นวิ คลโี อไทด(์ Nucleotide)
โพลนี ิวคลโี อไทด์
(polynucleotide)
นวิ คลโี อไทด(์ Nucleotide)
โครงสรำ้ งของ DNA
Watson–Crick Watson–Crick
http://i202.photobucket.com/albums/aa144/Primate_bucket/WatsonJames-CrickFrancis.jpg
โครงสร้างของ DNA
โครงสร้างของ DNA
โครงสรำ้ งของ DNA
http://www.anselm.edu/homepage/jpitocch/genbio/doublehelix.JPG
โครงสรำ้ งของ DNA
โครงสรำ้ งของ DNA
http://img.blogcu.com/uploads/kedicikkopekcik_dna2.jpg
พนั ธะไฮโดรเจน : T---A
พนั ธะไฮโดรเจน : C---G
พนั ธะไฮโดรเจนของ RNA
http://wps.prenhall.com/esm_freeman_biosci_1/7/1946/498371.cw/index.html
โครงสร้าง RNA
โครงสร้าง RNA
โครงสรำ้ งของ DNA และ RNA
Deoxyribonucleic acid : DNA Ribonucleic acid : RNA
โปรตนี
ความสาคญั ของโปรตีน
: เป็ นสารประกอบอนิ ทรีย์ทสี่ าคญั ของสิ่งมีชีวติ
: เป็ นสารทม่ี ีในร่างกายมากเป็ นอนั ดับ 2 รองจากนา้ คือ มปี ระมาณ 18%
โดย
1 ใน 3 อยู่ใน เนื้อเย่ือของกล้ามเนื้อ
1 ใน 5 อยู่ใน กระดูกและกระดูกอ่อน
1 ใน 10 อยู่ใน ผวิ หนัง
และทเี่ หลือจะพบในเนื้อเย่ืออ่ืนๆ และของเหลวในร่างกาย แต่ไม่พบ
ในนา้ ดแี ละปัสสาวะ
ความสาคญั ของโปรตนี
: เซลล์ของสิ่งมีชีวติ ทุกชนิดต้องมโี ปรตีน
: I am first
: โมลกลุ ประกอบด้วยธาตุต่างๆ โดยประมาณ คือ
คาร์บอน 50-55 % ออกซิเจน 20-23 %
ไนโตรเจน 12-19 % ไฮโดรเจน 6-7 %
กามะถัน 0.2-3.0 % บางชนิดมฟี อสฟอรัสเลก็ น้อย
: หน่วยเลก็ สุดของโปรตีน เรียกว่า กรดอะมโิ น
ความสาคญั ของโปรตีน
แหล่งอาหาร กระเพาะอาหาร กรดอะมโิ น ผวิ ผนงั ลาไส้เลก็
โปรตีน
Proteolytic enzyme
เส้นเลือด
กรดอะมิโนบางส่ วนถูกทาลาย รวมตวั กนั สร้างโปรตีนใหม่
: เปลยี่ นเป็ นไนโตรเจนในรูปของยูเรีย ตามทร่ี ่างกายต้องกาย
: คาร์บอนถูกออกซิไดส์ให้พลงั งานหรือ
ใช้สร้างสารใหม่
กรดอะมโิ น
◼ โครงสร้างประกอบด้วยหมู่อะมโิ น (-NH2) และหมู่คาร์บอกซิล (-COOH)
อย่างละ 1 หมู่ และมสี ายแขนง (R) ต่ออยู่กบั C-atom
NH2 CH COOH
R ถ้าหมู่ R เป็ นไฮโดรเจน
คือ กรดอะมิโนที่มขี นาด
เลก็ ทีส่ ุด เรียกว่า ไกลซีน
สมบัติด้านกรดและด่างของกรดอะมิโน
+NH3 CH COOH +NH3 CH COO-
R H+ R
สภาวะกรด - H+
Switter ion NH2 CH COO-
R
สภาวะด่าง
การจาแนกกรดอะมิโน
ตามหลกั โภชนาการแบ่งออกเป็ น 2 พวก
1. กรดอะมิโนทจี่ าเป็ นต่อร่างกาย (essential amino acid)
: กรดอะมิโนทรี่ ่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขนึ้ ได้เองหรือได้น้อยมาก
จนไม่เพยี งพอต่อความต้องการ ต้องบริโภคจากอาหาร
: 8 ตัว คือ ลซู ีน ไอโซลซู ีน ไลซีน เมไทโอนีน เฟนิลอะลานีน ทรีโอนีน
ทริฟโทเฟน และ วาลนี สาหรับทารกจะเพม่ิ ฮีสทดิ ีน
: พบมากในเนื้อสัตว์ เช่น นา้ นม เนื้อ ไข่และปลา เป็ นต้น
การจาแนกกรดอะมโิ น
2. กรดอะมิโนท่ีร่างกายสังเคราะห์ (non-essential amino acid)
: ได้แก่ กรดกลูตามิก กรดแอสพาร์ติก ไกลซีน ซิสตีน (อาจพบใน
รูปซิสเตอีน) เซรีน ไทโรซีน โพรลีน (อาจพบในรูปไฮดรอกซีโพรลีน)
อะลานีน อาร์จีนีน แอสพาราจนี กลูตามนี
ดังน้ันในทางวิทยาศาสตร์การอาหารจึงถือว่าโปรตีนจากแหล่งอาหาร
ต่างกนั เป็ นโปรตนี ทม่ี ีคุณค่าไม่เท่ากนั
แหล่งของโปรตีนจงึ มี 2 ชนิด คือโปรตนี จากสัตว์และโปรตนี จากพืช
กรดอะมโิ น
แหล่งโปรตีน
1. โปรตีนจากสัตว์ : จัดว่าเป็ นอาหารท่ีมีโปรตีนท่ีมีคุณภาพสูง
มีความจาเป็ นต่อร่างกาย มีกรดอะมิโนครบตามความจาเป็ นของ
ร่างกาย เรียกว่า โปรตีนสมบูรณ์ (complete proteins)
2. โปรตีนจากพืช : มีคุณภาพรองลงมา เนื่องจากมีกรดอะมิโนท่ี
จาเป็ นไม่ครบ อาจขาดไป 1 ตัว หรือมากกว่า จึงเรียกว่า โปรตีนไม่
สมบูรณ์ (incomplete proteins) เช่น ข้าวโพดมีทริฟโทเฟนน้อย
การจาแนกกรดอะมิโน
1. กรดอะมิโนท่ีมสี มบัตเิ ป็ นกลาง (neutral amino acid)
: มหี มู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมโิ น อย่างละ 1 หมู่ แบ่งออกเป็ น 2 กล่มุ
1.1 กลุ่มทมี่ หี มู่ R เป็ น hydrophilic
1.2 กลุ่มทมี่ หี มู่ R เป็ น hydrophobic
2. กรดอะมโิ นทม่ี สี มบัติเป็ นกรด (acidic amino acid)
: มหี มู่คาร์บอกซิล 2 หมู่ และหมู่อะมโิ น 1 หมู่
3. กรดอะมโิ นทมี่ ีสมบัติเป็ นด่าง (basic amino acid)
: มหี มู่คาร์บอกซิล 1 หมู่ และหมู่อะมโิ น 2 หมู่
การจาแนกกรดอะมิโน
cysteine
aspartic arginine
โครงสร้างโมเลกลุ ของโปรตนี