The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุรุษบูรพาวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by guy141055, 2022-05-23 09:22:44

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุรุษบูรพาวิทยาลัย

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุรุษบูรพาวิทยาลัย

194

คำอธบิ ายรายวชิ า

วิชา ว32223 เคมี 3 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาสมบัติของแก๊ส ความสัมพันธ์ปริมาตร อุณหภูมิ ความดัน จำนวนโมเลกุล ของแก๊สที่
สภาวะต่าง ๆ กฎของบอยล์ กฎของซาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก กฎรวมแก๊ส กฎของอโวกาโดร กฎแก๊ส
อุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส การแพร่ของแก๊ส กฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม ความหมายอัตราการ
เกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี อตั รากาเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมเี ฉลีย่ อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ณ ขณะหนึง่ ทฤษฎีการชน
ของแก๊ส ทฤษฎีสภาวะแทรนชิชัน ความเข้มข้น พื้นที่ผิวอุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีผลต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี ความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้และภาวะสมดุลปฏิกิริยาไปข้างหน้า ปฏิกิริยา
ยอ้ นกลบั ค่าคงทส่ี มดุล ความเข้มข้น ความดนั อณุ หภมู ทิ ่มี ผี ลต่อภาวะสมดุล หลักของเลอชาเตอลิเอ
โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การใชจ้ ำนวน การทดลอง การกำหนดและควบคุมตัวแปร
การสังเกต การวัด การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปใช้
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารสารสนเทศและการ
รู้เท่าทันสื่อ ความร่วมมือการทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ มีจิตวิทยาศาสตร์ ความใจกว้าง ความ
รอบคอบ การเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ความอยากรู้อยากเห็น ความซื่อสัตย์ การใช้วิจารณญาณ
ความเชอ่ื มนั่ ตอ่ หลักฐาน และความมีเหตุผล

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์และคำนวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ

ตามกฎของบอยล์กฎของซาร์ล กฎของเกย์-ลสู แชก
2. คำนวณปรมิ าตร ความดนั หรืออณุ หภูมิของแก๊สทีภ่ าวะต่าง ๆ ตามกฎรวมแก๊ส
3. คำนวณปริมาตร ความดัน อุณหภูมิจำนวนโมเลกุล หรือมวลของแก๊ส จากความสัมพันธ์

ตามกฎของอาโวกาโดร และกฎแก๊สอุดมคติ
4. คำนวณความดนั ยอ่ ยหรือจำนวนโมลของแก๊สในแก๊สผสม โดยใช้กฎความดันยอ่ ย
5. อธิบายการแพร่ของแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส คำนวณและเปรียบเทียบอัตราการ

แพรข่ องแก๊ส โดยใชก้ ฎการแพรผ่ ่านขอเกรแฮม
6. สืบค้นข้อมูล นำเสนอตัวอย่าง และอธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติและกฎ

ต่างๆ ของแก๊สในการอธบิ ายปรากฏการณ์ หรอื แก้ปญั หาในชวี ติ ประจำวันและในอตุ สาหกรรม
7. ทดลอง และเขยี นกราฟการเพ่มิ ขนึ้ หรือลดลงของสารที่ทำการวดั ในปฏิกริ ิยา

195

8. คำนวณอตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี และเขยี นกราฟการลดลงหรือเพ่ิมข้นึ ของสารท่ีไม่ได้วัด
ในปฏกิ ริ ยิ า

9. เขยี นแผนภาพ และอธบิ ายทิศทางการชนกันของอนุภาคและพลังงานทส่ี ่งผลต่ออัตราการ
เกดิ ปฏิกิริยาเคมี

10. ทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น อุณหภูมิ และตัวเร่ง
ปฏกิ ิรยิ าทีม่ ีต่ออัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

11. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสาร
ตง้ั ตน้ อณุ หภมู ิและตวั เรง่ ปฏิกริ ิยา

12. ยกตัวอย่าง และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันหรือ
อตุ สาหกรรม

13. ทดสอบ และอธบิ ายความหมายของปฏกิ ริ ิยาผนั กลบั ได้และภาวะสมดลุ
14. อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และ
อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาย้อนกลับ เมื่อเริ่มปฏกิ ิรยิ าจนกระทั่งระบบอยู่ในภาวะสมดลุ
15. คำนวณคา่ คงทีส่ มดุลของปฏิกิริยา
16. คำนวณความเข้มข้นของสารที่ภาวะสมดลุ
17. คำนวณค่าคงท่ีสมดลุ หรอื ความเข้มขน้ ของปฏิกริ ยิ าหลายขัน้ ตอน
18. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและค่าคงที่สมดุลของระบบ รวมทั้งคาดคะเนการ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกดิ ขึน้ เมอ่ื ภาวะสมดุลของระบบถูกรบกวน โดยใช้หลักของเลอชาเตอลเิ อ
19. ยกตวั อยา่ ง และอธบิ ายสมดุลเคมีของกระบวนการที่เกิดขนึ้ ในสง่ิ มชี ีวติ ปรากฏการณ์ ใน
ธรรมชาตแิ ละกระบวนการในอตุ สาหกรรม
รวม 19 ผลการเรยี นรู้

196

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว32224 เคมี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด-ลาวรี และลิวอิส คำนวณความสามารถใน
การแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส ค่า PH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอก
ไซด์ไอออนของสารละลายกรดและเบส ศึกษาปฏิกิริยาสะเทินและปฏิกิรยิ าไฮโดรลิซิสของเกลือ การ
ไทเทรต และการเลือกใช้อินดิเคเตอร์ คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือ
เบสจากการไทเทรต ศึกษาสมบัติและองค์ประกอบของสารละลายบัฟเฟอร์ รวมทั้งการนำความรู้
เกยี่ วกับกรด-เบสไปใช้ประโยชน์

ศึกษาเลขออกชิเดชัน ปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดซ์ ครึ่งปฏิกิริยาออกชิเดชันและ
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์ เปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัว
ออกซิไดซ์ การเขียนและดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลขออกชิเดชันและวธิ ีครึ่งปฏิกิริยา ศึกษาเซลล์
เคมีไฟฟ้าและการเขียนแผนภาพเซลล์คำนวณคา่ ศักย์ไฟฟา้ มาตรฐานของเซลล์ ศึกษาหลักการทำงาน
ของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ติยภูมิ หลักการทางเคมีไฟฟ้าที่ใช้ในการชุบโลหะ การแยกสารเคมีด้วย
กระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้บริสุทธ์ิและการป้องกันการกัดกรอ่ นของโลหะ รวมท้งั ความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยที ่เี กี่ยวข้องกับเซลลเ์ คมไี ฟฟา้ ในชวี ิตประจำวัน

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต วิเคราะห์เปรียบเทียบ อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถใน
การตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคดิ และการแก้ปัญหาด้านการส่ือสาร สามารถสื่อสารสิ่งทเ่ี รียนร้แู ละนำ
ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคณุ ธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. ระบแุ ละอธบิ ายวา่ สารเปน็ กรดหรือเบส โดยใชท้ ฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนยี ส เบรนิ วเตด-

ลาวรีและลิวอิส
2. ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี
3. คำนวณและเปรียบเทียบความสามารถในการแตกตัวหรอื ความแรงของกรดและเบส
4. คำนวณคา่ pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรอื ไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลาย

กรดและเบส

197

5. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกริ ิยาสะเทนิ และความเป็นกรด-เบสของสารละลาย
6. เขยี นปฏิกริ ยิ าไฮโดรลิซิสของเกลอื และระบุความเปน็ กรด-เบสของสารละลายเกลือ
7. ทดลองและอธิบายหลักการการไทเทรต และเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับการ
ไทเทรตกรด-เบส
8. คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มขน้ ของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต
9. อธบิ ายสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชนข์ องสารละลายบฟั เฟอร์
10. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับกรด-เบส
11. คำนวณเลขออกซเิ ดชัน และระบุปฏกิ ริ ยิ าทีเ่ ปน็ ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์
12. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันและระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์ รวมท้ัง
เขยี นครึ่งปฏิกริ ยิ าออกชิเดชนั และครึ่งปฏกิ ริ ยิ ารดี กั ชนั ของปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์
13. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดซ์ และเขียน
แสดงปฏกิ ริ ิยารดี อกซ์
14. ดลุ สมการรดี อกซ์ด้วยการใช้เลขออกซิเดชันและวิธคี รงึ่ ปฏิกริ ยิ า
15. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้า และเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่แอโนดและ
แคโทด ปฏกิ ิริยารวม และแผนภาพเซลล์
16. คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์และระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟ้า ขั้วไฟฟ้า
และปฏิกิรยิ าเคมที เี่ กดิ ขึน้
17. อธิบายหลกั การทำงาน และเขยี นสมการแสดงปฏกิ ิรยิ าของเซลล์ปฐมภูมิและเชลลต์ ิยภูมิ
18. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า และอธิบายหลักการทางเคมีไฟฟ้าท่ี
ใช้ในการชุบโลหะการแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้บริสุทธิ์ และการป้องกันการกัด
กรอ่ นของโลหะ
19. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์
เคมีไฟฟ้าในชีวิตประจำวนั
รวม 19 ผลการเรียนรู้

198

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว32243 ชวี วิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างเนื้อเยื่อและหน้าที่ ส่วนลำต้น และรากของพืช การเจริญเติบโต
ของส่วนลำต้นราก ของพชื โครงสรา้ งของดอก การสร้างเซลล์สบื พันธ์ขุ องพืชดอก การถา่ ยละอองเรณู
การปฏสิ นธิ และวัฏจักรของพชื การเกดิ ผล เมล็ด และการงอกของเมลด็ โครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของใบ
การค้นคว้าเกี่ยวข้องกับกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงแรงวัตถุที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสง การแลกเปลี่ยนก๊าซ การคายน้ำ การลำเลียงสารในพืช การควบคุมการ
เจริญเติบโตของพชื และการรตอบสนองของพชื ต่อส่งิ แวดล้อม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การวิเคราะห์ การ
เปรียบเทียบ การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความที่จะนำความรู้ไปใช้
ในชวี ิตประจำวัน มจี รยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืช และเขียนแผนผงั เพ่ือสรปุ ชนดิ ของเน้อื เยือ่ พชื
2. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเล้ียงเดี่ยว และรากพืชใบ

เล้ียงคจู่ ากการตดั ตามขวาง
3. สงั เกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของลำต้นพชื ใบเล้ยี งเดย่ี ว และลำต้นพืช

ใบเลี้ยงคจู่ ากการตดั ตามขวาง
4. สังเกต และอธิบายโครงสรา้ งภายในของใบพชื จากการตดั ตามขวาง
5. สบื ค้นข้อมลู สงั เกต และอธบิ ายการแลกเปล่ียนแก๊สและการคายนำ้ ของพชื
6. สบื คันขอ้ มูล และอธิบายกลไกการลำเลยี งนำ้ และธาตุอาหารของพชื
7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสำคัญของธาตุอาหารและยกตวั อย่างธาตุอาหารทีส่ ำคัญที่มีผล

ต่อการเจริญเตบิ โตของพชื
8. อธิบายกลไกการลำเลยี งอาหารในพชื
9. สืบค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับ

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
10. อธิบายขัน้ ตอนทเี่ กดิ ข้ึนในกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื C

199

11. เปรยี บเทยี บกลไกการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพชื C3 พืช C4 และ พชื CAM
12. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปปัจจัยความเข้มของแสง ความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซดแ์ ละอณุ หภูมทิ ี่มีผลตอ่ การสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื
13. อธิบายวัฏจกั รชีวิตแบบสลบั ของพืชดอก
14. อธิบาย และเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียของพืชดอก
และอธบิ ายการปฏสิ นธิของพืชดอก
15. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอกโครงสร้างของเมล็ดและผล และ
ยกตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงสร้างต่าง ๆ ของเมลด็ และผล
16. ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของ
เมลด็ และบอกแนวทางในการแกส้ ภาพพักตัวของเมล็ด
17. สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหน้าที่ของออกชิน ไซโทไคนิน เอทิลีนและกรดแอบไซ
ซกิ และอภิปรายเกี่ยวกับการนำไปใช้ประโยชนท์ างการเกษตร
18. สืบค้นขอ้ มูล ทดลอง และอภิปรายส่งิ เรา้ ภายนอกที่มีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพชื
รวม 18 ผลการเรียนรู้

200

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว32244 ชีววทิ ยา 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมงจำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ ขบวนการและวิธีการเอาอาหารเข้าสู่เซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ประเภทการย่อยอาหารในสิ่งมีชีวิต เปรียบเทียบโครงสร้าง หน้าที่ใน
ระบบย่อยอาหารของสัตว์มกี ระดกู สนั หลงั และมนุษย์ ขบวนการสลายสารอาหารระดบั เซลล์ เพอื่ ให้ได้
พลังงาน โครงสร้างการหายใจของสิ่งมีชีวิตและขบวนการควบคุมการแลกเปลี่ยนแก๊สในมนุษย์
โครงสร้างระบบขับถ่ายของสิ่งมีชีวิต ขบวนการลำเลียงสารเข้า-ออกจากเซลล์ร่างกาย โครงสร้าง
หน้าท่ีของระบบลำเลียงสารในรา่ งกายสว่ นประกอบของเลือดหมเู่ ลือด โครงสรา้ งหนา้ ท่ีและกลไกการ
ทำงานของระบบภูมคิ มุ้ กันโรคของมนุษย์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. สบื คน้ ข้อมลู อธิบาย และเปรยี บเทียบโครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ท่ีไม่

มีทางเดินอาหาร สัตว์ท่มี ีทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณแ์ ละสัตวท์ ม่ี ที างเดินอาหารแบบสมบรู ณ์
2. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของไฮดราและพลานาเรียสงั เกต อธบิ าย และเปรียบเทียบ
3. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่และกระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหาร

ภายในระบบยอ่ ยอาหารของมนษุ ย์
4. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของฟองน้ำ

ไฮดราพลานาเรยี ไส้เดอื นดิน แมลง ปลา กบ และนก
5. สงั เกต และอธบิ ายโครงสรา้ งของปอดในสตั ว์เลยี้ งลกู ดว้ ยน้ำนม
6. สืบค้นข้อมูล โครงสร้างท่ีใช้ในการเปลี่ยนแก๊ส และการแลกเปลย่ี นแกส๊ ของมนษุ ย์
7. อธิบายการทำงานของปอด และวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์
8. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียน

เลอื ดแบบปิด

201

9. สังเกต และอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดในหาง
ปลาและสรุปความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขนาดของหลอดเลือดกบั ความเร็วในการไหลของเลอื ด

10. อธบิ ายโครงสร้างและการทำงานของหัวใจและหลอดเลอื ดในมนุษย์
11. สังเกต และอธิบายโครงสร้างหัวใจของสัตว์เลี้ยงลกู ด้วยน้ำนม ทิศทางการไหลของเลือด
ผ่านหวั ใจของมนุษยแ์ ละเขยี นแผนผงั สรุปการหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
12. สบื ค้น ความแตกต่างของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาวเพลตเลต และพลาสมา
13. อธบิ ายหมู่เลอื ดและหลักการใหแ้ ละรบั เลอื ดในระบบ ABO และระบบ Rh
14. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของน้ำเหลือง รวมทั้งโครงสร้างและ
หน้าท่ขี องหลอดน้ำเหลอื ง และต่อมนำ้ เหลอื ง
15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบ
ไม่จำเพาะและแบบจำเพาะ
16. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบาย และเปรยี บเทียบการสร้างภมู คิ ุ้มกนั ก่อเองและภมู ิคุ้มกันรบั มา
17. สืบค้นข้อมูล และอธิบายเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิดเอดส์
ภูมิแพ้การสรา้ งภมู ิต้านทานตอ่ เนื้อเยอ่ื ตนเอง
18. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ าย และเปรียบเทยี บโครงสร้างและหน้าท่ีในการกำจัดของเสียออกจาก
รา่ งกายของฟองนำ้ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดอื นดนิ แมลง และสตั วม์ ีกระดกู สนั หลัง
19. อธิบายโครงสร้างและหนา้ ท่ีของไต และโครงสร้างทใ่ี ชล้ ำเลียงปสั สาวะออกจากรา่ งกาย
20. อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยต ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียน
แผนผงั สรุปขั้นตอนการกำจดั ของเสยี ออกจากร่างกายโดยหน่วยไต
21. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย เกีย่ วกบั ความผิดปกตขิ องไตอันเนอ่ื งมาจากโรคต่าง ๆ
รวม 21 ผลการเรียนรู้

202

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว32281 การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยี 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาความหมายของนวัตกรรม ความสัมพันธ์รูปแบบของเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระบบ
ทางเทคโนโลยีกระบวนการเทคโนโลยี องค์ประกอบสัมพันธ์กับกระบวนการทางเทคโนโลยี การ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม สะเต็มศึกษา โครงงานสะเต็ม การทำโครงงาน การประยุกต์ใช้ความรู้และ
ทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรในการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงาน เพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน
การทำโครงงานออกแบบและเทคโนโลยี ผลงานโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีและการพัฒนา
อยา่ งยง่ั ยนื

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
และอาศยั ซอฟต์แวร์และฮารด์ แวรม์ าชว่ ยในการออกแบบ เน้นใหผ้ ้เู รียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการ
คดิ เผชิญสถานการณ์การแกป้ ัญหาวางแผนการเรียนรู้และนำเสนอผา่ นการทำกจิ กรรมโครงงาน

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา นำไปสู่การสร้างต้นแบบ
ตลอดจนนำกระบวนการเทคโนโลยีมาช่วยในการออกแบบชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์ โดยการบูรณาการ
สะเต็มศกึ ษามาช่วยในการทำงาน เพ่ือเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการดำรงชวี ิต รวมทั้งคำนึงถึงทรัพย์สินทาง
ปัญญา นำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ
การดำรงชีวิต และความสามารถในการตัดสินใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอังพึงประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มุ่งมั่นในการทำงาน และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่าง
สร้างสรรค์

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของนวตั กรรมได้
2. สามารถอธบิ ายความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมได้
3. นักเรียนมีทักษะในการใช้โปรแกรมกราฟิกสำเร็จรูปในการทำงานออกแบบ Infographic

สร้างชน้ิ งานโดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์
4. นักเรยี นสามารถเลือกใชโ้ ปรแกรม 3 มติ ิ ชว่ ยในการออกแบบช้ินงานได้
5. ปฏบิ ตั ิการจดั ทำโครงงานบรู ณาการสะเต็มโดยใช้เชิงวศิ วกรรมมาชว่ ยในการทำงาน

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

203

คำอธบิ ายรายวชิ า

วิชา ว32282 การแกป้ ญั หาเชิงคำนวณ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศึกษาหลักการโปรแกรมขั้นพื้นฐาน การเขียนโปรแกรมภาษาในการวิเคราะห์ข้อมูลจำนวน
มาก โดยใช้ภาษา Python และใช้ไลบราลี่ ต่างๆ เช่น Pandas, Matplotlib และ NumPy ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมาก เขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาหรือสร้างชิ้นงาน และศึกษากระบวนคิด
สร้างสรรค์ในการออกแบบกราฟิกที่เป็นการสื่อสารผ่านภาพ โดยเน้นหลักการพื้นฐานทฤษฎี การ
ออกแบบ ทฤษฎีสุนทรียภาพทางศิลปะ ทฤษฎีสี หลักการจัดวางองค์ประกอบในงานออกแบบ การ
จัดรูปแบบตัวอักษร การฝึกใช้ความคิดและจินตนาการในการแก้ไขปัญหาทางการสื่อสาร ทฤษฎีการ
สร้างสารสนเทศทางกราฟกิ สารสนเทศและทำใหเ้ ห็นภาพเชิงสร้างสรรคใ์ นรปู แบบดิจิทัล

โดยอาศัยกระบวนการแก้ปัญหาดว้ ยการปฏิบัติการเขียนโปรแกรม กระบวนคิดสร้างสรรค์ใน
การออกแบบกราฟิกที่เป็นการสื่อสารผ่านภาพแนวทางการพัฒนาโครงงานที่ใช้การเขียนโปรแกรม
เพือ่ แกป้ ญั หาหรอื สร้างชน้ิ งานนำเสนอช้ินงานและผลงานในรูปแบบทเ่ี หมาะสม

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ เห็นคุณค่าในการใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินการ
เรยี นรดู้ ้วยตนเอง คดิ แก้ปัญหา และรว่ มมอื กนั พฒั นาชน้ิ งานอย่างมีจิตสำนกึ มคี วามรับผิดชอบ และมี
ความม่งุ มั่นในการทำงานและเกิดทกั ษะในการนำเสนองานในรูปแบบกราฟิก

ผลการเรียนรู้
1. สามารถใชโ้ ปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ในการวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนา การทำนายเชงิ ตวั เลข

การทำนายเชิงหมวดหมู่ โดยใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์และสถิติพนื้ ฐาน
2. การทำข้อมูลให้เป็นภาพ โดยใช้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ในการออกแบบงานเป็น

Infographic เพอื่ งา่ ยต่อการศกึ ษาขอ้ มูลและเข้าใจง่าย
รวม 2 ผลการเรียนรู้

204

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว33205 ฟสิ ิกส์ 5 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศกึ ษาหลกั การของแม่เหลก็ ไฟฟ้า สนามแมเ่ หล็ก ฟลักซแ์ ม่เหล็ก การเคลือ่ นที่ของอนุภาคใน
สนามแม่เหล็ก แรงกระทำต่อลวดตัวนำท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่าน เมื่อวางอยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก
สนามแมเ่ หล็กท่เี กดิ จากกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นลวดตวั นำ แกลแวนอมิเตอร์ มอเตอรก์ ระแสตรง กระแส
เหนี่ยวนำ กฎการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์และกฎของเลนซ์ หลักการของเครื่องกำเนิด
ไฟฟ้า หมอ้ แปลงวงจรพ้ืนฐานของไฟฟ้ากระแสสลับ การแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง
ลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรซ์ แสงโพลาไรซ์เชิงส้น แผ่นโพลารอยด์ การนำ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ตา่ ง ๆ ไปประยุกต์ใช้รวมทัง้ การส่ือสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า
ความดันในของไหลและกฎพาสคัล แรงพยุงและหลักอาร์คิมีดีสความตึงผิว การเคลื่อนที่ในของไหล
สมบตั ิของของไหลในอดุ มคติ สมการความตอ่ เนือ่ ง และสมการแบร์นลู ลี

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต การวิเคราะห์ การอภปิ ราย การอธิบายและการสรุปผล เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความรู้ ความคิด และ
ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเอง
ตลอดจนมจี ติ วิทยาศาสตรจ์ ริยธรรม และค่านยิ มทีถ่ ูกตอ้ ง

ผลการเรียนรู้
1. สังเกตและอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคำนวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณท่ี

กำหนด รวมทง้ั สังเกตและอธบิ ายสนามแม่เหล็กท่ีเกิดจากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นำเสน้ ตรง
2. อธิบายและคำนวณแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ใน

สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก
รศั มีความโคง้ ของการเคลื่อนที่เมื่อประจุเคล่ือนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายแรงระหว่าง
เสน้ ลวดตวั นำคูข่ นานทมี่ กี ระแสไฟฟา้ ผา่ น

3. อธิบายหลกั การทำงานของแกลแวนอมเิ ตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคำนวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้อง

4. สงั เกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนย่ี วนำ กฎการเหน่ียวนำของฟาราเดย์ และคำนวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนำความรู้เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำไปอธิบายการทำงานของ
เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้

205

5. อธบิ ายและคำนวณความต่างศักย์อารเ์ อ็มเอสและกระแสไฟฟา้ อารเ์ อ็มเอส
6. อธิบายหลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การแปลง
อเี อม็ เอฟของหม้อแปลงและคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง
7. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรซ์ แสงโพลาไรซ์
เชิงเส้น และแผ่นโพลารอยด์ รวมทั้งอธิบายการนำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไป
ประยกุ ตใ์ ช้และหลกั การทำงานของอปุ กรณท์ เี่ กี่ยวข้อง
8. สืบค้นและอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและ
เปรยี บเทียบการสื่อสารด้วยสญั ญาณแอนะล็อกกบั สญั ญาณดิจทิ ลั ได้
9. อธบิ ายและคำนวณความดนั เกจ ความดันสมั บูรณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทัง้ อธบิ าย
หลักการทำงานของแมนอมิเตอร์ บารอมเิ ตอร์ และเครอ่ื งอดั ไฮดรอลกิ
10. ทดลอง อธบิ าย และคำนวณขนาดของแรงพยงุ จากของไหล
11. ทดลอง อธบิ าย และคำนวณความตึงผิวของของเหลว รวมทั้งสังเกตและอธิบายแรงหนืด
ของของเหลว
12. อธิบายสมับติของของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลลี รวมทั้ง
คำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เกี่ยวกบั สมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไป
อธิบายหลักการทำงานของอุปกรณ์ตา่ งๆ
รวม 12 ผลการเรียนรู้

206

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว33206 ฟสิ ิกส์ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 80 ช่ัวโมง จำนวน 2.0 หนว่ ยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายสภาพยืดหยุ่นของวัสดุ ความเค้น ความเครียด ความร้อน
อุณหภูมิ ความจุความร้อน การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน สถานะและการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสารการถ่ายโอนความร้อน แก๊สอุดมคติ กฎของบอลย์ กฎของซาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
กฎของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส อัตราเร็ว
ของโมเลกลุ แก๊ส พลังงานภายในระบบกฎขอ้ ท่ีหนง่ึ ของอุณหพลศาสตร์ การประยุกต์เกย่ี วกับอุณหพล
ศาสตร์ ฟิสกิ ส์อะตอม อะตอมและการค้นพบอะตอมอิเล็กตรอน รงั สแี คโทด การทดลองของทอมสัน
การทดลองของมิลลิแกน แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอมของทอมสัน แบบจำลองอะตอมของ
รัทเทอร์ฟอร์ด สเปกตรัมของอะตอม สเปกตรัมของอะตอมของแก๊ส การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจาก
วัตถุดำ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ระดับพลังงานของอะตอม การทดลองของฟรังก์และเฮิรตช์รังสีเอ็กซ์
ความไมส่ มบูรณ์ของทฤษฎอี ะตอมของโบร์ ทวิภาวะของคลน่ื และอนภุ าคปรากฏการณโ์ ฟโตอิเล็กทริก
ปรากฏการณ์คอมตัน สมมุติฐานของเดอบรอยล์ กลศาสตร์ควอนตัม หลักความไม่แน่นอนของไฮเชน
เบิร์กโครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม ฟิสิกส์นิวเคลียร์ การค้นพบกัมมันตภาพรังสี
การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส องค์ประกอบของนิวเคลียส การค้นพบนิวตรอน การสลายของนิวเคลียส
กัมมันตรังสี ไอโชโทปเสถียรภาพของนิวเคลียส แรงนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนี่ยว ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ฟิชชัน ฟิวชัน ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและการใช้พลังงานนิวเคลียร์รังสีในธรรมชาติ อันตราย
จากรังสกี ารและการป้องกัน การค้นคว้าวิจยั และประโยชน์ดา้ นฟสิ ิกส์อนภุ าค

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสบื ค้นขอ้ มูล การสงั เกต การ
วิเคราะห์การอภปิ ราย การอธิบาย การสรุปผล เพื่อให้ผู้เรยี นเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตดั สนิ ใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตตนเองตลอดจนมีจติ วิทยา
ศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ถี กู ตอ้ ง

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายสภาพยืดหยนุ่ และลักษณะการยืดและหดตวั ของวสั ดุที่เป็นแท่ง เม่ือถูกกระทำด้วย

แรงค่าต่าง ๆ รวมทั้งทดลอง อธิบาย และคำนวณความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาว และนำ
ความรเู้ รื่องสภาพยืดหยุน่ ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน

207

2. อธิบายและคำนวณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความร้อนที่ทำให้สารเปลี่ยน
สถานะ และความร้อนท่เี กิดจากการถา่ ยโอนตามกฎการอนุรกั ษ์พลังงาน

3. อธบิ ายกฎของแก๊สอุดมคติและคำนวณหาปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
4. อธิบายแบบจำลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของ
โมเลกุลแกส๊ รวมทง้ั คำนวณหาปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง
5. อธิบายและคำนวณงานที่ทำโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความร้อน พลังงานในระบบ และงาน รวมทั้งคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่
เกยี่ วข้องและนำความรเู้ รื่องพลงั งานในระบบ ไปอธิบายหลักการทำงานของเครือ่ งใช้ในชีวติ ประจำวนั
6. อธิบายสมมติฐานของพลัง ทฤษฎีอะตอมของโบร์ และการเกิดสเปกตรัมของอะตอม
ไฮโดรเจน รวมท้ังคำนวณหาปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง
7. อธิบายปรากฏการณ์ฟโตอิเล็กทริกและคำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโต
อเิ ล็กตรอน และฟังก์ชนั งานของโลหะ
8. อธิบายทวภิ าวะของคล่ืนและอนภุ าค รวมทงั้ อธบิ ายและคำนวณความยาวคลื่นเดอบรอยล์
9. อธบิ ายกัมมนั ตภาพรงั สีและความแตกต่างของรังสแี ลฟา บตี า และแกมมา
10. อธิบายและคำนวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทั้งทดลอง อธิบาย และ
คำนวณจำนวนนวิ เคลียสกัมมนั ตภาพรังสที ี่เหลอื จากการสลายและคร่ึงชวี ติ
11. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียส และพลังงานยืดเหนี่ยว รวมทั้งคำนวณ
ปรมิ าณตา่ งๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง
12. อธบิ ายปฏกิ ิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน และฟิวชัน รวมทัง้ คำนวณพลังงานนวิ เคลยี ร์
13. อธบิ ายประโยชน์ของพลงั งานนวิ เคลยี ร์และรังสี รวมท้งั อันตรายและการป้องกันรังสี
14. อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคแบบจำลองมาตรฐานและการใช้ประโยชนจ์ าก
การคน้ ควา้ วิจยั ด้านฟิสิกสอ์ นภุ าคในด้านต่าง ๆ
รวม 14 ผลการเรียนรู้

208

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว33225 เคมี 5 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามที่พบใน
ชีวิตประจำวัน เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นของ
สารประกอบอินทรีย์ วิเคราะห์โครงสร้างและระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน
เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทตา่ ง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่ตาม
ระบบ IUPAC เขียนไอโชเมอร์โครงสร้างของสารประกอบต่าง ๆ วิเคราะห์และเปรียบเทียบจุดเดือด
และการละลายในน้ำของสารประกอบอนิ ทรยี ท์ ี่มีหมู่ฟงั ก์ชนั ขนาดโมเลกลุ หรอื โครงสร้างต่างกัน ระบุ
ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และเขียนผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ปฏิกิริยากับ
โบรมนี หรือปฏิกริ ยิ ากบั โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเน็ต เขียนสมการเคมีและอธบิ ายการเกดิ ปฏิกริ ิยาเอ
สเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน
ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน และการนำ
สารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและอุตสาหกรรม ระบุประเภทของปฏิกิริยาการ
เกดิ พอลเิ มอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรือพอลิเมอร์ วเิ คราะห์และอธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่าง
โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์ ทดสอบและระบุประเภทของ
พลาสติกและผลิตภัณฑ์ยาง รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์ อธิบายผลของการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
และการสังเคราะห์พอลเิ มอรท์ ี่มีตอ่ สมบัตขิ องพอลิเมอร์ สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างผลกระทบ
จากการใช้และการกำจดั ผลติ ภณั ฑ์พอลิเมอรแ์ ละแนวทางแก้ไข

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถ
ตัดสินใจได้เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้และหลักการนำไปใช้ประโยชน์อย่าง
สร้างสรรค์ เชื่อมโยงอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ สามารถจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหา มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ มีจิตวิทยาศาสตร์เห็น
คณุ คา่ ของวทิ ยาศาสตรต์ ลอดจนมจี รยิ ธรรม คณุ ธรรมและการมวี นิ ัย ไฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีพันธะเด่ียว พันธะคู่ หรือพันธะ

สามทพี่ บในชีวติ ประจำวนั

209

2. เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นของ
สารประกอบอนิ ทรยี ์

3. วิเคราะห์โครงสรา้ ง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอินทรียจ์ ากหมู่ฟังก์ชนั
4. เขยี นสตู รโครงสร้างและสารประกอบอนิ ทรยี ป์ ระเภทต่าง ๆ ทม่ี หี มูฟ่ งั กช์ นั
5. เขยี นไอโชเมอโครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ป์ ระเภทต่าง ๆ
6. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่
ฟังกช์ นั ขนาดโมเลกุล หรือโครงสรา้ งต่างกนั
7. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและเขยี นผลิตภณั ฑจ์ ากปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้
ปฏิกิริยากับโบรมนี หรือปฏิกริ ิยากบั โพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเน็ต
8. เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอ
ไมด์ปฏกิ ิริยาไฮโดรลซิ สิ และปฏกิ ิรยิ าสะปอนนิฟเิ คชัน
9. ทดสอบปฏกิ ิริยาเอสเทอรฟิ เิ คชัน ปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลิซิส และปฏิกริ ิยาสะปอนนฟิ ิเคชัน
10. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ใน
ชวี ิตประจำวนั และ
11. ระบปุ ระเภทของปฏกิ ิรยิ าการเกิดพอลิเมอรจ์ ากโครงสร้างของมอนอิ เมอร์หรือพอลเิ มอร์
12. วิเคราะห์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมท้ัง
การนำไปใช้
13. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสติกและผลติ ภณั ฑ์ยาง รวมท้งั การนำไปใชป้ ระโยชน์
14. อธิบายผลของการเปลี่ยนโครงสร้าง และการสังเคราะหพ์ อลิเมอรข์ องพอลเิ มอร์
15. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และการกำจัดผลิตภัณฑ์พอลิ
เมอรแ์ ละแนวทางแก้ไข
รวม 15 ผลการเรยี นรู้

210

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว33226 เคมี 6 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

การศึกษา กำหนดปัญหาและนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจาก
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรม แสดงหลักฐานถึงการบรู
ณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น โดยเน้นการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาและความคิด
สร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจนำเสนอ ผลงานหรือชิ้นงานที่ได้จากการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แสดงหลักฐานการเข้าร่วม
การสัมมนาการเข้าร่วมประชุมวิชาการหรือการแสดงผลงานส่ิงประดิษฐ์ในงานนิทรรศการ ใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนำเสนอ และแบ่งปันขอ้ มูลอย่างปลอดภยั

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม การสืบเสาะหา
ความรู้การตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์และการอภิปรายรวมทั้งทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ใหเ้ กิดความร้คู วามเขา้ ใจ ความคิด สามารถส่อื สารสิ่งทเี่ รยี นรู้ สามารถตัดสนิ ใจได้
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์
เชื่อมโยงอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ สามารถจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหา มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ มีจิตวิทยาศาสตร์เห็นคุณค่าของ
วทิ ยาศาสตร์ตลอดจนมีจริยธรรม คุณธรรมและการมีวินยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน

ผลการเรยี นรู้
1. กำหนดปญั หา และนำเสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหาโดยใชค้ วามรู้ทางเคมีจากสถานการณ์

ทีเ่ กิดขึน้ ในชวี ิตประจำวนั การประกอบอาชพี หรอื อตุ สาหกรรม
2. แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการวิเคราะห์ การ
แกไ้ ขปัญหาและความคดิ สร้างสรรคเ์ พื่อแก้ปญั หาในสถานการณห์ รือประเด็นท่ีสนใจ

3. นำเสนอผลงานหรอื ช้นิ งานที่ไดจ้ ากสถานการณ์หรือประเด็นทส่ี นใจโดยใช้เทคโนโลยี
4. แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงาน
สิง่ ประดษิ ฐ์ในงานนทิ รรศการ
รวม 4 ผลการเรียนรู้

211

คำอธบิ ายรายวชิ า

วิชา ว33245 ชวี วทิ ยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทของสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลัง และสัตว์มีกระดูก
สันหลงั บางชนดิ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลลป์ ระสาท การเปล่ียนแปลงศกั ด์ิไฟฟ้าทีเ่ ยื่อหุ้มเซลล์ของ
เซลล์ประสาทและกลไกการถ่ายทอดกระแสประสาท โครงสร้างของระบบประสาทส่วนกลางและ
ระบบประสาทรอบนอก โครงสรา้ งและหน้าทีข่ องสมองสว่ นหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลงั และ
ไขสันหลัง การทำงานของระบบประสาทโซมาติกและระบบประสาทอัตโนวัติ โครงสร้างและหน้าท่ี
ของอวัยวะรับสัมผัสของมนุษย์พร้อมยกตัวอย่างโรคที่เกี่ยวข้องและแนวทางในการป้องกันและรักษา
ตำแหน่งจุดบอดโฟเวียร์ ความไวในการรับสัมผัสของผิวหนัง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะที่
เกยี่ วข้องกบั การเคลื่อนที่ของสตั วไ์ ม่มีกระดูกสนั หลงั และสตั วม์ ีกระดกู สนั หลงั บางชนดิ โครงสร้างและ
หน้าที่ของกระดูกและกล้ามเนือ้ ทีเ่ กี่ยวของกับการเคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่ของมนษุ ย์ การทำงาน
ของข้อต่อและกล้ามเนื้อโครงร่างที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวของมนุษย์ การ
สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและอาศัยเพศในสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศ
ชายและเพศหญิง กระบวนการสร้างสเปิร์ม เชลล์ไข่และการปฏิสนธิในมนุษย์ การเจริญเติบโตใน
ระยะเอ็มบรโิ อและระยะหลังเอม็ บริโอของกบ ไก่และมนุษย์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสื
บเสาะหาความร้กู ารวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ สามารถสื่อสารส่งิ ทเี่ รียนรู้ นำ
ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใช้ในชีวิตประจำวัน ดูแลรกั ษาสิ่งมชี ีวิตอ่นื ๆ เฝ้าระวังและพฒั นาส่ิงแวดลอ้ มอย่างยั่งยืน
มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เทียบเคียง
มาตรฐานสากลและมศี กั ยภาพเปน็ พลโลก

ผลการเรยี นรู้
1. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทของไฮดรา

พลานาเรีย ไส้เดอื นดนิ กุ้ง หอย แมลงและสัตว์มีกระดกู สนั หลัง
2. อธิบายเกยี่ วกบั โครงสร้างและหนา้ ที่ของเชลลป์ ระสาท
3. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศักย์ฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเชลล์ของเซลล์ประสาทและกลไก

การถ่ายทอดกระแสประสาท

212

4. อธิบายและสรุปเก่ยี วกบั โครงสร้างของระบบประสาทสว่ นกลางและระบบประสาท
5. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องส่วนตา่ ง ๆ ในสมองสว่ นหน้าสมองส่วนกลาง
สมองส่วนหลังและไขสันหลัง
6. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบและยกตัวอย่างการทำงานของระบบประสาทโซมาติก
และระบบประสาทอตั โนมตั ิ
7. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของตา หู จมูก ลิ้นและผิวหนังของมนุษย์
ยกตัวอยา่ งโรคต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง และบอกแนวทางในการดูแลป้องกันและรักษา
8. สงั เกตและอธิบายของจดุ บอด โฟเวียและความไวในการรบั สมั ผสั ของผวิ หนงั
9. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลือ่ นทข่ี องแมงกะพรุน หมกึ ดาวทะเล ไสเ้ ดอื นดิน แมลง ปลาและนก
10. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าที่ของกระดูกและกลา้ มเน้ือท่ีเก่ียวข้องกับการ
เคลอ่ื นไหวและการเคล่อื นท่ขี องมนุษย์
11. สังเกตและอธิบายการทำงานของข้อต่อชนิดต่าง ๆ และการทำงานของกล้ามเนื้อโครง
ร่างท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การเคล่อื นไหวและการเคลอื่ นที่ของมนุษย์
12. สืบค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอย่างการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศในสตั ว์
13. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบสบื พนั ธุเ์ พศชายและระบบ
สบื พนั ธเ์ุ พศหญิง
14. อธิบายกระบวนการสร้างสเปิร์ม กระบวนการสร้างเชลลไ์ ข่และการปฏิสนธใิ นมนุษย์
15. อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตระยะเอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไกแ่ ละมนษุ ย์
16. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเขียนแผนผังสรุปหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเยอ่ื
ทสี่ รา้ งฮอร์โมน
17. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบและยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำเนิดและ
พฤติกรรมท่เี กดิ จากการเรียนรูข้ องสตั ว์
18. สบื ค้นข้อมูล อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมกบั ววิ ฒั นาการของระบบประสาท
19. สบื ค้นขอ้ มลู อธบิ ายและยกตัวอย่างการส่ือสารระหวา่ งสตั ว์ท่ที ำให้สัตวแ์ สดงพฤติกรรม
รวม 19 ผลการเรียนรู้

213

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว33246 ชวี วิทยา 6 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศกึ ษาความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ความเชือ่ มโยงระหว่างความหลากหลาย
ทางพนั ธุกรรมความหลากหลายทางสปชี สี ์และความหลากหลายของระบบนิเวศ การเกดิ เซลล์แรกเร่ิม
ของสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย โพรทิสต์ พืช ฟังไจและ
สัตว์ การจำแนกสิ่งมีชีวิตและการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์ในลำดับขั้นสปีชีส์ การสร้างไดโคโตมัสคีย์ใน
การระบุสิ่งมีชีวิต กระบวนการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ การเกิดและการลดการเกิดไบโอแมก
นิฟิเคชัน วัฎจักรไนโตรเจน วัฎจักรกำมะถันและวัฏจักรฟอสฟอรัสไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี
แบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ ลักษณะเฉพาะของประชากรของสิ่งมีชีวิตบางชนิด การเพิ่มของประชากร
แบบเอ็กโพแนนเซียลและแบบลอจสิ ติก การควบคุมการเตบิ โตของประชากร ทรัพยากรน้ำ ทรพั ยากร
อากาศทรัพยากรดิน ทรพั ยากรปา่ ไมแ้ ละทรพั ยากรสัตว์ปา่

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการ
สืบเสาะหาความรกู้ ารวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทมี
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ สามารถสอ่ื สารสิง่ ที่เรยี นรู้นำ
ความรู้ท่ีไดไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ดแู ลรกั ษาส่ิงมชี ีวิตอ่ืน ๆ เฝา้ ระวังและพัฒนาส่งิ แวดลอ้ มอย่างย่ังยืน
มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เทียบเคียง
มาตรฐานสากลและมีศกั ยภาพเป็นพลโลก

ผลการเรยี นรู้
1. อภิปรายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพและความเชื่อมโยงระหว่างความ

หลากหลายทางพันธกุ รรม ความหลากหลายของสปชี สี ์และความหลากหลายของระบบนเิ วศ
2. อธิบายการเกดิ เซลลเ์ ริม่ แรกของสงิ่ มชี ีวิตและววิ ัฒนาการของสง่ิ มีชวี ิตเซลล์เดียว
3. อธิบายลักษณะสำคัญและยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุ่มโพรพิสต์

สิ่งมีชีวิตกลมุ่ พชื ส่งิ มชี ีวิตกลมุ่ ฟงั ไจและสงิ่ มีชีวิตกลมุ่ สตั ว์
4. อธิบายและยกตัวอย่างการจำแนกสิ่งมีชีวิตจากหมวดหมู่ใหญ่จนถึงหมวดหมู่ย่อยและ

วิธกี ารเขยี นชอ่ื วิทยาศาสตร์ในลำดบั ขัน้ สปีซสี ์
5. สรา้ งไดโคโทมสั คียใ์ นการระบสุ ิ่งมชี ีวิตหรือตัวอย่างท่กี ำหนตออกเป็นหมวดหมู่
6. วเิ คราะห์ อธบิ ายและยกตัวอยา่ งกระบวนการถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ

214

7. อธิบาย ยกตัวอย่างการเกิดไบโอแมกนิฟิเคชันและบอกแนวทางในการลดการเกิดไบโอ
แมกนฟิ เิ คชั่น

8. สบื คน้ ข้อมลู และเขยี นแผนภาพ เพือ่ อธบิ ายวฎั จกั รไนโตรเจน วฏั จักรกำมะถันและวฎั จกั ร
9. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่างและอธิบายลักษณะของไบโอมที่กระจายอยู่ตามเขตภูมิศาสตร์
ตา่ งๆ บนโลก
10. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง อธิบายและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ
และการเปล่ียนแปลงแทนทแี่ บบทุติยภมู ิ
11. สืบค้นข้อมูล อธิบาย ยกตัวอย่างและสรุปเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของประชากรของ
ส่ิงมีชีวิตบางชนิด
12. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย เปรียบเทยี บและยกตัวอย่างการเพ่ิมของประชากรแบบเอ็กโพแนน
เซยี ล และการเพิม่ ของประชากรแบบลอจสิ ตกิ
13. อธบิ ายและยกตวั อย่างปัจจยั ทีค่ วบคุมการเติบโตของประชากร
14. วเิ คราะห์ อภิปรายและสรปุ ปญั หาการขาดแคลนนำ้ การเกิดมลพษิ ทางนำ้ และผลกระทบ
ที่มตี อ่ มนษุ ย์และสิ่งแวดลอ้ ม รวมทง้ั เสนอแนวทางการวางแผนการจัดการน้ำและการแกไ้ ขปญั หา
15. วิเคราะห์ อภิปรายและรูปปัญหามลพิษทางอากาศและผลกระทบที่มีต่อมนุษย์และ
ส่งิ แวดล้อมรวมทั้งเสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหา
16. วิเคราะห์ อภปิ รายและสรปุ ปญั หาทเ่ี กดิ กบั ทรัพยากรดนิ และผลกระทบท่มี ีต่อมนุษย์และ
ส่งิ แวดลอ้ มรวมท้ังเสนอแนวทางการแก้ไขปญั หา
17. วิเคราะห์ อภิปรายและสรุปปัญหา ผลกระทบที่เกิดจากการทำลายป่าไม้ รวมทั้งเสนอ
แนวทางในการปอ้ งกันการทำลายปา่ ไม้และการอนุรักษป์ ่าไม้
18. วิคราะห์ อภิปรายและสรุปปัญหา ผลกระทบที่ทำให้สัตว์ป่ามีจำนวนลดลงและแนวทาง
ในการอนรุ กั ษส์ ัตว์ป่า
รวม 18 ผลการเรียนรู้

215

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว31241 ชวี ภาพเพิม่ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาวิเคราะห์หน้าท่ีและความสำคญั ของสว่ นท่ีห่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียสและออแกเนลลต์ ่าง ๆ
ภายในเซลลก์ ารรักษาดุลยภาพของน้ำและสารและอุณหภมู ิภายในร่างกายมนษุ ย์ การรักษาดลุ ยภาพ
ของกรด-เบสของเลือดกลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบจำเพาะและแบบไม่จำเพาะ
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การตอบสนอง
ของพืชต่อสิ่งเร้า เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอวิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ปัญหาและ
ผลกระทบทมี่ ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 การสบื เสาะหาความรู้ การ
สำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เทียบเคียงมาตรฐานสากล ผู้เรียนมี
ศกั ยภาพเปน็ พลโลก

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายหนา้ ท่แี ละความสำคัญของสว่ นท่หี อ่ หมุ้ เซลล์ นวิ เคลยี สและออแกเนลล์ตา่ งๆ
2. อภิปรายกลไกการรักษาดลุ ยภาพน้ำและสารในเลอื ดโดยการทำงานของไต
3. อภปิ รายอุณหภมู ภิ ายในร่างกายโดยระบบหมนุ เวยี นเลือด ผิวหนงั และกล้ามเน้อื โครงรา่ ง
4. อภปิ รายกลไกการรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบส ของเลือดโดยการทำงานของไตและปอด
5. อภิปรายกลไกการต่อต้านหรือทำลายสง่ิ แปลกปลอม และระบบภมู ิคมุ้ กัน
6. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การ

ตอบสนองของพชื ตอ่ สิง่ เร้า
7. อภปิ รายการประยุกต์ใช้เทคโนโลยที างดเี อ็นเอ ความปลอดภยั ทางชีวภาพ
8. อธิบายและยกตัวอย่างการจำแนกหมวดหมู่ของสิ่งมชี ีวิตและวธิ กี ารเขียนชื่อวทิ ยาศาสตร์

ในลำดบั ขัน้ สปีชสี ์
9. อภิปรายปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางการ

อนรุ กั ษ์และแก้ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
รวม 9 ผลการเรยี นรู้

216

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว32249 วทิ ยาศาสตร์กายภาพฟสิ กิ ส์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 และ 2 เวลาเรียน 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์และแปลความหมายของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ระยะทาง การ
กระจัดอัตราเร็วความเร็ว ความเร่ง ลักษณะของแรง การหาแรงลัพธ์ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน การ
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลมและ ปริมาณที่เก่ียวข้องกับการเคลื่อนที่แบบ
วงกลม แรงสู่ศูนย์กลางความเร่งสู่ศูนย์กลาง การประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลม ในการ
อธิบายการเคลื่อนที่ของรถบนถนนโค้ง การแกว่งของวัตถุติดปลายเชือก การสั่นของวัตถุติดปลาย
สปริง แรงโน้มถ่วงและ สนามโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก ประโยชน์จาก
สนามโนม้ ถว่ ง การมองเหน็ สีของวัตถุ ตากบั การเห็นสี การบอดสี แผ่นกรองแสงสี การผสมแสงสี การ
ผสมสารสี การมองเหน็ สีของวตั ถุภายใตแ้ สงสีต่างๆ การนำไปใช้ประโยชน์ของสารสีและแสงสี

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
วิเคราะห์เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถใน
การตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
นำความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพื่อ

อธบิ ายความเร่งของวตั ถุ
2. สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ได้แก่การ

เคลอื่ นทแี่ นวตรงการเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทลก์ ารเคลื่อนท่ีแบบวงกลม และการเคลื่อนท่แี บบสน่ั
3. สบื ค้นขอ้ มลู และอธิบายแรงโน้มถ่วงที่เกย่ี วกับการเคลื่อนท่ีของวตั ถุตา่ งๆ รอบโลก
4. สังเกตและอธิบายการมองเหน็ สขี องวัตถแุ ละความผดิ ปกติในการมองเห็นสี
5. สังเกตและอธิบายการทำงานของแผ่นกรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และการ

นำไปใชป้ ระโยชนใ์ น ชีวติ ประจำวัน
รวม 5 ผลการเรียนรู้

217

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว32248 กายภาพเคมีเพิ่มเตมิ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ลักษณะธาตุและสารประกอบ แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
อิเล็กตรอน ชนิดของอนภุ าคมลู ฐานในอะตอม สัญลักษณ์นวิ เคลียรข์ องธาตุ การจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนใน
ระดับพลังงานต่าง ๆ บอกลักษณะของตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มความเป็นโลหะและอโลหะ
รวมถึงสมบตั ขิ องธาตใุ นตารางธาตุ อธิบายลักษณะการเกิดพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก พร้อม
ยกตัวอย่างและบอกสมบัติของสารประกอบ บอกความแตกต่างของสารประกอบอินทรีย์ประเภท
ไฮโดรคารบ์ อนอิม่ ตวั และไม่อมิ่ ตัว แสดงการเขียนสมการเคมี ปฏิกิรยิ าเคมีและอัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี คำนวณครึ่งชีวิตและ ปริมาณของสารกัมมันตรังสี อธิบายลักษณะและโครงสรา้ งของสารอินทรยี ์
ในอาหาร ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน รวมถึงเกลือแร่ บอกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวนั และผลติ ภัณฑพ์ อลิเมอรพ์ ลาสติก

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสำรวจ
ตรวจสอบ การอภิปราย การอธิบายและลงขอ้ สรปุ ให้นักเรียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรู้ได้ด้วยตนเอง
ใช้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกกระบวนการคิดเพื่อแก้ไขปัญหา ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่
ทนั สมยั เป็นส่ือในการเรยี นการสอน

เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรแู้ ละหลกั การไปใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งสร้างสรรค์
เชื่อมโยงอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ สามารถจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสนิ ใจแก้ปัญหา มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ มีจิตวิทยาศาสตร์เห็นคุณค่าของ
วทิ ยาศาสตร์ตลอดจนมีจรยิ ธรรม คุณธรรมและการมวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

ผลการเรยี นรู้
1. จำแนกธาตุและสารประกอบ และลักษณะการอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจาก

สูตรเคมี
2. บอกลกั ษณะแบบจำลองอะตอมของโบร์และแบบจำลองอะตอมกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน
3. เขยี นสัญลักษณ์นวิ เคลียร์ของธาตุ และระบชุ นิดจำนวนของอนภุ าคมลู ฐานในอะตอม
4. เขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ และใช้ข้อมูลในการระบุตำแหน่งของ

ธาตุในตารางธาตุ

218

5. บอกลักษณะของตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มความเป็นโลหะและอโลหะ รวมถึงสมบัติ
ของธาตุในตารางธาตุ

6. อธิบายลักษณะการเกิดพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก พร้อมยกตัวอย่างและบอก
สมบัติของสารประกอบ

7. ความแตกตา่ งของสารประกอบอินทรียป์ ระเภทไฮโดรคาร์บอนอ่ิมตวั และไม่อ่มิ ตัว
8. เขียนสมการเคมี ปฏิกิริยาเคมี และอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คำนวณครึ่งชีวิตและ
ปรมิ าณของสารกัมมันตรังสี
9. อธบิ ายลักษณะและโครงสรา้ งของสารอนิ ทรยี ์ในอาหาร
10. บอกผลติ ภัณฑป์ ิโตรเลียม เช้ือเพลิงในชีวิตประจำวัน และผลติ ภัณฑ์พอลเิ มอร์พลาสติก
รวม 10 ผลการเรยี นรู้

219

คำอธิบายรายวิชา

วิชา ว33250 โลกและอวกาศเพม่ิ เตมิ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 และ 2 เวลาเรยี น 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก รอยต่อระหว่างชั้นโครงสร้างพร้อมหลักฐาน
สนับสนนุ ศึกษาการเคล่อื นท่ีของแผน่ ธรณตี ามทฤษฎีธรณีแปรสันฐานพร้อมหลักฐานสนบั สนุน ศึกษา
สาเหตแุ ละรูปแบบ แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณีท่ีสัมพนั ธ์การเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี และหลักฐานท่ีเป็น
ผลจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีศึกษาสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากการเกิดภูเขาไฟระเบิด
แผ่นดินไหว และสึนามิ พร้อมแนวทางการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัย รวมทั้งอธิบายลำดับ
เหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยาในอดตี จากการใชห้ ลักฐานทพ่ี บในปจั จบุ นั

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
วิเคราะห์เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถใน
การตดั สินใจมที ักษะปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ รวมทง้ั ทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ในด้านการ
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการคิดและการแกป้ ัญหา ดา้ นการสื่อสาร สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้และ
นำความรูไ้ ปใช้ในชวี ิตของตนเอง มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายการแบ่งชนั้ และสมบัตขิ องโครงสร้างโลก พรอ้ มยกตวั อย่างข้อมูลที่สนับสนุน
2. อธบิ ายหลักฐานทางธรณีวิทยาทีส่ นับสนุนการเคลอ่ื นทข่ี องแผ่นธรณี
3. ระบุสาเหตุ และอธิบายแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

พร้อมยกตวั อย่างหลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาท่ีพบ
4. วิเคราะห์หลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบในปัจจุบัน และอธิบายลำดับเหตุการณ์ทาง

ธรณีวิทยาในอดตี
5. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบดิ และปัจจัยท่ีทำให้ความรุนแรงของการปะทุ

และรปู ร่างของภเู ขาไฟแตกต่างกนั รวมทงั้ สืบค้นขอ้ มลู พ้ืนท่ีเสีย่ งภัย
6. อธิบาสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมท้ัง

สบื คน้ ข้อมลู พ้นื ท่ีเสี่ยงภัย ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภยั
7. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิรวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย

ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบตั ิตนให้ปลอดภยั
รวม 7 ผลการเรียนรู้

220

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว31289 การออกแบบและพัฒนาเวบ็ 1 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ความรูใ้ นเรอ่ื งของเทคโนโลยีเว็บสำหรบั ฝง่ั ไคลเอนท์ กระบวนการออกแบบเว็บโดยมีผู้ใช้เป็น
ศูนย์กลางหลักการออกแบบเว็บ การออกแบบเว็บแบบปรับการนำเสนอได้เอง การออกแบบเว็บ
สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ การออกแบบเวบ็ สำหรบั แอพลิเคช่ันแบบคงหน้าจอเดยี ว การพัฒนาเว็บส่วน
เบ้ืองหน้าแบบมีปฏิสัมพนั ธ์ เฟรมเวิร์คและเครอื่ งมือเพือ่ การออกแบบและพัฒนาเว็บ

โดยอาศัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ การออกแบบและลงมือสร้าง
เว็บไซต์ เน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการฝึกฝน ผ่านกระบวนการปฏิบัติอย่างมีระบบเพื่อเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสร้างงานอยา่ งมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน
ด้านมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และมีสมรรถนะที่ดีในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับ
ผอู้ น่ื ได้ นำความรู้และทักษะจากการปฏบิ ตั ิไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

ผลการเรยี นรู้
1. เทคโนโลยีเวบ็ สำหรับฝ่ังไคลเอนท์
2. หลกั การออกแบบเว็บ
3. เคร่ืองมอื เพือ่ การออกแบบและพฒั นาเวบ็
4. เฟรมเวิรค์ และการเลือกใชง้ าน
5. การเขียนเว็บไซตแ์ ละสามารถประยุกตใ์ ช้งาน

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

221

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว31290 การออกแบบและพฒั นาเวบ็ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ความรเู้ บือ้ งต้นในการเขียนโปรแกรมโดยนำใช้การของอัลกอริทีม โครงสร้างและรูปแบบการ
เขียนโปรแกรมด้วย PHP ฟังก์ชันของ PHP การรับข้อมูลจากผู้ใช้ การใช้คำสั่ง SQL การเขียน PHP
เพื่อติดต่อฐานข้อมูล MY SQL การเขียน PHP กับการประยุกต์ใช้งาน การเขียนคำนวณและสรุปผล
จากข้อมูลในฐานข้อมูล รักษาความปลอดภัยข้อมูล ประยุกต์ฐานข้อมูลในงานต่างๆ เพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจและทักษะในการจัดการแฟ้มข้อมลู ฐานข้อมลู และใชโ้ ปรแกรมฐานข้อมลู เบือ้ งตน้ ได้

โดยใช้กระบวนการพัฒนาไดนามิกเว็บเพจ โพรโทคอลเอชทีทีพี่ แม่ข่ายเว็บ การพัฒนา
โปรแกรมเว็บฝั่งแม่ข่าย การจัดการคุ๊กกี้ การติดตามเซสชัน การพัฒนาโปรแกรมเว็บติดต่อกับ
ฐานขอ้ มลู จาวาสคริปต์และเทคโนโลยเี อแจก๊ ซ์

เพื่อเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสร้างงานอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะ
อนั พึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน และมสี มรรถนะท่ดี ีในการทำงาน สามารถ
ทำงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ได้ นำความรแู้ ละทักษะจากการปฏิบัตไิ ปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

ผลการเรยี นรู้
1. การวเิ คราะห์โปรแกรม
2. จัดการออกแบบโดยใช้ ผงั งานและอลั กอลทิ ีม
3. มคี วามเข้าใจเรอ่ื งโครงสร้างและรปู แบบการเขยี นโปรแกรมด้วย PHP
4. สามารถใชฟ้ งั ก์ชันของ PHP และ Input Object ตา่ ง ๆ ใน HTML
5. ใชค้ ำส่งั SOL
6. การเขียน PHP และสามารถประยกุ ต์ใช้งาน

รวม 6 ผลการเรยี นรู้

222

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว31285 การสร้างภาพเคลอ่ื นไหว 3 มิติ 1กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมงจำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา ความหมายและหลักการคอมพิวเตอร์กราฟฟิก 3 มิติเบื้องต้น การติดตั้งโปรแกรม
3ds Max 9 ส่วนประกอบต่างๆ บนหน้าจอ 3ds Max 9 การใช้งาน 3ds Max 9 การสร้างวัตถุ
รูปทรง 3 มิติพื้นฐาน การสร้างเส้น 2 มิติ พื้นผิวของวัตถุ (Materials) การสร้างภาพเคลื่อนไหว
(Animation) การประมวลผลภาพ (Render Animation)

โดยใช้กระบวนการสร้างงานโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ใช้ความรู้ กระบวนการ
ความคิดจินตนาการ ทักษะเหตุผลและกระบวนการต่างๆทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจน
ประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอรซ์ อฟต์แวรท์ ี่มีอย่มู าเชอื่ มโยงสัมพนั ธ์กนั จนเกดิ ความรู้ใหม่

เพื่อให้เกิดทักษะด้านวิชาชีพ รู้จักหลักการแก้ปัญหาหรือสร้างงาน เห็นคุณค่าของงาน
เลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม จริยธรรม
ที่ได้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้าน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน สามารถนำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ได้

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายกราฟฟิก (Graphic) และคอมพวิ เตอร์กราฟฟิก (Computer Graphic) ได้
2. บอกประโยชน์ 3D
3. อธิบายการลงทะเบียนการใชง้ านโปรแกรม 3ds Max 9
4. ปฏบิ ตั ิการเปิดแฟ้มใหม่ การอา่ นแฟ้มงานเดมิ การบันทึกแฟม้ งาน การออกจากโปรแกรม
5. อธิบาย Main Toolbar , Time Slider , Status Bar , Controls , Object Categories ,

Command Panals
6. สามารถปฏิบตั กิ าร Menu Bar , Animation Keying Controls , Animation Playback

Controls ,Viewport Keying Controls
7. อธบิ ายวธิ กี ารแสดงผลบนหน้าจอ (Viewport)
8. ปฏิบัติการปรับมุมมองของจอภาพ การสร้างวัตถุ การกำหนดสีให้กับวัตถุ การปรับแต่ง

วัตถขุ ้นั พน้ื ฐานการย่อขยายวัตถุ การหมนุ วตั ถุ การคดั ลอกวตั ถุ การพลกิ กลบั วัตถุ
9. อธบิ ายวธิ กี ารสร้างรูปทรง 3 มิติ

รวม 9 ผลการเรียนรู้

223

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว31286 การสร้างภาพเคลือ่ นไหว 3 มิติ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาการตัดต่อภาพยนตร์ การกำหนดเสียงให้ตัวละคร การกำหนดการปะทะกันของวัตถุท่ี
ไม่ทำให้วัตถุเสียรูปทรง การแตกกระจายของวัตถุ ศึกษาเทคนิคขั้นสูงในการทำงานด้าน Animation
และเทคนิคพิเศษที่นำมาช่วยในการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงได้ศึกษาเรื่องการใส่
กระดูก, การทำ bind skin กับกระดูกในแบบตา่ ง ๆ ทั้ง rigid skin และ smooth skin แบบละเอียด
รวมทงั้ เรียนรู้แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ จากการทำงานในการสรา้ งการเคลอ่ื นไหวให้กบั วัตถุ

โดยใชก้ ระบวนการสืบค้นข้อมลู กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
การสรา้ งงานภาพเคล่ือนไหวและใชโ้ ปรแกรมสร้างภาพเคล่อื นไหวเพอ่ื นำเสนองานต่างๆ

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีแบบสื่อประสมในการนำเสนองานต่างๆ มี
คุณธรรม จริยธรรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้าน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีความ
รับผิดชอบ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ นำความรู้และทักษะจากการปฏิบตั ิไป
ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน

ผลการเรยี นรู้
1. สร้างภาพเคลอ่ื นไหวโดยการใชเ้ ส้น (Motion Path)
2. สร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการใชก้ ารดัดแปลงรปู ทรงวัตถแุ บบต่าง ๆ แบu Non-Linear
3. กำหนดการเคลือ่ นไหวของมือ (Hand Control) โดยการ Set Driven Key
4. ปฏิบัติการออกแบบการเคลื่อนไหวท่าทางของตัวละคร (Character Set up) ได้เสมือน

จริง
รวม 4 ผลการเรยี นรู้

224

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว32287 การออกแบบกราฟิกคอมพวิ เตอร์1 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 20 ช่ัวโมงจำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟิก และการใช้งานโปรแกรมวาดรูปแบบเวกเตอร์ เช่น
โปรแกรม Adobe Illustrator เป็นต้น การสร้างรูปทรงต่าง ๆ วัตถุ (Object) และสัญลักษณ์
(Symbol) การทำงานกับสีการจัดการภาพ การทำงาน กับตัวอักษร การใช้งาน Pain Brush,
Gradient และ Gradient Mesh และการปรับแต่งภาพด้วยฟิลเตอร์ (Fitter) และเอฟเฟกต์ (Effect)
รวมไปถงึ การสรา้ งตวั การ์ตูน

อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟิก และการใช้งานโปรแกรมวาดรูปแบบเวกเตอร์
เช่น โปรแกรม Adobe Illustrator เป็นต้น การสร้างรูปทรงต่าง ๆ วัตถุ (Object) และสัญลักษณ์
(Symbol) การทำงานกับสีการจัดการภาพ การทำงานกับตัวอักษร การใช้งาน Pain Brush,
Gradient และ Gradient Mesh และการปรับแต่งภาพด้วยฟิลเตอร์ (Filter) และเอฟเฟกต์ (Effect)
และสร้างสรรคข์ ้นึ งานตามหวั ขอ้ ที่กำหนดให้ได้อย่างน้อย1 ชิน้ งาน

เพื่อให้เห็นคุณค่าของการทำงานเกี่ยวกับการใช้โปแกรมสร้างภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์
สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั และประยุกต์ใช้กับวิชาอื่น มีคุณธรรม จริยธรรม
และคำนิยมท่ีเหมาะสมในการทำงานด้านกราฟิก

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟิก และการใช้งานโปรแกรมวาดรูป เช่น

โปรแกรม Adobe Illustrator เปน็ ตน้ ได้
2. ปฏบิ ตั กิ ารสร้างรปู ทรงตา่ ง ๆ สร้างวัตถุ (Object) และสัญลักษณ์ (Symbol)
3. ปฏบิ ตั ิการทำงานกับตัวอักษรได้
4. ปฏบิ ตั ิการใช้งาน Pain Brush, Gradient และ Gradient Mesh
8. ออกแบบกราฟิกตวั การต์ นู

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

225

คำอธบิ ายรายวชิ า

วิชา ว32288 การถา่ ยภาพและตดั ต่อภาพดิจิทัล กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมงจำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาการเล่าเรื่องด้วยภาพ เทคนิคการเล่าเรื่อง การสร้างสรรค์แนวความคิด แนวคิดเบื่อง
ตน้ ของการถ่ายภาพ และศึกษากระบวนการถา่ ยภาพยนตร์และเคลือ่ นไหวกล้องถ่ายภาพ การใชเ้ ลนส์
การจดั แสงความตอ่ เนอื่ งการการตัดตอ่ วิดีโอ ความรู้เรื่องเทคนคิ การถ่ายภาพและวิดโี อเบือ้ งตน้

ฝึกปฏิบัติการใชก้ ระบวนการเขียนสครปิ ตแ์ ละการถา่ ยภาพและวดิ โี อ โดย ใชก้ ารคดิ วเิ คราะห์
ทักษะการวางแผน การจัดการ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการออกแบบ การ
ใช้เหตแุ ละผล

เพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีจิต
สาธารณะประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการถ่ายและตัดต่อภาพดิจิทัล ไปใช้ในการทำงาน และใช้ประโยชน์
ในชวี ติ ประจำวนั ได้

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้และความเขา้ ใจเก่ียวกับการเขยี นสครปิ ต์
2. มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับหลกั การถ่ายภาพเบ้ืองตน้
3. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจและมีทกั ษะในกระบวนการผลติ ภาพยนตรส์ ้นั
4. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและมีทกั ษะในการใชโ้ ปรแกรมตัดต่อ
5. สามารถสร้างสื่อวดิ ีทัศนไ์ ด้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์

รวม 5 ผลการเรียนรู้

226

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว32285 การสรา้ งภาพเคล่ือนไหว 3 มติ ิ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการกำหนด แสง เงา การควบคุมแสงสว่าง การกำหนดความใส ความ
เงาของวัตถุการทำหยดน้ำโดยใช้ตัว Mental Ray ในการสนับสนุนการทำงานของ Shader, Light
และ Texture ทกุ ตัวในโปรแกรม Maya เพ่อื ใหก้ ารกำหนดแสง, สีของงาน มีความเสมือนจริงมากขึ้น
โดยการปรับแต่ง Mental Ray ซึ่งจะทำให้สามารถทำงานได้อย่างมืออาชีพและสร้างสรรค์ผลงานได้
เสมอื นจริงมากยง่ิ ขนึ้

ปฏิบัติการสร้างงานภาพเคลื่อนไหวและใช้โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวเพื่อนำเสนองาน
ตา่ งๆเพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยแี บบสือ่ ประสมในการนำเสนองานตา่ ง ๆ ได้

เพื่อสร้างงานอย่างมีความรับผิดชอบ ขยันหมั่นเพียร เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ ทำงานรว่ มกับผ้อู นื่ ได้ นำความรูแ้ ละทกั ษะจากการปฏิบัติไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวนั

ผลการเรียนรู้
1. ปฏิบัตกิ าร Menu Bar, Animation Keying Controls , Animation Playback Controls

Viewport Keying Controls
2. อธบิ ายวิธีการแสดงผลบนหน้าจอ (Viewport)
3. ปฏิบัติการปรับมุมมองของจอภาพ การสร้างวัตถุ การกำหนดสีให้กับวัตถุ การปรับแต่ง

วตั ถุขั้นพนื้ ฐานการย่อขยายวัตถุ การหมนุ วตั ถุ การคัดลอกวตั ถุ การพลกิ กลับวตั ถุ
รวม 3 ผลการเรยี นรู้

227

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว32286 การสรา้ งภาพเคล่ือนไหว 3 มิติ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้าง Texture Effects และการสร้าง Shaders ให้วัตถุ และตัว
ละครต่าง ๆ ด้วยตัวเอง เป็นการกำหนด Texture ให้วัตถุโดยใช้ Mental Ray Shaders โดยจะ
สามารถสรา้ ง Texture ให้กับวัตถุ เช่น การกำหนดพื้นผิวใหเ้ หมือนกระจก, พื้นผิวมันวาว, พลาสติก,
โละมันวาว, แสงท่ีสะท้อนจากกระดาษ, พื้นผิวที่เหมือนกระจกฝ้าและการกำหนดให้พื้นที่ภายใน
โมเดลของวตั ถเุ ปน็ เหมือนกับแก้วนำ้ หรือของเหลว การ Map Texture, Paint Effect ให้ดูแนบเนียน

นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เข้าใจและใฝ่เรียนรู้มีความมุ่งมั่นในการคดิ และออกแบบสรา้ งช้ินงาน
ให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะการนำไปใช้งาน

เพื่อเกิดความรู้ ความเข้าใจ นำความรู้และทักษะจากการปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวันได้ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ในด้าน มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันใน
การทำงาน มีจติ สาธารณะ อยู่อยา่ งพอเพียงสรา้ งงานอย่างสรา้ งสรรค์

ผลการเรยี นรู้
1. ผู้เรียนทำ Special Effects การจัดองค์ประกอบฉากต่าง ๆ โดยการ จำลอง effects ที่

เกดิ ในธรรมชาตไิ ด้
2. การใชง้ านแสงแบบตา่ ง ๆ และสามารถปรับแสง เงา ให้เขา้ กบั องค์ประกอบฉากได้
3. ผู้เรียนสามารถออกแบบและสร้างองค์ประกอบฉาก บรรยากาศต่าง ๆ ของฉากใน

ภาพยนตร์ได้
รวม 3 ผลการเรียนรู้

228

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว33281การออกแบบกราฟิกคอมพิวเตอร์ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศึกษาหัวใจหลักในการออกแบบ การจัดวางองค์ประกอบ ให้เหมาะกับงานประเภทต่าง ๆ
ทฤษฎีสีการเลือกใช้คู่สี ฝึกเทคนิคการตัดต่อ และการปรับแต่งภาพภาพชั้นสงู เทคนิคการ Retouch
หน้า และการสร้าง Photo Effect ในโปรแกรมกราฟฟิกขั้นสูง การนำภาพจากแหล่งภาพต่าง ๆ มา
สร้างสรรคง์ านกราฟฟิกใหม้ จี ินตนาการเรียนร้แู นวคดิ การออกแบบโฆษณาสอ่ื ส่ิงพมิ พช์ นดิ ต่าง ๆ

ฝึกใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการออกแบบเทคโนโลยี
กระบวนการปฏิบตั ิ และกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีนิสัยรักการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง สามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม มี
จรยิ ธรรม คุณธรรม ค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. เขา้ ใจกระบวนการความคดิ ในการออกแบบงานรูปแบบต่าง ๆ
2. เขา้ ใจทฤษฎสี ี การเลือกใช้ค่สู ี ในการออกแบบงานกราฟกิ
3. สามารถเลอื กใช้แหล่งข้อมลู ทางกราฟกิ จากแหล่งต่าง ๆ
4. สามารถออกแบบและตัดตอ่ ภาพขั้นสงู
5. เข้าใจแนวคิดการออกแบบโฆษณาสื่อสง่ิ พิมพ์ชนิดต่าง ๆ

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

229

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว33282 โครงงานดา้ นการพฒั นาสอ่ื ประสม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาภาพรวมของสื่อประสม ความสำคัญของการผลิตสื่อประสม การเขียนบทดำเนินเรื่อง
หลกั การและกระบวนการในการออกแบบและผลิตสื่อประสม การจดั องค์ประกอบส่ือประสม เทคนิค
การนำเสนอในรูปแบบปฏิสัมพันธ์ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่จำเป็นในการผลิตส่ือ
เนน้ ใหม้ กี ารฝึกปฏิบตั ิทำโครงงานการออกแบบและผลติ ส่ือประสม

โดยใช้กระบวนการปฏิบัติการสร้างงานแบบสื่อประสมและการใช้โปรแกรมสำหรับนำเสนอ
งานออกแบบและสร้างสื่อการนำเสนอในรูปแบบสื่อประสม โดยใช้หลักการ วิธีการขั้นตอนการ
ออกแบบสื่อประสม ความสามารถในการนำเอาสื่อประสมไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม และเลือกใชฮ้ าร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วรใ์ หเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน

เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนนิ ชวี ติ มีคุณธรรม จริธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้าน มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความคิด
ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ มคี วามรบั ผิดชอบ และสามารถนำความรทู้ ไี่ ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

ผลการเรียนรู้
1. สามารถอธิบายความหมายของมัลติมีเดีย องค์ประกอบมัลติมีเดียและอธิบายเทคโนโลยี

เกยี่ วข้องกับมัลติมีเดยี
2. สามารถสรา้ งภาพและนำภาพน่งิ มาประยกุ ตใ์ ช้ในงานมัลตมิ เี ดียได้
3. สามารถสร้างภาพเคลือ่ นไหวและนำภาพเคลื่อนไหวมาประยุกต์ใช้ในงานมลั ติมเี ดียได้
4. สามารถใชโ้ ปรแกรมวดี โี อและนำวดี โี อ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานมลั ติมีเดยี ได้
5. สามารถประยุกตใ์ ช้โปรแกรมในการสรา้ งโครงงานคอมพิวเตอร์ได้

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

230

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว33283 การสร้างภาพเคลือ่ นไหว 3 มติ ิ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษาเกยี่ วกับการสร้างสรรคต์ วั ละครใหส้ มจริงดว้ ยการสร้างทรงผมต่าง ๆ และการทำให้ทรง
ผมมีการเคลื่อนไหวที่พลิ้วไหวเป็นธรรมชาติดังที่เห็นในสื่อโฆษณา และภาพยนตร์ Hollywood
รวมถึงการสร้างขน Furให้กับขนสัตว์ โดยในระดับนี้จะได้เรียนรู้เทคนิคต่าง ๆ มากมายในการทำงาน
ของ Maya Hair และ Fur อาทิเช่น เทคนิคการสร้างผม การกำหนดให้มีการปะทะกันระหว่าง Hair
และวตั ถุ เทคนคิ การใส่สีให้เส้นผมและขนการสร้างเงาให้เส้นผมและขน

โดยใช้กระบวนการทางด้านคอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติ ออกแบบชิ้นเพื่อนำเสนอให้มีความ
เหมาะสมสวยงามเห็นคุณค่าของผลงานที่สร้างขึ้นมาจากกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ สามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั ได้ มจี รยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นยิ มท่เี หมาะสม

เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจและมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้าน ใฝ่
เรียนรูม้ ีความมุ่งม่ันในการคดิ และออกแบบสรา้ งชิน้ งานให้เหมาะสมกบั ลักษณะการนำไปใช้งาน สาม
รถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายวธิ ีการสร้างรูปทรง 3 มิติ
2. ปฏิบัติการสร้างรูปทรง 3 มติ ิ Standard Primitives และ Extended Primitives
3. อธบิ ายและปฏบิ ตั ิการกลุ่มคำสั่งในการเขยี นลายเสน้ 2 มติ ิ
4. อธิบาย Controls Toolbar
5. ปฏิบตั กิ ารเปิดหนา้ ตา่ ง Material Editor และนำภาพมาใสในวตั ถุ

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

231

คำอธบิ ายรายวิชา

วิชา ว33284 การสร้างภาพเคลื่อนไหว 3 มติ ิ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษาเน้ือหาเกี่ยวกบั การทำเสื้อผ้า โดยการใส่ NCloth ให้กับตวั ละคร เพ่อื ใหก้ ารทำงานเกิด
ความสมจริงมากขึ้น การเรียนการสอนในระดับ Advanced Visual Effects 2 มีเนื้อหาเกี่ยวกับการ
สร้างสรรค์ตัวละครให้สมจริงด้วยการสร้างเสื้อผ้าให้ตัวละคร และการทำให้เสื้อผ้ามีการพลิ้วไหวเป็น
ธรรมชาติ โดยในระดบั น้ีจะได้เรยี นรเู้ ทคนิคต่างๆ มากมายในการทำงานของ NCloth

โดยใช้กระบวนการทางด้านคอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติ ออกแบบชิ้นเพื่อนำเสนอให้มีความ
เหมาะสมสวยงามเห็นคุณค่าของผลงานท่ีสรา้ งขน้ึ มาจากกระบวนการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เพ่ือให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝ่เรียนรู้ มีความม่งุ มั่นในการทำงาน สามารถคิด
และออกแบบสร้างชิ้นงานให้เหมาะสมกับลักษณะการนำไปใช้งาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั ได้ มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายหลกั การสร้างภาพเคลือ่ นไหว
2. ปฏบิ ัตกิ ารสร้างภาพเคล่ือนไหว
3. อธิบายรายละเอยี ดในสว่ นของ Mode ในการ Render
4. ปฏบิ ตั กิ าร Render Animation เปน็ ไฟล์ VDO นามสกุล .avi

รวม 4 ผลการเรยี นรู้



233

รายวิชาที่เปิดสอน

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น รายวิชาพื้นฐาน

ชั้น ภาคเรยี น รหัสวิชา ชอ่ื วิชา จำนวน ชั่วโมงต่อ
หนว่ ยกติ สัปดาห์
ม.1 1 ส21101 สงั คมศึกษา 1
2 ส21102 ประวัตศิ าสตร์ 1 1.5 3
ส21103 สงั คมศึกษา 2 0.5 1
ส21104 ประวัตศิ าสตร์ 2 1.5 3
0.5 1
ม.2 1 ส22101 สงั คมศึกษา 3 1.5 3
2 ส22102 ประวตั ิศาสตร์ 3 0.5 1
ส22103 สังคมศึกษา 4 1.5 3
ส22104 ประวตั ิศาสตร์ 4 0.5 1

ส23101 สังคมศึกษา 5 1.5 3
1
ม.3 ส23102 ประวัติศาสตร์ 5 0.5 1

ส23103 สังคมศึกษา 6 1.5 3
2
0.5 1
ส23104 ประวัติศาสตร์ 6

รายวิชาเพม่ิ เติม

ชนั้ ภาคเรยี น รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวน ชั่วโมงต่อ
หนว่ ยกิต สัปดาห์
ม.1 1 I20201 การศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้
2 I20202 การสื่อสารและการนำเสนอ 1.0 2
1.0 2

234

ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาพน้ื ฐาน

ชัน้ ภาคเรยี น รหสั วิชา ชอื่ วิชา จำวนวน ชว่ั โมงต่อ
หน่วยกิต สัปดาห์
ม.4 1 ส31101 สังคมศึกษา 1
2 ส31102 ศาสนาและวัฒนธรรม 1 1.0 2
ส31103 ประวตั ิศาสตร์ 1 0.5 1
ส31104 ศาสนาและวฒั นธรรม2 1.0 2
0.5 1
ม.5 1 ส32101 สังคมศึกษา 2 1.0 2
2 ส32102 ศาสนาและวัฒนธรรม 3 0.5 1
ส32103 สังคมศึกษา 3 1.0 2
ส32104 ศาสนาและวัฒนธรรม 4 0.5 1

ม.6 1 ส33101 ประวตั ศิ าสตร์ 2 1.0 2
2 ส33102 สงั คมศึกษา 4
1.0 2

รายวชิ าเพิ่มเติม

ชน้ั ภาคเรียน รหสั วิชา ชื่อวิชา จำนวณ ชัว่ โมงต่อ
หนว่ ยกติ สัปดาห์
ม.4 1 ส31201 อาเซยี นศึกษา 1
2 ส31202 อาเซียนศึกษา 2 0.5 1
0.5 1
ส30221 กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ 1.0 2
1.0 2
ส30241 การเงนิ การธนาคาร และการคลัง 1.0 2
1.0 2
ม.4-6 1-2 ส30223 ทกั ษะชวี ติ และสงั คม 1.0 2
ส30263 เหตกุ ารณ์ปัจจุบัน 1.0 2

ส30283 ภูมิศาสตร์การท่องเทยี่ ว

ส30261 ท้องถิน่ ของเรา

235

คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

236

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ส21101 สังคมศกึ ษา 1 กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

การสงั คายนา การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศไทย ความสำคญั ของพระพุทธศาสนา
ที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ
จนถึงบำเพ็ญทกุ กรกิริยา ประวตั พิ ระมหากสั สปะ พระอบุ าลี อนาถบณิ ฑิกะ นางวสิ าขา พระเจ้าอโศก
มหาราช พระโสณะและพระอุตตระ บุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์ ชาดก เรื่องเล่าและศา
สนิกชนตัวอย่าง ความจำเป็นที่ทุกคนต้องเรียนรู้ศาสนาอื่น ๆ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นใน
สถานการณต์ ่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม การปฏิบตั ติ นตามหลักพุทธคุณ 9 อริยสัจ 4 ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้)
ในเรื่อง ขันธ์ 5 (ธาตุ 4) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ในเรื่องหลักกรรม อบายมุข 6 นิโรธ (ธรรมที่ควร
บรรลุ) ในเรื่อง สุข 2 (กายิก-เจตสิก) คิหิสุข มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ในเรื่องไตรสิกขา กรรมฐาน 2
ปธาน 4 โกศล 3 มงคล 38 ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมและนำไปพัฒนา แกป้ ญั หาของตนและครอบครัว
ในการดำรงชีวิตแบบพอเพียง และดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
การพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำรงชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ สวดมนต์ แผ่เมตตา
บริหารจิต และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ การปฏิบัติตน การบำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน
วิถชี วี ิตของพระภิกษุ บทบาทของพระภกิ ษใุ นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อ
บคุ คลตา่ ง ๆ การใชเ้ คร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ สำรวจ สืบค้นพกิ ดั ภูมิศาสตร์ (ละติจดู ลองจิจดู ) เสน้ แบง่
เวลา และเปรียบเทียบวันเวลาของโลก ลักษณะทางกายภาพ ทำเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
สังคม รวมถึงปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อทำเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ
สังคมในทวปี เอเชยี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย สาเหตกุ ารเกิดภยั พิบตั ิ ประเด็นปญั หาจากปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ รวมถึงแนวทางการจัดการภัยพิบัติ การจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนียโดยใช้กระบวนการศึกษา การคิด
การวเิ คราะห์ กระบวนการสบื คน้ ข้อมลู กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา โดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้น วิเคราะห์
และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้ทักษะทาง
ภูมิศาสตร์ด้านการสังเกต การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงพื้นที่ การคิดแบบองค์รวม

237

การใช้เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงภูมิสัมพันธ์ การใช้สถิติ
พืน้ ฐาน รวมถึงทักษะด้านการสือ่ สาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต นำไปพัฒนาแก้ปัญหา
ของตนเองและครอบครัว รกั ษาสิ่งแวดล้อม มีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มุง่ มั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ
และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข และเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถ
ทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์ และมีทักษะในศตวรรษที่ 21
ด้านการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถในการคิดและแก้ปัญหา มีคุณลักษณะ
ด้านจิตสาธารณะ มีสว่ นรว่ มในการจัดการภยั พิบัติและการอนุรักษ์แวดล้อมในทวีปเอเชยี ออสเตรเลีย
และโอเชียเนีย

ตวั ช้วี ดั
ส 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11
ส 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
ส 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส 5.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4

รวม 23 ตวั ชว้ี ดั

238

คำอธบิ ายรายวิชา

วิชา ส21102 ประวัตศิ าสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

การศึกษาและวิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ และ
ความสำคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคตที่มาและตัวอย่างการใช้ศักราช ในเอกสาร
ประวัติศาสตร์ไทย วิธีการเทียบศักราชแบบต่าง ๆ การนำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษา
เรื่องราวของประวัติศาสตร์ที่มีอยู่ในท้องถิ่น และเหตุการณ์สมัยสุโขทัยประวัติศาสตร์ไทยสมัยก่อน
สุโขทัยในดินแดนไทย รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทยโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ
แก้ปัญหา และกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ตลอดจนช่วยให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
และความภมู ใิ จในการเป็นไทย

ตัวชว้ี ดั
ส 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส 4.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3

รวม 6 ตวั ช้ีวัด

239

คำอธบิ ายรายวชิ า

วิชา ส21103 สงั คมศกึ ษา 2 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรมีจำกัด ความต้องการมี ไม่จำกัด
ความขาดแคลน การเลือกค่าเสียโอกาส การบริโภค ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค
ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมและประเทศ สถาบัน
การเงิน ธนาคารกลาง รายได้ รายจ่าย การออม การลงทุนระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค ความเป็นมา
หลักการและความสำคญั ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย บทบาทหนา้ ทแี่ ละความแตกต่าง
ของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลาง การพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทาง
เศรษฐกิจในประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดอุปสงค์และอุปทาน และกฎหมายเกี่ยวกับ
ทรัพย์สินทางปัญญา บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันที่
เกย่ี วข้องกับตนเอง การถว่ งดลุ อำนาจอธิปไตยในรฐั ธรรมนูญ กฎหมายในการคุ้มครองสิทธขิ องบคุ คล

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจ และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สามารถบริหารจัดการ
ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
รวมทงั้ เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ การดำรงชวี ิตอย่างมีดุลยภาพ และเพ่อื ให้เกิดความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย เห็นคุณค่าในวัฒนธรรมไทยและตระหนักสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ
ทำงาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ และสามารถอยูร่ ว่ มกันในสังคมไดอ้ ย่างสนั ตสิ ุข

ตวั ช้วี ดั
ส 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
ส 2.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ส 3.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4

รวม 14 ตวั ช้ีวัด

240

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ส21104 ประวตั ิศาสตร์ 2 กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

การศึกษาและการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวกับพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ในด้านการเมือง
การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสุโขทัย
และความเสื่อมอำนาจของอาณาจักร ที่ตั้ง และสภาพภูมิศาสตร์ท่ีมีผลต่อพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจสังคม และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความร่วมมือผ่านการรวมกลุ่มเป็นอาเซียน ที่ถือว่าเป็นพัฒนาการของภูมิภาค ที่ตั้งและแหล่ง
ความสำคัญของแหล่งอารยธรรม ในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์
กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ
แก้ปัญหา และกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจความเป็นมาของชาติไทย พัฒนาการ
ของอาณาจักรสุโขทัยในด้านต่าง ๆ ทั้งวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน
ด้านรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน
รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอยู่รวมกันไดอ้ ยา่ งสันตสิ ุข

ตวั ชี้วัด
ส 4.2 ม.1/1, ม.1/2

รวม 2 ตัวชีว้ ดั

241

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ส22101 สงั คมศกึ ษา 3 กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ความรู้ในการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม และนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ
ทางกายภาพ และสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและ
สังคมของทวปี ยโุ รปและแอฟรกิ า การก่อเกดิ ส่ิงแวดล้อมใหมท่ างสังคมอันเป็นผลจากการเปลยี่ นแปลง
ทางธรรมชาติ และทางสงั คมของทวีปยโุ รปและแอฟรกิ า แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริกา ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริกา
สาเหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและ
แอฟริกา

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชญิ
สถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม สามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้มีความรู้ความ
เข้าใจ สามารถสื่อสารที่เรียนรู้ มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ในการสืบค้นขอ้ มูล มีคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงคใ์ นด้านการเรียนรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน มีวนิ ยั มจี ติ สาธารณะ เหน็ คุณค่า และมจี ิตสำนึก
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีลักษณะอันพึงประสงค์ใน
ด้านความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีจิตสาธารณะ
รกั ความเป็นไทย

ตัวชี้วัด
ส 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
ส 2.2 ม.2/1, ม.2/2
ส 5.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ส 5.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4

รวม 13 ตัวช้วี ดั

242

คำอธบิ ายรายวิชา

วิชา ส22102 ประวัติศาสตร์ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศึกษาวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ
อย่างง่าย เชน่ การศึกษาภูมิหลงั ของผูท้ ำหรือผ้เู กี่ยวข้อง สาเหตุชว่ งระยะเวลารูปลักษณ์ของหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ ยกตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือ ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย
ที่อยู่ในทอ้ งถ่ินของตนเองหรือหลกั ฐานสมยั อยุธยา (เชื่อมโยงกับมาตรฐานสาระ 4.3) ยกตัวอย่างการ
วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี (เชื่อมโยงกับมาตรฐานสาระ 4.3) และ
ข้อความบางตอนในพระราชพงศาวดารอยุธยา จดหมายชาวต่างชาติ ที่ตั้งและสถานภาพทาง
ภูมิศาสตร์ ของภูมิภาคต่าง ในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ที่มีผลต่อการพัฒนา
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต)้ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจในการระบุที่ต้ังและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมตะวันออก และแหล่งมรดก
โลกในประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบนั
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจความเป็นมาของประวัติศาสตร์ มีความรักความภาคภูมิใจใน
ความเป็นไทย

ตัวชวี้ ัด
ส 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ส 4.2 ม.2/1, ม.2/2

รวม 5 ตัวชีว้ ดั

243

คำอธิบายรายวิชา

วิชา ส22102 ประวตั ิศาสตร์ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ
อย่างง่าย เช่น การศึกษาภมู หิ ลงั ของผทู้ ำหรือผู้เกีย่ วข้อง สาเหตชุ ว่ งระยะเวลารปู ลักษณ์ของหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ ยกตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือ ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย ที่อยู่
ในท้องถิ่นของตนเองหรือหลักฐานสมัยอยุธยา (เชื่อมโยงกับมาตรฐานสาระ 4.3) ยกตัวอย่างการ
วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี (เชื่อมโยงกับมาตรฐานสาระ 4.3) และ
ข้อความบางตอนในพระราชพงศาวดารอยุธยา จดหมายชาวต่างชาติ ที่ตั้งและสถานภาพทาง
ภูมิศาสตร์ ของภมู ภิ าคต่าง ใน ทวปี เอเชีย (ยกเวน้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้) ท่ีมผี ลต่อพัฒนาการทาง
ประวตั ิศาสตร์ สงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองของภมู ิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้) โดย
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดความรู้ความ
เข้าใจในการระบุที่ต้งั และความสำคญั ของแหล่งอารยธรรมตะวันออก และแหล่งมรดกโลกในประเทศ
ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน เพื่อให้เกิด
ความรคู้ วามเข้าใจความเปน็ มาของประวตั ิศาสตร์ มีความรกั ความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย

ตวั ชี้วดั
ส 4.1 ม 2/1, ม 2/2, ม 2/3
ส 4.2 ม 2/1, ม 2/2

รวม 5 ตัวชีว้ ดั


Click to View FlipBook Version