The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุรุษบูรพาวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by guy141055, 2022-05-23 09:22:44

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุรุษบูรพาวิทยาลัย

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุรุษบูรพาวิทยาลัย

144

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว31181 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ออกแบบ สร้างหรือพัฒนาผลงานสำหรับแก้ปัญหาที่
คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการบริการ โดยใช้กระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม ซึ่งใช้ความรู้ ทักษะและเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพอื่ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้
ปัญหาเปน็ ฐานและการเรียนรแู้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน เนน้ ใหผ้ ู้เรียนได้ลงมือปฏบิ ัติ ฝึกทักษะการคิด
เผชิญสถานการณ์ การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้และนำเสนอผ่านการทำกจิ กรรมโครงงานเพื่อให้
ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ
และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีสง่ ผลใหม้ ีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตรท์ ี่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยี
ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไป
ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ตอ่ สังคมและการดำรงชวี ติ

ตัวชวี้ ัด
ว 4.1 ม 4/1, ม 4/2, ม 4/3, ม 4/4, ม 4/5

รวม 5 ตวั ชวี้ ดั

145

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว31182 วิทยาการคำนวณ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคำนวณ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหา
รูปแบบการคิดเชิงนามธรรม ตัวอย่างและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคำนวณเพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจำวันประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการออกแบบขั้นตอนวิธีสำหรับแก้ปัญหา การ
แก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออกและเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบ
ขน้ั ตอนวิธี การทำซำ้ การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาด้วย
คอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการสร้างโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การกำหนดปัญหา ศึกษา วางแผน
ดำเนินงาน สรุปผลและเผยแพร่ ในการพัฒนาโครงงานท่ีมกี ารบูรณาการร่วมกับวิชาอ่ืนและเช่ือมโยง
กับชีวิตจริงเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับแนวคิดเชิงคำนวณสามารถนำไป
ประยุกต์ใชอ้ ยา่ งมีจิตสำนกึ และรบั ผิดชอบ

ตัวชีว้ ัด
ว 4.2 ม.4/1

รวม 1 ตวั ชวี้ ัด

146

คำอธบิ ายรายวิชา

วิชา ว32103 วิทยาศาสตร์กายภาพฟสิ ิกส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 และ 2 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์และแปลความหมายของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ระยะทาง
การกระจัด อตั ราเร็ว ความเรว็ ความเร่ง ลกั ษณะของแรง การหาแรงลัพธ์ กฎการเคล่อื นที่ของนิวตัน
การเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลมและ ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แบบวงกลม แรงสู่ศูนย์กลาง ความเร่งสู่ศูนย์กลาง การประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลม
ในการอธิบายการเคลื่อนที่ของรถบนถนนโค้ง การแกว่งของวัตถุติดปลายเชือก การสั่นของวัตถุติด
ปลายสปริง แรงโนม้ ถว่ งและ สนามโน้มถ่วง การเคล่ือนท่ีของวัตถุในสนามโน้มถ่วงของโลก ประโยชน์
จากสนามโน้มถ่วง แรงไฟฟา้ และสนามไฟฟา้ ผลของสนามไฟฟา้ ต่ออนุภาคที่มปี ระจไุ ฟฟ้า ประโยชน์
จากสนามไฟฟ้า แรงแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก ผลของสนามแม่เหล็กต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
ผลของสนามแม่เหล็กต่อตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้า ประโยชน์จากสนามแม่เหล็ก แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม
แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน พลังงานในชีวิตประจำวัน พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง พลังงาน
ทดแทนประเภทหมุนเวียน ไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน
นวิ เคลียร์ฟิชชนั พลงั งานนิวเคลียร์ฟิวชัน เทคโนโลยีดา้ นพลังงาน คลื่นกล ส่วนประกอบของ คล่ืนกล
อัตราเร็วของคลื่น สมบัติของคลื่น เสียง สมบัติของเสียง ระดับเสียง ความเข้มเสียง หูกับการได้ยิน
บีต ดอปเพลอร์ ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ้อง การนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ประโยชน์
แสงตากับการมองเห็น การผสมแสงสี การผสมสารสี และการใช้ประโยชน์การบอดสี
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์ควบคุม
ระยะไกล การใชค้ ลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าในการสอ่ื สารขอ้ มูล สัญญาณแอนะลอ็ ก และสญั ญาณดิจิทัล

ตัวชว้ี ดั
ว 2.2 ม.5/1,ม.5/2,ม.5/3,ม.5/4,ม.5/4,ม.5/5,ม.5/6,ม.5/7,ม.5/8,ม.5/9,ม.5/10
ว 2.3 ม.5/1,ม.5/2,ม.5/3,ม.5/4,ม.5/4,ม.5/5,ม.5/6,ม.5/7,ม.5/8,ม.5/9,ม.5/10,
ม.5/11,ม.5/12

รวม 22 ตัวช้วี ัด

147

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว32181 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาเกย่ี วกับความหมายของนวตั กรรม ความสมั พันธข์ องเทคโนโลยีและนวตั กรรม รูปแบบ
ของเทคโนโลยี การพัฒนาอย่างยั่งยืน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ระบบทางเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยี องค์ประกอบสัมพันธ์กับกระบวนการทางเทคโนโลยี
การออกแบบเชงิ วิศวกรรม สะเตม็ ศกึ ษา โครงงานสะเต็ม การทำโครงงาน การประยุกตใ์ ช้ความรู้และ
ทักษะจากศาสตร์ต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรในการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงาน เพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน
การทำโครงงานออกแบบและเทคโนโลยี ผลงานโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
เน้นให้ผู้เรียนไดล้ งมือปฏิบตั ิ ฝึกทักษะการคดิ เผชญิ สถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้และ
นำเสนอผ่านการทำกจิ กรรมโครงงาน

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา นำไปสู่การสร้าง
ต้นแบบ ตลอดจนนำกระบวนการเทคโนโลยี สร้างเทคโนโลยี วิธีการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ดำรงชีวิต รวมทั้งคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา นำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและ
จินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถใน
การตัดสินใจ อีกทั้งยังเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอังพึงประสงค์
รักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มุ่งมั่นในการทำงาน และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่าง
สรา้ งสรรค์

ตัวชว้ี ดั
ว 4.1 ม 5/1

รวม 1 ตวั ชวี้ ดั

148

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว32102 วิทยาศาสตร์กายภาพเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาสมบัติของธาตุและสารประกอบที่อยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสูตรเคมี
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป ตารางธาตุ สมบัติการนำไฟฟ้า การให้และรับ
อิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ ประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟ
และธาตุแทรนซิชัน พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม จำนวนคู่อิเล็กตรอน
ระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะและสภาพขั้วของสาร พันธะไฮโดรเจน การเขียนสูตรเคมีของไอออนและ
สารประกอบไอออนิก สารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว สมบัติการ
ละลายในตัวทำละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร สูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมาย
ของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี ผลของความเข้มข้นพื้นที่ผิว อุณหภูมิ และตัวเร่ง
ปฏกิ ิริยาทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ปจั จยั ที่มผี ลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีท่ีใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจำวันหรือในอุตสาหกรรม ปฏิกิริยารีดอกซ์ สมบัติของสารกัมมันตรังสี และคำนวณครึ่ง
ชีวติ และปริมาณของสารกัมมันตรงั สี ประโยชน์ของสารกัมมันตรังสแี ละการป้องกนั อันตรายที่เกิดจาก
กัมมันตภาพรังสี สารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว จากสูตร
โครงสร้าง สมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดนั้น สมบัติความ
เป็นกรด-เบสจากโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ ความสัมพันธ์ระหว่างโครง สร้างกับสมบัติเทอร์
มอพลาสติกและเทอร์มอเซตของพอลิเมอร์ และการนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนผลกระทบ
ของการใชผ้ ลิตภัณฑพ์ อลเิ มอร์ทมี่ ตี อ่ สิ่งมีชวี ิตและสิง่ แวดล้อม พรอ้ มแนวทางป้องกนั หรอื แก้ไข

ตัวชี้วดั
ว 2.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10,
ม.5/11, ม.5/12, ม. 5/13, ม.5/14, ม.5/15, ม.5/16, ม.5/17, ม.5/18, ม.5/19,
ม.5/20, 5/21, ม.5/22, ม.5/23, ม.5/24, ม.5/25

รวม 25 ตวั ชว้ี ดั

149

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว32182 วิทยาการคำนวณ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาวิธกี ารนำความรดู้ า้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดจิ ิทลั และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใช้
แกป้ ัญหา วธิ กี ารเพิ่มมูลคา่ ใหบ้ รกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑ์ทใี่ ช้ในชีวติ จริงอยา่ งสรา้ งสรรค์ การเก็บข้อมูลและ
การจัดเตรียมข้อมูลให้พร้อมกับการประมวลผล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การประมวลผลข้อมูล
และการทำข้อมูลให้เป็นภาพปฏิบัติและมีทักษะในการนำความรู้ดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล
และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้แก้ปัญหา และสามารถเพิ่มมูลค่าให้บริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวติ
จริง สามารถเก็บข้อมูล และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อประมวลผล และทำข้อมูลให้เป็นภาพ
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการนำเสนออย่างมีจิตสำนึก ความรับผิดชอบ และไม่ทำลาย
สิ่งแวดล้อม เพื่อให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการนำวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยี
สารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา และเพิ่มมูลค่าให้บริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตจริงอย่าง
สร้างสรรค์ เพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงในกระแส
โลกาภิวตั นแ์ ละความเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ

ตวั ชวี้ ัด
ว 4.2 ม 5/1

รวม 1 ตัวช้วี ดั

150

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว33104 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 และ 2 เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลักเกิด
บิกแบง หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก
กระบวนการเกิดดาวฤกษ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างวามสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่าง
โชติมาตร ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิวและ สเป็กตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับ
มวลตั้งแต่ต้นของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะ
ของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ
การสำรวจอวกาศโดยใช้กล้องโทรทัศน์ในช่วงความยาวลื่นต่างๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานีอวกาศ
การนำความรู้ทางเทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ การแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างของโลก
หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี
สาเหตุกระบวนการเกดิ พื้นท่เี สีย่ งภัยภเู ขาไฟระเบิด แผน่ ดินไหว และสนึ ามิ แนวทางการเฝ้าระวังและ
การปฎิบัติตนให้ปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์
การหมุนเวยี นของอากาศ การหมนุ เวยี นของน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การเปล่ียนแปลง
ภูมิอากาศของโลก แปลความหมายสญั ลักษณ์ลมฟ้าอากาศจากแผนที่อากาศ และนำข้อมลู สารสนเทศ
ตา่ ง ๆ มาวางแผนในการดำเนินชีวติ

ตวั ชีว้ ัด
ว3.1 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6 , ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9, ม.6/10
ว3.2 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6 , ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9, ม.6/10,
ม.6/11, ม. 6/12, ม.6/13, ม.6/14

รวม 24 ตวั ชวี้ ดั

151

คำอธบิ ายรายวชิ า

วิชา ว33181 วทิ ยาการคำนวณ 3 กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานทางด้าน
เทคโนโลยี การนำแนวคิดเชิงคำนวณพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน ตลอดจนใช้ในการ
พัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์และเชื่อมโยงกับชีวิตจริงโดยอาศัย
กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู้แบบใช้
โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด
เผชิญสถานการณ์ การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ตรวจสอบการเรียนรู้ และนำเสนอผ่านการทำ
กิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา
จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้
ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรวบรวม
ข้อมูลในชีวิตจริงจาก แหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อื่น มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทีม่ ีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อย่าง
ปลอดภัยมีจริยธรรม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ
ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ
และเป็นผู้ทีม่ ีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อยา่ งสรา้ งสรรค์

ตัวช้วี ดั
ว 4.2 ม.6/1

รวม 1 ตัวชว้ี ัด

152

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว33182 วทิ ยาการคำนวณ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัยและมีจริยธรรม
การสร้างชิ้นงานและเผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ ที่คำนึงถึงจริยธรรม ลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา และ
กฎหมาย หลักการของปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีในอนาคต กรณีศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมหรือ
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน อาชีพที่เกี่ยวข้อง กับงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตวั อย่างผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการ
เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ
ฝกึ ทักษะการคดิ เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนร้ตู รวจสอบการเรียนรู้ และนำเสนอ
ผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์
โจทย์ปัญหาจนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยกุ ต์ใช้ในการสรา้ งโครงงานได้

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน
มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการด ำเนินชีวิต
อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัยมีจริยธรรม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชา
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิตจนสามารถพัฒนา
กระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร
และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
ในการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์

ตัวชี้วดั
ว 4.2 ม.6/1

รวม 1 ตัวชีว้ ดั

153

คำอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เติม
ระดบั ชี้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

154

คำอธบิ ายรายวิชา

วิชา ว21207 ความรู้เบ้ืองต้นการเขียนโปรแกรม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลกั การเขยี นโปรแกรม ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม การจำลองความคิด การเขียนผัง
งาน การเขียนรหัสเทยี ม โครงสร้างโปรแกรมแบบต่าง ๆ คำสั่งในการประมวลผล ตัวแปรชนิดของตวั
แปร ขอ้ มูลแบบต่าง ๆ คำส่ังควบคุมโปรแกรม คำสั่งรับข้อมลู และแสดงผลปฏิบตั ิ

โดยอาศัยกระบวนการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และสามารถเขียนลำดับการทำงานโดยใช้คำส่ัง
ภาษาคอมพวิ เตอร์ พฒั นาผลงานท่เี กดิ จากการคน้ คว้า สามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าในและสามารถแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยการเขียน
ข้ันตอนทำงานแบบการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายความหมายความสำคัญของหลกั การเขียนโปรแกรม
2. วิเคราะหข์ ั้นตอน วธิ กี ารแก้ปญั หาดว้ ยกระบวนการทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3. ประยุกตใ์ ชผ้ ังงานและรหสั เทยี มช่วยการเขียนโปรแกรม
4. เขยี นโปรแกรมตามหลักการและมีนสิ ัยของการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ
5. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมขนาดเลก็ ได้

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

155

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว21203 การสร้างภาพเคลือ่ นไหว 3 มิติ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาพื้นฐานเบื้องตันเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 มิติ (Maya) ส่วนประกอบของ
โปรแกรม การใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในโปรแกรม การสร้างวัตถุรูปทรง 3 มิติ ในลักษณะที่แตกต่างกัน
เพื่อให้เข้าใจถึงองค์ประกอบขั้นพื้นฐานในการสร้างโมเดลรูปแบบต่าง ๆ อาทิเช่น โครงสร้างของคน
สัตว์ สิง่ ของ โดย

- การใช้วัตถุ Polygons ในการขึ้นรูปโมเดล โมเดลรูปทรงหลายเหลี่ยม อาทิเช่น Sphere ,
Cube ,cylinder , Cone, Torus, Plane เปน็ ต้น

- การใช้วัตถุ Nubs ซึ่งเป็นการสร้างโมเดลรูปทรงพื้นฐานซึ่งมีพื้นผิวอยู่แล้วมาทำการ
ปรบั แต่งรปู ทรงในภายหลัง

- การสร้างโมเดลจากเสน้ Curves ซึ่งเป็นการสร้างโมเดลใหม้ ีพื้นผิวจากเส้น Curves โดยใช้
คำสั่ง Extrude, Loft และ Revolve

โดยใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติการสร้างรูปทรง 3 มิติ ในลักษณะต่าง ๆ ด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ 3 มิติ เพื่อสร้างความเข้าใจถึงองค์ประกอบพื้นฐานในการสร้างโมเดลรูปแบบต่าง 1 ไม่
ว่าจะเป็นเรื่องโครงสร้างของคนสัตว์ สิ่งของ การสร้างงานวัตถุ 3 มิติขั้นพื้นฐาน การกำหนดพื้นผิว
การให้สใี หส้ มั พนั ธ์กับภาพ เนน้ การใชเ้ ทคนิคและกระบวนการทำงาน เพอ่ื สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ได้
เพื่อสร้างและออกแบบโมเดลรูปทรงต่าง ๆ สำหรับงาน 3 มิติ ได้อย่างหลากหลายโดยใช้โปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ 3 มติ ิ และสามารถเรียนรู้และออกแบบผลติ ภัณฑ์ (Product Design) และการออกแบบ
ตัวละคร (Character Design) ต่างๆ ได้ และมีทัศนคติที่ดีต่องานแอนิเมชั่น อย่างมีคุณธรรมและ
จริยธรรม มีความมุ่งมัน่ ในการทำงาน สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั ได้

ผลการเรียนรู้
1. รู้จักส่วนประกอบของโปรแกรมเมื่อเริม่ ทำงาน สามารถใช้เครือ่ งมอื ตา่ ง ๆ ของ โปรแกรม

ในการสร้างงาน 3 มติ ิ ได้ และ รจู้ กั โมเดลแบบต่าง ๆ และความเหมาะสมในการใชง้ าน และพ้ืนผิว
2. ใช้เครือ่ งมอื ต่างๆ ในการสร้าง โมเดลจากเส้น Curves
- สร้างโมเดลใหม้ พี ื้นผวิ จากเส้น Curves โดยใช้ คำสัง่ Extrude Loft และ Revolve
- ปรับแต่งวตั ถุจากเสน้ Curves ทีเ่ ปน็ โครงสร้างและสามารถปรบั แต่งวตั ถจุ ากพน้ื ผิวของวัตถุ

156

3. รูจ้ กั คุณสมบัติพ้ืนฐานของพื้นผิว สามารถเขา้ ใจระบบการสร้างและควบคุมพื้นผิวและสีให้
วัตถุ และสามารถกำหนดพนื้ ผิวและสีลงบนโมเดล

4. สรา้ งโมเดลลักษณะท่เี ป็นรปู ทรงธรรมชาตสิ ่ิงมีชีวติ ส่ิงของ ในลกั ษณะท่ีมสี ว่ นโคง้ มากเป็น
พิเศษ และมีรูปร่างไมแ่ นน่ อน โดยใชโ้ ครงสรา้ งของเสน้ Curves

5. ใช้เครื่องมือต่าง ๆ ที่ในการสร้างวัตถุแบบ Polygon สามารถสร้างโมเดลรูปทรงพื้นฐาน
และปรบั แตง่ รูปทรงโมเดลให้เป็นรูปทรงท่ตี อ้ งการ

6. สรา้ งโมเดลลกั ษณะท่มี ีพ้ืนฐานเปน็ รูปทรงเรขาคณิต ทเ่ี ป็นสิ่งของได้ เช่น โทรทัศน์ รถ
รวม 6 ผลการเรียนรู้

157

คำอธิบายรายวิชา

วิชา ว21209 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี

การทำงานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์
เปรียบเทยี บและเลือกข้อมลู ท่ีจำเปน็ เพ่ือออกแบบวิธีการแก้ปญั หาในชวี ติ ประจำวันในด้านการเกษตร
และ อาหาร

สรา้ งช้ินงานหรือพัฒนาวธิ ีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณเ์ คร่ืองมอื ในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายแนวคดิ หลักของเทคโนโลยใี นชีวติ ประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผล

ต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
2. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่

เกยี่ วขอ้ งกบั ปัญหา
3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น

นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หา
4. ทดสอบ ประเมินผล และระบุขอ้ บกพร่องท่เี กดิ ขึ้น พร้อมทง้ั หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข

และนำเสนอผลการแกป้ ัญหา
5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกสเ์ พ่ือ

แก้ปัญหาได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั
รวม 5 ผลการเรยี นรู้

158

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า ว21208 การออกแบบภาพน่ิงเชงิ สรา้ งสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาออกแบบภาพนิ่งโดยใช้หลักการทางทัศนศิลป์ การเขียนโครงร่างเนื้อเรื่อง (story
board) ให้ภาพนิ่งเช่ือมโยงและเร่อื งราวตอ่ เนือ่ งกัน

ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบภาพนิ่งให้เกิดเรื่องราว และออกแบบภาพนิ่งให้
เกดิ เป็นเรือ่ งราวตอ่ เนื่องกนั ตามท่ีเขียนในโครงร่างเน้ือเร่ือง

ออกแบบภาพนิ่งด้วยความคิดสร้างสรรค์ มีความคิดริเริ่มในการออกแบบภาพนิ่งในแบบท่ี
ตนเองมคี วามสนใจ และนำไปประยุกตใ์ ช้ในงานนำเสนอ

ผลการเรียนรู้
1. เขา้ ใจความหมายหลักการทางทศั นศิลป์สำหรบั ภาพน่ิง
2. วิเคราะห์การเขียนเค้าโครงเนื้อเรื่อง (story board) ที่ดีว่าเป็นอย่างไร มีความเชื่อมโยง

และเรอ่ื งราวต่อเนอ่ื งกนั
3. ประยกุ ตก์ ารเขยี นออกแบบภาพนิ่งเพื่อใช้ในการนำเสนอผลงาน ดว้ ยความคิดสรา้ งสรรค์
4. ใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการออกแบบภาพนงิ่ ดว้ ยเคา้ โครงเนือ้ เร่ือง

รวม 4 ผลการเรียนรู้

159

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว21204 การสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว 3 มิติ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 มิติ (Maya) ส่วนประกอบของ
โปรแกรม การใช้เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม การสร้างวัตถุรูปทรง 3 มิติ ในลักษณะที่แตกต่างกัน
เพื่อให้เข้าใจถึงองค์ประกอบขั้นพื้นฐานในการสร้างโมเดลรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น โครงสร้างของคน
สัตว์ สิง่ ของ โดย

- การใช้วัตถุ Polygons ในการขึ้นรูปโมเดล โมเดลรูปทรงหลายเหลี่ยม อาทิเช่น Sphere ,
Cube , Cylinder , Cone, Torus , Plane เปน็ ตน้

โดยฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสร้างรูปทรง 3 มิติ ในลักษณะตา่ ง ๆ ด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3 มติ ิ เพื่อ
สร้างความเข้าใจถึงองค์ประกอบพื้นฐานในการสร้างโมเดลรูปแบบตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องโครงสร้าง
ของคน สัตว์ สิ่งของ การสร้างงานวัตถุ 3 มิติขั้นพื้นฐาน การกำหนดพื้นผิว การให้สี ให้สัมพันธ์กับ
ภาพ เน้นการใชเ้ ทคนิคและกระบวนการทำงานเพื่อสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ได้

เพื่อให้เกิดความรู้ และทักษะสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชวี ติ ประจำวันได้ และมที ศั นคติท่ีดีตอ่ งาน 3 มติ ิ แอนิเมชั่นอยา่ งสร้างสรรค์ และมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม
ที่ดี มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

ผลการเรยี นรู้
1. ใช้เครื่องมือต่าง ๆ ที่ในการสร้างวัตถุแบบ Polygon สามารถสร้างโมเดลรูปทรงพื้นฐาน

และปรบั แตง่ รูปทรงโมเดลให้เปน็ รูปทรงทตี่ อ้ งการ
2. ใส่ลวดลายลงบนพื้นผิวของโมเดล สามารถใส่พื้นผิวแบบ Mapping และทำให้โมเดลเป็น

รอยดว้ ยการ Bump Mapping
3. สร้างโมเดลลักษณะที่มีรูปทรงไม่แน่นอน แต่มีโครงสร้างที่สามารถประยุกต์จากวัตถุทรง

พ้ืนฐาน เชน่ โมเดล คน สตั ว์ อาคาร บา้ น เปน็ ตน้
4. ปฏิบตั กิ ารออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) และการออกแบบตัวละคร (Character

Design) ต่าง ๆ
รวม 4 ผลการเรียนรู้

160

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว21210 วิทยาการคำนวณ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา ขั้นตอน การ
แก้ปัญหา การเขียนรหสั ลำลองและผงั งาน การเขยี นออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย ทมี่ ีการใช้
งานตัวแปร เง่ือนไข และการวนซำ้ เพอ่ื แก้ปญั หาทางคณติ ศาสตรห์ รือวทิ ยาศาสตร์

กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การ
ประมวลผลข้อมูลการสร้างทางเลือกและประเมินผลเพื่อตัดสินใจ ซอฟต์แวร์และบริการบน
อินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ปลอดภัย การ
จัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหาข้อตกลงและข้อกำหนด การใช้สื่อและ
แหล่งข้อมลู

นำแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหา ไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือ
การแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือก ในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และตระหนักถึงการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และไม่
สรา้ ง ความเสียหายให้แกผ่ ู้อืน่

ผลการเรยี นรู้
1. ออกแบบอลั กอริทีมท่ีใช้แนวคดิ เชิงนามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการทำงานที่พบใน

ชีวิตจริง
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย เพอื่ แก้ปญั หาทางคณิตศาสตรห์ รือวิทยาศาสตร์
3. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตาม

วัตถุประสงค์ โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรอื บรกิ ารบนอินเทอรเ์ นต็ ที่หลากหลาย
4. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้ส่อื และแหล่งข้อมูลตามข้อกำหนดและข้อตกลง

รวม 4 ผลการเรยี นรู้

161

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว22201 มลั ติมีเดีย 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาการสร้างงานแอนิเมชั่นด้วยโปรแกรม Adobe Flash การวาดรูปและการลงสี การ
จัดการออบเจ็กต์การใช้สี การสร้างข้อความ ชิมบอลและอินสแตนซ์ การนำเข้าภาพกราฟิกจาก
ภายนอก เข้าใจพื้นฐานการสร้างงานแอนิเมชั่น การสร้างงานแอนิเมชั่น มูฟวี่คลิปและปุ่ มกด การ
ทำงานกับไฟล์เสียง เทคนิคการตกแต่งออบเจ็กต์กำหนดให้ชิ้นงานโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ การเผยแพร่
ชิน้ งานท่สี ร้างสรรค์

เพอ่ื ให้ผเู้ รียนฝึกปฏบิ ตั กิ ารใชเ้ คร่อื งมือดว้ ยโปรแกรม Adobe Flash การวาดรูปและการลงสี
การจัดการออบเจ็กต์ การใช้สี การสร้างข้อความ ชิมบอลและอินสแตนซ์ การนำเข้าภาพกราฟิกจาก
ภายนอก การสร้างงานแอนิเมชั่น มูฟวี่คลิปและปุมกด การทำงานกับไฟล์เสียง เทคนิคการตกแต่ง
ออบเจก็ ต์ กำหนดใหช้ น้ิ งานโต้ตอบกบั ผู้ใชไ้ ด้ การเผยแพร่ช้นิ งานทีส่ รา้ งสรรค์

เพื่อให้ผู้เรยี นมีทักษะในการแสวงหาความรู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และประสบการณ์ใน
การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ มีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาใน
การทำงาน มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และค่านยิ มท่ีดตี ่องาน และเห็นแนวทางในการประกอบอาชพี สจุ ริต

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายประโยชน์และความหมายของโปรแกรม Flash ได้
2. อธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม Flash ได้
3. อธบิ ายหลักการใช้เครอ่ื งมือในการวาด การสร้างข้อความ ลงสีและปรบั แต่งรูปภาพได้
4. ใช้เครื่องมือในการวาด การสร้างข้อความ ลงสแี ละปรบั แตง่ รูปภาพได้
5. อธิบายหลักการสรา้ ง Symbol และ Instance แบบต่าง ๆ ได้
6. สรา้ ง Symbol และ Instance แบบต่างๆได้
7. อธิบายหลักการใชเ้ ครอื่ งมือในการสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหวได้
8. ใชเ้ ครือ่ งมือในการสร้างภาพเคลื่อนไหวได้
9. อธิบายการนำรปู ภาพ และเสยี งเขา้ มาใชป้ ระกอบชิน้ งานได้
10. นำรปู ภาพ และเสียงเขา้ มาใชป้ ระกอบช้ินงานได้
11. สร้างแอนิเมช่ัน และเผยแพรช่ ิ้นงานไดใ้ นรูปแบบตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

รวม 11 ผลการเรยี นรู้

162

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว22203 การสรา้ งภาพเคลอื่ นไหว 3 มติ ิ 3 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาหลักการทำแอนเิ มช่ัน คอื การทำให้โมเดลเคลื่อนไหวไม่ว่าจะเป็นแบบการ์ตูนหรือแบบ
เสมือนจริงโดยเรยี นรหู้ ลกั การพื้นฐานของงาน 3D Animation

- การทำ Animation โดยการคีย์เฟรม (Key Frame)
- การตกแต่ง Animation ให้เหมือนจริง โดยการปรับปรุง Graph Editor, Child and
Parent
- การทำ Character Setup ซึง่ เปน็ การทำใหต้ วั ละครเคลอื่ นไหวตามท่เี รากำหนด แบบ Full
Body IK การเคลอื่ นท่แี บบ FK (Forward Kinematic และ IK (Inverse Kinematic)
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบคน้ ข้อมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการแก้ปัญหา
อยา่ งสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆ ได้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และนำไประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั ได้ และมที ัศนคติท่ีดีต่องานแอนิเมชน่ั

ผลการเรยี นรู้
1. เข้าใจหลกั การควบคมุ การเคลื่อนไหวของตวั ละคร
2. ปฏิบัตกิ ารกำหนดการเคล่ือนไหวใหต้ วั ละคร

รวม 2 ผลการเรียนรู้

163

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว22207 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณ์แนวโน้ม
เทคโนโลยใี นอนาคต

เลอื กใช้เทคโนโลยีโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้นึ ต่อชีวติ สงั คม และสิง่ แวดล้อม ประยุกต์ใช้
ความรู้ทักษะและทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จำเป็นเพื่อออกแบบวิธีการ
แกป้ ญั หาในชมุ ชนหรือทอ้ งถนิ่ ในดา้ นพลังงาน สงิ่ แวดลอ้ ม การเกษตรและอาหาร

สรา้ งช้ินงานหรือพฒั นาวิธีการโดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ
อปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื ในการแก้ปญั หาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และปลอดภยั

ผลการเรยี นรู้
1. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีทีจ่ ะเกิดข้ึนโดยพิจารณาจากสาเหตหุ รือปัจจัยทส่ี ่งผลต่อการ

เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึง
ผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ตอ่ ชีวิตสงั คม และส่ิงแวดล้อม

2. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม
วเิ คราะหข์ อ้ มลู และแนวคดิ ทเี่ ก่ยี วข้องกบั ปญั หา

3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น
ภายใตเ้ งือ่ นไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนข้ันตอนการ
ทำงานและดำเนินการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ขั้นตอน

4. ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไข
พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแกป้ ัญหา

5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือ
แก้ปญั หาหรอื พัฒนางานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
รวม 5 ผลการเรยี นรู้

164

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว22204 การสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว 3 มติ ิ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศกึ ษาหลกั การทำแอนเิ มชั่น คอื การทำใหโ้ มเดลเคลื่อนไหวไมว่ ่าจะเป็นแบบการ์ตูนหรือแบบ
เสมอื นจริงโดยเรยี นร้หู ลักการพนื้ ฐานของงาน 3D Animation

- การทำ Animation โดยการคยี ์เฟรม (Key Frame)
- การตกแต่งAnimation ให้เหมอื นจริงโดยการปรับปรุง Graph Editor, Child and Parent
- การกำหนดใหว้ ัตถเุ คล่อื นทีโ่ ดยใช้ Motion Path
- การสรา้ ง Animation แบu Non-Linear
- การทำ Character Setup ซ่งึ เปน็ การทำให้ตัวละครเคล่ือนไหวตามท่ีเรากำหนดแบบ Full
Body IK การเคล่อื นท่แี บบ FK (Forward Kinematic และ IK (Inverse Kinematic)
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบคน้ ข้อมลู กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ปัญหา
อยา่ งสรา้ งสรรค์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และโดยสามารถปฏิบัติการออกแบบการเคลื่อนไหวท่าทาง
ของตัวละคร (Character Set up) ได้เสมือนจริง มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน และนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ และมีทัศนคติที่ดีต่อ
งานแอนเิ มชั่น

ผลการเรียนรู้
1. สร้างภาพเคลอ่ื นไหวโดยการใชเ้ สน้ (Motion Path)
2. สร้างภาพเคลือ่ นไหวโดยการใชก้ ารดัดแปลงรปู ทรงวตั ถแุ บบต่างๆ แบบ Non-Linear
3. กำหนดการเคล่ือนไหวของมือ (Hand Control) โดยการ Set Driven Key
4. ออกแบบการเคล่อื นไหวทา่ ทางของตวั ละคร (Character Set up) ได้เสมอื นจริง

รวม 4 ผลการเรยี นรู้

165

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว22208 วิทยาการคำนวณ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาแนวคิดเชิงคำนวณ การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชงิ คำนวณ การเขียนโปรแกรมท่ีมีการ
ใช้ตรรกะและฟังก์ชัน องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร
แนวทางการปฏิบัติเม่อื พบเนอ้ื หาที่ไมเ่ หมาะสม

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ กำหนดวิธีกรสร้าง และกำหนดสิทธิความ
เปน็ เจา้ ของผลงาน

นำแนวคดิ เชงิ คำนวณไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชวี ติ จรงิ สร้าง
และกำหนดสิทธ์ิการใชข้ อ้ มลู ตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพร่ขอ้ มลู

ผลการเรียนรู้
1. ออกแบบอลั กอรทิ ึมใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หา หรอื การทำงานที่พบในชวี ติ จรงิ
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟังกช์ ันในการแกป้ ญั หา
3. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการ

ส่ือสาร เพื่อประยกุ ตใ์ ชง้ านหรือแก้ปัญหาเบื้องตน้
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ในการ

เผยแพร่ผลงาน
รวม 4 ผลการเรียนรู้

166

คำอธบิ ายรายวิชา

วิชา ว22202 มลั ตมิ ีเดีย 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาความหมายสามารถบอกความหมายของมัลติมีเดีย (Multimedia) หรือสื่อหลายแบบ
บอกประโยชน์ของมัลติมีเดีย รู้ถึงประเภทเทคโนโลยีมัลติมีเดีย สามารถประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดียได้
บอกประโยชน์การะประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ รู้ถึงเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับมัลติมีเดีย มีความรู้
พื้นฐานการสร้างอัลบั้มรูปภาพมัลติมีเดียอธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม Ulead DVD Picture
show สามารถอธิบายข้อดแี ละคุณสมบัตขิ องโปรแกรม Ulead DVD Picture show ได้

โดยใช้กระบวนการปฏิบัติในการตัดต่อวีดีโอตามขั้นตอนท่ีใช้เครื่องมือต่าง ๆ ปรับแต่งวีดีโอ
ไดอ้ ย่างเหมาะสม กระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมูล กระบวนการกล่มุ เพ่ือแลกเปลย่ี นเรียนรู้

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำทักษะการตัดต่อวีดีโอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มี
วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมนั่ ในการทำงาน มคี ณุ ธรรม จริยธรรมทีด่ ตี อ่ สังคม

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรียนได้ศึกษาและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และใช้งานโปรแกรม Ulead

Video Studio แบบ Editor
2. นักเรียนสามารถนำเข้า ภาพ VDO และ Audio มาใช้ และปรับแต่งช้ินงานได้
3. นักเรียนได้ศึกษาและมีความรู้ความเข้าใจในการใช้งานโปรแกรม Ulead Video Studio

แบบ Movie
4. นักเรยี นสามารถประยกุ ตส์ ร้างช้นิ งานด้วยโปรแกรม Ulead Video Studio ได้
5. นำสอ่ื มลั ตมิ เี ดียไปใช้งาน นำเสนอผลงาน, บนั ทึกผลงานลงแผ่นซีดรี อม

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

167

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว23201 การออกแบบและเทคโนโลยี 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 20 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและผลกระทบต่อ มนุษย์
สังคม เศรษฐกิจสิ่งแวดล้อมและอาชีพในชุมชน เพื่อสำรวจและระบุปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงตามความ
เป็นจริง กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ร่วมกัน ความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับประเภทและสมบัติของวัสดุต่าง ๆ เช่น ไม้ เหล็ก พลาสติก ยางพารา เครื่องมือในการ
สร้างชน้ิ งาน เชน่ คอ้ น ประแจ สว่าน คีมประเภทตา่ ง ๆ เพ่อื ใหส้ ามารถตดั สินใจเลือกแนวทางในการ
ออกแบบการแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) วิธีการ
สอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) วัฏจักรการเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) และวิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบ
อุปนยั (Induction) เพื่อเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนได้
ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการ
เรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะเกี่ยวกับการใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
ศาสตรอ์ ื่น ๆ ในการออกแบบและพฒั นาเทคโนโลยใี นด้านตา่ ง ๆ ทีส่ ามารถนำไปใช้ในชีวิตจรงิ ไดอ้ ย่าง
มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิตจนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและ
จินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสารและความสามารถใน
การตดั สินใจและเป็นผทู้ มี่ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์

ผลการเรยี นรู้
1. วิคราะหส์ าเหตหุ รอื ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความสัมพันธ์ของ

เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหา
หรือพัฒนางาน

168

2. ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่นเพื่อพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบของ
ปัญหา รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา โดยคำนึงถึงความถูกต้องด้าน
ทรัพยส์ ินทางปญั ญา

3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น
ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือ
วิธีการท่ีหลากหลาย วางแผนขน้ั ตอนการทำงานและดำเนนิ การการแก้ปญั หาอย่างเปน็ ข้ันตอน

4. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้
กรอบเงื่อนไขพร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรงุ แก้ไขและนำเสนอผลการแกป้ ญั หา

5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ให้
ถกู ต้องกับลักษณะของงานและปลอดภัย เพ่ือแก้ปัญหาหรอื พัฒนางาน
รวม 5 ผลการเรียนรู้

169

คำอธิบายรายวิชา

วิชา ว23203 ห่นุ ยนต์ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาชนิดของหุน่ ยนต์ ประเภท หลกั การทำงาน และสว่ นประกอบ หลักการควบคุมหุ่นยนต์
โดยใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้ประกอบหุ่นยนต์และเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมหุ่นยนต์ให้เหมาะสมงาน
ต่าง ๆ พร้อมทั้งประยุกต์หรือบรณู าการกับโครงงาน หรือภารกิจตามสถานการณ์ที่กำหนด เกิดความ
เข้าใจในการใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมหุน่ ยนต์อยา่ งสร้างสรรคไ์ ด้

โดยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การ
เขียนโปรแกรมการทดสอบโปรแกรมและการใช้งาน

เพื่อให้เกิดความรู้แนวคดิ ในการพัฒนาโปรแกรมไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาและนำไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน และมีเจตคติที่ดีต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม คุณธรรม และมี
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในดา้ นมวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน

ผลการเรียนรู้
1. ผูเ้ รียนมเี ขา้ ใจชนดิ ประเภท หลกั การทำและส่วนประกอบของห่นุ ยนต์
2. ผู้เรยี นความรู้ความเข้าใจ หลกั การควบคมุ โดยใช้เครอื่ งคอมพิวเตอร์
3. มที กั ษะการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมหุน่ ยนต์
4. มีทกั ษะการประกอบหนุ่ ยนต์ให้เหมาะสมกบั งานต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

รวม 4 ผลการเรียนรู้

170

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว23205 การสรา้ งภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาการสรา้ งองคป์ ระกอบฉากการจัดองค์ประกอบแสง และ เงา ให้กับงาน 3 D แอนเิ มชั่น
- การทำ Special Effects การจัดองค์ประกอบฉากต่างๆ โดยการ จำลอง effects ที่เกิดใน
ธรรมชาติ เช่นการสร้างหมอก ระเบิด ควัน ไฟ ฝน และการใช้ Dynamics Animation ใช้ Particle
และ Paint Effect
- การใช้ แสงต่างๆ เช่น แสงแบบ Ambient Light, Directional Light, Point Light, Spot
Light, Area Light และ Volume Light การใช้ Fog Light
- การจัดมุมกล้อง เช่น Camera and Aim, Camera Aim and Up, Angle view/ Focal
Length
- การเรนเดอร์ (Rendering) การประมวลผลงาน 3D animation เปน็ การประมวลผลข้อมูล
ของงานทั้งหมดที่ได้จากการสร้าง Model การทำ Animation การจดั แสง การใส่ Effect และการจัด
องค์ประกอบต่าง ๆ ของงาน ซึ่งการเรนเดอร์จะเป็นการนำภาพในแต่ละเฟรมมาต่อกันทำให้เป็น
ภาพเคลื่อนไหว อย่างต่อเนื่อง ซึ่งต้องมีการปรับค่า Resolution, Motion Blur, Anti-aliasing,
Alpha Channel, Sequence, และ Depth-of-Field เพือ่ ให้ไดภ้ าพที่คมชดั สวยงาม
โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสืบคน้ ข้อมลู กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ปัญหา
อย่างสรา้ งสรรค์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และโดยสามารถสร้างองค์ประกอบฉาก การจัดองค์ประกอบ
แสง และ เงาให้กับงานภาพยนตร์เคลื่อนไหว 3 มิติ และสามารถสร้างภาพยนตร์เคลื่อนไหว 3 มิติ
ขนาดส้ันประมาณ 1 นาที ได้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นด้านมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน
และนำไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันได้ และมที ัศนคติทดี่ ตี อ่ งานแอนเิ มชนั่

ผลการเรยี นรู้
1. ทำ Special Effects จดั ประกอบฉากต่างๆโดยการจำลอง effects ทเ่ี กดิ ในธรรมชาติ
2. เขา้ ใจการใชง้ านแสงแบบต่างๆ และสามารถปรบั แสง เงา ให้เขา้ กบั องคป์ ระกอบฉาก
3. ออกแบบและสร้างองค์ประกอบฉาก บรรยากาศต่างๆ ของฉากในภาพยนตร์

รวม 3 ผลการเรียนรู้

171

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว23202 วทิ ยาการคำนวณ 3 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและ
สารสนเทศ ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรู้เท่าทันสื่อ ศึกษาเกี่ยวกับการ
ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายคอมพิวเตอร์ ศึกษาเกี่ยวกับแอปพลิเคชัน เทคโนโลยี และ
การพัฒนาแอปพลเิ คชนั

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) และวัฏ
จักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ Instructional Model เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึก
ทกั ษะการคิด เผชญิ สถานการณก์ ารแกป้ ญั หา วางแผนการเรยี นรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้างองค์
ความรู้ใหมด่ ว้ ยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิ โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจ มที กั ษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวเิ คราะห์ แก้ปัญหาเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสาร
เบื้องต้นในการแกป้ ญั หาที่พบในชวี ติ จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเขา้ ใจในวิชา
วิทยาศาสตร์และนำเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต จน
สามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะ
ในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจและเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม
คา่ นิยมในการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

ผลการเรียนรู้
1. พฒั นาแอปพลิเคชนั ทม่ี กี ารบรู ณาการกับวชิ าอ่นื อย่างสร้างสรรค์
2. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์

โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอนิ เทอร์เน็ตทหี่ ลากหลาย
3. ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด

เพอื่ การใชง้ านอยา่ งร้เู ทา่ ทนั สอื่
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม

กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอรใ์ ชล้ ขิ สทิ ธิข์ องผู้อนื่ โดยชอบธรรม
รวม 4 ผลการเรียนรู้

172

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว23204 หุ่นยนต์ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับการประกอบหุ่นยนต์เบื้องตัน ศึกษาหลักการสร้างคำสั่งคอมพิวเตอร์ เพื่อ
ควบคุมการ ดว้ ยโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอรช์ ้นั สูง ให้ส่ือการสอนห่นุ ยนตส์ ามารถทำงานไดต้ ามความ
ต้องการเพือ่ ให้สามารถประยกุ ต์ใชอ้ ุปกรณห์ นุ่ ยนต์ และการสรา้ งคำสั่งควบคุมหุ่นยนต์

ฝึกทักษะการคิด โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการเรียนรู้แบบใช้
โครงงานเป็นฐานเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวาง
แผนการเรยี นร้แู ละนำเสนอผ่านการทำกจิ กรรมโครงงาน

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา โดยการบูรณาการสะเตม็
ศึกษามาช่วยในการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา นำความรู้ความ
เข้าใจในวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชวี ิต จนสามารถ
พัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการความสามารถในการแก้ปัญหาและการ จัดการทักษะในการ
สื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอังพึงประสงค์ รักชาติ
ศาสตร์ กษตั รยิ ์ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน และค่านิยมในการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

ผลการเรียนรู้
1. ผู้เรียนมีพื้นฐานประสบการณ์ในการสร้างคำสั่งด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อ

ควบคมุ หุ่นยนต์โดยใช้ส่อื การสอนหนุ่ ยนต์ ใหส้ ามารถทำงานได้ตามความตอ้ งการ
2. ผเู้ รยี นสามารถจดั ทำโครงงานเพื่อเปน็ ตน้ แบบสามารถนำไปพัฒนาเพอ่ื ใช้ในชวี ิตประจำวัน

หรอื เพอ่ื ชว่ ยเหลือผู้อนื่ ได้
3. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นไดพ้ ฒั นาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
4. ส่งเสริมและพฒั นาการคดิ การแก้ปัญหาการตัดสินใจรวมทัง้ การสอื่ สารระหวา่ งกนั
5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาทคโนโลยี และมีความสนใจที่จะ

ประกอบอาชีพทางด้านเทคโนโลยี
6. สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนได้ใชเ้ วลาอยา่ งเป็นประโยชน์ในทางสรา้ งสรรค์
7. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรม

คอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพ่ือนำเสนอต่อชมุ ชน
รวม 7 ผลการเรียนรู้

173

คำอธิบายรายวชิ า

วิชา ว23205 การสรา้ งภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาการสร้างองค์ประกอบฉาก การจัดองค์ประกอบแสง และ เงา ให้กับงาน การทำ
Special Effect การจัดองคป์ ระกอบฉากต่าง ๆ โดยการ จำลอง effects ทีเ่ กิดในธรรมชาติ เชน่ การ
สร้างหมอก ระเบิด ควัน ไฟและการใช้ Dynamics Animation ใช้ Particle และ Paint Effect การ
ใช้ แสงต่างๆ เช่น แสงแบบ Ambient Light, Directional Light, Point Light, Spot Light, Area
Light และ Volume Light การใช้ Fog Light การกำหนดการเคลือ่ นไหวของกลอ้ ง การจัดมุมกลอ้ ง
เ ช ่ น Camera and Aim, Camera Aim and Up, Angle view/Focal Length ก า ร เ ร น เ ด อ ร์
(Rendering) การประมวลผลงาน 3D animation เป็นการประมวลผลข้อมลู ของงานท้ังหมดท่ีได้จาก
การสร้าง Model การทำ Animation การจัดแสง การใส่ Effect และการจัดองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของ
งาน ซงึ่ การเรนเดอร์จะเปน็ การนำภาพในแตล่ ะเฟรมมาต่อกันทำใหเ้ ป็นภาพเคล่ือนไหว อย่างต่อเน่ือง
ซ่งึ ตอ้ งมีการปรับคา่ Resolution, Motion Blur, Anti-aliasing, Alpha Channel, Sequence, และ
Depth-of-Field เพื่อให้ไดภ้ าพท่คี มชัดสวยงาม

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการแก้ปัญหา
อย่างสรา้ งสรรค์

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และโดยสามารถสร้างองค์ประกอบฉาก การจัดองค์ประกอบ
แสง และ เงาให้กับงานภาพยนตร์เคลื่อนไหว 3 มิติ และสามารถสร้างภาพยนตร์เคลื่อนไหว 3 มิติ
ขนาดสัน้ ประมาณ 1 นาที ไดม้ ีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
และนำไปประยกุ ตใ์ ช้ให้เกิดประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ได้ และมที ศั นคติทีด่ ีตอ่ งานแอนเิ มช่ัน

ผลการเรียนรู้
1. การกำหนดการเคล่ือนไหวของกล้อง และจัดมุมกลอ้ งได้
2. เขา้ ใจการเรนเดอร์ (Rendering) การประมวลผลงาน 3D animation ได้
3. สรา้ งสรรค์ผลงานภาพยนตร์เคลื่อนไหว 3 มิติ ขนาดส้นั ประมาณ 1 นาที ได้

รวม 3 ผลการเรียนรู้

174

คำอธิบายรายวิชา

วิชา ว31201 ฟิสิกส์ 1 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 80 ชวั่ โมง จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาค้นคว้าความรู้ทางฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาฟิสิกส์ ปริมาณทางฟิสิกส์
และหน่วยการทดลองในวิชาฟิสิกส์ ความไม่แน่นอนในการวัด เลขนัยสำคัญ การบันทึกข้อมูล การ
วิเคราะห์ผลการทดลอง ตำแหน่งและการกระจัด ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย ความเร่ง การ
เคลื่อนที่กรณีความเร่งเป็นค่าคงตัว วัตถุอย่างเสรีมีความเร่งเป็นค่าคงตัว การเคลื่อนที่ในแนวตรง
เวกเตอร์ตำแหน่ง และเวกเตอร์ความเร็วในสองมิติ ความเร่งในสองมิติ ความเร็วสัมพัทธ์ แรงกฎการ
เคลื่อนที่หนึ่งของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อท่ีสามของนิวตัน
น้ำหนัก กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน จุดศูนย์กลางมวล และจุดศูนย์กลางของความโน้มถ่วง
แรงเสียดทาน การนำกฎการเคลือ่ นที่ของนิวตนั ไปใช้

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ อภิปราย การสำรวจ
ตรวจสอบ การทดลอง

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถตดั สนิ ใจ
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

ผลการเรียนรู้
1. สืบค้น และอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ และประวัตคิ วามเป็นมา
2. วดั และรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟสิ กิ ส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคล่ือน

ในการวัดมาพิจารณาในการนำเสนอผล
3. ทดลอง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มี

ความเร่งคงตวั จากกราฟและสมการ รวมทัง้ ทดลองหาคาความเร่งโน้มถ่วงของโลก
4. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลพั ธ์ของแรงสองแรงท่ีทำมุมต่อกนั
5. เขยี นแผนภาพของแรงทีก่ ระทำต่อวตั ถุ ทดลอง และอธิบายกฎการเคลือ่ นทข่ี องนิวตัน
6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก รวมทั้ง

คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วของ
7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีท่ี

วัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนที่
รวม 7 ผลการเรยี นรู้

175

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว31202 ฟิสิกส์ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 หน่วยกติ

ศกึ ษาหลกั การของกลศาสตรใ์ นเรื่องสมดลุ กล และเงอื่ นไขที่ทำให้วัตถุหรือระบบอยู่ในสมดุล
กลศูนย์กลางของมวลของวัตถุ และผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของวัตถุ งาน พลังงาน
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งงาน และพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง และ
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืดออก แรงอนุรักษ์ กฎการอนุรักษ์
พลังงาน กำลัง เครื่องกลอย่างง่าย ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบาง
ชนิด โมเมนตัมการชนกับการชนกันของวัตถุในหนึ่งมิติ การดล แรงดล และกฎอนุรักษ์โมเมนตัมการ
เคลื่อนทีแ่ บบโปรเจคไทล์ และการเคล่ือนทีแ่ บบวงกลมในระนาบระดับ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ อภิปราย การสำรวจ
ตรวจสอบ การทดลอง

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรยี นรู้ มีความสามารถตัดสินใจ
อย่างมีประสิทธิภาพ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ
คา่ นิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ที่มตี อการหมุน แรงคู่ควบและ

ผลของแรงคู่ควบที่มีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำตอวัตฤอิสระเมื่อวัตถุอยู่ใน
สมดลุ กล และคำนวณปริมาณตาง ๆ ทีเ่ กย่ี วของ รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดลุ ของแรงสามแรง

2. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุ เม่อื แรงท่ีกระทำต่อวตั ถุผ่านศูนย์กลางมวล
ของวัตถุ

3. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใตกราฟความสัมพันธ์
ระหวางแรงกบั ตำแหน่ง รวมทง้ั อธบิ าย และคำนวณกำลังเฉลยี่

4. อธิบาย และคำนวณพลังงานจลน พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์
ระหว่างงานกบั พลงั งานจลน ความสมั พนั ธระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถว่ ง ความสัมพันธ์ระหว่าง
ขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์
ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์และพลังงานและคำนวณงานที่เกิดขึ้น
จากแรงลพั ธ์

176

5. อธบิ ายกฎการอนุรกั ษพลังงานกลรวมทงั้ วิเคราะห์ และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ
6. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด
โดยใช้ความรู้เรือ่ งงานและสมดลุ กล รวมท้ังคำนวณประสทิ ธภิ าพและการได้เปรียบเชงิ กล
7. อธิบาย และคำนวณโมเมนตัมของวัตถุ และการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟ
ความสัมพันธ์ระหวางแรงลัพธ์กับเวลา รวมทัง้ อธิบายความสัมพนั ธระหวางแรงดลกับโมเมนตัม
8. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกบั การชนของวัตถใุ นหนึ่งมิติทง้ั แบบยืด
หยนุ ไมย่ ดื หยนุ และการดดี ตัวแยกจากกันในหน่งึ มติ ิ ซ่ึงเปนไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตมั
9. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกย่ี วของกบั การเคลื่อนท่แี บบโพรเจกไทล์
และทดลองการเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจกไทล
10. ทดลอง และอธิบายความสมั พันธระหวางแรงสู่ศนู ยก์ ลาง รัศมีของการเคล่ือนที่ อัตราเรว็
เชิงเสนอัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคำนวณ
ปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วของ
รวม 10 ผลการเรยี นรู้

177

คำอธิบายรายวิชา

วิชา ว31212 เคมี 1 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมีในระบบ GHS และ NFPA ข้อ
ควรปฏิบัติในการทำปฏิบัติการเคมี ทั้งก่อนทำปฏิบัติการ และหลังทำปฏิบัติการ การกำจัดสารเคมี
และการปฐมพยาบาลเมอ่ื ได้รบั อบุ ัตเิ หตจุ ากสารเคมี ศกึ ษาการพิจารณาความน่าเช่อื ถอื ของข้อมูลที่ได้
จากการวัดจากความเที่ยงและความแม่น อุปกรณ์วัดปริมาตรและวัดมวล เลขนัยสำคัญ หน่วยวัดใน
ระบบเอสไอ แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย รวมทั้งวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ และจติ วทิ ยาศาสตร์

ศึกษาแบบจำลองอะตอมของดอลตนั ทอมสนั รทั เทอรฟ์ อร์ด โบร์ และกลุ่มหมอก เขยี นและ
แปลสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป เขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
อะตอม ศกึ ษาความหมายของระดบั พลังงานของอเิ ล็กตรอน ออรบ์ ทิ ัล เวเลนซ์อิเล็กตรอน วิวัฒนาการ
ของการสร้างตารางธาตุและตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุ
ตามหมูแ่ ละตามคาบเกยี่ วกับขนาดอะตอมขนาดไอออน พลงั งานไอออไนเซชัน สมั ภคภาพอิเล็กตรอน
อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ติ ี ศกึ ษาสมบัตขิ องธาตแุ ทรนซิชัน
ธาตกุ มั มันตรังสี การเกดิ กัมมันตรังสี การสลายตัวและอันตรายจากไอโซโทปกัมมันตรังสี คำนวณคร่ึง
ชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี ศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร์และเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการใช้สาร
กมั มันตรังสี การนำธาตไุ ปใชป้ ระโยชน์ รวมทง้ั ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดล้อม

ศึกษาพันธะเคมี สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต การเกิดพันธะไอออนิก สูตร
เคมีและชื่อของสารประกอบไอออนิก พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติของ
สารประกอบไอออนิก สมการไอออนิก และ สมการไอออนิก สุทธิ การเกดิ พันธะโคเวเลนต์ โครงสร้าง
ลิวอิส สูตรโมเลกุลและชื่อของสารโคเวเลนต์ ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ เรโซแนนซ์ การ
คำนวณพลังงานพันธะและพลังงานของปฏิกิริยา รูปร่างและสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ สารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย การเกิดพันธะ
โลหะ และสมบัตขิ องโลหะ และการนำสารประกอบชนดิ ต่างๆ ไปใช้ประโยชน์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
วิเคราะห์เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถใน
การตัดสินใจ มที ักษะปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

178

ผลการเรียนรู้
1. บอก และอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทำ

ปฏิบัติการเคมีเพื่อให้มคี วามปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแก้ไขเมือ่
เกดิ อุบัติเหตุ

2. เลอื ก และใชอ้ ุปกรณ์หรือเคร่อื งมือในการทำปฏบิ ัติการ และวัดปรมิ าณตา่ งๆ
3. นำเสนอแผนการทดลอง ดลองและเขยี นรายงานการทดลอง
4. ระบหุ น่วยวัดปริมาณต่างๆ ของสาร และเปล่ยี นหนว่ ยวดั ใหเ้ ปน็ หนว่ ยในระบบเอสไอด้วย
การใชแ้ ฟกเตอรเ์ ปลีย่ นหน่วย
5. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอ
แบบจำลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแ์ ละอธบิ ายวิวฒั นาการของแบบจำลองอะตอม
6. เขยี นสัญลักษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ และระบจุ ำนวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอนของ
อะตอมจากสญั ลกั ษณน์ วิ เคลียร์ รวมท้ังบอกความหมายของไอโซโทป
7. อธิบาย และเขยี นการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดบั พลังงานย่อยเม่ือ
ทราบเลขอะตอมของธาตุ
8. ระบหุ มคู่ าบโลหะอโลหะและกง่ึ โลหะของธาตุเรพรเี ชนเททีฟและธาตแุ ทรนชิชันในตาราง
9. วิเคราะห์ และบอกแนวโน้มสมบตั ขิ องธาตเุ รพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ
10. บอกสมบตั ขิ องธาตโุ ลหะแทรนชิชนั และเปรียบเทียบธาตโุ ลหะและธาตุเรพรีเซนเททีฟ
11. อธบิ ายสมบัติ และคำนวณคร่ึงชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรงั สี
12. สืบคันข้อมูล และยกตัวอย่างการนำธาตุมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
และส่งิ แวดล้อม
13. อธบิ ายการเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก โดยใชแ้ ผนภาพหรือสัญลักษณ์แบบจุด
ของลวิ อิส
14. เขียนสูตร และเรยี กชอ่ื สารประกอบไอออนิก
15. คำนวณพลงั งานทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การเกิดสารประกอบไอออนิก จากวัฏจกั รบอรน์ -ฮาเบอร์
16. อธิบายสมบัตขิ องสารประกอบไอออนกิ
17. เขยี นสมการไอออนิก และสมการไอออนิก สุทธขิ องปฏิกิรยิ าของสารประกอบไอออนกิ
18. อธิบายการเกดิ พนั ธะโคเวเลนต์ แบบพันธะเดยี่ วพนั ธะคแู่ ละพันธะสาม
19. เขยี นสูตร และเรียกช่อื สารโคเวเลนต์
20. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมท้ัง
คำนวณพลังงานท่ีเกยี่ วขอ้ งกับปฏิกิริยาของสารโคเวเลนตจ์ ากพลังงานพนั ธะ

179

21. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวง
เวเลนซแ์ ละระบุสภาพข้วั ของโมเลกุลโคเวเลนต์

22. ระบชุ นดิ ของแรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรยี บเทียบจุดหลอมเหลวจุด
เดอื ด และการละลายนำ้ ของสารโคเวเลนต์

23. สบื คน้ ขอ้ มูล และอธิบายสมบตั ิของสารโคเวเลนต์โครงรา่ งตาข่ายชนดิ ต่าง ๆ
24. อธิบายการเกดิ พนั ธะโลหะและสมบตั ิของโลหะ
25. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ
สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชนข์ องสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ
ได้อยา่ งเหมาะสม
รวม 25 ผลการเรยี นรู้

180

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว31222 เคมี 2 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาความหมายและคำนวณมวลอะตอม มวลสัมพันธ์ มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุโมเลกุล
มวลต่อโมเลกุล มวลโมเลกุลและมวลสูตร ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนโมเลกุล อนุภาค มวล
และปริมาตรของแก๊สที่ STP ศึกษากฎสัดส่วนคงที่ คำนวณอัตราส่วนโดยมวล อัตราส่วนโดยโมเลกุล
รอ้ ยละโดยมวล สตู รโมเลกุลและสตู รเอมพริ คิ ลั

ศกึ ษาหนว่ ยความเข้มขน้ และการคำนวณความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหนว่ ยร้อยละ สว่ นใน
ล้านส่วนส่วนในพันล้านส่วน โมแลลิตี และเศษส่วนโมเลกุล ศึกษาการเตรียมสารละลายจากสาร
บริสุทธิ์และจากการเจือจางสารละลายเข้มข้น เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสาร
บริสุทธิแ์ ละสารละลาย

ศึกษาการเขียนและดุลสมการเคมี อัตราส่วนโดยโมลของสารในปฏิกิริยาเคมี แปล
ความหมายสญั ลักษณ์ในสมการเคมี คำนวณปริมาณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมีตามกฎทรงมวล ศกึ ษากฎ
การรวมปริมาตรแก๊สของเกย์-ลูสแซกและสมมติฐานของอาโวกาโดร คำนวณปริมาณของสารใน
ปฏกิ ิริยาเคมีโดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโมเลกุล มวล ความเขม้ ข้น และปรมิ าตรแก๊ส คำนวณปรมิ าณ
สารในปฏกิ ริ ิยาเคมีหลายขัน้ ตอน ปรมิ าณสารเมื่อมสี ารกำหนดปรมิ าณและผลได้รอ้ ยละ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
วิเคราะห์เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถใน
การตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
นำความร้ไู ปใชใ้ นชีวติ ของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตรจ์ ริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคำนวณมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ มวล

โมเลกุลและมวลสตู ร
2. อธิบาย และคำนวณปริมาณใดปริมาณหนึ่งจากความสัมพันธ์ของโมเลกุล จำนวนอนุภาค

มวล และปริมาตรของแก๊สที่ STP
3. คำนวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตอุ งคป์ ระกอบของสารประกอบตามกฎสดั ส่วนคงท่ี
4. คำนวณสูตรอยา่ งง่ายและสูตรโมเลกลุ ของสาร

181

5. คำนวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยตา่ ง ๆ
6. อธิบายวิธีการ และเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นในหน่วยโมลาริตี และปริมาตร
สารละลายตามท่กี ำหนด
7. เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกับสารบริสุทธิ์ รวมทั้งคำนวณจุด
เดอื ดและจุดเยือกแขง็ ของสารละลาย
8. แปลความหมายสัญลกั ษณใ์ นสมการเคมเี ขียนและดลุ สมการเคมขี องปฏิกิริยาเคมีบางชนดิ
9. คำนวณปริมาณของสารในปฏกิ ริ ิยาเคมที ี่เก่ียวขอ้ งกับมวลสาร
10. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ิยาเคมที ี่เกย่ี วขอ้ งกบั ความเขม้ ข้นของสารละลาย
11. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ิรยิ าเคมีทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับปริมาตรแกส๊
12. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกิริยาเคมหี ลายขั้นตอน
13. ระบสุ ารกำหนดปริมาณ และคำนวณปริมาณสารตา่ งๆ ในปฏกิ ริ ยิ าเคมี
14. คำนวณผลไดร้ ้อยละของผลิตภัณฑใ์ นปฏิกิริยาเคมี
รวม 14 ตวั ข้ีวดั

182

คำอธบิ ายรายวชิ า

วิชา ว31241 ชีววิทยา 1 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต แขนงวิชาที่เกี่ยวข้องกับ
ชีววิทยา และการใช้ความรู้ทางชีววิทยาที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ชีววิทยากับการ
ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ความตระหนักในเรื่องของยิบธรรม การศึกษาชีววิทยาโดยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ รวมทั้งการศึกษาวิธีการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ และนำความรู้เกี่ยวกับชีววิทยามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การทำกิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจรงิ ศึกษาเคมีที่เป็นพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของสารต่าง ๆ ที่
เป็นองคป์ ระกอบในเซลล์ของส่ิงมีชวี ิต และปฏกิ ิรยิ าเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชวี ิต ศกึ ษาส่วนประกอบของ
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง หลักการทำงาน วิธีการใช้รวมทั้งการดูแลและเก็บรักษา ศึกษาโครงสร้างและ
หน้าที่ของส่วนท่ีห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส การลำเลียงสารเข้าและออกจากเชลล์ การ
หายใจระดบั เซลล์ซ่ึงเป็นกระบวนการท่เี ซลล์สร้างพลงั งานจากการสลายสารอาหารสำหรับนำไปใช้ใน
กิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ และการแบ่งเซลล์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมลู การสงั เกต การวเิ คราะหก์ ารทดลอง การอภิปราย การอธิบายและ
สรุป เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่อื สารส่ิงท่เี รียนรู้และนำ
ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มี
คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคเ์ ทยี บเรยี งมาตรฐานสากล ผ้เู รียนมศี กั ยภาพเปน็ พลโลก

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายและสรุปสมบัตทิ ี่สำคัญของสิ่งมชี วี ติ และความสัมพันธข์ องการจัดระบบในส่งิ มีชีวิต

ทท่ี ำให้ส่งิ มชี วี ติ ดำรงชีวิตอย่ไู ด้
2. อภิปรายและบอกความสำคัญของการระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐาน

และวธิ กี ารตรวจสอบสมมตฐิ าน รวมทงั้ ออกแบบการทดลองเพ่อื ตรวจสอบสมมตฐิ าน
3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน้ำและบอกความสำคัญของน้ำที่มีต่อสิ่งมีชีวิต

และยกตวั อย่างธาตุชนดิ ตา่ ง ๆ ทมี่ ีความสำคญั ตอ่ รา่ งกายสิง่ มชี วี ิต
4. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของคารโบไฮเดรต รวมทั้ง

ความสำคัญของคารโ์ บไฮเดรตที่มีต่อส่ิงมชี ีวติ
5. สบื ค้นข้อมลู อธิบายโครงสรา้ งของโปรตีนและความสำคัญของโปรตีนทมี่ ีตอ่ สิง่ มชี วี ติ

183

6. สืบค้นขอ้ มลู อธบิ ายโครงสร้างของลิพิด และความสำคญั ของลพิ ดิ ทีม่ ีต่อส่งิ มชี ีวิต
7. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอิก และระบุชนิดของกรดนิวคลิอิก และความสำคัญของ
กรดนิวคลอิ ิกท่ีมีต่อสง่ิ มีชวี ิต
8. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายปฏกิ ิรยิ าเคมที ่ีเกดิ ขึน้ ในส่ิงมีชีวิต
9. อธบิ ายการทำงานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกิริยาเคมีในส่ิงมีชีวิต และระบุปัจจัยท่ีมีผลต่อ
การทำงานของเอนไซม์
10. บอกวิธีการ และเตรยี มตัวอยา่ งสงิ่ มีชวี ิตเพ่ือศึกษาภายใต้กล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสงวัดขนาด
โดยประมาณและวาดภาพท่ปี รากฎภายใตก้ ลอ้ ง บอกวธิ ีการใช้
11. อธบิ ายโครงสร้างและหน้าท่ีของสว่ นทห่ี อ่ หุ้มเซลลข์ องเซลลพ์ ืชและเชลล์สัตว์
12. สบื ค้นข้อมลู อธิบาย และระบุชนิดและหนา้ ทขี่ องออรแ์ กเนลล์
13. อธิบายโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องนวิ เคลียส
14. เปรยี บเทียบการแพร่ออสมชสิ การแพรแ่ บบฟาซิลิเทต และแอกทีฟทรานสปอรต์
15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนภาพการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่เอกโชไซโทซิสและ
การลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่เขา้ สู่เซลลด์ ว้ ยกระบวนการ เอนโดไซโทซิส
16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้กล้อง
จุลทรรศน์ พรอ้ มทงั้ อธบิ ายและเปรียบเทียบการแบ่งนวิ เคลยี สแบบไมโทซิส และแบบไมโอซสิ
17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปขั้นตอนการหายใจระดับเซลล์ในภาวะที่มีออกชิเจน
เพียงพอ และภาวะทมี่ อี อกชเิ จนไมเ่ พยี งพอ
รวม 17 ผลการเรียนรู้

184

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว31242 ชีววทิ ยา 2 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับโครโมโซม และสารพันธุกรรม โครงสร้างของ DNA การจำลอง DNA การ
ควบคุมลักษณะพันธุกรรมของ DNA มิวเทชัน และการเกิดมิวเทชัน ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล การถ่ายทอดยีนบนโครโมโชม ลักษณะทางพันธุกรรมที่
เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศ ยีนบนโครโมโชมเดียวกัน
ศึกษาเทคโนโลยีทาง DNA พันธุวิศวกรรมและการโคลนยีนการหาขนาดของ DNA และการหาลำดับ
การประยุกต์ใช้ทคโนโลยีทาง DNA กับความปลอดภัยทางชีวภาพ ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของ
หลักฐานและข้อมลู ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาวิวัฒนาการของส่ิงมีชวี ติ แนวคดิ เกย่ี วกับววิ ัฒนาการของส่ิงมีชีวิต
พนั ธุศาสตรป์ ระชากร ปจั จยั ท่ที ำให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล และกำเนดิ สปีซีส์ โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูลการสังเกต การ
วิเคราะห์การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองมีจิต
วิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เทียบเคียง
มาตรฐานสากลผูเ้ รยี นมศี ักยภาพเป็นพลโลก

ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ าย สมบัติและหนา้ ที่ของสารพันธุกรรม โครงสรา้ งและองค์ประกอบทาง

เคมีของ DNA และสรปุ การจำลองดเี อน็ เอ
2. อธิบาย และระบุข้ันตอนในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี และหน้าท่ีของ DNA และ RNA

แตล่ ะชนดิ ในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี
3. สืบค้นขอ้ มลู และอธบิ ายการเกิดมิวเทชันระดับยนี และระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมิว

เทชนั รวมท้ังยกตัวอย่างโรคและกลุม่ อาการที่เป็นผลของการเกิดมวิ เทชัน
4. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายและสรปุ ผลการทดลองของเมนเดล
5. สรุปความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรม แอลลีล โปรตีน ลักษณะทางพันธุกรรม และ

เชื่อมโยงกบั ความรเู้ ร่ืองพนั ธุศาสตร์เมนเดล

185

6. อธิบายและสรุปกฎแห่งการแยกและกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ และนำกฎของเมน
เดลนี้ไปอธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และใช้ในการคำนวณโอกาสในการเกิดฟิโนไทป์
และโนไทป์แบบต่าง ๆ ของรนุ่ F1 และ F2

7. สืบคน้ ขอ้ มูล วิเคราะห์ อธบิ าย และสรุปเกีย่ วกับการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่เป็น
สว่ นขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล

8. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการแปรผันไม่ต่อเนื่อง
และลักษณะทางพนั ธกุ รรมทมี่ กี ารแปรผันต่อเนื่อง

9. อธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุม
ดว้ ยยนี บนออโตโชมและยีนบนโครโมโชมเพศ

10. อธิบายหลกั การสรา้ งสิง่ มชี วี ิตดดั แปรพันธกุ รรมโดยใชด้ ีเอ็นเอรีคอมบแิ นนท์
11. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอภิปรายการนำเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยกุ ต์ใช้ท้ังใน
ด้านส่ิงแวดล้อมนิติวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ การเกษตรและอุตสาหกรรม
12. สืบค้นข้อมูล และอธิบายเกี่ยวกับหลักฐานที่สนับสนุนและข้อมูลที่ใช้อธิบายการเกิด
วิวฒั นาการของสิ่งมีชีวิต
13. อธิบาย และเปรียบเทียบแนวคดิ เกยี่ วกับวิวัฒนาการของสิ่งมชี ีวิตของฌอง ลามารก์ และ
ทฤษฎีเก่ียวกับววิ ัฒนาการของส่งิ มชี ีวติ
14. ระบุสาระสำคัญ และอธิบายเงื่อนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ปัจจัยที่ทำให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร พร้อมทั้งคำนวณหาความถี่ของแอลลีลและจีโน
ไทป์ของประชากรโดยใช้หลกั ของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
15. สืบคน้ ข้อมลู อภปิ ราย และอธิบายกระบวนการเกดิ สปีชสี ใ์ หม่ของสง่ิ มชี วี ิต
รวม 15 ผลการเรียนรู้

186

คำอธิบายรายวชิ า

วชิ า ว31287 การประยกุ ตใ์ ช้งานเทคโนโลยี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ
คณิตศาสตร์รวมทั้งประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพ่ือ
เป็นแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี ศึกษาการระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อน เพื่อสังเคราะห์วิธีการ
เทคนิคในการแกป้ ญั หา โดยคำนงึ ถึงความถกู ตอ้ งดา้ นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ศกึ ษาการออกแบบ

ปฏิบัติการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นภายใต้
เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธี การท่ี
หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทำงานและดำเนินการ
แกป้ ญั หา การทดสอบ ประเมนิ ผล วเิ คราะหแ์ ละใหเ้ หตุผลของปัญหาหรือข้อบกพรอ่ งที่เกิดขึ้นภายใต้
กรอบเงือ่ นไข หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข พรอ้ มทง้ั เสนอแนวทางการพัฒนาตอ่ ยอด

เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา นำไปสู่การสร้าง
ต้นแบบ ตลอดจนสามารถนำกระบวนการเทคโนโลยี สร้างเทคโนโลยี วิธกี าร เพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพใน
การดำรงชวี ิต รวมทง้ั คำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนนำความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิตจนสามารถพัฒนากระบวนการคิด
และจนิ ตนาการได้

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยี
2. มคี วามรคู้ วามเข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อื่น ๆ
3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการวเิ คราะหผ์ ลกระทบที่เกิดจากระบบเทคโนโลยี
4. มีความรู้ความเขา้ ใจในการออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหาและวางแผนขั้นตอนการทำงาน
5. มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั อุปกรณ์ เครอื่ งมือและเทคโนโลยที ่ซี บั ซอ้ นในการแกป้ ัญหา

รวม 5 ผลการเรียนรู้

187

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว31288 การแก้ปัญหาเชงิ คำนวณ1 กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานทางด้าน
เทคโนโลยี การนำแนวคิดเชิงคำนวณพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน ตลอดจนใช้ในการ
พฒั นาโครงงานที่มีการบรู ณาการกับวชิ าอื่นอย่างสรา้ งสรรค์และเชือ่ มโยงกบั ชีวิตจริง

ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้
และนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการ
วิเคราะหโ์ จทยป์ ญั หา จนสามารถนำเอาแนวคดิ เชงิ คำนวณมาประยุกตใ์ ชใ้ นการสรา้ งโครงงานได้

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากท่ีอื่นมา
ประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ
สงั คม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัยมีจริยธรรม ตลอดจนนำความรคู้ วามเข้าใจในวชิ าวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิด
และจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปญั หาและการจัดการทักษะในการสือ่ สาร และความสามารถ
ในการตัดสนิ ใจ และเป็นผ้ทู ี่มีจติ วทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์

ผลการเรียนรู้
1. มคี วามร้ใู นการใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแยกสว่ นประกอบและยอ่ ยปญั หา
2. ปฏบิ ัติใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการพฒั นาโครงงาน
3. ปฏิบตั ิการแก้ปัญหาและออกแบบขนั้ ตอนวธิ กี ารแก้ปัญหา
4. ปฏบิ ตั ิการวางแผนและออกแบบโครงงาน

รวม 4 ผลการเรียนรู้

188

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า I30201 การคน้ ควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ฝึกทักษะตัง้ ประเดน็ ปญั หา ตงั้ คำถามเก่ยี วกบั สถานการณ์ปัจจบุ ันและสังคม
โลกตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขา
ต่าง ๆ และมีทฤษฎีรองรับ ออกแบบ วางแผล และรวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับ
สมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ และสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และ
พิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งเรียนรู้อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชว้ ิธีการทีเ่ หมาะสม สังเคราะห์ สรุปผลองค์ความรูร้ ่วมกัน มีกระบวนการกลุ่มใน
การวิพากษ์แลกเปลีย่ นความคิดเห็น โดยใช้ความรู้จากวิชาสาขาต่างๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปญั หา
อย่างเป็นระบบ โดยกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะใน
การค้นคว้าแสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรุป อภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยงความรู้ เห็นประโยชน์
และคณุ คา่ ของการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง

ผลการเรยี นรู้
1. ต้ังประเด็นปญั หา จากสถานการณป์ ัจจบุ นั และสังคมโลก
2. ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้โดยใช้ความรู้จาก

สาขาวชิ าต่าง ๆ และมที ฤษฎรี องรับ
3. ออกแบบ วางแผน ใชก้ ระบวนการรวบรวมข้อมลู อย่างมปี ระสิทธิภาพ
4. ศึกษา คน้ ควา้ แสวงหาความรูเ้ ก่ียวกบั ประเด็นท่เี ลอื กจากแหล่งเรยี นรทู้ ีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
5. ตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ของแหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูลวิเคราะห์ข้อค้นพบดว้ ยสตทิ เ่ี หมาะสม
7. สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม
8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรจู้ ากการค้นพบ

รวม 8 ผลการเรยี นรู้

189

คำอธบิ ายรายวิชา

วชิ า I30202 การสอ่ื สารและการนำเสนอ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษา เรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและ
สังคมโลก โดยเขียนโครงร่าง บทนำ เนื้อหาสรุปในรูปของรายงานการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการเป็น
ภาษาไทยความยาวจำนวน 4,000 คำหรือเป็นภาษาอังกฤษ ความยาว 2,500 คำ มีการอ้างอิงแหล่ง
ความรู้ที่เชื่อถือได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศเรียบเรียงและถ่ายทอดสื่อสาร นำเสนอความคิด
อยา่ งชัดเจนเปน็ ระบบ มีการนำเสนอในรปู แบบเดยี่ ว หรอื กลุม่ โดยใช้สอื่ เทคโนโลยที ห่ี ลากหลายและ
มีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ ในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ และทักษะการสื่อสารที่มี
ประสิทธิภาพ เห็นประโยชน์และคุณค่าในการสร้างสรรค์งาน และถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็น
ประโยชนแ์ กส่ าธารณะ

ผลการเรยี นรู้
1. วางโครงร่างการเขียนตามหลกั เกณฑ์ องค์ประกอบและวิธเี ขียนโครงรา่ ง
2. เขยี นรายงานการศึกษาเชงิ วชิ าการเป็นภาษาไทยความยาว 4,000 คำ
3. นำเสนอข้อค้นพบ ข้อสรุปจากประเด็นท่ีเลือกในรูปแบบเดีย่ ว หรือกลุ่ม โดยใช้เทคโนโลยี

ทห่ี ลากหลาย
4. เผยแพรผ่ ลงานสสู่ าธารณะ โดยใชก้ ารสนทนาวิพากษผ์ ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น

e-conference, social media online
5. เห็นประโยชน์และคณุ ค่าการสร้างสรรค์งานและถา่ ยทอดสิง่ ท่ีได้เรียนรู้ใหเ้ ป็นประโยชน์

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

190

คำอธิบายรายวิชา

วชิ า ว32203 ฟสิ กิ ส์ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 80 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาหลักการของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คลื่นในเรื่ององค์ประกอบและการ
เคลอื่ นท่ขี องคลนื่ สมบัติของคล่ืน ธรรมชาติของเสยี ง สมบัตขิ องคล่นื เสียง การอธบิ ายปรากฎการณท่ี
เกี่ยวกับคลื่นเสียง สมบัติของคลื่นเสียง หูและการได้ยิน ความเข้มของเสียงและมลพิษทางเสียง
ธรรมชาติของแสงการสั่นพองของเสียง บีตส์ ปรากฎการณดอปเพลอรและคลื่นกระแทก แสงเชิง
เรขาคณิต กระจกเงาโค้ง เลนส์บางและหลักการของทัศนอุปกรณ์บางชนิดการรับรูสีของนัยต์ตาคน
แสงเชิงฟิสิกส์ และการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับคลื่นแสง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสืบค้นข้อมูล การสำรวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดมีความสามารถในการ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้การตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรม
คุณธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนทแ่ี บบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวตั ถุตดิ ปลายสปริงและลูกตุ้ม

อย่างงา่ ยรวมท้ังคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง
2. อธบิ ายความถ่ีธรรมชาตขิ องวตั ถุและการเกิดการสน่ั พ้อง
3. อธิบายปรากฏการณ์คลื่น ชนิดของคลื่นส่วนประกอบของคลื่น การแผ่ของหน้าคลื่นโดย

หลกั การและการรวมกันของคลนื่ พร้อมท้งั คำนวณอัตราเรว็ ความถี่ และความยาวคลื่น
4. อธิบายและคำนวณพลังงานศักยไ์ ฟฟ้าศักย์ฟฟ้า และความตา่ งศักย์
5. สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคล่นื ผิวน้ำ

รวมท้งั คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
6. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียงองค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษ

ทางเสยี ง รวมทัง้ คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
7. ทดลองและอธิบายการเกิดการสัน่ พ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งดา้ น รวมทั้งสังเกต

และอธิบายการเกิดบีตส์ คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง และนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั

8. ทดลองและอธิบายการสะทอ้ นของแสงที่ผิววตั ถุตามกฎกำรสะท้อน เขียนรังสีของแสงและ
คำนวณตำแหน่งและขนาดภาพของวัตถุเมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม

191

รวมทง้ั อธบิ ายการ นำความร้เู ร่ืองการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใช้
ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน

9. ทดลองและอธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเหรวมท้งั
อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของ
แสงและคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

10. ทดลองและเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง ตำแหน่ง ขนาด ชนิด
ของภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมทั้งคำนวณปริมาณ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และอธิบายการนำความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวนั

11 อธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับแสง เช่น รุ้ง การทรงกรด มิราจ และการเห็น
ทอ้ งฟ้าเปน็ สตี ่าง ๆ ในช่วงเวลาต่างกัน

12. สงั เกตและอธิบายการมองเหน็ แสงสี สขี องวตั ถุ การผสมสารสี และกำรผสมแสงสีรวมท้ัง
อธบิ ายสาเหตขุ องการบอดสี
รวม 12 ผลการเรยี นรู้

192

คำอธบิ ายรายวชิ า

วชิ า ว32204 ฟสิ ิกส์ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 80 ช่ัวโมง จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลกั การของไฟฟ้าและแมเ่ หลก็ ในเร่ือง กฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา้ ศักย์ไฟฟา้ ความจุ
และตัวเก็บประจุ กฎของโอห์ม สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
กระแสตรงอยา่ งง่าย การหาพลังงานไฟฟ้าท่ีใชใ้ นเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า สนามแม่เหลก็ ความสมั พันธ์ระหว่าง
สนามแม่เหล็กและไฟฟ้า หลักการของมอเตอร์ กฎการเหนี่ยวนำไฟฟ้าของฟาราเดย์และกฎของเลนซ์
หลักการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับการแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง
แนวคิดทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้
กระบวนการวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
ความคิด มีความสามารถในการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ทดลองและอธิบายการทำวัตถุที่เป็นกลาง ทำงานไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกัน

และ การเหน่ียวนำไฟฟา้ สถิต
2. อธบิ ายและคำนวณแรงไฟฟา้ ตามกฎของ คูลอมบ์
3. อธิบายและคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่อยู่ใน

สนามไฟฟ้ารวมท้ังสนามไฟฟา้ ลพั ธเ์ นอ่ื งจากระบบจดุ ประจโุ ดยรวมกันแบบเวกเตอร์
4. อธิบายและคำนวณพลังงานศกั ยไ์ ฟฟา้ ศักย์ฟฟา้ และความต่างศกั ย์ระหว่างสองตำแหน่ง
5. อธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุความสัมพันธ์ระหว่างประจุไฟฟ้า ความต่างศักย์

และความจุของตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมท้ัง
คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วข้อง

6. นำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด และ
ปรากฏการณใ์ นชวี ิตประจำวนั

7. อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ ความสัมพันธ์
ระหว่างกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของ
อเิ ลก็ ตรอนในลวดตวั นำและพน้ื ท่ีหนา้ ตดั ของลวดตวั นำ และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง

193

8. ทดลองและอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความต้านทานกับความยาวพื้นที่หน้าตัดและ
สภาพต้านทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัวและคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง รวมทั้ง อธิบาย
และคำนวณความตา้ นทานสมมูลเมือ่ นำตวั ต้านทานมาต่อกนั แบบอนุกรมและแบบขนาน

9. ทดลองอธบิ ายและคำนวณอเี อ็มเอฟของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมทงั้ อธิบายและ
คำนวณพลงั งานไฟฟา้ และกำลงั ไฟฟ้า

10. ทดลองและคำนวณอีเอ็มเอฟจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนานรวมทั้ง
คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องในวงจรไฟฟา้ กระแสตรงซ่ึงประกอบด้วยแบตเตอร่ีและตัวตา้ นทาน

11. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบคน้ และอภปิ รายเกีย่ วกับ
เทคโนโลยีที่นำมาแก้ปัญหา หรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้าโดยเน้นด้าน
ประสิทธิภาพและความคุม้ คา่ ดา้ นค่าใชจ้ า่ ย
รวม 11 ผลการเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version