á´‹à¾×è͹ æ ¢Í§¢ŒÒ¾à¨ŒÒ จาก ไดซาขุ อิเคดะ ÍÕ¡ 50 »‚¢ŒÒ§Ë¹ŒÒ ¤×ͪ‹Ç§àÇÅҢͧÂØǪ¹ ´ŒÇ¡ÒõÃÐ˹ѡÃÙŒÇ‹Ò ·Ø¡·‹Ò¹ÅŒÇ¹à»š¹¼ÙŒ¹íÒ ·ÕèÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒöáÅÐÂÔè§ãËÞ‹ ·Ø¡·‹Ò¹¨§Â×¹ËÂÑ´¢Öé¹ÁÒ ÃѺ¼Ô´ªÍºË¹ŒÒ·Õèà¾×èͻǧª¹ (จากเอสจีไอกราฟก ฉบับเดือนมกราคม ค.ศ. 2005)
สมำคมสรำงคุณค่ำในประเทศไทย email: [email protected] www.sgt.or.th บรรณาธิการ นวรัตน ชิโนมี กองบรรณาธิการ เรืองระวี ไชยพูนพัฒน พัชรี โพธิพัฒนธนากร ณัฐพร งามสิริกุล ภาษาญี่ปุน เพียงตา หลิมไชยกุล อนงคนาถ มโนจุรีหกุล อาคิโกะ โฮโซดะ โยโกะ โอดะ สมพร เจนจารุพันธุกุล ภาษาอังกฤษ หทัยรัตน แซ่จึง ศศมน โพธิพัฒนธนากร ทิพยสุดา บุนฑารักษ ออกแบบสรางสรรค์ กุลลดา อัศวฉัตรโรจน พิสูจน์อักษร วรรณี สถาพรพิชญ ผูจัดการ ณรินทร ลัทธยาพร สงวนลิขสิทธิ์ โดยสมาคมสรางคุณค่าในประเทศไทย ISSN 2586-8675
สารบัญ บทบรรณำธิกำรของอำจำรย์อิเคดะ ความทุ่มเทที่เด็ดเดี่ยวของโพธิสัตวจากพื้นโลก 5 ธรรมนิพนธ์ ความสูงส่งของธรรมะ 11 ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ 21 ควำมคิดค�ำนึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” บทที่ 43) พีระมิดมนุษย 6 ชั้นที่ไม่อาจทําลายได 25 บทสนทนำเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เล่ม 3) บทที่ 2) คุณแม่ไม่พ่ายแพต่อสิ่งใด (ต่อ) 35 โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับศาสนาแห่งมนุษยนิยม บทที่ 3) การก่อตั้งคําสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน : 47 รุ่งอรุณแห่งศาสนาเพ� อมวลมนุษยชาติ 123456
บทบรรณำธิกำรของ อำจำรย์อิเคดะ (ในวารสารไดเบียะขุเร็งเงะ)
5 ความทุมเทที่เด็ดเดี่ยวของ โพธิสัตว์จำกพื้นโลก มิถุนายนเป็นเดือนเกิดของอาจารย์จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ ประธานผู้ก่อตั้งสมาคมโซคา นับเป็นความบังเอิญอย่างน่า อัศจรรย์ที่ท่านเกิดเมื่อ ค.ศ. 1871 ที่จังหวัดนิอิงาตะ ประเทศญี่ปุน โดยเป็นเวลา 600 ปพอดี หลังจากพระนิชิเร็นไดโชนินถูกเนรเทศไป ที่เกาะซาโดะ ซึ่งปจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนิอิงาตะ ใน “ธรรมนิพนธ์เร� องการปรากฏตามคำาพยากรณ์ ของพระพุทธะ” ที่เขียนที่เกาะซาโดะ พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนว่า “อาตมาประสบกับความยากลำาบากวันแล้ววันเล่า เดือนแล้ว เดือนเล่า เมื่อ 2 - 3 ปที่แล้ว ในท่ามกลางเรื่องอื่น ๆ อาตมาเกือบจะ ถูกประหารชีวิต มีโอกาสหนึ่งในหมื่นที่จะรอดปนั้นหรือกระทั่ง เดือนนั้นมาได้” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 402) ภายใต ้สถานการณ ์อ ันโหดร ้ายส ุดจะพรรณนาของการถูกเนรเทศ นี่เอง ที่พระนิชิเร็นไดโชนินได้พยากรณ์อย่างห้าวหาญว่า ในอนาคต พุทธธรรมแห่งดวงอาทิตย์จะส่องแสงแก่ทั่วโลก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสายเลือดแห่ง ‘ ’
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ คำาสอนที่ถูกต้องของพุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนิน จวนเจียนจะ ด ับสูญ อาจารย ์มาค ิง ุจ ิอ ุท ิศช ีว ิตของท ่านด ้วยความเส ียสละเพ ื ่อ เผยแผ่ธรรมมหัศจรรย์ โดยยึดคำามั่นสัญญาในฐานะโพธิสัตว์จาก พื้นโลกเป็นรากฐาน อาจารย์มาคิงุจิซึ่งถูกจำาคุก เนื่องจากความเชื่อศรัทธา ได ้ประกาศในจดหมายท ี ่ท ่านเข ียนข ึ ้นในเวลาน ั ้นว ่า “ความยาก ลำาบากที่ผมเผชิญอยู่ในเวลานี้ เทียบไม่ได้กับความยากลำาบาก ที่พระนิชิเร็นไดโชนินต้องทนประสบบนเกาะซาโดะ”1 “หัวใจราชสีห์” ที่ไม่พ่ายแพ้ ที่อาจารย์มาคิงุจิแสดง ให้เห็น โดยยอมเสี่ยงชีวิตของท่านพร้อมกับพระนิชิเร็นไดโชนินอยู่ ในใจเสมอ คือจุดเริ่มต้นชั่วนิรันดร์ของเจตนารมณ์แห่งอาจารย์กับ ศิษย์ในสมาคมโซคา บนเส้นทางชีวิตของเราและการเผยแผ่ธรรมไพศาล อาจมีช่วงเวลาที่จำาต้องอยู่ในสถานการณ์ของความไม่แน่นอนที่ทั้ง ยากลำาบากและท้าทาย แต่เมื่อคิดถึงอาจารย์มาคิงุจิ ผู้เสียชีวิตเพื่อ 1 แปลจากภาษาญี่ปุน จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ, มาคิงุจิ จึเนะซาบุโร เซ็นชู (รวบรวมงานเขียนของอาจารย์จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ) เลม 10 (กรุงโตเกียว : สํานักพิมพ์ไดซันบุนเม ค.ศ. 1987) หน้า 282
7 ความเชื่อศรัทธาและความเพียรอุทิศตน จนวาระสุดท้ายเพื่อเผยแผ่ คำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน ขณะที่อดทนต่อการบีฑาธรรมแล้ว ก็ไม่มีเหตุอันใดให้เราต้องรู้สึกกลัดกลุ้มหรือกระวนกระวาย อาจารย์โจเซอิ โทดะ ประธานสมาคมโซคา ท่านที่ 2 อาจารย์ผู้มีพระคุณและข้าพเจ้าก็มีความทุ่มเทที่เด็ดเดี่ยว เช่นเดียวกันนั้น พระนิชิเร็นไดโชนินสอนพวกเราว่า “เมื่อปฏิบัติ ส ัทธรรมป ุณฑร ิกสูตร [ในสม ัยธรรมปลาย] ความยากล ำาบากจะ ปรากฏขึ้นมา และสิ่งเหล่านี้ให้ถือว่าคือ ‘การปฏิบัติที่สงบสุข’” (บันทึกคําสอนปากเปลา ฉบับภาษาอังกฤษ หน้า 115) เมื่อพวกเรา สวดนัมเมียวโฮเร็งเงเคียว และลงมือดำาเนินการเพื่อเอาชนะความ ยากลำาบากที่ประสบอยู่ พวกเรากำาลังปฏิบัติพุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนินอย่างแท้จริง และสั่งสมบุญวาสนาที่ยิ่งใหญ่ พระนิชิเร็นไดโชนินยังเขียนว่า “ถ้าชาตินี้ประสบกับ ความท ุกข ์แสนสาห ัส [เน ื ่องจากศร ัทธาต ่อส ัทธรรมป ุณฑร ิกสูตร] ความทุกข์ของนรกจะอันตรธานไปทันที” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษา อังกฤษ เลม 1 หน้า 199) ตามหลักธรรมของ “การผอนกรรมหนัก ใหไดรับโดยเบา” พวกเราจะบรรลุสภาพชีวิตโลกพุทธะที่มิอาจ ทำาลายได้ อีกทั้งมอบความหวังและความกล้าหาญแก่ผู้คนรอบกาย ได้
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทบรรณาธิการของอาจารยอิเคดะ ขณะที่มนุษยชาติร่วมแรงร่วมใจกันเผชิญเรื่องท้าทาย ที่ยากลำาบากในเวลานี้ ช่างน่าอุ่นใจยิ่งที่มีเครือข่ายยุวพลเมืองโลก ของโซคา ผู้เจิดจรัสด้วยใจที่ยึดมั่นในหลักพุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนิน ที่ให้ความสำาคัญต่อชีวิตและมีปญญาในการ เปลี่ยนพิษเป็นยา เสียงยุวชนของพวกเราที่เปล่งออกมาในบทเพลง ประสานทั้งโลกเข้าด้วยกัน ช่างสร้างแรงบันดาลใจและทำาให้จิตใจ เบิกบานได้อย่างแท้จริง สมาชิกในประเทศอินเดียกำาลังขับขานอย่าง ภาคภูมิใจว่า à¸ÍáÅЩѹËÇÁ¡Ñ¹ äÁ‹¾‹ÒÂᾌµÅÍ´¡ÒÅ µŒÍ§à»š¹àÇÅÒ¹Õéà·‹Ò¹Ñé¹ äÁ‹¾‹ÒÂᾌµÅÍ´¡ÒÅ2 ขอให้เทือกเขากว้างใหญ่แห่งโพธิสัตว์จากพื้นโลกผู้มี ความสามารถซึ่งสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์มาคิงุจิ จงสาดแสง โชติช่วงของเหล่าลูกศิษย์ที่กำาลังกลายเป็น “สีครามเขมกวาคราม” 2 จากเนื้อเพลงในเพลงใหมของสมาคมโซคาภารตะ (บีเอสจี) ชื่อเพลง “ไมพายแพ้ตลอดกาล”
9 ÀÙ¼Ò Íѹà¡ÃÕ§ä¡Ã µÑ駵ÃÐ˧‹Ò¹äÁ‹ÊÑ蹤Å͹ ¨Ò¡¾ÒÂØ äÃŒ¤ÇÒÁ¡ÅÑ´¡ÅØŒÁËÃ×ÍËÇÑè¹äËÇ ¨§ÊÌҧÊÒÂÃØŒ§§ÒÁáË‹§ªÑª¹Ð (จากบทบรรณาธิการ วารสารไดเบียะขุเร็งเงะ ฉบับเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2020)
ธรรมนิพนธ์
11 ธรรมนิพนธเร� อง ควำมสูงส่งของธรรมะ ความเปนมา ธรรมนิพนธ์ฉบับนี้เป็นจดหมายที่พระนิชิเร็น ไดโชนินเขียนที่เขามิโนบุใน ค.ศ. 1275 (ปเคนจิที่ 1) เพื่อมอบแก่ ลูกศิษย์ผู้เป็นมารดาของเด็กหญิงที่ชื่อ “โอโตะ” ซึ่งอาศัยอยู่ที่เมือง คามาคูระ มารดาของเด็กหญิงโอโตะแยกทางกับสามี และเลี้ยง ‘ ’ สี¤ÃÒÁÁÒ¨Ò¡¤ÃÒÁ ᵋàÁ×èÍÂŒÍÁ«éíÒ æ ¨Ð ÁÕÊÕࢌÁ¡Ç‹ÒµŒ¹¤ÃÒÁ ÊÑ·¸ÃÃÁ»Ø³±ÃÔ¡ÊÙµÃÂѧ¤§à´ÔÁ ᵋËÒ¡ºÑ§à¡Ô´¤ÇÒÁµÑé§ã¨·ÕèࢌÁá¢ç§ÂÔè§ æ ¢Öé¹Í‹ҧµ‹Í à¹×èͧ Êբͧ·‹Ò¹¨Ð´Õ¡Ç‹Ò¼ÙŒÍ×è¹ áÅШÐä´ŒÃѺºØÞ¡ØÈÅ ÁÒ¡¡Ç‹Ò¼ÙŒÍ×è¹ (¸ÃÃÁ¹Ô¾¹¸Ë¹ŒÒ 1221)1 1 ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 615
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ ดูบุตรสาวเพียงลำาพัง พร้อมกับปฏิบัติศรัทธาอย่างบริสุทธิ์มาโดย ตลอด หลังจากที่พระนิชิเร็นไดโชนินถูกเนรเทศไปเกาะ ซาโดะ บรรดาลูกศิษย์ที่คามาคูระถูกกดขี่มากขึ้นด้วย และมีจำานวน มากถอยศรัทธาไป ท่ามกลางสภาวะเช่นนั้น มารดาของเด็กหญิง โอโตะย ังม ีจ ิตใจใฝ หาธรรม พาบ ุตรสาวไปเย ี ่ยมเย ียนพระน ิช ิเร ็น ไดโชนินถึงเกาะซาโดะ และศรัทธาอย่างเข้มแข็งจนถึงที่สุด พระ นิชิเร็นไดโชนินจึงยกย่องจิตใจดังกล่าว และขนานนามเธอด้วยชื่อ ที่สูงส่งที่สุดว่า “นิชิเมียวโชนิน” (อริยบุคคลนิชิเมียว) ใน ค.ศ. 1274 (ปบุนเอที่ 11) ซึ่งพระนิชิเร็นไดโชนิน ได้เข้าพำานักที่เขามิโนบุแล้ว ภัยพิบัติจากการรุกรานของต่างชาติได้ เกิดขึ้นจริง โดยมองโกลรุกรานประเทศญี่ปุน (การรุกรานสมัยบุนเอ) ท่ามกลางสังคมที่สับสนวุ่นวาย ผู้คนหวาดกลัวว่า มองโกลจะกลับมารุกรานอีกครั้ง ทว่ามารดาของเด็กหญิงโอโตะยัง ไปเย ี ่ยมเย ียนพระน ิช ิเร ็นไดโชน ินถ ึงเขาม ิโนบ ุ ด ้วยหน ึ ่งขณะจ ิตท ี ่ ใฝหาธรรมอย่างไม่เปลี่ยนแปลง ในธรรมนิพนธ์ฉบับนี้ พระนิชิเร็นไดโชนินยกย่องความ ศรัทธาที่มุ่งมั่นของมารดาของเด็กหญิงโอโตะ ท่านได้ให้สัญญาว่า เทพธรรมบาลจะปกปองคุ้มครอง โดยกล่าวว่า “ตราบใดที่ธำารง ความศรัทธาใหมั่นคงแลว ยอมไดรับการปกปองอยางเต็มที่จาก
13 เทวดาแนนอน” (ธรรมนิพนธ์หน้า 1220)2 นอกจากนี้ ท่านยังกระตุ้น มารดาของเด็กหญิงโอโตะ ให้บากบั่นศรัทธาอย่างเข้มแข็งมากกว่า ปจจุบันอีกขั้นหนึ่ง เพราะแม้จะเป็นสัทธรรมปุณฑริกสูตรเหมือนกัน แต่หากเพิ่มพูนความตั้งใจมากยิ่งขึ้น บุญกุศลก็จะมากกว่าผู้อื่นด้วย และนี่ก็คือข้อความที่ศึกษากันในครั้งนี้ พ ระนิชิเร็นไดโชนินได้สอนความสำาคัญขอ ง “ความตั้งใจ” ในการหมั่นเพียรปฏิบัติศรัทธา โดยยกตัวอย่าง น้ำาแข็งและสีครามเข้มกว่าคราม เมื่อนำาน้ำาไปแช่เย็น จะได้น้ำาแข็งที่ ม ีความเย ็นมากกว ่าน ้ ำา เม ื ่อน ำาส ีท ี ่ค ั ้นจากต ้นครามมาย ้อมผ ้าซ ้ ำา หลาย ๆ ครั้ง ก็จะได้สีครามเข้มสดยิ่งขึ้น ท่านยกตัวอย่างเหล่านี้ เพื่อชี้ถึงความหมายสำาคัญของการทำาให้ความศรัทธาลึกซึ้งมากขึ้น ยิ่งเราหมั่นเพียรปฏิบัติศรัทธา ก็จะเป็นดังที่พระนิชิเร็น ไดโชนินกล่าวว่า “สีของทานจะดีกวาผูอ� น และจะไดรับบุญกุศล มากกวาผูอ� น” กล่าวคือ พลังและประกายสดใสในร่างกายจะเพิ่ม มากขึ้น สามารถแสดงข้อพิสูจน์ทางความเป็นจริงของบุญกุศลอย่าง ชัดเจน หนทางของการบรรลุพุทธภาวะในชั่วชีวิตนี้และการ เผยแผ่ธรรมไพศาล เป็นการต่อสู้อย่างต่อเนื่องไม่หยุดหย่อนระหว่าง 3 ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 614
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ พระพุทธะกับมาร หากปลุกเร้าจิตใจแห่งปณิธานมิให้ย่อหย่อน และ สามารถเดินหน้าต่อไปไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น ย่อมได้รับการปกปอง คุ้มครองอย่างเข้มแข็ง และสามารถสร้างสภาพชีวิตแห่งความสุขที่ ไม่มีวันพังทลาย ในช่วงเริ่มต้นปนี้ อาจารย์อิเคดะเรียกร้องว่า “มาเถิด บัดนี้ มาอธิษฐานกันอีกครั้ง เรียกผู้มีความ สามารถจากพื้นโลกให้ปรากฏขึ้นมาจากผืนแผ่นดินใหญ่แห่ง ปณิธาน พลางก้าวหน้าด้วยความปติยินดีในการปฏิวัติมนุษย์ ก ้าวหน ้าด ้วยความกล ้าหาญในการก ่อต ั ้งค ำาสอนท ี ่ถูกต ้องเพ ื ่อให ้ ประเทศเกิดสันติ และเริ่มต้นเดินหน้าเพื่อความหวังและชัยชนะใน การเผยแผ่ธรรมไพศาล” ขอให้ภาคภูมิใจที่เป็นลูกศิษย์ของอาจารย์อิเคดะ ท้าทายในการแผ่ขยายการเผยแผ่ธรรม ข้ามพ้นทุกความยากลำาบาก และทำาให้ชัยชนะปรากฏให้ได้ “พยายามเขานะ” เมื่อครั้งที่ดิฉัน (คุณโยโกะ ทานากะ) ทำากิจกรรมใน ฐานะหัวหน้ารวมจังหวัดโอซาก้าฝายผู้ใหญ่หญิงอยู่นั้น คุณพ่อปวย เป็นโรคภาวะสมองเสื่อม (Alzheimer-type dementia) และคุณแม่ก็
15 ตรวจพบว่ามีเนื้องอกในสมอง (Brain tumor) ทุก ๆ วันดิฉันจึงวุ่นอยู่ กับการดูแลและพยาบาลท่านทั้งสอง นอกจากนี้ ตัวดิฉันเองยังมี อาการหูดับเฉียบพลัน (Sudden Deafness) เวียนศีรษะถึงขนาดที่ไม่ สามารถยืนได้ ขณะที่สวดไดโมขุทั้งที่ทุกข์ทรมาน ดิฉันพลันนึกขึ้น ได้ถึงเหตุการณ์ที่ได้พบกับอาจารย์อิเคดะใน ค.ศ. 1980 (ปโชวะที่ 55) อาจารย์ผู้เป็นแนวหน้าในการต่อสู้รุกกลับของคันไซ กล่าวว่า “ดูแล คุณแม่ให้ดีนะ พยายามเข้านะ” ดิฉันตั้งใจแน่วแน่แล้วว่า “จะ ต ิดตามอาจารย ์ไปตลอดช ีว ิต และด ำาเน ินช ีว ิตท ี ่ไม ่พ ่ายแพ ้อย ่าง เข้มแข็งจนถึงที่สุด” ดิฉันนึกถึงคำามั่นสัญญาที่ให้ไว้กับอาจารย์ในวันนั้น จึงตั้งใจว่าเวลานี้นี่เองจะต้องชนะให้ได้ พ่ายแพ้สถานการณ์ที่ ทุกข์ยากไม่ได้เด็ดขาด และอธิษฐานอย่างเข้มแข็งจนถึงที่สุด อีกทั้ง ได้รับกำาลังใจอย่างอบอุ่นจากเพื่อนสมาชิก จึงเผชิญหน้ากับความ ทุกข์ยากได้ ในท้ายที่สุด คุณพ่อคุณแม่ได้สิ้นอายุขัยและจากไปเขา คิชฌกูฏในสภาพที่เปยมด้วยความพึงพอใจ สุขภาพของดิฉันก็ฟืน กลับมาดีดังเดิม และดำาเนินชีวิตด้วยความรู้สึกขอบคุณในทุก ๆ วัน หลังจากที่แต่งงานแล้ว คุณหมอบอกว่าดิฉันจะมีบุตร ยาก ทว่าดิฉันได้ให้กำาเนิดบุตร 2 คนได้อย่างน่าอัศจรรย์ ปจจุบัน บุตรสาวคนโตมีบุตร 1 คนและกำาลังเคลื่อนไหวใน “กลุ่มยังก์ไวท์
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ ลิลลี่ [ลิลลี่ขาวรุนเยาว์ (Young White Lilly)]” ดิฉันอธิษฐานถึงการเติบโตของกลุ่มยังก์ไวท์ลิลลี่และ ทุกคนในฝายยุวชนหญิง ดังคำากล่าวว่า “สีครามเขมกวาคราม” ด้วยจิตใจแห่งการขอบคุณและการตอบแทนบุญคุณ พร้อมกับ เดินหน้าไปด้วยกัน ขอให้ส่งเสริมยุวชนผู้สืบทอด ให้อยู่ในแนวหน้า ท้าทายการสนทนาด้วยความกล้าหาญ ตลอดจนแผ่ขยายสายลม แห่งความสุข สู่ท้องถิ่นและสังคมไปด้วยกัน (บรรยายโดย คุณโยโกะ ทานากะ หัวหน้ารวมจังหวัดโอซาก้า ฝายผู้ใหญหญิง)
17 คําชี้นํา ของอำจำรย์อิเคดะ อาจารยกับศิษยนี่เอง คือหนทำงอันยิ่งใหญ่ที่ท�ำใหตนเองเบ่งบำน ตั้งแต่สมัยยุวชน ข้าพเจ้าสู้ด้วยความตั้งใจว่า “จะมี ชัยชนะในทุก ๆ เรื่อง เพื่อประกาศความถูกต้องเที่ยงธรรมของอาจารย์ โทดะต่อโลก จะสู้เพื่ออาจารย์ จะทำาให้อาจารย์ปติยินดี” กล่าวคือ ต้นกำาเนิดพลังของข้าพเจ้ามีอยู่ในเส้นทางแห่งอาจารย์กับศิษย์ ... ภายในตัวของอาจารย์แห่งการเผยแผ่ธรรมไพศาล มีสภาพ ชีวิตอันยิ่งใหญ่ของโพธิสัตว์จากพื้นโลก ผู้ช่วยเหลือประชาชนทั้งหมด เต้นเป็นชีพจรอยู่ เมื่อต่อสู้โดยตั้งใจว่า “เพ� ออาจารย์” ชีวิตจะประสาน สอดคล้องกัน และสภาพชีวิตของตนเองก็จะเปดออก ข้าพเจ้าสามารถเชื่อมต่อกับชีวิตและสภาพชีวิตของอาจารย์ โทดะได ้ด ้วยการท ำาเช ่นน ี ้ ช ีว ิตของเราจะล ุกโชน ความกล ้าหาญท ี ่ไม ่ม ี ขีดจำากัดจะพวยพุ่ง ปญญาจะพรั่งพรู แม้เผชิญกำาแพงแห่งความยาก ล ำาบากท ี ่ไม ่ว ่าใครก ็ค ิดว ่าเป ็นไปไม ่ได ้และดูเหม ือนจะคร ั ่นคร ้าม ก ็ ‘ ’
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ธรรมนิพนธ สามารถพุ่งชนอย่างกล้าหาญเด็ดเดี่ยวและข้ามพ้น ไปได้ อีกทั้งสามารถต่อสู้อย่างทรหดอดทน เส้นทางแห่งอาจารย์กับ ศิษย์ไม่เป็นสองนี่เอง คือหนทางอันยิ่งใหญ่ที่ทำาให้ตนเองเบ่งบาน (จากปฏิวัติมนุษย์-ใหม เลมที่ 24 บท “ประภาคาร”) อธิบำยเพิ่มเติม สีครามเขมกวาคราม “สีครามเข้มกว่าคราม” เป็นถ้อยคำาที่อยู่ใน “มหาสมถ วิปสสนา” ของพระมหาธรรมาจารย์เทียนไท้ ซึ่งมาจากคำากล่าวของซุ่นจื่อ นักคิดของประเทศจีนที่กล่าวว่า “สีครามเปนสีนำาเงินที่ไดจากคราม แต เขมกวาคราม” พระนิชิเร็นไดโชนินได้นำามาใช้ใน 2 ความหมาย ความหมายแรก เป ็นการเปร ียบเท ียบว ่า เม ื ่อหม ั ่นเพ ียร ปฏิบัติศรัทธา บุญกุศลจะยิ่งปรากฏออกมาดังที่ท่านกล่าวว่า “สัทธรรม ปุณฑริกสูตรเปนดั่งคราม และการปฏิบัติที่เขมแข็งของบุคคลก็ ‘ ’
19 เหมือนกับสีนำาเงินที่เขมขึ้น” (ธรรมนิพนธ์ฉบับ ภาษาอังกฤษ เลม 1 หน้า 457) ความหมายอีกประการหนึ่ง หมายถึงการเจริญเติบโตของ ผู้สืบทอด พระนิชิเร็นไดโชนินมีความปติยินดีจากใจจริง ในการเจริญเติบโต ของท่านนันโจโทขิมิจึ ผู้ที่ท่านส่งเสริมกำาลังใจอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ “วัยเยาว์” ดังข้อความที่กล่าวว่า “สีครามเข้มกว่าคราม และน้ำาแข็งเย็น กว่าน้ำา ช่างน่ามหัศจรรย์ ช่างน่ามหัศจรรย์” (ธรรมนิพนธ์หน้า 1554)3 อาจารย์อิเคดะเน้นย้ำาผ่านคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินว่า “การกระทำาที่อาบเหงื่อต่างน้ำา เพื่อเพื่อนผู้สืบทอดแห่งสีครามเข้มกว่าคราม เป็นงานอันศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในบรรดางานศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ที่เชื่อมตรงกับ พระศากยมุนีพุทธะและพระนิชิเร็นไดโชนิน” และสอนถึงความสำาคัญของ การเสริมสร้างผู้มีความสามารถที่สืบทอดการเผยแผ่ธรรม 3 ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 809
ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ
21 ประสบกำรณ์ ความศรัทธา สู่ชัยชนะ ดิฉันเริ่มเข้าศรัทธาพร้อมคุณแม่เมื่อ พ.ศ. 2529 โดย เพื่อนบ้านเป็นผู้แนะนำาธรรม และมีโอกาสเข้าร่วมประชุมกับรุ่นพี่ ยุวชนหญิงตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เมื่อจบ มหาวิทยาลัยก็กลับมาอยู่บ้านที่จังหวัดอุดรธานี และทำางานที่ ธนาคารแห่งหนึ่ง พ.ศ. 2541 ดิฉันแต่งงานและย้ายตามสามีมาค้าขาย ที่หาดปาตองซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยว เรา 4 คน พ่อ แม่ ลูกสาวคนโต และลูกชายคนเล็กปฏิบัติศรัทธาเข้มแข็งมาตลอด ในช่วงประสบภัย สึนามิ ร้านค้าของเราเสียหายทั้งหมด แต่ก่อนเกิดสึนามิไม่กี่วัน มี นักท่องเที่ยวมาเหมาสินค้าในร้านไปเป็นจำานวนมาก เป็นการปกปอง คุ้มครองจากโงะฮนซนจริง ๆ พ.ศ. 2557 ดิฉันและครอบครัวย้ายมาจังหวัดอุดรธานี บ้านเกิด เพื่อดูแลคุณพ่อที่กำาลังปวย ในช่วง 6 เดือนสุดท้ายของ ท่านนี้ ดิฉันก็ทำาอย่างเต็มที่ทุกวัน และตั้งใจจะดูแลคุณแม่ให้ดีที่สุด พวกเราใช้ชีวิตแบบพอเพียง โดยมีรายได้จากค่าเช่าโรงแรมและบ้าน ที่จังหวัดภูเก็ต ดิฉันเข้าร่วมกิจกรรมของสมาคมในระบบการที่ ’ ‘
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ประสบการณ ความศรัทธาสูชัยชนะ อุดรธานี พาคุณแม่และคุณน้าร่วมประชุมอย่างสม่ำาเสมอ พ.ศ. 2560 ลูกสาวสอบเข้าคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ ปถัดมาลูกชายสอบเข้าคณะบริหารธุรกิจ และการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ แต่สละสิทธิ์เพราะอยาก เรียนที่กรุงเทพฯ จึงเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยเอกชนโดยเรียนเป็นภาษา อังกฤษทั้งหมด ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากมาก เพราะลูกชายไม่ได้เตรียม พร้อมมาก่อน ต่อมาลูกชายติดการพนันออนไลน์ มีหนี้สินจำานวน มาก ทำาให้ดิฉันและสามีเสียใจและผิดหวังมาก เราให้โอกาสลูกโดย จ่ายหนี้ให้หลายครั้ง แต่ลูกก็ยังกลับไปเล่นอีกทั้ง ๆ ที่สัญญาว่าจะ เลิก ครั้งหลังสุดหนักกว่าเดิม จึงต้องตัดสินใจให้ลูกหยุดเรียนและ กลับบ้าน จากนั้นได้พาลูกไปบำาบัดอาการติดพนัน แต่ก็ไปได้เพียง ครั้งเดียวเพราะติดสถานการณ์โควิด-19 ดิฉันสวดมนต์มากมาย ขอขมาอย่างจริงใจต่อ โงะฮนซนที่เคยหมิ่นประมาทธรรมไว้ในอดีต และอธิษฐานให้ ชะตากรรมเรื่องลูกชายหมดไป ให้ลูกชายเข้าใจด้วยตัวเองได้ ต่อมา ลูกชายได้เข้าใจและมาขอโทษดิฉัน ดิฉันรู้สึกขอบคุณโงะฮนซนอย่าง ที่สุด ซึ่งเป็นช่วงเดียวกับที่ดิฉันรับหน้าที่ผู้ช่วยหัวหน้าเขต ตั้งใจที่จะ ทำาหน้าที่ให้ดีที่สุด จะปฏิวัติชีวิตตัวเอง จะทำากิจกรรมของสมาคม ด้วยความศรัทธาที่เข้มแข็ง ด้วยเชื่อมั่นว่าจะเปลี่ยนพิษเป็นยา
23 ลูกชายจะต้องดีขึ้นอย่างแน่นอน ต่อมาไม่นาน ลูกชายได้ทำางานที่โรงแรมเล็ก ๆ แห่งหนึ่ง ในจังหวัดอุดรธานี ทำาให้เขารู้คุณค่าของเงิน มีความรับผิดชอบมาก ขึ้น ในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อนสนิทของดิฉันซึ่งอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ทราบเรื่องนี้ ก็ได้ให้กำาลังใจและชวนลูกชายไปเรียนและทำางานที่นั่น โดยจะดูแลให้ทุกเรื่อง ดิฉันกับสามียินดี และลูกชายก็พร้อมที่จะไป หลังจากสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลายลง ด้วยการสวดมนต์อธิษฐานอย่างจริงจัง แม้เพียง แค่คิด สิ่งที่ปรารถนาก็ปรากฏเป็นจริง ดิฉันสามารถซื้อบ้านใจกลาง เมืองอุดรได้ในราคาที่ไม่แพงนัก และจู่ ๆ ก็มีคนขอซื้อที่ดินของดิฉัน ซึ่งอยู่ข้าง ๆ สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย สาขาอุดรธานี ดิฉัน ต ัดส ินใจขายที ่ด ินแปลงน ี ้ ท ่ามกลางสถานการณ ์โคว ิด-19 เช ่นน ี ้ การขายที่ได้ นับเป็นผลบุญที่ยอดเยี่ยมมาก ขณะที่พวกเราสมาชิกและผู้นำาของสมาคมสร้าง คุณค่าในประเทศไทย ร่วมใจกันสวดมนต์ให้สถานการณ์โควิด-19 หมดไปจากโลกน ี ้โดยเร ็ว ด ิฉ ันสวดไดโมข ุท ุกว ันอย ่างน ้อยว ันละ 2 ชั่วโมง โทรศัพท์ส่งเสริมกำาลังใจสมาชิกวันละ 1 คน โดยเชื่อมั่น ว่า ด้วยหนึ่งขณะจิตที่ยึดมั่นต่อธรรมมหัศจรรย์ จะมีความสุขได้ อย่างแน่นอน กานต์รวี เพิ่มผลทวีคูณ ฝายผู้ใหญหญิง อุดรธานี
ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย์-ใหม่” โดย โฮ โงะคู บทความจากอาจารย์ไดซาขุ อิเคดะ
25 บทที่ 43) พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น ที่ไมอาจทําลายได “คงอยูนิรันดร์ ไมมีสิ้นสุด ไมเสื่อมสลาย ความคิดไมมีใครเห็น”1 นี่คือคํากลาวของลอร์ด ไบรอน กวีและนักปฏิวัติ เหตุการณ์ที่น่าจดจำาไม่มีวันลืมเกิดขึ้นเมื่อ 17 ป ที่แล้ว ในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1982 วันนั้น งานวัฒนธรรมสันติภาพ ยุวชนคันไซครั้งที่ 1 ซึ่งเป็นครั้งประวัติศาสตร์ ได้ถูกจัดขึ้นที่ สนามกีฬากลางแจ้งนางาอิ ในโอซาก้า งานวัฒนธรรมฉลองที่ระลึกครบ 30 ปของการเริ่ม เคลื่อนไหวเพื่อการเผยแผ่ธรรมไพศาลในคันไซ งานเริ่มเวลา 13.29 น. 1 ลอร์ด ไบรอน, “เมื่อความหนาวเย็นหอหุ้มกายมนุษย์ผู้ทุกข์ยาก”, ไบรอน : งานกวี, บรรณาธิการ เฟรเดอริก เพจ (ออกซ์ฟอร์ด : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด, ค.ศ. 1970) หน้า 81
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ด้วยขบวนพาเหรดของยุวชน 10,000 คน ทุกคนล้วนเป็นสมาชิกใหม่ ที่เพิ่งเข้าร่วมกับสมาคมโซคา เดินขบวนแถวเข้าสู่สนามกีฬา และแล ้วก ็ถ ึงเวลา 14.48 น. หล ังจากสมาช ิกของ แต่ละฝายได้สร้างความตื่นตาตื่นใจให้ผู้ชม ด้วยการแสดงที่ ยอดเยี่ยมแล้ว ยุวชน 4,000 คน ก็รีบวิ่งกรูกันออกมาที่สนามอย่าง รวดเร็ว พวกเขาคือกลุ่มกายกรรมฝายยุวชนชาย พวกเขาต่อตัวขึ้น เป็นหอคอย 5 ชั้นจำานวน 8 กลุ่ม คลี่บานออกพร้อมกันอย่างสวยงาม ราวกับดอกบัว 8 กลีบ จากนั้นที่ตรงกลางสนาม ยุวชนชายกลุ่มหนึ่ง เริ่มเรียงตัวกันต่อตัวขึ้นใหม่ ดวงตาของผู้ชมทุกคู่ จริง ๆ แล้วก็คือ ดวงตาของเพื่อนสมาชิกคันไซทุกคนที่ต่างก็จดจ่ออยู่ที่พวกเขา จ้องมองและอธิษฐานเพื่อความสำาเร็จของ “หอคอยแหงชัยชนะ ของประชาชน” พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น ผู้แสดง 60 คนที่เป็นฐานพีระมิดเอาแขนโอบไหล่ของ กันและกันไว้ อีก 20 คน ปนขึ้นไปเพื่อเป็นชั้นที่ 2 และอีก 10 คน ปนซ้อนขึ้นไปด้านบนเพื่อสร้างชั้นที่ 3 จากนั้น อีก 5 คนปนขึ้นไป ด้านบนเพื่อสร้างชั้นที่ 4 อีก 3 คนปนขึ้นไปเป็นชั้นที่ 5 และท้ายที่สุด คนสุดท้ายปนขึ้นไปบนยอดสุด จากนั้น ผู้ที่หมอบอยู่ในชั้นที่ 2 ก็ ค่อย ๆ ยืนขึ้นอย่างช้า ๆ หลายปที่ผ่านมา สมาคมโซคาถูกวิพากษ์วิจารณ์และ เหยียดหยามอย่างรุนแรง ซึ่งธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเร็นไดโชนินได้
27 ทำานายถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับผู้ที่ปฏิบัติตรงตามคำาสอนของพระพุทธะ การโจมตีกล่าวร้ายต่อพวกเรา ล้วนเป็นความเท็จไม่มีมูลความจริง คำาพูดเหล่านั้นมิใช่สิ่งใดอื่น นอกจากคลื่นแห่งความประสงค์ร้ายและ มุ่งทำาลายที่รุนแรง สมาชิกคันไซ ไม่เคยสะทกสะท้านต่อการโจมตีของ ศัตรูที่เข้มแข็ง 3 ชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมาชิกฝายผู้ใหญ่หญิง และยุวชนหญิงยังคงเคลื่อนไหวในการทุ่มเทตนเองอย่างขยันขันแข็ง ในกิจกรรมของสมาคม ด้วยรอยยิ้มที่อ่อนโยนของทูตสวรรค์ ไม่ว่า จะถูกใส่ร้าย ถูกดูถูกเหยียดหยามรุนแรงเพียงใด ไม่ว่าจะถูกโจมตี ด ้วยถ ้อยค ำาท ี ่เส ียดแทง ฉ ีกท ึ ้ง เช ือดเฉ ือนห ัวใจพวกเขาเพ ียงใด สมาชิกคันไซ ก็ไม่เคยลืมที่จะกระทำาและพูดออกไปด้วยศักดิ์ศรีและ ความกล้าหาญ สมาช ิกเหล ่าน ั ้น ผู ้พล ิกโฉมเปล ี ่ยนงานว ัฒนธรรม คันไซที่เปยกชุ่มท่ามกลางสายฝนใน ค.ศ. 1966 ไปสู่ความสำาเร็จที่ เต็มไปด้วยพลังกระตือรือร้นช่างเข้มแข็ง และในขณะนี้ สมาชิกฝาย ยุวชน ก็ไร้ซึ่งความกลัวและไม่พรั่นพรึงใด ๆ ต่างลุกโชนด้วยความ กระตือรือร้น ที่จะสร้างสรรค์การรวมตัวที่โดดเด่นอย่างแท้จริงของ ยุวชนในคันไซ เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1981 หลังการเดินทางไปให้ คำาชี้นำาอันทรงคุณค่าน่าจดจำาที่ชิโกกุ ข้าพเจ้าได้กลับมาที่โอซาก้า
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” เพื่อเข้าร่วมการประชุมรวมคันไซ ครั้งที่ 3 ตอนนั้น สมาชิกยุวชน คันไซของเรา ด้วยหัวใจสว่างโชติช่วงดุจดวงอาทิตย์อันเจิดจ้า ได้ บอกข้าพเจ้าว่า “พวกเรากำาลังจะจัดงานวัฒนธรรมเพื่อแสดงให้โลก รู้ว่า สมาคมของเราอยู่ที่นี่และอาจารย์ของพวกเรายังคงมีพลัง กระฉับกระเฉงเช่นเคย” “สมาชิกฝายยุวชนคันไซ 1 แสนคน กำาลัง รออาจารย์อยู่ครับ” ทันทีหลังขึ้นปใหม่ (ค.ศ. 1982) ข้าพเจ้าเดินทางไป จังหวัดอาคิตะที่ปกคลุมไปด้วยหิมะ เพื่อมอบคำาชี้นำาและส่งเสริม กำาลังใจสมาชิก และเริ่มรณรงค์ต่อสู้กับอุปสรรค 3 มาร 4 ข้าพเจ้า กระโจนเข้าไปอยู่ในแนวหน้าของการต่อสู้เฉกเช่นราชสีห์ที่ทรงพลัง ยิ่งใหญ่ มุ่งมั่นตั้งใจที่จะโค่นล้มพลังใส่ร้ายปายสีที่คอยจ้องทำาลาย พุทธศาสนา การริเริ่มเช่นนี้เป็นการส่งสัญญาณถึงสมาชิกทุกคน เป็น แรงบันดาลใจให้ทุกคนสู้และพูดออกไป ในขณะเดียวกันนั้น สมาชิกคันไซผู้เยาว์วัยได้เริ่ม ฝกซ้อมเพื่องานวัฒนธรรมดังกล่าว อดทนต่อสู้กับลมหนาวที่เย็น ยะเยือกในสวนปราสาทโอซาก้า และในที่อื่น ๆ คณะทำางานของ พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น ต้องขอยืมใช้โรงพละของโรงเรียนมัธยมโซคา คันไซในคาตาโนะเพื่อฝกซ้อมอยู่บ่อย ๆ ทว่าจวบจนถึงวันงาน วัฒนธรรม พวกเขาต่อตัวสำาเร็จเป็นพีระมิดได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ฮิโรมาสะ ลูกชายคนโตของข้าพเจ้า ขณะนั้นเป็นคุณครูอยู่ที่โรงเรียน
29 แห่งนั้น ได้อยู่ตอนที่พวกเขาต่อตัวสำาเร็จและได้ร่วมแบ่งปนความ รู้สึกตื่นเต้นดีใจกับพวกเขาด้วย “ผมจะไม่มีวันลืมความรู้สึกตื่นเต้น ระทึกใจกับชั่วขณะแห่งประวัติศาสตร์นั้นเลย ตราบที่ผมยังมีชีวิต อยู่” เขาบอกเช่นนั้น แท้ที่จริงแล้ว แค่ก่อนวันงานวัฒนธรรม สมาชิกคน หนึ่งในกลุ่มกายกรรมฝายยุวชนชายได้เสียชีวิตเพราะความเจ็บปวย กะทันหัน เขาคือเพื่อนที่ดีที่สุดของยุวชนชายคนที่จะขึ้นยืนอยู่บน ยอดส ุดของพ ีระม ิด ขณะน ี ้พ ีระม ิดจ ึงกลายเป ็นอน ุสรณ ์เพ ื ่อเป ็น เกียรติแก่ยุวชนชายผู้นั้น ที่ไม่สามารถร่วมงานวัฒนธรรมครั้งนี้ด้วย เย็นวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1982 ข้าพเจ้าเดินทางถึง โอซาก้า มีฝนตกหนักมาก งานวัฒนธรรมในวันแรกจึงถูกยกเลิก ข ้าพเจ ้าได ้แวะไปส ่งเสร ิมก ำาล ังใจและปล ุกเร ้าจ ิตใจย ุวชนท ี ่ก ำาล ัง ประชุมเจ้าหน้าที่จัดงาน ซึ่งข้าพเจ้าแน่ใจว่าพวกเขาต้องรู้สึกผิดหวัง แน่นอน ข้าพเจ้าบอกพวกเขาว่า เป็นการคาดหวังมากเกินไปที่จะทำา พีระมิด 6 ชั้นให้สำาเร็จต่อเนื่องกัน 2 วัน เพราะการต่อตัวให้สำาเร็จ ต้องใช้ความระมัดระวังที่ถูกต้องแม่นยำาและสมาธิอย่างใหญ่หลวง จึงเป็นเรื่องดีที่ฝนตก ข้าพเจ้าบอกและปลุกเร้าพวกเขาให้มอบ การแสดงที่เปยมด้วยจิตวิญญาณสูงสุดแก่พวกเราในวันถัดไป ภายใต้ท้องฟาสีครามแจ่มกระจ่าง พีระมิดมนุษย์ 6 ชั้นได้ก่อตัวขึ้นบนผืนดินประวัติศาสตร์อันสูงส่ง สมาชิกที่อัฒจันทร์
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ด้านหนึ่งถือแผ่นกระดาษสีสันสดใสทำาเป็นฉากขนาดยักษ์ แปรอักษร คำาว่า “ยุวชน ปนภูเขาแหงการเผยแผธรรมไพศาลในศตวรรษ ที่ 21” ชั้นที่ 4 ของพีระมิดลุกขึ้นยืน อย่างช้า ๆ และมั่นคง ชั้นที่ 5 ลุกขึ้นยืน เวลา 15.06 น. ยุวชนชายเพียงคนเดียวบนชั้นที่ 6 ลุกขึ้นยืนและเงยหน้าขึ้นมองสู่สวรรค์ เขาร้องเรียกชื่อเพื่อนผู้ล่วงลับ ไปและตะโกนว่า “พวกเราทำาได้แล้ว” เขาชูแขนขึ้นทั้ง 2 ข้าง ภาพ แห่งศักดิ์ศรีของชีวิตที่ไม่มีขีดจำากัด ในจังหวะนั้นสมาชิกบน อัฒจันทร์ที่ถือกระดาษแปรตัวอักษรสีแดงสดใสบนฉากหลังสีทอง คำาว่า “คันไซ สปริต” (จิตวิญญาณคันไซ) พีระมิดยืนตระหง่าน อย่างมีชัยต่อท้องฟาสีครามอันสดใสไร้เมฆหมอกแห่ง “คันไซ ชัยชนะตลอดกาล” เสียงโห่ร้องแห่งชัยชนะดังกึกก้องไปทั่ว ชั่วขณะนั้น ดวงตะวันแห่งสมาคมโซคาได้ส่อง ประกายแสงอันเจิดจรัสสง่างาม บรรยากาศกระหึ่มดังด้วยเสียงเชียร์ กระแสคลื่นเสียงแห่งการยกย่องสรรเสริญราวกับเสียงแตรที่แซ่ซ้อง สรรเสริญอย่างพร้อมเพรียงกัน หอคอยมห ึมาแห ่งช ัยชนะและความเท ี ่ยงธรรมของ ยุวชน ช่างสง่างาม สง่างามจริง ๆ ยืนหยัดขึ้นสูงเหนือความลุ่มหลง
31 ทั้งหลายทั้งชื่อเสียงและผลประโยชน์ส่วนตัว เปล่งแสงแห่งความหวัง อันยิ่งใหญ่ แขกรับเชิญผู้มีชื่อเสียงที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุนกล่าวว่า พีระมิด มนุษย์ 6 ชั้นนี้เป็นความสำาเร็จยอดเยี่ยมที่ไร้สิ่งใดเทียมได้ในโลกนี้ เมื่อการแสดงอันน่าทึ่งจบลง ผู้ชม 10,000 คนและนัก แสดงรวมตัวกันอยู่ในความเงียบ สมาชิกทุกคนที่ได้ร่วมในวันนั้นต่าง ประจ ักษ ์ถ ึงประกายแสงอันร ุ ่งโรจน์แห ่งช ัยชนะ มาซาโตะ โอน ิช ิ หัวหน้าฝายยุวชนคันไซ (ปจจุบัน [ค.ศ. 1999] เปนรองประธาน สมาคมโซคา) ได้มาที่ไมโครโฟน “เพื่อนของผม ผู้เข้มแข็ง 100,000 คน ลูกศิษย์ของ อาจารย์อิเคดะ จากทุกพื้นที่คันไซ” ขณะที่คำากล่าวเปดในการ ประกาศเพื่อสันติภาพซึมซาบไปด้วยคำาปฏิญาณของลูกศิษย์ที่ แท้จริง ดังลั่นออกมา บรรยากาศที่เคร่งขรึมจริงจังก็ได้ปกคลุมไปทั่ว สนามกีฬา “พวกเราต ั ้งปณ ิธานว ่า จะยกระด ับพ ุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนินให้เป็นเจตนารมณ์ของยุคสมัยของเรา เป็น เจตนารมณ์ของทั่วโลก อยู่บนพื้นฐานอุดมคติของการเคารพศักดิ์ศรี ของชีวิตและสันติภาพเพื่อมวลมนุษยชาติทั้งปวง จะก้าวหน้าในการ เคลื่อนไหวเพื่อให้สันติภาพคงอยู่นิรันดร์ ตามหลักการของการก่อตั้ง คำาสอนที่ถูกต้องเพื่อให้ประเทศเกิดสันติ (ริชโชอันโคขุ)”
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ข้าพเจ้าได้กล่าวคำาปราศรัยปดงาน ซึ่งหลังจากกล่าว แสดงความขอบคุณต่อประมุขสงฆ์และแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน ข้าพเจ้าได้เรียกร้องต่อยุวชนว่า “สันติภาพคือความปรารถนาที่ แท้จริงของมนุษยชาติ การเอาชนะคำานินทาว่าร้ายและดูถูก เหยียดหยาม พวกเราต้องรุดไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องเพื่อสันติภาพ ผมขอส่งมอบความรับผิดชอบในเส้นทางนี้แก่คุณ เพื่อนยุวชน ของผม” ข้าพเจ้าจำาได้ว่า 2 - 3 วันหลังงานวัฒนธรรม ข้าพเจ้า ได้รับข้อความจากสำาน ักวัดใหญ่ให้ไปที่นั่นทันที ประมุขสงฆ ์ผู้น่า อ ับอายท ี ่ม ีจ ิตใจร ิษยาอาฆาต ได ้เร ียกข ้าพเจ ้าไปพบ ข ้าพเจ ้าม ี กำาหนดการที่จะไปเยี่ยมสมาชิกที่เกียวโตและชิบะ จึงต้องเปลี่ยน แผนและรีบไปสำานักวัดใหญ่ด้วยกันกับประธานอาคิย่ะ และหัวหน้า ระดับสูงท่านอื่น นั่นคือวันที่ 25 มีนาคม ประมุขสงฆ์รอพวกเราอยู่ เต็มไปด้วยความโกรธ ราวกับอสูร (ปศาจที่ชอบทะเลาะวิวาทในตํานานอินเดียโบราณ) เขา ตะคอกเสียงดังอย่างยโสโอหังว่า คำาประกาศของฝายยุวชนที่มี ปณ ิธาน “ท ี ่จะยกระด ับพ ุทธธรรมของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ินให ้เป ็น เจตนารมณ์ของยุคสมัยของเรา เป็นเจตนารมณ์ของทั่วโลก” เขา กล่าวหาว่านั่นเป็นการไม่ให้ความเคารพที่เสนอว่า พุทธธรรมของ พระนิชิเร็นไดโชนินที่สูงส่งอยู่แล้วจะมายกระดับให้สูงส่งยิ่งขึ้นอีก
33 เขายังตำาหนิถ้อยคำาปราศรัยของข้าพเจ้าด้วย ในคำากล่าวขอบคุณ เขาที่มาร่วมงาน ข้าพเจ้าเรียกเขาว่า “ท่านนิกเค่นโชนินผู้สูงส่ง” แทนที่จะเรียกว่า “ท่านประมุขสงฆ์ผู้สูงส่ง” นี่คือทั้งหมดที่เขาพูดหลังจากได้ประจักษ์ถึงงาน ว ัฒนธรรมท ี ่น ่ามห ัศจรรย ์ ช ่างโง ่เขลาและน ่าเศร้าอะไรเช่นน ี้ น ่า สมเพชต ่อความพยายามท ี ่จะย ืนกรานอ ำานาจอ ันชอบธรรม ด ้วย ความเจ็บใจอย่างเห็นได้ชัด นิกเค่นได้เปดเผยตัวตนออกมาเป็นสงฆ์ ที่ไม่มีความศรัทธาซ่อนตัวอยู่ภายใต้จีวรของประมุขสงฆ์ เป็นบุคคล ที่ถูกครอบงำาด้วยพลังอำานาจของมารที่ชั่วร้าย และเสียสติไปแล้ว ด้วยความอิจฉาริษยา เหตุการณ์นี้ทำาให้เรารู้สึกเดือดดาล ขณะเดียวกันก็เป็นเรื่องเหลวไหลน่าขำาน่าชวนหัวเราะ ทว่ากลับไม่มี ความสนุกเลย ดังที่พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนเอาไว้ว่า “อสูรผูซึ่งยิง ธนูไปยังพระอาทิตย์ ศีรษะไดแตกเปน 7 เสี่ยง” “พีระมิดของยุวชน” ที่ยืนหยัดอย่างอาจหาญและ สูงเสียดขึ้นไปสู่ท้องฟาอันสดใสของคันไซ เป็นเครื่องหมายแสดง จุดเปลี่ยนที่สำาคัญยิ่ง เปดเส้นทางสำาหรับการตอบโต้ที่ไม่หวั่นไหว ของสมาคม ต่อการคุกคามและแผนการที่ชั่วร้ายของคณะสงฆ์ จากว ันน ั ้น จากช ั ่วขณะน ั ้น จาก “คันไซ ชัยชนะ ตลอดกาล” ด้วยคำามั่นสัญญาที่สดใหม่ตลอดกาลเพื่อการเผยแผ่ เขายังตำาหนิถ้อยคำาปราศรัยของข้าพเจ้าด้วย ในคำากล่าวขอบคุณ เขาที่มาร่วมงาน ข้าพเจ้าเรียกเขาว่า “ท่านนิกเค่นโชนินผู้สูงส่ง” แทนที่จะเรียกว่า “ท่านประมุขสงฆ์ผู้สูงส่ง” นี่คือทั้งหมดที่เขาพูดหลังจากได้ประจักษ์ถึงงาน ว ัฒนธรรมท ี ่น ่ามห ัศจรรย ์ ช ่างโง ่เขลาและน ่าเศร้าอะไรเช่นน ี้ น ่า สมเพชต ่อความพยายามท ี ่จะย ืนกรานอ ำานาจอ ันชอบธรรม ด ้วย ความเจ็บใจอย่างเห็นได้ชัด นิกเค่นได้เปดเผยตัวตนออกมาเป็นสงฆ์ ที่ไม่มีความศรัทธาซ่อนตัวอยู่ภายใต้จีวรของประมุขสงฆ์ เป็นบุคคล ที่ถูกครอบงำาด้วยพลังอำานาจของมารที่ชั่วร้าย และเสียสติไปแล้ว ด้วยความอิจฉาริษยา เหตุการณ์นี้ทำาให้เรารู้สึกเดือดดาล ขณะเดียวกันก็เป็นเรื่องเหลวไหลน่าขำาน่าชวนหัวเราะ ทว่ากลับไม่มี ความสนุกเลย ดังที่พระนิชิเร็นไดโชนินเขียนเอาไว้ว่า “อสูรผูซึ่งยิง ธนูไปยังพระอาทิตย์ ศีรษะไดแตกเปน 7 เสี่ยง” “พีระมิดของยุวชน” ที่ยืนหยัดอย่างอาจหาญและ สูงเสียดขึ้นไปสู่ท้องฟาอันสดใสของคันไซ เป็นเครื่องหมายแสดง จุดเปลี่ยนที่สำาคัญยิ่ง เปดเส้นทางสำาหรับการตอบโต้ที่ไม่หวั่นไหว ของสมาคม ต่อการคุกคามและแผนการที่ชั่วร้ายของคณะสงฆ์ จากว ันน ั ้น จากช ั ่วขณะน ั ้น จาก “คันไซ ชัยชนะ ตลอดกาล” ด้วยคำามั่นสัญญาที่สดใหม่ตลอดกาลเพื่อการเผยแผ่ 33
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ธรรมไพศาล ความก้าวหน้าอย่างยิ่งใหญ่ของพันธมิตรของเรา เพื่อ ความจริงและความเที่ยงธรรมได้เริ่มต้นมุ่งหน้าสู่ยอดเขาแห่งชัยชนะ ของโซคาในศตวรรษที่ 21 เม ื ่ออาคารส ำาน ักงานใหญ ่ค ันไซแห ่งใหม่สร ้างเสร ็จ สมบูรณ์ รูปปนพีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น จะประดับไว้ให้เห็นอย่าง เด่นชัดที่อาคารแห่งนี้ (จากหนังสือพิมพ์เซเคียว ฉบับวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1999) จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 ความคิดคํานึงเกี่ยวกับ “ปฎิวัติมนุษย-ใหม” ธรรมไพศาล ความก้าวหน้าอย่างยิ่งใหญ่ของพันธมิตรของเรา เพื่อ ความจริงและความเที่ยงธรรมได้เริ่มต้นมุ่งหน้าสู่ยอดเขาแห่งชัยชนะ ของโซคาในศตวรรษที่ 21 เม ื ่ออาคารส ำาน ักงานใหญ ่ค ันไซแห ่งใหม่สร ้างเสร ็จ สมบูรณ์ รูปปนพีระมิดมนุษย์ 6 ชั้น จะประดับไว้ให้เห็นอย่าง เด่นชัดที่อาคารแห่งนี้ (จากหนังสือพิมพ์เซเคียว ฉบับวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1999) ธรรมไพศาล ความก้าวหน้าอย่างยิ่งใหญ่ของพันธมิตรของเรา เพื่อ
35 35 บทสนทนาเรื่อง แม่กับลูกมุ่งสู่ศตวรรษที่ 21 (เลม 3)
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) บทที่ 2) คุณแม่ไม่พ่ำยแพต่อสิ่งใด (ตอ) โตะอำหำร เปนสถานที่สําคัญ ที่จะบ่มเพำะจิตใจและร่ำงกำยของเด็ก อาจารยอิเคดะ : แมจะอยู่ใน “สถานที่เดียวกัน” แต่ใช้ “เวลา ตางกัน” เป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “ครอบครัวโรงแรม” ครับ อยู่บ้านเดียวกัน แต่ต่างคนต่างรับประทานอาหาร ต่างคนต่างดูรายการโทรทัศน์ที่ตัวเองชอบ ใช้ชีวิตอยู่คนละห้องอย่าง เป็นอิสระ พักผ่อนในเวลาต่างกัน... อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับสมัยก่อนแล้ว เวลา ของ “การจับกลุมพูดคุยกันอยางสนุกสนาน” คงจะน้อยลงอย่าง แน่นอนนะครับ โอกะโนะ : ค่ะ เวลานี้ “การทานคนเดียว” ซึ่งเด็กนั่งรับประทาน อาหารคนเดียวกำาลังเป็นปญหาอยู่ค่ะ ก่อนหน้านี้ รายการโทรทัศน์ได้นำาเสนอสภาพที่แท้จริง ของนักเรียนประถมศึกษา ซึ่ง 1 ใน 4 คน กำาลังรับประทานอาหาร เช้าเพียงลำาพัง
37 เด็ก ๆ วาดรูปแสดงถึงลักษณะที่ตัวเองนั่งรับประทาน อาหาร ที่โตะอาหารขนาดใหญ่มีเด็กกำาลังนั่งรับประทานอาหารอยู่ เพียงคนเดียว พ่อแม่ไม่อยู่บ้าง กำาลังทำาอย่างอื่นบ้าง ครอบครัวที่มี ลักษณะเช่นนี้มีมากเกินคาด... รู้สึกตกใจมากค่ะ กล่าวได้ว่า “การทานคนเดียว” ไม่เพียงขาดการ สื่อสารของครอบครัวเท่านั้น แต่ยังเป็นสาเหตุให้เด็กรับประทาน อาหารไม่ครบหมู่มากขึ้น ในการขจัดความชอบ-ไม่ชอบของเด็กออกไปนั้น สิ่ง สำาคัญคือพ่อแม่ต้องรับประทานอาหารพร้อมกับลูก แสดงท่าทางให้ ลูกเห็นว่าพ่อแม่รับประทานอย่างเอร็ดอร่อย สิ่งสำาคัญนอกจากนี้ก็คือ แม้ไม่อาจรับประทานอาหารพร้อมกันก็ตาม แม่ก็ต้องดูให้เห็นกับ ตาว่า ลูกรับประทานอะไรบ้าง และอะไรที่ลูกรับประทานไม่หมดบ้าง แม่ต้องพูดกับลูกอย่างจริงจังว่าควรรับประทานอาหารให้หมด ดิฉันดูรายการโทรทัศน์แล้วรู้สึกว่า หากเด็ก ๆ ยังคง รับประทานอาหารที่ไม่สมดุลอย่างนี้ต่อไปเรื่อย ๆ การเจริญเติบโต ของเด็กก็น่าเป็นห่วงจริง ๆ อาจารยอิเคดะ : เนื่องจากการรับประทานอาหารเป็นพื้นฐานของการ ดำาเนินชีวิต โตะอาหารเป็นสถานที่ที่ครอบครัวจับกลุ่มพูดคุยกันอย่าง สนุกสนาน พ่อแม่จำาเป็นต้องระมัดระวังให้มากที่สุด เพื่อการเจริญ เติบโตทางจิตใจและร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ของลูก
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ในการสื่อสารระหว่างบุคคลกับบุคคล สถานที่ รับประทานอาหารก็สำาคัญ อาจารย์โทดะสอนอยู่เสมอว่า “ในขณะ ที่รับประทานอาหารกันพลางก็คุยกัน ต่างคนต่างก็จะเปดเผยความ ในใจต่อกันนะ” ผมก็มองหาโอกาสเช่นนั้นครับ รับประทานอาหารกับ บุคคลหลากหลายประเภท พลางก็สนทนาและให้กำาลังใจมาตลอด ครอบครัว เหมือนเคร� องบิน ที่บินไปสู่เปำหมำยเดียวกัน มาซาโมริ : ก่อนหน้านี้หนังสือพิมพ์ได้รายงานผลสำารวจที่น่าสนใจ จากสำานักนายกรัฐมนตรีว่า ในบรรดาหัวข้อแบบสำารวจหัวข้อที่สอบถามถึงเหตุผล ที่สตรีรู้สึกว่าเหนื่อยยากในการเลี้ยงดูลูก ข้อที่เลือกตอบมากที่สุดคือ “เวลาสวนตัวหายไป” ไม่ใช่แค่ฝายพ่อแม่เท่านั้น ตัวเด็กเองที่คิดว่า “อยาก ใชเวลาตามใจชอบ” ก็เพิ่มขึ้นด้วย จึงรู้สึกได้ว่าการนั่งโตะอาหาร รับประทานคนเดียว เป็นภาพสะท้อนถึงจิตใจของครอบครัวที่มี ลักษณะเช่นนั้น
39 ประเด็นนี้ ก่อนหน้านี้ดิฉันเคยอ่านหนังสือของอาจารย์ ชื่อ “การปฏิวัติครอบครัว” และจำาคำาพูดที่เป็นจุดมุ่งหมายได้ว่า “ครอบครัวที่อยู่ในสังคมปจจุบันไม่ใช่ปราสาท แต่ใกล้เคียงกับ เครื่องบิน ที่ยอมรับว่าเป็นเครื่องบิน เนื่องจากทุกคนจะสนุกกับการ ขับเครื่องบิน สายตาทุกคู่ที่จ้องมองไปยาวไกลถึงฟากโน้น มองไปใน ทิศทางเดียวกัน นี่คือครอบครัวที่แข็งแกร่งในปจจุบัน” อาจารยอิเคดะ : แม้จะบอกว่าการจับกลุ่มพูดคุยกันของครอบครัว เป็นสิ่งสำาคัญ แต่เนื่องจากรูปแบบของการดำาเนินชีวิตกับจังหวะของ การดำาเนินชีวิตในปจจุบันมีความหลากหลาย ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่าง จะเหมือนกับเมื่อก่อนคงไม่ได้ นี่คือความเป็นจริง นอกจากนี้ ผมพอจะเข้าใจความรู้สึกของคุณแม่ ทั้งหลายที่ “อยากมีเวลาสวนตัวเปนของตัวเอง” กระทั่งทุกวันนี้ คุณแม่ต้องรับภาระหนักในการเลี้ยง ดูลูก โดยเฉพาะด้านจิตใจ คนรอบข้างจะช่วยกันสนับสนุนอย่างไรนั้น ถือได้ว่าเป็นปญหาใหญ่ของสังคมนะครับ อย่างไรก็ตาม ครอบครัวจะขาดความรู้สึกเห็นอก เห็นใจซึ่งกันและกันไม่ได้ ไม่ใช่ “โรงแรม” ที่แต่ละคนใช้ชีวิตอยู่กันคนละทิศ คนละทาง สิ่งสำาคัญคือการสร้าง “ครอบครัว” ด้วยจิตใจร่วมกัน
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) แม้จะนั่งห่างกัน แต่เดินทางไปสู่จุดหมายปลายทางเดียวกันเหมือน กับ “เคร� องบิน” โอกะโนะ : จริงด้วยค่ะ ความรู้สึกมั่นคง ที่เกิดจากความสัมพันธ์ของพ่อแม่ลูก ที่อยู่ในส่วนที่ลึกที่สุดของจิตใจนั้น เป็นรากฐานของการเจริญเติบโต ซึ่งจะขาดเสียไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำาหรับเด็กเล็ก อาจารยอิเคดะ : ครั้งหนึ่ง อาจารย์โทดะเคยพูดเกี่ยวกับเครื่องบินว่า “สมัยก่อน ผมเคยนั่งเครื่องบินจากเซ็นไดกลับมา โตเกียว ระหว่างทางที่บินถึงปากแม่น้ำาอาบุคุมะงาวะ เกิดลมแรงจัด เนื่องจากเครื่องบินในสมัยก่อนไม่เหมือนสมัยนี้ เป็น เครื่องบินธรรมดา 6 ที่นั่ง เครื่องสั่นสะเทือนขึ้นลงอย่างรุนแรง แทบ จะบินต่อไม่ได้ จากเซ็นไดถึงโตเกียว เครื่องบินต้องต่อสู้ปะทะกับ กระแสลมแรง มองดูการต่อสู้ของเครื่องบินแล้ว เป็นการต่อสู้ที่ ยอดเยี่ยมมาก” ท่านเป็นอาจารย์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างคือการต่อสู้ โดยใช้การอธิบายที่เป็นรูปธรรม เข้าใจง่าย ทั้งการเลี้ยงดูลูกและเรื่องของครอบครัว ทั้งหมด เป็นการต่อสู้กับความเป็นจริงทั้งสิ้น แต่ไหนแต่ไรก็ไม่ได้สบาย และมี
41 เรื่องมากมายที่ไม่ได้เป็นดังที่คิด แต่หากตัดสินใจที่จะมุ่งไปยัง จุดหมายและสามารถฝากระแสลมแรงจัดแห่งความทุกข์ยากไปได้ แล้ว ณ ที่นั้น ท้องฟาแห่งความหวังที่แจ่มใสก็จะเปดกว้างออกไป พุทธธรรมกล่าวว่า “ความทุกข์” กับ “ความสบาย” เป็นคนละด้านของเหรียญเดียวกัน ท่ามกลาง “ความทุกข์ยาก ลำาบาก” เท่านั้นที่จะมี “ความสนุกสนาน” สิ่งสำาคัญคือการไม่ พ่ายแพ้ การไม่ยอมแพ้ ความสมบูรณ์แบบของชีวิต คือการมีชัยชนะข้ามพ้น ความยากลำาบากที่หนักหน่วงเท่านั้น จึงสามารถดื่มด่ำากับชีวิตได้ ทำานองเดียวกับเครื่องบินที่ต้องบินฝาต่อไปอย่างลำาบากเท่านั้น จึงจะ สามารถไปถึงจุดหมายปลายทางได้สำาเร็จ พลังของแม่ จะเช� อมโลกใหเปนหนึ่งเดียว มาซาโมริ : สำาหรับแม่ มีภาระหน้าที่ในฐานะ “กัปตันเคร� องบินที่มี ช� อเสียง” ที่จะลำาเลียงทุกคนในครอบครัวไปสู่เส้นทางแห่งความสุข ในฐานะฝายผู้ใหญ่หญิงของสมาคมโซคา ได้ทำาการ รณรงค์ให้สังคมไตร่ตรองถึงลักษณะของครอบครัวแบบนี้อีกครั้ง และ หนึ่งในการรณรงค์ดังกล่าวก็คือ “นิทรรศการพวกเราคือ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) ครอบครัวโลก” ซึ่งเริ่มจัดขึ้นในป 1994 “ปแหงครอบครัวสากล” ขององค์การสหประชาชาติ นิทรรศการนี้ได้หมุนเวียนจัดขึ้นทั่วประเทศ ตอนที่จัด แสดงที่จังหวัดฮิโรชิมะ (มกราคม ค.ศ. 1995) มีผู้เข้าชมมากกว่า 9 หมื่นคน ได้รับการตอบรับที่ดีมาก อาจารยอิเคดะ : ตรงทางเข้าของสถานที่จัดงาน มีข้อความที่ชูไว้สูง เป็นสารจากคุณเจฟ ไวล์เดอร์ (Jeff Wilder) ตัวแทนผู้อำานวยการ องค ์การยูน ิเซฟประจ ำาประเทศญ ี ่ป ุ น ท ี ่กล ่าวว ่า “‘ม ือท ี ่ไกวเปล เขยื้อนโลก’ เป็นคำาพูดที่ผมชอบมาก สมาชิกฝายผู้ใหญ่หญิงของ สมาคมโซคาสอนคำาพูดนี้แก่ผม” “มือที่ไกวเปล” สิ่งนี้คือพลังของคุณแม่ที่เลี้ยงดูชีวิต ผมก็เชื่อมั่นว่าพลังนี้เท่านั้น ที่เป็นพลังขับเคลื่อนที่จะเชื่อมโลกให้เป็น หนึ่งเดียว ข้ามพ้นพรมแดนและชนชาติ โอกะโนะ : เมื่อดูภาพต่าง ๆ ของครอบครัวจาก 65 ประเทศทั่วโลก ที่จัดแสดงในนิทรรศการแล้ว แสดงถึงความอบอุ่นของครอบครัวที่ ยอดเยี่ยมมาก นิทรรศการที่จังหวัดฮิโรชิมะ ได้นำาเสนอภาพถ่าย เกี่ยวกับการดำาเนินชีวิตหลังสงคราม 50 ป ของเหยื่อระเบิดนิวเคลียร์ ตลอดจนเครื่องใช้ไม้สอยและสมุดบันทึกที่เขียนด้วยลายมือ
43 มาซาโมริ : ป 1995 เป็นปที่ครบ 50 ป หลังระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม จังหวัดฮิโรชิมะ และเดินหน้าแผนงานที่ตัดสินใจมุ่งสร้าง “สันติภาพ” สู่อนาคต ดังนั้น ณ “มุมฮิโรชิมะ” จึงได้นำาเสนอย่างก้าวของ ชีวิตตลอด 50 ป ของสหาย 60 คนที่ข้ามพ้นความทุกข์ยากจากการ ถูกระเบิดและสนับสนุนครอบครัว พร้อมกับส่งสาร “จิตใจแหง สันติภาพ” หนึ่งในผู้เข้าชม คุณฮารา มิชิโอะ นักวาดภาพและกวี ได้กล่าวว่า “ดิฉันได้วาดภาพหัวข้อเกี่ยวกับแม่ต่อเนื่องกันมานาน 25 ป ท่ามกลางประวัติศาสตร์ของการใช้กำาลังรุนแรงที่เริ่มจาก สงคราม แม่มักจะถูกบังคับให้สะสางความผิดพลาดอันน่าเศร้าใจที่ ผู้อื่นก่อไว้ แต่ผู้ใหญ่หญิงของสมาคมโซคาทุกท่านยืนหยัดขึ้น มาปกปองเด็ก ๆ และกำาลังพยายามต่อสู้อยู่ ดิฉันรู้สึกประทับใจจิตใจ ของฝายผู้ใหญ่หญิงค่ะ” อาจารยอิเคดะ : ศตวรรษที่ 21นั้นสตรีจะนำายุคสมัย เป็นยุคสมัยที่ สร้างสังคมที่ทุกคนมีความสุขด้วยสันติภาพ เมื่อ 20 กว่าปที่แล้ว ผมเคยสนทนากับคุณคูเดนโฮฟ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) คาเลอร์กี (Coudenhove-Kalergi) หัวหน้าผู้สนับสนุนการรวมยุโรปเป็น หนึ่งเดียว ในการสนทนา ผมได้พูดกับท่านว่า “บุคลิกท่าทางที่ มีความสุขและความทุกข์ของสตรีเท่านั้น ที่จะแสดงให้เห็นอย่างเป็น รูปธรรมว่า สังคมหนึ่งหรือประเทศหนึ่งมีความสงบสุข และมีความ แข็งแกร่งที่สมบูรณ์หรือไม่” คุณคาเลอร์กีได้กล่าวกับผมดังนี้ “ถ้าให้โอกาสสตรีทำาหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายที่ยิ่งใหญ่ จนสำาเร็จ เพียงเท่านี้โลกก็จะมีสันติภาพ เพราะสตรีเป็นนักสันตินิยม มาตั้งแต่ไหนแต่ไรแล้ว” “หากทั่วโลกมีสตรีในสภาผู้แทนราษฎรและรัฐบาล จำานวนกึ่งหนึ่งแล้ว สันติภาพโลกจะมั่นคง” เป็นคำาพูดที่มีนัยลึกซึ้งที่ไม่สามารถลืมได้ครับ ผูที่สรำงสันติภำพของโลก คือสตรี โอกะโนะ : บุคคลผู้ทรงปญญาชั้นนำาของโลกทั้งหลาย ได้แก่ ท่าน คานธี ท่านฐากูร ดร. กัลตุง นักสันติภาพ หรือ ดร. เอสควิเวล นักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนชาวอาร์เจนตินา ต่างก็กล่าวว่า “ผูที่สราง ศตวรรษแหงสันติภาพนั้นคือสตรี”
45 อาจารยอิเคดะ : ถูกต้องครับ นั่นคือแนวโน้มของยุคสมัยที่ถูกต้อง ครั้งหนึ่ง ท่านคานธีเคยกล่าวชมเชยบุคลิกของสตรีที่ ต่อสู้ท่ามกลางการต่อสู้เพื่อความเป็นเอกราชของประเทศอินเดียว่า “หากคำาว่า ‘พลัง’ หมายถึงพลังของจิตใจแล้ว สตรีจะมีพลังที่ ยอดเยี่ยมกว่าบุรุษอย่างมากมาย หากการไม่ใช้กำาลังรุนแรงคือกฎ ระเบียบของมนุษย์แล้ว อนาคตก็เป็นของสตรี” มาดามเมตตาก็กล่าวไว้ว่า “ท่านคานธีสอนว่า ‘ให้มีความกล้าหาญ ต่อสู้เพื่อ ความเที่ยงธรรม พูดความจริง’ และสันติภาพของสังคมจะถูกสร้าง ขึ้นมาได้โดยการวางรากฐานสันติภาพแห่งจิตใจของสตรี ณ เวลานั้น พลังแห่งสันติภาพในสตรี จะกลายเป็นพลังที่ยิ่งใหญ่มหาศาลที่ สามารถเปลี่ยนแปลงสังคมได้” ผู้ใหญ่หญิงทุกท่านมีการกระทำาที่ริเริ่มมาจากตัวเอง และกำาลังเพียรพยายามทำางานอยู่แนวหน้าของยุคสมัย กำาลังทำา กิจกรรมอย่างจริงจัง เพื่อโลก เพื่อผู้คน เป็นเรื่องที่สูงส่งจริง ๆ รู้สึก ขอบคุณครับ ทุกท่านคือความหวังของโลก มนุษยชาติกำาลังจ้อง มองการกระทำาที่มุ่งสู่อนาคตของพวกท่านอยู่
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 บทสนทนาเร� อง แมกับลูกมุงสูศตวรรษที่ 21 (เลม 3) การกระทำาแต่ละอย่างอาจจะไม่โดดเด่น แต่กำาลัง นำาพาสังคม กำาลังนำาพาโลกไปสู่ทิศทางของความสุขอย่างต่อเนื่อง การกระทำาเช่นนั้นจะเป็นการเปด ‘อนาคตแหงความหวัง’ ของ เด็ก ๆ ด้วย ขอให้มีความภาคภูมิใจและก้าวไปข้างหน้ากันเถิด เพื่อสร้าง “ศตวรรษแหงสันติภาพ” ! และมีชัยชนะใน “ชีวิตที่มีภาระหนาที่” ! {จบ/บทที่ 2}
47 โลกแห่งธรรมนิพนธ์ บทสนทนาเกี่ยวกับ ศาสนาแหงมนุษยนิยม
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ บทที่ 3) กำรก่อตั้งค�ำสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน : รุงอรุณแหงศาสนาเพ� อมวลมนุษยชาติ ไซโต : วันที่ 28 เมษายน ที่จะมาถึงนี้ (ค.ศ. 2002) พวกเราจะฉลอง ครบ 750 ปของการก่อตั้งคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน (นับตาม แบบดั้งเดิมของชาวญี่ปุน) สมาชิกเอสจีไอใน 180 ประเทศและเขต การปกครองทั่วโลก (192 ประเทศและเขตการปกครอง ณ เดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 2010) จะร่วมรำาลึกถึงเหตุการณ์สำาคัญนี้ อาจารยอิเคดะ : การเผยแผ่นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวไปทั่วโลก คือคำา ส ั ่งเส ียท ี ่เป ็นความม ุ ่งมาดปรารถนาของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน ด ังท ี ่ กล่าวอ้างอิงอยู่ในงานเขียนของท่านว่า “พุทธธรรมยอนกลับสู ตะวันตก” และ “การเผยแผธรรมมหัศจรรย์ออกไปอยางกวาง ไกล” 1 เอสจีไอ เป็นการรวมตัวกันของบุคคลเพียงองค์กรเดียวเท่านั้น 1 พระนิชิเร็นไดโชนินกลาววา “ดวงจันทร์เคลื่อนจากทิศตะวันตกไปสูทิศตะวันออก อันเปนสัญญาณที่แสดงให้เห็นวาพุทธธรรมแหงอินเดียเผยแผ ไปทางทิศตะวันออก ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก อันเปนศุภนิมิตวา พุทธธรรมแหงญี่ปุนถูกกําหนดให้กลับไปสูแคว้นกุศานะ” (ธรรมนิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ เลม 2 หน้า 936) ทานยังประกาศด้วยวา “การเผยแผ (ธรรมะนี้) ไปสูทั่วโลก ในที่สุดจะบรรลุผลสําเร็จได้อยางแนนอน” (ธรรมนิพนธ์ หน้า 816)
49 ที่นำาความปรารถนานี้ของพระนิชิเร็นไดโชนินไปสู่การปฏิบัติ และ ท ำาให ้เป ็นจร ิงข ึ ้นมา น ี ่ค ือความจร ิงอ ันสูงส ่งและเป ็นข ้อพ ิสูจน ์ว ่า เอสจีไอคือผู้สืบทอดที่ถูกต้องแท้จริงตรงตามพุทธเจตนาพุทธบัญชา พระน ิช ิเร ็นไดโชน ินจะต ้องยกย ่องชมเชยความเพ ียรพยายามของ พวกเราอย่างแน่นอน ! ไซโต : ผมทราบมาว่า 50 ปที่แล้ว ตอนฉลองครบ 700 ปของการ ก ่อต ั้งค ำาสอนของพระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน จ ำานวนสมาช ิกของสมาคม โซคาม ีประมาณ 10,000 ครอบคร ัวเท ่าน ั ้น ในระยะเวลาอ ันส ั ้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เรามีการเติบโตขึ้นอย่างมากมายมหาศาล นี่คือ ความสำาเร็จอันใหญ่หลวงที่ส่องประกายเจิดจรัสในบันทึก ประวัติการณ์ของพุทธศาสนา เมื่อคิดถึงเรื่องนี้ทำาให้ผมเต็มไปด้วย ความรู้สึกปติยินดียิ่งนัก ในการประชุมหัวหน้าภาคเมื่อเร็ว ๆ นี้ อาจารย์ได้พูด ถึงการกำาหนดวิสัยทัศน์ของพวกเราในอีก 50 ปข้างหน้าว่า “ในอีก 50 ปข้างหน้า (ค.ศ. 2052) เราจะฉลอง 800 ปการก่อตั้งคำาสอนของ พระน ิช ิเร ็นไดโชน ิน ในเวลาน ั ้นเราจะสามารถท ำาการเผยแผ ่ธรรม ไพศาลให้ก้าวหน้าไปได้สักเพียงใด ผมขอมอบความไว้วางใจ ทุกอย่างแก่สมาชิกฝายยุวชนและฝายอนาคตของพวกเรา ผม ไว้วางใจพวกคุณ” ถ้อยคำาเหล่านี้ยังกระตุ้นผมให้รู้สึกกระตือรือร้น มากยิ่งขึ้นด้วยครับ
จุลสารรายเดือน ฉบับที่ 31 07-2563 โลกแหงธรรมนิพนธ อาจารยอิเคดะ : การประกาศก่อตั้งคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนิน เป็นการปาวประกาศที่ยิ่งใหญ่ ที่จะนำาความสุขไปสู่ประชาชนทั้งปวง เป็นเวลากว่าหมื่นปและยาวนานกว่านั้นของสมัยธรรมปลาย ปณิธานที่มุ่งไปสู่อนาคตอย่างต่อเนื่องด้วยความพากเพียรที่จะนำาพา ผู้คนทั่วทุกแห่งหนไปสู่ความสุขเช่นนี้ จึงเป็นหัวใจของคำาสอนของ พระนิชิเร็นไดโชนิน การเริ่มต้นวาระครบรอบการประกาศก่อตั้งคำาสอน ของพระนิชิเร็นไดโชนิน ที่เต็มไปด้วยจิตวิญญาณในการทำางาน เพื่อการเผยแผ่ธรรมไพศาล และเปยมด้วยความหวังสำาหรับอนาคต จริง ๆ แล้ว ถือเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการฉลองวันอันเป็นศุภมงคลนี้ นี่คือจิตวิญญาณของสมาชิกเอสจีไอ การปาวประกาศคำาสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินต่อ สาธารณชน ยังเป็นการแสดงออกถึงมหาปณิธานของท่านที่จะทำาให้ ประชาชนทุกคนมีความสุข และช่วยบรรเทาความทุกข์ขั้นพื้นฐานใน สมัยธรรมปลายสำาเร็จเป็นจริงด้วย หากปราศจากความเข้าใจในเรื่อง นี้แล้ว เราก็ไม่สามารถเข้าใจเจตจำานงที่แท้จริงของพระนิชิเร็น ไดโชนิน ในการวิพากษ์วิจารณ์ตำาหนิติเตียนพุทธศาสนานิกายอื่น ๆ ในยุคสมัยของท่านอย่างรุนแรง ในช่วงที่ครบ 700 ป สมาคมโซคาแน่นอนว่ายังเป็น องค์กรขนาดเล็กมาก ๆ แต่นั่นก็ไม่สามารถหยุดยั้งอาจารย์โจเซอิ