้ผู้คนเปนทุกข์ของแต่ละนิกายหลักใน ขณะนั้น โดยขึ้นอยู่กับสภาพที่เปนจริงของนิกายเหล่านั้น อาจารยอิเคดะ : คติพจน์แต่ละข้อได้ถูกกลั่นกรองอย่างชาญฉลาด เปนวลีสั้น ๆ เข้าถึงแก่นของพยาธิวิทยา ลักษณะเฉพาะของการ
53 เจ็บป่วย และการพยากรณ์โรคของการรักษา ไซโต : การนำาคติพจน์ 4 ประการดังที่เปนอยู่มาใช้ในยุคปัจจุบัน ซึ่ง สถานการณ์แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง อาจทำาให้ผิดประเด็นได้นะครับ อาจารยอิเคดะ : แน่นอนครับ ขณะที่ยาดีมีคุณประโยชน์แห่งนัม เมียวโฮเร็งเงเคียวไม่เคยเปลี่ยน แต่สิ่งอื่น ๆ ล้วนเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลา เกี่ยวกับความเจ็บป่วย ก็มีหลายกรณีที่เมื่อใช้ชื่อเรียกโรค ด้วยภาษาโบราณ ทำาให้ล้มเหลวในการสื่อถึงแก่นอันเปนสาเหตุของ ความเจ็บป่วย ไซโต : ขอให้เราพินิจพิจารณาว่า ถ้อยคำาวลีต่าง ๆ ของคติพจน์ 4 ประการถูกคิดค้นกำาหนดขึ้นมาได้อย่างไร ประการที่ 1 คือ “สุขาวดี นำาไปสู่นรกอเวจี” ดังที่เราได้สนทนากันก่อนหน้านี้ นิกายสุขาวดีที่ กล่าวอ้างยืนยันเฉพาะแนวคิดของตัวเองว่า ผู้ที่จะสามารถเกิดใหม่ ในดินแดนสุขาวดีได้ต้องปฏิบัติในนิกายสุขาวดีเท่านั้น ซึ่งกำาลังเปน ที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย พระนิชิเร็นไดโชนินได้หักล้างตรงไปตรงมา โดยการกล ่าวว ่า น ิกายส ุขาวด ีน ำาพาผู ้คนไปสู ่ “นรกอเวจ ี” เส ีย มากกว่าที่จะ “เกิดใหม่ในดินแดนสุขาวดี” การหมิ่นประมาทของ คำาสอนเช่นนี้คือการปฏิเสธสัทธรรมปุณฑริกสูตร อาจารยอิเคดะ : ท่านทำาเช่นนั้นเพราะสัทธรรมปุณฑริกสูตรอธิบาย ว่า บรรดาผู้คนที่หมิ่นประมาทสัทธรรมปุณฑริกสูตรจะตกสู่ นรกอเวจี6 คำาตำาหนิของพระนิชิเร็นไดโชนินตั้งอยู่บนพื้นฐานของ พระสูตรต่าง ๆ ท่านสามารถมองและเข้าใจทะลุปรุโปร่งถึงธรรมชาติ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ ที่แท้จริงของนิกายเหล่านี้ได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ไซโต : “เซนคือเล่ห์กลของเทวมาร” เปนการวิจารณ์สงฆ์นิกายเซน ที่ประพฤติปฏิบัติตนราวกับปราชญ์ผู้รู้แจ้งและได้รับการเคารพ นับถือจากสมาชิกชนชั้นนักรบและอื่น ๆ สงฆ์นิกายเซน เช่น โดริว7 แห่งวัดเคนโชจิ ได้รับเงินจ้างวานให้ทำางานรับใช้จากรัฐบาลทหารใน คามาคูระที่จ่ายให้หนักมาก อาจารยอิเคดะ : สงฆ์โดริวเพลิดเพลินกับการอุปถัมภ์ค้ำาชูของท่าน โฮโจ โทคิโยริ ผู้สำาเร็จราชการคนที่ 5 ของเมืองคามาคูระ พระนิชิเร็น ไดโชนินระบุว่าสงฆ์คนนี้เปน 1 ในหัวหน้าผู้ก่อการที่อยู่เบื้องหลัง การบีฑาธรรมที่เกิดขึ้นกับท่าน ไซโต : พระนิชิเร็นไดโชนินเรียกสงฆ์ของนิกายเซนอย่างเปดเผยว่า เปน “เทวมาร” เพราะความยโสโอหังไร้ยางอายของพวกเขาที่ อวดอ้างว่าคำาสอนของนิกายเซนเปน “การถ่ายทอดที่แยกต่างหาก 6 สัทธรรมปุณฑริกสูตร บทที่ 3 บท “การอุปมาและการเปรียบเทียบ” พรรณนาถึงผลตอบสนองที่ผู้หมิ่นประมาทตอสัทธรรมปุณฑริกสูตรหรือ บุคคลที่ยึดถือพระสูตรนี้จะต้องเผชิญวา “เมื่อชีวิตของเขาสิ้นสุดลง/ เขาจะตกลงสูอเวจีนรก” (สัทธรรมปุณฑริกสูตร ฉบับภาษาไทย หน้า 126) 7 โดริว (ค.ศ. 1213 - 1278) : สงฆ์ของนิกายรินไซแหงพุทธศาสนาลัทธิเซน เรียกอีกชื่อหนึ่งวารันเค เปนชาวจีน เข้ามาอยูที่ประเทศญี่ปุนใน ค.ศ. 1246 ตอนที่ทานโฮโจ โทคิโยริสร้างวัดเคนโชจิในเมืองคามาคูระเมื่อ ค.ศ. 1253 โดริวถูกเชิญไปเปนเจ้าอาวาสคนแรกของวัดนี้ เขาตอต้านพระนิชิเร็นไดโชนิน และสมคบคิดกับสงฆ์เรียวคันแหงวัดโงะขุระขุจิ และอื่น ๆ รวมถึง ทานเฮอิโนะ ซาเอะมน เจ้าหน้าที่ที่รับใช้ผู้สําเร็จราชการตระกูลโฮโจ 2 รุน คือ โทขิมุเนะ และ ซาดาโทขิ
55 นอกพระสูตร”8 และในการเสแสร้งทำาเปนว่าได้บรรลุการรู้แจ้ง แต่ชัดเจนว่าพวกเขาไม่ได้เปนเช่นนั้น ท ี ่เร ียกน ิกายมนตรยานว ่า “ค ำาสอนมารท ำาให ้ชาต ิ ล่มจม” พระนิชิเร็นไดโชนินกำาลังหักล้างนิกายมนตรยานซึ่งจุดขาย อยู่ที่การอธิษฐานของพวกเขาเพื่อปกปองประเทศ เมื่อความ หวาดกลัวที่มีต่อการรุกรานของมองโกลที่จะเกิดขึ้นในเร็ววันนี้ ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ทางราชสำานักของจักรพรรดิและ รัฐบาลทหารจึงหันมาทำาให้คำาอธิษฐานเหล่านั้นแพร่หลายออกไป อย่างกว้างขวาง เพราะฉะนั้นพระนิชิเร็นไดโชนินจึงกล่าวโทษว่าเปน นิกายมนตรยานแห่งการทำาให้ชาติล่มจมเสียมากกว่าการปกปองไว้ โดยวิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงว่าเปนการปฏิบัติที่เชื่อมโยงกับ พลังอำานาจลี้ลับที่ว่างเปล่า อาจารยอิเคดะ : คำาวิพากษ์วิจารณ์นี้อยู่บนพื้นฐานความจริงที่ว่า คำาอธิษฐานของพุทธศาสนานิกายมนตรยาน ปราศจากรากฐานของ หลักการแห่งหนึ่งขณะจิตที่ครอบคลุมสามพันโลก จึงมิใช่สิ่งใด แต่เปนพิธีการตามแบบแผนเท่านั้น 8 หลักคําสอนของนิกายเซนที่สาธยายวา การรู้แจ้งของพระพุทธะและ คําสอนที่แท้จริงของพระองค์ได้รับการถายทอดแยกออกจากพระสูตร นิกายเซนอ้างวาการรู้แจ้งของพระพุทธะได้รับการถายทอดจากใจสูใจโดย ไมใช้คําพูด สงผานอยางงาย ๆ จากปรมาจารย์เซนคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง นี่ก็เปนการอ้างอิงที่เรียกวา “การถายทอดพิเศษแยกออกจากพระสูตร” และ “การถายทอดที่แยกตางหากนอกพระสูตรคัมภีร์”
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ การขาดหลักการดังกล่าวของนิกายมนตรยาน ก็ หมายความว่า เปนนิกายที่ไร้ซึ่งความใจกว้างและวิจารณญาณที่จะ เข้าใจหลักปรัชญาที่สามารถเปลี่ยนแปลงขั้นรากฐานชีวิตมนุษย์ได้ อย่างสิ้นเชิง ถึงกระนั้น การปฏิบัติตามแบบแผนของการอธิษฐาน และลัทธิเวทมนตร์ที่ถูกพัฒนาขึ้น ก็ให้ความรู้สึกว่าจะต้องมีบางสิ่ง บางอย่างเกิดขึ้นต่อการกระทำานี้ ความสับสนที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ความไม่สงบโจคิว9 เปนตัวอย่างความล้มเหลวของนิกายมนตรยาน ไซโต : พระนิชิเร็นไดโชนินได้วิพากษ์วิจารณ์นิกายวินัยว่าเปน “ผู้ทรยศประเทศ” เพราะสงฆ์ของพวกเขา เช่น สงฆ์เรียวคัน10แห่ง วัดโงะขุระขุจิ ได้แสร้งทำาเปนยึดถือศีลอย่างเคร่งครัดและได้รับการ เคารพราวกับพระพุทธะที่มีชีวิตและผู้ทรงคุณค่าของชาติ ท่านเรียก พวกเขาว่า “ผู้ทรยศ” แทน “ผู้ทรงคุณค่า” เพื่อเน้นถึงการโกหก หลอกลวงของพวกเขา 9 เหตุการณ์ความไมสงบโจคิว : การตอสู้ที่เกิดขึ้นระหวางราชสํานักของ จักรพรรดิกับรัฐบาลโชกุนคามาคูระใน ค.ศ. 1221 กองกําลังฝายจักรพรรดิ พายแพ้ และรัฐบาลโชกุนได้ปลดจักรพรรดิที่ครองราชย์ออก แตงตั้ง จักรพรรดิองค์ใหม และเนรเทศจักรพรรดิที่ถูกปลดไปยังเกาะที่หางไกล 10 สงฆ์เรียวคัน (ค.ศ. 1217 - 1303) : เปนที่รู้จักในชื่อนินโช เปนสงฆ์ของ นิกายมนตรยานวินัย, ผู้ซึ่งรวมสมัยเดียวกับพระนิชิเร็นไดโชนิน เขาได้รับศีล จากเอซนซึ่งเปนที่เคารพนับถือในฐานะผู้ฟนฟูนิกายวินัยในประเทศญี่ปุน ใน ค.ศ. 1261 สงฆ์เรียวคันได้ไปเมืองคามาคูระ ตอมาภายหลังเขาได้เปน เจ้าอาวาสวัดโงะขุระขุจิที่กอตั้งขึ้นโดยทานโฮโจ ชิเงโทขิ ชวงฝนแล้ง ค.ศ. 1271 เขาได้ท้าประลองในการอธิษฐานขอฝนกับพระนิชิเร็นไดโชนิน แตล้มเหลว หลังจากนั้น เขาได้วางแผนในการใสร้ายพระนิชิเร็นไดโชนิน ซึ่งสงผลให้เกิดการบีฑาธรรมที่ทะจึโนะคุจิและเนรเทศไปเกาะซาโดะ
57 บรรดานิกายที่เปนจุดเพ่งเล็งของคติพจน์ 4 ประการ ล้วนมีอิทธิพลอย่างมากในหมู่ผู้ทรงอำานาจในขณะนั้นและประชาชน ทั่วไปของญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างเรียบง่าย ตรงไปตรงมาถึงหลักการพื้นฐานที่นิยมกันแพร่หลายของนิกาย เหล่านี้ด้วย ส่วนคติพจน์ 4 ประการได้ตัดตรงหัวใจและหักล้างแก่น ของพวกเขาโดยตรง คำาวิพากษ์วิจารณ์เหล่านี้จะต้องมีน้ำาหนักสนับสนุน อย ่างมากมายในสม ัยน ั ้น และค ำาพูดเหล ่าน ี ้จะต ้องแพร ่กระจาย ออกไปอย ่างกว ้างขวาง อย ่างไรก ็ตาม หากเราเพ ิกเฉยไม ่สนใจ สภาวะเง ื่อนไขท ี ่เฉพาะเจาะจงของวันเวลาและย ุคสม ัยน ั ้น แล ้ว ตัดสินใจที่จะนำาคติพจน์เหล่านี้ดังที่เปนอยู่มาใช้ในปัจจุบันโดย พลการ ไม่มีการขอคำาแนะนำาหรือความเห็น เราอาจปกปองตัวเอง ไม่ได้ที่จะถูกกล่าวหาว่าเปนประเภทที่คิดว่าตัวเองเปนฝ่ายถูกต้อง ฝ่ายเดียวก็เปนได้ อาจารยอิเคดะ : เห็นด้วยครับ ในแก่นสำาคัญของคติพจน์ 4 ประการ แสดงถึงปัญญาของพระนิชิเร็นไดโชนินที่มองทะลุและแยกแยะอย่าง เข ้มงวดถ ึงความค ิดท ี ่ว ่าเฉพาะต ัวเองเป นฝ ่ายถูกต ้องของน ิกายท ี ่ แตกต่างหลากหลายในสมัยนั้น รวมถึงพฤติกรรมที่ไม่ซื่อสัตย์ หลอกลวงของพวกเขาในการปดบังซ่อนเร้นธรรมชาติที่แท้จริงของ ตนอยู่ภายใต้ศาสนจักร ไม่ต้องบอกเลยว่าบนพื้นฐานของคติพจน์ 4 ประการนี้ก็คือ ความเมตตากรุณาของพระนิช ิเร็นไดโชนินที่จะ ปกปองประชาชนนั่นเอง
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ อีกนัยหนึ่ง การสนับสนุนคติพจน์ 4 ประการ หมายถึงการแสดงปรากฏปัญญาออกมาในการหักล้างปรัชญาและ ศาสนาต่าง ๆ ที่ขัดขวางความสุขของประชาชนในทุกยุคทุกสมัย ไซโต : ผมค ิดว ่า ป ัจจ ุบ ันส ิ ่งน ี ้อาจหมายถ ึงการเป ดเผยและการ หักล้างธรรมชาติที่แท้จริงของนิกายนิกเค่น อาจารยอิเคดะ : การนำาคติพจน์ 4 ประการมาใช้ซ้ำาอย่างง่าย ๆ เพียงเพราะว่าเปนเจตนารมณ์ที่มาจากพระนิชิเร็นไดโชนิน ขณะที่ เพิกเฉยต่อความรู้สึกของประชาชนและกาลเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป เป นการมองข ้ามเจตนารมณ ์ของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน เช ่นน ั ้นแล ้ว คติพจน์ 4 ประการก็มิใช่สิ่งอื่นใด แต่เปนความเชื่อที่ดันทุรังให้ผู้คน ยอมรับโดยไม่มีข้อโต้แย้ง นั่นคือสิ่งที่ก่อให้เกิดแง่มุมอันชั่วร้ายของ ศาสนา ประชาชนนั่นเองที่เปนหัวใจสำาคัญ คติพจน์ 4 ประการเปนการแสดงออกอย่างชัดเจนของความเชื่อมั่น อันแข็งแกร่งของพระนิชิเร็นไดโชนิน ในการรณรงค์อย่างเด็ดเดี่ยว กล้าหาญกับการทำางานของมารที่สร้างความสับสนแก่ผู้คน การมอง ไม่เห็นจุดสำาคัญนี้และตีความคติพจน์ 4 ประการแบบผิวเผิน หรือดันทุรัง และทำาการวิพากษ์วิจารณ์ออกไปบนพื้นฐานดังกล่าว พุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนินก็เสมือนเปนคำาสอนที่กีดกันผู้อื่น หรือใจแคบไม่ยอมรับฟังความคิดเห็น นั่นคือการกระทำาที่ตื้นเขินที่สุด
59 ไซโต : ในหนังสือคุณคามนุษย์ในโลกที่กําลังเปลี่ยนแปลง ดร. ไบรอัน วิลสัน แห่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด กล่าวไว้ว่า “ความแตกต่าง ระหว่างจิตสำานึกกับการสนับสนุนเสรีภาพในการนับถือศาสนาอย่าง แข็งขันและลัทธิที่ถือว่าความเชื่อทางศาสนาเปนเรื่องไม่สำาคัญนั้น สามารถพบเห็นได้ภายในศาสนาที่นับถือพระเจ้าหลายองค์หรือ ธรรมเนียมเชิงผสาน”11 สิ่งนี้ฟังดูค่อนข้างซับซ้อน แต่ความหมายก็ คือลักษณะแนวโน้มทั่วไปทางจิตวิญญาณของสังคม เช่น ของญี่ปุ่น ความไม่สนใจในศาสนาสามารถเข้าใจผิดได้ง่ายว่าเปนความใจกว้าง ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ในทำานองเดียวกัน ความเชื่อมั่น อันแข็งแกร่งทางศาสนาก็สามารถถูกตีตราไปอย่างผิด ๆ ว่าเปน พวกกีดกันทางศาสนาหรือใจแคบ อาจารยอิเคดะ : คติพจน์ 4 ประการไม่ใช่ทั้งการกีดกันทางศาสนา หร ือใจแคบ เพราะท ี ่แกนหล ักของคต ิพจน ์เหล ่าน ี ้ค ือการว ิพากษ ์ วิจารณ์ศาสนาที่มีหลักเหตุผลของพระนิชิเร็นไดโชนิน ซึ่งส่องสว่าง ด้วยปัญญาของธรรมมหัศจรรย์ อีกนัยหนึ่ง มองในระดับหนึ่ง 4 นิกายเหล่านี้ล้วน แสดงให้เห็นว่าเปน 4 ต้นแบบทางศาสนาที่ไม่สมดุล ฉะนั้น ค ำาว ิจารณ ์ของพวกเขาจ ึงเป นแค ่การเหล ือบมองศาสนาท ี ่พ ัฒนา 11 ไบรอัน วิลสัน และไดซาขุ อิเคดะ, คุณคามนุษย์ในโลกที่กําลังเปลี่ยนแปลง : บทสนทนาเรื่องบทบาททางสังคมของศาสนา (เซคอคัส, เอ็นเจ, ยูเอสเอ : ไลล์ สจวต อิงก์, ค.ศ. 1984), หน้า 315
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ อย่างเต็มที่แล้วซึ่งก่อตั้งโดยพระนิชิเร็นไดโชนิน นี่คือคำาสอนที่สมดุล อย่างสมบูรณ์ซึ่งสอดคล้องกลมกลืนกับคุณลักษณะพื้นฐานของ ศาสนาโดยปราศจากอคติหร ือการบิดเบือนใด ๆ กล ่าวได้ว่าเปน ศาสนาสำาหรับมนุษย์นั่นเอง หลักคำาสอนของ 4 นิกายนี้สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) การช่วยให้หลุดพ้นโดยพลังภายนอกของสิ่งที่สูงส่งสัมบูรณ์ (นิกายสุขาวดี) 2) การบรรล ุการรู ้แจ ้งโดยการเพ ่งมองจ ิตใจของ ตนเองตรง ๆ และมีความพึงพอใจกับการรู้แจ้งด้วยตนเอง (นิกาย เซน) 3) การได้รับผลประโยชน์ในชีวิตนี้ด้วยวิธีการที่ลึกลับ (นิกายมนตรยาน) และ 4) ถูกควบคุมจากภายนอก โดยวิธีการรักษา ศีลหรือกฎเกณฑ์ (นิกายวินัย) คำาสอนที่สมดุลอย่างสมบูรณ์จะไม่ยอมให้เชื่อฟัง คำาสอนใด ๆ ที่สุดโต่งเหล่านี้ แต่จะอธิบายอย่างละเอียดถึงการรวม เข ้าด ้วยก ันของพล ังภายในและภายนอก เพ ื ่อเป นแนวทางในการ เปล ี ่ยนแปลงช ีว ิตของแต ่ละบ ุคคลรวมถ ึงสภาพแวดล ้อมโดยรอบ การรวมเข้าด้วยกันของพลังภายในและภายนอก หมายถึงการ ค้นพบว่าภายในตัวตนของเรามีพลังที่ยิ่งใหญ่กว่าตัวตนของเรา นี่คือสิ่งที่ถูกอ้างถึงในคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินว่าสภาพ ชีวิตพุทธะ “มีอยู่แต่ดั้งเดิม” และ “สำาแดงปรากฏออกมา” และ นี่คือแก่นของพุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนิน ไซโต : “สิ่งสักการบูชาแห่งการเห็นแจงจิต” ที่ช่วยให้เราสามารถ
61 เปดโลกแห่งชีวิตพุทธะที่อยู่ในจิตของเราเอง ก็คือกุญแจสู่ศาสนาที่ ครบถ้วนสมบูรณ์นี้ อาจารยอิเคดะ : ครั้งหน้าเราจะสนทนาเรื่องสิ่งสักการบูชาครับ ในพ ุทธธรรมของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน ต ้นแบบทาง ศาสนาทั้ง 4 นิกายนี้สามารถพัฒนาความหมายในเชิงบวกได้ด้วย เหตุผลที่ว่าพวกเขาสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงของแต่ละคนโดย แสดงปรากฏคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1) ความสามารถในการโอบอุ้ม ผู้ที่เจ็บป่วยและเหนื่อยล้าด้วยสภาพชีวิตพุทธะ และช่วยให้จิตใจ รู้สึกสงบอย่างแท้จริง 2) ความสามารถที่จะเชื่อและรู้สึกได้จริง ๆ ว ่าเราม ีพล ังอยู ่ในช ีว ิตของเราท ี ่จะเปล ี ่ยนแปลงตนเอง 3) ความ สามารถในการท้าทายสภาพการณ์ของเราอย่างกล้าหาญ และ 4) ความสามารถในการควบคุมกิเลสต่าง ๆ และกำาจัดความชั่วร้าย ด้วยปัญญาที่อยู่ภายในชีวิตของเรา ความหมายสำาคัญของคติพจน์ 4 ประการในยุคใหม่ คือไม่ได้จำากัดการหักล้างพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น เท่านั้น แต่ยังเปนการพัฒนาพลังเชิงบวกของชีวิตมนุษย์อย่างเต็มที่ ด้วย นี่คือธรรมมหัศจรรย์แห่งเหตุและผลเกิดขึ้นในเวลาเดียวกันที่มี อยู่แต่ดั้งเดิมในชีวิตมนุษย์ และการยึดถือธรรมมหัศจรรย์ก็คือ การสร้างคุณค่าที่ไม่มีขอบเขตจำากัด
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ ในการก่อตั้งและประกาศคำาสอนที่สมบูรณ์นี้ พระนิชิเร็นไดโชนินได้เปดม่านศาสนาเพื่อมนุษยชาติทั้งปวง ดังนั้น ท ่านจ ึงเป ดเผยเส ้นทางรากฐานและเป นน ิรันดร ์ท ี ่น ำาไปสู ่การรู ้แจ ้ง เพื่อมนุษยชาติทั้งมวล { โปรดติดตามตอนตอไป }
63 แก้ไขข้อความฉบับเดือน กรกฎาคม 2563 หนา 51 ย่อหนาที่ 2 “ผมจะเปนเสาหลักของประเทศญี่ปุ่น” .. “ผมจะเปนดวงตาของ ประเทศญี่ปุ่น” .. “ผมจะเปนเรือใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น” แก้ไขเปน “อาตมาจะเป็นเสาหลักของประเทศญี่ปุน” .. “อาตมาจะเป็น ดวงตาของประเทศญี่ปุน” .. “อาตมาจะเป็นเรือใหญ่ของ ประเทศญี่ปุน”
ไดโมขุแห่งเสียงค�ำรามของราชสีห์ การปฏิบัติที่มุ่งสู่ความสุขและมีชัยชนะขั้นรากฐาน ในชีวิตของเราจากชั่วขณะหนึ่งไปสู่อีกชั่วขณะหนึ่ง และจากว ันหน ึ ่งไปสู ่อ ีกว ันหน ึ ่งนั ้นก ็ค ือ พวกเราก ำ ลัง “บรรเลง ดนตรีหลากหลายอย่างอยู่เป็นนิจ” ทุกสิ่งทุกอย่างคือดนตรีที่ ไขไปสู่สภาพชีวิตของเรานั่นเอง เนื่องจากพวกเรามีชีวิต ดังนั้น ขอให้พวกเราทำ ชีวิต ของเราให้ก้องกังวานไปด้วย “เสียงดนตรีที่มหัศจรรย์” แห่ง ความหวังและความสุข ขอให้พวกเรามาร่วมกันขับร้อง “บทเพลง แห่งชัยชนะของชีวิต” ที่งดงามกันเถอะ ... พระนิชิเร็นไดโชนินกล่าว (ในธรรมนิพนธ์หน้า 1124) ว่า “นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวดุจเสียงคำรามของราชสีห์” เสียง อันยิ่งใหญ่ของพวกเราที่สวดไดโมขุในแต่ละวันจะขจัดปัดเป่าดนตรี ท ี ่เศร ้าสร ้อยแห ่งความท ุกข ์โศกและคร ่ ำ ครวญให ้หมดส ิ ้นไป และ สร้างสรรค์ยุคใหม่แห่งบทเพลงแห่งชัยชนะของประชาชนที่ต่อเนื่อง และแน่นอนให้สะท้อนกึกก้องไปอย่างกว้างขวาง (จากหนังสือ บรรยายสัทธรรมปุณฑริกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต หน้า 596 - 597) ‘ ’
á´‹à¾×è͹ æ ¢Í§¢ŒÒ¾à¨ŒÒ จาก ไดซาขุ อิเคดะ ¡Òà ÊÐÊÁ¡ÒáÃзíÒÇѹµ‹ÍÇѹ ¨Ð¡ÅÒÂ໚¹¤ÇÒÁÊíÒàÃç¨ ¢Í§Ë¹Ö觻‚ ˹Ö觷ÈÇÃÃÉ Ë¹Ö觪ÑèǪÕÇÔµ ´Ñ§¹Ñé¹ ¾ÃŒÍÁ¡Ñº´Ç§µÐÇѹÂÒÁàªŒÒ ¢ÍãËŒËÑÇ㨢ͧàÃÒÁÕªÕÇÔµªÕÇÒÁÒ¡¢Öé¹ ´ŒÇÂÅÁËÒÂ㨢ͧÍÒ¡ÒÈ·ÕèÊ´ª×è¹ áÅÐÁժѪ¹Ð·Õèà´ç´¢Ò´ã¹Çѹ¹Õé â´ÂäÁ‹ÁÕÊÔè§ã´àËÅ×ͤŒÒ§¤ÒäÇŒ (จากเอสจีไอกราฟก ฉบับเดือนเมษายน ค.ศ. 2005)
สมำคมสรำงคุณค่ำในประเทศไทย email: [email protected] www.sgt.or.th บรรณาธิการ นวรัตน ชิโนมี กองบรรณาธิการ เรืองระวี ไชยพูนพัฒน พัชรี โพธิพัฒนธนากร ณัฐพร งามสิริกุล ภาษาญี่ปุน เพียงตา หลิมไชยกุล อนงคนาถ มโนจุรีหกุล อาคิโกะ โฮโซดะ โยโกะ โอดะ สมพร เจนจารุพันธุกุล ภาษาอังกฤษ หทัยรัตน แซ่จึง ศศมน โพธิพัฒนธนากร ทิพยสุดา บุนฑารักษ ออกแบบสร้างสรรค์ กุลลดา อัศวฉัตรโรจน พิสูจน์อักษร วรรณี สถาพรพิชญ ผู้จัดการ ณรินทร ลัทธยาพร สงวนลิขสิทธิ์ โดยสมาคมสรางคุณค่าในประเทศไทย ISSN 2586-8675
สารบัญ บทบรรณำธิกำรของอำจำรย์อิเคดะ จงส่องแสงแก่โลกดวยดวงตะวันแห่งปณิธานยุวชน 5 ธรรมนิพนธ์ พี่นอง 9 ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ 19 ควำมคิดค�ำนึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” บทที่ 46) การเยือนฮาวายครั้งแรกของขาพเจา 25 บทสนทนำเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เล่ม 3) บทที่ 3) สายสัมพันธที่ช่วยเหลือสนับสนุนกัน...(ต่อ) 33 โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับศาสนาแห่งมนุษยนิยม บทที่ 4) การก่อตั้งคําสอนที่ถูกตอง 47 เพ� อใหประเทศเกิดสันติ (ตอนที่ 1) 123456
บทบรรณำธิกำรของ อำจำรย์อิเคดะ (ในวารสารไดเบียะขุเร็งเงะ)
5 จงสองแสงแกโลกดวย ดวงตะวันแห่งปณิธำนยุวชน ในชีวิตและในสังคม วิกฤตการณ์ครั้งใหญ่จะทำาให้ เราดึงความเข้มแข็งอันยิ่งใหญ่ออกมาได้และเปดหนทางสู่ยุคใหม่ พระนิชิเร็นไดโชนินได้แสดงข้อพิสูจน์ของเรื่องนี้เมื่อ ท่านละทิ้งสภาพชั่วคราวและปรากฏตัวตนที่แท้จริงในฐานะ พระพุทธะแห่งสมัยธรรมปลายระหว่างการบีฑาธรรมที่ทะจึโนะคุจิ ซึ่งเป็นการส่องแสงแห่งความหวังอันไร้ขอบเขตแก่มวลมนุษยชาติ วันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1271 ขณะที่ท่านกำาลังจะถูก ประหารที่ทะจึโนะคุจิ พระนิชิเร็นไดโชนินได้แสดงสภาพชีวิตแห่ง ศ ักด ิ ์ศร ีอ ันสูงส ุดโดยประกาศอย่างส ุข ุมต ่อท ่านช ิโจค ิงโงะลูกศ ิษย ์ ผู้เสี่ยงชีวิตเพื่อติดตามท่านว่า “ยังมีสิ่งใดน่าปติยินดียิ่งกว่านี้อีก เล่า” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 767) อาจารย์โจเซอิ โทดะ ประธานสมาคมโซคา ท่านที่ 2 อาจารย์ผู้มีพระคุณของข้าพเจ้ามองเห็นความหมายที่ลึกซึ้งของการ ที่พระนิชิเร็นไดโชนิน “ละทิ้งสภาพชั่วคราวและปรากฏตัวตนที่ แท้จริง” ต ่อหน ้าลูกศ ิษย ์ กล ่าวค ือท ่านเช ื ่อว ่าด ้วยการกระท ำาน ี ้ ‘ ’
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 34 10-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ พระนิชิเร็นไดโชนินกำาลังแสดงให้ลูกศิษย์ทั้งหมดของท่านและ ประชาชนทั้งหลายในสมัยธรรมปลายเห็นว่าพวกเขาก็สามารถด ึง สภาพช ีว ิตอ ันย ิ ่งใหญ ่แห ่งอนาท ิกาลในฐานะโพธ ิส ัตว ์จากพ ื ้นโลก ออกมาและพิชิตทุกความยากลำาบากได้ เมื่อกลับมาอย่างมีชัยชนะจากการถูกเนรเทศไปที่ เกาะซาโดะนานเกือบ 2 ปครึ่งในท่ามกลางความขัดแย้ง โรคระบาด และภัยธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อประเทศอย่างต่อเนื่อง พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนด้วยความห่วงใยอันลึกซึ้งว่า “ความทุกข์โศก ของประชาชนจะทับถมกระทั่งทําลายประเทศชาติ” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 526) หากประชาชนมีความทุกข์กังวลอย่างล้นหลามและ รู้สึกสิ้นหวังไร้หนทาง ประเทศชาติก็ไม่อาจฟนตัวหรือมีสันติสุขได้ การที่แต่ละคนยึดถือปรัชญาที่ถูกต้องและตระหนักถึงศักดิ์ศรีของ ชีวิตจึงมีความสำาคัญอย่างยิ่งยวด ด้วยเหตุนี้ พระนิชิเร็นไดโชนินจึงประกาศว่า “ผู้ปฏิบัติสัทธรรมปุณฑริกสูตรเสมือนเขาพระสุเมรุ ดวง อาทิตย์กับดวงจันทร์ หรือมหาสมุทรอันกว้างใหญ่” (ธรรม นิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 525) และขอให ้ลูกศ ิษย ์ ทั้งหลาย “ก่อตั้งคําสอนที่ถูกต้องเพื่ อให้ประเทศเกิดสันติ” สำาเร็จ ให้จงได้
7 นับเป็นเวลาเกือบ 750 ปตั้งแต่พระนิชิเร็นไดโชนิน “ละทิ้งสภาพชั่วคราวและปรากฏตัวตนที่แท้จริง” ขณะที่พวกเรา กำาลังเผชิญวิกฤติครั้งใหญ่ของศตวรรษที่ 21 [การแพรระบาดของ โคโรนาไวรัส] ยุวโพธิสัตว์จากพื้นโลกจำานวนนับไม่ถ้วนกำาลังปรากฏ ขึ้นมาอย่างปติยินดีทั่วประเทศญี่ปุนและทั่วโลกเพื่อทำาตามปณิธาน ตั้งแต่สมัยอนาทิกาลให้สำาเร็จเป็นจริง พร้อมกับแผ่ขยายเครือข่าย แห่งอุดมการณ์อันสูงส่งของพวกเรา ผู้สืบทอดของพวกเรา พลเมืองโลกของโซคา ผู้แสดง หลักการของ “สีครามเข้มกว่าคราม” คือเขาพระสุเมรุแห่งความ กล้าหาญที่ไม่หวั่นเกรงแม้อยู่ท่ามกลางพายุที่รุนแรงที่สุด พวกเขา คือดวงอาทิตย์กับดวงจันทร์แห่งปญญาที่ส่องแสงแก่ความทุกข์อัน มืดมนทั้งหลาย พวกเขาคือมหาสมุทรอันกว้างใหญ่แห่งมิตรภาพ ที่เชื่อมโยงมนุษยชาติข้ามพรมแดนทั้งปวง พระนิชิเร็นไดโชนินย่อมภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง พระพ ุทธะและเทพธรรมบาลท ั ่วจ ักรวาลจะปกป องพวกเขาอย ่าง แน่นอน ถึงเวลาที่จะทำาให้ดวงตะวันแห่งปณิธานของ ยุวโพธิสัตว์จากพื้นโลกส่องแสงสว่างมากยิ่งขึ้นด้วยแสงแห่ง อนาทิกาลและนำารุ่งอรุณแห่งความหวังสู่ยุคใหม่ของอารยธรรมโลก
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 34 10-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ ÂØǪ¹ ¢Í§àÃÒ·ÑèÇâÅ¡ ¡íÒÅѧ “ÅзÔé§ÊÀÒ¾ªÑèǤÃÒÇ áÅлÃÒ¡¯µÑǵ¹·Õèá·Œ¨ÃÔ§” º·à¾Å§áË‹§ªÑª¹Ð¢Í§ªÕÇÔµ ¢Í§â¾¸ÔÊѵǨҡ¾×é¹âÅ¡ª‹Ò§ÍØ‹¹ã¨ÂÔ觹ѡ (จากบทบรรณาธิการ วารสารไดเบียะขุเร็งเงะ ฉบับเดือนกันยายน ค.ศ. 2020)
9 ธรรมนิพนธ์
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 34 10-2563 ธรรมนิพนธ ธรรมนิพนธเร� อง พี่นอง ความเปนมา ธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เป็นจดหมายที่พระนิชิเร็น ไดโชนินเขียนเพื่อมอบแก่พี่น้องอิเคงามิผู้เป็นลูกศิษย์ที่ตำาบลมุซาชิ (ปจจุบันคือตําบลอิเคงามิ เขตโอตะ จังหวัดโตเกียว) และภรรยา กล ่าวก ันว ่าตระกูลอ ิเคงาม ิเป ็นช ่างไม ้ฝ ม ือเล ิศ (มี หน้าที่ซอมแซมและสร้างอาคาร) ที่รับใช้รัฐบาลคามาคูระ พี่น้อง อิเคงามิเป็นลูกศิษย์ที่เข้าศรัทธาตั้งแต่ช่วงแรกที่พระนิชิเร็นไดโชนิน เผยแผ่คำาสอน ท่านยาสุมิจึ บิดาผู้ศรัทธาที่เข้มแข็งในสงฆ์เรียวคัน แห่งวัดโงะขุระขุจิ (นิกายมนตรยาน) ได้ตัดความสัมพันธ์พ่อลูกกับ ‘ ’ ขอ¤ÇÒÁ ã¹¾ÃÐÊÙµÃàÃ×èͧºÒÃÁÕ 6 ¡Å‹ÒÇÇ‹Ò ¨§à»š¹ÍÒ¨Òâͧ¨Ôµã¨ Í‹ÒãËŒ¨Ôµã¨à»š¹ ÍÒ¨Òà(¸ÃÃÁ¹Ô¾¹¸Ë¹ŒÒ 1088)1 1 ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 502
11 ท่านมุเนนากะผู้เป็นพี่ชายถึง 2 ครั้ง ธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เป็นจดหมาย ที่พระนิชิเร็นไดโชนินส่งเสริมกำาลังใจหลังจากที่ได้รับรายงานเรื่อง ถูกต ัดความส ัมพ ันธ์คร ั ้งท ี ่ 1 ก ่อนหน ้าน ี ้ม ีความค ิดว ่าพระน ิช ิเร ็น ไดโชนินเขียนธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เมื่อ ค.ศ. 1275 (ปบุนเอที่ 12) แต่ ปจจุบันสันนิษฐานว่าเป็น ค.ศ. 1276 (ปเคนจิที่ 2) กา รตัดความสัมพันธ์พ่อลูกในต ระกูลซามูไร ถือเป็นการกดดันที่หนักยิ่ง ต้องสูญเสียสถานะทางการเงินและสังคม หรืออีกนัยหนึ่ง หากท่านมุเนนางะผู้เป็นน้องชายละทิ้งความศรัทธา ก็จะได้รับสิทธิ์สืบทอดมรดกแทน ด้วยเหตุนี้ พระนิชิเร็นไดโชนินซึ่ง ห่วงว่าความศรัทธาของท่านมุเนนางะผู้เป็นน้องจะหวั่นไหว จึงให้ กำาลังใจจากแง่มุมต่าง ๆ ธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ พระนิชิเร็นไดโชนินชี้ให้เห็นถึง เหตุผลที่ผู้ศรัทธาในสัทธรรมปุณฑริกสูตรพบกับความยากลำาบาก ว่า เป็นเพราะ “พญามารแห่งสวรรค์ชั้นที่ 6” เข้าไปสิงผู้ปกครอง ประเทศ บ ิดามารดา ภรรยาและบ ุตร เป ็นต ้น เพ ื ่อข ัดขวาง ความศรัทธา นอกจากนี้ ยังสอนอีกมุมมองหนึ่งผ่านปรัชญาธรรม “การเปลี่ยนหนักให้ได้รับโดยเบา” ว่า การที่ได้รับความยากลำาบาก เป็นการทำาให้ชะตากรรมหนักในอดีตหมดสิ้นไป อีกทั้งกล่าวว่า ความยากลำาบากคืออุปสรรคที่เทพธรรมบาลทั้งหลายกระทำา
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 34 10-2563 ธรรมนิพนธ เพื่อทดสอบความศรัทธา จากนั้น พระนิชิเร็นไดโชนินส่งเสริมกำาลังใจว่า เป็น เพราะพี่น้องอิเคงามิปฏิบัติศรัทธาในธรรมะที่ถูกต้อง “อุปสรรค 3 มาร 4” จึงชิงกันเกิดขึ้นมา ทั้ง 2 พี่น้องและภรรยาควรสามัคคีกัน ต่อสู้กับมาร และข้ามพ้นความยากลำาบากไปให้ได้ พระนิชิเร็นไดโชนินสอนผ่านธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ว่า การ มองทะลุถึงธาตุแท้ของมารที่ทำาให้จิตใจหวั่นไหวและทำาลายความ ศรัทธาอย่างแยบยล พร้อมกับยึดถือธรรมะที่ถูกต้อง ก็คือการ ตอบแทนบุญคุณที่สูงส่งที่สุดต่อบุพการี นอกจากนี้ ข้อความที่ศึกษาในครั้งนี้ ยังย้ ำาถึง ความสำาคัญของการยึดถือความศรัทธาจนถึงที่สุด ตามที่ได้เทศนา ในพระสูตร ไม่ใช่ทำาตาม”จิตใจของตนเอง” ที่หวั่นไหว สำาหรับพวกเราแล้ว ท่าทีที่ “ยึดโงะฮนซนและธรรม นิพนธ์เปนรากฐาน” นี่เอง เป็นการแสวงหา “อาจารย์ของจิตใจ” และแสวงหา “อาจารย์” ผู้นำาทางเราบนเส้นทางของการปฏิบัติ พุทธธรรมจนถึงที่สุด พี่น้องอิเคงามิและภรรยารวมใจเป็นหนึ่งเดียว โดยมีความศรัทธาเป็นรากฐาน ขานรับเสียงคำารามของพระนิชิเร็น ไดโชนินที่ว่า “จงติดตามอาตมาและเดินบนเส้นทางแห่งอาจารย์ กับศิษย์ไม่เปนสอง” จึงสามารถนำาทางท่านยาสุมิจึผู้เป็นบิดาสู่ ธรรมะที่ถูกต้องได้ในที่สุด
13 อาจารย์อิเคดะให้คำาชี้นำาว่า “‘การยึดตนเองเปน ศูนย์กลาง’ ไม่สามารถตีแตกมารได้ การยืนหยัดร่วมกับอาจารย์ แห่งการเผยแผ่ธรรมไพศาล คือ ‘เส้นทางที่ถูกต้อง’ ในการสร้าง ตัวตนที่หนักแน่น” ในเวลาที่เผชิญหน้ากับความยากลำาบากนี่เอง หากปลุกเร้าความศรัทธาและรวมใจเป็นหนึ่งเดียวกับอาจารย์ในการ ต ่อสู ้เพ ื ่อแผ ่ขยายการเผยแผ ่ธรรมแล ้ว ป ญญาและพล ังท ี ่ไม ่ม ีข ีด จำากัดจะพวยพุ่งออกมา “จงมีชีวิตอยูจนถึงที่สุดใหได” คุณพ่อของดิฉัน (คุณทาดาโกะ โคมิยามะ) เสียชีวิต ไปในขณะที่ดิฉันกำาลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ดิฉันจึงทำางาน พิเศษเพื่อใช้เป็นค่าเล่าเรียนในมหาวิทยาลัย ในช่วงชีวิตที่ต่อสู้ ท้าทายในการเรียนควบคู่กับการทำากิจกรรมการเคลื่อนไหวของ สมาคม ด ิฉ ันได ้พบก ับอาจารย ์อ ิเคดะ ได ้สล ักค ำาช ี ้น ำาของท ่านท ี ่ กล่าวว่า “ข้าพเจ้ามีความคาดหวังอยู่นะ ขอให้พยายาม” ไว้ในชีวิต และตั้งปณิธานว่า “ไม่ว่าเกิดอะไรขึ้น จะต่อสู้ร่วมกับอาจารย์ไป ตลอดชั่วชีวิต” ค.ศ. 2002 สามีถูกตรวจพบว่าเป็นโรคมะเร็งกระเพาะ อาหาร และได้รับการวินิจฉัยว่าจะมีชีวิตอยู่ได้อีกครึ่งป ในช่วงเวลา เดียวกัน คุณแม่ของสามีก็กระดูกหักจนต้องเข้าโรงพยาบาล การ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 34 10-2563 ธรรมนิพนธ ผ่าตัดของทั้งคู่ผ่านไปด้วยดี ได้ออกจากโรงพยาบาล แต่ก็ต้องเริ่ม ดูแลพยาบาลทั้ง 2 คนที่บ้าน ในแต่ละวัน จิตใจไม่มีความรู้สึกผ่อนคลาย มีแต่ความ กังวลที่มองไม่เห็นอนาคต รู้สึกเหมือนจิตตกมาก อยู่มาวันหนึ่ง ขณะ ที่กำาลังสวดไดโมขุ ปณิธานในวัยยุวชนที่ตั้งไว้ในวันนั้นก็ผุดขึ้นมาใน ความคิด “เวลานี้แหละที่จะยืนหยัดขึ้นมาในฐานะลูกศิษย์” ความตั้งใจที่จะต่อสู้พวยพุ่งขึ้นมา และเริ่มอธิษฐานอย่างเข้มแข็ง ตอนนั้นเองก็เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด สามีได้รับการส่งเสริม กำาลังใจจากอาจารย์อิเคดะว่า “จงมีชีวิตอยู่จนถึงที่สุดให้ได้” ดิฉัน น้ำาตานองต่อน้ำาใสใจจริงของอาจารย์ หลังจากนั้น สามีได้กลับไปทำางานอีกครั้ง และยืด อายุข ัยได ้ 3 ป แล ้วจากไปอย ่างสงบ ป ต ่อมาค ุณแม่ของสาม ีก ็ ต้อนรับวาระสุดท้ายอย่างสงบเช่นกัน หลังจากนั้น ดิฉันก็ถูก พยาธิมารโจมตีอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยืนหยัดเผชิญหน้าอย่างเข้มแข็ง และสามารถข้ามพ้นไปได้ ปจจุบัน ดิฉันตระเวนไปทั่วพื้นที่โทชิกิอันเป็นที่รัก และ ส่งเสริมกำาลังใจเพื่อนสมาชิกอย่างสุดกำาลัง ด้วยจิตใจขอบคุณและ ตอบแทนบุญคุณต่ออาจารย์
15 ขอให้ผู้ใหญ่หญิงอธิษฐานจนถึงที่สุดเพื่อความสุขของ เพื่อนสมาชิกด้วยหนึ่งขณะจิตที่เข้มแข็ง และเดินหน้าอย่างสดใส (บรรยายโดย คุณทาดาโกะ โคมิยามะ หัวหน้าแผนกศึกษาธรรม ฝายผู้ใหญหญิง ภูมิภาครวมโทชิกิ)
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 34 10-2563 ธรรมนิพนธ คําชี้นํา ของอำจำรย์อิเคดะ น�ำ “จิตใจของอาจารย” มำเปน “จิตใจของตนเอง” “มนุษยเรานั้น จะมีความคิดที่ว่าอยากจะทำาตาม ความรู้สึก ทำาตามอำาเภอใจอย่างอิสระอย่างที่พวกของตัวเองต้องการอยู่ แต่ถ้าทำาเช่นนั้นแล้ว ก็จะกลายเป็นการพ่ายแพ้ต่อตัวเอง และสูญเสียเปาหมายที่เรียกว่าการเผยแผ่ธรรมไพศาลไปในท้ายที่สุด... เพราะฉะนั้นการยับยั้งชั่งใจหรือการควบคุมตัวเองจึงเป็นสิ่ง จำาเป็น และการเผาไหม้จิตใจใฝหาธรรมให้ลุกโชนอยู่เสมอก็เป็นสิ่งสำาคัญ ทั้งนี้ก็เพราะว่า ถ้าไม่มีความศรัทธาเป็นรากฐานแล้ว ก็อาจจะถูกพัดพาไป สู่ทิศทางแบบง่าย ๆ หรือถูกพัดพาไปสู่ทิศทางแบบอะลุ้มอล่วยก็เป็นได้” (จาก บทประพันธ ปฏิวัติมนุษย-ใหม เลมที่ 9 บท “แสงหลากสี” วารสาร “สร้างคุณคา” ฉบับธันวาคม พ.ศ. 2551)