The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by graphic, 2022-07-12 00:41:36

e-bookแก้ใหม่2

e-bookแก้ใหม่

การวิเคราะห์

งบการเงิน

บริษัทประกันวินาศภัย

ผศ.ดร.คณิตศร เทอดเผ่าพงศ์



การวิเคราะหงบการเงนิ บริษทั ประกันวนิ าศภยั

Financial Statement Analysis of Non-Life Insurance Companies

ผศ.ดร. คณติ ศร เทอดเผา พงศ

ราคา 300 บาท

จดั ทําโดย ผศ.ดร. คณติ ศร เทอดเผาพงศ
สงวนลขิ สทิ ธ์ิ หา มลอกเลียนไมว าสวนหนงึ่ สว นใดของหนงั สือน้ี นอกจากไดร ับอนุญาต
พิมพค รง้ั ที่ 1 – ธนั วาคม 2564 จาํ นวน 50 เลม
โรงพิมพ ดิจติ อล ลาดกระบงั บรษิ ัท อีซีสพ รนิ้ เอก็ เพรส จาํ กัด
260/7 หมู 1 ถ.ออนนุช แขวงลาดกระบงั เขตลาดกระบงั กรงุ เทพฯ 10520
โทร. 02-7283223-4, 081-3117952
พมิ พครง้ั ท่ี 2 – มถิ นุ ายน 2565 จํานวน 115 เลม
บรษิ ทั แรบบทิ 4พรนิ้ ต จาํ กดั
40/44 ซอยวิภาวดรี ังสติ 66 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210
โทร. 02-552-2222 โทรสาร 02-552-2220
จาํ หนา ยทศี่ นู ยห นงั สอื แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ทกุ สาขา และ www.chulabook.com
ศนู ยหนงั สือแหงจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั อาคารวิทยกติ ต์ิ ช้นั 14 ซอยจุฬาลงกรณ 64
ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม เขตปทมุ วัน กรุงเทพฯ 10330
โทร. 02-218-9881-2, 02-218-9875-6
โทรสาร 02-254-9600
Call Center 02-255-4433
อเี มล: [email protected] หรอื [email protected]
ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานกั หอสมดุ แหงชาติ
คณิตศร เทอดเผา พงศ.
การวเิ คราะหงบการเงินบริษทั ประกนั วินาศภยั .--พิมพค รั้งท่ี 2.-- กรุงเทพฯ :
แรบบทิ 4 พริ้นต, 2565.
385 หนา.
1. งบการเงิน. 2. บรษิ ทั ประกัน. I. ชื่อเร่ือง.
657.3
ISBN 978-616-593-401-5



คาํ นาํ

(พิมพค รงั้ ที่ 2)

หนังสือการวิเคราะหง บการเงินบริษัทประกันวินาศภัยน้ี ผเู ขียนมคี วามประสงคท่ีจะ
ใหค วามเขาใจเกย่ี วกบั การวเิ คราะหง บการเงนิ ของบริษทั ประกนั วนิ าศภยั ธรุ กจิ ประกนั วนิ าศ
ภยั เปนธรุ กจิ ในหมวดการเงิน (Financial Industry) ทีต่ ามปกติธรุ กจิ ในหมวดนรี้ วมถึงธุรกิจ
ธนาคารพาณิชย และสถาบันการเงิน เชน ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร ธุรกิจการให
เชาซ้ือ ธุรกิจการใชเชาแบบลีส (Leasing) ธุรกิจแฟกเตอริง (Factoring) ธุรกิจบัตรเครดิต
ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจประกันชีวิตตามกฎหมายวาดวยประกันชีวิต ธุรกิจประกันวินาศภัยตาม
กฎหมายวาดว ยประกันวินาศภัย ธุรกิจหลกั ทรพั ย ธรุ กิจที่ปรึกษาทางการเงิน ธรุ กิจท่ีปรึกษา
การลงทุน ธุรกิจเทคโนโลยีการเงินท่ีมีลักษณะเปนธุรกิจทางการเงิน และธุรกิจอ่ืนตามที่
ธนาคารแหงประเทศไทยกาํ หนด ทั้งน้ี ธนาคารแหงประเทศไทย ไดอ อกประกาศธนาคารแหง
ประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑการกํากับแบบรวมกลุม (สนส.66/2551 ลงวันท่ี 3 สิงหาคม
2551) กําหนดใหกลุมธุรกิจการเงินถือปฏิบัติในหลักเกณฑเชิงคุณภาพ และยังมีการออก
ประกาศธนาคารแหงประเทศไทยมาเปน ลาํ ดบั (สนส.6/2553) เพอ่ื ใหม ีผลบังคับใชอยางเต็ม
รูปแบบ ต้ังแตวันท่ี 30 มิถุนายน 2553 เปนตนมา โดยกําหนดใหมีการปรับปรุงการดํารง
เงินกองทุนของกลุมธุรกิจทางการเงิน ตามเกณฑ Basel III เม่ือป 2555 ซ่ึงตามขอบเขตคํา
จํากัดความของธุรกิจการเงิน มีครอบคลุมหลายกลุมธุรกิจยอย ตามท่ีกลาวขางตน ธุรกิจ
การเงินหมวดใหญท่ีมักอยูในความสนใจของผูคนจํานวนมากคือธุรกิจธนาคาร ธุรกิจ
ประกนั ภัย และธุรกจิ เงินทุนหลกั ทรพั ย

เนือ้ หาในหนังสือเลมนี้ เนน เฉพาะไปทธี่ ุรกิจประกันวนิ าศภยั ดว ยผเู ขยี นตระหนกั ถึง
ความสําคัญของธุรกิจประกันภัย เปนธุรกิจท่ีเปนกลไกสําคัญในการสรางความม่ันคงใหกับ
ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และเศรษฐกิจของประเทศ การประกันภัยเปนเครื่องมือในการ
สรางความคุมครองใหกับผูเอาประกันภัย ผูเอาประกันภัยสามารถมั่นใจไดวาชีวิตและ
ทรัพยสินของผูเอาประกันภัยไดรับความคุมครองตามกรมธรรม สามารถชวยบรรเทาความ
เดือดรอนให สามารถใชเปนหลักประกันใหก ับบุคคล ครอบครัว และธุรกิจ ทั้งยังเปนจักรกล
ท่ีสําคัญในการลงทุนท่ีย่ังยืนของประเทศ อันเปนการกระตุนเศรษฐกิจ สรางเสถียรภาพทาง
เศรษฐกจิ ใหกับประเทศ การจะพจิ ารณาวา ประเทศใดมีความมั่นคงทางเศรษฐกจิ และการเงิน
สวนหน่ึงสามารถมองไดจากอัตราเบี้ยประกันภัยตอรายไดประชาชาติ (Insurance
Penetration) ซ่ึงประเทศไทยมีอัตราอยูท่ีรอ ยละ 5.43 (ขอมูลป 2563) เพิ่มขึ้นจากป 2561
ซึ่งอยูท่ีรอยละ 5.27 ในขณะท่ีประเทศอ่ืน เชน ประเทศญ่ีปุนมีอัตราตราเบี้ยประกันภัยตอ
รายไดประชาชาติ อยูท่ี 8.86 ฮองกง รอยละ 18.16 และไตหวัน รอยละ 20.88 (ขอมูลป
2561)

ในภาวะเศรษฐกิจท่ีผันผวน ทุกภาคสวนไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ
สภาวะเศรษฐกิจและสังคม เชน ภาวะที่ประเทศโดยสวนใหญของโลกกาวเขาสูภาวะสังคมผู
สูงวัย (Aging Society) การทําประกันภัยทั้งประกันชีวิตและประกันวินาศภัยสามารถเขามา
เกื้อหนุนการขับเคล่ือนภาวะทางสังคมท่ีเปลี่ยนไปน้ี ทําใหผูเอาประกันภัย ทายาทผูเอา
ประกันภัย หนวยงานภาครัฐ หนวยงานการแพทย และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ สามารถขับเคล่ือน
ไปไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือภาวะแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธใหม 2019
(Covid-19) ทําใหทุกฝายท่ีเกี่ยวของหันมาใหความสําคัญกับการประกันภัยมากขึ้น ไมวาจะ
เปนการประกันสุขภาพ การประกันการวางงาน การประกันการดําเนินธุรกิจตอเน่ือง
ภาวะการณตางๆ ที่เกิดข้ึน เปนทั้งภัยท่ีมาคุกคาม (Threats) และเปนทั้งโอกาส
(Opportunity) ของธุรกิจประกันภัย ในชวงการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ
ใหม 2019 เปนภาวะวิกฤติทางสุขภาพที่ทุกประเทศไมเคยเผชิญมากอน ธุรกิจประกันภัยได
เขามาเปนสวนสําคัญสวนหน่ึงในการชวยเหลือผูเอาประกันภัย ไมวาจะเปนบุคคลธรรมดา
นิตบิ ุคคล และผอ นแรงหนว ยงานภาครัฐไดในระดบั หนง่ึ ในภาวะการณเชน นแี้ มเ ปน วิกฤติแต
ก็เปนโอกาสใหกับบริษัทประกันภัยเชนกัน บริษัทประกันภัยจํานวนมากตางออกแบบ
กรมธรรมใหมๆ เพ่ือคุมครองผเู อาประกนั ภยั อีกท้ัง รูปแบบในการนาํ เสนอกรมธรรมไดมีการ
ปรับเปล่ียนรูปแบบ (Platform) เทคโนโลยีดิจิทัลมีความกาวหนา อยางรวดเร็ว ท้ังมีแรงผลัก
จากภาวะวิกฤติโรคระบาด ทําใหประชาชนตอบรับการใชเทคโนโลยีมากข้ึน สามารถเขาถึง
ขอ มลู ขาวสารไดอ ยา งรวดเรว็ บริษทั ประกนั ภัย หนวยงานภาครฐั ธรุ กจิ และประชาชนตา งใช
เทคโนโลยีเขา ชว ยในการตดั สินใจ

ความมั่นคงและย่ังยืนของบริษัทประกันภัยจึงนับวามีความสําคัญท้ังตอประชาชน
ตอธุรกิจ ตอเศรษฐกิจสังคมและประเทศชาติเปนอยางมาก สํานักงานคณะกรรมการกํากับ
และสง เสรมิ การประกอบธุรกิจประกนั ภัย (สํานักงาน คปภ.) เปนหนว ยงานทีท่ าํ หนา ท่ีในการ
กํากับดูแล และสงเสริมพัฒนาธุรกิจประกันภัยใหมีประสิทธิภาพและคุมครองประชาชนให
ไดรับสิทธิประโยชนจากการประกันภัย จากภาวะวิกฤตโรคระบาดโควิด – 19 สํานักงาน
คปภ. ไดทําการเพิกถอนใบอนุญาตการประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยของบริษัทประกันภัย
คอื บรษิ ัท อาคเนยป ระกนั ภัย จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยประกนั ภัย จาํ กดั (มหาชน) บรษิ ัท
เอเชียประกันภัย 1950 จํากัด (มหาชน) และ บริษัท เดอะวัน ประกันภัย จํากัด (มหาชน)
โดยมีสาเหตุมาจากการที่บริษัทมีฐานะการเงินไมมั่นคง เน่ืองจากไดรับผลกระทบจากการเค
ลมประกนั ภัยโควิด-19 ทาํ ใหม ปี ระมาณการหนีส้ นิ เกนิ กวา สินทรพั ย มีสภาพคลองไมเ พียงพอ
สําหรับการเรียกรองคาสินไหมทดแทน และอัตราสวนความเพียงพอของเงินกองทุนตํ่ากวา
เกณฑท่ีกฎหมายกําหนด มีการจายคาสินไหมทดแทนลาชา หรือมีการเสนอขายกรมธรรม
ประกนั ภัยท่ีไมเปน ไปตามแบบ

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับธุรกิจประกันภัย ไมวาจะเปนประโยชนของการทํา
ประกนั ภัย รูปแบบการดําเนินธุรกจิ ประกนั ภยั เปน สวนประกอบที่สําคัญที่จะชวยใหเกิดการ
ขับเคล่ือน การยอมรับ และการขยายตัวของธุรกิจประกันภัย จากประสบการณของผูเขียน
พบวาผูคนจํานวนไมนอยในอดีต มีประสบการณในดานลบเกี่ยวกับธุรกิจประกันภัย ไมวาจะ

เปนความเชื่อหรือทัศนคติท่ีมีตอการประกันชีวิตและการประกันภัย อยางไรก็ดี ประโยชน
ของการประกันภัยตางเปนส่ิงที่ผูคนโดยสวนใหญตระหนัก ความรูความเขาใจที่ถูกตอง
เกี่ยวกับธุรกิจประกันภัยไดสรางความเชื่อและทัศนคติดานบวกตอธุรกิจประกันภัยเพ่ิมขึ้น
เปนลําดับ และในปจจุบันผูคนจํานวนมากเขาใจถึงบทบาทหนาที่และความสําคัญของการ
ประกันภัย การลงทุนในธุรกิจประกันภัยจึงไดรับความสนใจจากนักลงทุนเปนจํานวนมาก
ความเขา ใจเร่ืองการวิเคราะหงบการเงนิ ของบรษิ ทั ประกันภยั จงึ นบั วามีความสาํ คัญอยางยิ่ง

ผูเขียนต้ังใจถายทอดความเขาใจในเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท
ประกันภัยใหเปนเนื้อหาที่อานงายเขาใจไดงาย เพิ่มการอธิบายและยกตัวอยางการวิเคราะห
งบการเงินอยางละเอียดในแตละบท หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือการวิเคราะหงบการเงิน
บริษัทประกันวินาศภัยท่ีทานถืออยูในขณะนี้ จะเปนประโยชนตอทานผูอาน ตลอดจนนัก
ลงทุน นักวิชาการ ผูประกอบวิชาชีพ และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ผูเขียนยินดีนอมรับคํา
เสนอแนะจากทานเพื่อการปรับปรุงหนังสือเลมนี้ใหมีคุณคาตอสังคม วงการวิชาชีพ และ
วงการวชิ าการตอไป

คณติ ศร เทอดเผา พงศ
ผเู ขยี น

มิถุนายน 2565



คาํ นยิ ม

ธุรกิจประกันภัย อาจกลาวไดวาเปนธุรกิจท่ีสรางภูมิคุมกันใหกับประเทศในการ
บรหิ ารความเส่ยี งใหก ับประชาชนคนไทย ธรุ กจิ ไทย และธุรกิจทดี่ าํ เนนิ อยูในประเทศไทย ให
มีความเปนอยูที่ม่ันคง มีความรุงเรือง และมีความยั่งยืน ในความเขาใจของผม ผมคิดวา
ประชาชนคนไทยมีความรูความเขาใจ มีความตื่นตัวและเห็นประโยชนของการทําประกันภัย
มากขึ้นทุกขณะ การประกันภัยย่ิงไดรับความสนใจและอยูในกระแสความคิดของประชาชน
เปนจํานวนมากโดยเฉพาะเมื่อผูคนและธุรกิจเผชิญกับภาวะวิกฤติ ไมวาจะเปนวิกฤติ
เศรษฐกิจตกต่ํา วิกฤติอุทกภัย วิกฤติโรคระบาด หรือการท่ีผูคนในประเทศเขาสูภาวะสูงวัย
(Aging Society) ในภาวะวิกฤติตางๆ เหลาน้ีบริษัทประกันภัยไดพยายามทําหนาท่ีเก้ือหนุน
แบง เบาภาระการเงิน และลดความเส่ียงภัย ดว ยการชดเชยความสูญเสยี หรือความเสียหายท่ี
เกิดขึ้นตามสัญญาประกันภัย และยังใหความมั่นใจและความอุนใจตอผูถือกรมธรรมวาจะ
ไดรบั ความคุมครองตามสญั ญาประกันภัยท่ีมี ในภาวะวกิ ฤติลาสุดท่ีประเทศกําลงั เผชิญอยูใน
ขณะน้ี คือ การแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 (Covid-19) ซ่ึงสงผล
กระทบในวงกวางตอประชาชน ธุรกิจ และเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ผมพบวา ธุรกิจ
ประกันภัยท้ังประกันชีวิตและประกันวินาศภัย ตางเขามาสนับสนุนและผอนแรงใหกับผูถือ
กรมธรรมทไี่ ดร บั ผลกระทบจากการแพรร ะบาดใหสามารถดาํ เนินกิจกรรมของตนตอไปได

ความเขาใจในเร่ืองการประกันภัยของภาคธุรกิจและภาคประชาชนนับวามี
ความสําคัญอยางย่ิง เม่ือผมไดพบกับ ผศ. ดร. คณิตศร เทอดเผาพงศ ผูเขียนหนังสือท่ีทาน
กําลังถืออยูนี้ และไดทราบเจตนารมณของอาจารยในการเขียนหนังสือ ผมรูสึกดีใจมากท่ี
พบวาอาจารยมหาวิทยาลัยใหความสนใจในธุรกิจประกันภัย และเขียนหนังสือเก่ียวกับการ
วิเคราะหงบการเงินของธุรกิจประกันวินาศภัยไดเปนอยางดี หนังสือเลมนี้อานงาย มาพรอม
ตัวอยางในการวิเคราะหตัวเลขอัตราสวนท่ีสําคัญ และเขียนอธิบายผลเปนตัวอยางเพ่ือให
เขาใจไดงาย สามารถอธิบายเร่ืองท่ีอาจดูวายาก ใหเขาใจไดงายๆ ผมเช่ือวาทานจะไดรับ
ประโยชนจากการอานหนังสือเลมนี้ ขอบคุณอาจารยคณิตศร ท่ีพยายามสรางความรูความ
เขาใจในเร่ืองการประกันภัย หนังสือเลมนี้เปนสวนหน่ึงในการสนับสนุนและสรางศักยภาพ
ทางวิชาการใหกับประชาชนและสังคม สงเสริมใหเกิดการพัฒนาธุรกิจประกันภัย สงเสริม
ความนาเชื่อถือและเสถียรภาพใหระบบการประกันภัยของประเทศ ผมเช่ือมั่นวา ทานจะมี
ความเขาใจในการวิเคราะหงบการเงินของบริษัทประกันวินาศภัยเพิ่มมากขึ้น และหวังเปน
อยางยิ่งวา จะมกี ารเขียนหนังสือดๆี อยางน้อี กี เปนจํานวนมาก

ชยั ยุทธ มงั ศรี
รองเลขาธกิ าร ดานกฎหมาย คดี และคุมครองสทิ ธปิ ระโยชน
สํานักงานคณะกรรมการกาํ กับและสงเสริมการประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั



สารบญั

หน้า

สารบัญตาราง.....................................................................................................................vii
สารบญั ภาพ .........................................................................................................................x
บทที่ 1 ธุรกจิ ประกันภัย....................................................................................................... 1

1.1 บทนา ............................................................................................................. 1
1.2 ความสาคัญของการประกันภัย........................................................................ 2
1.3 ประโยชน์ของการประกันภัย........................................................................... 3
1.4 ประเภทของการประกนั ภัย............................................................................. 5
1.5 รูปแบบงบการเงินของธรุ กิจประกนั .............................................................. 11
1.6 การบริหารความเสย่ี งกบั การประกันภัย (Risk Management and

Insurance)................................................................................................... 18
1.7 องค์กรที่เกย่ี วขอ้ งกบั การประกันภยั ของประเทศไทย .................................... 20

1. สานกั งานคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธรุ กิจประกนั ภัย
(Office of Insurance Commission) .................................................... 21

2. สมาคมประกนั วินาศภัย (Thai General Insurance Association) ........ 21
3. สมาคมประกันชวี ติ ไทย (The Thai Life Assurance Association) ....... 22
4. สมาคมนายหน้าประกนั ภัยไทย (Thai Insurance Brokers

Association)........................................................................................... 22
5. สมาคมตวั แทนประกันชวี ติ และท่ปี รึกษาการเงิน (Thai Association of

Insurance and Financial Advisors).................................................... 23
6. สมาคมนักคณิตศาสตรป์ ระกันภัยแห่งประเทศไทย (The Society of

Actuaries of Thailand) ........................................................................ 24
7. สานักงานอัตราเบี้ยประกนั วินาศภยั (Insurance Remium Rating

Bureau) .................................................................................................. 25

ii

8. สถาบนั ประกันภยั ไทย (Thailand Insurance Institute) ....................... 25
1.8 สรุป .............................................................................................................. 27
1.9 คาถามท้ายบท .............................................................................................. 28
บทท่ี 2 ธรุ กิจประกนั ชีวิตและประกนั วนิ าศภัย...................................................................31
2.1 บทนา............................................................................................................ 31
2.2 ขอ้ มูลตวั เลขเชิงเปรียบเทียบทส่ี าคัญสาหรับธรุ กจิ ประกันภยั และประกนั วนิ าศ

ภัย ................................................................................................................ 32
2.3. อตุ สาหกรรมประกันภัยในประเทศไทย ........................................................ 41
2.4 สว่ นแบ่งการตลาด (Market Share) ของบริษัทประกนั ชีวติ ......................... 47
2.5 อุตสาหกรรมประกนั ภยั ในเอเชียแปซิฟกิ ....................................................... 49
2.6 สรุป .............................................................................................................. 53
2.7 แบบฝกึ หดั ท้ายบท ........................................................................................ 54
บทที่ 3 งบการเงินของธรุ กิจประกันวินาศภัย .....................................................................57
3.1 บทนา ........................................................................................................... 57
3.2 ความหมายของรายการทสี่ าคัญในงบแสดงฐานะการเงนิ ............................... 58
3.2.1 สนิ ทรัพย์ (Assets)................................................................................... 58
3.2.2 หน้ีสนิ (Liabilities).................................................................................. 61
3.2.3 สว่ นของเจา้ ของ (Owners’ Equity)........................................................ 63
3.3 ความหมายของรายการทสี่ าคัญในงบกาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ (Comprehensive

Income Statement).................................................................................. 66
3.3.1 รายได้ (Revenues)................................................................................. 66
3.3.2 คา่ ใช้จ่าย (Expenses) ............................................................................. 67
3.4 ความหมายของรายการทส่ี าคัญในงบแสดงการเปล่ยี นแปลงส่วนของเจ้าของ

(Statement of Changes in Equity) ......................................................... 71
3.5 รายการทสี่ าคัญในงบกระแสเงินสด (Statement of Cash Flows) ............. 75
3.5.1 กระแสเงนิ สดจากกิจกรรมดาเนนิ งาน (Cash Flows from Operating

Activities)............................................................................................... 75
3.5.2 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (Cash Flows from Investing

Activities)............................................................................................... 76

iii

3.5.3 กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมจดั หาเงนิ (Cash Flows from Financing
Activities)............................................................................................... 77

3.6 หมายเหตุประกอบงบการเงนิ (Notes to Financial Statements)............. 79
3.7 สรปุ .............................................................................................................. 94
3.8 แบบฝึกหัดท้ายบท........................................................................................ 95
บทที่ 4 การวิเคราะห์งบการเงนิ ของธุรกิจประกันวินาศภยั .................................................99
4.1 บทนา............................................................................................................ 99
4.2 ความหมายของงบการเงิน...........................................................................100
4.3 การวเิ คราะหง์ บการเงิน (Financial Statement Analysis).......................100
4.3.1 ประโยชน์ของการวเิ คราะห์งบการเงิน ....................................................101
4.3.2 ข้ันตอนของการวิเคราะหง์ บการเงนิ .......................................................102
4.4 วิธกี ารวเิ คราะหง์ บการเงิน...........................................................................103
4.4.1 การวเิ คราะห์งบการเงินในรปู แบบอัตราร้อยละ (Percentage) ..............103
4.4.2 การวเิ คราะห์งบการเงนิ ในรูปแบบอัตราสว่ น (Ratios)............................104
4.5 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงนิ ตามวตั ถปุ ระสงค์...................................106
4.5.1 การวเิ คราะห์ความม่ันคงทางการเงนิ (Financial Stability Analysis)...107
4.5.2 การวิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพในการดาเนนิ ธุรกจิ ........................................107
4.5.3 การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งการเงินและประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารสินทรพั ย์

(Asset Management Analysis) .........................................................108
4.5.4 การวิเคราะห์ความสามารถในการทากาไร (Profitability Analysis)......108
4.5.5 การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธิภาพทางการตลาด (Market Efficiency

Analysis................................................................................................ 109
4.6 ตัวอยา่ งการวเิ คราะห์แนวดง่ิ .......................................................................109
4.6.1 การแปลผลจากการวเิ คราะหร์ อ้ ยละจากงบแสดงฐานะการเงนิ ..............113
4.6.2 การวเิ คราะหแ์ นวด่ิงงบกาไรขาดทุนเบด็ เสร็จ .........................................113
4.6.3 การแปลผลจากการวิเคราะหง์ บแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของเจา้ ของ...124
4.6.4 ตวั อยา่ งการวเิ คราะหแ์ นวนอน.................................................................125
4.7 สรุป ............................................................................................................136
4.8 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท ......................................................................................137

iv

บทที่ 5 การวเิ คราะห์ความมัน่ คงทางการเงนิ ของบรษิ ัทประกนั วนิ าศภัย..........................151
5.1 บทนา..........................................................................................................151
5.2 อัตราสว่ นวเิ คราะห์ความม่ันคงทางการเงนิ ของบรษิ ทั ประกนั วนิ าศภัย ........152
5.2.1 อัตราส่วนความเพยี งพอของเงนิ กองทนุ (Capital Adequacy Ratio)....152
5.2.2 อัตราส่วนสนิ ทรัพยท์ ่จี ัดสรรเปน็ เงินสารองไดต้ ่อเงินสารองที่ต้องจัดสรรตาม
กฎหมาย ................................................................................................ 158
5.2.3 อัตราส่วนสภาพคลอ่ ง (Liquidity Ratio) ...............................................160
5.2.4 อตั ราสว่ นการเปล่ยี นแปลงเงนิ กองทนุ (Capital Changes Ratio).........162
5.2.5 อตั ราสว่ นความมั่นคงทางการเงิน (Financial Stability Ratio) .............165
5.2.6 อตั ราสว่ นการคุ้มครองผูเ้ อาประกันภัย (Insured Protection Ratio or
Loss Ratio) ..........................................................................................167
5.3 ตวั อย่างการวเิ คราะห์อตั ราส่วนความมน่ั คงทางการเงิน...............................169
5.4 ตัวอย่างการแปลผลอตั ราส่วนความมน่ั คงทางการเงนิ .................................175
5.5 สรปุ ............................................................................................................176
5.6 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท ......................................................................................178

บทที่ 6 การวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจของบริษทั ประกันวินาศภยั ...........183
6.1 บทนา..........................................................................................................183
6.2 อัตราสว่ นในการวเิ คราะห์ประสิทธภิ าพในการดาเนนิ ธุรกิจ .........................184
6.2.1 อัตราส่วนสินทรัพย์ลงทุนต่อหนีส้ นิ บริษัทประกนั ภัย (Investment Assets
to Liability Ratio) ...............................................................................185
6.2.2 อตั ราส่วนค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ ธรุ กจิ ประกนั ภยั (Insurance Operating
Expense Ratio) ...................................................................................188
6.2.3 อตั ราส่วนพฒั นาการสารองคา่ สินไหมทดแทน 1 ปี (One Year Claim
Liability Growth) ................................................................................189
6.2.4 อตั ราการหมนุ เวยี นของสนิ ทรพั ย์ลงทุน (Investment Assets
Turnover) ............................................................................................193
6.2.5 อัตราสว่ นการเตบิ โตของเบ้ยี ประกันภยั รับโดยตรง.................................194
6.2.6 อตั ราส่วนสินทรพั ย์ลงทุนต่อสินทรัพยร์ วม..............................................196

v

6.3 ตัวอย่างการวิเคราะห์ประสทิ ธิภาพการดาเนนิ ธรุ กิจผ่าน 6 อัตราส่วนทาง
การเงิน .......................................................................................................199

6.4 สรุป ............................................................................................................208
6.5 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท ......................................................................................209
บทที่ 7 การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งทางการเงินและการบรหิ ารสนิ ทรัพยแ์ ละหนี้สินของบริษัท
ประกันวินาศภัย ..................................................................................................215
7.1 บทนา..........................................................................................................215
7.2 อตั ราส่วนวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งทางการเงนิ (Financial Structure

Analysis).................................................................................................... 217
7.2.1 อตั ราส่วนหนส้ี ินต่อสนิ ทรัพย์รวม (Debt Ratio).....................................219
7.2.2 อัตราส่วนหน้ีสินตอ่ ส่วนของผถู้ ือหุน้ (Debt Equity Ratio) ...................220
7.3 การบรหิ ารสนิ ทรพั ย์ (Asset Management)..............................................221
7.3.1 อัตราสว่ นสินทรพั ยท์ ี่ได้รับการประเมนิ ราคาต่อสินทรัพย์รวม (Appraised

Assets to Total Assets Ratio)...........................................................222
7.3.2 อัตราสว่ นผลการประเมินราคาเบีย้ ประกันภยั ค้างรบั (Appraisal of

Accrued Insurance Premiums Ratio)..............................................227
7.4 ความเสี่ยงจากการบริหารสนิ ทรพั ยแ์ ละหนสี้ นิ (Asset-Liability

Management (ALM) Risk).......................................................................229
7.5 ตวั อย่างการวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งทางการเงนิ และการบริหารสินทรพั ย์ ..........236
7.6 สรุป ............................................................................................................241
7.7 แบบฝึกหัดทา้ ยบท ......................................................................................242
บทที่ 8 การวิเคราะห์ความสามารถในการทากาไรของบริษทั ประกันวินาศภัย..................247
8.1 บทนา..........................................................................................................247
8.2 อตั ราสว่ นทางการเงินวเิ คราะหค์ วามสามารถในการทากาไร........................248
8.3 ตัวอยา่ งการวิเคราะหค์ วามสามารถในการทากาไร ......................................261
8.4 สรปุ ............................................................................................................264
8.5 แบบฝึกหดั ท้ายบท ......................................................................................265
บทที่ 9 การวิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพทางการตลาดของบริษทั ประกันวนิ าศภยั ...................273
9.1 บทนา..........................................................................................................273

vi

9.2 อัตราส่วนวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพดา้ นการตลาด...........................................274
9.2.1 กาไรต่อหุ้น (Earnings Per Share: EPS)...............................................275
9.2.2 อตั ราการเตบิ โตของกาไรต่อหนุ้ (Earnings Per Share Growth Rate).276
9.2.3 อัตราส่วนราคาตอ่ กาไร (Price/Earnings Ratio หรือ P/E Ratio) .........279
9.2.4 อัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี (Market Value to Book Value

Ratio) .................................................................................................... 280
9.2.5 ส่วนแบง่ การตลาด (Market Share) จากเบย้ี ประกันภยั รบั สทุ ธิ ............281
9.3 ตัวอย่างการวิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพดา้ นการตลาด .......................................286
9.4 สรปุ ............................................................................................................293
9.5 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท ......................................................................................294
บทท่ี 10 การจัดอนั ดับเครดิตและการวดั ประสทิ ธภิ าพบรษิ ัทประกนั วนิ าศภัย.................301
10.1 บทนา .......................................................................................................301
10.2 การจัดอนั ดับเครดติ (Credit Rating) และ สถาบันจดั อันดับเครดติ (Credit

Rating Agencies)......................................................................................302
10.2.1 การจดั อันดับเครดติ (Credit Rating)...................................................302
10.2.2 สถาบันจดั อันดบั เครดิต (Credit Rating Agencies)............................304
10.3 การประเมินโดยใช้ CAMELS Framework...............................................325
10.4 การประเมนิ โดยใช้ CARAMELS Framework..........................................328
10.5 การวัดประสิทธิภาพของบรษิ ัทประกนั โดยการใช้เทคนิควเิ คราะห์ Data

Envelopment Analysis (DEA)................................................................333
10.6 สรุป ..........................................................................................................339
10.7 คาถามทา้ ยบท...........................................................................................340
รายชอื่ บริษทั ประกันวินาศภัยทจ่ี ดทะเบียนในประเทศไทย..............................................345
คาศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกบั การประกันวนิ าศภัย.........................................................................351
อ้างองิ .………………………………………………………………………………………………………………..361
ดชั นคี าศัพท์ ....................................................................................................................383
ประวัตผิ เู้ ขยี น..................................................................................................................391

สารบญั ตาราง

หน้า

ตารางท่ี 1.1 เบย้ี ประกันภยั รายปี 2555 – 2563 ................................................................ 9
ตารางที่ 1.2 อตั ราการเติบโตของเบี้ยประกันภยั รายปี....................................................... 11
ตารางท่ี 1.3 ประเภทของงบการเงินทีต่ ้องจดั ทาและนาสง่ แยกตามประเภทของผมู้ หี นา้ ที่

จัดทาบญั ชี.................................................................................................... 13
ตารางที่ 1.4 งบกาไรขาดทุนของธรุ กจิ ประกนั ภัย.............................................................. 14
ตารางท่ี 1.5 งบแสดงฐานะการเงินของธุรกิจประกันภัย .................................................... 17
ตารางที่ 2.1 มูลค่าเบ้ยี ประกันภยั ท่ถี ือเป็นรายได้ พ.ศ. 2563 ........................................... 32
ตารางท่ี 2.2 ภาพรวมงบกาไรขาดทนุ ของบริษทั ประกนั วนิ าศภยั ไทย พ.ศ. 2563 ............. 34
ตารางที่ 2.3 อัตราค่าสินไหมทดแทนต่อเบี้ยที่ถอื เป็นรายได้ของธรุ กิจประกนั วินาศภยั พ.ศ.

2563 ............................................................................................................ 36
ตารางท่ี 2.4 ภาพรวมงบกาไรขาดทนุ ของบริษทั ประกนั ชีวติ พ.ศ. 2563........................... 39
ตารางท่ี 2.5 จานวนบริษทั ประกนั ภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2563...................................... 41
ตารางที่ 2.6 ข้อมลู เบ้ียประกันภัยรบั ในเอเชีย-แปซฟิ ิก ปี พ.ศ. 2559 - 2563 ................. 50
ตารางที่ 2.7 ข้อมลู เบยี้ ประกันภัยแยกตามประเภทธรุ กิจ ปี พ.ศ. 2563............................ 50
ตารางที่ 2.8 สว่ นแบง่ ตลาดของธรุ กจิ ประกนั ภัย ในเอเชยี -แปซิฟิก พ.ศ. 2563 ................ 51
ตารางที่ 4.1 อตั ราส่วนทางการเงนิ และค่ามาตรฐาน .......................................................106
ตารางท่ี 5.1 รายละเอียดของเงนิ กองทนุ ทีส่ ามารถนามาใช้ไดท้ ั้งหมด .............................154
ตารางที่ 5.2 ข้อมลู งบการเงินของบริษัทสนิ ไทยประกนั วนิ าศภัย จากดั (มหาชน) ...........169
ตารางท่ี 5.3 ตัวอยา่ งการวิเคราะห์อตั ราสว่ นความเพยี งพอของเงินกองทุน .....................171
ตารางท่ี 5.4 ตัวอยา่ งการวิเคราะห์อัตราสว่ นสินทรัพย์ทจ่ี ัดสรรเป็นเงินสารอง ................172
ตารางที่ 5.5 ตวั อยา่ งการวิเคราะหอ์ ัตราสว่ นสภาพคลอ่ ง ................................................173
ตารางท่ี 5.6 ตัวอย่างการวิเคราะหอ์ ตั ราส่วนการเปลี่ยนแปลงเงนิ กองทนุ .......................174
ตารางที่ 5.7 ตวั อย่างการวิเคราะหอ์ ัตราสว่ นความมนั่ คงทางการเงิน ..............................174
ตารางท่ี 5.8 ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์อัตราสว่ นการคมุ้ ครองผู้เอาประกันภัย.......................175
ตารางท่ี 5.9 ตารางสรปุ อัตราสว่ นที่ใช้ในการวิเคราะห์ความม่ันคงทางการเงิน ................168
ตารางท่ี 6.1 ตวั อย่างการวเิ คราะห์อตั ราส่วนสินทรัพยล์ งทุนต่อหน้สี นิ (ราคาประเมิน) ...202
ตารางท่ี 6.2 ตัวอย่างการววิ เคราะห์อัตราสว่ นค่าใช้จ่ายในการดาเนินธรุ กิจประกันภัย ....203
ตารางที่ 6.3 ตวั อย่างการวิเคราะห์อัตราส่วนพฒั นาการสารองค่าสนิ ไหมทดแทน 1 ปี....203

viii

ตารางที่ 6.4 ตัวอย่างการวเิ คราะห์มูลค่าสนิ ทรัพย์ลงทนุ ทเ่ี พิ่มขึน้ (ลดลง) ........................204
ตารางที่ 6.5 ตวั อย่างการวเิ คราะห์อัตราการหมนุ เวียนของสินทรพั ยล์ งทนุ .....................205
ตารางที่ 6.6 ตวั อย่างการวเิ คราะห์อตั ราสว่ นการเติบโตของเบย้ี ประกนั ภัยรับโดยตรง.....206
ตารางท่ี 6.7 ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์อตั ราสว่ นสนิ ทรัพยล์ งทุนตอ่ สนิ ทรพั ย์รวม .................206
ตารางท่ี 6.8 ตารางสรปุ อตั ราสว่ นทีใ่ ขใ้ นการวเิ คราะหบ์ ริษัท ประกันภัยคุ้มครองไทย จากัด

(มหาชน) ..................................................................................................... 207
ตารางท่ี 6.9 ตารางสรุปอัตราสว่ นทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพในการบรหิ าร..........198
ตารางที่ 7.1 งบแสดงฐานะการเงนิ ของบรษิ ทั ประกันภยั ARAYA จากัด (มหาชน).........218
ตารางท่ี 7.2 อตั ราส่วนหนสี้ ินต่อสนิ ทรัพยร์ วมของบริษัท ประกันภยั ARAYA จากัด

(มหาชน) ..................................................................................................... 219
ตารางท่ี 7.3 อัตราส่วนหน้ีสินตอ่ สว่ นของผู้ถอื หุ้นของบริษทั ประกนั ภัย ARAYA จากดั

(มหาชน) ..................................................................................................... 220
ตารางท่ี 7.4 ประเภทสินทรัพย์และวธิ ีการประเมินราคา .................................................222
ตารางท่ี 7.5 ประเภทหนี้สินและวิธกี ารประเมินราคา......................................................224
ตารางที่ 7.6 ราคาตามบัญชแี ละราคาประเมนิ สินทรัพย์ของบรษิ ัท ประกันภยั ARAYA จากัด

(มหาชน) ..................................................................................................... 226
ตารางที่ 7.7 การวเิ คราะห์อัตราสว่ นสินทรพั ยท์ ี่ได้รบั การประเมินราคาต่อสินทรัพยร์ วม.227
ตารางที่ 7.8 วธิ กี ารประเมนิ ราคาสินทรพั ย์ประเภทเบีย้ ประกันภยั ค้างรบั .......................228
ตารางที่ 7.9 การวิเคราะห์อัตราส่วนผลการประเมินราคาเบี้ยประกันภัยคา้ งรับ ..............229
ตารางที่ 7.10 การไมส่ อดคล้องดา้ นอายุครบกาหนดของสินทรัพยแ์ ละหนส้ี ิน .................234
ตารางที่ 7.11 ข้อมูลทางการเงินของ บริษทั ประกนั ภัยคมุ้ ครองไทย จากดั (มหาชน).....236
ตารางที่ 7.12 ข้อมลู ราคาประเมนิ สนิ ทรัพย์และหนสี้ นิ บางสว่ น ......................................238
ตารางที่ 7.13 ตัวอยา่ งการวเิ คราะห์อัตราสว่ นหน้สี นิ ต่อสนิ ทรพั ยร์ วม (Debt ratio).......239
ตารางที่ 7.14 ตัวอย่างการวเิ คราะห์อตั ราสว่ นหนส้ี นิ ต่อสว่ นของผู้ถือหนุ้ (D/E ratio).....239
ตารางท่ี 7.15 ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์อตั ราสว่ นสินทรัพย์ท่ีได้รับการประเมินราคาต่อสนิ ทรัพย์

รวม ........................................................................................................... 240
ตารางที่ 7.16 ตัวอยา่ งการวเิ คราะห์อัตราสว่ นผลการประเมนิ ราคาเบี้ยประกันภยั ค้างรับ240
ตารางที่ 7.17 สรุปอัตราส่วนทีใ่ ช้ในการวิเคราะหก์ ารบรหิ ารสินทรพั ย์และหน้ีสนิ ...........236
ตารางที่ 8.1 ตวั อย่างการวิเคราะหอ์ ัตราสว่ นสินไหมทดแทน...........................................251
ตารางที่ 8.2 ตวั อยา่ งการวิเคราะห์อัตราสว่ นรวม............................................................253
ตารางที่ 8.3 ตวั อย่างการวิเคราะห์อตั ราสว่ นกาไรสทุ ธติ ่อเบยี้ ประกนั ภัยรับ....................254
ตารางที่ 8.4 ตัวอยา่ งการวิเคราะหอ์ ตั ราส่วนกาไรสุทธิต่อรายไดร้ วม...............................256
ตารางท่ี 8.5 ตัวอย่างการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรพั ย์รวมเฉลี่ย ....................257
ตารางท่ี 8.6 ตัวอย่างการวเิ คราะหอ์ ตั ราผลตอบแทนต่อสว่ นของเจ้าของเฉลี่ย ................259
ตารางท่ี 8.7 ตัวอยา่ งการวิเคราะห์อตั ราสว่ นความสามารถในการทากาไร ......................262

ix

ตารางที่ 8.8 ตารางสรปุ อตั ราสว่ นวิเคราะหค์ วามสามารถในการทากาไร.........................260
ตารางท่ี 9.1 ข้อมลู การเงนิ บรษิ ทั มติ รทาวนป์ ระกนั ภยั จากัด (มหาชน)........................277
ตารางท่ี 9.2 สรปุ อตั รากาไรต่อห้นุ และอตั ราการเตบิ โตของกาไรต่อหนุ้ .........................278
ตารางที่ 9.3 การวเิ คราะห์อัตราส่วนราคาต่อกาไร...........................................................279
ตารางท่ี 9.4 การวิเคราะห์อตั ราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี ..................................281
ตารางท่ี 9.5 การวเิ คราะหส์ ่วนแบ่งตลาด ........................................................................283
ตารางที่ 9.6 การวเิ คราะห์ส่วนแบง่ ตลาดจากสูงสุดไปตา่ สดุ ............................................285
ตารางที่ 9.7 ตารางสรุปอตั ราส่วนวิเคราะห์ประสิทธกิ ารตลาด บรษิ ทั เอไอที ประกนั ภยั

2010 จากัด (มหาชน).................................................................................292
ตารางท่ี 10.1 สัญลักษณ์และความหมายอนั ดบั เครดิต AM Best....................................309
ตารางท่ี 10.2 ตวั อย่างการจดั อนั ดบั เครดิต โดยสถาบันจัดอันดับเครดติ Standard and

Poor’s ...................................................................................................... 312
ตารางที่ 10.3 คะแนนความแข็งแกรง่ ทางการเงนิ ของบริษัทประกันภยั (Insurer Financial

Strength Ratings)...................................................................................312
ตารางท่ี 10.4 ปจั จัยการวเิ คราะห์ โดยสถาบันจัดอนั ดับเครดิต Moody’s ......................315
ตารางท่ี 10.5 สัญลกั ษณ์และความหมายอันดบั เครดติ ภาระผกู พนั ระยะยาว โดยสถาบนั จัด

อันดบั เครดติ Moody’s ............................................................................316
ตารางที่ 10.6 สัญลกั ษณแ์ ละความหมายอนั ดบั เครดิตภาระผูกพนั ระยะสน้ั โดยสถาบนั จัด

อนั ดับเครดติ Moody’s ............................................................................317
ตารางที่ 10.7 สัญลกั ษณแ์ ละความหมายอนั ดับเครดิตภาระผูกพันระยะยาว โดยสถาบันจดั

อนั ดบั เครดติ Fitch ...................................................................................319
ตารางท่ี 10.8 ตวั อยา่ งการจัดอนั ดับบรษิ ัทประกนั ภัยในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยสถาบันจัด

อันดับเครดิต .............................................................................................323
ตารางท่ี 10.9 เปรยี บเทยี บสัญลกั ษณ์และความหมายอนั ดับเครดติ โดยสถาบนั จัดอนั ดับ

เครดิตระดบั สากล .....................................................................................324
ตารางท่ี 10.10 ตารางเปรยี บเทยี บอตั ราสว่ นทางการเงนิ ทีใ่ ชใ้ นโครงสรา้ ง CAMELS และ

CARAMELS FRAMEWORKS................................................................330
ตารางที่ 10.11 ตวั แปรท่ีใช้ในการวิจยั ............................................................................337



สารบญั ภาพ

หนา้

ภาพท่ี 1.1 ประเภทของการประกันภัย................................................................................ 6
ภาพที่ 1.2 ประเภทของการประกันภัยจาแนกตามความคมุ้ ครอง........................................ 9
ภาพที่ 1.3 รายไดเ้ บีย้ ประกันภยั ของธุรกจิ ประกันภัยไทย.................................................... 9
ภาพท่ี 1.4 กราฟรายไดเ้ บีย้ ประกนั ภยั ไทย ปี พ.ศ. 2555 – 2563....................................11
ภาพท่ี 1.5 เว็บไซตส์ านักงาน คปภ....................................................................................21
ภาพท่ี 1.6 เว็บไซต์สมาคมประกันวนิ าศภัย .......................................................................22
ภาพที่ 1.7 เวบ็ ไซต์สมาคมประกันชีวิตไทย........................................................................22
ภาพที่ 1.8 เว็บไซต์สมาคมนายหน้าประกนั ภัยไทย............................................................23
ภาพท่ี 1.9 เว็บไซตส์ มาคมตวั แทนประกันชีวิตและทีป่ รึกษาทางการเงิน ...........................24
ภาพท่ี 1.10 เวบ็ ไซตส์ มาคมนักคณติ ศาสตร์ประกนั ภัยแหง่ ประเทศไทย............................24
ภาพที่ 1.11 เว็บไซต์สานักงานอัตราเบยี้ ประกนั วนิ าศภัย ..................................................25
ภาพที่ 1.12 เว็บไซตส์ ถาบันประกนั ภยั ไทย .......................................................................26
ภาพท่ี 2.1 กราฟสัดส่วนเบีย้ ประกันชวี ติ และเบ้ียประกนั วินาศภยั ของประเทศไทย พ.ศ.

2563................................................................................................................ 32
ภาพท่ี 2.2 เบยี้ ประกนั ภยั รับรวมทุกประเภทตอ่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในแตล่ ะประเทศ พ.ศ.

2561................................................................................................................ 42
ภาพที่ 2.3 เบีย้ ประกนั ภยั รบั รวมทกุ ประเภทของประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2562........... 44
ภาพที่ 2.4 สัดสว่ นเบ้ยี ประกันวินาศภัยรบั แบง่ ตามประเภทธุรกจิ ประกนั วนิ าศภัยไทย พ.ศ.

2562................................................................................................................ 44
ภาพท่ี 2.5 เบยี้ ประกันภัยรบั รวมทกุ ประเภทของประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2562........... 45
ภาพท่ี 2.6 เบ้ยี ประกันภัยต่อรวมทุกประเภทของประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2562 .......... 46
ภาพที่ 3.1 งบแสดงฐานะการเงนิ ...................................................................................... 64
ภาพท่ี 3.2 งบกาไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จ .................................................................................. 69
ภาพที่ 3.3 งบแสดงการเปล่ียนแปลงส่วนของเจ้าของ ....................................................... 73
ภาพที่ 3.4 งบกระแสเงนิ สด .............................................................................................. 78
ภาพท่ี 3.5 เกณฑใ์ นการจัดทางบการเงิน........................................................................... 81
ภาพที่ 3.6 การระบถุ งึ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบัญชี........................... 82
ภาพที่ 3.7 เกณฑก์ ารวัดคา่ ของรายการท่ีแสดงในงบการเงิน............................................. 82

xi

ภาพท่ี 3.8 การใช้วิจารณญาณ ข้อสมมติและความไม่แน่นอนของการประมาณการ.......... 83
ภาพที่ 3.9 เบย้ี ประกันภัยคา้ งรบั แยกตามอายุ................................................................... 85
ภาพที่ 3.10 เงนิ ลงทุนทีว่ ดั มูลคา่ ยตุ ิธรรมผ่านกาไรขาดทุน................................................ 86
ภาพที่ 3.11 เงนิ ลงทุนทีว่ ัดมูลค่ายุตธิ รรมผา่ นกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่นื ............................. 86
ภาพที่ 3.12 เงินลงทุนในหลกั ทรัพย์ประเภทตราสารหน้ี ................................................... 88
ภาพที่ 3.13 การวิเคราะห์คุณภาพเครดิต.......................................................................... 89
ภาพที่ 3.14 รายการหนี้สินจากสัญญาประกันภัย.............................................................. 90
ภาพท่ี 3.15 รายละเอียดรายไดจ้ ากการลงทนุ สุทธิ............................................................ 90
ภาพท่ี 3.16 รายการค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน................................................................ 91
ภาพที่ 3.17 รายการค่าใช้จา่ ยผลประโยขนพ์ นักงาน ......................................................... 92
ภาพที่ 3.18 รายการกาไรตอ่ หุ้นขน้ั พน้ื ฐาน ....................................................................... 93
ภาพท่ี 3.19 รายการเงนิ ปันผลจา่ ย.................................................................................... 93
ภาพที่ 4.1 ตวั อย่างการวิเคราะห์แนวดง่ิ งบแสดงฐานะการเงนิ ........................................111
ภาพที่ 4.2 ตวั อยา่ งการวิเคราะห์งบกาไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ ...............................................116
ภาพที่ 4.3 ตัวอยา่ งการวิเคราะหง์ บแสดงการเปลย่ี นแปลงส่วนของเจา้ ของ ....................120
ภาพที่ 4.4 ตวั อย่างการวิเคราะหแ์ นวนอนงบแสดงฐานะการเงนิ .....................................126
ภาพท่ี 4.5 การวเิ คราะหแ์ นวนอนงบกาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ .............................................129
ภาพที่ 4.6 การวเิ คราะห์แนวนอนงบกระแสเงินสด .........................................................133
ภาพท่ี 7.1 โครงสรา้ งการเงินและโครงสร้างเงนิ ทนุ ..........................................................216
ภาพที่ 7.2 การสอดคลอ้ งสกุลเงนิ และอายุครบกาหนดของสนิ ทรัพย์และหนีส้ ินที่

เหมาะสม ...................................................................................................... 235
ภาพที่ 10.1 ประสิทธิภาพแนวหนา้ (Efficiency Frontier).............................................334

01บทที่ 1

ธรุ กจิ ประกนั ภัย

Insurance Business

1.1 บทนา

การประกันภัย (Insurance) เป็นรูปแบบหนึ่งของการกระจายความเสี่ยงที่อาจมี
ขึ้นกับบุคคล กับองค์กร กับธุรกิจ และเศรษฐกิจของประเทศชาติ การประกันภัยสามาร ถ
จาแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ การประกันชีวิต (Life Insurance) และการประกันวินาศ
ภัย (Non-Life Insurance) โดยบริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันภัย จะต้องอยู่ภายใต้พระ
ราชบัญญติประกันภัย และภายใต้การกากับดูแลของสานักงานคณะกรรมการกากับและ
ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สานักงาน คปภ.) ในประเทศไทย สัดส่วนของการทา
ประกันภัยจะเน้นไปที่การทาประกันชีวิต โดยหากพิจารณาสัดส่วนของเบี้ยประกันชีวิตต่อ
เบี้ยประกันวินาศภัย อยู่ในอัตราส่วน 75:25 (สถานะ ณ สิ้นปี พ.ศ. 2563) จานวนบริษัท
ประกันชีวิตในประเทศไทย มีจานวน 24 บริษัท ในขณะท่ีจานวนบริษัทประกันวินาศภัย มี
จานวน 62 บรษิ ัท (สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย,
2564) ในบทนี้ จะได้กล่าวถึงความหมาย ความสาคัญของการประกันภัย รวมทั้งจาแนก
ประเภทของการประกันภยั ประโยชนข์ องการประกันภัย ข้อมูลเบือ้ งตน้ ของธุรกิจประกันภัย
และในตอนท้ายบทจะได้กล่าวถึงรูปแบบงบการเงินของธุรกิจประกันภัย ซง่ึ มรี ูปแบบท่ีมีส่วน
แตกต่างจากธุรกิจอื่น อันเนื่องมาจากลักษณะในการดาเนินธุรกิจ ดังนั้นหากต้องการ
วิเคราะห์งบการเงินของธุรกิจประกันภัย ความเข้าใจในลักษณะการดาเนินธุรกิจที่สะท้อนไป
ยังงบการเงิน จะช่วยให้สามารถวิเคราะห์ตัวเลขทางการเงินของธุรกิจประกันภัยได้ลึกซ้ึงขึ้น
และในช่วงท้ายของบทจะได้กล่าวถึงการบริหารความเสี่ยงกับการประกันภัย ซึ่งในหลักการ
จัดการความเส่ียง การหลีกเล่ียงความเส่ียง (ถ้าเป็นไปได้) การลดความเสี่ยง การรับความ
เสี่ยงไว้เอง และการโอนความเส่ียงภัย ต่างเป็นวิธีการในการบริหารความเสี่ยง ซ่ึงสามารถ
นาไปใช้ทั้งต่อบุคคลธรรมดา หรือธุรกิจ ในบทที่ 1 น้ี จะอธิบายถึงองค์กรที่มคี วามเก่ียวข้อง
กับการประกันภัยของประเทศไทย โดยกล่าวถึงสานักงาน สมาคม และสถาบัน ต่างๆ ท่ีมี
ส่วนเกีย่ วขอ้ งกบั การสง่ เสริม สนับสนนุ ควบคมุ ธรุ กิจประกันภัยในประเทศไทย

2

1.2 ความสาคญั ของการประกันภยั

การประกันภัย (Insurance) ไม่ใช่คาศัพท์ใหม่ คนจานวนมากอาจเคยได้ยินคาว่า
“การประกนั ภัย” มาบา้ งแลว้ บางคนอาจมปี ระสบการณ์ตรงจากการทาประกนั ภยั ไม่ว่าจะ
เป็นการทาประกันภัยให้กับตนเอง ให้กับคนในครอบครัว ให้กับธุรกิจ หรือได้รับการ
ประกันภัยจากหน่วยงานที่ตนเองสังกัด ในปัจจุบันหน่วยงานภาคเอกชนมักนิยมทาการ
ประกันภัยหมู่ให้กับบุคลากรของตนเอง โดยเฉพาะประกันอุบัติเหตุหมู่ หรือ อุบัติเหตุกลุ่ม
เพ่ือเป็นการแบ่งเบาภาระคา่ ใช้จ่ายในกรณีท่บี ุคลากรหรือลกู จ้างได้รบั อุบัติเหตุ

การประกันภัยถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งทั้งต่อบุคคล ต่อครอบครัว ต่อธุรกิจ ต่อ
สังคมและประเทศชาติ การประกันภัยสามารถช่วยลดความเสี่ยงหรือความสูญเสียทางการ
เงินท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ การทาประกันภัยจึงนับว่าเป็นประโยชน์อย่างมากในการ
ช่วยปกป้องบุคคล ครอบครัว ทรัพย์สิน และปกป้องผู้เอาประกันจากความเสี่ยงหรือความ
สูญเสียทางการเงินที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต การประกันภัยเป็นการช่วยให้ผู้เอาประกันภัย
(Insuree หรือ Insured) สามารถลดความเส่ียงทางการเงินท่ีอาจเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ค่า
รักษาพยาบาล ในกรณีเจ็บป่วย หรืออุบัติเหตุ การสูญเสียรายได้ โดยได้รับการชดเชยความ
เสียหายหรอื ความสญู เสียจากบรษิ ทั ผรู้ ับประกันภยั (Insurer) ในขณะเดยี วกันการประกันภัย
ยังมีความสาคัญต่อภาคธุรกิจ ในกรณีผู้เอาประกันภัยเป็นเจ้าของธุรกิจ การประกันภัย
สามารถช่วยครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่เก่ียวข้องกับความเสียหายของทรัพย์สินและการเรียกร้อง
ความรับผิด หากไม่มีการประกันภัยธุรกิจ เจ้าของธุรกิจอาจต้องจ่ายเงินทันทีสาหรับ
ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นท่ีมีมูลค่าสูง หรือจากการเรียกร้องทางกฎหมายหรือคดีความต่อบริษัท
ของตน การประกันภัยจึงช่วยลดการสูญเสียทางการเงินของธุรกิจ และยังช่วยส่งเสริมความ
ต่อเนื่องทางธุรกิจอีกด้วย นอกจากนี้ การประกันภัยยังมีส่วนช่วยในการลดภาระทางสังคม
ในกรณีที่ผู้ประสบอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วย พิการ ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต ภาระทางสังคม
ดังกล่าว ถูกรองรับด้วยเงินชดเชยจากบริษัทประกันภัย ซ่ึงหากไม่มีการทาประกันภัย ภาระ
ดังกล่าวจะเป็นภาระของครอบครัว หน่วยงานธุรกิจ สังคม และหน่วยงานภาครัฐ จึงนับได้
ว่าการประกันภัยเป็นระบบทางสังคมระบบหน่ึงที่มีความสาคัญ เป็นกลไกที่จะช่วยเหลือ
บคุ คลและสังคมใหส้ ามารถดาเนนิ ต่อไปได้อยา่ งมนั่ คง

บทท่ี 1 ธุรกจิ ประกันภัย

3

1.3 ประโยชนข์ องการประกันภยั

ในปัจจุบันการประกันภัยได้เข้ามามีบทบาทในสังคมอย่างมาก ประโยชน์ของการ
ประกันภัยมีท้ังต่อบุคคล ต่อองค์กร และสังคม โดยสามารถสรุปเป็นประเด็นตามผู้รับ
ประโยชน์ได้ดงั น้ี

1) ประโยชน์ตอ่ ผู้เอาประกันภยั

- การประกันภัยเป็นการสร้างความคุ้มครองให้กับผู้เอาประกันภัย ไม่ว่าผู้เอา
ประกันภัยจะเปน็ บุคคลธรรมดา หรอื เปน็ หน่วยงานธรุ กิจ ทาให้ผูเ้ อาประกันภัย
เกิดความม่ันใจในความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ

- การประกันภัยเป็นการบรรเทาความเสยี หาย ความสูญเสีย หรือความเดือดร้อน
ใหแ้ กผ่ ู้เอาประกนั ภยั แกค่ รอบครวั ของผู้เอาประกันภัย

- การประกันภัยเป็นการคุ้มครองความเสียหาย หรือความสูญเสีย ท่ีอาจเกิดขึ้น
ทง้ั กับทรัพย์สนิ ของผู้เอาประกันภัย โดยผเู้ อาประกันภัยจะไดร้ ับการชดใช้ความ
เสียหาย หรือความสูญเสีย หากเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดตามท่ีระบุในสัญญา
ประกัน จากบริษทั ผูร้ บั ประกนั ภัย

- การทาประกันภัยเป็นการสร้างนิสัยประหยัดและนิสัยการออมให้แก่ผู้เอา
ประกันภัย เนื่องจากผู้เอาประกันภัยมีหน้าที่ต้องชาระค่าเบี้ยประกันภัยตาม
จานวนในสัญญาท่ีทาไว้กับบริษัทรับประกันภัย ในเวลาท่ีกาหนดไว้ การชาระ
เงินค่าเบ้ียประกันดังกล่าว ทาให้ต้องมีการวางแผนทางการเงินใหเ้ หมาะสม อัน
เป็นการสร้างนิสัยและวนิ ยั ทางการเงินให้กับผูเ้ อาประกนั ภัย

- การทาประกันภัยช่วยให้มีความพร้อมทางการเงินในกรณีฉุกเฉิน หรือในยาม
เกษียณอายุ (ในกรณปี ระกันชวี ิต)

- การทาประกันภัยเป็นการวางแผนภาษีท่ีดีของผู้เอาประกันภัย โดยผู้เอา
ประกันภัยสามารถนาค่าเบี้ยประกันภัยท่ีชาระ ไปลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาได้ตามที่กฎหมายกาหนด เป็นการวางแผนทางการเงินล่วงหน้าเพ่ือ
ผลประโยชน์ทางภาษี

2) ประโยชน์ต่อธรุ กจิ

- การทาประกันภัย สามารถช่วยลดความเส่ียงในการดาเนินธุรกิจให้กับกิจการ
ของผู้เอาประกันภัยได้ เนื่องจากการดาเนินธุรกิจต้องเผชิญกับความเสี่ยงใน
รูปแบบต่างๆ การทาประกันภัยจึงเป็นการโอนความเสี่ยงท่ีอาจจะเกิดขึ้นไปให้
ผู้รับประกันภัยทาหน้าที่รับภาระแทน ในกรณีท่ีกิจการเกิดการสะดุดจาก
เหตุการณ์ไม่คาดฝัน เช่น เหตุการณ์น้าท่วมฉับพลันทาให้ธุรกิจไม่สามารถ
ดาเนินการต่อไปได้ เหตุการณ์จลาจล เหตุการณ์โรคระบาด เหตุการณ์ต่างๆ

บทที่ 1 ธุรกิจประกันภยั

4

เหล่าน้ี ล้วนทาให้กิจการไม่สามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง หากมีการ
ประกันภัย จะช่วยโอนความเส่ียงเหล่านี้จากสาเหตุการดาเนินธุรกิจไม่ต่อเน่ือง
ให้ยงั มีการลดภาระความเสยี หาย สามารถดาเนินธรุ กจิ ตอ่ ไปได้
- การทาประกนั ภัยยงั เปน็ การสร้างความมน่ั คงในการประกอบธรุ กจิ ให้กับเจา้ ของ
ธุรกจิ พนกั งานลกู จ้าง และผู้มสี ่วนเก่ยี วข้อง เชน่ คู่ค้า ซพั พลายเออร์ ลูกค้า เป็น
ตน้ ท้ังนี้ไม่วา่ ความเสียหายจะเกดิ ขน้ึ อันเน่ืองมาจากสาเหตุใด หากกิจการมีการ
ทาประกันภัยไว้ จะสามารถทาใหก้ ิจการมคี วามมัน่ คงในระดบั หน่ึง และสามารถ
ดาเนนิ ธรุ กิจไปได้อย่างต่อเนื่อง
- การทาประกันภัยสามารถใช้เป็นหลักประกันในการกู้ยืมเงนิ จากสถาบันการเงนิ
ได้ ทาให้สถาบันการเงินทีใ่ ห้สนิ เชื่อมีความม่ันใจว่าหากเกดิ ส่ิงไม่คาดคิดที่อาจมี
ผลต่อการดาเนินธุรกิจตามปกติของกิจการผู้กู้ สถาบันการเงินสามารถเรียกคืน
เงินให้กู้ยืมหรือได้รับการชาระหนี้ได้ การทาประกันภัยจึงเป็นหลักประกันที่ดี
ซึ่งให้ประโยชน์ทั้งต่อผู้ทาประกันภัยและต่อสถาบันการเงินผู้ให้สินเชื่อต่อผู้ทา
ประกันภัย
- การทาประกันภัยเป็นการสร้างเสถียรภาพในด้านต้นทุนของกิจการ เนื่องจาก
การทาประกันภัยเป็นการลดความเส่ียงอันเกิดจากความเสียหาย หรือความ
สูญเสียที่อาจจะเกิดข้ึน ทาให้บริษัทผู้ทาประกันภัยได้รับการประกันคุ้มครอง
ตามเงื่อนไขการประกัน ทาให้เกิดเสถียรภาพในด้านต้นทุน โดยบริษัทผู้เอา
ประกันภัยไม่มีความเสี่ยงด้านเงินทุนท่ีอาจเพ่ิมสงู ข้ึนเพ่ือนามาชาระหรือใช้จา่ ย
ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดขึ้น การทาประกันภัยจึงเป็นการลดภาระ
หรือไมเ่ ป็นภาระต่อธรุ กจิ สร้างเสถียรภาพด้านต้นทนุ ของกิจการ

3) ประโยชน์ตอ่ เศรษฐกจิ สังคมและประเทศชาติ

ดว้ ยเหตทุ ่ีการทาประกนั ภัยเปน็ การโอนภาระความรบั ผดิ ชอบบางสว่ นหรอื ท้งั หมดที่
มีไปยงั บริษัทประกนั ภยั การทาประกนั ภยั จึงเป็นการแบ่งเบาภาระความรับผดิ ชอบของสังคม
และสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดจากความสูญเสียหรือความเสียหาย ภาระค่าใช้จ่ายใน
ด้านการดูแลสุขภาพ ให้กับผู้เอาประกันภัย ความรับผิดชอบดังกล่าวท่ีมีโดยการประกันภัย
เป็นการลดภาระสวัสดิการสงเคราะห์จากหน่วยงานภาครัฐ การทาประกันภัยมีส่วนทาให้
ประชาชนและสังคมมีหลักประกันความปลอดภัย สามารถสร้างความมั่นใจให้กับภาคธุรกิจ
และประชาชน หากเกิดความเสียหายหรือสูญเสียไม่ว่าจะมาจากอุบัติภัย ความเสียหายจาก
ภัยธรรมชาติ หรือความเสียหายใดๆ ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ผู้เอาประกันภัยจะได้รับการชดเชย
ค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัย ทาให้ไม่เป็นภาระของสังคมและหน่วยงานภาครัฐ
และหนว่ ยงานภาครัฐสามารถนาเงนิ งบประมาณของประเทศไปใชใ้ นด้านอนื่ ได้

การทาประกันภัยเป็นการระดมทุนจากบุคคลธรรมดาและจากภาคธุรกิจ เพื่อ
นามาใช้ในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยบริษัทประกันภัยสามารถนาเงินเบ้ียประกันท่ี
ได้รับชาระจากผู้เอาประกัน ทั้งจากผู้เอาประกันภัยท่ีเป็นประชาชน หรือผู้เอาประกันภัยท่ี

บทท่ี 1 ธุรกจิ ประกนั ภัย

5

เปน็ องค์กร บรษิ ัท นาไปลงทนุ กบั แหลง่ เงินทุนอ่ืน เพ่อื สรา้ งประโยชน์ทางการเงินกลับคืนมา
การลงทุนของบริษัทประกันภัย ทาให้ประเทศมีเงินทุนหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ อย่าง
ต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการลงทุนจากภาคสถาบันอย่างต่อเน่ือง และยังสร้างประโยชน์ในรูป
ผลตอบแทนกลับไปยังบริษัทประกันภัยเอง และตอบแทนกลับไปยังผู้ถือหุ้นของบริษัท
ประกนั ภัย

1.4 ประเภทของการประกันภัย

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การประกันภัยสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท
ใหญ่ๆ คือ การประกันชีวิต (Life Insurance) และการประกันวินาศภัย (Non-Life
Insurance) โดยบริษัทท่ดี าเนินธรุ กิจการประกันภัยทัง้ 2 ประเภทดงั กล่าว จะตอ้ งดาเนนิ การ
ตามหลักเกณฑ์และอยู่ภายใต้การกากับดูแลของกฎหมายท่ีแตกต่างกัน กล่าวคือ การ
ประกอบธรุ กิจประกันชีวิตอยู่ภายใต้การกากับดแู ลของพระราชบัญญตั ิ (พ.ร.บ.) ประกนั ชีวิต
พ.ศ. 2535 สาหรับการประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยอยู่ภายใต้การกากับดูแลของ พ.ร.บ.
ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 (สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ
ประกันภัย, 2564) ทั้งนี้ผู้ท่ีสนใจสามารถค้นคว้าเพ่ิมเติมได้จากเว็บไซต์ของสานักงาน
คณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) หรือ ดาวน์โหลด
ข้ อ มู ล พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ กั น ชี วิ ต แ ล ะ ที่ แ ก้ ไ ข เ พ่ิ ม เ ติ ม จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์
https://www.oic.or.th/sites/default/files/intermediaries-file/1039-3356.pdf และ
พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย จากเว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริ มการ
ประกอบธุรกิจประกันภัย (https://www.oic.or.th/sites/default/files/intermediaries-
file/1038-2106.pdf)

การประกันชีวิต (Life Insurance) หมายถึง การประกันที่บริษัทผู้รับประกันตกลง
จะชดเชยรายได้ท่ีต้องสูญเสียไปอันเนื่องมาจากการที่ผู้เอาประกันเสียชีวิต ทุพพลภาพถาวร
ส้ินเชิง หรือชราภาพ ตามเง่ือนไขท่ีระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันชีวิตให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือ
ผู้รับประโยชน์ ตามทก่ี าหนดไวใ้ นกรมธรรมป์ ระกนั ชวี ติ

การประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance) หมายถึงการประกันภัยทุกประเภทท่ี
นอกเหนอื จากการประกนั ชีวติ โดยผู้รบั ประกันภยั หรอื บริษทั ประกันภยั สัญญาตกลงจะชดใช้
ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภยั หากทรัพย์สินท่ีทาประกันภยั เอาไว้เกิดความสญู เสยี
หรือเสียหาย หรือเกิดความเสียหายตามท่ีระบุไว้ในกรมธรรม์อันเนื่องมาจากภัยต่างๆ ซึ่ง
ความเสยี หายหรือความสูญเสียนัน้ สามารถประเมินค่าเป็นตวั เงินได้

ภาพต่อไปนแี้ สดงถึงประเภทของการประกันภัย

บทที่ 1 ธรุ กิจประกนั ภัย

6

การประกนั ภัย
(Insurance)

การประกนั ชีวติ การประกนั วนิ าศภยั
(Life Insurance) (Non-life Insurance)

ภาพที่ 1.1 ประเภทของการประกนั ภยั

ทม่ี า: ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซตข์ องสานกั งานคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธุรกจิ ประกันภัย
https://www.oic.or.th/th/; ภาพจดั ทาโดยผู้เขียน

ประเภทของการประกันภัยยังสามารถจาแนกตามหลักการวิชาการประกันภัย ซ่ึง
จาแนกประเภทตามลักษณะของการคุ้มครอง โดยสามารถจาแนกเป็น 3 ประเภท คือ การ
ประกันภัยบุคคล (Insurance of the Person) การประกันภัยทรัพย์สิน (Property
Insurance) และการประกันภัยเกี่ยวกับความรับผิดตามกฎหมาย (Liability Insurance)
โดยในแต่ละประเภทของการประกนั ภัย มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

1. การประกันภัยบุคคล (Insurance of the Person) -- การประกันภัยน้ีเป็น
การประกันภัยท่ีเก่ียวข้องกับภยั ท่ีก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่บุคคลหรือภัยที่เกิดข้ึนกับบคุ คล
ได้แก่ การประกันชีวิต การประกันอบุ ตั เิ หตุ และการประกนั สุขภาพ

1.1 การประกันชวี ติ สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภทใหญ่ คอื
1.1.1 ประเภทสามัญ (Ordinary Life Insurance) เป็นการประกันชีวิต

รายบุคคล ผู้เอาประกันมีวัตถุประสงค์เพื่อจะได้รับความคุ้มครองจากการสูญเสีย เช่น การ
สญู เสียชวี ิต การสูญเสยี อวัยวะ การสูญเสยี รายได้ เปน็ ตน้ ซึง่ การรับประกนั ภัยในรูปแบบนี้ ผู้
เอาประกันอาจต้องทาการตรวจสุขภาพตามเง่ือนไขหรือรูปแบบของการประกันชีวิต หรือ
อาจไม่มีการตรวจสุขภาพก็ได้ แต่ต้องมีการแถลงความจริงเร่ืองสุขภาพ ซึ่งทั้งนี้แล้วแต่แบบ
ของกรมธรรม์ จานวนเงินเอาประกัน และอายุของผู้ทาประกัน และขึ้นอยู่กับข้อกาหนดของ
บริษทั รับประกนั ชีวิต

1.1.2 ประเภทอุตสาหกรรม (Industrial Life Insurance) เป็นการทาประกัน
ชีวิตรายบุคคลเช่นเดยี วกับการประกนั ประเภทสามัญ แต่มีความแตกต่างกันตรงทจี่ านวนเงิน
เอาประกันจะไม่สูงมากนัก และต้องมีกาหนดระยะเวลาในการเร่ิมความคุ้มครอง หรือที่
เรียกว่าระยะเวลารอคอย (Waiting Period) เพื่อเป็นการยืนยันถึงความพร้อมด้านสุขภาพ
ของผู้เอาประกนั โดยปกติบริษทั ประกนั จะกาหนดระยะเวลารอคอยไว้ท่ี 180 วัน

บทที่ 1 ธุรกจิ ประกนั ภยั

7

1.1.3 ประเภทกลุ่ม (Group Life Insurance) เป็นการประกันชีวิตประเภท
กลุ่ม หรือท่ีอาจได้ยินกันว่าเป็นการประกันชีวิตหมู่ หมายถึงการประกันชีวิตหลายๆ คน
ภายใต้กรมธรรมน์ฉบับเดียวกัน โดยจะมีกรมธรรม์หลัก (Master Policy) ครอบคลุมคน
หลายๆ คน โดยปกติกรมธรรม์ชนิดน้ีมักเป็นที่นิยมทาให้กับนักเรียน นักศึกษา ใน
สถาบันการศึกษา หรือเป็นกรมธรรม์ท่ีองค์กรทาให้กับบุคลากรในหน่วยงาน โดยกรมธรรม์
ชนิดน้ีจะมีการพิจารณาความเสี่ยงของบุคคลในกลุ่มท้ังหมดในอัตราเฉลี่ยเป็นอัตราเดียวกัน
ท้ังหมด โดยการทาประกันชีวิตกลุ่มนี้ มักจะเป็นการทาโดยบริษัทหรือกิจการหรือสถาบันที่
ต้องการให้บุคคลในหนว่ ยงานหรือในองค์กรได้รับความคุ้มครอง การทาประกันกลุ่มเช่นนจี้ ะ
เป็นการลดภาระความรับผิดชอบด้านสุขภาพ ด้านการรักษาพยาบาลของหน่วยงาน โดย
ค่าใชจ้ า่ ย ความเสยี หาย หรือความสญู เสยี ที่เกิดขึน้ จะไดร้ ับการชดเชยจากบรษิ ัทประกนั

1.2 การประกันอุบัติเหตุ (Accident Insurance) เป็นการประกันภัยที่ให้ความ
คุม้ ครองตอ่ ผู้เอาประกันภยั ในกรณีท่ีผเู้ อาประกนั ภัยประสบอบุ ัตเิ หตุไดร้ บั ความบาดเจ็บทาง
ร่างกาย ทาให้ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล ท้ังนี้ เหตุเกิด
จากอุบัติเหตุอาจทาให้ผู้เอาประกันภัยได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย บาดเจ็บสาหัส ทุพลภาพ
หรืออาจถึงสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากอุบัติเหตุ ไม่ว่าจะเป็นค่ารักษาพยาบาล
ค่าชดเชยการสูญเสียอวัยวะ การอยู่ในภาวะทุพพลภาพ การสูญเสียรายได้ และการสูญเสีย
ชวี ิต จะได้รับการชดเชยจากบริษัทประกนั ภัยตามเงือ่ นไขของสัญญาประกันภยั

1.3 การประกันสุขภาพ (Health Insurance) หมายถึง การประกันภัยท่ีผู้เอา
ประกันภัยจะได้รับการชดเชยค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลที่เกิดข้ึน ไม่ว่าค่ารักษาพยาบาล
นั้นจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยจากโรค หรือเกิดจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ โดยบริษัท
ประกันจะเป็นผู้ชดเชยค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดข้นึ ให้กบั ผ้เู อาประกันตามเงื่อนไขของสญั ญาประกนั ภัย

2. การประกนั ภัยทรัพยส์ นิ (Property Insurance)

การประกันภัยทรัพย์สินเป็นการประกันภัยระหว่างผู้เอาประกันท่ีเป็นเจ้าของ
ทรัพย์สินทางกฎหมาย และบริษัทผู้รับประกันภัย โดยท่ีบริษัทผู้รับประกันภัยทาสัญญา
ยนิ ยอมที่จะชดใช้คา่ สินไหมทดแทนหรือชดใช้เงินตามเง่ือนไขในสัญญาใหก้ ับผู้เอาประกันภัย
ในกรณีท่ีเกิดความเสียหายกับทรัพย์สินที่เอาประกัน รูปแบบของการประกันภัยทรัพย์สิน
สามารถจาแนกออกเป็น การประกันอัคคีภัย การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง การ
ประกนั ภยั รถยนต์ และการประกันภัยเบ็ตเตล็ด

2.1 การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance) หมายถึง การประกันภัยในทรัพย์สิน
(Assets) ท่ีเป็นการให้ความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Peril) โดยในสัญญาประกันภัย
จะมีการระบุประเภทของภัย และระบุทรัพย์สินที่ทาการประกันภัย การประกันภัยชนิดน้ี
เป็นการให้ความคุ้มครองต่อความสูญเสียหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สินที่เอา

บทท่ี 1 ธรุ กจิ ประกนั ภยั

8

ประกันภัยอันเน่ืองมาจากภัยท่ีระบุไว้เท่าน้ัน (สมาคมประกันวินาศภัยไ ท ย
https://www.tgia.org/insurance/fire) สินทรัพย์ที่มักมีการประกันอัคคีภัย เช่น บ้านอยู่
อาศัย อาคาร ร้านค้า สานักงาน โรงแรม โรงเรียน โรงพยาบาล โรงงาน คลังสินค้า เป็นต้น
ทรัพย์สนิ ภายในอาคาร เชน่ เฟอรน์ ิเจอร์ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ เคร่ืองจักร สนิ ค้า เป็นต้น

2.2 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง (Marine Insurance) หมายถึง การ
ประกันภัยท่ีให้ความคุ้มครองต่อความสูญเสียหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นกับเรือ และ
ทรัพย์สินหรือสินค้าท่ีอยู่ในระหว่างการขนส่งทางทะเล และยังสามารถขยายขอบเขตความ
คุ้มครองไปถงึ ความเสียหายขณะขนส่งสินค้าทางอากาศ ทางบก หรือทางรถไฟ ท่ตี อ่ เนื่องกับ
การขนส่งทางทะเลด้วย ทั้งน้ี การประกันภัยสินค้าระหว่างการขนส่งน้ัน ไม่ว่าจะเป็นการ
ขนส่งโดยทางเรือ ทางอากาศ หรือทางบก มักจะเรียกรวมกันว่าการประกันภัยขนส่งสินค้า
ทางทะเล ซ่ึงการทาประกันภัยขนส่งสินค้านั้นจะใช้กรมธรรม์ประกันภัยขนส่งทางทะเลใน
การรบั ประกนั ภยั แมว้ า่ สินค้าน้นั จะบรรทกุ โดยทางรถยนต์ หรอื ทางอากาศกต็ าม

2.3 การประกันภัยรถยนต์ (Motor Insurance) หมายถึง การประกันวินาศภัยท่ีให้
ความคุ้มครองแก่ผู้เอาประกันภัยเม่ือเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายอันเกิดจากการใช้
รถยนต์ หรอื ความเสยี หายที่เกดิ แกร่ ถยนต์

2.4 การประกนั ภัยเบด็ เตล็ด (Miscellaneous Insurance) หมายถงึ การประกันภัย
ทใ่ี ห้ความคุ้มครองต่อความสญู เสียและความเสียหายอันเนอ่ื งมาจากภัยอ่นื ๆ ท่นี อกเหนอื จาก
การประกนั อัคคีภัย การประกนั ภยั รถยนต์ และการประกันภยั ทางทะเลและขนสง่

3. การประกนั ภยั เกยี่ วกบั ความรบั ผิดตามกฎหมาย (Liability Insurance)

การประกันภัยเก่ียวกับความรับผิดตามกฎหมาย หมายถึง การประกันภัยความรับ
ผิดต่อสาธารณะ หรือการประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายต่อสาธารณชน การประกัน
ประเภทน้ถี ือเปน็ การประกันวินาศภยั ประเภทหนง่ึ ทีใ่ หค้ วามคมุ้ ครองต่อความเสยี หายที่เกิด
ขึ้นกับบุคคลภายนอก ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายต่อทรัพย์สิน หรือการบาดเจ็บทางร่างกาย
ตลอดจนกระทั่งการเสียชีวิตของบุคคลภายนอก ซึ่งผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชดใช้ตาม
กฎหมาย การประกันภัยเก่ียวกับความรับผิดตามกฎหมาย เช่น การประกันภัยความรับผิด
ต่อสาธารณะ (Public Liability Insurance) การประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์
(Product Liability Insurance) การประกันภัยความรับผิดจากวิชาชีพ (Professional
Liability Insurance)

ต่อไปน้ี เป็นภาพแสดงประเภทของการประกันภัย ท่ีจาแนกออกเป็นการประกัน
บคุ คล การประกนั ภัยทรพั ย์สนิ และการประกันความรบั ผิดชอบตามกฎหมาย

บทที่ 1 ธุรกจิ ประกนั ภยั

9

ภาพท่ี 1.2 ประเภทของการประกนั ภยั จาแนกตามความคมุ้ ครอง

ทม่ี า: ข้อมลู จากเว็บไซตข์ องสานักงานคณะกรรมการกากบั และสง่ เสรมิ การประกอบธุรกจิ ประกนั ภยั
https://www.oic.or.th/th/; ภาพจัดทาโดยผ้เู ขียน

ข้อมูลรายได้เบี้ยประกันภัยของธุรกิจประกันภัยไทย แสดงตามภาพที่ 1.3 และ
ข้อมูลที่สาคัญของธุรกิจประกันภัยไทย ได้แก่ข้อมูลจานวนเบี้ยประกันภัย อัตราการเติบโต
ของธรุ กิจประกนั ภยั แสดงตามตารางที่ 1.1 ตอ่ ไปนี้

รายไดเ้ บ้ยี ประกนั ภัย ปี 2563

เบ้ยี ประกันภยั
187,391.43 ลบ.

เบี้ยประกันชีวติ
560,719.53 ลบ.

ภาพที่ 1.3 รายไดเ้ บี้ยประกันภัยของธรุ กิจประกนั ภัยไทย

ทมี่ า: ขอ้ มลู จากเว็บไซต์ของสานกั งานคณะกรรมการกากับและสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั
https://www.oic.or.th/th/; กราฟจัดทาโดยผู้เขยี น

บทท่ี 1 ธรุ กิจประกันภยั

10

ตารางท่ี 1.1 เบ้ียประกนั ภัยรายปี พ.ศ. 2555 – 2563

(หน่วย: ลา้ นบาท)

ประเภท 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563
ประกนั ภยั

ป ร ะ กั น 390,517 441,372 498,752 533,211 567,974 584,492 588,083 577,985 560,720
ชวี ิต

ป ร ะ กั น 179,530 203,121 205,248 209,197 209,743 163,729 165,530 177,685 188,621
วนิ าศภัย

รวม 570,047 644,493 704,000 742,408 777,717 748,221 753,613 755,670 749,341

ทม่ี า: ขอ้ มูลจากสานักงาน คปภ. (2564). https://www.oic.or.th/th/industry/jan-dec2018
และสานักงาน คปภ. (2564). https://www.oic.or.th/th/industry/statistic/data/39/2
รวมรวมและเรยี บเรียงตารางโดยผเู้ ขยี น

จากตารางท่ี 1.1 ข้างต้น จะพบว่าประกันชีวิตมีจานวนรายได้เบ้ียประกันภัยท่ีสูง
กวา่ ประกนั วินาศภยั โดยสัดส่วนระหว่างรายไดเ้ บ้ียประกนั ชวี ิตต่อรายได้เบ้ียประกันภยั ณ ปี
พ.ศ. 2563 อยู่ในสัดส่วน 75:25 ซึ่งสัดส่วนของรายได้เบ้ียประกันชีวิตเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.
2555 ที่อยู่ในสัดส่วน 69:31 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2561 รายได้เบ้ียประกันชีวิตมี
แนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปี แต่ลดลงเล็กน้อยในปี 2562 และ 2563 ในขณะที่รายได้เบ้ียประกัน
วินาศภยั มกี ารหดตวั ลงอยใ่ นปี พ.ศ. 2560 (ตารางที่ 1.2 และ ภาพท่ี 1.4 ประกอบ)

ตารางที่ 1.2 อัตราการเติบโตของเบี้ยประกนั ภยั รายปี

หน่วย: เปอรเ์ ซ็นต์

ประเภท 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563
ประกนั ภยั

ประกนั ชวี ิต 18.74 13.02 13.00 6.91 6.52 2.91 0.61 (1.72) (2.99)*

ป ร ะ กั น วิ น า ศ
ภัย 29.39 13.14 1.05 1.92 0.26 (21.94) 1.10 7.34 6.15

รวม 21.9 13.06 9.23 5.46 4.76 (3.79) 0.72 0.27 (0.84)

ทมี่ า: ขอ้ มูลจากเว็บไซต์ของสานักงานคณะกรรมการกากบั และสง่ เสรมิ การประกอบธุรกจิ ประกนั ภัย
https://www.oic.or.th/th/; ตารางรวบรวมและเรยี บเรียงโดยผู้เขยี น

* ใช้ข้อมูลจากตารางท่ี 1.1 ในการคานวณ ตัวอย่างวิธีการคานวณอัตราการเติบโตของเบ้ยี ประกันชีวิต ปี
พ.ศ. 2563 = เบ้ยี ประกันชีวิตปีปจั จบุ นั ท่ีคานวณ ลบดว้ ยเบย้ี ประกนั ชีวติ ปีกอ่ นหนา้ หารด้วยเบีย้ ประกนั ชีวิตปกี ่อนหนา้

คณู ดว้ ย 100 ลบ = (560,720 – 577,985)/577,985 x 100 = -2.99%

บทท่ี 1 ธุรกจิ ประกนั ภัย

11

ภาพท่ี 1.4 กราฟรายได้เบ้ียประกันภัยไทย ปี พ.ศ. 2555 – 2563

ทมี่ า: ขอ้ มลู จากเว็บไซต์ของสานกั งานคณะกรรมการกากับและสง่ เสริมการประกอบธรุ กจิ ประกันภัย
https://www.oic.or.th/th/; กราฟจดั ทาโดยผ้เู ขยี น

1.5 รปู แบบงบการเงินของธุรกิจประกัน
งบการเงิน (Financial Statements) เป็นรายงานทางการเงนิ ของกิจการที่จัดทาขึ้น

อยา่ งมีแบบแผน มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื แสดงฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของกจิ การ เพ่อื
ตอบสนองต่อผู้ใช้งบการเงิน โดยมีข้อสมมติในการจัดทางบการเงิน 2 ประการ คือ เกณฑ์คง
ค้าง (Accrual Basis) และความดารงอยู่ของกิจการ (Going Concern) ลักษณะเชิงคุณภาพ
(Qualitative Characteristics) ของรายงานทางการเงินท่ีมีประโยชน์ ตามกรอบแนวคิด
2 0 1 8 (Conceptual Framework 2018) แ บ่ ง ลั ก ษ ณ ะ เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ ขั้ น พ้ื น ฐ า น
(Fundamental Characteristics) ซึ่งต้องมีความเก่ียวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance)
และ มคี วามเปน็ ตวั แทนอนั เทยี่ งธรรม (Faithful Representation) และลักษณะเชงิ คุณภาพ
เสริม (Enhancing Characteristics) ซ่ึงต้องประกอบด้วย การเปรียบเทียบกันได้
(Comparability) การพสิ จู น์ยนื ยันได้ (Verifiability) ความทนั เวลา (Timeliness) และความ
เข้าใจได้ (Understandability) (IFRS, 2018) ข้อมูลทางการเงินที่แสดงในงบการเงินแสดง
ถึงผลกระทบทางการเงินจากเหตุการณ์ในอดีต ข้อมูลที่สาคัญบางอย่างไม่อาจแสดงในงบ
การเงนิ ได้ การจดั ทางบการเงินและการนาเสนองบการเงนิ ต้องชัดเจน ครอบคลุม มคี วามถูก
ต้องตามท่ีควร เปน็ ไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ได้กาหนดความหมายของงบการเงิน
(Financial Statements) ไว้วา่ งบการเงิน หมายถงึ รายงานผลการดาเนนิ งาน ฐานะการเงิน
หรือการเปล่ียนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ไม่ว่าจะรายงานโดยงบแสดงฐานะการเงิน
(Statement of Financial Position) งบกาไรขาดทุน (Income Statement) งบกระแสเงิน

บทท่ี 1 ธุรกจิ ประกันภยั

12

สด (Statement of Cash Flows) งบแสดงการเปล่ียนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (Statement
of Changes in Equity ) งบประกอบหรือหมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to
Financial Statements) หรือคาอธบิ ายอืน่ ซง่ึ ระบไุ วว้ ่าเป็นสว่ นหนง่ึ ของงบการเงนิ

งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position) หมายถึง งบการเงินท่ี
แสดงให้เห็นถึงฐานะการเงินของกิจการว่ามีฐานะอย่างไร ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งของรอบ
บัญชี ในงบแสดงฐานะการเงินจะแสดงรายการทางด้านสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของ
เจ้าของ

งบกาไรขาดทุน (Income Statement) หมายถึง งบการเงินที่แสดงผลการ
ดาเนินงานของกิจการในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง เช่น รอบระยะเวลาบัญชี โดยในงบกาไร
ขาดทุนจะแสดงรายการรายได้ ค่าใช้จ่าย และ กาไรหรือขาดทุนสุทธิ เพื่อแสดงให้เห็นถึงผล
กาไรหรอื ผลขาดทนุ จากการดาเนินงาน

งบกาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ (Statement of Comprehensive Income) หมายถึง งบ
การเงินท่ีแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ โดยแสดงรายการกาไรและขาดทุนทรี่ บั รู้
ในงบกาไรขาดทุนสาหรับงวดบัญชีและท่ีรับรู้โดยตรงในส่วนของเจ้าของท่ีกาหนดโดย
มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 1 (ปรับปรุงปี 2563) เร่ืองการนาเสนองบการเงิน กาหนดให้
กิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะ (Publicly-Accountable Entities) ต้องแสดงงบกาไร
ขาดทุนเบ็ดเสร็จ( Statement of Comprehensive Income) แทนงบกาไรข าด ทุน
(Statement of Income) ตั้งแต่รอบระยะเวลาที่เริ่มใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2564
เปน็ ต้นไป

ผู้ที่มีหน้าที่จัดทาบัญชีจะต้องจัดทางบการเงินและนาส่งงบการเงินต่อกรมพัฒนา
ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543
ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจากัด บริษัท มหาชนจากัด นิติบุคคลที่ต้ังขึ้นตาม
กฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร โดยผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชี
จาแนกตามประเภทของการจัดต้ังธรุ กิจ จะต้องจัดทาบัญชีและนาส่งงบการเงนิ ตามประเภท
ดงั ตาราง 1.3 ต่อไปนี้

บทท่ี 1 ธุรกิจประกนั ภัย

13
ตารางท่ี 1.3 ประเภทของงบการเงนิ ท่ีต้องจัดทาและนาส่งแยกตามประเภทของผูม้ หี น้าท่ี
จดั ทาบญั ชี

ผู้มีหน้าทจ่ี ดั ทาบญั ชี
งบแสดงฐานะการเงิน
งบกาไรขาด ุทน
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน
ของเจ้าของ
งบกระแสเ ิงนสด
งบการเ ิงนรวม
หมายเห ุตประกอบงบการเ ิงน
งบการเ ิงนเปรียบเทียบกับปี
ก่อนหน้า

ห้างห้นุ สว่ นจดทะเบยี น   

บรษิ ทั จากัด   

บริษัทมหาชนจากดั    

นติ บิ ุคคลท่ตี ้งั ขึน้ ตาม   
กฎหมายตา่ งประเทศ

กิจการรว่ มคา้ ตาม   
ประมวลรษั ฎากร

ที่มา: ข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณชิ ย์
ตารางรวมรวมและเรียบเรยี งโดยผเู้ ขียน

จากตารางข้างต้นจะพบว่า หากกิจการจัดต้ังในลักษณะบริษัทมหาชนจากัด กิจการ
มีหน้าที่ในการจัดทาและนาส่งงบการเงิน ได้แก่ งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุน
เบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปล่ียนแปลงส่วนของเจ้าของ งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบ
การเงิน และงบการเงินเปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า ในขณะท่ีหากกิจการจัดตั้งในรูปแบบอ่ืน
เช่น บริษัทจากัด หรือ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน จะมีหน้าท่ีในการจัดทาบัญชีที่จากัดกว่า
บรษิ ัทมหาชน จากัด

ในบทนี้จะนาเสนอรูปแบบของงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และงบแสดงฐานะการเงิน
ของธุรกิจประกันภัยที่มักจะพบได้ทั่วไป จะสังเกตได้ว่ารายการต่างๆ ที่แสดงทั้งในงบกาไร
ขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงิน จะมคี วามแตกต่างไปจากการดาเนนิ ธุรกิจทวั่ ไป เช่น ธุรกิจ
ผลิตสินค้า ธุรกิจบริการ ธุรกิจค้าส่งค้าปลีก ท้ังนี้ เน่ืองจากมีรูปแบบในการดาเนินธุรกิจท่ี
แตกต่างกัน หากผู้อ่าน ผู้วิเคราะห์ มีความเข้าใจในรูปแบบธุรกิจของธุรกิจประกันภัย และ
เข้าใจในกฎระเบียบของธุรกิจประกันภัย การอ่านและทาความเข้าใจงบการเงินของธุรกิจ
ประกนั ภัยจะไม่ใช่เรอื่ งยาก

ยกตัวอย่างเช่น ในงบกาไรขาดทุน รายการรายได้ท่ีเป็นรายได้หลักจากการดาเนิน
ธุรกิจ คือ เบย้ี ประกันภัยท่ีถือเปน็ รายได้ ซึง่ รายการน้ี คือ ค่าเบีย้ ประกนั ภัยท่ีบริษัทรับจากผู้

บทท่ี 1 ธุรกิจประกนั ภัย

14

เอาประกันภัย ที่สามารถถือเป็นรายได้ได้ ในขณะเดียวกัน ยังมีรายได้อีกรายการหนึ่งคือ
รายไดค้ ่าจ้างและคา่ บาเหน็จ ซงึ่ หมายถงึ ค่าบาเหนจ็ ทบี่ รษิ ัทได้รับเน่ืองในการเอาประกันภัย
ต่อ (Reinsurance) และค่าธรรมเนียม (Fee) อ่ืนใดที่บริษัทได้รับในการเข้าทาสัญญา
ประกันภัย ซ่ึงรายได้น้ีเป็นรายได้ที่อาจมีสัดส่วนน้อยกว่ารายได้หลัก เนื่องจากบริษัทดาเนิน
ธุรกิจประกันภัย ดังน้ัน รายได้เบ้ียประกันภัยถือเป็นรายได้หลัก แต่อย่างไรก็ตามบริษัท
สามารถรับประกันภัยต่อจากบริษัทประกันภัยอืน่ ซึง่ การทาธุรกรรมดังกล่าวส่งผลให้บริษัทมี
รายได้จากค่าจ้างและค่าบาเหน็จ รายละเอียดของงบการเงินในแต่ละรายการท่ีสาคัญจะ
อธบิ ายอย่างละเอียดในบทที่ 2 ต่อไป

ในตารางที่ 1.4 และ 1.5 เป็นการแสดงรายการที่มักจะปรากฏในงบกาไรขาดทุน
เบ็ดเสรจ็ และงบแสดงฐานะการเงินของธรุ กิจประกนั ภยั

ตารางที่ 1.4 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของธรุ กิจประกันภัย

รายการ จานวนเงนิ

1. เบ้ียประกันภัยทีถ่ ือเป็นรายได้ Xxx,xxx

2. รายได้คา่ จ้างและคา่ บาเหน็จ Xx,xxx

3. รายไดเ้ งินสมทบ Xx,xxx

4. รวม (1+2+3) Xxx,xxx

5. สารองประกันภัยสาหรบั สัญญาประกันภยั ระยะยาวเพมิ่ (ลด) Xx,xxx

6. สารองความเสี่ยงภยั ท่ียงั ไม่สิ้นสดุ เพิ่ม (ลด) Xx,xxx

7. ค่าสนิ ไหมทดแทนทเ่ี กิดขน้ึ ระหวา่ งงวด Xx,xxx

8. คา่ จา้ งและคา่ บาเหนจ็ Xx,xxx

9. คา่ ใช้จา่ ยในการรบั ประกันภยั อ่นื Xx,xxx

10. เงินสมทบบรษิ ทั กลางคุ้มครองผ้ปู ระสบภัยจากรถ Xx,xxx

11. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน Xx,xxx

12. รวมคา่ ใช้จ่ายจากการรับประกันภัย (5+6+7+8+9+10+11) Xx,xxx

13. กาไร (ขาดทุน) จากการรบั ประกันภยั (4-12) Xx,xxx

14. รายไดจ้ ากการลงทนุ สุทธิ Xx,xxx

15. รายไดอ้ ่ืน Xx,xxx

16. ค่าใช้จา่ ยอน่ื Xx,xxx

17. กาไร (ขาดทนุ ) จากการดาเนินงาน (13+14+15-16) Xx,xxx

18. กาไร (ขาดทุน) จากการจาหน่ายเงินลงทุน การโอนเปล่ียน Xx,xxx

ประเภทเงินลงทุน การขาดทุนจากการด้อยค่าของสนิ ทรัพย์ และ

การตรี าคาเงินลงทุน

19 ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า (ภายใต้วิธี Xx,xxx

สว่ นไดเ้ สยี )

บทท่ี 1 ธุรกจิ ประกนั ภัย

15

รายการ จานวนเงนิ

20. กาไร (ขาดทุน) จากการจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการ Xx,xxx

ชาระหน้ี

21. กาไร (ขาดทนุ ) จากอัตราแลกเปลีย่ น Xx,xxx

22. กาไร (ขาดทนุ ) สุทธจิ ากบัญชีป้องกนั ความเส่ียง Xx,xxx

23. เงินสมทบสานกั งานคณะกรรมการกากบั และสง่ เสรมิ การ Xx,xxx

ประกอบธรุ กิจประกนั ภัย

24. เงินสมทบกองทุนประกันวินาศภัย Xx,xxx

25. เงินสมทบกองทุนทดแทนผปู้ ระสบภัย Xx,xxx

26. กาไร (ขาดทนุ ) ก่อนหักภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคล Xx,xxx

(17+18+19+20+21+22-23-24-25)

27. ภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคล Xx,xxx

28. กาไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิประจาปี (26-27) Xx,xxx

กาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จอ่ืน:

29. กาไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารหนี้ ด้วย Xx,xxx

มูลคา่ ยตุ ธิ รรมผ่านกาไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ อืน่

30. กาไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมตราสารอนุพันธ์สาหรับ Xx,xxx

การป้องกนั ความเสยี่ งในกระแสเงนิ สด

31. กาไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่ายุติธรรมตราสารอนุพันธ์สาหรบั Xx,xxx

การป้องกนั ความเส่ียงในเงินลงทุนสุทธใิ นหนว่ ยงานตา่ งประเทศ

32. กาไร (ขาดทุน) จากตน้ ทุนการปอ้ งกนั ความเส่ยี งรอตัดบญั ชี Xx,xxx

33. กาไร (ขาดทุน) จากการแปลงค่างบการเงินจากการดาเนินงานใน Xx,xxx

ตา่ งประเทศ

34. สว่ นแบง่ กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสรจ็ อ่นื ในบริษัทร่วมและการร่วมค้า Xx,xxx

(ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย) สาหรับรายการท่ีจัดประเภทรายการใหม่

เข้าไปไวใ้ นกาไรหรือขาดทนุ ในภายหลัง

35. กาไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตี Xx,xxx

ราคาสนิ ทรัพย์

36. กาไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในตราสารทุนด้วย Xx,xxx

มูลคา่ ยุติธรรมผ่านกาไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอน่ื

37. กาไร (ขาดทุน) จากหน้ีสินทางการเงินท่ีกาหนดให้วัดมูลค่าด้วย Xx,xxx

มลู คา่ ยุตธิ รรมผา่ นกาไรหรอื ขาดทนุ

38. กาไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ Xx,xxx

ประกนั ภยั สาหรับโครงการผลประโยชน์ของพนักงาน

บทท่ี 1 ธุรกจิ ประกันภยั

16

รายการ จานวนเงิน

39. สว่ นแบ่งกาไร (ขาดทนุ ) เบด็ เสรจ็ อื่นในบรษิ ัทร่วมและการร่วมค้า Xx,xxx

(ภายใต้วิธีส่วนได้เสีย) สาหรับรายการที่ไม่จัดประเภทรายการ

ใหม่เขา้ ไปไว้ในกาไรหรือขาดทนุ ในภายหลงั

40. องค์ประกอบอื่นของกาไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอน่ื Xx,xxx

41. ภาษเี งนิ ไดเ้ ก่ียวกบั องค์ประกอบของกาไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ อ่ืน Xx,xxx

42. กาไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอ่ืนสาหรบั ปี-สุทธจิ ากภาษี Xx,xxx

(29+30+31+32+33+34+35+36+37+38+39+40-41)

43. กาไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ รวมสาหรบั ปี (28+42) X,xxx

ทีม่ า: ตารางเรยี บเรียงโดยผเู้ ขยี น

บทที่ 1 ธรุ กิจประกันภัย

ตารางท่ี 1.5 งบแสดงฐานะการเงนิ ของธุรกจิ ประกนั ภัย 17

รายการ จานวนเงิน
สินทรัพย์
1. เงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรัพย์ Xxx,xxx
2. เงนิ ใหก้ ูย้ มื และดอกเบ้ียค้างรับ Xxx,xxx
3. เงนิ ลงทนุ อืน่ Xxx,xxx
4. เงินสดและเงินฝากกบั สถาบนั การเงิน Xxx,xxx
5. อสงั หารมิ ทรัพย์และสินทรพั ย์ดาเนินงาน Xxx,xxx
6. อสงั หารมิ ทรพั ยอ์ ่นื Xxx,xxx
7. สินทรัพยจ์ ากการประกันภยั ตอ่ Xxx,xxx
8. เบ้ียประกันภัยคา้ งรบั Xxx,xxx
9. สินทรัพยภ์ าษเี งนิ ไดร้ อตัดบัญชี Xxx,xxx
10. รายไดจ้ ากการลงทนุ ค้างรับ Xxx,xxx
11. คา่ ความนยิ ม Xxx,xxx
12. ตราสารอนพุ นั ธ์ Xxx,xxx
13. สนิ ทรพั ย์อืน่ Xxx,xxx
14. บญั ชีเดนิ สะพัดสานกั งานใหญ่ Xxx,xxx
15. รวมสินทรพั ย์ Xx,xxx,xxx

หนสี้ นิ Xxx,xxx
16. สารองประกนั ภยั Xxx,xxx
17. เงนิ เบิกเกนิ บญั ชีและเงนิ กยู้ ืม Xxx,xxx
18. หนี้สินจากการประกันภยั ต่อ Xxx,xxx
19. หน้สี ินภาษีเงนิ ได้รอตดั บญั ชี Xxx,xxx
20. ภาษเี งินได้ค้างจา่ ย Xxx,xxx
21. หนี้สินอ่ืนๆ Xxx,xxx
22. ตราสารอนุพนั ธ์ Xxx,xxx
23. หน้ีสินทางการเงินอ่นื Xxx,xxx
24. บัญชีเดินสะพดั สานกั งานใหญ่ X,xxx,xxx
25. รวมหน้สี ิน

บทท่ี 1 ธุรกิจประกันภยั

18 จานวนเงิน

รายการ Xxx,xxx
สว่ นของเจา้ ของ Xxx,xxx
26. ทุนชาระแลว้ Xxx,xxx
27. เงินลงทุนจากสานักงานใหญ่ Xxx,xxx
28. ใบสาคัญแสดงสทิ ธทิ ี่จะซอ้ื หนุ้ Xxx,xxx
29. ส่วนเกิน (ต่ากว่า) มูลค่าห้นุ Xxx,xxx
30. องค์ประกอบอื่นของสว่ นของเจ้าของ Xxx,xxx
31. กาไร (ขาดทนุ ) สะสม X,xxx,xxx
32. หนุ้ ทุนซื้อคนื Xx,xxx,xxx
33. รวมส่วนของเจา้ ของ
Xxx,xxx
34. รวมหนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ Xxx,xxx

รายการนอกงบดุล - ภาระผูกพนั ทัง้ สน้ิ
35. ออกหนังสอื ค้าประกนั
36. ภาระผกู พันอื่น

ที่มา: ตารางเรียบเรียงโดยผเู้ ขยี น

1.6 การบริหารความเสย่ี งกบั การประกนั ภัย (Risk Management and Insurance)

การบริหารความเส่ียง (Risk Management ) หมายถงึ กระบวนการในการวางแผน
(Planning) และประเมินผลความเส่ียง (Risk Assessment) ท่ีอาจจะเกิดข้ึน โดยมีการ
วิเคราะห์ความเสี่ยงและความเสียหายท่ีอาจจะเกิดข้ึนแล้วหาวิธีในการจัดการกับความเสี่ยง
น้ันๆ โดยการเลือกวิธีการบริหารความเสี่ยงเพ่ือจัดการกับความสูญเสีย หรือความเสียหาย
ต่างๆ ที่อาจเกิดข้ึนท่ีดีที่สุด หรือทางที่จะทาให้เกิดความเสียหายหรือสูญเสียต่าท่ีสุด และ
ปฏิบัติตามแผนหรือวิธีการท่ีได้วางแผนไว้ ทั้งนี้ การบริหารความเส่ียงจะต้องสามารถ
ตรวจสอบถงึ วิธีการ และสามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการในการบริหารความเส่ียงให้เหมาะสมกับ
ภยั ตา่ งๆ ได้อาจจะเกิดข้นึ หรือที่เปลยี่ นแปลงไปได้ (มาสเตอรท์ มี , 2564)

วิธกี ารในการบรหิ ารความเสย่ี งสามารถทาไดห้ ลายวิธี ดงั ต่อไปน้ี

- การหลีกเลย่ี งความเสยี่ ง (Risk Avoidance)

- การลดความเสี่ยง (Risk Reduction)

- การรบั ความเสย่ี งภยั ไว้เอง (Risk Retention)

- การโอนความเสี่ยงภยั (Risk Transfer)
บทท่ี 1 ธุรกจิ ประกันภยั

19

การหลีกเลี่ยงความเส่ียง (Risk Avoidance) หมายถึง การไม่เข้าไปยุ่งเก่ียวกับสิ่งที่
จะก่อให้เกิดความเส่ียงภัยนั้น เช่น ความเสี่ยงในการเดินทางทางเรืออาจมีความเสี่ยงเกิดขึ้น
ในหลายๆ กรณี เช่น ท่าเทียบเรือที่ไม่แข็งแรงไม่ได้มาตรฐาน เรือท่ีไม่มีอุปกรณ์ชูชีพ เรือมี
โครงสร้างไม่ได้มาตรฐาน สิ่งเหล่านีอ้ าจนามาซึ่งความเส่ียงภัยทางเรือ วิธีการหลกี เลี่ยงความ
เส่ียงที่อาจจะเกิดข้ึนจากการเดินทางโดยเรือดังกล่าว คือ ไม่เลือกที่จะโดยสารทางเรือและ
เลี่ยงไปใช้รูปแบบในการเดินทางด้วยวิธีอื่น ซ่ึงเป็นการพยายามหลีกเล่ียงความเส่ียงโดยไม่
เข้าไปยุ่งเก่ียวกับสิ่งที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยงภัยน้ัน อย่างไรก็ตาม บางคร้ังการหลีกเลี่ยง
ความเสย่ี งอาจไม่สามารถกระทาได้ดว้ ยเหตผุ ลบางประการ หรือการพยายามหลีกเลี่ยงความ
เส่ยี งนั้นอาจทาให้เกิดผลเสยี ดา้ นอื่นตามมาก็เปน็ ได้

การลดความเส่ียง (Risk Reduction) หมายถึง การพยายามทาให้ความเส่ียงหรือ
ความน่าจะเปน็ ท่จี ะเกิดความเสย่ี งนั้นๆ ลดลง ด้วยวิธีการตา่ งๆ เช่น

- การป้องกันการเกิดความเสียหาย (Loss Prevention) ด้วยการเปล่ียนแปลง
แก้ไขปัจจัยที่อาจจะทาให้เกิดความเส่ียงภัยขึ้น การป้องกันการเกิดความ
เสียหาย อย่างเช่น ในโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในการผลิต
โรงงานอาจพิจารณาในการเปลี่ยนสายไฟหรือเปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟา้ ที่เก่าท่ีชารุด
ออกไป เพื่อลดความเสี่ยงภัยท่ีอาจจะเกิดจากการใช้ไฟฟ้าเกินขนาด หรือไฟฟ้า
ลดั วงจร เปน็ ตน้

- การควบคุมความเสียหาย (Loss Control) หมายถึง การควบคุมความเสียหาย
ท่ีเกดิ ขนึ้ ใหไ้ ดร้ บั ผลเสียหายน้อยท่ีสุด การควบคุมความเสียหายจะทาขณะ หรอื
ภายหลังจากท่ีมีความเสียหายเกิดขึ้นแล้ว เพื่อควบคุมระดับความรุนแรงของ
ความเสียหายให้ลดลงหรือให้ต่าลง เช่น ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ในอาคาร
สานกั งานหรือในโรงงานผลิต จะตอ้ งมกี ารดบั เพลิงอย่างทนั ทว่ งที และภายหลัง
การเกิดอัคคีภัยน้ัน จะต้องมีการติดต้ังเคร่ืองพ่นน้าอัตโนมัติ มีการติดต้ังเคร่ือง
ดับเพลิง และทาการตรวจเช็คตามรอบระยะเวลา มกี ารติดตง้ั สญั ญาณการเตือน
ภัย เป็นต้น การกระทาเหล่าน้ีจะมีส่วนช่วยควบคุมความเสียหายให้เกิดข้ึนใน
วงจากัด

- การแยกทรัพย์สิน (Asset Separation) หมายถึง การแยกประเภทของ
สินทรัพย์ที่มีค่าไว้ในสถานที่ท่ีแยกต่างหากจากกัน เพ่ือเป็นการกระจายความ
เส่ียงท่ีอาจจะเกิดขึ้น เช่น การเกบ็ ของท่มี ลู คา่ สงู ไว้ในสถานที่ที่แยกต่างหากจาก
กัน หากเกิดความเสียหายขึ้น ณ จุดหนึ่ง จะไม่ไปกระทบกับทรัพย์สินที่อยู่ ณ
จดุ อน่ื

การรับการเสี่ยงภัยไว้เอง (Risk Retention) หมายถึง การท่ีบุคคลหรือองค์กร
ยินยอมท่จี ะรบั ภาระความเสียหายเอาไว้เอง หากมเี หตุการณเ์ สยี่ งภยั ท่ีจะสร้างความเสียหาย
เกดิ ข้ึน โดยยินยอมท่ีจะรับเอาความเสย่ี งและความเสยี หายนั้นไว้เอง ไมว่ ่าจะโดยตัง้ ใจหรอื ไม่

บทท่ี 1 ธรุ กจิ ประกันภัย

20

ต้ังใจกต็ าม ท้ังน้ี การรับการเสย่ี งภัยไว้เองอาจเปน็ การรบั เพยี งบางสว่ นหรือทั้งหมดของความ
เสียหาย การที่ผู้เส่ียงภัยยอมรับการเส่ียงภัยไว้เองน้ัน อาจเนื่องมาจากการที่ภัยท่ีคาดว่าจะ
เกิดน้ัน อาจเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายน้อยมาก ผู้เส่ียงภัยคาดว่าตนเองจะสามารถ
รับภาระความสูญเสียหรือความเสียหายนั้นได้หากเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงภัยน้ันขึ้น เช่น
ความเสี่ยงอันเกิดจากการสูญเสียโทรศัพท์มือถือท่ีเพ่ิงซื้อมาใหม่ ความเสี่ยงท่ีอาจจะเกิดขึ้น
เช่น โทรศัพท์มือถือตกแตก หรือ มีความเสียหายกับโทรศัทพ์ การสูญหายของโทรศัพท์ ซ่ึงผู้
เป็นเจ้าของคาดว่าหากเกดิ เหตุการณ์เชน่ น้ันก็ไม่เป็นไร จะทาการซ่อมหรือซื้อเคร่ืองใหม่ได้ น่ี
เป็นเหตุการณ์ที่ผู้เสี่ยงภัยรับภาระการเส่ียงภัยไว้เอง จึงมิได้กระทาการใดๆ เพื่อลดการเส่ียง
ภัยทอ่ี าจจะเกดิ ขึ้น อีกเหตผุ ลหน่ึงท่ีผ้เู สีย่ งภยั อาจจาต้องรับการเส่ยี งภัยไวเ้ อง อาจเป็นเพราะ
ความเส่ียงภัยน้ันไม่สามารถถ่ายโอนไปให้กับผู้อ่ืนได้ หรืออาจพิจารณาแล้วเห็นว่า ความ
สูญเสียหรือความเสียหายท่ีจะเกิดขึ้นน้ัน เป็นเพียงความสูญเสียหรือความเสียหายที่น้อยจึง
รับไวเ้ อง

การโอนความเสี่ยงภัย (Risk Transfer) เป็นวิธีการบริหารความเส่ียงอีกวิธีหนึ่งท่ี
นิยมมากที่สุด โดยจะมีการโอนความเสี่ยงภัยท่ีอาจจะก่อให้เกิดความสูญเสีย หรือความ
เสียหายท้ังหมด หรือบางส่วนไปให้บุคคลอ่ืนรับภาระความเส่ียงภัยน้ันแทน โดยอาจโอน
ความเส่ียงภัยน้ันไปให้ผู้อื่นที่ไม่ใช่การประกันภัย (Non-insurance Transfer) โดยปกติ
วิธีการโอนความเสี่ยงภัยนี้ มักถูกระบุไว้ในสัญญาระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย ที่บุคคลหน่ึงจะรับ
โอนความเส่ียงภัยไว้ตามสัญญา เช่น การโอนความเสี่ยงภัยอันเกิดจากทรัพย์สินเสียหายใน
กรณีใช้เครื่องถ่ายเอกสาร โดยทาสัญญาในลักษณะการเช่าซ้ือ (Leasing) เครื่องถ่ายเอกสาร
หากเกิดปัญหาติดขัดไม่ว่าจะเป็นการที่เครื่องถ่ายเอกสารเสียไม่สามารถทางานตามปกติได้
ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมหรือเปลี่ยนเครื่องใหม่จะเป็นค่าใช้จ่ายในความรับผิดชอบของ
คู่สัญญาฝ่ายให้เช่าซื้อ (Lessor) ไม่ใช่ฝ่ายผู้เช่าซื้อ (Lessee) อย่างไรก็ตาม การโอนความ
เสยี่ งภยั ในรปู แบบน้ตี ้องถูกผูกมัดดว้ ยสัญญา

การโอนความเส่ียงภัยในรูปของการประกันภัย (Insurance Transfer) เป็นการโอน
ความเสี่ยงภัยไปให้บุคคลอื่นที่เป็นบริษัทประกันภัย โดยกระทาในรูปแบบของสัญญา
ประกันภัย ทั้งนี้ หากมีเหตุเกิดข้ึนตามสัญญาประกันภัย บริษัทประกันภัยจะเป็นผู้ชดเชย
ค่าเสียหายที่เกิดข้ึนให้กับผู้เอาประกันภัย ยกตัวอย่างเช่น การทาสัญญาประกันภัยการ
โจรกรรมในทรัพย์สิน หากเกิดการโจรกรรมเกิดข้ึน บริษัทประกันภัยจะเป็นผู้ชดเชยความ
เสียหายจากการโจรกรรมในทรัพย์สินน้ัน ท้ังน้ี จะต้องมีการประเมินมูลค่ายุติธรรมของ
ทรพั ย์สนิ นั้นๆ ล่วงหนา้ กอ่ นการทาประกนั ภยั

1.7 องค์กรทเ่ี ก่ยี วข้องกับการประกนั ภัยของประเทศไทย

องค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับการประกันภัยไทยมีหลายองค์กร บางองค์กรอาจมิได้กล่าวถึง
ในหนังสือเลม่ น้ี แต่ก็มีบทบาทที่สาคัญตอ่ การประกันภัยของประเทศไทยเช่นกัน ยกตัวอย่าง
เช่น สถาบันการศึกษา เป็นองค์กรท่ีสาคัญองค์กรหนึ่งท่ีสามารถให้ความรู้ความเข้าใจท่ี

บทที่ 1 ธุรกจิ ประกนั ภัย

21

ถูกต้องต่อนักเรียนนักศึกษา เป็นหน่วยงานท่ีสามารถช่วยขับเคล่ือนการเติบโตของธุรกิจ
ประกันภัยของไทยได้ อย่างไรก็ตาม ในบทน้ีจะได้กล่าวถึงสานักงาน สมาคม และสถาบัน ท่ี
เป็นองค์กรทเี่ ก่ียวขอ้ งโดยตรง ท้งั ในแงข่ องการกากับดแู ล และการสง่ เสริมสนับสนุน ดงั นี้

1. สานกั งานคณะกรรมการกากบั และสง่ เสริมการประกอบธุรกจิ ประกันภยั (Office of
Insurance Commission)
สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สานักงาน

คปภ.) เป็นหน่วยงานหลักท่ีดูแลระบบประกันภัยของไทย มีสถานะเป็นหน่วยงานของรัฐ
รูปแบบหน่ึง มีฐานะเป็นนิติบุคคล ท่ีไม่เป็นส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ จัดต้ังข้ึนตาม
พระราชบัญญัติคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย มีผลบังคับใช้
เมอื่ วนั ที่ 1 กนั ยายน พ.ศ. 2550 มีภารกิจหลกั ในการดาเนินงาน การกากับดูแล และสง่ เสริม
พัฒนาธุรกิจประกันภัยให้มีประสิทธิภาพ และคุ้มครองประชาชนให้ได้รับสิทธิประโยชน์จาก
การประกันภัย โดยมีลักษณะเช่นเดียวกับธนาคารแห่งประเทศไทย และสานักงาน
คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) สามารถเข้าถึงเว็บไซต์ของ
สานักงาน คปภ. เพื่อศึกษาขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ได้จาก https://www.oic.or.th/th/home

ภาพที่ 1.5 เว็บไซตส์ านักงาน คปภ.
2. สมาคมประกันวินาศภยั (Thai General Insurance Association)

สมาคมประกันวินาศภัย เดิมช่ือสมาคมประกันวินาศภัยไทย เป็นองค์กรการค้าท่ีไม่
แสวงหาผลกาไร จัดต้ังข้ึนโดยการรวมตัวกันของสมาคมประกันภัย 3 สมาคม ได้แก่ สมาคม
บริษัทประกันภัยไทย สมาคมบริษัทประกันภัยจีน และสมาคมบริษัทประกันภัยต่างประเทศ
ภายหลังเปลยี่ นช่ือเป็น "สมาคมประกันวินาศภัย" โดยได้รับอนญุ าตเมื่อวนั ที่ 6 มีนาคม พ.ศ.
2510 ผู้ท่ีเป็นสมาชิกในสมาคมประกันวินาศภัย คือ บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบ
กิจการประกันวินาศภัย ในปัจจุบันมีสมาชิกจานวน 55 บริษัท และบริษัทรับประกันภัยต่อ
จานวน 1 บริษัท โดยมีวิสัยทัศน์ในการดาเนินงานในการเป็นองค์กรท่ีส่งเสริมและสนับสนุน
ให้ธุรกิจประกันวินาศภัยเป็นเสาหลักของระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยมีพันธ
กิจที่สาคัญรวม 4 ด้าน ได้แก่ ด้านประชาชน ด้านหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานอ่ืนๆ ท่ี
เกี่ยวข้อง ด้านหน่วยงานกากับดูแล และด้านบริษัทสมาชิก สมาคมประกันวินาศภัย มี

บทที่ 1 ธรุ กิจประกันภยั

22

บทบาทหน้าท่ีในการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการประกันวินาศภัย ทั้งทางด้าน
วิชาการและด้านกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจประกันภัย และสังคม สามารถเข้าถึง
เว็บไซต์ของสมาคมประกนั วนิ าศภัยเพ่ือศึกษาข้อมลู เพิ่มเตมิ ไดจ้ าก https://www.tgia.org/

ภาพท่ี 1.6 เวบ็ ไซตส์ มาคมประกันวนิ าศภยั
3. สมาคมประกันชวี ิตไทย (The Thai Life Assurance Association)

สมาคมประกันชีวิตไทย มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการรับประกันชีวิตให้มีความ
เติบโตก้าวหน้า ปลูกฝังความสามัคคีระหว่างบริษัทประกันชีวิต ช่วยเหลือภาครัฐในการ
ควบคุมบริษัทประกันชีวิตอย่างใกล้ชิด และทาหน้าที่ประสานงานระหว่างบริษัทประกันชีวิต
ให้มีการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล สมาคมประกันชีวิต เดิมช่ือ สมาคม
ประกันชีวิตแห่งประเทศไทย โดยได้รับอนุมัติให้จัดต้ังอย่างเป็นทางการ เม่ือวันท่ี 5
กรกฎาคม พ.ศ. 2499 และต่อมาเพ่ือให้สอดคล้องกับข้อบังคับของพระราชบัญญัติการค้า
พ.ศ. 2509 สมาคมจึงได้เปลี่ยนช่ือเป็นสมาคมประกันชีวิตไทย ทั้งนี้ สมาคมมีเป้าหมายที่จะ
สง่ เสริมธุรกจิ ประกนั ชวี ิตให้มีการเตบิ โตอยา่ งต่อเนอ่ื ง มคี วามพร้อมสาหรบั การแข่งขันในเวที
ระดับนานาชาติ สร้างมาตรฐานบริษัทประกันชีวิต ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการประกัน
ชวี ิตใหก้ ับภาคประชาชน ยกระดับคุณภาพของตวั แทนประกันชวี ิตสู่ความเป็นมืออาชีพ และ
มีเป้าหมายท่ีจะพัฒนาสมาคมไปสู่การเป็นองค์กรกลางที่มีความเป็นเลิศ สามารถเข้าถึง
เว็บไซต์ของสมาคมประกันชีวิตไทยเพื่อศึกษาข้อมลู เพ่มิ เติมได้จาก https://www.tlaa.org/

ภาพที่ 1.7 เวบ็ ไซต์สมาคมประกนั ชวี ติ ไทย
4. สมาคมนายหนา้ ประกันภยั ไทย (Thai Insurance Brokers Association)

สมาคมนายหน้าประกันภัย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2512 ในปี พ.ศ.
2545 สมาคมฯ ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของ Council of International Insurance

บทที่ 1 ธรุ กจิ ประกนั ภยั

23

Brokers Associations (CIIBA) ซึ่งเป็นสหพันธ์นานาชาติที่มีสมาชิกเป็นสมาคมนายหน้า
ประกันภัยของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต่อมาเม่ือ CIIBA มีจานวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้นจึงได้แยก
สมาคมเป็น Council of Asia Pacific Insurance Brokers Associations (CAPIBA) ซ่ึง
เป็นสมาชิกของ World Federation of Insurance Intermediaries (WFII ) ปัจจุบัน
สมาคมนายหน้าประกันภัยมีสมาชิกทั้งหมด 84 บริษัท และได้เปล่ียนชื่อจากสมาคม
นายหน้าประกันภัยเป็น สมาคมนายหน้าประกันภัยไทย (Thai Insurance Brokers
Association) ซ่ึงได้รับการรับรองจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้วเมื่อวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ.
2550 มีหน้าที่ในการพัฒนาธรุ กิจประกันภัยและนายหน้าประกันชวี ิตให้มีประสิทธิภาพ และ
มีหน้าที่ในการจัดการการเอาประกันภัยอย่างเป็นธรรม ทั้งในด้านเบ้ียประกันภัยหรือการ
เรียกร้องค่าสินไหมทดแทน มีหน้าท่ีในการกาหนดจรรยาบรรณของสมาชิก สามารถเข้าถึง
เว็บไซต์ ของสมาคมนายหน้าประกันภัยไทยเพ่ือศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมได้จาก
https://www.tiba.or.th/

ภาพที่ 1.8 เว็บไซตส์ มาคมนายหน้าประกนั ภัยไทย
5. สมาคมตวั แทนประกนั ชีวติ และท่ปี รกึ ษาการเงิน (Thai Association of Insurance

and Financial Advisors)
สมาคมตัวแทนประกันชีวิตและท่ีปรึกษาการเงิน เป็นองค์กรกลางของตัวแทน
ประกันชีวิตทั่วประเทศ ในการติดต่อประสานงานกับภาครัฐและองค์กรอ่ืนๆ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาธุรกิจประกันชีวิต โดยสมาคมฯ จดทะเบียนก่อต้ังเมื่อวันท่ี 30
พฤษภาคม พ.ศ. 2511 ภายใต้ชื่อ สมาคมตัวแทนขายประกัน ต่อมา ในปี พ.ศ. 2540 มีมติ
เปล่ียนช่ือสมาคมเป็น สมาคมตัวแทนประกันชีวิต และได้มีการนาหลักสูตรท่ีปรึกษาการเงิน
จากประเทศสหรัฐอเมริกามาเปิดสอนในประเทศไทย ชื่อหลักสูตร Registered Financial
Consultant (RFC) จ า ก ส ม า ค ม International Association Registered Financial
Consultant (IARFC) และต่อมาไดน้ าหลกั สูตร Fellow Chartered Financial Practitioner
(FChFP) ของสมาคมท่ปี รึกษาการเงินแหง่ เอเชียแปซิฟิกมาสอนในประเทศไทย ตั้งแตป่ ี พ.ศ.

บทท่ี 1 ธรุ กจิ ประกันภยั

24
2550 จนถึงปัจจุบัน สามารถเข้าถึงเว็บไซต์ของสมาคมตัวแทนประกันชีวิตและท่ีปรึกษา
การเงิน เพือ่ ศกึ ษาขอ้ มูลเพ่มิ เติมได้จาก http://www.thaifa.org/

ภาพที่ 1.9 เวบ็ ไซต์สมาคมตวั แทนประกนั ชวี ิตและทป่ี รึกษาทางการเงิน
6. สมาคมนกั คณิตศาสตรป์ ระกันภัยแห่งประเทศไทย (The Society of Actuaries of

Thailand)
สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันท่ี 7 สิงหาคม พ.ศ.
2518 มีหน้าที่ในการกาหนด ส่งเสริม และรักษามาตรฐานของวิชาชีพนักคณิตศาสตร์
ประกันภัยให้อยู่ในมาตรฐานสูงสุด ท้ังกาหนดและรักษาตรฐานด้านจริยธรรมทางวิชาชีพ
คณิตศาสตร์ประกันภัย ส่งเสริมการศึกษา การค้นคว้า การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ทาง
คณิตศาสตร์ประกันภัย ทั้งยังทาหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความรู้ และความคิดเห็น
ระหว่างสมาชกิ และองคก์ ร สถาบนั การศกึ ษา และบุคคลท่วั ไป มวี ิสยั ทัศน์ คือ เปน็ องคก์ รชั้น
นาในภูมิภาคเพื่อพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพนักคณิตศาสตร์ประกันภัยให้มีความเป็นมืออาชีพ
มีจรรยาบรรณ เพ่ือให้บริการและมีศักยภาพในการแข่งขันในระดับสากล สามารถเข้าถึง
เว็บไซต์ของสมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทยเพ่ือศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้
จาก https://soat.or.th/th

ภาพที่ 1.10 เว็บไซตส์ มาคมนักคณติ ศาสตรป์ ระกนั ภัยแห่งประเทศไทย

บทท่ี 1 ธุรกิจประกนั ภัย

25

7. สานกั งานอัตราเบีย้ ประกนั วินาศภยั (Insurance Remium Rating Bureau)
สานักงานอัตราเบีย้ ประกันวินาศภัย จัดต้ังข้นึ เม่ือวันท่ี 4 เมษายน พ.ศ. 2548 เป็น

หน่วยงานอิสระซึ่งจัดต้ังโดยสมาคมประกันวินาศภัยไทย ตามมติที่ประชุมเชิงปฏิบัติการ
“การกาหนดยุทธศาสตร์การประกันภัยแห่งชาติ” ในปี พ.ศ. 2546 โดยการจัดตั้งสานักงาน
อัตราเบี้ยประกันวินาศภยั เป็นการเตรยี มความพร้อมด้านหน่ึงของอุตสาหกรรมประกันวนิ าศ
ภัยในการเปิดเสรีอัตราเบี้ยประกันภัยและการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยในอนาคต ทั้งยังเป็น
กลไกในการทาหน้าที่ดูแลประโยชน์ให้แก่บริษัทประกันวินาศภัย ผู้เอาประกันภัย รวมท้ัง
องค์กรที่เก่ียวข้อง สานักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัยมีภารกิจสาคัญ 2 ด้าน คือ 1. การ
รวบรวมข้อมูลสถิติของการประกันวินาศภัย (Data Bank) และ 2. นาเสนอต้นทุนความ
เสยี หายอ้างองิ (Reference Loss Cost) ของการประกนั วินาศภัยแตล่ ะประเภท เพอ่ื อานวย
ใหก้ ารกาหนดอัตราเบี้ยประกันภัยมีความเหมาะสมและเปน็ ธรรมต่อทุกฝ่าย สานักงานอัตรา
เบี้ยประกันวินาศภัยมีวิสัยทัศน์ ในการสร้างรากฐานธุรกิจประกันวินาศภัยให้เติบโตอย่าง
ม่ันคงและยั่งยืน ด้วยบริการด้านข้อมูลและต้นทุนความเสียหายอ้างอิงท่ีเหมาะสมและเป็น
ธรรม สามารถเข้าถึงเวบ็ ไซต์ของสานกั งานอตั ราเบี้ยประกันวินาศภัยเพ่ือศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติม
ไดจ้ าก https://www.tgia.org/iprb/index-TH_9

ภาพท่ี 1.11 เว็บไซต์สานักงานอัตราเบยี้ ประกนั วินาศภยั

8. สถาบนั ประกนั ภยั ไทย (Thailand Insurance Institute)
สถาบันประกันภยั ไทย จดทะเบยี นสถาบนั เป็นนิตบิ ุคคล วนั ท่ี 3 ตุลาคม พ.ศ. 2531

ภายใตช้ ือ่ บรษิ ทั ท.ี ไอ.ไอ. จากัด การจดั ต้ังสถาบนั ฯ เปน็ ผลมาจากความร่วมมอื ของสมาคม
ประกันวินาศภัย สมาคมประกันชีวิตไทย และสานักงานประกันภัย กระทรวงพาณิชย์
(ปัจจุบันคือ สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภยั ) โดยมี
เจตนารมณ์ร่วมกันท่ีจะสร้างสถาบันการศึกษาด้านการประกนั ภัยข้ึน เพอ่ื พฒั นาและสง่ เสริม
ความรู้เก่ียวกับการประกันภัยทุกประเภท แก่บุคลากรของธุรกิจประกันชีวิตและวินาศภัย
รวมถึงประชาชนผู้ใช้บริการประกันภัย ตลอดจนรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานแห่งวิชาชีพประกันภัย
ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง ส ถ า บั น ป ร ะ กั น ภั ย ไ ท ย เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ พ่ิ ม เ ติ ม ไ ด้ จ า ก
https://www.tiins.com/

บทที่ 1 ธรุ กจิ ประกนั ภัย

26

ภาพที่ 1.12 เวบ็ ไซตส์ ถาบนั ประกันภยั ไทย
หน่วยงานทั้ง 8 หน่วยงานตามท่ีระบุข้างต้น เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีกากับดูแลและ
ส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจประกันภัยในประเทศไทย สานักงาน คปภ. เป็นหน่วยงานหลักท่ีทา
หน้าที่ในการดูแลระบบประกันภัยของประเทศ มีหน้าท่ีในการดาเนินงาน กากับดูแลและ
สง่ เสรมิ พัฒนาธรุ กจิ ประกันภัยใหม้ ีประสิทธิภาพ อนั จะเปน็ ฟนั เฟืองทสี่ าคญั ในการขบั เคล่ือน
และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และยังทาหน้าท่ีในการคุ้มครองประชาชนให้ได้รับสิทธิ
ประโยชน์จากการประกันภัยอย่างเป็นธรรม ในขณะที่หน่วยงานอื่นๆ เช่น สมาคมประกัน
วินาศภัย สมาคมประกันชีวิตไทย ต่างมีหน้าที่ส่งเสริมการประกันภัยให้มีความเติบโต มี
ความก้าวหน้า นอกจากน้ียังมีสมาคมนายหน้าประกันภัยไทย ทาหน้าที่ในการพัฒนาธุรกิจ
ประกันภัยและนายหน้าประกันชวี ิตในประเทศไทยใหม้ ีประสิทธภิ าพ สร้างความเป็นธรรมใน
ธุรกิจประกันภยั ขณะทสี่ มาคมตวั แทนประกันชวี ิตและทีป่ รึกษาการเงิน มบี ทบาทในการเป็น
ที่ปรึกษาทางการเงินแห่งเอเชียแฟซิฟิก เป็นต้น นอกจากน้ียังมีหน่วยงานสนับสนุนอ่ืนๆ อีก
เช่น สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย สานักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภยั
สถาบันประกันภัยไทย ต่างทาหน้าที่เป็นตัวแทนและสนับสนุนการทาประกันภัยในประเทศ
ไทย ใหม้ คี วามแข่งแกร่งทดั เทยี มธุรกจิ ประกันภยั ในระดับสากล

บทที่ 1 ธรุ กจิ ประกันภัย

27
1.8 สรปุ

ในบทน้ี ได้กล่าวถึงความหมาย ความสาคัญของการประกันภัย ประเภทของการ
ประกันภัยที่แบ่งประเภทออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ ประกันชีวิต (Life
Insurance) และ ประกันวินาศภัย (Non-life Insurance) นอกจากน้ีการประกันภัยยัง
สามารถจาแนกออกตามรูปแบบของความคุ้มครองหรือความรับผิดชอบ คือ จาแนกออกเป็น
การประกันภัยส่วนบุคคล การประกันภัยเกี่ยวกับทรัพย์สิน เช่น การประกันอัคคีภัย การ
ประกันภัยทางทะเลและขนส่ง การประกันภัยรถยนต์ เป็นต้น และการประกันภัยเก่ียวกับ
ความรับผิดตามกฎหมาย ซ่ึงเป็นการประกันภัยความรับผิดต่อสาธารณะ หรือความรับผิด
ตามกฎหมายต่อสาธารณชน ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของการประกันภัยชนิดใด ต่างก็ให้
ประโยชน์ทั้งกับผู้ทาประกัน ผู้รับทาประกัน สังคม เศรษฐกิจของประเทศชาติ การมีความ
ค้มุ ครองจากการประกนั ภยั เป็นการช่วยลดความเสย่ี งท่ีเกิดข้นึ หรอื อาจจะเกดิ ขึน้ ในภายภาค
หน้า โดยปกติ ตัวเลขของการประกันภยั (วดั จากเบ้ยี ประกนั ภัยรับของบริษทั ผู้รับทาประกัน)
จะเปน็ ดัชนชี ้วี ัดความก้าวหนา้ ของประเทศไดใ้ นระดับหนึ่ง โดยวัดเปรยี บเทยี บเป็นอัตราร้อย
ละของจานวนรายได้ประชาชาติ (GDP) ในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา
และแคนาดา มีรายได้เบ้ียประกันภัยรับต่อ GDP อยู่ที่ร้อยละ 11.20 (ข้อมูล ณ ปี พ.ศ.
2562) ประเทศเกาหลีใต้ อยู่ท่ีร้อยละ 10.80 ในขณะที่ประเทศไทยอยู่ที่รอ้ ยละ 5.00 (EMIS
Insights Industry Report, 2021)

บทที่ 1 ธุรกิจประกันภยั

28

1.9 คาถามท้ายบท

1. อธิบายความหมายของการประกนั ภยั

2. อธบิ ายประโยชนข์ องการประกันภยั ที่มีต่อบคุ คลและต่อองค์กร

3. อธิบายความสาคัญของการประกันภยั ตอ่ ความมั่นคงทางเศรษฐกจิ ของประเทศ

4. อธิบายความแตกต่างของการประกันชีวิตประเภทอุตสาหกรรม (Industrial life
Insurance) กับการประกนั ชีวิตประเภทกลมุ่ (Group Life Insurance)

5. ในกรณีที่ต้องการทาประกันท่ีมีความคุ้มครองภัยจากอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้น ท่ีอาจได้รับ
การบาดเจ็บเล็กน้อย บาดเจ็บสาหัส ทุพพลภาพ หรืออย่างร้ายแรงถึงขึ้นเสียชีวิต
หากผู้เอาประกันต้องการทาประกันภัยเพื่อคุ้มครองความสูญเสียดังกล่าว ควรเลือก
ทาประกนั ภัยประเภทใด

6. ในกรณีท่ีผู้ทาประกันภัยมีความกังวลเรื่องของความเจ็บไข้ได้ป่วย กังวลในเร่ืองค่า
รักษาพยาบาลท่ีอาจจะต้องจ่าย หรืออาจจะไม่สามารถจ่ายได้ แม้จะมีค่า
รักษาพยาบาลเบื้องต้นท่ีได้รับความคุ้มครองจากการทาประกันภัยที่บริษัทที่ทางาน
ทาให้ ผเู้ อาประกันควรเลือกทาประกนั ภัยชนิดใด

7. ความคุ้มครองถึงความเสียหายขณะขนส่งทางอากาศหรือทางบก ท่ีต่อเนื่องกับการ
ขนส่งทางทะเล เรยี กการประกันภยั ชนดิ น้ีว่าอย่างไร

8. อธิบายถึงเหตุผลว่าเพราะเหตุใดการทาประกันภัยจึงมีส่วนช่วยประเทศชาติให้เกิด
ความม่นั คง

9. อธิบายถึงดัชนีระดับสากลท่ีจะเป็นตัวช้ีวัดถึงการขยายตัวของการประกันภัย พร้อม
ยกตวั อยา่ ง

10. จากงบกาไรขาดทุนของธุรกิจประกันภัย รายได้รายการใดท่ีถือเป็นรายได้หลักของ
บริษทั ประกนั ภยั

11. คา่ ใช้จา่ ยรายการใดที่ถอื เป็นคา่ ใชจ้ ่ายหลักจากการดาเนนิ ธุรกิจประกันภยั

12. จากงบแสดงฐานะการเงิน รายการในสินทรัพย์รายการใด ท่ถี อื เป็นรายการหลักของ
ธุรกจิ ประกันภยั

13. อธิบายความหมายของรายการสารองประกันภัย ด้านหน้ีสิน ในงบแสดงฐานะ
การเงิน

14. อธบิ ายถงึ เหตุผลทาไมการทาประกนั ภยั จงึ เปน็ การบรหิ ารความเสย่ี ง

15. อธบิ ายเหตุผลทาไมผู้เส่ยี งภัยจึงรบั ภาระความเส่ยี งภยั เอาไวเ้ อง

16. อธิบายขอ้ ดขี องการโอนภาระความเสีย่ งภยั ไปยงั บริษัทประกนั ภัย
บทที่ 1 ธุรกจิ ประกันภัย


Click to View FlipBook Version