The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนภาคเรียนที่2ปีการศึกษา2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr chatreewr, 2019-11-15 17:50:24

แผนการสอนภาคเรียนที่2ปีการศึกษา2559

แผนการสอนภาคเรียนที่2ปีการศึกษา2559

-ก-

คานา

แผนจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา ว 30202 จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นการกาหนดเป้าหมายและ
รายละเอียดในการจดั การเรียนการสอนสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 สายวิทยาศาสตร์ โดยดาเนินการ
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปรับปรุงปี 2560 โดยในแผนการจัดการเรียนรู้
ฉบับน้ี มอี งค์ประกอบต่างๆ ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลทว่ั ไปของโรงเรยี น การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร แผนการจัดการเรียนรู้และ
เอกสารประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ สรปุ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและ ภาคผนวก

ในการจัดทาแผนการเรียนการรู้ฉบับนี้ดาเนินการตามความรู้และความสามารถที่ผู้เขียนแผนการ
จัดการเรียนรู้มีประสบการณ์ผ่านมา หากมีส่วนหน่ึงส่วนใดในแผนการจัดการเรียนรู้นี้ท่ีสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาอ่ืนๆได้แล้วผู้จัดทามีความยินดีให้ดาเนินการได้ แต่หาก
มีส่วนหน่ึงส่วนใดในแผนการจัดการเรียนรู้น้ีที่มีความบกพร่องไม่สมบูรณ์ ไม่เกิดประโยชน์ในการจัดการเรียน
การสอน อันจะทาให้การพัฒนาผเู้ รยี นไม่บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ั้งไว้ ผู้จดั ทาขออภัยมา ณ ท่นี ้ี

นายชาตรี ศรีม่วงวงค์
ครชู านาญการ

-ข- หนา้

สารบัญ 1
2
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของโรงเรียน 2
1.1 ปรชั ญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์
1.2 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 4
1.3 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5
11
ส่วนท่ี 2 การวิเคราะหห์ ลักสตู ร 12
2.1 มาตรฐาน ตัวช้ีวัด และสาระแกนกลาง 13
2.2 แบบบันทึกการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้วี ดั 25
2.3 คาอธบิ ายรายวชิ า 41
2.4 โครงสร้างรายวิชา/โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 43
2.5 แบบบันทึกการวเิ คราะห์กิจกรรมการจดั การเรยี นรตู้ ามตัวชวี้ ัด 45
2.6 การวเิ คราะห์ผูเ้ รียน
2.7 แผนการวดั ผลและประเมินผลประจารายวชิ า
2.8 แบบบนั ทกึ การวเิ คราะห์ความสอดคล้องฯ
2.9 แผนการบูรณาการหลักสูตรท้องถ่นิ อาเซยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

-ค-

สารบญั

หนา้

ส่วนท่ี 3 แผนการจัดการเรยี นรู้และเอกสารประกอบแผนการจดั การเรียนรู้

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง งานและพลังงาน (แผนท่ี 1-3) 47

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง โมเมนตัมและการชน (แผนที่ 4-6) 50

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การเคล่อื นทีแ่ บบหมุน (แผนท่ี 7-9) 53

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยดื หยุ่น (แผนที่ 10-12) 56

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 งานและกาลัง 59

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 พลังงานกล 83

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 กฎอนรุ กั ษ์พลังงาน 105

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 โมเมนตัมและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตมั 128

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การดลและแรงดล 152

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 การชน และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั 182

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การเคลอ่ื นท่แี บบหมุน และปริมาณที่เกีย่ วข้อง 210

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 ทอรก์ การเคลื่อนท่ีแบบหมนุ และโมเมนต์ความเฉ่ือย 236

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 พลังงานจลนข์ องการหมนุ และโมเมนตัมเชิงมุม 263

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 สภาพสมดุล และเง่ือนไขของสมดลุ 292

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 โมเมนตข์ องแรงหรือทอรก์ และโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 326

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 12 สภาพยดื หยุน่ 354

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก 378

-ข- หนา้

สารบัญ 1
2
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของโรงเรียน 2
1.1 ปรชั ญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์
1.2 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 4
1.3 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5
11
ส่วนท่ี 2 การวิเคราะหห์ ลักสตู ร 12
2.1 มาตรฐาน ตัวช้ีวัด และสาระแกนกลาง 13
2.2 แบบบันทึกการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้วี ดั 25
2.3 คาอธบิ ายรายวชิ า 41
2.4 โครงสร้างรายวิชา/โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 43
2.5 แบบบันทึกการวเิ คราะห์กิจกรรมการจดั การเรยี นรตู้ ามตัวชวี้ ัด 45
2.6 การวเิ คราะห์ผูเ้ รียน
2.7 แผนการวดั ผลและประเมินผลประจารายวชิ า
2.8 แบบบนั ทกึ การวเิ คราะห์ความสอดคล้องฯ
2.9 แผนการบูรณาการหลักสูตรท้องถ่นิ อาเซยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

-ค-

สารบญั

หนา้

ส่วนท่ี 3 แผนการจัดการเรยี นรู้และเอกสารประกอบแผนการจดั การเรียนรู้

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง งานและพลังงาน (แผนท่ี 1-3) 47

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง โมเมนตัมและการชน (แผนที่ 4-6) 50

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การเคล่อื นทีแ่ บบหมุน (แผนท่ี 7-9) 53

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยดื หยุ่น (แผนที่ 10-12) 56

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 งานและกาลัง 59

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 พลังงานกล 83

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 กฎอนรุ กั ษ์พลังงาน 105

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 โมเมนตัมและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตมั 128

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การดลและแรงดล 152

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 การชน และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั 182

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การเคลอ่ื นท่แี บบหมุน และปริมาณที่เกีย่ วข้อง 210

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 ทอรก์ การเคลื่อนท่ีแบบหมนุ และโมเมนต์ความเฉ่ือย 236

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 พลังงานจลนข์ องการหมนุ และโมเมนตัมเชิงมุม 263

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 สภาพสมดุล และเง่ือนไขของสมดลุ 292

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 โมเมนตข์ องแรงหรือทอรก์ และโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 326

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 12 สภาพยดื หยุน่ 354

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก 378

1

ระบบเรียนรู้ เลขทีเ่ อกสาร :
วร ……../.....
แผนการจัดการเรียนรู้
มฐ. ………… บช………..

ปรัชญา

สจั จัง เว อมตา วาจา “วาจาจริงเปน็ สงิ่ ไมต่ าย”

วิสัยทศั น์

พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น โดยการจัดการเรยี นรู้
การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพและความร่วมมือของภาคีเครือขา่ ย

พนั ธกิจ

1. สง่ เสริมและพัฒนาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสพฐ.และเกณฑ์โรงเรียน
มาตรฐานสากล

2. ส่งเสริมและพัฒนาครูใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชพี ครสู ู่มาตรฐานสากล
3. พัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเพ่ือความเปน็ เลศิ โดยเนน้ หลักการกระจายอานาจสกู่ าร

เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล
4. สง่ เสริมใหช้ มุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา

เปา้ ประสงค์

1. นักเรยี นไดเ้ รียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสพฐ.และเกณฑ์โรงเรยี นมาตรฐานสากล
2. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาได้รบั การพฒั นาตามมาตรฐานวชิ าชีพครสู ู่มาตรฐานสากล
3. โรงเรียนมีการบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ
4. สถานศึกษาเปน็ ท่ียอมรบั ของชุมชน

กลยทุ ธ์

1. ผเู้ รียนมีคณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษาของ สพฐ. และเกณฑ์โรงเรียนมาตรฐานสากล
2. ครแู ละบคุ ลากรมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี สู่มาตรฐานสากล
3. การบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพสู่มาตรฐานสากล
4. ชุมชนเข้มแขง็ โรงเรียนก้าวไกล

2

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่อื สตั ย์สจุ รติ
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. ม่งุ มัน่ ในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

1.ความสามารถในการส่ือสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4.ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

1. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความร้คู วามเขา้ ใจ ความรูส้ ึก และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมลู ขา่ วสารและ
ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอ่ รองเพอ่ื ขจดั และลด
ปญั หาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไมร่ ับขอ้ มลู ขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจน
การเลอื กใช้วธิ กี ารสอ่ื สาร ที่มีประสิทธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพ่ือนาไปสูก่ ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสน เทศ เข้าใจ
ความสัมพนั ธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้น ต่อตนเอง
สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม

3

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ น

การดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง การทางาน และการอย่รู ว่ มกนั ใน

สงั คมด้วยการสร้างเสรมิ ความสัมพันธ์อนั ดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่าง

เหมาะสม การปรบั ตัวให้ทันกบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลีกเลยี่ ง

พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ

มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่อื การพัฒนาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร
การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

249

มาตรฐานและตวั ช้ีวดั สาระแกนกลาง

รายวชิ า ฟิสิกส์ 2 รหสั วิชา ว30202 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

สาระฟิสกิ ส์

1.เข้าใจธรรมชาตทิ างฟสิ ิกส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคล่ือนทแ่ี นวตรง แรงและกฎ

การเคลือ่ นทข่ี องนวิ ตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสยี ดทานสมดุลกลของวตั ถุ งาน และกฎการ

อนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตมั และกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัม การเคล่อื นท่แี นวโค้ง รวมท้งั นาความรู้ไป

ใชใ้ นประโยชน์

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสงั คมท่ีมีการ

เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรูแ้ ละทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ่ืน ๆ

เพอื่ แก้ปัญหาหรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวติ จรงิ อยา่ งเปน็

ขนั้ ตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการ

แกป้ ญั หาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม

ช้ัน ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4
1.อธบิ ายสมดลุ กลของวตั ถุ โมเมนต์ และ 1.สมดุลกลของวัตถุ
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4
ผลรวมของโมเมนต์ทม่ี ีต่อการหมนุ แรงคู่ 2.โมเมนต์

ควบและผลของแรงคู่ควบท่ีมีต่อสมดุลของ 3.แรงคู่ควบ

วัตถุ เขยี นแผนภาพของแรงท่ีกระทาํ ตอ่ วตั ถุ 4.แผนภาพของแรงท่ีกระทําต่อวตั ถุ

อสิ ระเม่ือวัตถุอยู่ในสมดลุ กล และคาํ นวณ 5.ปรมิ าณตา่ ง ๆท่ีเกย่ี วข้อง

ปรมิ าณต่าง ๆท่เี กีย่ วข้อง รวมทง้ั ทดลอง

และอธบิ ายสมดุลของแรงสามแรง

2.สงั เกต และอธบิ ายสภาพการเคลือ่ นท่ีของ 1.สภาพการเคล่ือนท่ีของวตั ถุ

วตั ถุ เม่อื แรงทก่ี ระทาํ ต่อวัตถุผา่ นศูนย์กลาง 2.ศูนยก์ ลางมวล

มวลของวัตถุ และผลของศูนย์ถ่วงทมี่ ตี ่อ 3.ศนู ย์ถว่ ง

เสถียรภาพของวตั ถุ

250

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
มัธยมศึกษาปที ่ี 4
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 3.วิเคราะห์ และคาํ นวณงานของแรงคงตัว 1.งานของแรงคงตัว

มัธยมศึกษาปที ี่ 4 จาก สมการและพ้นื ท่ีใต้กราฟความสมั พันธ์ 2.กราฟความสัมพันธร์ ะหว่างแรง
มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ระหวา่ งแรงกับตําแหนง่ รวมทัง้ อธบิ าย และ กบั ตาํ แหนง่

คาํ นวณกาํ ลงั เฉลีย่ 3.กําลังเฉล่ยี

4.อธบิ าย และคํานวณพลงั งานจลน์ 1.พลังงานจลน์

พลงั งานศักย์ พลงั งานกล ทดลองหา 2.พลังงานศักยย์ ดื หยนุ่

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งงานกบั พลังงานจลน์ 3.พลังงานศักยโ์ นม้ ถว่ ง

ความสัมพันธ์ระหว่างงานกบั พลงั งานศักย์ 4.สปริง

โน้มถ่วง ความสัมพนั ธ์ระหว่างขนาดของ

แรงท่ใี ช้ดึงสปรงิ กับระยะทีส่ ปริงยดื ออกและ

ความสมั พนั ธ์ระหว่างงานกบั พลังงานศักย์

ยืดหยุ่น รวมทง้ั อธิบายความสัมพันธ์

ระหว่างงานของแรงลัพธ์ และพลงั งานจลน์

และคํานวณงานทเี่ กดิ ขนึ้ จากแรงลัพธ์

5.อธิบายกฎการอนุรกั ษ์พลงั งานกล รวมท้ัง 1.กฎการอนุรักษ์พลังงานกล

วเิ คราะห์ และคาํ นวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี 2.ปริมาณตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

เกีย่ วข้องกบั การเคล่ือนที่ของวัตถุใน

สถานการณต์ ่าง ๆ โดยใชก้ ฎการอนรุ ักษ์

พลงั งานกล

6.อธิบายการทาํ งาน ประสทิ ธิภาพและการ 1.ประสทิ ธิภาพเคร่ืองกล

ได้ เปรียบเชงิ กลของเครอื่ งกลอยา่ งง่ายบาง 2.การไดเ้ ปรยี บเชิงกล

ชนิดโดยใชค้ วามร้เู รือ่ งงานและสมดลุ กล

รวมทัง้ คํานวณประสทิ ธภิ าพและการ

ได้เปรยี บเชงิ กล

251

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 7.อธบิ าย และคํานวณโมเมนตัมของวตั ถุ 1.โมเมนตมั
และการดลจากสมการและพ้ืนท่ีใตก้ ราฟ 2.การดล
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลพั ธ์กับเวลา 3.กราฟ
รวมทง้ั อธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงดล
กบั โมเมนตมั 1.ปรมิ าณต่างๆ ที่เก่ยี วกับการชน
8.ทดลอง อธิบาย และคาํ นวณปรมิ าณต่าง ของวัตถุในหนึง่ มติ ิ
ๆ ท่เี กีย่ วกับการชนของวตั ถุในหนงึ่ มิติ ทง้ั 2.การชนแบบยดื หยุ่น
แบบยืดหยนุ่ ไมย่ ืดหยุน่ และการดีดตัวแยก 3.การชนแบบ
จากกนั ในหน่งึ มติ ิซึง่ เปน็ ไปตามกฎการ 4.การดดี ตวั แยกจากกนั ในหนง่ึ มติ ิ
อนรุ กั ษโ์ มเมนตมั 5.กฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัม

แบบวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชวี้ ัดเพ่ือจดั ทาค
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟสิ ิก

สาระฟิสกิ ส์

1.เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟิสิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคล่ือนทแ่ี นวตรง แรงและก
การอนรุ ักษพ์ ลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตมั การเคล่ือนทแี่ นวโค้ง รวมท้ังนาควา
สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยเี พื่อการดารงชีวติ ในสังคมที่มกี ารเปลี่ย
เพ่อื แกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานอยา่ งมีความคดิ สรา้ งสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เล

มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชวี ติ จริงอย่างเป
การแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทัน และมจี รยิ ธรรม

1

คาอธิบายรายวชิ า ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กส์ 2 รหัสวิชา ว302021 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4

กฎการเคล่อื นทข่ี องนิวตนั กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสยี ดทานสมดลุ กลของวัตถุ งาน และกฎ
ามรไู้ ปใช้ในประโยชน์

ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใช้ความร้แู ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่น ๆ
ลือกใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ป็นขัน้ ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทางาน และ

ตัวช้วี ดั ช้ันป/ี ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทัก
นักเรยี นรู้อะไร น
หน่วยที่ 1 งานและพลงั งาน
1.วเิ คราะห์ และคานวณงานของแรงคงตัว จาก 1.งาน 1.ว
สมการและพื้นทีใ่ ตก้ ราฟความสัมพนั ธ์ระหว่าง 2.กาลังเฉลย่ี 2.ค
แรงกับตาแหน่ง รวมทั้งอธิบาย และคานวณ 3.อ
กาลังเฉล่ยี

2

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ทอ้ งถนิ่

กษะกระบวนการ P คุณลกั ษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถน่ิ /อาเซียน/
พอเพียง
นกั เรียนทาอะไรได้ เกดิ คณุ ลักษณะอยา่ งไร

วิเคราะห์ 1.ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ • งานของแรงทีก่ ระทาตอ่ วัตถุหาได้
คานวณ 2.มวี ินัย จากผลคณู ของ ขนาดของแรงและ
อธบิ าย 3.ใฝ่เรยี นรู้ ขนาดของการกระจัดกบั โคไซน์
4.มุง่ มั่นในการทางาน ของมมุ ระหวา่ งแรงกับการกระจดั
ตามสมการ W = F∆rcosθ หรอื หา
งานได้จากพน้ื ที่ ใต้กราฟระหวา่ ง
แรงในแนวการเคลอื่ นทก่ี บั ตาแหนง่
โดยแรงที่กระทาอาจเป็นแรงคงตวั
หรอื ไมค่ งตัวกไ็ ด้
• งานทท่ี าได้ในหนง่ึ หนว่ ยเวลา
เรียกวา่ กาลงั เฉลยี่ ดงั สมการ

ตวั ช้วี ดั ชัน้ ป/ี ผลการเรยี นรู้

ความรู้ K ทกั

นักเรยี นรอู้ ะไร 1.อ
2.ค
2.อธิบาย และคานวณพลังงานจลน์ พลังงาน 1.พลงั งานจลน์ 3.ท

ศกั ย์ พลงั งานกล ทดลองหาความสัมพนั ธ์ 2.พลังงานศกั ย์

ระหวา่ งงานกบั พลังงานจลน์ ความสมั พนั ธ์ 3.พลงั งานกล

ระหวา่ งงานกับพลงั งานศกั ย์โนม้ ถ่วง 4.สปรงิ

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างขนาดของแรงท่ีใชด้ ึง

สปรงิ กับระยะทสี่ ปรงิ ยืดออกและความสมั พันธ์

ระหว่างงานกบั พลงั งานศักย์ยืดหยนุ่ รวมทั้ง

อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งงานของแรงลัพธ์

และพลงั งานจลน์ และคานวณงานทีเ่ กิดข้นึ จาก

แรงลัพธ์

3

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/ท้องถน่ิ

กษะกระบวนการ P คุณลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระทอ้ งถน่ิ /อาเซยี น/
พอเพยี ง
นักเรยี นทาอะไรได้ เกิดคณุ ลกั ษณะอย่างไร

อธบิ าย 1.ซื่อสัตยส์ ุจรติ • พลงั งานเป็นความสามารถในการทางาน
คานวณ 2.มีวนิ ยั • พลงั งานจลนเ์ ป็นพลงั งานของวตั ถทุ กี่ าลงั
ทดลอง 3.ใฝเ่ รียนรู้
4.มงุ่ มั่นในการทางาน เคลื่อนท่ี คานวณไดจ้ ากสมการ
• พลงั งานศกั ยเ์ ปน็ พลังงานท่เี กย่ี วข้องกับ
ตาแหนง่ หรอื รปู รา่ งของวตั ถุ แบง่ ออกเป็น
พลังงานศกั ย์ โน้มถว่ ง คานวณไดจ้ ากสมการ
และพลงั งานศักยย์ ดื หยุน่ คานวณได้จากสมการ

• พลงั งานกลเปน็ ผลรวมของพลงั งานจลนแ์ ละ

พลงั งานศกั ย์ตามสมการ
• แรงท่ีทาใหเ้ กิดงานโดยงานของแรงนั้นไม่ขนึ้ กบั
เสน้ ทางการเคลอื่ นท่ี เชน่ แรงโนม้ ถว่ งและแรง
สปริง เรียกวา่ แรงอนรุ กั ษ์
• งานและพลงั งานมคี วามสมั พันธ์กนั โดยงาน
ของ แรงลพั ธ์เท่ากบั พลังงานจลนข์ องวตั ถุที่
เปลีย่ นไป ตามทฤษฎีบทงาน-พลังงานจลน์
เขียนแทนไดด้ ้วยสมการ

ตวั ช้วี ดั ชัน้ ป/ี ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทัก
นกั เรยี นรู้อะไร น
3.อธิบายกฎการอนุรกั ษพ์ ลังงานกล รวมทั้ง 1.กฎการอนรุ กั ษ์พลังงานกล 1.อ
วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่ 2.ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง 2.ว
เก่ียวข้องกับการเคลื่อนที่ของวตั ถใุ น 3.ค
สถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรกั ษ์
พลงั งานกล

4

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ทอ้ งถน่ิ

กษะกระบวนการ P คุณลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถิ่น/อาเซียน/
พอเพยี ง
นักเรยี นทาอะไรได้ เกิดคณุ ลักษณะอย่างไร

อธบิ าย 1.ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ • ถ้างานที่เกิดขน้ึ กับวตั ถุ

วิเคราะห์ 2.มวี ินัย เป็นงานเนอื่ งจากแรง

คานวณ 3.ใฝเ่ รยี นรู้ อนรุ ักษเ์ ท่านน้ั พลงั งานกล

4.มุ่งม่ันในการทางาน ของวัตถุจะคงตวั ซึง่ เปน็ ไป

ตามกฎการอนุรักษพ์ ลงั งาน

กล เขียน แทนไดด้ ้วย

สมการ Ek + Ep = ค่าคง

ตัว โดยท่พี ลงั งานศกั ยอ์ าจ

เปลีย่ นเปน็ พลงั งานจลน์

• กฎการอนรุ กั ษ์พลงั งาน

กลใช้วิเคราะห์การเคล่ือนที่

ต่าง ๆ เช่น การเคล่อื นที่

ของวัตถุท่ตี ดิ สปรงิ การ

เคลอื่ นทีภ่ ายใตส้ นามโนม้

ถว่ งของโลก

ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี/ ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทกั
นักเรยี นร้อู ะไร น
4.อธบิ ายการทางาน ประสทิ ธภิ าพและการได้ 1.ประสิทธภิ าพ 1.อ
เปรียบเชิงกลของเครอ่ื งกลอย่างง่ายบางชนดิ 2.การไดเ้ ปรียบเชิงกล 2.ค
โดยใช้ความรเู้ รอื่ งงานและสมดลุ กล รวมท้งั
คานวณประสิทธิภาพและการไดเ้ ปรยี บเชิงกล

5

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ท้องถน่ิ

กษะกระบวนการ P คุณลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถน่ิ /อาเซยี น/
พอเพียง
นักเรียนทาอะไรได้ เกดิ คณุ ลักษณะอย่างไร

อธิบาย 1.ซือ่ สัตยส์ จุ รติ • การทางานของเครื่องกลอยา่ ง
คานวณ 2.มีวนิ ัย งา่ ย ได้แก่ คาน รอกพ้ืนเอียง
3.ใฝ่เรยี นรู้ ลมิ สกรู และ ล้อกบั เพลา ใช้
4.มงุ่ มัน่ ในการทางาน หลักของงาน และสมดลุ กล
ประกอบการพจิ ารณา

ประสทิ ธิภาพ และการไดเ้ ปรยี บ

เชิงกลของเครือ่ งกลอย่างง่าย

ประสิทธภิ าพคานวณไดจ้ าก

สมการ

การไดเ้ ปรยี บเชงิ กลคานวณได้
จากสมการ

ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป/ี ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทัก
นกั เรยี นรู้อะไร น
หนว่ ยท่ี 2 โมเมนตมั และการชน
5.อธิบาย และคานวณโมเมนตมั ของวัตถุ และ 1.โมเมนตัมของวัตถุ 1.อ
การดลจากสมการและพื้นท่ีใต้กราฟ 2.การดล 2.ค
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแรงลพั ธ์กับเวลา รวมท้ัง 3.แรงดล
อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่างแรงดลกบั
โมเมนตมั

6

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/ท้องถน่ิ

กษะกระบวนการ P คณุ ลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถน่ิ /อาเซยี น/
พอเพียง
นักเรียนทาอะไรได้ เกิดคณุ ลกั ษณะอย่างไร

อธิบาย 1.ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ • วัตถุที่เคลอ่ื นท่ีจะมีโมเมนตมั ซึง่
คานวณ 2.มีวนิ ัย เปน็ ปริมาณ เวกเตอร์มคี า่ เท่ากบั
3.ใฝ่เรยี นรู้ ผลคณู ระหวา่ งมวล และความเรว็
4.มงุ่ ม่นั ในการทางาน
ของวัตถุ ดงั สมการ
• เม่ือมแี รงลพั ธ์กระทาตอ่ วตั ถจุ ะทา
ใหโ้ มเมนตัม ของวตั ถุเปลี่ยนไป
โดยแรงลพั ธเ์ ท่ากบั อัตรา การ
เปล่ยี นโมเมนตมั ของวตั ถุ
• แรงลพั ธท์ ่กี ระทาตอ่ วตั ถุในเวลา
ส้ัน ๆ เรยี กวา่ แรงดล โดยผลคณู
ของแรงดลกบั เวลา เรยี กว่า การดล

ตาม ซึง่ การ
ดลอาจหาไดจ้ ากพ้นื ทีใ่ ตก้ ราฟ
ระหวา่ งแรงดลกับเวลา

ตัวชี้วดั ชนั้ ป/ี ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทกั
นกั เรยี นรู้อะไร น
6.ทดลอง อธบิ าย และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ 1.การชนของวัตถุในหนึ่งมติ ิ 1.ท
เกี่ยวกบั การชนของวัตถใุ นหน่งึ มติ ิ ท้งั แบบ 2.การดีดตวั แยกจากกนั ในหนึ่ง 2.อ
ยดื หยนุ่ ไมย่ ืดหยุ่น และการดดี ตัวแยกจากกัน มติ ิ 3.ค
ในหน่ึงมติ ซิ งึ่ เป็นไปตามกฎการอนรุ กั ษ์
โมเมนตมั

7

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ท้องถนิ่

กษะกระบวนการ P คณุ ลกั ษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถิ่น/อาเซียน/
พอเพียง
นักเรียนทาอะไรได้ เกดิ คณุ ลักษณะอยา่ งไร

ทดลอง 1.ซื่อสัตยส์ จุ รติ • ในการชนกนั ของวัตถแุ ละการดดี ตวั ออก
อธิบาย 2.มีวินัย จากกนั ของวัตถใุ นหนง่ึ มิติ เมื่อไมม่ ีแรง
คานวณ 3.ใฝ่เรียนรู้ ภายนอกมา กระทา โมเมนตมั ของระบบมี
4.มงุ่ ม่นั ในการทางาน ค่าคงตัวซ่ึงเปน็ ไป ตามกฏการอนุรกั ษ์
โมเมนตมั เขียนแทนไดด้ ว้ ย สมการ

โดย เปน็ โมเมนตัมของ

ระบบกอ่ นชน และ เป็นโมเมนตัมของ
ระบบหลงั ชน
• ในการชนกนั ของวตั ถุ พลงั งานจลน์ของ
ระบบอาจคงตัวหรือไมค่ งตัวกไ็ ด้ การชนที่
พลงั งานจลน์ ของระบบคงตวั เป็นการชน
แบบยืดหยุ่น ส่วนการชน ที่พลังงานจลน์
ของระบบไม่คงตวั เป็นการชนแบบไม่
ยดื หยุ่น

ตัวช้วี ัดชน้ั ปี/ ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทกั
นักเรียนรู้อะไร น
หนว่ ยที่ 3 สภาพสมดลุ
7.อธิบายสมดลุ กลของวัตถุ โมเมนต์ และ 1.สมดลุ กลของวัตถุ 1.อ
ผลรวมของโมเมนตท์ มี่ ตี ่อการหมนุ แรงคูค่ วบ 2.โมเมนต์และผลรวมของ 2.ค
และผลของแรงคู่ควบทม่ี ีต่อสมดลุ ของวัตถุ โมเมนต์ทีม่ ตี อ่ การหมุน 3.ท
เขยี นแผนภาพของแรงท่กี ระทาตอ่ วตั ถอุ ิสระ 3.แรงคู่ควบและผลของแรงคู่
เมอ่ื วัตถอุ ยูใ่ นสมดุลกล และคานวณปรมิ าณ ควบที่มีตอ่ สมดุลของวตั ถุ
ต่าง ๆท่ีเกีย่ วข้อง รวมท้งั ทดลองและอธบิ าย 4.แผนภาพของแรงท่กี ระทาตอ่
สมดลุ ของแรงสามแรง วตั ถอุ สิ ระ
5.สมดลุ ของแรงสามแรง
6.คานวณปรมิ าณตา่ งๆ
ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

8

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถน่ิ

กษะกระบวนการ P คณุ ลกั ษณะ A สาระแกนกลาง สาระทอ้ งถน่ิ /อาเซียน/
พอเพียง
นกั เรียนทาอะไรได้ เกดิ คณุ ลกั ษณะอย่างไร

อธิบาย 1.ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ • สมดุลกลเป็นสภาพที่วตั ถรุ ักษาสภาพการ
คานวณ 2.มีวนิ ยั เคลอ่ื นท่ี ให้คงเดิมคือหยุดน่ิงหรอื เคลอ่ื นท่ดี ว้ ย
ทดลอง 3.ใฝเ่ รียนรู้ ความเร็ว คงตวั หรอื หมนุ ดว้ ยความเร็วเชิงมุมคง
4.มงุ่ มัน่ ในการทางาน ตวั
• วตั ถุจะสมดลุ ต่อการเลือ่ นท่ีคือหยุดนิง่ หรอื
เคลือ่ นท่ีด้วยความเร็วคงตวั เมอื่ แรงลพั ธ์ที่กระทา
ตอ่ วัตถุเป็นศนู ย์ เขียนแทนไดด้ ้วยสมการ

• วตั ถจุ ะสมดลุ ตอ่ การหมุนคือไมห่ มุนหรอื หมุน
ดว้ ยความเร็วเชิงมุมคงตัวเมื่อผลรวมของโมเมนต์
ท่ี กระทาตอ่ วตั ถเุ ป็นศูนยเ์ ขียนแทนไดด้ ้วย
สมการ

โดยโมเมนตค์ านวณไดจ้ ากสมการ M = Fl
• เมื่อมแี รงคู่ควบกระทาตอ่ วัตถุ แรงลัพธ์จะ
เท่ากับศูนย์ ทาให้วัตถุสมดลุ ตอ่ การเลอื่ นที่แต่ไม่
สมดลุ ตอ่ การหมนุ
• การเขยี นแผนภาพของแรงท่ีกระทาตอ่ วัตถุ
อิสระสามารถนามาใชใ้ นการพจิ ารณาแรงลพั ธ์
และ ผลรวมของโมเมนต์ทีก่ ระทาต่อวตั ถุเมอ่ื วตั ถุ
อยูใ่ นสมดลุ กลุ

ตวั ชี้วัดช้นั ปี/ ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทกั
นักเรียนรู้อะไร น
8.สงั เกต และอธบิ ายสภาพการเคล่อื นทีข่ อง 1.สภาพการเคลื่อนท่ีของวตั ถุ 1.ส
วตั ถุ เมอ่ื แรงทก่ี ระทาตอ่ วตั ถุผา่ นศนู ยก์ ลาง เมือ่ แรงทก่ี ระทาต่อวัตถผุ า่ น 2.อ
มวลของวตั ถุ และผลของศนู ย์ถว่ งท่มี ีตอ่ ศูนยก์ ลางมวล
เสถยี รภาพของวตั ถุ 2.ผลของศนู ย์ถว่ งที่มตี อ่
เสถียรภาพของวัตถุ

9

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถนิ่

กษะกระบวนการ P คุณลกั ษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถน่ิ /อาเซยี น/
พอเพียง
นักเรียนทาอะไรได้ เกดิ คุณลกั ษณะอยา่ งไร

สังเกต 1.ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ • เมอ่ื ออกแรงกระทาต่อวัตถทุ ่ี
อธิบาย 2.มีวินยั วางบนพน้ื ที่ไมม่ ีแรงเสยี ดทานใน
3.ใฝเ่ รียนรู้ แนวระดับ ถ้าแนวแรงนน้ั กระทา
4.มุ่งม่ันในการทางาน ผา่ นศูนยก์ ลางมวลของวัตถุ วตั ถุ
จะเคลื่อนที่ แบบเล่ือนท่โี ดยไม่

หมนุ

• วัตถุทีอ่ ยู่ในสนามโนม้ ถ่วง

สมา่ เสมอ ศูนย์กลางมวลและ

ศูนยถ์ ่วงอยู่ทีต่ าแหนง่ เดียวกนั

ศนู ย์ถว่ งของวัตถุมีผลตอ่

เสถยี รภาพของวัตถุ

263

คาอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เติม

รายวิชา ฟสิ ิกส์ 2 รหสั วิชา ว30202 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชว่ั โมง จานวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง อธิบาย สารวจตรวจสอบ อธบิ าย และคานวณเก่ยี วกับงานของแรง
คงตัว จาก สมการและพ้ืนทใี่ ต้กราฟความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแรงกับตาแหน่ง รวมทัง้ อธบิ าย และคานวณ
กาลังเฉลีย่ พลังงานจลน์ พลงั งานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกับพลงั งาน
จลน์ ความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักยโ์ นม้ ถ่วง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งขนาดของแรงทีใ่ ช้ดึง
สปรงิ กบั ระยะท่สี ปรงิ ยืดออกและความสมั พันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุน่ รวมทงั้ อธบิ าย
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งงานของแรงลพั ธ์ และพลังงานจลน์ และคานวณงานท่เี กดิ ขึน้ จากแรงลัพธ์ กฎ
การอนรุ ักษ์พลงั งานกล รวมทั้งวเิ คราะห์ และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การเคลือ่ นท่ีของ
วัตถุในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนรุ ักษ์พลงั งานกล การทางาน ประสิทธภิ าพและการได้
เปรยี บเชิงกลของเคร่ืองกลอย่างงา่ ยบางชนิดโดยใชค้ วามรูเ้ รอื่ งงานและสมดลุ กล รวมทั้งคานวณ
ประสิทธิภาพและการไดเ้ ปรียบเชิงกล โมเมนตัมของวตั ถุ และการดลจากสมการและพนื้ ทีใ่ ต้กราฟ
ความสมั พันธ์ระหวา่ งแรงลัพธ์กับเวลา รวมท้ังอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงดลกบั โมเมนตัม
ปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วกบั การชนของวัตถุในหนึ่งมติ ิ ทั้งแบบยืดหยุน่ ไม่ยดื หยุ่น และการดีดตวั แยกจาก
กนั ในหน่ึงมติ ิซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม สมดุลกลของวตั ถุ โมเมนต์ และผลรวมของ
โมเมนตท์ ่ีมีต่อการหมุน แรงคู่ควบและผลของแรงคู่ควบทม่ี ีต่อสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่
กระทาต่อวัตถุอิสระเมอ่ื วัตถุอยูใ่ นสมดลุ กล และคานวณปริมาณตา่ ง ๆที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทดลองและ
อธบิ ายสมดลุ ของแรงสามแรง สภาพการเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุ เมื่อแรงทก่ี ระทาต่อวัตถุผ่านศูนยก์ ลางมวล
ของวัตถุ และผลของศนู ย์ถว่ งท่ีมตี อ่ เสถยี รภาพของวตั ถุ

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ข้อมลู
และการอธบิ าย ความสามารถในการใช้ทักษะการคดิ ขั้นสงู ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
ความสามารถในการใชท้ ักษะการสอ่ื สารอย่างสร้างสรรคต์ ามช่วงวยั ความสามารถในการแสวงหา
ความรู้ ความสามารถในการแก้ปญั หา และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยเี ทียบเคียง
มาตรฐานสากล

เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสือ่ สารสง่ิ ทเ่ี รียนรู้ มคี วามสามารถใน
การตดั สินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวนั อย่างเหน็ คุณค่าตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามคณุ ลักษณะของโรงเรียน
สจุ ริต

264

ผลการเรยี นรู้ วิชา ฟสิ กิ ส์ 2 รหัสวิชา ว30202 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2

1.วเิ คราะห์ และคานวณงานของแรงคงตวั จาก สมการและพ้ืนท่ีใตก้ ราฟความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งแรงกบั ตาแหน่ง รวมท้ังอธิบาย และคานวณกาลังเฉล่ยี

2.อธบิ าย และคานวณพลงั งานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสมั พันธ์
ระหวา่ งงานกับพลงั งานจลน์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งงานกับพลังงานศักยโ์ น้มถว่ ง ความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งขนาดของแรงทใี่ ช้ดงึ สปริงกับระยะทส่ี ปริงยดื ออกและความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกบั พลังงาน
ศักย์ยดื หยนุ่ รวมทัง้ อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งงานของแรงลัพธ์ และพลังงานจลน์ และคานวณ
งานท่ีเกดิ ขึ้นจากแรงลพั ธ์

3.อธิบายกฎการอนุรักษ์พลงั งานกล รวมทัง้ วิเคราะห์ และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
กับการเคลื่อนท่ีของวัตถใุ นสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรกั ษ์พลงั งานกล

4.อธบิ ายการทางาน ประสทิ ธิภาพและการได้ เปรยี บเชิงกลของเคร่ืองกลอยา่ งง่ายบางชนดิ
โดยใชค้ วามรเู้ รือ่ งงานและสมดุลกล รวมทง้ั คานวณประสทิ ธภิ าพและการไดเ้ ปรียบเชิงกล

5.อธิบาย และคานวณโมเมนตมั ของวัตถุ และการดลจากสมการและพ้ืนท่ีใต้กราฟ
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กบั เวลา รวมทั้งอธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งแรงดลกบั โมเมนตมั

6.ทดลอง อธบิ าย และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วกับการชนของวตั ถุในหนง่ึ มิติ ทัง้ แบบ
ยดื หย่นุ ไมย่ ดื หยุ่น และการดีดตัวแยกจากกนั ในหน่ึงมิติซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตมั

7.อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ท่มี ตี ่อการหมนุ แรงคคู่ วบและ
ผลของแรงคคู่ วบที่มีต่อสมดลุ ของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวตั ถุอิสระเม่ือวัตถุอย่ใู น
สมดุลกล และคานวณปรมิ าณต่าง ๆทเ่ี กี่ยวข้อง รวมท้ังทดลองและอธบิ ายสมดุลของแรงสามแรง

8.สงั เกต และอธิบายสภาพการเคล่ือนท่ีของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทาตอ่ วตั ถุผ่านศูนยก์ ลางมวล
ของวัตถุ และผลของศูนย์ถว่ งท่ีมีต่อเสถียรภาพของวตั ถุ

รวมทั้งหมด 8 ผลการเรยี นรู้

1

โครงสรา้ งหนว่ ยรายวิชาฟสิ ิกส์ 2 รหสั วิชา ว 30202

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 1.5 หน่วยกิต เวลารวม 60 ชัว่ โมง

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั / เวลา นา้ หนกั
คะแนน
การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด (ช.ม.)
30
หนว่ ยท่ี 1 งานและ 1.วิเคราะห์ และคาํ นวณ 1.งานของแรงทีก่ ระทาํ ต่อวัตถุหาได้จากผลคณู ของ ขนาด 15
พลงั งาน งานของแรงคงตัว จาก ของแรงและขนาดของการกระจดั กับโคไซน์ ของมมุ ระหว่าง
สมการและพนื้ ท่ใี ตก้ ราฟ แรงกับการกระจดั ตามสมการ W = F∆rcosθ หรอื หางาน
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแรง ได้จากพ้นื ที่ ใต้กราฟระหว่างแรงในแนวการเคลือ่ นทก่ี บั
กับตําแหนง่ รวมทั้ง ตําแหนง่ โดยแรงท่กี ระทําอาจเป็นแรงคงตวั หรอื ไม่คงตัวกไ็ ด้
อธบิ าย และคํานวณกําลงั งานทที่ าํ ได้ในหน่งึ หนว่ ยเวลา
เฉลี่ย 2.พลังงานเปน็ ความสามารถในการทํางาน พลังงานจลนเ์ ปน็
พลงั งานของวตั ถุทก่ี าํ ลังเคลื่อนท่ี พลงั งานศักยเ์ ปน็ พลังงานที่
2.อธิบาย และคาํ นวณ เก่ียวขอ้ งกบั ตาํ แหนง่ หรอื รูปร่างของวตั ถุ แบง่ ออกเปน็
พลงั งานจลน์ พลงั งาน พลังงานศกั ย์ โนม้ ถว่ ง และพลงั งานศักยย์ ืดหยุ่น
ศักย์ พลังงานกล ทดลอง พลังงานกลเป็นผลรวมของพลงั งานจลน์และพลังงานศักย์
หาความสมั พนั ธ์ระหว่าง แรงท่ีทาํ ใหเ้ กดิ งานโดยงานของแรงนน้ั ไมข่ น้ึ กับ เสน้ ทางการ
งานกับพลังงานจลน์ เคลอ่ื นท่ี เช่น แรงโน้มถ่วงและแรงสปรงิ เรยี กวา่ แรงอนรุ กั ษ์
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างงาน งานและพลงั งานมีความสมั พนั ธก์ นั โดยงานของ แรงลัพธ์
กบั พลังงานศกั ย์โน้มถว่ ง เทา่ กบั พลงั งานจลนข์ องวตั ถุทเ่ี ปลยี่ นไป ตามทฤษฎีบทงาน-
ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง พลังงานจลน์
ขนาดของแรงที่ใชด้ ึงสปรงิ 3. ถ้างานท่เี กดิ ขน้ึ กบั วตั ถุเปน็ งานเนอ่ื งจากแรง อนรุ ักษ์
กบั ระยะทีส่ ปริงยืดออก เท่านั้น พลังงานกลของวตั ถจุ ะคงตัว ซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการ
และความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง อนรุ ักษ์พลังงานกล เขยี น แทนไดด้ ว้ ยสมการ Ek + Ep = คา่
งานกบั พลงั งานศักย์ คงตวั โดยทพี่ ลังงานศกั ยอ์ าจเปล่ียนเปน็ พลงั งานจลน์
ยืดหยุ่น รวมทัง้ อธิบาย กฎการอนรุ กั ษพ์ ลังงานกลใชว้ เิ คราะหก์ ารเคล่ือนท่ตี ่าง ๆ
เชน่ การเคลอื่ นที่ของวตั ถุทตี่ ิดสปริงการเคล่ือนทภี่ ายใต้
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงาน สนามโนม้ ถว่ งของโลก
ของแรงลพั ธ์ และพลงั งาน 4. • การทาํ งานของเครือ่ งกลอยา่ งง่าย ได้แก่ คาน รอกพนื้
จลน์ และคํานวณงานที่ เอยี ง ลิม สกรู และ ล้อกับเพลา ใช้หลักของงาน และสมดลุ
เกดิ ข้ึนจากแรงลัพธ์ กลประกอบการพจิ ารณาประสิทธภิ าพ และการได้เปรยี บ
3.อธิบายกฎการอนุรกั ษ์ เชงิ กลของเครื่องกลอย่างง่าย ประสทิ ธภิ าพคาํ นวณได้จาก
พลงั งานกล รวมท้งั
วเิ คราะห์ และคํานวณ สมการ
ปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง การได้เปรียบเชงิ กลคํานวณได้จากสมการ
กับการเคลื่อนท่ขี องวตั ถุ
ในสถานการณต์ ่าง ๆ โดย
ใช้กฎการอนรุ กั ษ์พลังงาน
กล
4.อธบิ ายการทํางาน
ประสิทธภิ าพและการได้
เปรยี บเชงิ กลของ
เคร่ืองกลอย่างง่ายบาง
ชนดิ โดยใชค้ วามรเู้ รื่อง
งานและสมดุลกล รวมท้ัง
คาํ นวณประสิทธภิ าพและ
การได้เปรยี บเชิงกล

2

หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ/ เวลา นา้ หนกั
การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด (ช.ม.) คะแนน
5.อธิบาย และ
หนว่ ยท่ี 2 โมเมนตมั คํานวณโมเมนตัม 5.วัตถทุ เี่ คล่อื นทจ่ี ะมโี มเมนตัมซ่ึงเป็นปรมิ าณ เวกเตอร์มีค่า 15 30
และการชน ของวัตถุ และการดล
จากสมการและพ้นื ที่ เทา่ กับผลคูณระหว่างมวล และความเร็วของวตั ถุ ดังสมการ
ใตก้ ราฟ
ความสัมพันธ์ เมื่อมีแรงลัพธ์กระทาํ ตอ่ วตั ถจุ ะทาํ ให้โมเมนตัม
ระหวา่ งแรงลัพธก์ บั ของวัตถเุ ปลย่ี นไป โดยแรงลพั ธ์เท่ากับอตั รา การเปล่ียนโมเม
เวลา รวมท้ังอธบิ าย นตมั ของวัตถุ แรงลัพธ์ทกี่ ระทาํ ต่อวัตถใุ นเวลาส้นั ๆ เรยี กว่า
ความสัมพนั ธ์ แรงดล โดยผลคณู ของแรงดลกับเวลา เรยี กวา่ การดล
ระหวา่ งแรงดลกับ
โมเมนตมั ตาม ซ่งึ การดลอาจหาได้จากพืน้ ทีใ่ ต้
6.ทดลอง อธิบาย
และคํานวณปรมิ าณ กราฟระหว่างแรงดลกบั เวลา
ต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วกบั
การชนของวัตถุใน 6. ในการชนกันของวัตถแุ ละการดดี ตัวออกจากกนั ของวตั ถุ
หนงึ่ มิติ ทง้ั แบบ
ยืดหยนุ่ ไม่ยดื หยนุ่ ในหนึ่งมติ ิ เมื่อไม่มีแรงภายนอกมา กระทํา โมเมนตัมของ
และการดีดตวั แยก
จากกันในหนงึ่ มติ ซิ ึ่ง ระบบมคี ่าคงตวั ซึ่งเป็นไป ตามกฏการอนุรกั ษโ์ มเมนตัม เขียน
เป็นไปตามกฎการ
อนรุ ักษ์โมเมนตัม แทนไดด้ ว้ ย สมการ โดย เปน็ โมเมนตัมของ

ระบบกอ่ นชน และ เปน็ โมเมนตัมของระบบหลงั ชน

ในการชนกันของวตั ถุ พลังงานจลน์ของระบบอาจคงตัว

หรอื ไม่คงตัวกไ็ ด้ การชนทพ่ี ลงั งานจลน์ ของระบบคงตัวเปน็

การชนแบบยดื หยุ่น สว่ นการชน ทพ่ี ลังงานจลน์ของระบบไม่

คงตัวเป็นการชนแบบไมย่ ืดหยุน่

3

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ/ เวลา น้าหนัก

การเรียนรู้ ความคดิ รวบยอด (ช.ม.) คะแนน

หน่วยที่ 3 สภาพสมดุล 7.อธิบายสมดลุ กล 7.สมดลุ กลเปน็ สภาพที่วตั ถรุ กั ษาสภาพการเคล่ือนที่ 30 40

ของวัตถุ โมเมนต์ ใหค้ งเดิมคอื หยดุ นงิ่ หรือเคลื่อนท่ดี ว้ ยความเร็ว คง

และผลรวมของ ตัวหรือหมุนดว้ ยความเร็วเชิงมุมคงตัว

โมเมนต์ทีม่ ตี ่อการ • วัตถุจะสมดลุ ตอ่ การเลื่อนท่ีคอื หยุดน่งิ หรอื

หมนุ แรงคคู่ วบและ เคล่อื นทด่ี ว้ ยความเรว็ คงตัวเม่ือแรงลัพธ์ทก่ี ระทํา

ผลของแรงคู่ควบท่มี ี ตอ่ วตั ถเุ ปน็ ศูนย์ เขยี นแทนไดด้ ้วยสมการ

ตอ่ สมดลุ ของวัตถุ

เขียนแผนภาพของ • วตั ถจุ ะสมดลุ ตอ่ การหมนุ คือไมห่ มนุ หรือหมุนดว้ ย

แรงท่กี ระทําต่อวตั ถุ ความเร็วเชิงมมุ คงตัวเม่ือผลรวมของโมเมนตท์ ่ี

อิสระเมอื่ วตั ถอุ ยูใ่ น กระทําตอ่ วัตถุเปน็ ศูนย์เขยี นแทนได้ดว้ ยสมการ

สมดลุ กล และ

คาํ นวณปรมิ าณตา่ ง โดยโมเมนตค์ าํ นวณไดจ้ ากสมการ M = Fl

ๆทเี่ กีย่ วข้อง รวมทงั้ • เมอื่ มีแรงคู่ควบกระทาํ ตอ่ วตั ถุ แรงลพั ธ์จะเท่ากบั

ทดลองและอธิบาย ศูนย์ ทาํ ให้วตั ถสุ มดุลต่อการเล่ือนท่แี ตไ่ มส่ มดลุ ต่อ

สมดลุ ของแรงสาม การหมุน

แรง • การเขยี นแผนภาพของแรงทกี่ ระทาํ ต่อวัตถอุ ิสระ

8.สังเกต และอธบิ าย สามารถนํามาใชใ้ นการพจิ ารณาแรงลพั ธ์และ

สภาพการเคลอื่ นที่ ผลรวมของโมเมนตท์ ก่ี ระทําต่อวัตถุเม่อื วตั ถุอย่ใู น

ของวตั ถุ เม่ือแรงท่ี สมดลุ กุล

กระทาํ ต่อวตั ถผุ ่าน 8. • เมอ่ื ออกแรงกระทําตอ่ วัตถุทว่ี างบนพนื้ ทีไ่ มม่ ี

ศนู ย์กลางมวลของ แรงเสยี ดทานในแนวระดบั ถ้าแนวแรงนนั้ กระทํา

วตั ถุ และผลของ ผา่ นศนู ย์กลางมวลของวตั ถุ วตั ถจุ ะเคลอื่ นที่ แบบ

ศูนย์ถว่ งทม่ี ตี อ่ เลือ่ นท่โี ดยไมห่ มุน

เสถียรภาพของวัตถุ • วตั ถุทอ่ี ยใู่ นสนามโน้มถว่ งสม่ําเสมอ ศูนย์กลางมวล

และศนู ย์ถ่วงอยู่ท่ีตาํ แหนง่ เดียวกนั ศูนยถ์ ่วงของ

วัตถุมีผลต่อเสถยี รภาพของวัตถุ

รวมระหว่างภาค 80

ปลายภาค 20

รวม 100

แบบบันทกึ การวเิ คราะหก์ ิจกรร
สาระการเรยี นร

วชิ าฟิสิกส์ 2 รหสั วิชา ว302
สาระฟิสกิ ส์
1 เข้าใจธรรมชาตทิ างฟิสกิ ส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคลอื่ นทแ่ี นวตรงแรง

สมดลุ กลของวัตถุ งาน และกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนรุ

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทาอะไรได้ นกั เรียน ประเภท
รู้อะไร ตัวชวี้ ดั

หน่วยท่ี 1 1.อธิบายสมดลุ กลของ 1.สมดลุ กลของวตั ถุ 1.ความรู้
1.อธบิ ายสมดลุ กลของวตั ถุ วตั ถุ โมเมนต์ และ โมเมนต์ และผลรวม (K)
โมเมนต์ และผลรวมของ ผลรวมของโมเมนต์ที่มี ของโมเมนต์ทีม่ ตี ่อการ 2.กระ
โมเมนตท์ ม่ี ีตอ่ การหมุน แรง ต่อการหมุน แรงคคู่ วบ หมุน แรงคคู่ วบและ บวนการ (P)
คู่ควบและผลของแรงคู่ควบ และผลของแรงคู่ควบทีม่ ี ผลของแรงค่คู วบที่มี
ท่ีมีตอ่ สมดุลของวัตถุ เขียน ตอ่ สมดลุ ของวตั ถุ 2. ต่อสมดลุ ของวตั ถุ 2.
แผนภาพของแรงท่ีกระทา เขยี นแผนภาพของแรงท่ี แผนภาพของแรงท่ี
ต่อวตั ถอุ ิสระเม่ือวตั ถอุ ยู่ใน กระทาตอ่ วัตถอุ สิ ระเมอ่ื กระทาตอ่ วตั ถุอสิ ระ
สมดลุ กล และคานวณ วตั ถอุ ยใู่ นสมดลุ กล เมื่อวัตถุอยู่ในสมดลุ
ปริมาณต่าง ๆทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 3.คานวณปรมิ าณต่าง ๆ กล
รวมทง้ั ทดลองและอธบิ าย ที่เกีย่ วข้อง รวมทัง้ 3.ปริมาณต่าง ๆท่ี
สมดลุ ของแรงสามแรง ทดลองและอธิบาย เก่ยี วขอ้ ง รวมทง้ั
สมดลุ ของแรงสามแรง ทดลองและอธิบาย
สมดลุ ของแรงสามแรง

1

รมการจัดการเรยี นรู้ตามตวั ชี้วดั
รู้ วิทยาศาสตร์
202 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4

งและกฎการเคลอื่ นท่ีของนวิ ตนั กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสียดทาน
รักษโ์ มเมนตมั การเคลือ่ นทีแ่ นวโค้ง รวมท้ังนาความรไู้ ปใชใ้ นประโยชน์

สมรรถนะสาคญั คุณลักษณะ แนวทางการจัด แนวการวดั
ของผ้เู รยี น อันพึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมินผล

1. ความ สามารถใน 1. ซื่อสัตย์สจุ รติ จัดการเรยี นรแู้ บบ 1.แบบ ทดสอบหลัง
การส่ือสาร 2. มีวินยั สบื เสาะ เรียน
2.ความ สามารถใน 3.ใฝเ่ รยี นรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝกึ ทักษะ
การคิด 4. ม่งุ มน่ั ในการทางาน
3. ความ สามารถใน
การแกป้ ญั หา

ผลการเรยี นรู้ นักเรียนทาอะไรได้ นักเรยี น ประเภท
ร้อู ะไร ตวั ชีว้ ดั

2.สงั เกต และอธบิ ายสภาพ 1.สงั เกต และอธบิ ายสภาพ 1.สภาพการเคลอื่ นที่ 1.ความรู้
การเคลื่อนท่ขี องวตั ถุ เมอื่ การเคลื่อนทขี่ องวัตถุ เมื่อ ของวตั ถุ เมอ่ื แรงที่ (K)
แรงทก่ี ระทาต่อวตั ถผุ ่าน แรงท่ีกระทาต่อวตั ถุผา่ น กระทาต่อวัตถผุ า่ น 2.กระ
ศูนยก์ ลางมวลของวัตถุ และ ศนู ยก์ ลางมวลของวตั ถุ ศนู ย์กลางมวลของ บวนการ (P)
ผลของศูนย์ถว่ งทีม่ ีตอ่ 2.อธิบายผลของศนู ยถ์ ว่ งทีม่ ี วัตถุ
เสถยี รภาพของวัตถุ ตอ่ เสถยี รภาพของวัตถุ 2.ผลของศูนยถ์ ่วงท่ีมี 1.ความรู้
ตอ่ เสถียรภาพของวตั ถุ (K)
หน่วยท่ี 2 1.วิเคราะห์ และคานวณ 2.กระ
งานของแรงคงตวั จาก 1.งานของแรงคงตวั บวนการ (P)
3.วิเคราะห์ และคานวณงาน สมการและพน้ื ท่ใี ต้กราฟ จาก สมการและพ้ืนทใ่ี ต้
ของแรงคงตวั จาก สมการและ 2.อธิบายความสัมพันธ์ กราฟ
พนื้ ท่ใี ต้กราฟความสัมพนั ธ์ ระหว่างแรงกับตาแหนง่ - 2.ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
ระหวา่ งแรงกบั ตาแหน่ง 3.อธบิ ายและ แรงกบั ตาแหน่ง
รวมทงั้ อธิบาย และคานวณ คานวณกาลังเฉลย่ี 3.กาลงั เฉลีย่
กาลังเฉลยี่

2

สมรรถนะสาคญั คุณลกั ษณะ แนวทางการจดั แนวการวดั
ของผเู้ รียน อันพึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความ สามารถใน 1. ซื่อสตั ย์สจุ รติ จัดการเรียนรแู้ บบ 1.แบบ ทดสอบหลงั
การสอ่ื สาร 2. มีวินัย สืบเสาะ เรยี น
2.ความ สามารถใน 3.ใฝเ่ รียนรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝกึ ทักษะ
การคิด 4. ม่งุ มั่นในการทางาน
3. ความ สามารถใน
การแกป้ ญั หา

1. ความ สามารถใน 1. ซื่อสัตยส์ ุจริต จัดการเรยี นรแู้ บบ 1.แบบทดสอบหลงั
การส่อื สาร 2. มวี นิ ัย สบื เสาะ เรียน
2.ความ สามารถใน 3.ใฝ่เรยี นรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝึกทกั ษะ
การคิด 4. ม่งุ ม่นั ในการทางาน

3. ความ สามารถใน
การแกป้ ญั หา

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทาอะไรได้ นักเรยี น ประเภท
รู้อะไร ตัวชว้ี ดั

4.อธิบาย และคานวณพลงั งาน 1.อธิบาย และคานวณ 1.พลงั งานจลน์ พลังงาน 1.ความรู้
จลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล (K)
ทดลองหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง พลงั งานจลน์ พลังงานศักย์ ศกั ย์ พลงั งานกล 2.กระ
งานกับพลังงานจลน์ บวนการ (P)
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงานกบั พลงั งานกล
พลังงานศักยโ์ น้มถ่วง
ความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของ 2.ทดลองหาความสมั พันธ์ 2.ความสมั พันธ์ระหวา่ ง
แรงทใ่ี ชด้ ึงสปริงกบั ระยะทส่ี ปริง
ยดื ออกและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ระหวา่ งงานกับพลงั งานจลน์ งานกับพลังงานจลน์
งานกบั พลังงานศกั ย์ยดื หยุ่น
รวมทง้ั อธบิ ายความสัมพันธ์ ความสมั พันธ์ระหวา่ งงานกับ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งงาน
ระหวา่ งงานของแรงลพั ธ์ และ
พลงั งานจลน์ และคานวณงานที่ พลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถ่วง กับพลงั งานศกั ยโ์ น้มถว่ ง
เกดิ ขน้ึ จากแรงลัพธ์
3.ทดลองหาความสมั พนั ธ์

ระหวา่ งขนาดของแรงทีใ่ ชด้ งึ 3.ความสมั พันธ์ระหว่าง

สปรงิ กบั ระยะทส่ี ปริงยดื ออก ขนาดของแรงท่ีใชด้ งึ สปริง

และความสัมพันธ์ระหวา่ งงาน กบั ระยะท่ีสปรงิ ยดื ออก

กบั พลังงานศักย์ยืดหยนุ่ และความสมั พันธร์ ะหว่าง

4.อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง งานกับพลังงานศกั ย์
งานของแรงลัพธ์ และพลงั งาน ยืดหย่นุ
จลน์ และคานวณงานทเ่ี กดิ ขน้ึ

จากแรงลัพธ์

4.ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
งานของแรงลพั ธ์ และ
พลงั งานจลน์ และคานวณ
งานทเี่ กดิ ขนึ้ จากแรงลพั ธ์

3

สมรรถนะสาคัญ คณุ ลกั ษณะ แนวทางการจัด แนวการวัด
ของผ้เู รยี น อันพึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความ สามารถใน 1. ซอื่ สัตย์สจุ รติ จดั การเรียนรแู้ บบ 1.แบบ ทดสอบหลัง
การสอื่ สาร 2. มีวินยั สืบเสาะ เรยี น
2.ความ สามารถใน 3.ใฝ่เรยี นรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝกึ ทักษะ
การคิด 4. มุ่งมน่ั ในการทางาน
3. ความ สามารถใน
การแก้ปญั หา

ผลการเรยี นรู้ นักเรยี นทาอะไรได้ นักเรยี น ประเภท
รู้อะไร ตัวชว้ี ัด

5.อธบิ ายกฎการอนรุ กั ษ์ 1.อธบิ ายกฎการอนุรกั ษ์ 1.กฎการอนุรักษ์ 1.ความรู้
พลงั งานกล รวมท้งั วเิ คราะห์ พลงั งานกล พลังงานกล (K)
และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ 2.วิเคราะห์ และคานวณ 2.ปรมิ าณต่าง ๆ ที่ 2.กระ
ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการเคลอ่ื นที่ ปริมาณต่าง ๆ ท่ี เกย่ี วขอ้ งกับการ บวนการ (P)
ของวตั ถใุ นสถานการณต์ า่ ง เก่ยี วขอ้ งกบั การ เคลื่อนทขี่ องวัตถุใน
ๆ โดยใชก้ ฎการอนรุ กั ษ์ เคล่ือนท่ีของวัตถุใน สถานการณ์ 1.ความรู้
พลงั งานกล สถานการณต์ ่าง ๆ โดย ตา่ ง ๆ (K)
ใช้กฎการอนรุ กั ษ์ 2.กระ
6.อธิบายการทางาน พลงั งานกล 1.ประสิทธิภาพและ บวนการ (P)
ประสิทธภิ าพและการได้ การได้ เปรยี บเชิงกล
เปรียบเชงิ กลของเคร่อื งกล 1.อธิบายการทางาน ของเครอื่ งกลอย่างง่าย
อย่างงา่ ยบางชนดิ โดยใช้ ประสิทธภิ าพและการได้ บางชนดิ
ความรูเ้ รอื่ งงานและสมดลุ เปรยี บเชงิ กลของ 2.ประสิทธภิ าพและ
กล รวมทง้ั คานวณ เครอ่ื งกลอย่างงา่ ยบาง การไดเ้ ปรยี บเชงิ กล
ประสิทธภิ าพและการ ชนดิ โดยใช้ความรเู้ ร่อื ง
ไดเ้ ปรียบเชงิ กล งานและสมดลุ กล
2.คานวณประสทิ ธภิ าพ
และการไดเ้ ปรยี บเชิงกล

4

สมรรถนะสาคญั คณุ ลักษณะ แนวทางการจดั แนวการวัด
ของผเู้ รยี น อนั พึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความ สามารถใน 1. ซ่ือสัตย์สจุ รติ จดั การเรียนรู้แบบ 1.แบบ ทดสอบหลงั
การส่อื สาร 2. มีวินัย สบื เสาะ เรยี น
2.ความ สามารถใน 3.ใฝ่เรยี นรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝึกทักษะ
การคดิ 4. มุ่งมน่ั ในการทางาน
3. ความ สามารถใน
การแก้ปัญหา

1. ความ สามารถใน 1. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต จดั การเรียนรแู้ บบ 1.แบบ ทดสอบหลัง
การสือ่ สาร 2. มีวินัย สบื เสาะ เรยี น
2.ความ สามารถใน 3.ใฝ่เรยี นรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝึกทักษะ
การคดิ 4. มุ่งมั่นในการทางาน
3. ความ สามารถใน
การแกป้ ญั หา

ผลการเรยี นรู้ นักเรียนทาอะไรได้ นักเรียน ประเภท
รอู้ ะไร ตัวชวี้ ัด

หน่วยที่ 3

7.อธบิ าย และคานวณโมเม 1.อธิบายและคานวณ 1.โมเมนตัมของวตั ถุ 1.ความรู้

นตัมของวตั ถุ และการดล โมเมนตัมของวัตถุ 2.การดลจากสมการ (K)

จากสมการและพน้ื ท่ีใต้ 2.อธิบายและคานวณ และพ้ืนทใี่ ตก้ ราฟ 2.กระ

กราฟความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง การดลจากสมการและ 3.ความสัมพันธ์ บวนการ (P)

แรงลัพธ์กบั เวลา รวมทง้ั พื้นทีใ่ ต้กราฟ ระหว่างแรงลพั ธก์ บั

อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 3.อธบิ ายและคานวณ เวลา

แรงดลกบั โมเมนตมั ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง 4.ความสมั พันธ์

แรงลัพธ์กับเวลา ระหว่างแรงดลกบั

4.อธบิ ายความสัมพนั ธ์ โมเมนตัม

ระหว่างแรงดลกับ

โมเมนตัม

8.ทดลอง อธิบาย และ 1.ทดลอง อธิบาย และ 1.ปริมาณตา่ ง ๆ ที่ 1.ความรู้
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี คานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี เก่ยี วกับการชนของ (K)
เก่ยี วกบั การชนของวัตถใุ น วตั ถใุ นหน่งึ มิติ ทัง้ 2.กระ
เก่ียวกับการชนของวัตถุใน หนึ่งมติ ิ ทั้งแบบยดื หย่นุ แบบยืดหยุ่น ไม่
หน่ึงมิติ ทง้ั แบบยดื หยนุ่ ไม่ ไมย่ ืดหยนุ่ บวนการ (P)
ยืดหยนุ่ และการดดี ตัวแยก 2.ทดลอง อธิบาย และ
จากกันในหน่ึงมิติซงึ่ เปน็ ไป คานวณการดดี ตัวแยกจาก ยดื หยุน่
ตามกฎการอนรุ กั ษ์ กันในหน่ึงมิติซึ่งเป็นไป 2.การดดี ตวั แยกจาก
โมเมนตัม ตามกฎการอนรุ ักษ์ กันในหน่ึงมิตซิ งึ่ เป็นไป
ตามกฎการอนรุ ักษ์
โมเมนตัม โมเมนตัม

5

สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะ แนวทางการจดั แนวการวัด
ของผู้เรยี น อนั พงึ ประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความ สามารถใน 1. ซือ่ สัตย์สจุ รติ จดั การเรียนรู้แบบ 1.แบบ ทดสอบหลงั
การสื่อสาร 2. มีวินยั สบื เสาะ เรยี น
2.ความ สามารถใน 3.ใฝเ่ รียนรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝึกทักษะ
การคดิ 4. มุ่งม่นั ในการทางาน
3. ความ สามารถใน
การแก้ปญั หา

1. ความ สามารถใน 1. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต จดั การเรียนรแู้ บบ 1.แบบ ทดสอบหลัง
การสอื่ สาร 2. มีวินัย สบื เสาะ เรยี น
2.ความ สามารถใน 3.ใฝเ่ รียนรู้ หาความรู้ (5E) 2.แบบฝึกทักษะ
การคิด 4. มุ่งมนั่ ในการทางาน
3. ความ สามารถใน
การแกป้ ัญหา

1

แบบบนั ทกึ การวเิ คราะห์กจิ กรรมการจดั การเรยี นรตู้ ามตวั ชี้วดั

สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

วิชาฟิสิกส์ 2 รหสั วชิ า ว 30202 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4

ตวั ชวี้ ดั นกั เรยี นทาอะไรได้ นกั เรยี นรูอ้ ะไร แนวการ แนวการวดั และ
ประเมนิ ผล
1. อธบิ ายงานและ จดั การเรยี นรู้
วิเคราะหง์ านของ 1.แบบทดสอบกอ่ น
แรงตา่ ง ๆ งานในทางฟสิ กิ ส์ ตัง้ คาถาม 1.การอธบิ ายพร้อม เรยี น
2.แบบทดสอบหลัง
เป็นผลจากการออก ตง้ั สมมติฐาน และ แสดงวธิ ที าประกอบ เรียน
3.การประเมินจาก
แรงกระทาต่อวัตถุ คานวณเกี่ยวกับงาน ตวั อย่าง สภาพการจัดการ
เรยี นการสอนจรงิ
แล้วทาใหว้ ตั ถุ และวิเคราะห์งาน 2.ใบงาน โดยใช้แบบวัด
พฤติกรรมนกั เรียน
เคลอ่ื นท่ตี ามแนว ของแรงตา่ ง ๆ 3.แบบฝกึ ทกั ษะ

แรง ดงั นน้ั ขนาดของ 4.ใบความรู้

งานทไี่ ดจ้ ะหาไดจ้ าก 5.ใบกิจกรรม

ผลคูณระหว่างแรงที่

กระทากับระยะที่

วัตถเุ คลื่อนที่ได้

(ระยะทางขนานกับ

แรง ) และเป็น

ปรมิ าณสเกลาร์ มี

หนว่ ยเป็น นิวตัน.

เมตร ( N.m )หรือ

จลู ( J )

กาลัง คือ

อตั ราการทางาน

และเป็นปรมิ าณส

เกลาร์ มหี นว่ ยเปน็

วตั ต์ ( W )

2

แบบบันทกึ การวิเคราะห์กิจกรรมการจดั การเรยี นรูต้ ามตวั ชว้ี ดั

สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

วิชาฟิสิกส์ 2 รหสั วชิ า ว 30202 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4

ตวั ช้ีวดั นักเรียนทาอะไรได้ นักเรยี นรอู้ ะไร แนวการ แนวการวัดและ
ประเมนิ ผล
2. อธิบายพลงั งาน จัดการเรียนรู้
พลังงานจลน์ 1.แบบทดสอบกอ่ น
พลังงานศักย์ และ พลงั งาน ตงั้ คาถาม 1.การอธบิ ายพร้อม เรยี น
ความสมั พันธ์ 2.แบบทดสอบหลัง
ระหวา่ งงานและ ความสามารถในการ ตง้ั สมมตฐิ าน และ แสดงวิธีทาประกอบ เรียน
พลงั งาน 3.การประเมนิ จาก
ทางาน ทจ่ี ะทาให้ คานวณเกี่ยวกับ ตัวอยา่ ง สภาพการจดั การ
เรียนการสอนจรงิ
วตั ถุนั้นเกิดการ พลงั งาน พลังงาน 2.ใบงาน โดยใช้แบบวดั
พฤติกรรมนกั เรียน
เปลีย่ นแปลง เช่น จลน์ พลงั งานศักย์ 3.แบบฝึกทกั ษะ

พลังงานกล และความสมั พนั ธ์ 4.ใบความรู้

พลงั งานแสง และ ระหว่างงานและ 5.ใบกจิ กรรม

พลงั งานนิวเคลียร์ พลังงาน

เปน็ ต้น พลังงานกล

เปน็ พลงั งานท่ีเกดิ

จากผลของแรงทาให้

พร้อมจะเปล่ยี น

สภาพการเคลื่อนที่

หรอื เปล่ียนสภาพ

การเคลื่อนท่ี มีอยู่

2 ชนดิ คอื พลังงาน

จลน์ และพลังงาน

ศักย์ โดย พลังงาน

จลน์ที่อยูใ่ นวตั ถุท่ี

กาลงั เคลือ่ นที่ ขน้ึ อยู่

กับมวลและขนาด

ของความเรว็ ของ

วัตถุ ส่วนพลังงาน

ศักย์จะสะสมอยู่ใน

วตั ถุทพ่ี ร้อมจะ

เคล่ือนทหี่ รือพร้อม

จะทางาน และแบง่

พลังงานศักยไ์ ด้ 2

ชนิด คือพลังงาน

ศกั ย์โน้มถว่ ง และ

พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

3

แบบบนั ทกึ การวเิ คราะหก์ จิ กรรมการจัดการเรียนรู้ตามตวั ช้วี ัด

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

วิชาฟิสกิ ส์ 2 รหสั วิชา ว 30202 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4

ตวั ชี้วดั นกั เรียนทาอะไรได้ นักเรียนรู้อะไร แนวการ แนวการวัดและ
ประเมนิ ผล
3. อธิบายและใช้กฎ จดั การเรยี นรู้
การอนุรักษ์พลงั งาน 1.แบบทดสอบก่อน
กลวเิ คราะหก์ าร “ พลังงานในระบบ ตั้งคาถาม 1.การอธบิ ายพร้อม เรียน
เคลือ่ นทีใ่ น 2.แบบทดสอบหลัง
สถานการณต์ ่างๆ จะไม่สญู หาย แต่ ตง้ั สมมตฐิ าน และ แสดงวิธีทาประกอบ เรยี น
3.การประเมนิ จาก
พลงั งานสามารถที่ คานวณเก่ียวกับกฎ ตัวอย่าง สภาพการจดั การ
เรยี นการสอนจริง
จะเปลย่ี นรปู ได้ การอนุรักษ์พลังงาน 2.ใบงาน โดยใช้แบบวดั
พฤติกรรมนกั เรียน
ดงั น้ันพลงั งานของ กลวิเคราะห์การ 3.แบบฝกึ ทักษะ

ระบบหนง่ึ จะมี เคลือ่ นท่ีใน 4.ใบความรู้

ค่าคงท่ี” เราเรียก สถานการณต์ ่างๆ 5.ใบกจิ กรรม

หลกั การนว้ี ่า การ

อนรุ ักษ์พลงั งาน

ดังนนั้ ในเคร่ืองกล

ใดๆ ท่ีนามาใชง้ าน

แล้วงานทไ่ี ด้ จาก

การทางานไปนั้น ไม่

เท่าเดิม เปน็ ผลสบื

เนอื่ งมาจาก การ

เปลย่ี นรูปไปเป็น

พลังงานรปู อื่น เมือ่

รวมพลังงานนนั้ แลว้

ก็จะเป็นไปตามกฎ

การอนุรักษ์พลังงาน

ประสิทธิภาพของ

เครื่องกลจะมีค่ามาก

หรือนอ้ ยจงึ ขนึ้ อยู่กับ

วา่ มกี ารสูญเสียไป

เปน็ พลงั งานในรูป

อ่ืนมากน้อยต่างกนั

อยา่ งไร ถา้ สูญเสยี ไป

เป็นพลังงานรูปอ่ืนท่ี

เราไม่ต้องการมาก

แสดงวา่

ประสิทธิภาพของ

เครอ่ื งกลก็จะตา่

4

แบบบันทึกการวเิ คราะหก์ ิจกรรมการจัดการเรยี นรตู้ ามตวั ช้วี ดั

สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

วิชาฟสิ กิ ส์ 2 รหัสวิชา ว 30202 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4

ตัวชวี้ ดั นกั เรยี นทาอะไรได้ นักเรียนรูอ้ ะไร แนวการ แนวการวัดและ
ประเมินผล
4. อธิบายการ จัดการเรยี นรู้
ทางานของเคร่ืองกล 1.แบบทดสอบก่อน
อย่างง่าย โมเมนตมั เป็น ต้งั คาถาม 1.การอธบิ ายพร้อม เรยี น
2.แบบทดสอบหลัง
ปรมิ าณทบ่ี อกให้ ตง้ั สมมติฐาน และ แสดงวธิ ีทาประกอบ เรยี น
3.การประเมนิ จาก
ทราบสภาพการ คานวณเก่ียวกับการ ตวั อยา่ ง สภาพการจัดการ
เรียนการสอนจริง
เคล่อื นที่ของวัตถุ ทางานของเคร่ืองกล 2.ใบงาน โดยใช้แบบวดั
พฤติกรรมนกั เรียน
โดยข้นึ อยกู่ ับมวล อย่างง่าย 3.แบบฝึกทักษะ

ของวัตถุและ 4.ใบความรู้

ความเรว็ ของวตั ถนุ ั้น 5.ใบกจิ กรรม

เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์

ดงั นนั้ การเปลี่ยน

ขนาดหรือทิศของ

ความเรว็ กจ็ ะมีผลตอ่

การเปลี่ยนแปลงของ

วตั ถุ

5

แบบบนั ทกึ การวิเคราะห์กิจกรรมการจัดการเรียนรตู้ ามตวั ชี้วัด

สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

วิชาฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา ว 30202 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

ตวั ช้วี ดั นักเรยี นทาอะไรได้ นกั เรยี นรูอ้ ะไร แนวการ แนวการวัดและ
ประเมินผล
5. อธิบายโมเมนตัม จดั การเรียนรู้
และความสมั พันธ์ 1.แบบทดสอบก่อน
ระหว่างแรงและ การดล คือ การ ตัง้ คาถาม 1.การอธิบายพร้อม เรยี น
โมเมนตัมที่เปลยี่ นไป 2.แบบทดสอบหลัง
เปลีย่ นแปลง ตง้ั สมมตฐิ าน และ แสดงวธิ ีทาประกอบ เรียน
3.การประเมนิ จาก
โมเมนตมั ในช่วงเวลา คานวณเกยี่ วกบั ตัวอยา่ ง สภาพการจดั การ
เรียนการสอนจริง
ส้นั ๆ การทาใหม้ ี โมเมนตมั และ 2.ใบงาน โดยใช้แบบวดั
พฤติกรรมนกั เรียน
การเปล่ียนแปลง ความสัมพันธ์ 3.แบบฝกึ ทักษะ

โมเมนตัมในช่วงเวลา ระหว่างแรงและ 4.ใบความรู้

สั้นน้นั จะต้องใช้แรง โมเมนตมั ที่ 5.ใบกิจกรรม

อย่างมาก ผลที่ เปล่ียนไป

ตามมาจะทาให้วตั ถุ

ท่ีเกดิ การดล จะ

ได้รบั พลงั งานอยา่ ง

มากด้วย การดลและ

แรงดลนั้นเป็น

ปริมาณเวกเตอร์

ข้ึนอยู่กับ การ

เปลีย่ นแปลงของ

ความเรว็


Click to View FlipBook Version