37 ไปต่างประเทศด้วยความภาคภูมิใจ “อยาหวนเสียใจภายหลังนะ แสดงดวยความมีชีวิต ชีวาเต็มที่เลยนะ” “ตองทําใหสําเร็จใหไดนะ” ทุกคนต่างร้องไห้พลาง ก็ให้คำามั่นสัญญาแก่กัน สมาชิกทั้งหมด 140 คน เดินทางจากสนามบิน ฮาเนดะม ุ ่งสู ่ลอสแอนเจล ีสโดยเคร ื ่องบ ินชาร ์เตอร ์ ขบวนพาเหรด จัดขึ้นที่ถนนโอเชียน เมืองซานตาโมนิกา ขบวนพาเหรดเดินไปบนถนนที่สองข้างทางเรียงราย ด้วยต้นอินทผาลัม หาดทรายสีขาวทอดยาว สามารถมองเห็น มหาสมุทรแปซิฟก ด้วยความภาคภูมิใจที่ได้เป็นตัวแทนของสมาคมและ ความปีติยินดีที่ความฝันกลายเป็นความจริง มือที่ถือขลุ่ยของดิฉัน ก็มีพลังขึ้นมา การแสดงในต่างประเทศเป็นความฝันที่ยาวนาน สำาหรับวงปีกลอง ประชาชนที่มาชมมีจำานวนมากถึง 5 หมื่นคน การ เดินพาเหรดประสบความสำาเร็จอย่างใหญ่หลวง หลังจากกลับญี่ปุน อาจารย์อิเคดะได้กรุณาถ่ายรูปที่ระลึกกับพวกเราที่สวมชุดฟอร์มใหม่ ล่าสุด ปีนี้ (ค.ศ.1999) ครบ 30 ปีพอดี
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) หนึ่งกำวของประวัติศำสตร์ ที่วงปกลองไดเปดเสนทางสําเร็จ อาจารยอิเคดะ : จริงด้วยนะ เป็นเรื่องน่ายินดีสำาหรับผมด้วยครับ ผมเองเป็นคนเสนอให้ตั้งวงปีกลอง และใช้เงินส่วนตัวซื้อเครื่องดนตรี ให้แก่วง ตอนนั้น เครื่องดนตรีก็ไม่ครบชุด ผู้เชี่ยวชาญก็ไม่มี เริ่มต้นจากศูนย์จริง ๆ ผมได้ให้กำาลังใจในแต่ละโอกาสและเฝาดู วงปีกลองมาโดยตลอด ด้วยเหตุนี้ ความเพียรพยายามของสมาชิกวงปีกลอง ที่สร้างประเพณีสู่ความสำาเร็จด้วยการฝกฝนอย่างเอาจริงเอาจัง ฝกฝนแล้วฝกฝนอีก ผมจึงทราบดีกว่าใคร ๆ “จะใหเป็นวงปกลองที่มีบทบาทในเวทีโลก” นี่คือ ความคิดที่อยู่ในใจของผมเสมอ จากตั้งวงปีกลองขึ้นมา การเดิน พาเหรดที่อเมริกาถือเป็นหนึ่งก้าวที่ยิ่งใหญ่ที่ได้เป ดประวัติศาสตร์ ของวงปีกลอง ความสำาเร็จที่มีชัยชนะด้วยการเริ่มต้นจากที่ไม่มี อะไรเลยนี่เองคือความสูงส่ง การก่อสร้างที่เริ่มจากศูนย์แล้วค่อย ๆ พัฒนาขึ้นมาทีละก้าว ๆ อย่างมั่นคงเท่านั้นจึงจะสามารถกลายเป็น ของแท้ได้
39 ฮิราคาวา : การเด ินพาเหรดคร ั ้งน ั ้นจ ัดข ึ ้นหล ังจากยานอวกาศ “อะพอลโล 11” ลงจอดบนผิวดวงจันทร์สำาเร็จผ่านไป 1 สัปดาห์ ก ำาล ังเป ็นท ี ่กล ่าวขว ัญก ันอย ่างมากมายในท ้องถ ิ ่น ขบวนพาเหรดจึงนำาโมเดลจำาลองของ “อะพอลโล 11” ออกแสดง ด้วย ประชาชนต่างไชโยโห่ร้องด้วยความปีติยินดีกันใหญ่ ผูที่ด�ำเนินชีวิตตำมควำมเช� อ จะมีความสุข อาจารยอิเคดะ : คำาพูดที่มีชื่อเสียงของอาร์มสตรอง นักบินอวกาศ ผู้เหยียบพื้นดวงจันทร์คนแรก คือ “ความสําเร็จในครั้งนี้ สําหรับ มนุษย์ 1 คนแลวเป็น 1 กาวที่เล็กมาก แตสําหรับมนุษยชาติแลว เป็นกาวกระโดดที่ยิ่งใหญ” การก้าวไปข้างหน้าก้าวใหม่ของ ประวัติศาสตร์จำาเป็นต้องมี “1 กาว” เป็นจุดเริ่มต้น สมาชิกวงปีกลองทุกคน ได้เปดเส้นทางของการ เผยแผ่ธรรมไพศาลพร้อมกันกับผม ทุกคนล้วนเป็นผู้ที่ไว้วางใจได้ ชีวิตที่มีจำากัด จะเหลืออะไรทิ้งไว้ให้คนรุ่นหลัง ผู้ที่ สามารถเปดเส้นทางและดำาเนินชีวิตตามความเชื่อเพื่ออนาคต เพื่อ คนรุ่นหลังจะมีความสุขและมีชัยชนะ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ผมคิดว่า วงปีกลองที่ก่อตั้งขึ้นในแต่ละประเทศ ทั่วโลกและมีบทบาทอยู่ในขณะนี้ก็มีจุดเริ่มต้นจากความสำาเร็จของ การแสดงที่ต่างประเทศในครั้งนั้น จึงสามารถก้าวกระโดดได้อย่าง มากมาย ดังนั้นตอนที่ได้รับรายงานการก่อตั้งครบ 30 ปี ผมได้ อธิษฐานให้ทุกคนมีความสุขมาก ๆ ให้วงปีกลองเจริญพัฒนายิ่ง ๆ ขึ้น และได้แต่งกลอนให้ ยางกาวอยางสดใส ไปใหถึงสวรรค วงปกลอง ทูตแหงประวัติศาสตรอันยิ่งใหญ ขอใหโชคดี ฮิราคาวา : เป็นบทกลอนที่ยอดเยี่ยมมากค่ะ ขอขอบคุณอาจารย์ จริง ๆ ทุกคนดีใจมาก การเดินพาเหรดที่อเมริกาเป็นจุดเริ่มต้นของความ ศรัทธาของดิฉัน เนื่องจากตอนที่เข้าร่วมเดินพาเหรดเป็นช่วงที่ เศรษฐกิจครอบครัวไม่ดี จิตใจก็เฝารอความหวัง ตอนที่ดิฉันอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คุณพ่อเสียชีวิต จำาได้ว่าในงานศพ ผู้คนละแวกบ้านมองดูดิฉัน น้องสาวและน้องชาย
41 ที่ยืนเรียงแถวถือรูปถ่ายของคุณพ่อ พวกเขาพูดกันว่า “น่าสงสาร ต่อจากนี้ไปจะเป็นอย่างไรนะ” ร ้านเคร ื ่องใช ้ไฟฟ าท ี ่ค ุณพ ่อเป ็นคนเป ด ค ุณแม ่ก ับ คุณย่าได้ดำาเนินกิจการต่อ จวบจนกระทั่งดิฉันเรียนจบชั้น มัธยมศึกษา ท่านก็เลิกกิจการและให้คนอื่นเช่าร้าน ช่วงเวลานั้นดิฉัน ได้ข่าวเรื่องไปอเมริกาจากรุ่นพี่ในวงปีกลอง ฟุจิโนะ : คงจะตกใจใช่ไหมคะ ฮิราคาวา : ตกใจมากค่ะ แม้จะเข้าใจว่าทางบ้านไม่มีเงิน แต่ดิฉันก็ คิดว่า “ไม่ว่าอย่างไร ก็อยากไป” ดิฉันสวดไดโมขุวันละ 10,000 คำา ทุกวัน หลายวันผ่านไป จู่ ๆ ก็มีเงินก้อนพิเศษเข้ามาในบ้าน โดยไม่คาดคิด ก็คือร้านอาหารจีนที่ให้เช่านั้นขายดีมาก จึงย้ายไป อยู่ที่อื่น มีคนใหม่มาเช่าแทน เงินก้อนนี้เป็นเงินมัดจำาจากผู้เช่าราย ใหม่ แน่นอนว่า เงินก้อนนี้ควรจะนำามาเป็นค่าใช้จ่ายใน ครอบครัว แต่เมื่ออ้อนวอนคุณแม่กับคุณย่าอย่างสุดชีวิตว่า “เงิน ก้อนนี้หนูขออนุญาตใช้นะคะ” คุณแม่กับคุณย่าก็อนุญาตว่า “เข้าใจ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) แล้วจ้ะ ลูกไปเถอะ” ดิฉันไม่สามารถซื้อของดีราคาแพง ๆ มาฝากคุณแม่ กับคุณย่าได้ แต่เมื่อได้เห็น “หนังสือพิมพ์เซเคียว” ลงข่าวเกี่ยวกับ ขบวนพาเหรดและได้ฟังเรื่องราวของดิฉัน ท่านก็ดีอกดีใจราวกับเป็น เรื่องของตัวเอง ดิฉันเห็นท่าทางของท่านแล้ว รู้สึกขอบคุณจริง ๆ ค่ะ อาจารยอิเคดะ : คงเป็นเพราะท่านคอยดูทีท่าของลูกสาวที่ทุ่มเทใน การฝกซ้อมของวงปีกลองอยู่เสมอ ความรู้สึกของครอบครัวไม่ใช่ทฤษฎี มีเพียงการ สื่อสารที่เข้าใจกันระหว่างจิตใจกับจิตใจเท่านั้นที่จะให้กำาลังใจและ มีความปีติยินดีร่วมกันได้ การขอบคุณและตอบสนองต่อความรู้สึกของ ครอบครัวจะกลายเป็น “การตอบแทนบุญคุณ” ครับ คนที่มีทีท่าน่านับถือ ส่วนใหญ่จะมีครอบครัวให้การ สนับสนุนอยู่เบื้องหลัง ดังนั้นแม้ในการพบปะกับคนหนึ่งคน ผมก็จะพบปะ และนึกถึงครอบครัวของเขาซึ่งอยู่เบื้องหลัง และแม้ในการส่งเสริม กำาลังใจคนหนึ่งคน ผมก็จะพูดคุยและสวดไดโมขุด้วยความรู้สึกที่ให้ กำาลังใจทุกคนในครอบครัว
43 เวลาที่ยากลำาบากนี่เอง เป็นโอกาสที่ทำาให้สาย สัมพันธ์ของครอบครัวลึกซึ้ง สิ่งที่จะรวมจิตใจให้เป็นหนึ่งเดียว สามารถข้ามพ้นความยากลำาบากทุกรูปแบบไปได้ และเปลี่ยนทุก อย่างให้กลายเป็นด้านบวกได้ก็คือความศรัทธานั่นเอง { โปรดติดตามตอนตอไป }
โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับ ศาสนาแหงมนุษยนิยม
45 บทที่ 3) กำรก่อตั้งค�ำสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน : รุงอรุณแหงศาสนาเพ� อมวลมนุษยชาติ (ตอ) ไซโต : เกี่ยวกับการปฏิบัติง่าย 9 อย่าง ท่านกล่าวว่า : บุคคลผู้มีพละกำาลังเล็กน้อยอย่างอาตมา ก็ยัง สามารถขว้างเขาพระสุเมรุออกไปได้ บุคคลผู้ไร้พลังอิทธิฤทธิ์อย่าง อาตมา เมื่อสมัยเกิดไฟประลัยกัลป ก็ยังสามารถแบกฟอนหญ้าแห้ง ผ่านไปได้โดยไม่ไหม้ไฟ และบุคคลผู้ไร้ปัญญาอย่างอาตมายัง สามารถอ่านและจดจำาพระสูตรทั้งหลาย ที่มีมากมายเท่ากับ เม ็ดทรายในแม ่น ้ ำาคงคา...(ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 239) เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้เด็ดขาด ที่คนธรรมดาจะแสดง ทั้งความรู้เชิงปฏิบัติการหรือความแข็งแกร่งทางกายภาพ หรือแม้ กระทั่งพลังเหนือธรรมชาติที่จะสามารถกระทำาบางสิ่งบางอย่าง เช่น ขว้างเขาพระสุเมรุไปไกล ๆ ราวกับพยายามคำานวณหาค่ากำาหนด วงโคจรของยานอวกาศ โดยใช้เครื่องคิดเลขแบบพกพา ทว่ามีการปฏิบัติที่ต้องพยายามมากกว่านี้คือ การ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ ปฏิบัติยาก 6 อย่าง กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การยอมรับและยึดถือ ข ้อความหร ือวล ีของส ัทธรรมป ุณฑร ิกสูตรในสม ัยธรรมปลายเป ็น ความท้าทายที่ยากที่สุด อาจารยอิเคดะ : การธำารงความศรัทธาต่อสัทธรรมปุณฑริกสูตรใน ยุคที่ชั่วร้ายของสมัยธรรมปลายนี้ คือ ความมานะบากบั่นต่อความ ยากลำาบากที่ไม่มีสิ่งใดเทียบเคียงได้ และการเผยแผ่พระสูตรนี้ออก ไปอย่างกว้างขวางก็เป็นความยากที่สุดในบรรดาความยากทั้งปวง ในยุคที่แปดเปอนไปด้วยมลทิน 5 ประการ การธำารง ไว้ซึ่งจิตวิญญาณอันสูงส่งที่ว่าทุกคนคือพระพุทธะ การทำาให้ผู้อื่น ตระหนักรู้ถึงศักยภาพดังกล่าว และการมุ่งมั่นต่อไปในการแผ่ขยาย เครือข่ายของประชาชนที่กระทำาการด้วยจิตวิญญาณเช่นนั้น แน่นอน ว่าต้องพบความยากลำาบากมหันต์ ขณะที่การปฏิบัติง่าย 9 อย่าง ดูเหมือนว่าเป็นไปไม่ได้ ซึ่งอันที่จริงก็มีโอกาสที่ความก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาจสร้างสรรค์ให้เป็นไปได้ภายใต้ สถานการณ์ต่าง ๆ แต่ไม่ว่าวิทยาศาสตร์จะก้าวหน้าไปเพียงใด การ เปลี่ยนจิตใจมนุษย์จะเป็นงานที่ยากเสมอ ไซโต : พระนิชิเร็นไดโชนินแต่เพียงผู้เดียว ได้ริเริ่มการท้าทายอันแสน ยากลำาบากอย่างเหลือเชื่อในการเผยแผ่คำาสอนของท่านออกไปอย่าง กว้างขวางในสมัยธรรมปลาย อาจารยอิเคดะ : นี่คือเหตุผลที่ท่านคือพระพุทธะแห่งสมัยธรรมปลาย
47 พวกเราควรภาคภูมิใจในความจริงที่ว่า พวกเราสมาชิกเอสจีไอผู้อุทิศ ทุ่มเทเพื่อการเผยแผ่ธรรมไพศาล กำาลังลงมือกระทำาให้ประจักษ์ชัด ตามเส้นทางอันสูงส่งนี้ ด้วยเหตุนี้ เมื่อเราเห็นเพ ื่อนสมาชิกเอสจีไอที่กำาล ัง ทำางานด้วยจิตวิญญาณอันสูงส่งเช่นเดียวกับพระพุทธะ เราจึงควร แสดงความเคารพพวกเขาเช่นเดียวกับที่เรากระทำาต่อพระพุทธะ ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างแน่วแน่ว่า ประชาชนคือพระพุทธะ สมาชิกเอสจีไอ จึงพยายามอย่างหนักอยู่ทุกวี่ทุกวันตลอดเวลาท่ามกลางสภาพ ความเป็นจร ิงท ี ่ผ ันผวน ดำาเนินการปฏ ิบ ัต ิพ ุทธธรรมของตนและ แบ่งปันคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินกับผู้อื่นให้บรรลุผลสำาเร็จ การ กระทำาของพวกเขาช่างมีค่าควรแก่การเคารพอย่างสูงสุด ไซโต : ดังนั้นในแก่นสำาคัญ คำาสอนเรื่องการปฏิบัติยาก 6 อย่าง ง่าย 9 อย่าง เป็นการบ่งชี้ถึงความยากเพียงใดที่จะยึดถือสัทธรรมปุณฑริก สูตรในย ุคแห่งมลท ินน ี ้ การย ึดถ ือพระสูตรน ี ้ช ่างเป ็นการกระท ำาท ี ่ ยิ่งใหญ่เพียงใด และบุคคลที่กระทำาดังกล่าวช่างสูงส่งเพียงใด อาจารยอิเคดะ : แน่นอนว่า พระศากยมุนีพุทธะทรงส่งเสริม กำาลังใจผู้ฟังธรรมของพระองค์ ให้สนับสนุนค้ำาจุนและเผยแผ่ สัทธรรมปุณฑริกสูตรออกไปอย่างกว้างขวางภายหลังจากที่พระองค์ เสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว และพระองค์ทรงทำาการขู่ขวัญใน ขณะที่ตรัสแก่พวกเขาว่างานนี้น่าหวาดหวั่นและยากลำาบากเพียงใด
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ นี่คือจุดที่สำาคัญยิ่ง พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนว่า รู้สึกได้อย่างแรงกล้าถึง จิตวิญญาณและมหาปณิธานของพระพุทธะ ท่านจึงสามารถพิชิต พลังแห่งความชั่วร้ายที่ทำางานอยู่ในจิตใจของท่านได้อย่างสมบูรณ์ และยืนหยัดขึ้นในการนำาพามวลมนุษยชาติไปสู่ความสุขในสมัย ธรรมปลาย พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือท่านเอาชนะธรรมชาติที่ชั่วร้ายของ ตัวท่านเองโดยทำาให้พุทธภาวะปรากฏออกมาภายในชีวิตของท่าน ด้วยการตั้งมหาปณิธานเพื่อการเผยแผ่ธรรมไพศาล ท่านถ่ายทอด ความรู้สึกนี้โดยบอกว่า “อาตมาไดตั้งปณิธานวา จะปลุกเราโพธิ จิตอันเขมแข็ง เพ� อชวยเหลือสรรพสัตว์ และจะพากเพียรโดยไม ทอถอย” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 240) นี่คือ การแสดงออกของปณิธานที่พระนิชิเร็นไดโชนินตั้งไว้ในช่วง การก่อตั้งคำาสอนของท่าน จากจุดยืนของการมีชัยชนะต่อการทำางาน ของมารที่ชั่วร้ายนั่นเอง ในอ ีกทางหน ึ ่ง ข ้อความท ี ่ม ีช ื ่อเส ียงในธรรมน ิพนธ ์ เรื่อง “เปดดวงตา” ที่กล่าวว่า “อาตมาจะเป็นเสาหลักของประเทศ ญี่ปุน อาตมาจะเป็นดวงตาของประเทศญี่ปุน อาตมาจะเป็นเรือ ใหญของประเทศญี่ปุน” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 280 - 281) สามารถพิจารณาได้ว่าเป็นการประกาศปณิธาน ของท่าน และยังบ่งชี้ถึงการตระหนักรู้อันสูงสุดของปณิธานดังกล่าว ด้วย
49 ปณิธานของพระนิชิเร็นไดโชนินยังคงแน่วแน่ไม่ แปรเปลี่ยนตั้งแต่ที่ท่านได้ตั้งไว้ขณะอายุ 32 ปี ผ่านการเนรเทศไป เกาะซาโดะ จวบจนกระท ั ่งใกล ้ถ ึงวาระส ุดท ้ายของช ีว ิตท ่าน ไม ่ เปลี่ยนแปลงแม้สักนิด ปณิธานจะสามารถเรียกว่าปณิธานได้ ก็ต่อเมื่อได้ดำาเนินการไปจนบรรลุผลสำาเร็จในท้ายที่สุด พุทธศาสนา ที่มีชีวิตอย่างแท้จริงหาพบได้ในการต่อสู้ที่ไม่หยุดหย่อนเท่านั้น เพื่ออธิบายให้เห็นภาพ ขอยกตัวอย่างการยิงธนูไปที่ เปา ทันทีที่ปล่อยสายธนู ลูกธนูก็พุ่งตรงไปที่เปาหมาย อย่างไรก็ตาม หากลูกธนูออกนอกเส้นทางตั้งแต่เริ่มต้น หรือไม่ได้ยิงด้วยพละกำาลัง ที่แรงพอ ก็จะสูญเสียแรงที่ส่งออกไปทำาให้พลาดเปา กล่าวอีก นัยหนึ่งก็คือ ไม่มีใครสามารถหยุดยั้งบุคคลที่ยืนหยัดด้วยความมุ่ง มั่นตั้งใจอย่างลึกซึ้ง ไซโต : ใน “องงิขุเด็น” (บันทึกคําสอนปากเปลา) พระนิชิเร็นไดโชนิน กล่าวว่า: บ ัดน ี ้ เม ื ่ออาตมาน ิช ิเร ็นสวดน ัมเม ียวโฮเร ็งเงเค ียว เป็นการช่วยให้สรรพสัตว์ทั้งหลายบรรลุพุทธภาวะในหมื่นปีของสมัย ธรรมปลาย มิใช่เช่นนั้นหรือ ดังนั้น จึงกล่าวว่า “สิ่งที่อาตมาไดหวัง ไวนานมาแลว บัดนี้ ไดทําใหบรรลุผลแลว” “ไดทําแลว” หมายถึง ไดโมขุที่สวดเป็นครั้งแรกเมื่อ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ วันที่ 28 เดือน 4 ปีเค็นโจที่ 5 (ค.ศ. 1253) เช่นนั้นแล้ว เราอาจคิด ว่านี่เป็นบางสิ่งที่ได้บังเกิดขึ้นแล้ว (บันทึกคําสอนปากเปลา ฉบับ ภาษาอังกฤษ หน้า 41) น ัมเม ียวโฮเร ็งเงเค ียวท ี ่พระน ิช ิเร ็นไดโชน ินสวดเป ็น ครั้งแรกในวันที่ท่านประกาศก่อตั้งคำาสอน เป็นธรรมะอันยิ่งใหญ่ ที่ ช ่วยให ้ประชาชนท ั ้งปวงเป ็นเวลากว ่าหม ื ่นป ีและยาวนานกว ่าน ั ้น สามารถบรรลุพุทธภาวะได้ อีกนัยหนึ่งคือ ความปรารถนาอันยิ่งใหญ่ เพ ื ่อการเผยแผ ่ธรรมไพศาลได ้ปรากฏเป ็นจร ิงแล ้วเม ื ่อพระน ิช ิเร ็น ไดโชนินได้ก่อตั้งคำาสอนของท่าน กำรประกำศของศำสนำมนุษยนิยม ที่ตอสูกับแนวโนมการทําลายลางของชีวิต อาจารยอิเคดะ : การก่อตั้งคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินคือ เสียงคำารามของราชสีห์เป็นครั้งแรก ที่จะดังก้องอยู่ในชีวิตของ ประชาชนทุกคนในเวลาหมื่นปีและยาวนานกว่านั้นของสมัย ธรรมปลาย ปณิธานของท่านบอกเป็นนัย ๆ ว่าจะส่องแสง อันเจิดจรัสแก่มนุษยชาติตลอดชั่วนิรันดร์อย่างแน่นอน พระนิชิเร็น ไดโชนินกล่าวว่า “แนนอนวาการเผยแผธรรมไพศาลในที่สุดจะ บรรลุผลสําเร็จทั่วทั้งโลก” (ธรรมนิพนธ หน้า 816) การก่อตั้ง คำาสอนของท่านได้จุดเปลวไฟแห่งการเผยแผ่ธรรมไพศาลที่จะ
51 สาดแสงขับไล่ความมืดมิดที่ปกคลุมมนุษยชาติตลอดไป พระนิชิเร็นไดโชนินได้ประกาศคำาสอนของท่านใน เวลาเท ี ่ยงว ัน ช ่างพอเหมาะพอด ีก ับคำาสอนของท ่านที ่ถูกเร ียกว ่า “แสงที่ขับไลความมืดมิด” อีกทั้งยังเป็นที่น่าสังเกต คำาว่า นิชิ ของ นิชิเร็น แปลว่า “ดวงอาทิตย์” หรือ “กลางวัน” ไซโต : ในเวลาเที่ยงวันของวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1253 พระนิชิเร็น ไดโชนินยืนอยู่ที่ด้านทิศใต้ของวิหารในโชบุตจึโบ ที่วัดเซโชจิ และได้ เทศนาหักล้างนิกายสุขาวดี ผู้ฟังการเทศนาของท่านประกอบด้วย สงฆ์โจเอ็นโบและสงฆ์ลูกวัดที่ยังไม่มีสมณศักดิ์จำานวนหนึ่ง1 อาจารยอิเคดะ : คำาประกาศของพระนิชิเร็นไดโชนินเริ่มต้นด้วยการ หักล้างคำาสอนที่ผิดอย่างรุนแรง ท่านโจมตีประจันหน้าโดยตรงกับ นิกายสุขาวดีที่มีการปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายทั้งในหมู่สงฆ์และ ฆราวาส ซึ่งต่อมาท่านได้เขียนเกี่ยวกับกรอบความคิดของท่านใน การกระทำาครั้งนั้น ไซโต : ตัวอย่างเช่น ท่านกล่าวว่า “ดวยความคิดคํานึงที่สูง 1 ในจดหมายถึงสงฆวัดเซโชจิ พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนวา “วันที่ 28 เดือน 4 ปเค็นโจที่ 5 (ค.ศ. 1253) เปนครั้งแรกที่อาตมาได้ชี้ให้เห็นถึงข้อผิดพลาดของ หลายนิกายแกสงฆชื่อ โจเอ็นโบ และแกประชาชนที่อยูทางด้านทิศใต้ของ วิหารในบริเวณกุฏิของพระโดเซ็นโบที่วัดเซโชจิ ในหมูบ้านโทโจ จังหวัดอาวะ ชวง 20 กวาปที่ผานมา อาตมาพูดออกไปด้วยความกระตือรือร้นโดยไม ลดละ” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 651)
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ สุดยอดเหลานี้อยูในจิตใจของอาตมา อาตมาจึงตัดสินใจวา อาตมาตองเริ่มพูดออกไป” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 727) “อาตมาไดตัดสินใจที่จะพูดออกไป” (ธรรมนิพนธฉบับ ภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 607) และ “เมื่อตัดสินใจแล้วว่าจะอดทน แบกรับไม่ว่าอะไรก็ตามที่จะเกิดขึ้นกับอาตมา อาตมาจึงได้เริ่มพูด ออกไป” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 828) ท่านพูด ออกไปเพราะในเวลานั้น ผู้คนจำานวนมากมายกำาลังสวดมนต์นิกาย สุขาวดี (นั่นคือ ชื่อของอมิตาภพุทธะ ซึ่งเปนการปฏิบัติของพุทธ ศาสนานิกายสุขาวดี) อาจารยอิเคดะ : ค ำาถามก ็ค ือ แท้จร ิงแล ้วพระน ิช ิเร ็นไดโชน ินได ้ ประกาศสิ่งใดออกมาเมื่อตอนที่ท่านก่อตั้งคำาสอน ไม่ต้องสงสัยเลย ว่า คำาประกาศของท่านต้องเกี่ยวข้องกับการสวดนัมเมียวโฮเร็งเง เคียวอย่างแน่นอน มีหลักฐานเป็นบทประพันธ์งานเขียนมากมายที่ ยืนยันถึงเรื่องนี้2 ในเวลานั้นเช่นกันที่พระนิชิเร็นไดโชนินได้ละทิ้งชื่อ เซโชโบ เร็นโช และใช้ชื่อ นิชิเร็น เรื่องนี้ได้สนทนาไปก่อนหน้าแล้ว ทว่าชื่อ นิชิเร็น ประกอบด้วยความหมายของ “ดวงอาทิตย์” และ “ดอกบัว” พระ นิชิเร็นไดโชนินกล่าวว่า ท่านเลือกชื่อนี้เพราะท่านได้รู้แจ้งด้วยตัวของ ท่านเอง3 โดยปราศจากการช่วยเหลือจากผู้ใด ท่านตื่นรู้ถึงภาระ หน้าที่ในการขจัดความมืดมนในชีวิตของประชาชนดุจดังดวงอาทิตย์
53 และทำาให้ดอกไม้แห่งธรรมมหัศจรรย์บานสะพรั่งในสังคม เฉกเช่น ดอกบัวที่บานอยู่ในโคลนตม ไซโต : พระนิชิเร็นไดโชนินกล่าวว่า “สัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นดวง อาทิตย์ ดวงจันทร์และดอกบัว ดังนั้น จึงตั้งชื่อว่าสัทธรรมปุณฑริก สูตรแห่งธรรมมหัศจรรย์ เช่นเดียวกัน อาตมานิชิเร็นก็ดุจเดียวกับ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดอกบัว” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 186) อาจารยอิเคดะ : ชื่อ นิชิเร็น ได้รวมมหาปณิธานแห่งความเมตตา กรุณา “เพ� อประชาชนทุกคนเป็นเวลาหม� นปและยาวนานกวานั้น” 2 ในธรรมนิพนธเรื่อง “การตักเตือนโพธิสัตวฮะจิมัน” พระนิชิเร็นไดโชนิน กลาวา “ตลอดระยะเวลา 28 ปตั้งแตวันที่ 28 เดือน 4 ปเค็นโจที่ 5 (ค.ศ. 1253) ปจักรราศีมิสึโนะโตะ-อุชิ ผานมาจนถึงขณะนี้เดือน 12 ปโคอันที่ 3 (ค.ศ. 1280) ปจักรราศีคาโนะเอะ-ทะสึ อาตมานิชิเร็นได้เพียร ทําเพียงอยางเดียวคือปอนอักษร 5 ตัว 7 ตัวแหงเมียวโฮเร็งเงเคียว เข้าไป ในปากของประชาชนทั้งหมดในประเทศญี่ปุน ในการทําเชนนี้ อาตมาแสดง ความเมตตากรุณาของมารดาที่พยายามปอนนมเข้าปากลูกน้อย” (ธรรม นิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 931) และธรรมนิพนธเรื่อง “เตาตา เดียวกับขอนไม้ที่ลอยน้ํา” ทานกลาววา “อาตมาผู้เดียวที่สวดนัมเมียวโฮ เร็งเงเคียวเปนคนแรกในประเทศญี่ปุน ในชวงเวลากวา 20 ปตั้งแตฤดูร้อน ของปเค็นโจที่ 5 (ค.ศ. 1253) อาตมาผู้เดียวที่สวดนัมเมียวโฮเร็งเงเคียวทั้ง กลางวันและกลางคืน ทั้งเช้าและเย็น เหลาผู้คนที่สวดนิกายสุขาวดีจํานวน สิบล้านคน” (ธรรมนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 959) 3 ในธรรมนิพนธเรื่อง “จดหมายถึงจะขุนิชิโบ” พระนิชิเร็นไดโชนิน กลาววา “สําหรับชื่อนิชิเร็น (พระอาทิตย บัว) ที่อาตมาตั้งขึ้นนั้น ก็มาจากการรู้แจ้งพุทธยานด้วยตนเอง” (ธรรมนิพนธฉบับ ภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 993)
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 32 08-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ ของพระนิชิเร็นไดโชนินไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จากวันที่ 28 เมษายนเป็นต้นมา ท่านได้เริ่มเผยแผ่นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวออกไป อย่างกว้างขวาง นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวเป็นหนทางรากฐานที่สามารถ ช่วยให้ประชาชนในสมัยธรรมปลายสำาแดงปรากฏธรรมชาติพุทธะ ของพวกเขาออกมาได้ ในแง่นี้ พระนิชิเร็นไดโชนินซึ่งก็คือผู้กำาหนด หนทางนี้ สามารถพูดได้ว่า ท่านได้ก่อตั้ง “นิกายนัมเมียวโฮเร็งเง เคียวของศาสนาพุทธ” อย่างไรก็ตาม คำาสอนของท่านก็ไปไกลเกิน กว่าขอบเขตแคบ ๆ ของนิกายหนึ่ง นั่นเป็นเพราะประตูที่เปดออก ไปสู ่ประชาชนท ุกคนในท ุกหนแห ่ง กล ่าวอ ีกน ัยหน ึ ่ง พระน ิช ิเร ็น ไดโชนินได้ริเริ่มก่อตั้งศาสนาเพื่อมวลมนุษยชาติ ไซโต : ครั้งหนึ่ง พระนิชิจุนโชนิน ประมุขสงฆ์ลำาดับที่ 65 (ค.ศ. 1898 – 1959) ก็ได้กล่าวไว้เช่นกันว่า พุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนิน มิใช่เป็นแค่ศาสนาเพื่อนิกายเดียวเท่านั้น แต่เพื่อปวงสรรพสัตว์ ทั้งหลาย อาจารยอิเคดะ : ด้วยความเคารพ พุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนิน แท้จริงแล้วเป็นศาสนาของ “มนุษย์” ในความหมายที่จริงแท้ที่สุดก็ คือศาสนาโลก ผมเชื่อว่า การประกาศก่อตั้งคำาสอนของพระนิชิเร็น ไดโชนินเป ็นการร ิเร ิ ่มของการต่อสู ้อ ันย ิ ่งใหญ ่ก ับบ ่อเก ิดของความ ชั่วร้ายที่ซ่อนอยู่ในส่วนลึกของชีวิตมนุษย์ ต่อสู้กับธรรมชาติที่ชั่วร้าย
55 ภายในชีวิต และต่อสู้กับความมืดมนขั้นพื้นฐานทั้งปวง พระนิชิเร็น ไดโชนินเองกล่าวว่า จากช่วงเวลาที่ท่านได้ก่อตั้งคำาสอน ท่านได้เริ่ม ทำาการสู้รบทางจิตวิญญาณอย่างต่อเนื่องกับการทำางานเชิงลบของ ชีวิตที่รู้จักกันว่า พญามารแหงสวรรค์ชั้นที่ 6 ไซโต : ท่านกล่าวว่า พญามารแหงสวรรค์ชั้นที่ 6 ได้ก่อสงครามด้วย กองทัพ 10 ชนิด สู้รบกับผู้ปฏิบัติสัทธรรมปุณฑริกสูตรในทะเล แห่งการเกิดตาย ด้วยว่าดินแดนสกปรกมีการอาศัยอยู่ร่วมกัน จะ ให้เขาเอาไปไม่ได้ และแย่งชิงมาให้ได้ อาตมานิชิเร็นก็ตรงกับบุคคล ด ังกล ่าว ได ้เก ิดการสู ้รบท ี ่ย ิ ่งใหญ ่มาถ ึง 20 กว ่าป ีแล ้ว อาตมา นิชิเร็นไม่เคยมีจิตใจที่คิดถอยแม้แต่ครั้งเดียว (ธรรมนิพนธฉบับภาษา อังกฤษ เลม 2 หน้า 465) { โปรดติดตามตอนตอไป }
ไดโมขุแห่งเสียงค�ำรามของราชสีห์ การปฏิบัติที่มุ่งสู่ความสุขและมีชัยชนะขั้นรากฐาน ในธรรมชาติก็มีการเปลี่ยนแปลงดังบทละคร เช่น ฤดูใบไม้ผลิก็จะมีความร่าเริงเบิกบานอย่างมากมาย ทั้งนี้ก็เพราะว่า ได้ผ่านพ้นฤดูหนาวที่โหดร้ายมาด้วยความอดทนอดกลั้น และใน แต่ละปีที่มีความงดงามนั้นก็เพราะมีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล ชีวิตมนุษย์ก็เช่นเดียวกันในวิถีชีวิตของเรานั้นจะต้อง เผชิญกับภูเขาและหุบเขาต่าง ๆ แต่ก็เพราะว่ามีภูเขาที่สูงชัน ...ตราบใดท ี ่พวกเราย ังคงไว ้ซ ึ ่งพล ังช ีว ิตท ี ่เข ้มแข ็ง มีปัญญาที่อุดม สมบูรณ์แล้วเราก็จะสามารถมีชัยชนะต่อความยากลำ บากทั้งหลาย และเพลิดเพลินไปกับชีวิตได้อย่างสบาย ๆแล้วพวกเราก็จะเป็นตัวตน ที่ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งใด มีชีวิตที่ไม่สั่นคลอน และเพียบพร้อมไปด้วย คุณธรรมแห่ง ความเป็นนิรันดร์ ความสุข ตัวตน และความบริสุทธิ์ ความสุขที่แท้จริงจะปรุงแต่งกายและใจของเรา รวมทั้งตัวตนของเรา สภาพแวดล้อมของเราและทุกสิ่งทุกอย่าง ท ั ้งหมดที ่อยู ่ในต ัวเราด ้วยผลบ ุญแห ่งความศร ัทธา การท ี ่พวกเรา สวดมนต์อธิษฐานและปฏิบัติศรัทธานั้น ไม่ใช่เพียงแค่เพื่อความสุข ของตัวเราเองเท่านั้น แต่เพื่อความสุขทั้งของตัวเราเองและผู้อื่นด้วย นี่คือเจตนารมณ์ของสัทธรรมปุณฑริกสูตร (จากหนังสือ บรรยายสัทธรรมปุณฑริกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต หน้า 593-594) ‘ ’
á´‹à¾×è͹ æ ¢Í§¢ŒÒ¾à¨ŒÒ จาก ไดซาขุ อิเคดะ ËÅÑ¡ ¾Ø·¸¸ÃÃÁ¤×ͪѪ¹ÐËÃ×;‹ÒÂᾌ 㹪ÕÇÔµ¡çઋ¹¡Ñ¹ ª¹ÐËÃ×Íᾌ¹Ñé¹ÊíÒ¤ÑÞ ËÅÑ¡¡ÒÃà´ÕÂǡѹ¹Õé ¤×ͤÇÒÁ໚¹¨ÃÔ§ ã¹áµ‹Åл‚¢Í§¡Òû¯ÔºÑµÔÈÃÑ·¸Ò áÅÐ㹤ÇÒÁ¾Ò¡à¾ÕÂ÷ءÇѹ¢Í§àÃÒ ´ŒÇ¨Եã¨áË‹§¡Òõ‹ÍÊÙŒ·Õè¤Ãº¶ŒÇ¹ÊÁºÙó àÃÒµŒÍ§Â×¹ËÂÑ´¢Öé¹ÁÒáÅÐ༪ÔÞªÕÇÔµ Í‹ҧ¡ÅŒÒËÒÞ (จากเอสจีไอกราฟก ฉบับเดือนมีนาคม ค.ศ. 2005)
สมำคมสรำงคุณค่ำในประเทศไทย email: [email protected] www.sgt.or.th บรรณาธิการ นวรัตน ชิโนมี กองบรรณาธิการ เรืองระวี ไชยพูนพัฒน พัชรี โพธิพัฒนธนากร ณัฐพร งามสิริกุล ภาษาญี่ปุน เพียงตา หลิมไชยกุล อนงคนาถ มโนจุรีหกุล อาคิโกะ โฮโซดะ โยโกะ โอดะ สมพร เจนจารุพันธุกุล ภาษาอังกฤษ หทัยรัตน แซ่จึง ศศมน โพธิพัฒนธนากร ทิพยสุดา บุนฑารักษ ออกแบบสรางสรรค์ กุลลดา อัศวฉัตรโรจน พิสูจน์อักษร วรรณี สถาพรพิชญ ผูจัดการ ณรินทร ลัทธยาพร สงวนลิขสิทธิ์ โดยสมาคมสรางคุณค่าในประเทศไทย ISSN 2586-8675
สารบัญ บทบรรณำธิกำรของอำจำรย์อิเคดะ บทละครของการเปลี่ยน “ความทุกขยากใหเปนชัยชนะ 5 ธรรมนิพนธ์ ท่านจะขุนิจิโบ 9 ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ 19 ควำมคิดค�ำนึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” บทที่ 45) การเยือนประเทศสกอตแลนด... 23 บทสนทนำเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เล่ม 3) บทที่ 3) สายสัมพันธที่ช่วยเหลือสนับสนุนกัน...(ต่อ) 33 โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับศาสนาแห่งมนุษยนิยม บทที่ 3) การก่อตั้งคําสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน : 45 รุ่งอรุณแห่งศาสนาเพ� อมวลมนุษยชาติ (ต่อ) 123456
บทบรรณำธิกำรของ อำจำรย์อิเคดะ (ในวารสารไดเบียะขุเร็งเงะ)
5 บทละครของการเปลี่ยน ควำมทุกข์ยำกใหเปนชัยชนะ พระนิชิเร็นไดโชนิน พระพุทธะแห่งสมัยธรรมปลาย ยืนยันถึงอานุภาพอันยิ่งใหญ่ของธรรมมหัศจรรย์ ซึ่ง “เปลี่ยนพิษ เป็นยา” ได้ โดยเขียนไว้ว่า “แมจะเกิดภัยพิบัติ พวกเขาก็เปลี่ยนให เป็นบุญวาสนา” ได้ (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 669) การสร้างคุณค่าอย่างอาจหาญแม้อยู่ในสภาพการณ์ ที่เลวร้ายที่สุดก็ตาม นี่คือบทละครของการเปลี่ยนความทุกข์ยากให้ เป นช ัยชนะท ี ่แสดงโดยอาจารย ์ก ับศ ิษย ์แห ่งโซคา ท ี ่อ ุท ิศตนเพ ื ่อ ปณิธานในการเผยแผ่ธรรมไพศาล 70 ปก่อน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1950 ขณะที่ ธ ุรก ิจของอาจารย ์โทดะตกอยู ่ในภาวะว ิกฤต ิร ้ายแรง อาจารย ์ผู ้ม ี พระคุณกับข้าพเจ้าได้พบนักข่าวหนังสือพิมพ์ และตอบข้อซักถาม เกี่ยวกับปัญหาทางธุรกิจของท่านอย่างเปดอกจริงใจ หลังจบการสัมภาษณ์ อาจารย์โทดะได้เล่าให้ฟังถึง ความค ิดเห ็นของท ่านเก ี ่ยวก ับอ ิทธ ิพลของหน ังส ือพ ิมพ ์และส ั ่งให ้ ข้าพเจ้าวางแผนก่อตั้งหนังสือพิมพ์ของพวกเราเอง ครั้นแล้ว ปถัดมา หนังสือพิมพ์เซเคียว ฉบ ับปฐมฤกษ ์ก ็ต ีพ ิมพ ์ออกมาเม ื ่อว ันท ี ่ 20 เมษายน ค.ศ. 1951 ก่อนที่ท่านจะเข้ารับตำาแหน่งประธานสมาคม ‘ ’
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ โซคา ลำาดับที่ 2 (เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม) วันนั้นถือเปนจุดเริ่มต้น ของหนังสือพิมพ์ ที่จุดประกายความหวังเพื่อชัยชนะสัมบูรณ์ในหัวใจ ของผู้คนทั้งหลาย แม้จมอยู่ในห้วงลึกที่สุดของความทุกข์ก็ตาม พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนไว้ว่า “สัทธรรมปุณฑริก สูตรเป็นพุทธเจตนาของพระศากยมุนีตถาคต ที่ปรากฏออกมา เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นพระสุรเสียงของพระองค์ ที่บันทึก ไวเป็นลายลักษณ์อักษร. พระราชหฤทัยของพระพุทธะจึงมี พรอมอยู่ในตัวอักษรเหล่านี้” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 333) ทำานองเดียวกัน ข้าพเจ้ามั่นใจว่าแต่ละถ้อยคำาในหน้า หนังสือพิมพ์เซเคียว ซึ่งเปนสิ่งพิมพ์ที่ยึดหลักธรรมที่เมตตากรุณา สูงส ุดของส ัทธรรมป ุณฑร ิกสูตรเป นรากฐาน และแผ ่ซ ่านไปด ้วย ความปรารถนาของพระนิชิเร็นไดโชนินที่จะช่วยให้ประชาชนทั้งมวล มีความสุข ระหว่างการชุมนุมของสัทธรรมปุณฑริกสูตร พระ ประภูตรัตนพุทธะปรากฏออกมาและรับรองความจริงของธรรม มหัศจรรย์ อันเปนคำาสอนแห่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ที่มีความเสมอภาค โดยประกาศว ่า “ดีมาก ดีมาก. ... ทั้งหมดที่พระองค์ [พระ ศากยมุนีพุทธะ] ทรงเทศนามาแลวลวนเป็นความจริง” (สัทธรรม ปุณฑริกสูตร ฉบับภาษาไทย บทที่ 11 หน้า 283) และปัจจุบันนี้ สมาชิกผู้สูงส่งของกลุ่มรัตนอนันต์ผู้มี
7 รอยยิ้มสดใส คือผู้ที่กำาลังยืนยันถึงความจริงของถ้อยคำาใน หนังสือพิมพ์เซเคียว ด้วยการเปนแบบอย่างที่ยอดเยี่ยมในการเปลี่ยน ชะตากรรมได้ทุกเรื่องและดำาเนินชีวิตอย่างมีชัยชนะ สมาชิกฝ่ายผู้ใหญ่หญิงท่านหนึ่ง ซึ่งเคยเปนผู้ส่ง หนังสือพิมพ์เซเคียว ไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือเพราะสงครามโลก ครั้งที่ 2 เธอบอกว่า หนังสือพิมพ์เซเคียวมีส่วนสำาคัญในการช่วยให้ เธอได้หัดอ่านเขียนโดยกล่าวว่า “ดิฉันเติบโตและเรียนรูจาก หนังสือพิมพ์เซเคียว และสมาคมโซคา” ในพระสูตรของพุทธศาสนา คำาว่า “สีหนาท” หมายถึงการเทศนาธรรมของพระพุทธะ ซึ่งมีใจความสำาคัญว่าปวง สรรพสัตว์ล้วนมีธรรมชาติพุทธะ สีหนาทของพระพุทธะยังมีพลังขจัด ความกลัว เปดโปงความเท็จ เชิดชูศักดิ์ศรี และเพิ่มพูนพลังของ ทุกคน ตลอดจนชี้นำาและสร้างอบรมอนุชนรุ่นหลัง ในโลกนี้ที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอนและการ แบ่งแยก สีหนาทของ หนังสือพิมพ์เซเคียวกับสื่อสิ่งพิมพ์ในเครือที่มี อยู่ทั่วโลกที่ผนึกกำาลังกัน กำาลังเชื่อมโยงพร้อมกับยกระดับปัญญา และความสำานึกของประชาชนในทุกแห่งหน วันนี้ ขอให้พวกเราพร้อมด้วยสมาชิกกลุ่มรัตนอนันต์ ผู้เปยมด้วยจิตวิญญาณของหนังสือพิมพ์เซเคียว เขียนบทละครที่ น่าตื่นเต้นมีชีวิตชีวาของการต่อสู้ร่วมกันอีกครั้ง บทละครแห่งการ เอาชนะความท้าทายทั้งหลาย ซึ่งก็คือการปฏิวัติมนุษย์
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ ÃѧÊÃä ÁËÒ¡Ò¾ÂáË‹§¡Òõ‹ÍÊٌËÇÁ¡Ñ¹Í‹ҧÁժѪ¹Ð ËÇÁ¡ÑºË¹Ñ§Ê×;ÔÁ¾à«à¤ÕÂÇ ÃÍÂÂÔéÁ¢Í§ÊÁÒªÔ¡¡ÅØ‹ÁÃѵ¹Í¹Ñ¹µ¢Í§¾Ç¡àÃÒ ¤×ÍÃÍÂÂÔéÁ¢Í§ºÃôҾÃоط¸Ð (จากบทบรรณาธิการ วารสารไดเบียะขุเร็งเงะ ฉบับเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2020)
9 ธรรมนิพนธ์
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ธรรมนิพนธ ธรรมนิพนธเร� อง ท่ำนจะขุนิจิโบ ความเปนมา ธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เปนจดหมายที่พระนิชิเร็น ไดโชนินเขียนเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1279 (ปโคอันที่ 2) ขณะที่ท่าน มีอายุ 58 ป และมอบแก่ลูกศิษย์ที่อาศัยอยู่ในแถบอาวะ (ตอนใต้ ของจังหวัดชิบะ) โดยฝากให้สงฆ์จะขุนิจิโบผู้เปนศิษย์นำาไปให้ เมื่อพิจารณาจากเนื้อหาของจดหมาย สันนิษฐานได้ ว่า ผู้ที่ได้รับธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เปนลูกศิษย์สตรีที่มีความสัมพันธ์กับ บิดามารดาของพระนิชิเร็นไดโชนิน เคยได้รับคำาชี้นำาจากพระนิชิเร็น ไดโชนินหลายครั้งและได้รับโงะฮนซนด้วย ‘ ’ ผู¤¹·Ñé § Ë Å Ò Â·Õè 䴌໚¹ ÅÙ ¡ ÈÔÉ Â á Å Ð ÍØ»˜¯°Ò¡¢Í§ºØ¤¤Å¼ÙŒ¹Õé ¤ÇõÃÐ˹ѡ¶Ö§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÍѹÅÖ¡«Öé§ã¹Í´ÕµªÒµÔ áÅÐà¼ÂἋÊÑ·¸ÃÃÁ»Ø³±ÃÔ¡Êٵà ઋ¹à´ÕÂǡѺÍÒµÁÒ¹ÔªÔàÃç¹´ŒÇ (¸ÃÃÁ¹Ô¾¹¸Ë¹ŒÒ 903)1 1 ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 994
11 ในตอนต้นของธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ พระนิชิเร็นไดโชนิน กล่าวกับลูกศิษย์สตรีว่า การเกิดเปนมนุษย์นั้นแสนยาก แต่ท่าน (หมายถึงลูกศิษย์ที่ได้รับจดหมายนี้) ยังได้รับร่างกายที่เปนมนุษย์ ได้พบกับพุทธธรรมซึ่งยากจะได้พบ และยังได้เปน “ผูปฏิบัติไดโมขุ” ด้วย พระนิชิเร็นไดโชนินยืนยันว่าชีวิตที่สวดและเผยแผ่ธรรม มห ัศจรรย ์ได ้น ั ้น เป นผลสนองของการท ำาบ ุญถวายต ่อพระพ ุทธะ ทั้งหลายพันหมื่นล้านองค์ในอดีตอย่างแน่นอน จากนั้น พระนิชิเร็นไดโชนินกล่าวถึงเส้นทางชีวิตที่ ผ่านมาของตัวท่านเองในฐานะ “ผูปฏิบัติสัทธรรมปุณฑริกสูตร” ที่ข้ามพ้นการบีฑามากมายและมีชัยชนะมาได้ นอกจากนี้ ท่านได้ย้ำาเตือนกับลูกศิษย์สตรีว่า เนื่องจากเปนลูกศิษย์ที่มีความสัมพันธ์อันลึกซึ้งในอดีตชาติที่ข้ามพ้น การเกิดตาย จึงควรเผยแผ่ธรรมมหัศจรรย์ด้วยจิตใจแห่งอาจารย์กับ ศิษย์ไม่เปนสอง ซึ่งก็คือเนื้อหาในครั้งนี้ ระหว่างทางของการเผยแผ่ธรรมจะมีความยาก ล ำาบากเก ิดข ึ ้นอย ่างต ่อเน ื ่อง อาจถูกพาย ุแห ่งชะตากรรมพ ัดโหม กระหน่ำา อย่างไรก็ตาม ด้วยการตระหนักรู้ถึงภาระหน้าที่ของ โพธิสัตว์จากพื้นโลกและความสัมพันธ์อันลึกซึ้งในอดีตของอาจารย์ กับศิษย์ ปัญญาและพลังอันเทียบเท่าพระพุทธะจะปรากฏขึ้นมา พระนิชิเร็นไดโชนินกล่าวต่อไปว่า การที่ท่านทั้งหลาย ผู้เปนลูกศิษย์ได้ชื่อว่าเปนผู้ปฏิบัติสัทธรรมปุณฑริกสูตรนั้นเปน โชคชะตาอันขมขื่น
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ธรรมนิพนธ หากมองจากค่านิยมของสังคมแล้ว การได้รับความ ยากลำาบากเนื่องจากสัทธรรมปุณฑริกสูตรอาจเปนโชคร้ายหรือ เคราะห์ร้าย แต่เมื่อมองจากสายตาของพุทธธรรม ไม่มีสิ่งใดเปน เก ียรต ิเท ียบเท ่าการพากเพ ียรเผยแผ ่ธรรม ตามเจตนารมณ ์ของ พระนิชิเร็นไดโชนินในฐานะโพธิสัตว์จากพื้นโลก พวกเราผู้ที่เชื่อมตรงต่อประธานสมาคมโซคา 3 ท ่านแรกในการท ำาให ้การเผยแผ ่ธรรมไพศาลท ั ่วโลกอ ันเป นความ ปรารถนาของพระนิชิเร็นไดโชนินปรากฏเปนจริง ก็คือโพธิสัตว์จาก พื้นโลกที่ได้ให้คำามั่นสัญญาว่าอาจารย์กับศิษย์จะต่อสู้ร่วมกัน ขอให้รวมใจเปนหนึ่งเดียวกับอาจารย์ พลางอธิษฐาน อย่างเข้มแข็งว่า “ขอใหไดทำาภาระหนาที่ของตนในชาตินี้ใหบรรลุ ผลสำาเร็จ” และเดินหน้าเพื่อการเผยแผ่ธรรมต่อไป “เพ� อ 30 ป ขำงหนำ” ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1985 (ปโชวะที่ 60) อาจารย์ อิเคดะเดินทางมาที่อาคารวัฒนธรรมทามะ (ชื่อในสมัยนั้น) เมือง คาวาซากิ จังหวัดคานางาวะ แม้ในขณะนั้นอาจารย์มีสุขภาพไม่ค่อยดี แต่ท่านได้ กรุณาจับมือต้อนรับเพื่อนสมาชิกที่หน้าประตูทางเข้า และได้
13 สวดมนต์ร่วมกัน อาจารย์ได้กรุณาชี้นำาอย่างเข้มงวดและอบอุ่นแก่ดิฉัน (คุณมาริโกะ ฮาดะ) ซึ่งในเวลานั้นรับหน้าที่เปนหัวหน้าเลขาของฝ่าย ยุวชนหญิงคานางาวะว่า “เพ� อ 10 ป 20 ป 30 ปขางหนา ตอง ไม่ละเลยการปฏิบัติศรัทธาในแต่ละวัน” ดิฉันสลักท่าทีของอาจารย์ ที่ทุ่มเทชีวิตปกปองเพื่อน สมาชิกไว้ในจิตใจ และตั้งปณิธานว่า “จะดำาเนินชีวิตเพ� อตอบแทน บุญคุณไปตลอดชั่วชีวิต” หลังจากนั้น ดิฉันได้ต่อสู้อย่างไม่หวนเสียใจใน ภายหลังในฐานะหัวหน้ายุวชนหญิงของคานางาวะ แล้วย้ายเข้าฝ่าย ผู้ใหญ่หญิง เมื่อครั้งที่ดิฉันต่อสู้ท้าทายในการชักชวนแนะนำาธรรม ในฐานะหัวหน้าตำาบล (ฝายผู้ใหญหญิง) แม้จะพยายามสวดไดโมขุ และสนทนาทุกวัน แต่ก็แนะนำาธรรมไม่สำาเร็จ ดิฉันอธิษฐานอย่าง ถึงที่สุดว่า “ขอใหมีชัยชนะใหไดเพ� อที่จะรายงานอาจารย์” และ ไปเยี่ยมคุณน้าซึ่งอ่านหนังสือพิมพ์เซเคียว คุณน้าเปนผู้ศรัทธาเข้มแข็งในศาสนาอื่น ดิฉัน ตัดสินใจพูดกับท่านว่า “คุณน้าจะเข้าเปนสมาชิกของสมาคมไหม คะ” น่าประหลาดที่คุณน้าตอบว่า “ได้สิจะ” เมื่อถามเหตุผล คุณน้าเปดเผยว่า เปนเพราะเรื่องราว
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ธรรมนิพนธ ของเพื่อนที่ไว้วางใจที่สุดตีพิมพ์อยู่ในหนังสือพิมพ์เซเคียว และใน เวลาที่ท่านรู้สึกแย่ คนที่ส่งเสียงมาให้กำาลังใจเปนคนแรกสุดก็คือ ผู้ใหญ่หญิงของสมาคม จากนั้นก็กล่าวว่า “น้าอยู่มาได้เพราะได้รับ การปกปองจากผู้คนในสมาคม” เมื่อการเข้าเปนสมาชิกสมาคมโซคาของคุณน้า ซึ่ง เปนเรื่องที่สมาชิกในตำาบลอธิษฐานให้เรื่อยมาถูกกำาหนดเรียบร้อย ทำาให้ความปติยินดีแผ่ขยายไปทั่วสมาชิกในตำาบลจนแนะนำาธรรม ได้สำาเร็จคนแล้วคนเล่า หลังจากนั้น ทุกครั้งที่ดิฉันเผชิญความทุกข์ยาก จะ นึกถึงปณิธานในวัยยุวชนและอธิษฐานว่า “ฉันคือลูกหลานของ สมาคม จะเป็นคนขี้แพหรือ” จนสามารถข้ามพ้นไปได้ ต่อจากนี้ไปก็เช่นกัน ดิฉันจะเก็บความปติยินดีที่ สามารถต่อสู้ในแดนสวรรค์แห่งอาจารย์กับศิษย์ที่คานางาวะไว้ใน จิตใจ และโลดแล่นในการแผ่ขยายการเผยแผ่ธรรมจนถึงที่สุด ในวาระที่อาจารย์อิเคดะดำารงตำาแหน่งประธาน สมาคมโซคาครบ 60 ป ขอให้ตั้งปณิธานแห่งอาจารย์กับศิษย์ ครั้งใหม่ และแผ่ขยายสายลมแห่งความสุขไปสู่ท้องถิ่นและสังคม (บรรยายโดย คุณมาริโกะ ฮาดะ หัวหน้าเลขาฝายผู้ใหญหญิงรวมคานางาวะ)
15 คําชี้นํา ของอำจำรย์อิเคดะ สนทนาในใจกับอาจารยทุกวัน พวกเขา ได้ ตั้งใจ ทุ่มเท เพื่อ การ เผยแผ่ ธรรม ไพศาล ใหม่ อีกครั้ง และ กำาลัง เพียร พยายาม อย่างหนัก นี่ คือ ความหมาย ของ การ สนทนา ภายใน จิตใจ กับ อาจารย์ ใน ทุก ๆ วัน เหมือนกันกับผมและอาจารย์โทดะ ผมพูดคุยกับอาจารย์ โทดะภายใน จ ิตใจ ท ุก ว ัน ใน ขณะ ท ี ่ ต ่อสู ้ อาจารย ์ อยู ่ ใน จ ิตใจ ของ ผม ตลอด เวลา (จากบทประพันธ์ ปฏิวัติมนุษย์-ใหม เลมที่ 25 บท “ปราสาทแหงผู้มีความสามารถ”) เมื่อลูกศิษย์มีจิตใจลุกโชนว่า “จะตอบสนองอาจารย์แห่ง การเผยแผ่ธรรมไพศาล” ชีวิตราชสีห์ของอาจารย์จะเต้นเปนชีพจรอยู่ใน จิตใจของเรา กล่าวคือ หากยืนหยัดโดยตระหนักรู้เรื่องอาจารย์กับศิษย์ ไม่เปนสอง ชีวิตของตนเองตั้งแต่อดีตกาลอันยาวนานที่แบกรับภาระหน้าที่ อันยิ่งใหญ่แห่งการเผยแผ่ธรรมไพศาลร่วมกับอาจารย์ จะเต้นเปน
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ธรรมนิพนธ ชีพจรอยู่ในชีวิต ณ จุดนั้นพลังอันยิ่งใหญ่ที่สุดจะ เอ่อล้นออกมา (จากบทประพันธ์ ปฏิวัติมนุษย์-ใหม เลมที่ 26 บท “ก้าวหน้าอยางกล้าหาญ”) อธิบำยเพิ่มเติม ความสัมพันธในอดีตชาติ แห่งอำจำรย์กับศิษย์ ความส ัมพ ันธ ์ในอด ีตชาต ิ หมายถ ึง เหต ุและป ัจจ ัย สัมพันธ์ตั้งแต่อดีตกาล หากพิจารณาในมุมมอง “ทัศนะชีวิต 3 ชาติ” ที่เทศนาใน พุทธธรรม การที่ลูกศิษย์แต่ละคน ๆ ของพระนิชิเร็นไดโชนินผูกสัมพันธ์แห่ง อาจารย์กับศิษย์กับท่าน ไม่ได้เกิดจากสิ่งอื่นใดนอกจากความสัมพันธ์ตั้งแต่ อดีตชาตินั่นเอง พ ระนิชิเร็นไดโชนินกล่าวในธ ร รมนิพนธ์ฉบับนี้ว่า “ควรตระหนักถึงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งในอดีตชาติ และเผยแผ่ ‘ ’
17 สัทธรรมปุณฑริกสูตรเช่นเดียวกับอาตมานิชิเร็น ดวย” ท่านสอนลูกศิษย์สตรีว่า เธอได้ให้คำามั่นสัญญาในอดีตกาลว่า จะเผยแผ่ธรรม ขณะนี้จึงได้เผยแผ่ธรรมในฐานะที่เปนลูกศิษย์ ของท่าน และกระตุ้นให้ช่วยเหลือประชาชนเช่นเดียวกับอาจารย์ อาจารย์อิเคดะให้คำาชี้นำาไว้ว่า “การตระหนักรู้ถึงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งในอดีตชาติไม่ใช่ การจมอยู่แต่ในอดีต แต่เปนการปฏิบัติเช่นเดียวกับอาจารย์ ยืนหยัดอย่าง กล้าหาญในเวลานี้ สิ่งสำาคัญก็คือเวลา ณ ‘ขณะนี้’ ‘ขณะนี้’ จะทำา ‘อะไร’ ‘จะทุ่มเทอย่างจริงจังในการปฏิบัติที่เหมาะสมกับเวลา ณ ขณะนี้ไปพร้อมกับอาจารย์ได้หรือไม่’” คุณลักษณะที่แท้จริงของ “ความสัมพันธ์ในอดีตชาติ แห่งอาจารย์กับศิษย์” ก็คือการปฏิบัติที่มีลักษณะอาจารย์กับศิษย์ ไม่เปนสอง
ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ
19 ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ ดิฉันเข้าศรัทธาต้นป 2538 และได้รับโงะฮนซน ปลายป 2538 ประกอบอาชีพเปนช่างเสริมสวย มีลูกสาว 2 คน ลูกสาวคนโตช ่วยด ิฉ ันท ำางานท ี ่ร ้านเสร ิมสวย ส ่วนลูกสาวคนเล ็ก ทำางานบริษัทอยู่ที่กรุงเทพฯ ก ่อนเข ้าศร ัทธา ด ิฉ ันม ีส ุขภาพไม ่แข ็งแรง เป นลม บ่อย ๆ จึงได้รับการชักชวนแนะนำาธรรมจากสมาชิก ดิฉันเองอยาก มีความสุข ไม่อยากทุกข์อีกต่อไป จึงตัดสินใจเข้าศรัทธาและสมัคร เปนสมาชิกของสมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย เมื่อเข้าศรัทธา แล้วก็ตั้งใจศรัทธา ปฏิบัติ ศึกษา เข้าร่วมระบบการ ออกเยี่ยมสมาชิก และเผยแผ่ธรรม ทำาให้ดิฉันมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น และได้รับ ผลบุญอย่างมากมาย ปกติดิฉันสวดมนต์วันละ 2 ชั่วโมง แต่ในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (โควิด-19) และเมื่อ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2563 จังหวัดชุมพรมีจำานวนผู้ป่วยเพิ่มมาก ขึ้นถึง 21 คน ในช่วงเวลาที่ทุกคนสับสนและเปนทุกข์เรื่องสุขภาพ และเศรษฐกิจ พวกเราสมาชิกรวมภาคใต้ 6 ภูมิภาคใต้ตอนบนได้มี การสวดมนต์อธิษฐาน “เพ� อความสุขและชัยชนะต่อสถานการณ์ โควิด-19” ’ ‘
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ประสบการณ ความศรัทธาสูชัยชนะ ดิฉันได้ร่วมสวดมนต์กับภาควิสัยและภาคชุมพร ทุกวัน โดยอธิษฐานขอให้ตัวดิฉันสามารถสวดมนต์ได้มากขึ้น เริ่ม สวดมนต์วันแรกวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2563 ดิฉันสวดมนต์ได้ 3 ชั่วโมง และวันต่อมาสามารถสวดมนต์ได้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ บางวัน สวดมนต์ได้ถึง 7 ชั่วโมงก็มี เม ื ่อสวดมนต ์ได ้ถ ึงว ันท ี ่ 30 เมษายน พ.ศ. 2563 คุณแม่ของดิฉันมีอาการป่วยเปนลม เวียนศีรษะ และท้องเสีย ดิฉัน พาค ุณแม ่มาพบแพทย ์ท ี ่โรงพยาบาลช ุมพร แพทย ์ฉ ีดยาแก ้เว ียน ศีรษะให้ 1 เข็ม หลังจากนั้น 1 ชั่วโมงก็บอกให้พาคุณแม่กลับบ้าน เพราะโรงพยาบาลมีผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 อยู่หลายคน อาจทำาให้ ติดเชื้อได้ ดิฉันจึงรีบพาคุณแม่กลับบ้าน เมื่อถึงบ้านพอคุณแม่จะลง จากรถ ปรากฏว่าท่านเดินไม่ไหวเพราะขาอ่อนแรง เช้าวันรุ่งขึ้น คุณแม่ยังมีอาการไข้ ท้องเสีย และ ขาอ่อนแรงดิฉันจึงต้องพาท่านไปโรงพยาบาลอีกครั้ง และขอให้ คุณแม่รับการตรวจหาเชื้อไวรัสโควิด-19 โดยค่าใช้จ่ายในการตรวจ เพียง 100 บาท ผลตรวจคือ คุณแม่ไม่ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ส ่วนสาเหต ุท ี ่ค ุณแม ่เด ินไม ่ได ้ แพทย ์บอกว ่าเพราะ ท่านอายุ 90 ปแล้ว แนะนำาว่าให้ใช้วอล์คเกอร์เพื่อช่วยพยุงการเดิน ดิฉันพาคุณแม่กลับมาพักรักษาตัวที่บ้านเปนเวลา 12 วัน ระหว่างนั้น ดิฉันชวนคุณแม่สวดมนต์ทุกวัน จนกระทั่งวันที่ 13 ดิฉันได้ติดต่อขอ วอล ์คเกอร ์ช ่วยเด ินจากช ุมชนท ี ่ด ิฉ ันอาศ ัยอยู ่ นายกเทศมนตร ีได ้
21 นำาวอล์คเกอร์ช่วยเดินมาให้ที่บ้านบ่ายวันนั้นเลย ว ันต ่อมาค ุณแม ่ได ้กล ับไปอยู ่บ ้านสวนของท ่านเอง ซึ่งห่างจากบ้านของดิฉัน 18 กิโลเมตร ดิฉันยังคงไปดูแลท่าน ปรากฏว่าคุณแม่สามารถเดินและใช้ชีวิตได้เปนปกติ ยังหุงข้าวและ ทำากับข้าวได้เช่นเดิม ในระยะเวลา 2 เดือน ดิฉันไดโมขุได้ 960,000 คำา และส ่งเสร ิมก ำาล ังใจสมาช ิกออนไลน ์ โดยส ่งค ำาช ี ้น ำาของอาจารย ์ อ ิเคดะไปให ้ท ุกว ัน ผลบ ุญท ี ่ได ้ร ับค ือ 1) ค ุณแม ่เด ินได ้เป นปกต ิ 2) ลูกสาวคนเล็กไม่ตกงานและยังได้รับเงินเดือนเท่าเดิม 3) ช่วงที่ ร้านเสริมสวยต้องปดให้บริการตามนโยบายของรัฐบาล ทำาให้ไม่มี รายได้จากร้าน ลูกสาวคนเล็กก็ส่งเงินมาให้ 4) ได้รับเงินช่วยเหลือ จากรัฐบาล 5) ลูกสาวคนโตสวดมนต์ได้วันละ 1 ชั่วโมง สำาหรับข้อความธรรมนิพนธ์ที่ดิฉันสลักไว้ในจิตใจ เสมอคือ “ฤดูหนาวตองเปลี่ยนเป็นฤดูใบไมผลิอย่างแน่นอน” ดิฉันขอขอบคุณผู้นำาและสมาชิกที่ร่วมต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ในการ เผยแผ ่ธรรรมมาตลอด ขอบค ุณอาจารย ์อ ิเคดะท ี ่ท ำาให ้ด ิฉ ันได ้ร ับ ธรรมะและกำาลังใจไม่เคยหยุด ทำาให้ดิฉันสามารถปฏิวัติมนุษย์ใน ทุก ๆ วัน ดังคำาขวัญที่อาจารย์อิเคดะได้มอบแก่ภูมิภาคใต้ตอนบน ไว้ว่า “ดินแดนแห่งการปฏิวัติมนุษย์” สําเนาว์ วรกฤตินัย ฝายผู้ใหญหญิง ชุมพร
ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย์-ใหม่” โดย โฮ โงะคู บทความจากอาจารย์ไดซาขุ อิเคดะ
23 บทที่ 45) กำรเยือนประเทศสกอตแลนด์ ครั้งแรกของขาพเจา ดวยความภาคภูมิใจอันสัตยซ� อ ขาเยยหยันจุดจบของผูคนที่เห็นแกตัว รางวัลสุดโปรดของขา การยกยองสรรเสริญของหนึ่งมิตร นี่คือบทกลอนอันยอดเยี่ยมของโรเบิร์ต เบิร์นส์ (ค.ศ. 1759 - 1796 ) กวีชาวสกอต ผู้ซึ่งข้าพเจ้าในวัยยุวชนได้อ่าน บทกวีของเขาด้วยความชื่นชอบ เมื่อเร็ว ๆ นี้ (ค.ศ. 1999) ในกล่องจดหมายมีจดหมาย ที่น่ามหัศจรรย์ฉบับหนึ่งมาจากสกอตแลนด์ เปนจดหมายของ ดร. เจ ฟอร์บส์ มันโร ศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์และ ประวัติศาสตร์สังคม มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ และคุณซิลเวีย ภรรยา ของท่าน ในวันที่ 15 มิถุนายน จะครบ 5 ปนับตั้งแต่ข้าพเจ้า ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ดร. มันโรได้แนบรูปถ่ายในตอนนั้นเปนของที่ระลึกมาด้วย ข้าพเจ้า ‘ ’
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ทำาได้เพียงประนมมือด้วยความเคารพต่อมิตรภาพอันอบอุ่นที่ ไม่เปลี่ยนแปลงนี้ ดร. มันโรผู้ทำาหน้าที่เลขาธิการสภามหาวิทยาลัย ได้ กล่าวสุนทรพจน์ในพิธีอันทรงเกียรตินี้ด้วย ซึ่งท่านได้บรรยายถึง เหตุผลที่มหาวิทยาลัยมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แก่ ข้าพเจ้า พิธีนี้เปนประเพณีชั้นสูงสุดที่สืบทอดมายาวนาน ทางการศึกษาขั้นสูงของยุโรป ใน ค.ศ. 2001 จะมีการฉลองวาระ ครบ 550 ปของมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ ซึ่งถือว่าเปนสถาบันที่เก่าแก่ ที่สุดสถาบันหนึ่งที่ควรค่าแก่การเคารพยกย่องอย่างแท้จริง หอประชุมที่จัดพิธีสว่างไสวด้วยแสงนุ่ม ๆ ที่ส่องผ่าน เข้ามาทางหน้าต่างกระจกสี บรรยากาศอันเคร่งขรึมปกคลุมทั่วห้อง คทาสีเงินที่ถือนำาหัวขบวนพิธีเข้าสู่หอประชุมคือสัญลักษณ์แห่ง เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาตั้งแต่ศตวรรษ ที่ 15 ผู้ที่ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แต่ละท่าน ได ้น ั ่งตามล ำาด ับบนเก ้าอ ี ้ห ินส ีด ำาท ี ่ม ีนา ิกาทรายต ิดอยู ่ ข ้าพเจ ้า ได้ยินมาว่า นาิกาทรายเหล่านี้ใช้กันมาแต่ดั้งเดิมในการจับเวลา ระหว่างการสอบเพื่อวัดระดับทางวิชาการ
25 บัลลังก์แห่งการเรียนรู้ที่อุทิศแก่การค้นหาความจริงที่ ไม่สิ้นสุดจะต้องพบกับความยากลำาบากอันเปนความจริงที่เข้มงวด อย่างแน่นอน พระราชวังแห่งการศึกษาที่ธำารงความเปนอิสระอย่าง สมบูรณ์ทางจิตวิญญาณจะต้องศักดิ์สิทธิ์และน่ายำาเกรง มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ท่วมท้นไปด้วยผู้บุกเบิกทาง จิตวิญญาณแห่งปัญญา ที่นำาพาไปสู่เส้นทางในการพัฒนาของ มนุษยชาติเสมอ ปลายศตวรรษที่ 18 ณ ปอมปราการแห่งการเรียนรู้ แบบประยุกต์ที่เต็มไปด้วยเรื่องราวที่น่าสนใจน่าค้นหาแห่งนี้ได้ ให้การสนับสนุนนักประดิษฐ์ เจมส์ วัตต์ (ค.ศ. 1736 - 1819) อดัม สมิท (ค.ศ. 1723 - 1790) บิดาแห่งทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แบบ คลาสสิก (ชั้นสูง) และเปนสมาชิกของมหาวิทยาลัย เคยไปเยี่ยมห้อง ทำางานของวัตต์อยู่เปนประจำา เพื่อให้กำาลังใจในความเพียรพยายาม ของเขา ไม่จำาเปนต้องกล่าวเลยว่า วัตต์ได้ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำา ซ ึ ่งน ำาไปสู ่การปฏ ิว ัต ิอ ุตสาหกรรมท ี ่เปล ี ่ยนโลกท ั ้งใบของเราอย ่าง สิ้นเชิง ยังเปนที่รู้กันอีกว่า มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ได้ ครอบครองผลงานช ุดใหญ ่ท ี ่ส ุดในโลกของจ ิตรกรชาวอเมร ิก ันใน ศตวรรษที่ 19 เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์ (ค.ศ. 1834 - 1903) ขณะนั้น วิสต์เลอร์ยังไม่เปนที่รู้จัก ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยสกอตแลนด์
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ท่านหนึ่งยอมรับความสำาเร็จทางศิลปะของเขา และส่งเสริม สนับสนุนภาพเขียนของเขา เพื่อเปนการแสดงถึงความกตัญู วิสต์เลอร์จึงมอบผลงานจำานวนมากของเขาแก่มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ยังมีคุณูปการอย่างใหญ่หลวง ต่อการศึกษาของญี่ปุ่นในกลางศตวรรษที่ 19 โดยการแบ่งปันแสง แห่งการเรียนรู้อย่างเหลือเฟอแก่การเปดประเทศญี่ปุ่นเข้าสู่โลก ยุคใหม่ ในทุก ๆ การกระทำาเหล่านี้ เราเห็นได้ว่ามหาวิทยาลัย ไม ่เพ ียงเฝ ามองดูอย ่างเง ียบ ๆ ต ่อผู ้ท ี ่ก ำาล ังพยายามค ้นคว ้าหา หนทางหรือวิธีการใหม่ ๆ และอาจถูกโจมตีอย่างไม่เปนธรรมจาก ฝ่ายตรงข้ามหรืออาจถูกกลั่นแกล้งได้ แน่นอนว่า เพราะงานของ พวกเขาช่างยากเย็นแสนเข็ญ ทางมหาวิทยาลัยจึงยื่นมือช่วยเหลือ ให้การสนับสนุน ให้กำาลังใจ และต่อสู้เคียงข้างพวกเขา นี่คือปัญญา แห่งมนุษยนิยมที่แท้จริง การปกปองผู้คนทั้งหลายที่ทำางานเพื่อความจริงและ ความเที่ยงธรรมไว้อย่างมั่นคง ก็คือจิตวิญญาณของโซคาด้วย เช่นกัน ดร. มันโรในชุดครุยสีน้ำาเงินยืนอยู่บนแท่นปราศรัย และกล่าวอย่างมั่นใจด้วยโทนเสียงนุ่ม ๆ กำาลังดีของนักแสดงชั้นเยี่ยม
27 เสียงที่กล่าวคำาว่า “โซคางักไก” และ “โจเซอิ โทดะ” ดังขึ้นมาอย่าง ทรงพลังครั้งแล้วครั้งเล่า เสียงแห่งความภูมิใจนั้นได้ดังก้องสะท้อน อยู่ในส่วนลึกของหัวใจของข้าพเจ้า ที่ซึ่งเสียงเหล่านี้จะ ไม่มีวันจางหายไป ดร. มันโรกล่าวจบคำาปราศรัยด้วยบทกลอนของ ข้าพเจ้า ที่ว่า ดุจดังน้ําตก ที่ดุดัน ดุจดังน้ําตก ไมออนแรง ดุจดังน้ําตก ไมหวั่นกลัว ดุจดังน้ําตก อยางราเริง ดุจดังน้ําตก อยางภาคภูมิ บุรุษควรมีทีทาเยี่ยงราชัน ข้าพเจ้าเขียนกลอนบทนี้ตอนที่ไปชมน้ำาตกที่โออิราเสะ ในจังหวัดอาโอโมริ ประเทศญี่ปุ่น 2 เดือนหลังการได้รับปริญญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ ข้าพเจ้าได้ไป เยือนอาโอโมริเปนครั้งแรกในช่วง 15 ป และร่วมแบ่งปันเกียรติยศนี้ กับมิตรสหายผู้เปนที่รักทุกคนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศญี่ปุ่น ที่รู้จักกันว่า โทโฮขุ กลาสโกว์เปนเมืองทางทิศเหนือ ตั้งอยู่ที่ละติจูด ‘ ’
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” 55 องศา วันที่เราเดินทางถึงสกอตแลนด์ ล็อกโลมันด์ (ทะเลสาบ โลมันด์) ส่องประกายเจิดจ้าท่ามกลางแสงแดด ทว่าในวันพิธีกลับมี ลมหนาวพัดมาแบบไม่คาดคิดในเดือนมิถุนายน อากาศเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ภรรยาของข้าพเจ้ากล่าวกับเพื่อนคนหนึ่งว่า 4 วันที่อยู่ ที่นั่นพวกเราได้สัมผัสทั้ง 4 ฤดู ในฤดูหนาว กลาสโกว์จะเริ่มมืดตั้งแต่ 15.00 น. และ เวลา 16.00 น. พระอาทิตย์จะลับขอบฟา ในตอนเช้า 9.00 น. ฟา ยังไม่สว่างมากนัก นี่จึงเปนฤดูแห่งความอดทน โดยเฉพาะนักศึกษา แลกเปลี่ยนจากมหาวิทยาลัยโซคาที่ศึกษาอยู่ที่นั่น สิ่งที่ทำาให้ นักศึกษาเหล่านั้นข้ามผ่านวันที่มืดมิดและกลางคืนอันยาวนานมา ได้ ก็คือความอบอุ่นและมิตรภาพจากดร. มันโรและภรรยาของท่าน อีกทั้งยังมีการสนับสนุนอันอบอุ่นของสมาชิกเอสจีไอในท้องถิ่นที่ ดูแลเอาใจใส่ราวกับคุณพ่อคุณแม่แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยโซคา ด้วย จวบจนปัจจุบัน นักศึกษามหาวิทยาลัยโซคากว่า 227 คนได้ศึกษาที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้ รวมทั้งผู้ที่เคยไปกลาสโกว์เพื่อ ศึกษาในระยะสั้นด้วย ต่างสร้างความทรงจำาต่อการทำางานหนักและ การพัฒนาตนเองอย่างน่าชื่นชมซึ่งจะดำารงอยู่ตลอดชั่วชีวิตของ พวกเขา เมื่อวันก่อน นักศึกษาแลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัย กลาสโกว์ทั้งในอดีตและปัจจุบันได้ส่งรายงานที่น่าปลื้มใจที่สุด เกี่ยวกับกิจกรรมที่พวกเขาทำาในปัจจุบันมาให้ข้าพเจ้า พวกเขากำาลัง
29 ท้าทายตนเองอย่างเอาจริงเอาจังในความบากบั่นของตน “กลาสโกว์” เป นค ำามาจากภาษาเคลต ์ หมายถ ึง “หุบเขาสีเขียว” ระหว่างการไปเยือน ข้าพเจ้าได้ถ่ายรูปที่ระลึกกับ คุณริชาร์ด คอสตัน ผู้อำานวยการเอสจีไอ-สหราชอาณาจักรที่เพิ่ง ล่วงลับไป และสมาชิกครอบครัวเอสจีไอในสกอตแลนด์ที่สวน พฤกษศาสตร์ในกลาสโกว์ รายล้อมไปด้วยความเขียวของใบไม้ แรกผลิ ข้าพเจ้ามีความทรงจำาอันดีงามกับพวกเขาทุกคน และ ทะนุถนอมรูปถ่ายนั้นไว้จวบจนทุกวันนี้ โดยการนำาของคุณริชาร์ด พอร์เตียส หัวหน้าภาค สกอตแลนด ์ และค ุณอาเคม ิ พอร ์เต ียส ห ัวหน ้าฝ ่ายผู ้ใหญ ่หญ ิง ทำาให้ความผูกพันอันยิ่งใหญ่ของสมาชิกทั้งหลายที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของจิตวิญญาณแห่ง “ต่างกายใจเดียว” (อิไทโดชิน) ปัจจุบันยิ่ง แผ่ขยายออกไปทั่วสกอตแลนด์โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองกลาสโกว์ เอดินเบอระ อะเบอดีน และใจกลางของสกอตแลนด์ ด้วยความปรารถนาว่าสักวันหนึ่งจะต้อนรับข้าพเจ้า กับภรรยาที่ประเทศสกอตแลนด์ให้ได้ สามีภรรยาพอร์เตียสได้จัด สวดไดโมขุสัปดาห์ละครั้งที่บ้านของเขาเปนเวลา 10 ป ต่อเนื่อง มากกว่า 500 ครั้ง จนกระทั่งการเยือนของข้าพเจ้าสำาเร็จเปนจริง ในธรรมนิพนธ์ พระนิชิเร็นไดโชนินกล่าวไว้ว่า “เม� อ เขาสู่สมัยธรรมปลายแลว ไดโมขุที่อาตมานิชิเร็นสวดในขณะนี้
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 33 09-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ต่างจากยุคสมัยก่อน เป็นนัมเมียวโฮเร็งเงเคียวที่มีพรอมทั้ง การปฏิบัติเพ� อตนเองและการปฏิบัติเพ� อผูอ� น” (ธรรมนิพนธ์ฉบับ ภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 986) ชีวิตที่ได้สวดไดโมขุและทำางานเพื่อ การเผยแผ่ธรรมไพศาลร่วมกัน ด้วยการชุมนุมกันอย่างกลมเกลียว ในหมู่ผู้ปฏิบัติศรัทธา จะสร้างจังหวะแห่งความสำาเร็จ ความสุข และ ชัยชนะที่เจริญเติบโตอย่างแข็งแกร่งและกระฉับกระเฉงยิ่งขึ้นทุกป ส่วนผู้ที่ปฏิบัติพุทธธรรมแต่เพียงลำาพังจะมีชีวิตที่เศร้าสร้อย หงอยเหงา ปราศจากความปติยินดีและความพึงพอใจ เซอร์วิลเลียม วอลเลส (ค.ศ. 1270 - 1305) วีรบุรุษ ผู้ยิ่งใหญ่เกรียงไกรของชาวสกอตผู้ลุกขึ้นต่อสู้กับผู้ปกครองบ้านเมือง ที่กดขี่ข่มเหง มาจากภูมิภาคที่ในปัจจุบันคือกลาสโกว์ตะวันตก ในท้ายที่สุดเขาถูกหักหลัง ถูกจับเข้าคุก และถูกทารุณกรรมอย่าง โหดร้าย ทว่าจิตวิญญาณการต่อสู้อย่างดุเดือดของเขายังคงอยู่และ สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ชาวสกอต ผู้ซึ่งในที่สุดก็ได้ปลดแอกจาก การปกครองของอังกฤษ ตำาราเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่แต่งโดยผู้นำา ขบวนการต่อต้าน ได้ถูกนำามาอ้างอิงโดยนักเขียนฉบับร่าง คำาประกาศเอกราชของชาวอเมริกันด้วย ความกล้าหาญเปดเส้นทางสู่ทุกสิ่งอย่าง ประชาชนของสกอตแลนด์ได้อดทนและมีชัยชนะ เหนือสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและประวัติศาสตร์ที่โหดร้าย