The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by janpim.2p, 2022-04-02 04:53:37

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1

แผนการจัดการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 2

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้,วิชาคณิตศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 33

รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 10 จานวนนบั 21 ถงึ 100 เวลาเรียน 17 ชั่วโมง

เร่อื ง การเรยี งลาดบั จานวน เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง

สอนวันท่ี....... เดอื น.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลท่เี กดิ ขึ้นจากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการ

ดาเนนิ การ และการนาไปใช้

ตวั ช้ีวดั
ค 1.1 ป.1/3 : เรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน 100 และ 0 ตง้ั แต่ 3 ถึง 5 จานวน

สาระสาคัญ
การเรยี งลาดับจานวนจากมากไปนอ้ ย หรือจากน้อยไปมาก อาจทาไดโ้ ดยหาจานวนท่ีมาก

ท่สี ุดและน้อยทส่ี ุดก่อน จากนน้ั นาจานวนทีเ่ หลอื มาเปรียบเทยี บกัน แล้วเรียงตามลาดับ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเกยี่ วกับการ เปรียบเทียบ เปรยี บเทยี บจานวนนบั ไม่เกิน 100 สองจานวน ทเี่ ลข

โดดในหลักสบิ เทา่ กนั ไดไ้ ด้ (K)
2. เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100 สองจานวน ทเ่ี ลขโดดในหลักสิบเท่ากนั ได้ (P)
3. นาความรู้เกย่ี วกบั การเรียงลาดบั จานวน ไปใช้แก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A)

สาระการเรียนรู้
การเรยี งลาดับจานวน

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแก้ปญั หา
2. ความสามารถในการสอื่ สารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมน่ั ในการทางาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้นั นาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครูกาหนดจานวนนับไมเ่ กิน 100 มาสามจานวน แล้วเขียนจานวนนน้ั บนกระดาน

เช่น 14 24 32 โดยครใู ชแ้ ผน่ ตารางสบิ และแผ่นตารางหนว่ ย ดังน้ี

ครทู บทวนการเปรียบเทยี บจานวนเหลา่ น้นั ทลี ะคู่
เปรียบเทียบ 14 กบั 24 โดยดูจากสอ่ื ครุถามว่าจานวนใดมากกว่า (24) หรอื จานวน
ใดน้อยกวา่ (14) ต่อไปใหเ้ ปรยี บเทยี บ 14 กบั 32 แล้วถามวา่ จานวนใดมากกวา่ (32) หรือจานวนใด
นอ้ ยกว่า (14)
จากนัน้ ใหเ้ ปรียบเทยี บ 24 กับ 32 แล้วถามว่าจานวนใดมากกว่า (32) หรอื จานวน
ใดน้อยกว่า (24)
ครถู ามว่าจานวนใดมากท่สี ดุ (32) จานวนใดนอ้ ยทสี่ ดุ (14)
ขน้ั สอน
2. ครนู าบตั รภาพแผ่นตารางสิบและแผ่นตารางหนว่ ย ทแี่ สดงจานวนสองหลกั และมี
ตัวเลขฮินดูอารบกิ ประกอบ 3 บตั ร บนกระดาน เช่น 27 51 36

(27) (51) (36)

แล้วครแู นะนาการเรียงลาดับจานวนจากนอ้ ยไปมาก หรอื จากมากไปนอ้ ย โดย
พิจารณาเลขโดดในหลกั สบิ ของ 27 51 36 ดงั นี้

27 เลขโดดในหลักสิบ มคี ่าเท่าไร (20)
51 เลขโดดในหลักสิบ มคี า่ เทา่ ไร (50)
36 เลขโดดในหลักสิบ มีคา่ เท่าไร (30)
ครถู ามวา่ จานวนใดน้อยท่ีสดุ (27) จานวนใดมากทสี่ ดุ (51)
ครแู นะนาการเรียงลาดบั จานวนจากน้อยไปมาก ได้ 22 36 51
หรอื เรียงลาดบั จากมากไปนอ้ ย ได้ 51 36 22
3. ครยู กตัวอยา่ งจานวนสองหลัก สามจานวนทีเ่ ลขโดดในหลักสบิ มีค่าเท่ากนั 1 คู่ เชน่
58 56 62

แล้วครแู นะนาการเรยี งลาดบั จานวนจากนอ้ ยไปมาก หรือจากมากไปน้อย โดย
พิจารณาเลขโดดในหลกั สิบ ของ 58 56 62 ดงั น้ี

58 เลขโดดในหลักสบิ มคี า่ เทา่ ไร (50)
56 เลขโดดในหลักสบิ มีคา่ เท่าไร (50)
62 เลขโดดในหลักสิบ มคี ่าเท่าไร (60)
ครถู ามว่าจานวนใดมากท่ีสดุ (62) จานวนใดน้อยทสี่ ุด (ยังตอบไมไ่ ด้)
ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมวา่ 58 กับ 56 เลขโดดในหลกั สบิ มคี า่ เท่ากัน (50) จงึ ตอ้ งไป
เปรยี บเทยี บเลขโดดในหลกั หนว่ ยตอ่ ไปอีก
58 กบั 56 เปรยี บเทียบเลขโดดในหลกั หนว่ ย ผลลพั ธเ์ ปน็ อย่างไร (8 มากกวา่ 6)
ดังนัน้ 58 มากกว่า 56 หรอื 56 นอ้ ยกวา่ 58
ครูถามว่าจานวนใดน้อยที่สุด (56)
ครแู นะนาการเรยี งลาดบั จานวนจากนอ้ ยไปมาก ได้ 56 58 62
หรอื เรียงลาดบั จากมากไปน้อย ได้ 62 58 56
4. ครูจดั กิจกรรมเชน่ นี้ 2 – 3 ครั้ง ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ งในการปฏิบัตขิ องนักเรยี น
5. ครูใหน้ กั เรยี นทาใบงานที่ 10 การเรยี งลาดับจานวน เม่อื เสร็จแล้วใหน้ กั เรยี นช่วยกนั
ตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 10
ขน้ั สรุป
6. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปส่ิงทีไ่ ดเ้ รียนร้รู ว่ มกนั ดงั น้ี การเรียงลาดบั จานวนทาได้
โดยหาจานวนที่มากท่ีสดุ และน้อยท่ีสุดก่อน อาจพจิ ารณาจากค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั แล้ว
เรียงลาดับจากน้อยไปมากหรอื มากไปน้อย

สอ่ื การเรยี นรู้
1. แผ่นตารางสบิ และแผ่นตารางหน่วย
2. ใบงานท่ี 10 การเรียงลาดับจานวน

การวดั ผลและประเมินผล

สงิ่ ท่ีตอ้ งการวดั วิธีวดั เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ด้านความรู้ ตรวจใบงานท่ี 10 ใบงานท่ี 10 ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ขึ้นไป

2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สังเกตพฤติกรรมดา้ น ด้านทกั ษะกระบวนการ พอใชข้ น้ึ ไป
ท่พี งึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ
ประสงค์ แบบสังเกตพฤตกิ รรม นักเรียนได้คะแนนคุณภาพ 2

ด้านคณุ ลักษณะ ทุกรายการขนึ้ ไปถอื ว่าผ่าน

ท่พี ึงประสงค์ เกณฑ์

ใบงานท่ี 10 การเรียงลาดบั จานวน

ตอนท่ี 1 เรยี งลาดบั จานวนจากมากไปหานอ้ ย
27 28 29
39 40 42
79 81 83
100 80 90

ตอนที่ 2 เรียงลาดบั จานวนจากนอ้ ยไปหามาก
40 37 39
46 47 43
50 65 60
42 22 32

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 34

รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 จานวนนับ 21 ถงึ 100 เวลาเรยี น 17 ชั่วโมง

เร่อื ง การเรยี งลาดบั จานวน เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง

สอนวนั ที่....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลที่เกดิ ขึน้ จากการดาเนนิ การ สมบตั ขิ องการ

ดาเนนิ การ และการนาไปใช้

ตัวชวี้ ัด
ค 1.1 ป.1/3 : เรียงลาดบั จานวนนับไมเ่ กนิ 100 และ 0 ตั้งแต่ 3 ถึง 5 จานวน

สาระสาคัญ
การเรียงลาดบั จานวนจากมากไปน้อย หรือจากนอ้ ยไปมาก อาจทาไดโ้ ดยหาจานวนท่ีมาก

ทส่ี ุดและน้อยท่สี ดุ ก่อน จากน้ันนาจานวนที่เหลือมาเปรยี บเทยี บกัน แลว้ เรียงตามลาดบั

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายเก่ียวกับวิธกี ารเรยี งลาดับจานวนนบั ไมเ่ กนิ 100 สามจานวนได้ (K)
2. เรยี งลาดบั จานวนนบั ไมเ่ กิน 100 สามจานวนได้ (P)
3. นาความร้เู กย่ี วกบั การเรยี งลาดบั จานวน ไปใช้แกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A)

สาระการเรียนรู้
การเรยี งลาดบั จานวน

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
2. ความสามารถในการสอื่ สารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์
3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ มั่นในการทางาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครยู กตวั อย่างจานวนสองหลกั สามจานวนทเ่ี ลขโดดในหลกั สิบมคี า่ เทา่ กัน 1 คู่ เชน่

48 42 73 แล้วครใู หน้ กั เรยี นพจิ ารณาเลขโดดในหลกั สบิ ของ 48 42 73 แลว้ ตอบคาถาม
48 เลขโดดในหลักสิบ มีคา่ เทา่ ไร (40)
42 เลขโดดในหลักสิบ มคี า่ เท่าไร (40)
73 เลขโดดในหลักสบิ มคี า่ เทา่ ไร (70)
ครูถามว่าจานวนใดมากทส่ี ดุ (73) จานวนใดนอ้ ยที่สุด (ยังตอบไมไ่ ด้)
ใหน้ กั เรียนสังเกต 48 กับ 42 เลขโดดในหลกั สบิ มีค่าเทา่ ไร (40 และ 40) เทา่ กนั

หรือไม่ (เทา่ กนั ) จะต้องทาอยา่ งไรต่อไป (ตอ้ งเปรียบเทยี บเลขโดดในหลักหน่วย)
48 กบั 42 เปรียบเทียบเลขโดดในหลกั หนว่ ย ผลลัพธ์เป็นอย่างไร (8 มากกวา่ 2)
ดังนัน้ 48 มากกวา่ 42 หรอื 42 น้อยกว่า 48
ครูถามว่า จานวนใดน้อยทส่ี ดุ (42)
ครูแนะนาว่า การเรยี งลาดบั จานวนจากน้อยไปมาก ได้ 42 48 73
หรอื เรยี งลาดบั จานวนจากมากไปนอ้ ย ได้ 73 48 42

ขั้นสอน
2. ครูนาบัตรภาพแผน่ ตารางสบิ และแผน่ ตารางหน่วยทแ่ี สดงจานวนสองหลกั และมี

ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ประกอบ 4 บตั ร บนกระดาน เช่น 39 81 86 53

39 81

86 53
ครแู นะนาการเรยี งลาดบั จานวนจากนอ้ ยไปมาก โดยพจิ ารณาเลขโดดในหลักสิบ
ของ 39 81 86 53 ดงั นี้

39 เลขโดดในหลกั สบิ มคี ่าเทา่ ไร (30)
81 เลขโดดในหลักสบิ มคี ่าเท่าไร (80)
86 เลขโดดในหลักสบิ มคี ่าเท่าไร (80)
53 เลขโดดในหลักสิบ มคี ่าเท่าไร (50)
ครูถามวา่ จานวนใดนอ้ ยท่สี ดุ (39) จานวนใดมากทีส่ ุด (ยังตอบไม่ได้)
ครูถามว่า 81 86 53 จานวนใดน้อยที่สุด (53) และจานวนใดมากทีส่ ุด (ยงั ตอบ
ไมไ่ ด)้

ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ วา่ 81 กบั 86 เลขโดดในหลักสบิ มคี า่ เทา่ กนั (80) จึงต้องไป
เปรยี บเทียบเลขโดดในหลกั หนว่ ยตอ่ ไปอกี

จะได้ 86 มากกว่า 81 หรือ 81 นอ้ ยกวา่ 86
เรียงลาดับจานวนจากน้อยไปมาก ได้ 39 53 81 86
หรอื เรยี งลาดบั จานวนจากมากไปนอ้ ย ได้ 86 81 53 39
3. ครนู าบตั รตัวเลข 5 บัตรติดบนกระดาน เชน่ 27 34 100 71 67 แนะนาการ
เรยี งลาดบั จานวนจากมากไปนอ้ ย
ครถู ามว่า 27 34 100 71 67 จานวนใดมากที่สุด เพราะเหตใุ ด (100 เพราะ 100
เป็นจานวนที่มีสามหลัก) ครแู นะนาใหพ้ ิจารณาจานวนท่ีเหลือ 27 34 71 67

27 เลขโดดในหลักสิบ มคี ่าเท่าไร (2)
34 เลขโดดในหลักสบิ มคี า่ เทา่ ไร (30)
71 เลขโดดในหลกั สิบ มีคา่ เท่าไร (70)
67 เลขโดดในหลกั สบิ มีคา่ เทา่ ไร (60)
จานวนใดนอ้ ยที่สุด เพราะเหตใุ ด (27 นอ้ ยทีส่ ุด เพราะเลขโดดในหลกั สิบมีค่า 20)
ครแู นะนาให้พิจารณาจานวนท่เี หลอื 34 71 67
34 เลขโดดในหลกั สิบ มีคา่ เท่าไร (30)
71 เลขโดดในหลกั สิบ มีคา่ เทา่ ไร (70)
67 เลขโดดในหลักสิบ มีค่าเทา่ ไร (60)
จะได้ 34 น้อยกวา่ 67 และ 67 นอ้ ยกว่า 71
เรียงลาดับจานวนจากน้อยไปมาก ได้ 27 34 67 71 100
เรยี งลาดบั จานวนจากมากไปน้อย ได้ 100 71 67 34 27
4. ครูจัดกิจกรรมเช่นนี้ 2 – 3 ครัง้ ครูตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบัตขิ องนักเรยี น
5. ครูใหน้ ักเรียนทาใบงานที่ 11 การเรยี งลาดบั จานวน เมือ่ เสรจ็ แลว้ ให้นักเรยี นช่วยกัน
ตรวจสอบความถกู ต้อง จากนั้นครแู ละนักเรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 11
ขัน้ สรปุ
6. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ สิ่งทไี่ ด้เรยี นรู้รว่ มกนั ดังน้ี การเรียงลาดบั จานวนทาได้
โดยหาจานวนทมี่ ากท่สี ดุ และนอ้ ยทสี่ ดุ ก่อน จากน้ันนาจานวนทเ่ี หลือมเปรียบเทียบกัน แลว้
เรียงลาดบั จากนอ้ ยไปมากหรอื มากไปนอ้ ย

สอ่ื การเรยี นรู้
1. แผน่ ตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย
2. บัตรตัวเลขแสดงจานวนสองหลกั
3. ใบงานท่ี 11 การเรยี งลาดับจานวน

การวัดผลและประเมนิ ผล

สิ่งที่ต้องการวัด วธิ ีวัด เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ด้านความรู้
ตรวจใบงานที่ 11 ใบงานที่ 11 ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 ขึ้นไป
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นักเรียนไดค้ ะแนนระดับ
ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ด้านทักษะกระบวนการ พอใช้ขึ้นไป
ท่พี ึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมดา้ น
คณุ ลกั ษณะที่พงึ แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนไดค้ ะแนนคณุ ภาพ 2
ประสงค์
ด้านคุณลักษณะ ทุกรายการข้ึนไปถอื ว่าผา่ น

ที่พึงประสงค์ เกณฑ์

ใบงานท่ี 11 การเรียงลาดบั จานวน

ตอนที่ 1 เรยี งลาดบั จานวนจากมากไปหาน้อย
65 78 51 43
56 65 93 89
77 44 96 32
81 70 88 69

ตอนที่ 2 เรียงลาดบั จานวนจากนอ้ ยไปหามาก
28 51 32 88
46 74 70 97
58 85 39 60
28 32 86 48

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 35

รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 10 จานวนนบั 21 ถึง 100 เวลาเรียน 17 ชวั่ โมง

เร่อื ง แบบรูปของจานวนทเ่ี พิม่ ขน้ึ ทีละ 1 เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง

สอนวนั ที่....... เดอื น.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขน้ึ จากการดาเนนิ การ สมบัติของการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตวั ช้ีวัด
ค 1.1 ป.1/1 : ระบจุ านวนท่ีหายไปในแบบรูปของจานวนทเี่ พ่ิมขนึ้ หรอื ลดลงทลี ะ 1 และที
ละ 10 และระบรุ ปู ท่หี ายไปในแบบรปู ซ้าของรปู เรขาคณติ และรปู อื่นๆ ที่
สมาชกิ ในแต่ละชดุ ท่ซี ้ามี 2 รปู

สาระสาคญั
แบบรูปของจานวนทเ่ี พ่ิมขึ้นทีละ 1 เปน็ ชุดของจานวนทีม่ ีความสัมพันธ์กนั อยา่ งตอ่ เน่ืองใน

ลักษณะของการเพ่มิ ขน้ึ ทลี ะ 1 เช่น 10 11 12 13 14

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเก่ยี วกบั แบบรูปของจานวนที่เพ่ิมข้ึนทลี ะ 1 ได้ (K)
2. บอกจานวนและความสัมพันธ์ในแบบรปู ของจานวนทเ่ี พิม่ ข้ึนทีละ 1 ได้ (P)
3. นาความร้เู กี่ยวกับแบบรูปของจานวนท่เี พม่ิ ข้นึ ทีละ 1 ไปใชแ้ ก้ปญั หาทางคณิตศาสตรไ์ ด้

(A)

สาระการเรียนรู้
แบบรปู ของจานวนที่เพ่ิมขึน้ ทีละ 1

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแก้ปญั หา
2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์
3. ความสามารถในการให้เหตุผล

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ ม่ันในการทางาน

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครทู บทวนความรู้เร่อื ง การนับเพิ่มทีละ 1 โดยครกู าหนดจานวนหนง่ึ จานวนบน

กระดาน แล้วครสู ุม่ นักเรียน 3 คน นบั จานวนตอ่ จากจานวนท่กี าหนดเพ่ิมทีละ 1 โดยให้นับต่อคนละ
1 จานวน

2. นกั เรยี นตอบคาถามกระต้นุ ความคิด
- การนับเพ่ิมทีละ 1 จานวนถดั ไปจะเปน็ อยา่ งไรเม่ือเทยี บกับจานวนเริ่มต้น (จะมี

คา่ มากกว่าจานวนเร่มิ ตน้ อยู่ 1)
ข้นั สอน
3. ครเู ขยี นแบบรูปของจานวนทเี่ พิ่มขนึ้ ทลี ะ 1 บนกระดาน เชน่ 27 28 29 30 31

… จากน้นั ครูถามนักเรยี น ดงั นี้
- แบบรปู ของจานวนมีความสมั พนั ธ์แบบเพม่ิ ขนึ้ หรือลดลงทีละเทา่ ใด (เพม่ิ ขึ้นที

ละ 1)
- นักเรยี นมวี ิธคี ิดอยา่ งไร (ใชว้ ธิ บี วกทลี ะ 1 หรือนบั เพิ่มทลี ะ 1)
- จานวนถัดจาก 31 ควรเป็นจานวนใด หาไดอ้ ย่างไร (31 โดยนา 31 บวกด้วย 1

หรือนบั เพมิ่ ทีละ 1 เทา่ กบั 31 + 1 = 32)
4. ครูยกตวั อยา่ งแบบรูปของจานวนที่เพม่ิ ขนึ้ ทีละ 1 บนกระดานเพม่ิ เติมอีก 2-3 ขอ้

จากนนั้ ครขู ออาสาสมคั ร 2-3 คน หาจานวนท่ีหายไป พรอ้ มให้เหตุผล เช่น
- 43 44 45 46 ….
- 56 57 58 … 60 …

5. ครจู ดั กิจกรรมเชน่ น้ี 2 – 3 ครั้ง ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ งในการปฏิบัติของนักเรยี น
6. ครใู ห้นกั เรยี นทา ใบงานท่ี 12 แบบรูปของจานวนทเ่ี พิ่มข้ึนทลี ะ 1 เมอื่ เสร็จแลว้ ให้
นกั เรยี นช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนัน้ ครูและนักเรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 12
ขัน้ สรุป
7. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุปสิ่งที่ได้เรยี นรูร้ ่วมกนั ดงั น้ี แบบรปู ของจานวนท่ีเพิ่มขน้ึ ที
ละ 1 เปน็ ชุดของจานวนที่มีความสมั พันธก์ นั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในลักษณะของการเพมิ่ ข้ึนทลี ะ 1 เชน่ 10
11 12 13 14

สอ่ื การเรียนรู้
ใบงานท่ี 12 แบบรูปของจานวนที่เพม่ิ ขน้ึ ทลี ะ 1

การวัดผลและประเมินผล

ส่งิ ทตี่ อ้ งการวัด วธิ ีวัด เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ด้านความรู้
ตรวจใบงานที่ 12 ใบงานที่ 12 ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 ขึ้นไป
2. ดา้ นทักษะ
กระบวนการ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นักเรียนไดค้ ะแนนระดับ
ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ด้านทักษะกระบวนการ พอใช้ขึ้นไป
ทพ่ี ึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมดา้ น
คณุ ลกั ษณะที่พงึ แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนไดค้ ะแนนคณุ ภาพ 2
ประสงค์
ด้านคุณลักษณะ ทุกรายการข้ึนไปถอื ว่าผา่ น

ที่พึงประสงค์ เกณฑ์

ใบงานท่ี 12 แบบรปู ของจานวนท่ีเพ่มิ ขึ้นทลี ะ 1

คาชีแ้ จง เติมตัวเลขท่หี ายไปในแบบรูป

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 36

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 10 จานวนนับ 21 ถงึ 100 เวลาเรียน 17 ชว่ั โมง

เรอ่ื ง แบบรูปของจานวนท่ลี ดลงทีละ 1 เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง

สอนวันท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลท่เี กิดขึน้ จากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการ

ดาเนนิ การ และการนาไปใช้

ตัวช้ีวัด
ค 1.1 ป.1/1 : ระบุจานวนทหี่ ายไปในแบบรปู ของจานวนที่เพม่ิ ขน้ึ หรอื ลดลงทีละ 1 และที
ละ 10 และระบุรูปท่หี ายไปในแบบรูปซ้าของรูปเรขาคณิตและรปู อ่นื ๆ ท่ี
สมาชิกในแตล่ ะชดุ ที่ซ้ามี 2 รูป

สาระสาคญั
แบบรูปของจานวนทีล่ ดลงทลี ะ 1 เป็นชุดของจานวนทม่ี คี วามสัมพนั ธ์กันอยา่ งต่อเน่ืองใน

ลกั ษณะของการลดลงทีละ 1 เชน่ 30 29 28 27 26

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายเกย่ี วกับแบบรปู ของจานวนที่ลดลงทีละ 1 ได้ (K)
2. บอกจานวนและความสัมพันธใ์ นแบบรูปของจานวนทีล่ ดลงทลี ะ 1 ได้ (P)
3. นาความร้เู กี่ยวกับแบบรปู ของจานวนทล่ี ดลงทลี ะ 1 ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้

(A)

สาระการเรียนรู้
แบบรูปของจานวนที่ลดลงทีละ 1

ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
2. ความสามารถในการสอื่ สารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ ม่นั ในการทางาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรยี น
1. ครทู บทวนความรเู้ รือ่ ง การนับเพ่ิมทีละ 1 โดยครูกาหนดจานวนหน่ึงจานวนบน

กระดาน แลว้ ครูสมุ่ นักเรยี น 3 คน นบั จานวนต่อจากจานวนที่กาหนดเพ่ิมทีละ 1 โดยให้นับต่อคนละ
1 จานวน

2. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด
- การนับเพม่ิ ทีละ 1 จานวนถดั ไปจะเปน็ อยา่ งไรเมอื่ เทียบกับจานวนเรม่ิ ต้น (จะมี

ค่ามากกว่าจานวนเริม่ ตน้ อยู่ 1)
ขนั้ สอน
3. ครเู ขยี นแบบรูปของจานวนทลี่ ดลงทีละ 1 บนกระดาน เช่น 58 57 56 55 …

จากนน้ั ครูถามนกั เรยี น ดังนี้
- แบบรปู ของจานวนมีความสัมพันธ์แบบเพิม่ ขนึ้ หรือลดลงทีละเทา่ ใด (ลดลงทีละ

1)
- นกั เรยี นมีวิธีคิดอย่างไร (ใช้วธิ ีลบทีละ 1 หรอื นับลดลงทีละ 1)
- จานวนถดั จาก 55 ควรเป็นจานวนใด หาไดอ้ ย่างไร (54 โดยนา 55 ลบด้วย 1

หรอื ลดลงทีละ 1 เท่ากับ 55 - 1 = 54)
4. ครูยกตัวอยา่ ง แบบรปู ของจานวนท่ลี ดลงทีละ 1 บนกระดานเพิ่มเติมอีก 2-3 ข้อ

จากนน้ั ครูขออาสาสมัคร 2-3 คน หาจานวนท่ีหายไป พร้อมใหเ้ หตผุ ล เชน่
- 74 73 72 71 ….
- 60 59 58 … 56 …

5. ครูจัดกจิ กรรมเช่นนี้ 2 – 3 คร้งั ครูตรวจสอบความถกู ต้องในการปฏิบัตขิ องนกั เรียน
6. ครูให้นักเรยี นทา ใบงานท่ี 13 แบบรูปของจานวนทล่ี ดลงทีละ 1 เมอ่ื เสรจ็ แล้วให้
นกั เรียนชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากน้นั ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 13
ขน้ั สรปุ
7. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรปุ ส่งิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรรู้ ่วมกัน ดงั น้ี แบบรปู ของจานวนทล่ี ดลงที
ละ 1 เปน็ ชดุ ของจานวนทีม่ ีความสมั พันธ์กนั อยา่ งตอ่ เนือ่ งในลักษณะของการ ลดลงข้นึ ทลี ะ 1 เชน่ 33
32 31 30 29

สอ่ื การเรยี นรู้
ใบงานที่ 13 แบบรูปของจานวนทีล่ ดลงทีละ 1

การวัดผลและประเมนิ ผล

สิ่งที่ต้องการวัด วธิ ีวัด เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ด้านความรู้
ตรวจใบงานที่ 13 ใบงานที่ 13 ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 ขึ้นไป
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นักเรียนไดค้ ะแนนระดับ
ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ด้านทักษะกระบวนการ พอใช้ขึ้นไป
ท่พี ึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมดา้ น
คณุ ลกั ษณะที่พงึ แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนไดค้ ะแนนคณุ ภาพ 2
ประสงค์
ด้านคุณลักษณะ ทุกรายการข้ึนไปถอื ว่าผา่ น

ที่พึงประสงค์ เกณฑ์

ใบงานที่ 13 แบบรูปของจานวนทีล่ ดลงทลี ะ 1

คาช้แี จง เตมิ ตวั เลขทห่ี ายไปในแบบรปู

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 37

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 10 จานวนนบั 21 ถึง 100 เวลาเรียน 17 ชว่ั โมง

เรอื่ ง แบบรูปของจานวนทเ่ี พิม่ ขน้ึ ทีละ 10 เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง

สอนวนั ท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตัวชีว้ ดั
ค 1.1 ป.1/1 : ระบุจานวนทหี่ ายไปในแบบรปู ของจานวนท่เี พิ่มขนึ้ หรอื ลดลงทลี ะ 1 และที
ละ 10 และระบุรูปทีห่ ายไปในแบบรูปซา้ ของรูปเรขาคณติ และรูปอ่นื ๆ ท่ี
สมาชกิ ในแต่ละชดุ ทซ่ี า้ มี 2 รปู

สาระสาคญั
แบบรูปของจานวนท่เี พม่ิ ขึน้ ทีละ 10 เปน็ ชุดของจานวนทม่ี คี วามสัมพนั ธ์กนั อย่างต่อเน่อื งใน

ลักษณะของการเพ่มิ ขนึ้ ทีละ 10 เช่น 42 52 62 72 82

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายเกี่ยวกบั แบบรปู ของจานวนทเี่ พิ่มขึน้ ทลี ะ 10 ได้ (K)
2. บอกจานวนและความสมั พันธ์ในแบบรปู ของจานวนทีเ่ พม่ิ ขน้ึ ทีละ 10 ได้ (P)
3. นาความรู้เก่ยี วกับแบบรปู ของจานวนท่ีเพิ่มขนึ้ ทีละ 10 ไปใชแ้ กป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์

ได้ (A)

สาระการเรยี นรู้
แบบรปู ของจานวนทเ่ี พ่ิมข้ึนทีละ 10

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
2. ความสามารถในการสอื่ สารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์
3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุ่งมน่ั ในการทางาน

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. นกั เรยี นทบทวนความรู้ เร่ือง แบบรปู ของจานวนท่เี พ่มิ ขน้ึ หรอื ลดลงทีละ 1 โดย

นกั เรยี นแบ่งเป็น 2 ฝ่าย แต่ละฝา่ ยส่งผู้แทนร่วมกิจกรรมคร้งั ละ 3 คน คนแรกออกมาตดิ บตั รภาพชุด
ของจานวนท่ีเพมิ่ ขนึ้ หรอื ลดลงทีละ 1 แลว้ ผแู้ ทนอกี 2 คนชว่ ยกันวาดรปู ต่อไปอกี 2 รปู เพ่อื ให้เปน็
แบบรูปที่ถูกต้อง โดยมีนักเรยี นและครรู ว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

2. นกั เรียนศกึ ษา รวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกับแบบรูปและความสมั พนั ธ์ของจานวน (แบบ
รปู ของจานวนนบั ท่เี พม่ิ ขนึ้ หรอื ลดลงทีละ 1) จากแหล่งการเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย เชน่ การสงั เกต
การสนทนากบั เพื่อนในช้ันเรียน

ขั้นสอน
3. ครูทบทวนการนับเพิม่ ทลี ะ 10 จากสถานการณ์ปจั จุบนั เชน่ นกั เรียนหยอดกระปกุ

ออมสินทุกวัน วันละ 10 บาท เปน็ เวลา 5 วนั จะไดเ้ งินทง้ั หมดเทา่ ไหร่ แลว้ ใหน้ กั เรียนจดั ตวั นับ โดย
ครตู ้งั คาถามแลว้ นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม เชน่

- แตล่ ะวันเก็บเงนิ ได้เท่าไร (10 บาท)
- ถ้านาเงนิ วนั ท่ี 1 มารวมกบั เงนิ วนั ท่ี 2 นบั รวมกนั ไดเ้ ทา่ ไร (10 + 10 = 20)
- ถา้ นาเงนิ วนั ที่ 1, 2, 3 มารวมกนั จะไดเ้ ทา่ ไร (30 บาท)
- ถ้านาเงินวนั ท่ี 5 มารวมกบั วันที่ 1, 2, 3 และ 4 จะได้เทา่ ไร (50 บาท)
- เขยี นตัวเลขไดจ้ ากการรวมเงิน เรยี งตามลาดบั ได้อยา่ งไร (นกั เรียนออกมาตดิ
ตวั เลขตามภาพ 10 20 30 40 50)
4. ครแู นะนาว่าตวั เลขชุดน้ี เปน็ ชดุ ของจานวนท่ไี ด้จากการนบั เพมิ่ ทลี ะ 10 และมี 10
เปน็ จานวนเริ่มต้น
5. ครูใหน้ กั เรียนเขยี นชุดของจานวนที่เปน็ การนบั เพม่ิ ทีละ 100 โดยมีจานวนเริม่ ตน้
อื่นๆ โดยนบั เพ่มิ อีก 2 จานวน เช่น
- 31 41 51 61 …. ....
- 45 55 65 75 .... ....
6. ครจู ดั กจิ กรรมเชน่ นี้ 2 – 3 คร้งั ครูตรวจสอบความถกู ต้องในการปฏิบัตขิ องนักเรียน
7. ครใู หน้ ักเรยี นทาใบงานที่ 14 แบบรูปของจานวนทีเ่ พ่ิมข้ึนทลี ะ 10 เมอื่ เสร็จแล้วให้
นกั เรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนน้ั ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 14
ขน้ั สรปุ

8. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ส่งิ ท่ไี ดเ้ รยี นร้รู ่วมกนั ดงั นี้ แบบรปู ของจานวนที่เพม่ิ ขน้ึ ที
ละ 10 เปน็ ชดุ ของจานวนท่มี คี วามสัมพันธ์กนั อย่างต่อเน่ือ งในลกั ษณะของการ เพ่ิมข้ึนทลี ะ 10 เชน่
61 71 81 91

สอ่ื การเรยี นรู้
ใบงานที่ 14 แบบรูปของจานวนทีเ่ พิม่ ขนึ้ ทลี ะ 10

การวัดผลและประเมินผล

ส่ิงทต่ี ้องการวดั วิธีวดั เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ

1. ดา้ นความรู้ ตรวจใบงานท่ี 14 ใบงานที่ 14 ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป

2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ
3. ด้านคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ พอใช้ขนึ้ ไป
ทพ่ี งึ ประสงค์ คุณลักษณะท่พี งึ
ประสงค์ แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนไดค้ ะแนนคุณภาพ 2

ดา้ นคุณลกั ษณะ ทกุ รายการขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ น

ทีพ่ งึ ประสงค์ เกณฑ์

ใบงานท่ี 14 แบบรูปของจานวนท่ีเพ่มิ ขน้ึ ทลี ะ 10

คาชีแ้ จง เติมตัวเลขท่หี ายไปในแบบรปู

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 38

รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 จานวนนับ 21 ถงึ 100 เวลาเรียน 17 ช่ัวโมง

เรอ่ื ง แบบรปู ของจานวนทีล่ ดลงทีละ 10 เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง

สอนวันท่ี....... เดอื น.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลท่เี กดิ ข้ึนจากการดาเนินการ สมบัตขิ องการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตัวช้วี ัด
ค 1.1 ป.1/1 : ระบุจานวนท่หี ายไปในแบบรูปของจานวนที่เพิม่ ขนึ้ หรือลดลงทีละ 1 และที
ละ 10 และระบุรปู ทหี่ ายไปในแบบรูปซ้าของรปู เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ ท่ี
สมาชกิ ในแตล่ ะชดุ ที่ซา้ มี 2 รูป

สาระสาคัญ
แบบรปู ของจานวนทลี่ ดลงทลี ะ 10 เป็นชุดของจานวนท่มี ีความสมั พันธ์กนั อย่างตอ่ เนอื่ งใน

ลกั ษณะของการลดลงทลี ะ 10 เช่น 74 64 54 44

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายเก่ยี วกบั แบบรปู ของจานวนทลี่ ดลงทีละ 10 ได้ (K)
2. บอกจานวนและความสมั พนั ธ์ในแบบรูปของจานวนท่ลี ดลงทีละ 10 ได้ (P)
3. นาความรู้เกีย่ วกบั แบบรปู ของจานวนท่ีลดลงทลี ะ 10 ไปใชแ้ ก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ได้

(A)

สาระการเรียนรู้
แบบรูปของจานวนทล่ี ดลงทลี ะ 10

ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
2. ความสามารถในการสอื่ สารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์
3. ความสามารถในการให้เหตุผล

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ ม่ันในการทางาน

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน
9. นกั เรยี นทบทวนความรู้ เรื่อง แบบรูปของจานวนนับที่เพิ่มขึน้ ทลี ะ 10 โดยรว่ มกนั

เลน่ เกม “ลูกบอลแบบรูป” นักเรยี นส่งลูกบอลให้เพอ่ื นท่ีนง่ั อยู่ขา้ งๆ ไปเร่ือย ๆ พรอ้ มกับร่วมกันรอ้ ง
เพลงและปรบมอื ใหจ้ ังหวะประกอบ เมอื่ ครใู ห้สัญญาณหยุด นักเรยี นที่ถอื ลกู บอลอยู่จะออกมายืน
หนา้ ช้ันเรียน ดาเนนิ เกมนีจ้ นไดผ้ ู้แทนนกั เรียน 4 คน นกั เรียนพิจารณาแถบโจทย์บนกระดาน 2 ขอ้
และจบั คู่กนั วาดรูปต่อไปอีก 1 รปู จากแบบรปู ที่กาหนด โดยมีนกั เรียน และครูร่วมกันตรวจสอบความ
ถกู ต้อง

ขั้นสอน
10. ครทู บทวนการนับเพม่ิ ทีละ 10 จากสถานการณ์ปจั จุบัน เช่น นกั เรียนหยอดกระปุก

ออมสนิ ทกุ วัน วนั ละ 10 บาท เปน็ เวลา 5 วัน จะไดเ้ งินทั้งหมดเทา่ ไหร่ แล้วให้นักเรียนจัดตวั นับ โดย
ครูตงั้ คาถามแล้วนักเรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม เช่น

- แตล่ ะวันเกบ็ เงนิ ได้เทา่ ไร (10 บาท)
- ถา้ นาเงินวนั ท่ี 1 มารวมกับเงนิ วันท่ี 2 นับรวมกันไดเ้ ทา่ ไร (10 + 10 = 20)
- ถา้ นาเงินวนั ท่ี 1, 2, 3 มารวมกนั จะได้เทา่ ไร (30 บาท)
- ถา้ นาเงินวนั ที่ 5 มารวมกับวนั ที่ 1, 2, 3 และ 4 จะไดเ้ ทา่ ไร (50 บาท)
- เขยี นตวั เลขได้จากการรวมเงิน เรียงตามลาดบั ได้อย่างไร (นักเรียนออกมาตดิ
ตัวเลขตามภาพ 10 20 30 40 50)
11. ครูแนะนาวา่ ตวั เลขชดุ นี้ เปน็ ชดุ ของจานวนทีไ่ ดจ้ ากการนบั เพิ่มทีละ 10 และมี 10
เปน็ จานวนเรมิ่ ตน้
12. ครใู ห้นักเรียนเขยี นชุดของจานวนทีเ่ ป็นการนบั เพ่ิมทีละ 100 โดยมีจานวนเร่ิมตน้
อืน่ ๆ โดยนบั เพิ่มอีก 2 จานวน เชน่
- 31 41 51 61 …. ....
- 45 55 65 75 .... ....
13. ครจู ดั กิจกรรมเช่นน้ี 2 – 3 ครง้ั ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งในการปฏบิ ัติของนกั เรียน
14. ครใู ห้นักเรยี นทา ใบงานที่ 15 แบบรูปของจานวนที่ลดลงทีละ 10 เมื่อเสรจ็ แล้วให้
นกั เรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครูและนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 15
ขั้นสรปุ
15. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ สง่ิ ท่ไี ดเ้ รียนรรู้ ่วมกนั ดงั นี้ แบบรูปของจานวนทีล่ ดลงที
ละ 10 เปน็ ชดุ ของจานวนทมี่ ีความสมั พันธ์กันอยา่ งต่อเนื่องในลั กษณะของการ เพ่มิ ขนึ้ ทีละ 10 เชน่
61 71 81 91

สอ่ื การเรยี นรู้
ใบงานที่ 15 แบบรปู ของจานวนท่ลี ดลงทลี ะ 10

การวัดผลและประเมินผล

สง่ิ ท่ตี อ้ งการวัด วธิ วี ัด เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน

1. ดา้ นความรู้ ตรวจใบงานที่ 15 ใบงานท่ี 15 ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป

2. ด้านทักษะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ
3. ด้านคุณลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ พอใช้ขึ้นไป
ท่พี ึงประสงค์ คุณลกั ษณะทีพ่ งึ
ประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นไดค้ ะแนนคุณภาพ 2

ดา้ นคุณลกั ษณะ ทกุ รายการขนึ้ ไปถอื ว่าผา่ น

ทพี่ ึงประสงค์ เกณฑ์

ใบงานท่ี 15 แบบรูปของจานวนท่ลี ดลงทลี ะ 10

คาชี้แจง เตมิ ตวั เลขท่หี ายไปในแบบรปู

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 39

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 10 จานวนนับ 21 ถึง 100 เวลาเรียน 17 ชั่วโมง

เรือ่ ง แบบรปู ของจานวนบนตารางร้อย เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง

สอนวันท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลท่เี กดิ ข้นึ จากการดาเนนิ การ สมบตั ิของการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตวั ชี้วัด
ค 1.1 ป.1/1 : ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรปู ของจานวนทเี่ พมิ่ ขึน้ หรือลดลงทลี ะ 1 และที
ละ 10 และระบุรูปท่ีหายไปในแบบรปู ซ้าของรปู เรขาคณิตและรปู อืน่ ๆ ท่ี
สมาชิกในแตล่ ะชุดทซ่ี า้ มี 2 รปู

สาระสาคัญ
จากตารางร้อย จานวนจากซ้ายไปขวาในแนวเดียวกันเป็นแบบรปู ของจานวนทีเ่ พ่มิ ขึ้นทลี ะ 1

และจานวนจากขวาไปซา้ ยในแนวเดยี วกนั เปน็ แบบรปู ของจานวนทลี่ ดลงทลี ะ 1

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายเก่ียวกับแบบรปู ของจานวนบนตารางร้อยได้ (K)
2. บอกจานวนและความสมั พนั ธ์ในแบบรูปของจานวนบนตารางรอ้ ยได้ (P)
3. นาความรู้เกีย่ วกบั แบบรูปของจานวนบนตารางรอ้ ยไปใชแ้ กป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้

(A)

สาระการเรียนรู้
แบบรปู ของจานวนบนตารางร้อย

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
2. ความสามารถในการสอ่ื สารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการให้เหตุผล

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียน
1. ครทู บทวนแบบรปู ที่เพ่ิมขึน้ และลดลง โดยใชก้ ารถามตอบกบั นกั เรยี น ดังน้ี
- จานวนท่ีอยู่ทางขวาของ 54 อีก 4 จานวน คอื จานวนใด (54 55 56 57 )

จานวนดังกลา่ วมีความสัมพนั ธ์กนั อย่างไร (เพิ่มขึน้ ทีละ 1)
- จานวนทอี่ ยทู่ างซา้ ยของ 54 อีก 4 จานวน คือจานวนใด (50 51 52 53 )

จานวนดงั กลา่ วมีความสมั พันธ์กนั อย่างไร (ลดลงทลี ะ 1)
ขั้นสอน
2. ครใู ห้นักเรยี นสังเกตจานวนในตารางรอ้ ยท่ีระบายสีไวต้ ามแนวตัง้ และแนวนอนแลว้

ใช้การถามตอบดังนี้

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70
71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

- จานวนจากซ้ายไปขวาที่ระบายสใี นแถวที่ 2 คือจานวนใด (12 13 14 15 16
17)

- เป็นแบบรูปของจานวนท่เี พิ่มขึน้ หรอื ลดลง (แบบรปู ของจานวนที่เพม่ิ ข้ึน ) และ
เพิม่ ขนึ้ อยา่ งไร (เพิ่มข้ึนทลี ะ 1)

ครใู ห้นกั เรยี นสังเกตจานวนในตารางร้อย และรว่ มกนั สรุปว่า จานวนจากซ้ายไปขวา
ในแนวเดียวกนั เปน็ จานวนท่ีเพมิ่ ขึน้ ทีละ 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70
71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

- จานวนจากขวาไปซ้ายทีร่ ะบายสีในแถวที่ 7 คอื จานวนใด (17 16 15 14 13
12)

- เปน็ แบบรปู ของจานวนทีเ่ พม่ิ ข้นึ หรือลดลง (แบบรูปของจานวนทลี่ ดลง ) และ
ลดลงอย่างไร (ลดลงทลี ะ 1)

ครูใหน้ ักเรยี นสังเกตจานวนในตารางรอ้ ย และร่วมกันสรปุ ว่า จานวนจากขวาไปซ้าย
ในแนวเดยี วกัน เป็นจานวนที่ลดลงทลี ะ 1

3. ครใู หน้ ักเรียนทา ใบงานท่ี 16 แบบรปู ของจานวนบนตารางรอ้ ย เม่อื เสรจ็ แลว้ ให้
นกั เรยี นชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ต้อง จากน้ันครแู ละนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 16

ข้นั สรุป
4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ สงิ่ ท่ีไดเ้ รยี นรรู้ ว่ มกัน ดังนี้ จากตารางร้อย จานวนจาก

ซา้ ยไปขวาในแนวเดยี วกันเป็นแบบรปู ของจานวนทเี่ พมิ่ ข้ึนทีละ 1และจานวนจากขวาไปซ้ายในแนว
เดยี วกนั เป็นแบบรปู ของจานวนท่ลี ดลงทลี ะ 1

สอ่ื การเรียนรู้
1. ตารางตวั เลข 1 - 100
2. ใบงานที่ 16 แบบรปู ของจานวนบนตารางร้อย

การวดั ผลและประเมนิ ผล

สง่ิ ทตี่ ้องการวดั วธิ วี ดั เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ดา้ นความรู้
ตรวจใบงานท่ี 16 ใบงานที่ 16 ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70 ขึน้ ไป
2. ดา้ นทักษะ
กระบวนการ สังเกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกตพฤตกิ รรม นักเรยี นไดค้ ะแนนระดับ
ทกั ษะกระบวนการ
3. ดา้ นคุณลักษณะ ด้านทักษะกระบวนการ พอใช้ขนึ้ ไป
ที่พงึ ประสงค์ สงั เกตพฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะทพี่ งึ แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนคุณภาพ 2
ประสงค์
ด้านคณุ ลักษณะ ทกุ รายการขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ น

ท่พี งึ ประสงค์ เกณฑ์

ใบงานที่ 16 แบบรูปของจานวนบนตารางร้อย

คาชี้แจง เติมตวั เลขทห่ี ายไปในแบบรปู และเติมคาตอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70
71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

54 55 56
เป็นแบบรปู ของจานวนท่ี

78 77 76
เป็นแบบรูปของจานวนที่

96 95 94
เป็นแบบรูปของจานวนที่

45 46 47
เป็นแบบรปู ของจานวนที่

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 40

รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 จานวนนบั 21 ถงึ 100 เวลาเรียน 17 ชวั่ โมง

เรือ่ ง แบบรูปของจานวนบนตารางรอ้ ย เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง

สอนวนั ท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลท่เี กิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัตขิ องการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตวั ชีว้ ดั
ค 1.1 ป.1/1 : ระบจุ านวนท่ีหายไปในแบบรปู ของจานวนทเ่ี พิม่ ขึ้นหรอื ลดลงทลี ะ 1 และที
ละ 10 และระบรุ ูปทห่ี ายไปในแบบรูปซ้าของรปู เรขาคณิตและรปู อื่นๆ ที่
สมาชิกในแตล่ ะชุดท่ีซ้ามี 2 รปู

สาระสาคัญ
จากตารางร้อย จานวนจากบนลงลา่ งในแนวเดยี วกันเป็นแบบรูปของจานวนที่เพม่ิ ขึ้นทีละ

100 และจานวนจากล่างขึ้นบนแนวเดยี วกันเปน็ แบบรูปของจานวนที่ลดลงทีละ 10

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายเกยี่ วกับแบบรปู ของจานวนบนตารางรอ้ ยได้ (K)
2. บอกจานวนและความสัมพนั ธ์ในแบบรูปของจานวนบนตารางร้อยได้ (P)
3. นาความรเู้ กี่ยวกบั แบบรปู ของจานวนบนตารางร้อยไปใช้แก้ปญั หาทางคณิตศาสตรไ์ ด้

(A)

สาระการเรยี นรู้
แบบรูปของจานวนบนตารางร้อย

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการแก้ปญั หา
2. ความสามารถในการสือ่ สารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการให้เหตุผล

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี นิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. ม่งุ มัน่ ในการทางาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเข้าส่บู ทเรยี น
1. ครทู บทวนแบบรูปท่เี พม่ิ ขน้ึ และลดลง โดยใช้การถามตอบกับนกั เรียน ดังนี้
- จานวนจากบนลงลา่ งในแนวเดียวกันของ 54 อีก 4 จานวนคอื จานวนใด (64 74

84 94) จานวนดังกล่าวมีความสมั พนั ธก์ ันอยา่ งไร (เพ่มิ ข้นึ ทลี ะ 10)
- จานวนจากล่างขึน้ บนในแนวเดียวกนั ของ 54 อกี 4 จานวนคือจานวนใด (44

34 24 14) จานวนดงั กลา่ วมีความสมั พันธ์กนั อย่างไร (ลดลงทีละ 10)
ขน้ั สอน
2. ครูให้นกั เรยี นสงั เกตจานวนในตาร างรอ้ ยทีร่ ะบายสีไว้ตามแนวตั้งและแนวนอนแลว้

ใชก้ ารถามตอบดงั น้ี

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70
71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

- ให้นักเรียนอ่านจานวนจากบนลงล่างท่รี ะบายสีในแนวเดยี วกนั ในแถวที่ 2 คอื
จานวนใด (2 12 22 32 42)

- เป็นรปู แบบของจานวนทเี่ พ่มิ ข้นึ หรือลดลง (แบบรปู ของจานวนท่ีเพมิ่ ขึ้น ) และ
เพิ่มขึ้นอยา่ งไร (เพมิ่ ขนึ้ ทลี ะ 10)

ครูให้นักเรียนสงั เกตจานวนในตารางร้อย และรว่ มกันสรปุ ว่า จานวนจากบนลงล่าง
ในแนวเดียวกัน เปน็ จานวนท่เี พ่มิ ขึน้ ทีละ 10

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

- ให้นกั เรยี นอา่ นจานวนจากล่างขนึ้ บนทร่ี ะบายสีในแนวเดยี วกนั ในแถวที่ 10 คอื
จานวนใด (70 60 50 40 30)

- เป็นรปู แบบของจานวนทเ่ี พิ่มขน้ึ หรือลดลง (แบบรปู ของจานวนทีล่ ดลง ) และ
ลดลงอย่างไร (ลดลงทลี ะ 10)

ครใู หน้ ักเรียนสังเกตจานวนในตารางรอ้ ย และรว่ มกนั สรุปวา่ จานวนจากล่างข้ึนบน
ในแนวเดียวกัน เปน็ จานวนที่ลดลงทลี ะ 10

3. ครูใหน้ กั เรยี นทา ใบงานที่ 17 แบบรูปของจานวนบนตารางรอ้ ย เม่ือเสรจ็ แล้วให้
นกั เรียนชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนน้ั ครแู ละนักเรียนร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 17

ข้ันสรุป
4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ สงิ่ ทีไ่ ด้เรียนร้รู ว่ มกัน ดงั นี้ จากตารางรอ้ ยจานวนจากบน

ลงลา่ งในแนวเดียวกนั เป็นแบบรูปของจานวนท่ีเพม่ิ ขึ้นทีละ 100 และจานวนจากลา่ งขึน้ บนแนว
เดียวกนั เป็นแบบรูปของจานวนทีล่ ดลงทลี ะ 10

สอ่ื การเรียนรู้
1. ตารางตวั เลข 1 - 100
2. ใบงานที่ 17 แบบรูปของจานวนบนตารางร้อย

การวดั ผลและประเมินผล

สงิ่ ทต่ี อ้ งการวัด วิธวี ัด เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การประเมิน

1. ด้านความรู้ ตรวจใบงานท่ี 17 ใบงานท่ี 17 ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป

2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั
กระบวนการ ทักษะกระบวนการ
ด้านทกั ษะกระบวนการ พอใชข้ นึ้ ไป
3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน
ท่พี ึงประสงค์ คุณลกั ษณะทีพ่ ึง แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นักเรยี นได้คะแนนคณุ ภาพ 2
ประสงค์
ด้านคุณลกั ษณะ ทกุ รายการขนึ้ ไปถือว่าผ่าน

ทพ่ี งึ ประสงค์ เกณฑ์

ใบงานที่ 17 แบบรปู ของจานวนบนตารางรอ้ ย

คาช้แี จง เติมตัวเลขทหี่ ายไปในแบบรูปและเติมคาตอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70
71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

48 58 78
เป็นแบบรูปของจานวนที่

84 74 64
เป็นแบบรปู ของจานวนท่ี

59 69 79
เปน็ แบบรูปของจานวนท่ี

67 57 47
เปน็ แบบรปู ของจานวนท่ี

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 41

รายวชิ าคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 11 การวดั ความยาว เวลาเรียน 11 ชั่วโมง

เรื่อง การเปรยี บเทียบความยาว เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง

สอนวนั ที่....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.2 : เขา้ ใจพน้ื ฐานเกี่ยวกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงทีต่ ้องการ

วัด และนาไปใช้

ตวั ชีว้ ัด
ค 1.2 ป.1/1 : วดั และเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ เซนติเมตรและเมตร

สาระสาคัญ
การเปรียบเทยี บความยาวของสง่ิ ของโดยตรงต้องวางสิ่งของให้ปลายข้างหนึง่ เสมอกนั แลว้

เปรียบเทยี บทปี่ ลายอีกขา้ งหนึง่

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายวธิ ีการเปรยี บเทียบความยาวได้ (K)
2. เปรยี บเทยี บความยาวของสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้ (P)
3. นาความรู้เกี่ยวกับการเปรยี บเทียบความยาวไปใชแ้ ก้ปญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรยี นรู้
การเปรยี บเทียบความยาว

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการแก้ปญั หา
2. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์
3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้นั นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูสนทนากบั นักเรยี นเกยี่ วกับการเปรยี บเทยี บความยาวของสงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว โดย

ครูหยบิ ดินสอสี 2 แท่ง ท่มี คี วามยาวไม่เท่ากัน เชน่ ดินสอสีแดงกบั ดินสอสฟี า้ แลว้ ถามนักเรยี นว่า
“ถ้าเดมิ ดนิ สอ 2 แทง่ น้ี ยาวเทา่ กัน ครูใช้ดนิ สอสใี ดมากกวา่ กนั นักเรยี นทราบไดอ้ ย่างไร ” (นกั เรียน
ตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ ครใู ช้ดนิ สอสแี ดงมากกวา่ เพราะดินสอสีแดงสัน้ กวา่ ดนิ สอสฟี ้า ) จากนั้นครู
ถามต่อวา่ “นกั เรยี นรู้ไดอ้ ย่างไรว่าดินสอสีแดงสั้นกว่าดนิ สอสฟี ้า” (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจ)

ข้นั สอน
2. ครจู ดั กิจกรรมการเปรียบเทยี บความยาวของดนิ สอ โดยแจกบัตรภาพดินสอสเี ขยี ว

และสชี มพู ใหน้ กั เรียนเปรยี บเทียบความยาวแล้วตอบคาถาม ดงั น้ี

- ดนิ สอท้งั สองสมี คี วามยาวเทา่ กนั หรอื ไม่ (ไม่เทา่ กนั )
- ดินสอสีใดยาวกว่า ดินสอใดสัน้ กวา่ ทราบไดอ้ ย่างไร (วางปลายขา้ งหน่งึ เสมอ
กนั เห็นปลายอีกขา้ งหนงึ่ ของดินสอและตอบไดด้ นิ สอสเี ขยี วยาวกว่าดินสอสชี มพู หรอื ดินสอสีชมพสู นั้
กว่าดนิ สอสีเขยี ว)
3. ครแู จกแถบกระดาษสชี มพูทีม่ คี วามยาวเท่ากบั แถบกระดาษสีฟา้ ให้นักเรยี น
เปรียบเทยี บความยาวของแถบกระดาษสชี มพูและแถบกระดาษสฟี ้า โดยถามวา่
- แถบกระดาษสีทั้งสองแถบมีความยาวเทา่ กันหรือไม่ (เท่ากัน หรือไม่แนใ่ จ)
ครสู าธติ วธิ กี ารเปรียบเทียบความยาวของแถบกระดาษสี โดยวางแถบกระดาษสีท้งั
สองแถบให้ปลายขา้ งหน่งึ เสมอกนั ให้นักเรยี นสังเกตปลายอกี ข้างหนึ่ง ซึ่งจะได้ว่าปลายของแถบ
กระดาษทัง้ สองยาวเสมอกัน ครแู นะนาวา่ แถบกระดาษท้ังสองยาวเทา่ กนั

แถบกระดาษสีฟ้ายาวเทา่ กบั แถบกระดาษสชี มพู หรอื แถบกระดาษสีฟ้าและแถบ
กระดาษสชี มพูยาวเทา่ กัน

4. จดั กจิ กรรมให้นกั เรียนเปรียบเทยี บความยาวของสิง่ ของอนื่ ๆ อกี 2 - 3 อย่าง เชน่
หนังสือกับสมุด ปากกากบั ดินสอ กลอ่ งใส่ดินสอกับไมบ้ รรทดั

5. ครูแจกแถบกระดาษสที ่ีมคี วามยาวไมเ่ ท่ากัน 3 แถบ ใหน้ กั เรยี นเปรยี บ เทยี บความ
ยาว โดยตอบคาถาม ดังนี้

- แถบกระดาษสใี ดยาวกวา่ แถบกระดาษสแี ดงบา้ ง ทราบได้อย่างไร (ตอบตาม
ความเข้าใจของนักเรียน ซ่งึ จะไดว้ ่า แถบกระดาษสีมว่ งและแถบกระดาษสีเหลอื งยาวกว่าแถบ
กระดาษสีแดง)

- แถบกระดาษสีใดสั้นกวา่ แถบกระดาษสเี หลือง (แถบกระดาษสีแดงและแถบ
กระดาษสมี ่วงสน้ั กวา่ แถบกระดาษสีเหลือง)

- แถบกระดาษสอี ะไรยาวท่ีสุด (แถบกระดาษสเี หลือง)
- แถบกระดาษสีอะไรส้นั ทส่ี ุด (แถบกระดาษสแี ดง)
ครสู าธติ วธิ กี ารเปรียบเทียบความยาวของแถบกระดาษสี โดยวางแถบกระดาษสีทงั้
สามแถบใหป้ ลายขา้ งหนึ่งเสมอกนั ให้นักเรียนสงั เกตปลายอกี ข้างหนง่ึ แล้วบอกวา่ แถบกระดาษสี
อะไรยาวมากที่สุด (แถบกระดาษสีเหลือง)

แถบกระดาษสเี หลืองยาวที่สดุ
ครแู นะนาวา่ แถบกระดาษสีเหลืองยาวที่สดุ แล้วถามว่าแถบกระดาษสมี ว่ งกับแถบ
กระดาษสีแดง แถบกระดาษสใี ดสน้ั กว่า (แถบกระดาษสีแดง ) ดงั นัน้ แถบกระดาษสแี ดงสนั้ ที่สุด
จากนั้นครูจัดแถบกระดาษสีตามลาดบั ความยาวจากยาวที่สดุ ไปส้ันทส่ี ุด ไดด้ ังรูป

แล้วร่วมกันสรปุ ว่า
แถบกระดาษสเี หลอื งยาวทส่ี ุด
แถบกระดาษสีแดงสนั้ ทสี่ ุด
แถบกระดาษสมี ว่ งยาวกว่าแถบกระดาษสีแดง
แถบกระดาษสมี ว่ งสั้นกว่าแถบกระดาษสเี หลอื ง

6. ครนู าบัตรภาพสง่ิ ของต่าง ๆ ใหน้ ักเรยี นเหน็ การเปรียบเทียบความยาว พร้อมให้
นกั เรยี นตอบคาถามดงั นี้

- เขม็ ขดั สใี ดยาวที่สดุ (สแี ดง)
- เขม็ ขัดสใี ดสนั้ ทสี่ ุด (สีฟ้า)
- เขม็ ขัดสใี ดสนั้ กวา่ เขม็ ขดั สีเขียว (สฟี า้ )
7. ครใู ห้นักเรียนทาใบงานท่ี 1 การเปรียบเทยี บความยาว เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรยี น
ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนัน้ ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 1
ข้ันสรุป
8. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปสง่ิ ท่ีได้เรยี นรู้รว่ มกัน ดังนี้
- การเปรยี บเทยี บความยาวของสิ่งต่าง ๆ โดยตรง จะตอ้ งวางสิง่ ของให้ปลายขา้ ง
หนึง่ เสมอกัน แลว้ เปรียบเทยี บปลายอีกข้างหน่ึง หากปลายของสิ่งใดย่นื ยาวกว่าส่งิ ของนนั้ จะยาวกว่า
อีกสิง่ หนง่ึ จะส้ันกวา่ หากปลายเสมอกนั จะแสดงวา่ ยาวเท่ากัน
- ถ้ามสี ิง่ ของมากกวา่ สองส่ิง ใหพ้ จิ ารณาวา่ สิ่งของใดมปี ลายยืน่ ออกมามากทีส่ ดุ
ส่ิงนัน้ จะยาวทส่ี ุด จากนัน้ อาจใช้การเปรียบเทยี บทลี ะคู่เพือ่ หาว่าส่งิ ใดสนั้ ท่ีสดุ

สอ่ื การเรียนรู้
1. สอ่ื ของจรงิ เชน่ ดนิ สอสี ปากกา ไมบ้ รรทดั หรอื อนื่ ๆ
2. บัตรภาพ
3. แถบกระดาษสตี ่างๆ
4. ใบงานที่ 1 การเปรียบเทียบความยาว

การวัดผลและประเมินผล

สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธวี ดั เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ

1. ดา้ นความรู้ ตรวจใบงานที่ 1 ใบงานที่ 1 ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 70 ขน้ึ ไป

2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ
ด้านทกั ษะกระบวนการ พอใช้ขน้ึ ไป
3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมดา้ น
ทพ่ี งึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะที่พึง แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนไดค้ ะแนนคณุ ภาพ 2
ประสงค์
ด้านคณุ ลกั ษณะ ทุกรายการขึ้นไปถือวา่ ผ่าน

ทพี่ งึ ประสงค์ เกณฑ์

ใบงานท่ี 1 การเปรียบเทยี บความยาว

ตอนท่ี 1 เขยี น  ทบั รูปสิ่งทยี่ าวกวา่

ตอนที่ 2 เขียน  ทับรปู สิ่งทส่ี ั้นกวา่

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 42

รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 11 การวดั ความยาว เวลาเรยี น 11 ชั่วโมง

เรื่อง การเปรียบเทียบความสงู เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง

สอนวันท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.2 : เข้าใจพื้นฐานเก่ยี วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ที่ต้องการ

วัด และนาไปใช้

ตัวชวี้ ดั
ค 1.2 ป.1/1 : วัดและเปรยี บเทียบความยาวเป็นเซนตเิ มตรและเมตร

สาระสาคญั
การเปรยี บเทียบความสงู ของส่ิงต่าง ๆ โดยตรง ปลายข้างหน่ึงของส่งิ นั้นต้องเริม่ ทรี่ ะดับ

เดยี วกนั แล้วเปรยี บเทียบท่ีปลายอกี ขา้ งหนง่ึ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายวิธีการเปรียบเทียบความสงู ได้ (K)
2. เปรียบเทยี บความสูงของส่ิงต่าง ๆ ได้ (P)
3. นาความร้เู กย่ี วกับการเปรยี บเทียบความสูงไปใช้แกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรยี นรู้
การเปรียบเทียบความสูง

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
2. ความสามารถในการสื่อสารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์
3. ความสามารถในการให้เหตผุ ล

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ มั่นในการทางาน

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. ครูสนทนากบั นกั เรียนเกีย่ วกบั การเปรียบเทียบความสงู ของนักเรยี น โดยครูเรยี ก

นกั เรยี นคนทมี่ ีความสงู ไมเ่ ท่ากนั ยืนขึ้น (ทไ่ี มอ่ ยู่ใกลก้ นั ) แล้วถามนกั เรยี นว่า “ใครสงู กวา่ กนั ”
(นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) จากนั้นครูถามตอ่ ว่า “นักเรียนทราบได้อย่างไรเพ่อื นคนไหนสงู กวา่ กั น
และเปน็ ไปตามทีน่ กั เรียนตอบหรอื ไม่” (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ)

ข้ันสอน
2. ครูจัดกจิ กรรมการเปรียบเทยี บความสูงของนกั เรียน โดย ตดิ บตั รภาพ เพอื่

เปรยี บเทยี บความสงู และให้นักเรยี นช่วยกันบอกว่าใครสงู กวา่ ครูแนะนาว่าในการเปรียบเทียบความ
สงู ปลายข้างหนงึ่ ของสง่ิ นนั้ ตอ้ งเรมิ่ ที่ระดับเดียว แล้วเปรียบเทยี บท่ปี ลายอีกข้าง ดังรปู

ต้นกลา้ ออมสิน
ออมสินสงู กวา่ ตน้ กล้า
หรอื ต้นกลา้ เตย้ี กว่าออมสนิ

ยรี าฟสงู กว่าม้าลาย
หรอื มา้ ลายเตีย้ กวา่ ยีราฟ

ประตสู ีฟ้าสูงเทา่ กับประตูสเี ขยี ว
หรือ ประตูสีเขียวและประตสู ีฟา้ สูงเท่ากัน
3. ครูติดบัตรภาพสิ่งของ 3 สิ่ง เชน่ ขวดนา้ แจกัน แกว้ ให้นักเรยี นดู ครู ถามนกั เรียน
วา่ จะเปรียบเทียบความสงู ของส่งิ ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างไร (ตอบตามความเข้าใจของนกั เรียน ซง่ึ อาจจะไดว้ ่า
ต้องนาสงิ่ ของมาวางเรยี งที่ระดบั เดียวกัน แลว้ ดูทีป่ ลายสุดของสง่ิ ของแต่ละชิน้ ) แล้วใช้การถามตอบ
ดงั นี้

- แก้วนา้ กบั แจกัน สิ่งใดสูงกว่า (แจกนั )
- แจกันกบั ขวดน้า สิ่งใดสูงกวา่ (ขวดน้า)
- แกว้ นา้ กบั ขวดนา้ ส่งิ ใดสงู กว่า (ขวดนา้ )
- สิ่งใดสูงทส่ี ุด (ขวดนา้ )
- สิ่งใดเต้ยี ทสี่ ุด (แกว้ น้า)
4. ครูให้นกั เรยี นทา ใบงานท่ี 2 การเปรียบเทยี บความสงู เม่ือเสรจ็ แล้วให้นกั เรียน
ชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ต้อง จากนน้ั ครูและนกั เรียนร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 2
ขัน้ สรปุ
5. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ สง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรูร้ ว่ มกัน ดังนี้
- การเปรียบเทยี บความสงู ของส่ิงตา่ งๆ โดยตรง จะต้องวางส่งิ ของในระดับ
เดยี วกัน แลว้ เปรยี บเทียบปลายอกี ข้างหนง่ึ หากปลายของส่งิ ใดสงู กว่าสิ่งนั้นจะสงู กวา่ อีกส่งิ หนง่ึ จะ
เต้ียกว่า หากปลายเสมอกันแสดงว่าสงู เท่ากนั
- ถ้ามสี ง่ิ ของมากกวา่ สองสงิ่ ใหพ้ จิ ารณาวา่ สิง่ ของใดมปี ลายยื่นออกไปมากท่สี ุด
ส่ิงน้ันจะสูงท่สี ุด จากน้นั อาจใชก้ ารเปรียบเทียบทลี ะคู่เพ่อื หาว่าส่งิ ใดเตยี้ ทสี่ ุด

สอ่ื การเรยี นรู้
1. บตั รภาพ
2. ใบงานที่ 2 การเปรียบเทยี บความสงู

การวัดผลและประเมนิ ผล

ส่ิงทีต่ ้องการวัด วิธวี ดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ด้านความรู้ ตรวจใบงานท่ี 2 ใบงานที่ 2 ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป

2. ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
กระบวนการ ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคุณลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน ด้านทกั ษะกระบวนการ พอใช้ขนึ้ ไป
ทพี่ ึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ
ประสงค์ แบบสังเกตพฤตกิ รรม นกั เรียนไดค้ ะแนนคณุ ภาพ 2

ด้านคุณลักษณะ ทกุ รายการขึ้นไปถือว่าผา่ น

ทีพ่ งึ ประสงค์ เกณฑ์

ใบงานท่ี 2 การเปรยี บเทียบความสงู

ตอนท่ี 1 เขยี น  ทบั รูปส่ิงท่สี งู กวา่

ตอนที่ 2 เขียน  ทับรูปสิ่งที่เตีย้ กว่า

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 43

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 การวัดความยาว เวลาเรียน 11 ช่ัวโมง

เรอื่ ง การวดั ความยาวโดยใชห้ น่วยที่ไมใ่ ช่หนว่ ยมาตรฐาน เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง

สอนวนั ที่....... เดอื น.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.2 : เขา้ ใจพื้นฐานเก่ียวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทีต่ ้องการ

วัด และนาไปใช้

ตัวชวี้ ดั
ค 1.2 ป.1/1 : วดั และเปรียบเทยี บความยาวเปน็ เซนตเิ มตรและเมตร

สาระสาคัญ
การวดั ความยาวหรอื ความสูง อาจใชส้ งิ่ ตา่ ง ๆ ท่มี คี วามยาวเทา่ กันมาเปน็ หน่วยวัดซง่ึ เปน็

หน่วยทีไ่ ม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
การวดั ความยาวหรอื ความสูงของสิ่งต่าง ๆ ทาไดโ้ ดยวดั จากปลายขา้ งหนึ่งไปยงั ปลายอีกขา้ ง

หนงึ่ ของส่ิงน้นั ๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายวิธกี ารวัดความยาวโดยใช้หนว่ ยทไี่ ม่ใชห่ น่วยมาตรฐานได้ (K)
2. วัดความยาวและความสูงของส่งิ ตา่ ง ๆ โดยใชห้ นว่ ยที่ไม่ใชห่ น่วยมาตรฐานได้ (P)
3. นาความรู้เกี่ยวกบั การวดั ความยาวโดยใชห้ นว่ ยทไี่ มใ่ ช่หน่วยมาตรฐานไปใช้แกป้ ญั หาทาง

คณิตศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรียนรู้
การวดั ความยาวโดยใชห้ นว่ ยทีไ่ ม่ใช่หน่วยมาตรฐาน

ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
2. ความสามารถในการสื่อสารและการสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์
3. ความสามารถในการให้เหตุผล

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนการเปรยี บเทยี บความยาวและความสูงของส่ิงของโดยใช้บตั รภาพตดิ บน

กระดาน แล้วใชก้ ารถามตอบ ดังนี้

- กรรไกรกบั คอ้ น ส่ิงใดยาวกว่ากัน (คอ้ น)

- ชอ้ นกับกรรไกร สิง่ ใดสนั้ กว่ากัน (กรรไกร)

- ของสิง่ ใดมีความยาวมากท่ีสดุ (คอ้ น)

- ของสิ่งใดมีความยาวนอ้ ยทส่ี ุด (กรรไกร)

- สิง่ ของใดบา้ งมีความยาวเท่ากนั (ส้อมและช้อน)

ขั้นสอน

2. ครตู ดิ บัตรภาพบนกระดานให้นกั เรยี นบอกความยาวของส่งิ ต่าง ๆ ในบตั รภาพ โดย

กาหนดให้ แทนความยาว 1 หนว่ ย

กล่องดนิ สอยาว 5 หน่วย กล่องสไี มย้ าว 3 หน่วย

กล่องสนี า้ ยาว 6 หน่วย

3. ครตู ิดบตั รภาพบนกระดานใหน้ กั เรยี นบอกความสงู ของส่งิ ต่าง ๆ ในบตั รภาพ
กาหนดให้ แทนความสงู 1 หนว่ ย

ครูถามคาถามให้นกั เรียนชว่ ยกันตอบดังนี้
- แตงสูงกหี่ นว่ ย (4 หน่วย)
- ตา่ ยสงู กีห่ นว่ ย (6 หนว่ ย)
- โต้งสงู กห่ี นว่ ย (3 หน่วย)
- ตามสงู กห่ี น่วย (4 หนว่ ย)
- ใครสูงทีส่ ดุ (ตา่ ย)
- ใครเตี้ยทส่ี ดุ (โต้ง)
- ใครสูงเท่ากนั (แตงและตาม)
4. ครูใหน้ กั เรยี นทา ใบงานท่ี 3 การวัดความยาวโดยใช้หนว่ ยทไ่ี ม่ใช่หนว่ ยมาตรฐาน
เมื่อเสรจ็ แลว้ ให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกจิ กรรม
ในใบงานท่ี 3
ขน้ั สรุป
5. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปสิ่งทไ่ี ด้เรียนร้รู ่วมกนั ดังนี้
- การวัดความยาวหรือความสูงของสง่ิ ตา่ ง ๆ ทาไดโ้ ดยวดั จากปลายข้างหนึ่งไปยงั
ปลายอกี ข้างหนึ่งของส่ิงนั้น ๆ
- ในการวัดความยาวหรอื ความสูงอาจใช้ส่งิ ตา่ ง ๆ ที่มีความยาวเท่ากนั มาเป็น
เครอื่ งวัด ซ่งึ มหี นว่ ยท่ไี มใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน

สอ่ื การเรยี นรู้
1. บัตรภาพ
2. ใบงานที่ 3 การวดั ความยาวโดยใชห้ น่วยที่ไมใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน

การวดั ผลและประเมนิ ผล

สิ่งท่ีตอ้ งการวัด วิธวี ดั เครื่องมือวดั เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้
ตรวจใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3 ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 70 ขึ้นไป
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนไดค้ ะแนนระดบั
ทกั ษะกระบวนการ
3. ด้านคณุ ลักษณะ ด้านทกั ษะกระบวนการ พอใช้ข้ึนไป
ท่ีพงึ ประสงค์ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น
คณุ ลักษณะท่ีพงึ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม นกั เรียนไดค้ ะแนนคุณภาพ 2
ประสงค์
ด้านคุณลักษณะ ทกุ รายการขึน้ ไปถือวา่ ผา่ น

ที่พงึ ประสงค์ เกณฑ์

ใบงานที่ 3 การวดั ความยาวโดยใชห้ น่วยทีไ่ ม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน

คาชีแ้ จง ตอบคาถาม แทนความสงู 1 หนว่ ย D
กาหนดให้ C
B

A

1. ตกึ A สงู กห่ี นว่ ย
2. ตกึ B สูงกี่หน่วย
3. ตึก C สูงกหี่ น่วย
4. ตึก D สูงกห่ี นว่ ย
5. ตึกใดสงู เทา่ กนั และสูงกีห่ นว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 44

รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 11 การวัดความยาว เวลาเรยี น 11 ชว่ั โมง

เรือ่ ง การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้หนว่ ยที่ไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

สอนวนั ท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. .........

.......................................................................................................................................................... ...

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.2 : เขา้ ใจพ้นื ฐานเกย่ี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ที่ตอ้ งการ

วัด และนาไปใช้

ตัวชี้วดั
ค 1.2 ป.1/1 : วัดและเปรยี บเทียบความยาวเป็นเซนติเมตรและเมตร

สาระสาคญั
การหาวา่ สงิ่ ใดยาวกว่าหรือสั้นกวา่ อกี สิง่ หน่งึ อยูเ่ ทา่ ไร ทาไดโ้ ดยนาความยาวในหนว่ ย

เดียวกันของสองสง่ิ น้ันมาลบกนั

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายวิธีการเปรียบเทยี บความยาวโดยใชห้ นว่ ยทไ่ี มใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐานได้ (K)
2. เปรียบเทยี บความยาวโดยใช้หนว่ ยที่ไมใ่ ชห่ น่วยมาตรฐานได้ (P)
3. นาความร้เู กีย่ วกับการเปรียบเทยี บความยาวโดยใชห้ น่วยท่ไี มใ่ ช่หนว่ ยมาตรฐานไปใช้

แกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรียนรู้
การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใชห้ น่วยท่ไี ม่ใช่หนว่ ยมาตรฐาน

ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
2. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการให้เหตุผล

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มีวนิ ยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน
1. ครทู บทวนการ บอกความยาวหรือความสูงของสิง่ ตา่ ง ๆ โดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย

มาตรฐาน ครูตดิ บัตรภาพบนกระดาน ใหน้ กั เรียนบอกความยาวและความสูงของส่ิงต่าง ๆ ดงั นี้

- รถไฟหมียาวกหี่ น่วย (6 หน่วย) แทน
- รถไฟชา้ งยาวกห่ี นว่ ย (5 หน่วย)
- รถไฟเสือยาวก่หี น่วย (7 หนว่ ย)
- รถไฟสงิ โตยาวก่ีหน่วย (5 หน่วย)
ขนั้ สอน
2. ครตู ดิ แถบกระดาษสีชมพู สีฟา้ และสเี ขยี วบนกระดาน กาหนดให้
ความยาว 1 หน่วย ดงั ภาพ

ครูใช้การถามตอบ ดงั นี้
- แถบกระดาษสใี ดยาวท่ีสดุ (สีฟ้า) ยาวกหี่ นว่ ย (8 หน่วย)
- แถบกระดาษสใี ดส้ันที่สดุ (สชี มพู) ยาวกหี่ นว่ ย (5 หน่วย)
- แถบกระดาษสเี ขยี วยาวกี่หนว่ ย (7 หน่วย)
- แถบกระดาษสฟี ้ายาวกวา่ หรือสัน้ กว่าแถบกระดาษสีชมพู (ยาวกว่า) ยาวกวา่ กี่
หนว่ ย คิดไดอ้ ยา่ งไร (แถบกระดาษสฟี ้ายาวกวา่ แถบกระดาษสชี มพู 8 – 5 = 3 หนว่ ย)
- แถบกระดาษสีเขียวยาวกว่าหรอื สัน้ กวา่ แถบกระดาษสีฟา้ (สัน้ กวา่ ) สนั้ กวา่ ก่ี
หนว่ ย คิดได้อย่างไร (แถบกระดาษสีเขียวส้นั กว่าแถบกระดาษสฟี ้า 8 – 7 = 1 หนว่ ย)
3. ครตู ดิ บตั รภาพแสดงความสงู ของสง่ิ ตา่ ง ๆ กาหนด แทนความสูง 1 หน่วย ดงั
ภาพ


Click to View FlipBook Version