The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by drtheeranat, 2022-07-14 23:31:14

เอาไว้อ่านชีวเคมี ส่วน อ เอ๋_

ชีวเคมี ส่วน อ เอ๋_

PH-011-103
เอกสารประกอบการสอน
ชีวเคมี Biochemistry ( 3&4)

ผศ.ดร.ธีรนาถ สุวรรณเรือง

คณะวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยสี ุขภาพ
มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ์

FB: Theeranat Suwanaruang
0812606614

ผศ.ดร. ธีรนาถ สุวรรณเรือง

1. บทนา ความหมายของชวี เคมี ความสาคัญของชวี เคมกี ับงานทางดา้ นสาธารณสุข
2. โครงสร้าง สมบตั แิ ละหน้าทขี่ องคารโ์ บไฮเดรต
3. โครงสร้าง สมบตั แิ ละหน้าทขี่ องไขมัน
4. โครงสร้าง สมบัตแิ ละหน้าทข่ี องกรดนิวคลอี คิ
5. โครงสร้าง สมบัตแิ ละหน้าทข่ี องโปรตนี
6. โครงสร้าง สมบัตแิ ละหน้าทขี่ องเอนไซม์
7. โครงสร้าง สมบัตแิ ละหน้าทข่ี องวติ ามนิ ,นา้ และเกลอื แร่

บทนา ความหมายของชีวเคมี
ความสาคญั ของชีวเคมี

กบั งานทางด้านสาธารณสุข

ผศ.ดร. ธรี นาถ สุวรรณเรือง “อ.เอ”๋
คณะวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยสี ุขภาพ

มหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธุ์

FB: Theeranat Suwanaruang 0812606614

ชีวเคมี (Biochemistry)

• วชิ าทศี่ กึ ษาถงึ ส่วนประกอบทางเคมขี องสิง่ มชี ีวติ โดยศกึ ษาถงึ โครงสร้าง
ทางโมเลกุลของสารต่างๆ ภายในเซลล์
• รวมถงึ การศกึ ษาถงึ การเปล่ียนแปลงของสารจากสารหน่ึงไปอกี สารหน่ึง

• การเปล่ียนแปลงพลังงานภายในเซลล์ รวมถงึ การศกึ ษาถงึ การเปลี่ยนแปลง
ไปมาของสารทงั้ หมดภายในเซลลท์ เี่ รียกว่า เมแทบอลซิ มึ (Metabolism)

• โดยจะศกึ ษาทงั้ เมแทบอลซิ มึ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามปกตแิ ละขณะเกดิ พยาธิ
สภาพหลังการเกดิ โรค

• ศกึ ษาการควบคุมปฏกิ ริ ิยาภายในส่งิ มชี วี ติ โดยเอนไซมช์ นดิ ตา่ งๆ

• การควบคุมวถิ ปี ฏกิ ริ ิยาและเมแทบอลซิ มึ (Pathways and
Metabolism) รวมทงั้ การศกึ ษาโครงสร้างของโปรตนี การสังเคราะห์
โปรตนี การควบคุมและการแสดงออกของยนี เป็ นต้น

The word ‘BIOCHEMISTRY’-
means -Chemistry of Living
beings or Chemical Basis of
Life.

“Life” in Biochemistry point of
view is:

Hundreds of Biochemical
reactions and Biochemical
processes

Occurring in sub cellular
organelles of a cell in an
organized manner.

Biochemistry is a branch
of life science:

Which deals with the
Study of Biochemical
Reactions and Processes

Occurring in living cells of
organisms.

ชีวเคมเี ป็ นวชิ าทศ่ี กึ ษาถงึ ส่วนประกอบทางเคมีและ กระบวนการตา่ ง ๆ ของ
สง่ิ มชี วี ติ ในระดบั โมเลกุล แบง่ การศกึ ษาออกเป็ น 3 ระดบั คือ

• 1. ระดบั โมเลกุล ศกึ ษาถงึ ธรรมชาตแิ ละองคป์ ระกอบทางเคมีในสง่ิ มีชีวติ
อนั ไดแ้ ก่ การศึกษาการสังเคราะหโ์ มเลกุลของคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ลพิ ดิ
กรดนิวคลีอกิ ฮอรโ์ มน วติ ามนิ เมแทบอไลต์ แร่ธาตุและนา้ เป็ นตน้
• 2. ระดับเมแทบอลซิ มึ ศกึ ษาถงึ การเปลย่ี นแปลงชีวโมเลกุลตา่ ง ๆ โดยมี
เอนไซมเ์ ป็ นตวั เร่งปฏกิ ริ ิยา การแปรรูปทางเคมขี องสารเมแทบอไลตต์ า่ ง ๆ
การเปลีย่ นแปลงพลังงานทเ่ี กดิ จากการแปรรูปทางเคมี ซง่ึ เรียกว่า “เม
แทบอลิซมึ ”



• 3. ระดับควบคุม ศกึ ษากระบวนการตา่ ง ๆ ทค่ี วบคุมกระบวนการ
เมแทบอลซิ มึ ใหเ้ กิดอยา่ งมรี ะเบยี บแบบแผน การรักษาสมดุล
ต่าง ๆ ของร่างกาย
• การศกึ ษาระดบั ที่ 1 ระดบั โมเลกุล เรียกวา่ ชีวเคมสี ถติ ิ static
• การศกึ ษาระดับท่ี 2 ระดับเมแทบอลซิ มึ
• 3 ระดบั ควบคุม เรียกว่า เคมพี ลวัต dynamic

หลกั การของชีวเคมี
วชิ าชีวเคมมี หี ลกั การใหญ่ ๆ ทส่ี าคญั ดงั นี้

• 1. ชวี โมเลกุลทกุ ชนิดไม่ว่าใหญ่หรือเลก็ กม็ ีหน้าทแี่ ละบทบาทต่อส่ิงมีชวี ติ
• 2. ศกึ ษาโครงสร้างและบทบาทหน้าทข่ี องชวี โมเลกุลทถี่ ูกสกัดออกมาจาก

ส่ิงมชี วี ติ การศกึ ษาภายในหลอดทดลอง (in vitro) จะช่วยบอกถงึ โครงสร้าง
หน้าทขี่ องสารชวี โมเลกุลเหล่านั้นภายในสง่ิ มชี วี ติ จากนั้นทาการทดสอบใหแ้ น่ชัด
โดยการศกึ ษาบทบาทของชวี โมเลกุลเหล่านั้นในสงิ่ มชี วี ติ (in vivo)
• 3. ชวี โมเลกุลท่วั ๆ ไปจะทางานไดด้ ใี นนา้ ทมี่ ีสภาพทไ่ี ม่เป็ นกรดและด่างมาก
เกนิ ไป มีอุณหภมู ทิ ส่ี ูงกว่าจุดเยอื กแขง็ ของนา้ แต่ตา่ กว่าจุดเดอื ดของนา้

• 4. ชวี โมเลกุลแตล่ ะชนิดมอี ยใู่ นส่ิงมีชีวติ ในปริมาณน้อย จงึ ต้องมีการ
สร้างขนึ้ มาทดแทนในส่วนทถี่ กู ใช้ไป
• 5. ปฏกิ ริ ิยาตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในส่ิงมชี วี ติ เกอื บทงั้ หมดตอ้ งอาศัยตวั เร่ง
ปฏกิ ริ ิยาทางชีวภาพทเ่ี รียกวา่ “เอนไซม”์
• 6. การทางานอยา่ งเป็ นระเบยี บของชีวโมเลกุลหลาย ๆ ชนิด ถกู กาหนด
โดยโครงสร้างของชวี โมเลกุล ตาแหน่งทอี่ ยู่ สภาพแวดล้อม พนั ธุกรรมของ
สง่ิ มีชวี ติ ซงึ่ เป็ นไปตามหลัการทางเคมแี ละิิ สกิ ส์

• 7. ส่งิ มีชวี ติ จะยดึ หลักประหยดั พลังงาน (ไม่ใช้ ไม่สะสม ไม่สร้างชีวโมเลกุล
ทไี่ ม่จาเป็ น)
• 8. สิ่งมชี ีวติ มกี ารแลกเปลย่ี นและถ่ายทอดพลังงานกบั สงิ่ แวดล้อม เพอ่ื ใช้
ในการสร้างและรักษาสภาพโครงสร้างของสิง่ มีชีวติ
• 9. ส่งิ มชี ีวติ มีการจดั เรียงตวั กันของสารตา่ ง ๆ ทเี่ ป็ นองคป์ ระกอบอยา่ ง
สลับซับซ้อนและเป็ นแบบแผน เช่น ร่างกายของคนมีลาดบั การจดั เรยี ง
โครงสร้างจากอะตอมไปเป็ นโมเลกุล จากโมเลกุลเป็ นแมโครโมเลกุล
แมโครโมเลกุลเชงิ ซอ้ น ออรแ์ กเนลล์ และ อวัยวะตา่ ง ๆ ตามลาดับ

• 10. ส่วนตา่ ง ๆ ของส่งิ มชี วี ติ มหี น้าทแี่ ละการทางานทจี่ าเพาะ เช่น แขน ขา
ตา หู อวยั วะตา่ ง ๆ มหี น้าทท่ี แี่ ตกตา่ งกนั ไป มกี ารทางานทจ่ี าเพาะ
• 11. สง่ิ มชี ีวติ มกี ารสืบพนั ธุแ์ ละถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมของตนเอง
จากรุ่นหน่ึงไปสู่รุ่นหนึ่ง
• 12. หลักการพนื้ ฐานทางชวี เคมีของพฤตกิ รรมอยา่ งหน่ึงทไ่ี ดจ้ ากสง่ิ มีชีวติ
หน่ึง มักใช้ไดก้ ับอกี สง่ิ มีชวี ติ หนึ่งทมี่ ีพฤตกิ รรมคล้ายกนั

Historical Developments
of

Biochemistry

Biochemistry emerged in the late 18th
and early 19th century.

The term Biochemistry was first
introduced by the German Chemist Carl
Neuberg in 1903.

In the 1940s Clinical Biochemistry
evolved, as an autonomous field.

S.No Pioneer Workers Discovery/Work

1 Berzilus Enzymes Catalysis

2 Edward Buchner Enzyme Extraction

3 Louis Pasteur Fermentation Process

4 Lohmann Role of Creatine PO4 in
muscles
5 Hans Kreb TCA Cycle
6 Banting and Macleod
7 Fiske and Subbarow Insulin

Role of ATPs

S.No Pioneer Worker Discovery/Work

8 Watson and Crick Double Stranded
DNA
9 Landsteiner Protein Structure
10 Peter Mitchell
Oxidative
11 Nirenberg Phosphorylation
Genetic Code on
12 Paul Berg mRNA
Recombinant DNA
13 Karry Mullis Technology
Polymerase Chain
14 Khorana Reaction
Synthesized Gene

ชวี เคมจี ะตอ้ งมพี นื้ ความรู้พนื้ ฐานทส่ี าคัญในแตล่ ะวชิ าไดด้ งั นี้

• วชิ าเคมี นักชีวเคมจี ะต้องมคี วามรู้ทางดา้ นอนิ ทรียเ์ คมที เี่ กยี่ วกับ
อะตอมซง่ึ เป็ นองคป์ ระกอบพนื้ ฐานของสารชีวโมเลกุล เช่น
คารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซเิ จน ไนโตรเจน ิอสิอรัสและซัลเิอร์
เป็ นตน้ ตอ้ งรู้จกั พนั ธะระหว่างอะตอม คุณสมบตั ขิ องหมทู่ าปฏกิ ริ ิยา
(function group) ความเป็ นกรด-ด่าง ค่า pH ค่า pKa
บัิเิอร์ อัตราเรว็ ของการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ า
คุณสมบัตขิ องสารละลาย สเปกโทรสโกปี เป็ นตน้

• วชิ าชวี วทิ ยา นักชีวเคมีตอ้ งมีความรู้พนื้ ฐานทางดา้ นชีววทิ ยา ไดแ้ ก่ ความรู้
เร่ืองเซลลแ์ ละออรแ์ กเนลล์ การแบง่ เซลลแ์ บบไมโตซสี และไมโอซสี
ลักษณะและหน้าทข่ี องอวัยวะ วัฏจกั รของสง่ิ มีชวี ติ หว่ งโซอ่ าหาร
นิเวศวทิ ยา การจดั ไิลัมและสปี ชีส์ ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็ นต้น

• วชิ าิิ สิกส์ นักชวี เคมตี อ้ งมีความรู้พนื้ ฐานทางดา้ นิิ สิกส์ ไดแ้ ก่ ความรู้
เร่ืองแรง อัตราเร็วของการเคลอ่ื นที่ อตั ราเร่ง แรงดงึ ดดู ของโลก หน่วย
พลงั งานไิิ้า คุณสมบตั ทิ างกายภาพของก๊าซและของเหลว หน่วยความ
ยาว เวลา มวล เป็ นตน้

ความสาคญั และประโยชนข์ องชีวเคมี

• ชีวเคมเี ป็ นวชิ าทม่ี คี วามสาคญั วชิ าหน่ึงตอ่ พัฒนาการของเทคโนโลยชี วี ภาพ
การเกษตร อุตสาหกรรมอาหารและทางการแพทย์ ปัจจุบนั ไดม้ กี ารนาเอาความรดู้ า้ น
ชีวเคมีมาแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ อันจะนามาซงึ่ ประโยชนห์ ลายดา้ น เช่น

ทางเกษตร กกาารรเศกกึ ิดษกา๊ากซรเอะบทวลิ นนี กตาอ้รสงอาคาศญั ัยคๆวขามอรงูพ้ทาชื งเชชีว่นเคกมามี ราสศังึกเคษราาดะว้หยแ์ เสพงอื่ กใหารเ้ ขตา้ รถึงงึ
ไนโตรเจน
กลไกการทางานตา่ ง ๆ ของพชื การผลิตยาปราบศัตรูพชื โดยใชฮ้ อรโ์ มนในการกาจดั
แมลง การสกัดสารชีวภาพจากแบคทเี รียมาใช้กาจดั แมลง การผลิตพชื ตา้ นทานโรค
และแมลง การปรับปรุงพนั ธุพ์ ชื และพนั ธุส์ ัตวใ์ ห้มคี วามแขง็ แรงตา้ นทานโรค เป็ นต้น

• อุตสาหกรรมอาหาร การผลิตวัสดุทเ่ี ป็ นประโยชนจ์ าก
วัตถุดบิ ทางการเกษตร เช่น การหมกั สุรา การผลิตเอทานอล
จากแป้ง การผลติ ผงชูรส ล้วนแล้วแตต่ อ้ งอาศัยความรูท้ าง
ชีวเคมเี ช่นกัน

Medical Biochemistry

• Medical or Human Biochemistry is a
branch of Biochemistry which deals
with:

• Biochemical constituents of human
body
• Their interactions in body cells
• To maintain normal health, growth
and reproduction and related
diseases.

• ทางการแพทย์ และ สาธารณสุข ชีวเคมสี ามารถอธบิ าย
พฤตกิ รรมทางสรรี ะวทิ ยาของร่างกายระดบั โมเลกุล เช่น การยอ่ ย
การหายใจ การทางานของระบบประสาท ฮอรโ์ มน เป็ นต้น
นอกจากนีย้ งั นาเอาความรู้ทางชวี เคมมี าใช้ในการรักษาโรคทาง
พนั ธุกรรมตา่ ง ๆ เช่น โรคธาลัสซีเมีย โรคฮโี มิี เลีย การนาความรู้
เรื่องยนี มาใช้ในการรักษาโรคทางพนั ธุกรรมทร่ี ักษาไม่ได้ทเี่ รียกว่า
ยนี บาบดั (Gene therapy)
• และในอุตสาหกรรมการผลติ ยาใหม่ ๆ เป็ นตน้





คาร์โบไฮเดรต

Carbohydrate

ความสาคญั ของคาร์โบไฮเดรต

: เป็ นสารประกอบอนิ ทรีย์ชนิดหน่ึงทโ่ี มเลกลุ ประกอบด้วย C, H, O
: องค์ประกอบหลกั คล้ายนา้ คือ ประกอบด้วย ไฮโดรเจนและออกซเิ จน
ด้วยสัดส่วน 2:1 จงึ เรียกรวมว่า คาร์โบไฮเดรต
: หน้าทส่ี าคญั คือ เป็ นองค์ประกอบของโครงสร้างผนังเซลล์ของพืช
และเป็ นสารให้พลงั งานแก่ร่างกาย
: ในธรรมชาตพิ บได้ท้งั ในพืช สัตว์ และจุลนิ ทรีย์

ความสาคญั ของคาร์โบไฮเดรต

สัตว์บริโภคคาร์โบไฮเดรต ย่อยสลายในระบบทางเดนิ อาหาร

เพ่ือใช้เปลยี่ นเป็ นพลงั งาน ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย นา้ ตาล

นา้ ตาลกลูโคสในเลือด สะสมไว้ในตับและกล้ามเนื้อในรูปของไกลโคเจน

กระบวนการสังเคราะห์แสง

6 CO2 + 6 H2O คลอโรฟิ ลล์ C6H12O6 + 6O2
แสง

องค์ประกอบของ นาไปสั งเคราะห์ คาร์ โบไฮเดรตเชิ งซ้ อนช นิด
เนื้อเยื่อพืชและผนัง ต่างๆ เช่น ไดแซ็กคาไรด์ โอลิโกแซ็กคาไรด์
และพอลแิ ซ็กคาไรด์
เซลล์พืช

ความสาคญั ต่อกระบวนการแปรรูปอาหาร

1. เป็ นสารให้ความหวาน ละลายในนา้ เป็ นนา้ เชื่อม เช่น กลโู คส
ฟรุกโทส มอลโทส

2. จุลนิ ทรีย์ใช้เป็ นแหล่งพลงั งานในการเจริญ
3. ให้ความร้อนแก่นา้ ตาลจะเกดิ สีและกลน่ิ ของคาราเมล
4. รวมตัวกบั โปรตีนเกดิ ปฏกิ ริ ิยาสีนา้ ตาล
5. สตาร์ช สามารถให้ความข้นหนืดแก่อาหารได้

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต

◼ คาร์โบไฮเดรตแบ่งตามโครงสร้างของโมเลกลุ เป็ นกล่มุ ใหญ่ ได้ 4 กลุ่ม คือ
1. โมโนแซ็คคาไรด์ : เป็ นนา้ ตาลโมเลกลุ เด่ยี ว ไม่สามารถถูกไฮโดรไลซ์

ได้อกี
2. ไดแซ็คคาไรด์ : เป็ นนา้ ตาลทป่ี ระกอบด้วยโมโนแซ็คคาไรด์ 2 โมเลกลุ
3. โอลโิ กแซ็คคาไรด์ : เป็ นคาร์โบไฮเดรตทป่ี ระกอบด้วยโมโนแซ็คคาไรด์

3-10 โมเลกลุ
4. พอลแิ ซ็คคาไรด์ : เป็ นคาร์โบไฮเดรตท่ปี ระกอบด้วยโมโนแซ็คคาไรด์

10 โมเลกลุ ขึน้ ไป

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต

1. โมโนแซ็คคาไรด์
: เป็ นนา้ ตาลโมเลกลุ เดย่ี ว เป็ นคาร์โบไฮเดรตทม่ี ีขนาดเลก็ ทส่ี ุด
: สูตรทวั่ ไปคือ (CH2O)n : ท่ัวไป n = 3-7
: ถ้าเป็ นนา้ ตาล aldose : functional gr. คือ aldehyde
: ถ้าเป็ นนา้ ตาล ketose : functional gr. คือ ketone

ketone

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

glyceraldehyde dihydroxyacetone

การจาแนกชนดิ และการเรียกช่ือนา้ ตาลโมโนแซ็คคาไรด์

จานวนคาร์บอนอะตอมใน ชนิดของหมู่คาร์บอนิล
โมเลกลุ ของนา้ ตาล
แอลดไี ฮด์ คโี ตน
3
4 ไตรโอส (triose) ไตรอูโลส (triulose)
5 เตตโทรส (tetrose) เตตรูโลส (tetrulose)
6 เพนโทส (pentose) เพนทูโลส (pentulose)
7 เฮกโซส (hexose) เฮกซูโลส (hexulose)
8 เฮพโทส (heptose) เฮพทูโลส (heptulose)
9 ออกโทส (octose) ออกทูโลส (octulose)
โนโนส (nonose) โนนูโลส (nonulose)

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

◼ นา้ ตาลเพนโทส
: พบในรูปอสิ ระน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็ นองค์ประกอบในโมเลกุลของ

พอลแิ ซ็คคาไรด์ เช่น เพนโทแซน ท่สี าคญั ได้แก่

1. ไซโลส (xylose)
: พบในโมเลกลุ ของไซแลน ซ่ึงเป็ นเพนโทแซน
ชนิดหนึ่งทพ่ี บในซังข้าวโพด ฟางข้าว ราข้าวต่างๆ
: อาจพบในผลไม้บางชนิด เช่น เชอร่ี ท้อ สาลี่ พลมั

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

◼ นา้ ตาลเพนโทส

2. อะราบโิ นส (arabinose)
: พบมากในโมเลกลุ ของกมั เพกติน มิวซิเลจ และเฮมิเซลลโู ลส
: เมื่อนากมั อะราบกิ ไปไฮโดรไลซ์ด้วยกรดซัลฟูริกเจือจาง
จะได้นา้ ตาลอะราบโิ นส
: พบในผลไม้บางชนิด เช่น แอปเปิ้ ล มะนาว
และองุ่น เป็ นต้น

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

◼ นา้ ตาลเพนโทส

3. ไรโบส (ribose)
: พบเป็ นองค์ประกอบในโมเลกลุ ของกรดนิวคลอี กิ ได้แก่
กรดไรโบนิวคลอิ กิ หรืออาร์เอน็ เอ (RNA) และโคเอนไซม์นิวคลโี อไทด์
: อนุพนั ธ์ทส่ี าคญั คือ 2-ดีออกซีไรโบส ซึ่งเป็ นองค์ประกอบในโมกลุ ของ
กรดดีออกซีไรโบนิวคลอี กิ หรือ ดีเอน็ เอ (DNA)

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

◼ ลกั ษณะโครงสร้างพืน้ ฐานของกรดนิวคลอี กิ สรุปได้ดงั นี้
1. กรดนิวคลีอิก ประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ถ้าหลาย

โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ของนิวคลีโอไทด์เชื่อมต่อกัน เรียกว่า พอลีนิวคลีโอไทด์
(polynucleotide)
2. นิวคลโี อไทด์เป็ นสารประกอบคาร์บอน ท่ีเกดิ จากอะตอมของธาตุคาร์บอนออกซิเจน และ
ฟอสฟอรัส รวมกนั เป็ นโมเลกลุ

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

3. นิวคลโี อไทด์แต่ละหน่วยมีองค์ประกอบสาคญั 3 ส่วน คือ
: ส่วนท่เี ป็ นไนโตรจนี ัสเบส (nitrogenus base)
: ส่วนที่เป็ นนา้ ตาลทมี่ ีคาร์บอน 5 อะตอม
: หมู่ฟอสเฟต (phosphate group)

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

◼ นา้ ตาลเฮกโซส
: ที่สาคัญ ได้แก่ กลูโคส ซ่ึงได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

ของพืช
: นา้ ตาลอ่ืน ได้แก่ ฟรุกโทส กาแลก็ โทส และแมนโนส

1. นา้ ตาลกลูโคส
: เป็ นองค์ประกอบในโมเลกลุ ไดแซ็คคาไรด์ โอลโิ กแซ็คคาไรด์ และ
พอลแิ ซ็คคาไรด์ เช่น มอลโทส ซูโครส แลก็ โทส แรฟฟิ โนส เดกซ์ทริน
สตาร์ช เซลลโู ลส และไกลโคเจน

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

◼ นา้ ตาลเฮกโซส

2. นา้ ตาลฟรุกโทส หรือ ลวี ูโลส (levulose)
: เป็ นนา้ ตาลคโี ทสชนิดเดียวทส่ี าคญั มากในอาหาร
: ในธรรมชาตพิ บใน ผลไม้ ผกั ธัญพืช นา้ ผงึ้

3. นา้ ตาลกาแลก็ โทส
: พบเป็ นอสิ ระน้อยมาก ได้จากการไฮโดรไลซ์นา้ ตาลแลก็ โทสด้วย
กรดซัลฟูริก ความเข้มข้น 2%

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต : โมโนแซ็คคาไรด์

◼ นา้ ตาลเฮกโซส

4. นา้ ตาลแมนโนส
: ในธรรมชาตพิ บบ้างเลก็ น้อย ใน ส้ม และเมลด็ ทก่ี าลงั งอก
: ส่วนใหญ่อยู่ในรูปทกี่ าลงั งอก เช่น ในสัตว์ นา้ ตาลแมนโนสเป็ น
องค์ประกอบในโมเลกลุ ของไกลโคลพิ ดิ และไกลโคโปรตนี

D - galactose
D - mannose

อนุพนั ธ์ของโมโนแซ็คคาไรด์

1. นา้ ตาลแอลกอฮอล์
: เป็ นอนุพนั ธ์นา้ ตาลทไ่ี ด้จากปฏิกริ ิยารีดักชันของนา้ ตาลอสิ ระ
: ทาให้หมู่ –CHO ถูกแทนทดี่ ้วย –CH2OH

glucose sorbitol (glucitol)

อนุพนั ธ์ของโมโนแซ็คคาไรด์

2. นา้ ตาลดอี อกซี (deoxy sugar)
: เป็ นแอลโดเฮกโซสทหี่ มู่ –CH2OH ถูกแทนทดี่ ้วย –CH2 หรือ –CH3
: เช่น 2-deoxy-D-ribose เป็ นองค์ประกอบในโมเลกลุ ของนิวคลโี อไทด์

ribose 2-deoxy-D-ribose

อนุพนั ธ์ของโมโนแซ็คคาไรด์

2. นา้ ตาลดีออกซี (deoxy sugar)

D - galactose D-fucose

C6O6H12 C6O5H12

อนุพนั ธ์ของโมโนแซ็คคาไรด์

3. นา้ ตาลกรด (sugar acid)
: เกดิ จากปฏกิ ริ ิยาออกซิเดชันของหมู่แอลดีไฮด์ (-CHO) เป็ นหมู่

กรด (-COOH) จงึ เป็ นอนุพนั ธ์ของกรดอนิ ทรีย์
: รวมเรียกว่า กรดยูโรนิก (uronic acids) เช่น กรดกลูโคโรนิก

กรดแมนนูโรนิก กรดกาแลก็ ทูโรนิก

อนุพนั ธ์ของโมโนแซ็คคาไรด์

Glucoronic acid

อนุพนั ธ์ของโมโนแซ็คคาไรด์

4. นา้ ตาลอะมโิ น
: เกดิ จากหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ถูกแทนทดี่ ้วยหมู่อะมิโน (-NH2)

ที่คาร์บอนตาแหน่งท่ี 2 ของแอลโดเฮกโซส

glucosamine


Click to View FlipBook Version