The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน



ภกิ ษุทงั้ หลาย !
เม่ือพระสุคตกด็ ี
ระเบยี บวินัยของพระสคุ ตก็ดี
ยังคงมีในโลก อย่เู พียงใด

อนั นนั้ กย็ งั เปน็ ไป
เพอื่ ความเกอื้ กลู แกช่ นเปน็ อนั มาก
เพอ่ื ความสุขของชนเปน็ อันมาก

เพอ่ื อนุเคราะห์แกโ่ ลก
เพื่อประโยชน์ เพ่ือความเกือ้ กลู

เพอื่ ความสุข
แก่เทวดาและมนษุ ย์ทงั้ หลาย อยู่เพียงนนั้ .

-บาลี จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.



พทุ ธวจน -หมวดธรรม
เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ
๑๔ฉบับ
“ตถาคต”

พุทธวจนสถาบัน

รว่ มกนั มงุ่ มนั่ ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ ำ� ของตถาคต

พุทธวจน

ฉบบั ๑๔ ตถาคต

ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน
เป็นธรรมทาน

ลขิ สทิ ธ์ิในตน้ ฉบับน้ไี ด้รบั การสงวนไว้

ในการจะจดั ท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใชค้ วามละเอียดรอบคอบ

เพื่อรกั ษาความถกู ต้องของข้อมลู ให้ขออนุญาตเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร

และปรกึ ษาด้านข้อมลู ในการจัดท�ำ เพอื่ ความสะดวกและประหยดั

ติดต่อไดท้ ี่

มลู นิธพิ ุทธโฆษณ์ โทรศัพท ์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔

มลู นธิ ิพุทธวจน โทรศพั ท ์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒

คุณศรชา โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑

คุณอารีวรรณ โทรศพั ท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘

ปที ่พี ิมพ์ ๒๕๖๓

ศิลปกรรม กานต์ จงหมายลักษณ,์ เอกราช ชยั โตษะ,
ปรญิ ญา ปฐวนิ ทรานนท์

จัดทำ�โดย มลู นธิ พิ ุทธโฆษณ์
(เว็บไซต์ www.buddhakos.org)

มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ เลขที่ ๒๙/๓ หมทู่ ่ี ๗ ตำ�บลบึงทองหลาง อ�ำ เภอล�ำ ลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐
โทรศัพท์ /โทรสาร ๐ ๒๕๔๙ ๒๑๗๕ เว็บไซต์ : www.buddhakos.org



ค�ำอนโุ มทนา

ขออนุโมทนากับคณะงานธัมมะ ผู้จัดทำ�หนังสือ
พทุ ธวจน ฉบบั ตถาคต ทม่ี คี วามตงั้ ใจและมเี จตนาอนั เปน็ กศุ ล
ในการเผยแผ่คำ�สอน  ของตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
ท่ีออกจากพระโอษฐ์ของพระองค์เอง  เพ่ือให้พวกเรา
ได้ทราบประวตั คิ วามเปน็ มา และความสามารถของพระองค์
ในด้านต่างๆ รวมไปถึงเร่อื งราวปลีกย่อยอ่นื ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง
กับพระองค์ เพ่อื ความเข้าใจอันถูกต้องเก่ยี วกับ “ตถาคต”
ผ้อู รหนั ตสัมมาสัมพทุ ธะ ผู้เป็นศาสดาของเราท้งั หลาย

ด้วยเหตุอันดีท่ีได้กระทำ�มาแล้วน้ี  ขอจงเป็นเหตุ
ปัจจัยให้ผู้มีส่วนร่วมในการทำ�หนังสือ  และผู้ที่ได้อ่าน 
ได้ศกึ ษา ไดน้ �ำ ไปปฏิบัต ิ พงึ ส�ำ เร็จสมหวัง  พบความเจริญ
รุ่งเรืองของชิีวิตได้จริงในทางโลก  และได้ดวงตาเห็นธรรม 
สำ�เร็จผลยังนิพพาน  สมดังความปรารถนา ตามเหตุปัจจัย
ที่ได้สร้างมาอย่างดีแล้วด้วยเทอญ.

ขออนุโมทนา
ภกิ ขคุ กึ ฤทธ์ิ โสตฺถผิ โล

ค�ำน�ำ

สัตว์โลกน้ีหนอ ถึงทั่วแล้วซ่ึงความทุกข์ ย่อมปรากฏ
การเกดิ การแก่ การตาย การจตุ ิ และการบงั เกดิ อกี กเ็ มอื่ สตั วโ์ ลก
ไมร่ จู้ กั อบุ ายเครอ่ื งออกไปพน้ จากทกุ ข์ คอื ชาติ ชรา และมรณะแลว้
การออกจากทกุ ขน์ ี้ จักปรากฏขน้ึ ไดอ้ ย่างไร.

ถา้ ธรรมชาติ ๓ อยา่ งเหล่าน้ี คอื ชาติ ชรา และมรณะ
ไม่พึงมีอยู่ในโลกแล้วไซร้, ตถาคตก็ไม่ต้อง เกิดขึ้นในโลก
เปน็ อรหันตสมั มาสมั พทุ ธะ.

ตลอดกาลเพียงใด ท่ีตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
ยงั ไมบ่ งั เกดิ ขน้ึ ในโลก ความปรากฏแหง่ แสงสวา่ งอนั ใหญห่ ลวง
ความส่องสวา่ งอนั ใหญห่ ลวง กย็ ังไมม่ ี ตลอดกาลเพียงน้ัน.

แต่ว่า ในกาลใดแล ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
บังเกิดข้ึนในโลก ในกาลน้ัน ความปรากฏแห่งแสงสว่าง
อันใหญ่หลวง ความส่องสว่างอันใหญ่หลวงย่อมมี ลำ�ดับน้ัน
ยอ่ มมกี ารบอก การแสดง การบญั ญตั ิ การแตง่ ตง้ั การเปดิ เผย
การจำ�แนกแจกแจง การกระทำ�ให้เข้าใจได้ง่าย ซ่งึ อริยสัจท้งั ส่ี
คอื ทกุ ขอรยิ สจั ทกุ ขสมทุ ยอรยิ สจั ทกุ ขนโิ รธอรยิ สจั ทกุ ขนโิ รธ-
คามนิ ปี ฏปิ ทาอรยิ สจั

ตถาคตเปน็ ผฉู้ ลาดในเรอ่ื งโลกน้ี ฉลาดในเรอื่ งโลกอน่ื ,
เป็นผู้ฉลาดต่อวัฏฏะ อันเป็นท่ีอยู่ของมาร ฉลาดต่อวิวัฏฏะ
อันไม่เป็นที่อยู่ของมาร,  เป็นผู้ฉลาดต่อวัฏฏะ อันเป็นท่ีอยู่
ของมฤตยู ฉลาดตอ่ ววิ ฏั ฏะ อนั ไมเ่ ปน็ ทอี่ ยขู่ องมฤตยู ทงั้ โลกน้ี
แลโลกอื่น ตถาคตผู้รู้ชัดเข้าใจชัด ได้ประกาศไว้ชัดแจ้งแล้ว
เพราะความรโู้ ลกทง้ั ปวง.

สารบี ตุ ร !   ถา้ ผใู้ ดจะพงึ กลา่ วใหถ้ กู ใหช้ อบวา่ “สตั วม์ ี
ความไมห่ ลงเปน็ ธรรมดา บงั เกดิ ขนึ้ ในโลก เพอ่ื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู
เพ่ือความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก, เพื่อประโยชน์
เพ่ือความเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย”
ดงั น้แี ลว้ ผนู้ ัน้ พงึ กลา่ วซ่ึงเราผู้เดยี วเท่าน้ัน.

พราหมณ ์ !   เปรยี บเหมอื นดอกบวั เขยี ว บวั หลวง หรอื
บัวขาว, มันเกิดในนำ้� เจริญในนำ้� โผล่ข้ึนพ้นน้ำ�ตั้งอยู่ นำ้�ไม่
เปียกติดมันได้ ฉันใดก็ฉันน้ันนะพราหมณ์ !  เรานี้เกิดในโลก
เจริญในโลก ก็จริง แต่เราครอบงำ�โลกเสียได้แล้ว และอยู่ใน
โลก โลกไม่ฉาบทาแปดเปื้อนเราได้ พราหมณ์ !  ท่านจงจำ�เรา
ไวว้ า่ เปน็ “พุทธะ” ดังน้ีเถิด.

พุทธวจน ฉบับ ตถาคต จึงเป็นการรวบรวมพุทธวจน
อนั เปน็ ประวตั ขิ องบคุ คลเอก ทต่ี ถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ
ได้ทรงตรัสเก่ียวกับพระองค์เองไว้ในแง่มุมต่างๆ เพื่อให้สาวก
ของตถาคตทั้งหลายได้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้อง อันจะนำ�ไปสู่
การมศี รทั ธาอนั หยงั่ ลงมน่ั ไมห่ วน่ั ไหว และการเลอ่ื มใสอยา่ งยงิ่
ถงึ ทส่ี ดุ โดยสว่ นเดยี ว เพอื่ เปน็ ประโยชนใ์ นการทจี่ ะรบั เอาธรรมะ
อนั ถกู ตอ้ ง ทอี่ อกจากพระโอษฐข์ องพระผมู้ พี ระภาคเจา้ โดยตรง
ยังผลให้เกิดการปฏิบัติท่ีตรงทาง และนำ�ไปสู่การกระทำ�ท่ีสุด
แหง่ ทกุ ข์ คอื ความพน้ จาก ชาติ ชรา และมรณะไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ .

คณะงานธมั มะ วดั นาปา่ พง

อกั ษรยอ่

เพ่อื ความสะดวกแก่ผ้ทู ี่ยงั ไม่เขา้ ใจเรอื่ งอักษรย่อ
ทใี่ ชห้ มายแทนช่ือคัมภีร์ ซ่งึ มอี ย่โู ดยมาก

มหาวิ. วิ. มหาวิภงั ค ์ วินัยปฎิ ก.
ภกิ ขฺ นุ ี. ว.ิ ภกิ ขุนวี ิภงั ค์ วินยั ปิฎก.
มหา. ว.ิ มหาวรรค วินัยปฎิ ก.
จลุ ฺล. ว.ิ จุลวรรค วนิ ัยปิฎก.
ปรวิ าร. วิ. ปริวารวรรค วินยั ปิฎก.
ส.ี ท.ี สีลขนั ธวรรค ทีฆนิกาย.
มหา. ที. มหาวรรค ทฆี นิกาย.
ปา. ที. ปาฏกิ วรรค ทฆี นกิ าย.
มู. ม. มลู ปณั ณาสก์ มชั ฌมิ นิกาย.
ม. ม. มชั ฌิมปณั ณาสก์ มชั ฌิมนิกาย.
อปุ ริ. ม. อปุ ริปณั ณาสก์ มชั ฌิมนิกาย.
สคาถ. สํ. สคาถวรรค สังยตุ ตนกิ าย.
นิทาน. สํ. นทิ านวรรค สงั ยุตตนกิ าย.
ขนธฺ . สํ. ขันธวารวรรค สังยุตตนิกาย.
สฬา. สํ. สฬายตนวรรค สังยุตตนกิ าย.
มหาวาร. สํ. มหาวารวรรค สงั ยุตตนิกาย.
เอก. อํ. เอกนบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย.
ทุก. อ.ํ ทกุ นิบาต องั คตุ ตรนิกาย.
ตกิ . อํ. ติกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย.
จตกุ กฺ . อ.ํ จตุกกนิบาต อังคุตตรนิกาย.

ปญจฺ ก. อ.ํ ปัญจกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย.
ฉกฺก. อ.ํ ฉักกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย.
สตฺตก. อ.ํ สัตตกนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย
อฏฺ ก. อ.ํ อัฏฐกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย.
นวก. อํ. นวกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย.
ทสก. อ.ํ ทสกนิบาต องั คุตตรนิกาย.
เอกาทสก. อํ. เอกาทสกนิบาต องั คุตตรนิกาย.
ข.ุ ขุ. ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนกิ าย.
ธ. ขุ. ธรรมบท ขทุ ทกนิกาย.
อุ. ขุ. อุทาน ขทุ ทกนิกาย.
อติ วิ .ุ ขุ. อิติวุตตกะ ขุททกนกิ าย.
สตุ ฺต. ขุ. สตุ ตนิบาต ขทุ ทกนกิ าย.
วมิ าน. ข.ุ วมิ านวตั ถุ ขทุ ทกนกิ าย.
เปต. ข.ุ เปตวตั ถุ ขุททกนิกาย.
เถร. ขุ. เถรคาถา ขุททกนกิ าย.
เถรี. ข.ุ เถรีคาถา ขทุ ทกนกิ าย.
ชา. ขุ. ชาดก ขทุ ทกนกิ าย.
มหาน.ิ ขุ. มหานทิ เทส ขุททกนิกาย.
จูฬน.ิ ขุ. จฬู นทิ เทส ขุททกนกิ าย.
ปฏิสม.ฺ ข.ุ ปฏิสัมภิทามรรค ขุททกนกิ าย.
อปท. ข.ุ อปทาน ขทุ ทกนิกาย.
พทุ ฺธว. ข.ุ พทุ ธวงส์ ขุททกนกิ าย.
จรยิ า. ขุ. จรยิ าปฎิ ก ขุททกนิกาย.

ตัวอยา่ ง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอ้ า่ นว่า
ไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ เลม่ ๑๔ หนา้ ๑๗๑ ขอ้ ท่ี ๒๔๕

สารบัญ

เรอ่ื งทค่ี วรทราบกอ่ น 1
1. เรอ่ื งยอ่ ทค่ี วรทราบกอ่ น 2
2. การปรากฏของพระตถาคต มไี ดย้ ากในโลก 8
3. การปรากฏของพระตถาคต มไี ดย้ ากในโลก (นยั ท่ี ๒) 10
4. โลกธาตหุ นง่ึ มพี ระพทุ ธเจา้ เพยี งองคเ์ ดยี ว 12
5. การบงั เกดิ ขน้ึ ของตถาคต คอื ความปรากฏขน้ึ แหง่ แสงสวา่ ง 13
6. ธรรมชาติ ๓ อยา่ ง  ท�ำ ให้ พระองคเ์ กดิ ขน้ึ เปน็ ประทปี ของโลก 15
7. การมธี รรมของพระตถาคตอยใู่ นโลก คอื ความสขุ ของโลก 16
8. พระตถาคตเกดิ ขน้ึ เพอ่ื ความสขุ ของโลก 18
9. ผเู้ ชอ่ื ฟงั พระตถาคต จะไดร้ บั ประโยชนส์ ขุ สน้ิ กาลนาน 19
10. การบงั เกดิ ขน้ึ ของตถาคต ไมไ่ ดก้ ระทบตอ่ กฎของธรรมชาต ิ 20
11. ทรงขนานนามพระองคเ์ องวา่ “พทุ ธะ” 24
12. เหตทุ ท่ี �ำ ใหไ้ ดพ้ ระนามวา่ “อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ” 26
13. เหตทุ ท่ี �ำ ใหไ้ ดพ้ ระนามวา่ “อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ” (นยั ท่ี ๒) 27
14. ทรงขนานนามพระองคเ์ องวา่ “ตถาคต” 29
15. เหตทุ ท่ี �ำ ใหท้ รงพระนามวา่ “ตถาคต” 30
16. ทรงพระนามวา่ “ตถาคต” เพราะทรงเปน็ กาลวาที ภตู วาท ี 32
17. เหตทุ ท่ี �ำ ใหไ้ ดพ้ ระนามวา่ “อนตุ ตรปรุ สิ ทมั มสารถ”ิ 34
18. ไวพจนแ์ หง่ ค�ำ วา่ “ตถาคต” 37

เรอ่ื งตง้ั แตก่ อ่ นประสตู จิ นถงึ กอ่ นบรรพชา 41
19. การเกดิ แหง่ วงศส์ ากยะ 42
20. การอยใู่ นหมเู่ ทพชน้ั ดสุ ติ 43
21. การจตุ จิ ากดสุ ติ ลงสคู่ รรภ ์ 45

22. เกดิ แสงสวา่ ง เนอ่ื งดว้ ยการจตุ จิ ากดสุ ติ 46
23. แผน่ ดนิ ไหว เนอ่ื งดว้ ยการจตุ ิ 48
24. การลงสคู่ รรภ ์ 49
25. การอยใู่ นครรภ ์ 50
26. การประสตู ิ 52
27. เกดิ แสงสวา่ ง เนอ่ื งดว้ ยการประสตู ิ 54
28. แผน่ ดนิ ไหว เนอ่ื งดว้ ยการประสตู ิ 55
29. ประกอบดว้ ยมหาปรุ สิ ลกั ขณะ ๓๒ 56
30. ประสตู ไิ ด้ ๗ วนั พระชนนที วิ งคต 59
31. ทรงไดร้ บั การบ�ำ เรอ 60
32. กามสขุ กบั ความหนา่ ย 63
33. ทรงหลงกามและหลดุ จากกาม 66
34. ความรสู้ กึ ทถ่ี งึ กบั ท�ำ ใหอ้ อกผนวช 67

เรม่ิ แตอ่ อกบรรพชาแลว้ เทย่ี วเสาะแสวงหาความรู้ 73
ทรมานพระองค์ จนไดต้ รสั ร ู้
35. การออกบรรพชา 74
36. เสดจ็ ส�ำ นกั อาฬารดาบส 75
37. เสดจ็ ส�ำ นกั อทุ กดาบส 79
38. ทรงพบสถานทป่ี ระกอบความเพยี ร 83
39. อปุ มาปรากฏแจม่ แจง้ 84
40. บ�ำ เพญ็ ทกุ รกริ ยิ า 88
41. ทรงประพฤตอิ ตั ตกลิ มถานโุ ยค (วตั รของเดยี รถยี )์ 95
42. ทรงแนพ่ ระทยั วา่ ไมอ่ าจตรสั รเู้ พราะ การท�ำ ทกุ รกริ ยิ า 104
43. ทรงกลบั พระทยั ฉนั อาหารหยาบ 105
44. ปญั จวคั คยี ห์ ลกี ไป 107

45. ความฝนั ครง้ั ส�ำ คญั กอ่ นตรสั ร ู้ 108
46. ทรงท�ำ ลายความขลาด กอ่ นตรสั ร ู้ 111
47. ทรงกน้ั จติ จากกามคณุ ในอดตี กอ่ นตรสั รู้ 115
48. ทรงคอยควบคมุ วติ ก กอ่ นตรสั ร ู้ 117
49. ทรงคน้ วธิ แี หง่ อทิ ธบิ าท กอ่ นตรสั ร ู้ 123
50. ธรรมทท่ี รงอบรมอยา่ งมาก กอ่ นตรสั ร ู้ 125
51. ทรงพยายามในเนกขมั มจติ

และอนปุ พุ พวหิ ารสมาบตั ิ กอ่ นตรสั รู้ 127
52. ทรงก�ำ หนดสมาธนิ มิ ติ กอ่ นตรสั ร ู้ 142
53. วหิ ารธรรมทท่ี รงอยมู่ ากทส่ี ดุ กอ่ นตรสั ร ู้ 149
54. ทรงคดิ คน้ เรอ่ื งเบญจขนั ธ์ กอ่ นตรสั รู้ 155
55. ทรงคดิ คน้ เรอ่ื งเวทนาโดยละเอยี ด กอ่ นตรสั รู้ 157
56. ทรงเทย่ี วแสวงหาเพอ่ื ความตรสั รู้ 159
57. ทรงแสวงหาเนอ่ื งดว้ ยเบญจขนั ธ์ กอ่ นตรสั รู้ 161
58. ทรงคน้ ลกู โซแ่ หง่ ทกุ ข์ กอ่ นตรสั ร ู้ 162
59. ทรงคน้ ลกู โซแ่ หง่ ทกุ ข์ กอ่ นตรสั รู้ (อกี นยั หนง่ึ ) 167
60. ทรงอธษิ ฐานความเพยี ร กอ่ นตรสั ร ู้ 173
61. อาการแหง่ การตรสั ร ู้ 174
62. สง่ิ ทต่ี รสั ร ู้ 179
63. การรสู้ กึ พระองคว์ า่ ไดต้ รสั รแู้ ลว้ 184
64. การตรสั รคู้ อื การทบั รอยแหง่ พระพทุ ธเจา้ ในอดตี 185
65. เกดิ แสงสวา่ ง เนอ่ื งดว้ ยการตรสั ร ู้ 188
66. แผน่ ดนิ ไหว เนอ่ื งดว้ ยการตรสั ร ู้ 189
67. ทรงเปน็ ศาสดาประเภทตรสั รเู้ อง 190
68. ทรงคดิ หาทพ่ี ง่ึ ส�ำ หรบั พระองคเ์ อง 192

ทรงเผยแผพ่ ระศาสนา 197
69. ทรงทอ้ พระทยั ในการแสดงธรรม 198
70. ทรงเหน็ สตั วด์ จุ ดอกบวั ๓ เหลา่ 200
71. ทรงแสดงธรรมเพราะเหน็ ความจ�ำ เปน็ ของสตั วบ์ างพวก 202
72. ทรงเหน็ ลทู่ างทจ่ี ะชว่ ยเหลอื ปวงสตั ว ์ 204
73. มารทลู ใหน้ พิ พาน 206
74. ทรงระลกึ หาผรู้ บั ปฐมเทศนา 207
75. เสดจ็ พาราณสี - พบอปุ กาชวี ก 209
76. การโปรดปญั จวคั คยี ์ หรอื การแสดงปฐมเทศนา 211
77. ทรงประกาศธรรมจกั รท่ี อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั 217
78. เกดิ แสงสวา่ ง เนอ่ื งดว้ ยการแสดงธรรมจกั ร 218
79. แผน่ ดนิ ไหว เนอ่ื งดว้ ยการแสดงธรรมจกั ร 219
80. จกั รของพระองคไ์ มม่ ใี ครตา้ นทานได ้ 220
81. ทรงหมนุ แตจ่ กั รทม่ี ธี รรมราชา (เปน็ เจา้ ของ) 222
82. สง่ สาวกออกประกาศพระศาสนา 224
83. อาการทท่ี รงแสดงธรรม 225
84. สมาธนิ มิ ติ ในขณะทท่ี รงแสดงธรรม 226
85. ทรงแสดงธรรมดว้ ยความระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ 227
86. ทรงมธี รรมสหี นาททท่ี �ำ เทวโลกใหส้ น่ั สะเทอื น 229
87. ทรงมธี รรมสหี นาทอยา่ งองอาจ 231
88. ทรงสอนเชน่ เดยี วกบั พระพทุ ธเจา้ ทง้ั ปวง 233
89. ทรงบรหิ ารสงฆ์ จ�ำ นวนรอ้ ย 234
90. ค�ำ ของพระองค์ ตรงเปน็ อนั เดยี วกนั หมด 235
91. หลกั ทท่ี รงใชใ้ นการตรสั (๖ อยา่ ง) 236
92. ทรงมกี ารกลา่ วทไ่ี มข่ ดั แยง้ กบั บณั ฑติ ชนในโลก 238

93. ทรงสอนเฉพาะแตเ่ รอ่ื งทกุ ข์ กบั ความดบั สนทิ ของทกุ ข์ 240
94. สง่ิ ทต่ี รสั รแู้ ตไ่ มท่ รงน�ำ มาสอน

มมี ากกวา่ ทท่ี รงน�ำ มาสอนมากนกั 242
95. ทรงยนื ยนั เอง และทรงใหส้ าวกยนื ยนั วา่ มสี มณะในธรรมวนิ ยั น ้ี 244
96. สว่ นทส่ี าวกเขม้ งวดกวา่ พระองค ์ 246
97. เหตทุ ท่ี �ำ ใหม้ ผี มู้ าเปน็ สาวกของพระองค์ 248
98. ประโยชนท์ ม่ี งุ่ หมายของพรหมจรรย ์ 251
99. ทรงเสพเสนาสนะปา่ เรอ่ื ยไป เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ตวั อยา่ ง 252
100. ทรงฉนั วนั ละหนเดยี ว 253
101. ทรงมกี ารประทม อยา่ งตถาคต 254
102. วหิ ารธรรมทท่ี รงอยมู่ ากตลอดพรรษา 256
103. สง่ิ ทใ่ี ครๆ ไมอ่ าจทว้ งตงิ ได้ 258
104. ทรงมวี ธิ ี “รกุ ” ขา้ ศกึ ใหแ้ พภ้ ยั ตวั 260
105. ทรงขม่ สจั จกนคิ รนถ ์ 263
106. เหตใุ หท้ รงบญั ญตั วิ นิ ยั 269
107. เหตทุ ท่ี �ำ ใหเ้ กดิ การแสดงปาตโิ มกข ์ 271
108. เหตทุ ไ่ี มท่ �ำ อโุ บสถกบั สาวกอกี ตอ่ ไป 272
109. เมอ่ื หมสู่ ตั วเ์ ลวลง สกิ ขาบทมมี าก ผตู้ ง้ั อยใู่ นอรหตั ผลมนี อ้ ย 273
110. ความววิ าททเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความทกุ ข์

แกเ่ ทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย 274

การปรนิ พิ พาน 277

111. ทรงมคี วามชราทางกายภาพเหมอื นคนทว่ั ไป 278
112. ทรงบงั เกดิ ขน้ึ เพอ่ื อนเุ คราะหโ์ ลก 279
113. ทรงท�ำ หนา้ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ บรบิ รู ณแ์ ลว้ 281
114. พรหมจรรยข์ องพระองค์ บรบิ รู ณด์ ว้ ยอาการทง้ั ปวง 283

115. ทรงหวงั ใหช้ ว่ ยกนั ท�ำ ความมน่ั คง แกพ่ รหมจรรย ์ 284
116. ทรงปลงอายสุ งั ขาร 286
117. ทรงใหม้ ตี นและธรรมเปน็ ทพ่ี ง่ึ 289
118. แผน่ ดนิ ไหว เนอ่ื งดว้ ยการปลงอายสุ งั ขาร 291
119. ทรงมงุ่ หวงั ประโยชนแ์ กส่ าวก 292
120. หลกั ตดั สนิ ธรรมวนิ ยั ๔ ประการ 294
121. เหตแุ หง่ ความเจรญิ ไมเ่ สอ่ื ม 296
122. อยา่ เปน็ บรุ ษุ คนสดุ ทา้ ย 298
123. เสวยสกู รมทั ทวะ 299
124. ผลแหง่ การถวายบณิ ฑบาต ทม่ี ผี ลยง่ิ ยอดกวา่ บณิ ฑบาตอน่ื ๆ 300
125. การปรนิ พิ พานหรอื การประทบั สหี เสยยาครง้ั สดุ ทา้ ย 303
126. แผน่ ดนิ ไหว เนอ่ื งดว้ ยการปรนิ พิ พาน 311
127. การปรนิ พิ พานของพระองค์ คอื ความทกุ ขร์ อ้ นของมหาชน 312
128. หลงั ปรนิ พิ พาน เทวดาและมนษุ ยจ์ ะไมเ่ หน็ ตถาคตอกี 313
129. สงั เวชนยี สถานภายหลงั พทุ ธปรนิ พิ พาน 314
130. สถานทท่ี ค่ี วรจะระลกึ ตลอดชวี ติ 316

ลกั ษณะพเิ ศษของตถาคต 319

131. ทรงมตี ถาคตพละสบิ อยา่ ง 320
132. ทรงทราบความยง่ิ และหยอ่ น แหง่ อนิ ทรยี ข์ องสตั ว ์ 323
133. ทรงทราบความยง่ิ และหยอ่ น แหง่ อนิ ทรยี ข์ องสตั ว์ (นยั ท่ี ๒) 326
134. ทรงพยากรณแ์ ลว้ เปน็ หนง่ึ ไมม่ สี อง 329
135. ทรงทราบคติ ๕ และอปุ มา 337

--อปุ มาการเหน็ คต ิ 338
136. ทรงมเี วสารชั ชญาณสอ่ี ยา่ ง 340
137. ทรงมอี ทิ ธบิ าทเพอ่ื อยไู่ ดถ้ งึ กปั ป์ 342

138. ทรงแสดงฤทธไ์ิ ด้ เพราะอทิ ธบิ าทส่ี 343
139. ทรงมปี าฏหิ ารยิ ส์ ามอยา่ ง 345
140. ทรงเปลง่ เสยี งคราวเดยี ว ไดย้ นิ ตลอดทกุ โลกธาต ุ 348
141. ความหมายของสพั พญั ญทู แ่ี ทจ้ รงิ 350
142. ไมท่ รงมคี วามลบั ทต่ี อ้ งใหใ้ ครชว่ ยปกปดิ 351
143. สง่ิ ทพ่ี ระองคไ์ มต่ อ้ งส�ำ รวมรกั ษา 353
144. ทรงยนื ยนั ในคณุ ธรรมของพระองค ์ 354
145. ทรงบงั คบั ใจไดเ้ ดด็ ขาด 356
146. ทรงมคี วามคงทต่ี อ่ วสิ ยั โลก ไมม่ ใี ครยง่ิ กวา่ 357
147. ทรงทราบ ทรงเปดิ เผย แตไ่ มท่ รงตดิ ซง่ึ โลกธรรม 359
148. ทรงตา่ งจากเทวดาและมนษุ ย ์ 361
149. ไมท่ รงตดิ แมใ้ นนพิ พาน 363

เรอ่ื งทท่ี รงตรสั เกย่ี วกบั อดตี ชาตขิ องพระองค ์ 365

150. ตอ้ งทอ่ งเทย่ี วมาแลว้ เพราะไมร่ อู้ รยิ สจั จ์ 366
151. ตลอดสงั สารวฎั ไมเ่ คยบงั เกดิ ในชน้ั สทุ ธาวาส 367
152. ตลอดสงั สารวฏั เคยบชู ายญั ญ์ และบ�ำ เรอไฟแลว้ อยา่ งมาก 369
153. เคยบงั เกดิ เปน็ มหาพรหม สกั กะ 370
154. เคยบงั เกดิ เปน็ พระเจา้ จกั รพรรดิ พระนามวา่ มฆเทวะ 372
155. เคยบงั เกดิ เปน็ พระเจา้ จกั รพรรดิ พระนามวา่ มหาสทุ ศั น ์ 375
156. เคยบงั เกดิ เปน็ พราหมณป์ โุ รหติ สอนการบชู ายญั ญ์ 379
157. เคยบงั เกดิ เปน็ พราหมณ์ ชอ่ื เวลามะ 383
158. เคยบงั เกดิ เปน็ ชา่ งท�ำ รถ 387
159. บรุ พกรรมของการไดล้ กั ษณะมหาบรุ ษุ 392





เร่อื งท่คี วรทราบกอ่ น

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

เร่ืองยอ่ ทีค่ วรทราบก่อน 01

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๒-๘/๒-๙.

ภิกษุทั้งหลาย !   นับแต่นี้ไป ๙๑ กัป  พระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธะ  พระนามว่าวิปัสสี 
ได้บังเกิดขึ้นแล้วในโลก.

ภิกษุท้ังหลาย !   นับแต่นี้ไป ๓๑ กัป  พระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธะ  พระนามว่าสิขี 
ได้บงั เกิดขึ้นแลว้ ในโลก.

ภิกษุทั้งหลาย !   ในกัปท่ี ๓๑ น่ันเอง  พระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธะ  พระนามว่าเวสสภู 
ไดบ้ งั เกดิ ขนึ้ แล้วในโลก.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในภัททกัปน้ีแหละ  พระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธะ  พระนามว่ากกุสันธะ 
ได้บังเกิดขึ้นแลว้ ในโลก.

ภิกษุทั้งหลาย !   ในภัททกัปนี้แหละ  พระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธะ  พระนามว่าโกนาคมนะ
ไดบ้ งั เกดิ ขึ้นแลว้ ในโลก.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในภัททกัปน้ีแหละ  พระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธะ  พระนามว่ากัสสปะ 
ไดบ้ ังเกดิ ขึ้นแล้วในโลก.

2

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุทั้งหลาย !   พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมา-
สมั พทุ ธะ พระนามวา่ วปิ สั สี มปี ระมาณอายขุ ยั ๘๐,๐๐๐ ป.ี

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
สขิ ี มีประมาณอายขุ ัย ๗๐,๐๐๐ ปี.

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
เวสสภู มีประมาณอายขุ ยั ๖๐,๐๐๐ ปี.

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
กกสุ นั ธะ มปี ระมาณอายุขยั ๔๐,๐๐๐ ปี.

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
โกนาคมนะ มีประมาณอายขุ ัย ๓๐,๐๐๐ ปี.

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
กสั สปะ มีประมาณอายุขยั ๒๐,๐๐๐ ปี.

ภิกษุทั้งหลาย !   พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมา-
สมั พทุ ธะ พระนามวา่ วปิ สั สี มขี ณั ฑะและตสิ สะ เปน็ อคั รสาวก
คู่เลศิ .

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
สขิ ี มีอภภิ แู ละสมั ภวะ เป็นอัครสาวกคเู่ ลิศ.

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
เวสสภู มโี สนะและอตุ ตระ เป็นอัครสาวกคเู่ ลศิ .

3

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
กกุสันธะ มวี ธิ รู ะและสญั ชวี ะ เป็นอัครสาวกคู่เลศิ .

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
โกนาคมนะ มีภิยโยสะและอตุ ตระ เปน็ อคั รสาวกคเู่ ลศิ .

พระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่
กสั สปะ มตี สิ สะและภารทวาชะ เปน็ อัครสาวกคเู่ ลิศ.

ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุผู้เป็นอุปัฏฐากอันเลิศของ
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธะ พระนามว่าวิปัสสี
มีชื่อว่าอโสกะ.

ภิกษุผู้เป็นอุปัฏฐากอันเลิศของพระผู้มีพระภาค
อรหันตสมั มาสมั พุทธะ พระนามว่าสขิ ี มชี อื่ วา่ เขมังกระ.

ภิกษุผู้เป็นอุปัฏฐากอันเลิศของพระผู้มีพระภาค
อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่ เวสสภู มชี อ่ื วา่ อปุ สนั ตะ.

ภิกษุผู้เป็นอุปัฏฐากอันเลิศของพระผู้มีพระภาค
อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่ กกสุ นั ธะ มชี อื่ วา่ วฑุ ฒชิ ะ.

ภิกษุผู้เป็นอุปัฏฐากอันเลิศของพระผู้มีพระภาค
อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่ โกนาคมนะ มชี อ่ื วา่ โสตถชิ ะ.

ภิกษุผู้เป็นอุปัฏฐากอันเลิศของพระผู้มีพระภาค
อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่ กสั สปะ มชี อ่ื วา่ สพั พมติ ตะ.

4

เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุท้ังหลาย !   พระราชานามว่าพันธุมาเป็นบิดา
พระเทวีนามว่าพันธุมดีเป็นมารดาผู้ให้กำ�เนิด ของพระผู้มี
พระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่ วปิ สั สี นครชอื่ วา่
พันธุมดี ได้เปน็ ราชธานีของพระเจา้ พันธุมา.

พระราชานามว่าอรุณะเป็นบิดา พระเทวีนามว่า
ปภาวดเี ปน็ มารดาผใู้ หก้ �ำ เนดิ ของพระผมู้ พี ระภาคอรหนั ต-
สัมมาสัมพุทธะ พระนามว่าสิขี นครชื่อว่าอรุณวดี ได้เป็น
ราชธานีของพระเจ้าอรุณะ.

พระราชานามว่าสุปปตีตะเป็นบิดา พระเทวีนามว่า
ยสวดเี ปน็ มารดาผใู้ หก้ ำ�เนิดของ พระผูม้ พี ระภาคอรหนั ต-
สมั มาสมั พทุ ธะ พระนามวา่ เวสสภู นครชอ่ื วา่ อโนมะ ไดเ้ ปน็
ราชธานขี องพระเจ้าสุปปตตี ะ.

พราหมณ์ช่ือว่าอัคคิทัตตะเป็นบิดา พราหมณีช่ือว่า
วสิ าขาเปน็ มารดาผใู้ หก้ �ำ เนดิ ของพระผมู้ พี ระภาคอรหนั ต-
สัมมาสัมพุทธะ พระนามว่ากกุสันธะ สมัยนั้นมีพระราชา
นามวา่ เขมะ นครชอ่ื วา่ เขมวดี ไดเ้ ปน็ ราชธานขี องพระเจา้ เขมะ

พราหมณช์ อื่ วา่ ยญั ญทตั ตะเปน็ บดิ า พราหมณชี อื่ วา่
อตุ ตราเปน็ มารดาผใู้ หก้ �ำ เนดิ ของพระผมู้ พี ระภาคอรหนั ต-
สมั มาสมั พทุ ธะ พระนามว่าโกนาคมนะ สมยั นั้นมพี ระราชา
นามวา่ โสภะ นครชอ่ื วา่ โสภวดี ไดเ้ ปน็ ราชธานขี องพระเจา้ โสภะ.

5

พุทธวจน - หมวดธรรม

พราหมณ์ชื่อว่าพรหมทัตตะเป็นบิดา พราหมณีชื่อ
ธนวดเี ปน็ มารดาผใู้ หก้ �ำ เนดิ ของพระผมู้ พี ระภาคอรหนั ต-
สัมมาสัมพุทธะ พระนามว่ากัสสปะ นครช่ือว่าพาราณสี
ได้เปน็ ราชธานีของพระเจ้ากงิ กี.

ภิกษุทั้งหลาย !   ในภัททกัปป์น้ี ในบัดนี้เราผู้เป็น
อรหันตสัมมาสัมพุทธะ ไดบ้ ังเกดิ ข้นึ แลว้ ในโลก.

ภิกษุทั้งหลาย !   ในบัดน้ีเราผู้อรหันตสัมมา-
สมั พุทธะ เป็นกษตั รยิ ์โดยชาติ บงั เกดิ แล้วในขตั ตยิ สกลุ .

ภิกษุท้ังหลาย !   ในบัดน้ีเราผู้อรหันตสัมมา-
สมั พทุ ธะ โดยโคตร เปน็ โคตมโคตร.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ในบดั นปี้ ระมาณอายขุ ยั (แหง่ สตั ว์
ในยคุ ) ของเราสน้ั มาก : ผทู้ เี่ ปน็ อยไู่ ดน้ านกเ็ พยี งรอ้ ยปเี ปน็
อย่างยิง่ , ทเ่ี กนิ ร้อยปขี น้ึ ไปมีน้อยนัก.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในบัดน้ีเราผู้อรหันตสัมมา-
สมั พทุ ธะ ได้ตรสั รู้ ณ ควงแหง่ ไม้อัสสัตถะ.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในบัดน้ีสาวกสองรูปมีนามว่า
สารีบุตรและโมคคลั ลานะ เปน็ อคั รสาวกคู่เลิศของเรา.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในบัดนี้สาวกสันนิบาตของเรา
มีเพียงครั้งเดียว และมีภิกษุถึง ๑๒๕๐ รูป. สังฆสันนิบาต

6

เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

แหง่ สาวกของเราในครง้ั น้ี ผเู้ ขา้ ประชมุ ลว้ นแตเ่ ปน็ พระขณี าสพ
ท้งั สิน้ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในบดั นภ้ี กิ ษผุ เู้ ปน็ อปุ ฏั ฐากใกลช้ ดิ
ของเรา คือ อานนท์ จัดเปน็ อุปฏั ฐากอนั เลศิ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในบดั นพี้ ระราชานามวา่ สทุ โธทนะ
เปน็ บดิ าของเรา พระเทวนี ามวา่ มายาเปน็ มารดาผใู้ หก้ �ำ เนดิ
แกเ่ รา นครชือ่ กบลิ พสั ด์ุเปน็ ราชธานี (แห่งบิดาของเรา).

7

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

การปรากฏของพระตถาคต 02
มไี ด้ยากในโลก

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๒๙/๑๔๐, -บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๑๗๗/๑๒๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   การมาปรากฏของบคุ คลเอก (ไมม่ ี
ใครซ�ำ้ สอง) มไี ดย้ ากในโลก.  ใครเลา่ เปน็ บคุ คลเอก ? ตถาคต
ผู้เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง เป็นบุคคลเอก (ไม่มีใคร
ซ้�ำ สอง).

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   การมาปรากฏของบคุ คลเอกนแ้ี ล
มไี ด้ยากในโลก.

ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะเหตุท่ีตถาคตผู้อรหันต-
สัมมาสัมพุทธะเกิดข้ึน  จึงเกิดมีของน่าอัศจรรย์ไม่เคยมี
ส่ีอย่างน้ปี รากฏขนึ้ .  สี่อย่างอะไรเล่า ?

(๑) ภิกษทุ ้งั หลาย !   ประชาชนทัง้ หลาย พอใจใน
กามคณุ ยนิ ดใี นกามคณุ บนั เทงิ อยใู่ นกามคณุ , ครนั้ ตถาคต
แสดง ธรรมท่ีไม่เก่ียวข้องกับกามคุณ ประชาชนเหล่านั้น
กฟ็ งั เงย่ี หฟู งั ตงั้ ใจฟงั เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจทวั่ ถงึ .  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! 
นี่คือของน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมี อย่างที่หน่ึง, มีขึ้นมาเพราะ
การบงั เกดิ ของตถาคตผูอ้ รหันตสมั มาสมั พุทธะ.

8

เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

(๒) ภิกษุทั้งหลาย !   ประชาชนทงั้ หลาย พอใจใน
การถือตัว ยินดีในการถือตัว บันเทิงอยู่ในการถือตัว,
ครนั้ ตถาคตแสดง ธรรมทกี่ �ำ จดั การถอื ตวั ประชาชนเหลา่ นน้ั
กฟ็ งั เงย่ี หฟู งั ตงั้ ใจฟงั เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจทวั่ ถงึ .  ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  
นี่คือของน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมี อย่างที่สอง, มีขึ้นมาเพราะ
การบงั เกดิ ของตถาคต ผอู้ รหนั ตสัมมาสัมพทุ ธะ.

(๓) ภิกษุท้ังหลาย !   ประชาชนทั้งหลาย พอใจใน
ความวุ่นวายไม่สงบ ยนิ ดีในความวนุ่ วายไมส่ งบ บันเทิงอยู่
ในความวุ่นวายไม่สงบ, คร้ันตถาคตแสดง ธรรมท่ีเป็นไป
เพื่อความสงบ ประชาชนเหล่านั้นก็ฟัง เง่ียหูฟัง ต้ังใจฟัง
เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจทว่ั ถงึ .  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   นคี่ อื ของนา่ อศั จรรย์
ไม่เคยมี อยา่ งทส่ี าม, มีขนึ้ มาเพราะการบังเกดิ ของตถาคต
ผ้อู รหันตสมั มาสัมพุทธะ.

(๔) ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   ประชาชนท้งั หลาย ประกอบ
อยู่ด้วยอวิชชา เป็นคนบอด ถูกความมืดครอบงำ�เอาแล้ว,
ครนั้ ตถาคตแสดง ธรรมที่กำ�จดั อวิชชา ประชาชนเหล่านนั้
กฟ็ งั เงย่ี หฟู งั ตงั้ ใจฟงั เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจทวั่ ถงึ .  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  
น่ีคือของน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมี อย่างที่สี่, มีข้ึนมาเพราะ
การบงั เกิดของตถาคตผ้อู รหนั ตสมั มาสัมพุทธะ.

9

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

การปรากฏของพระตถาคต 03
มไี ด้ยากในโลก (นัยที่ ๒)

.-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๖๘/๑๗๔๔.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ถา้ สมมตวิ า่ มหาปฐพอี นั ใหญห่ ลวงน้ี
มีน้ำ�ท่วมถึงเป็นอันเดียวกันท้ังหมด ; บุรุษคนหน่ึง ทิ้งแอก
ซึ่งมีรูเจาะได้เพียงรูเดียว ลงไปในน้ำ�นั้น ; ลมตะวันออก
พัดให้ลอยไปทางทิศตะวันตก, ลมตะวันตกพัดให้ลอยไป
ทางทิศตะวันออก, ลมทิศเหนือพัดให้ลอยไปทางทิศใต้,
ลมทิศใต้พัดให้ลอยไปทางทิศเหนือ, อยู่ดังนี้. ในน้ำ�น้ัน
มเี ตา่ ตวั หนง่ึ ตาบอด ลว่ งไปรอ้ ยปี มนั จะผดุ ขน้ึ มาครง้ั หนง่ึ ๆ.

ภิกษุทั้งหลาย !   เธอท้ังหลาย จะสำ�คัญความข้อนี้
วา่ อยา่ งไร : จะเปน็ ไปไดไ้ หม ทเ่ี ตา่ ตาบอด รอ้ ยปจี งึ จะผดุ ขน้ึ
สักคร้ังหนึ่ง จะพึงยื่นคอเข้าไปในรู ซึ่งมีอยู่เพียงรูเดียว
ในแอกนัน้  ?

“ขอ้ นย้ี ากทจ่ี ะเปน็ ไปได้ พระเจา้ ขา้  !  ทเ่ี ตา่ ตาบอดนน้ั รอ้ ยปผี ดุ
ขน้ึ เพยี งครง้ั เดยี ว จะพงึ ยน่ื คอ เขา้ ไปในรซู ง่ึ มอี ยเู่ พยี งรเู ดยี วในแอกนน้ั ”.

ภิกษุทั้งหลาย !   ยากที่จะเป็นไปได้ ฉันเดียวกัน
ที่ใครๆ จะพึงได้ความเป็นมนุษย์ ; ยากท่ีจะเป็นไปได้

10

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ฉนั เดยี วกนั ทต่ี ถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ จะเกดิ ขน้ึ
ในโลก ; ยากท่ีจะเป็นไปได้ ฉันเดียวกัน ท่ีธรรมวินัย
อนั ตถาคตประกาศแล้ว จะรุง่ เรอื งไปทั่วโลก.

ภิกษุทั้งหลาย !   แต่ว่าบัดนี้  ความเป็นมนุษย์
ก็ไดแ้ ล้ว ;  ตถาคตผ้อู รหนั ตสมั มาสัมพทุ ธะ ก็บงั เกิดขน้ึ
ในโลกแล้ว ;  และธรรมวินัยอันตถาคตประกาศแล้ว ก็
ร่งุ เรืองไปท่วั โลกแลว้ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเหตนุ น้ั ในกรณนี ี้ พวกเธอ
พงึ กระท�ำ โยคกรรม เพอื่ ใหร้ วู้ า่ “นท้ี กุ ข ์;  นเ้ี หตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข ์; 
น้ีความดับแห่งทุกข์ ;  น้ีหนทางให้ถึงความดับแห่งทุกข์”
ดังน้เี ถดิ .

11

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

โลกธาตุหน่ึง 04
มพี ระพทุ ธเจา้ เพยี งองคเ์ ดยี ว

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๑๗๑/๒๔๕.

อานนท ์ !   ภกิ ษผุ ฉู้ ลาดในฐานะและอฐานะนนั้ ยอ่ ม
รวู้ า่ ขอ้ นมี้ ใิ ชฐ่ านะ ขอ้ นม้ี ใิ ชโ่ อกาสทจี่ ะมี คอื ขอ้ ทใี่ นโลกธาตุ
อนั เดยี ว จะมพี ระตถาคต ผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ สององค์
เกดิ ข้นึ พร้อมกัน ไมก่ อ่ นไม่หลังกนั นน่ั มิใชฐ่ านะท่ีจะมีได้.

ส่วนฐานะอันมีได้น้ัน คือข้อที่ในโลกธาตุอันเดียว
มพี ระตถาคต ผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ องคเ์ ดยี วเกดิ ขนึ้
น่ันเปน็ ฐานะท่ีจะมีได้.

12

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

การบังเกิดขึน้ ของตถาคต 05
คือความปรากฏขึ้นแหง่ แสงสว่าง

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๕๓/๑๗๒๑.

ภิกษุท้ังหลาย !   ตลอดกาลเพียงใด ที่ดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์ยังไม่บังเกิดขึ้นในโลก ;  ความปรากฏแห่ง
แสงสว่างอันใหญ่หลวง  ความส่องสว่างอันใหญ่หลวง
กย็ งั ไมม่ ตี ลอดกาลเพยี งนนั้   ในกาลนน้ั มอี ยแู่ ตค่ วามมดื
เปน็ ความมดื ซง่ึ กระท�ำ ความบอด  กลางคนื กลางวนั กย็ งั
ไม่ปรากฏ  เดือนหรือกึ่งเดือน ก็ไม่ปรากฏ  ฤดูหรือปี
กไ็ มป่ รากฏก่อน.

ภิกษุท้ังหลาย !   แต่ว่า ในกาลใด ดวงจันทร์และ
ดวงอาทิตย์บังเกิดข้ึนในโลก ในกาลนั้น ความปรากฏแห่ง
แสงสวา่ งอนั ใหญห่ ลวง ความสอ่ งสวา่ งอนั ใหญห่ ลวง ยอ่ มม ี
ในกาลนั้น ย่อมไม่มีความมืด อันเป็นความมืดซึ่งกระทำ�
ความบอด  ลำ�ดับนั้น กลางคืนกลางวัน ย่อมปรากฏ 
เดือนหรือกึ่งเดือน ย่อมปรากฏ  ฤดูหรือปี ย่อมปรากฏ
นีฉ้ นั ใด.

ภกิ ษุทงั้ หลาย !   ขอ้ นี้ ก็ฉันนน้ั ตลอดกาลเพียงใด
ที่ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ ยังไม่บังเกิดขึ้นในโลก

13

พุทธวจน - หมวดธรรม

ความปรากฏแห่งแสงสว่างอันใหญ่หลวง ความส่องสว่าง
อันใหญ่หลวง ก็ยังไม่มีตลอดกาลเพียงนั้น  ในกาลน้ัน
มอี ยแู่ ตค่ วามมดื เปน็ ความมดื ซง่ึ กระท�ำ ความบอด  การบอก
การแสดง การบัญญตั ิ การแตง่ ต้งั การเปดิ เผย การจ�ำ แนก
แจกแจง การกระทำ�ให้เข้าใจได้ง่าย ซ่ึงอริยสัจจ์ท้ังส่ี ก็ยัง
ไมม่ ีกอ่ น.

ภิกษุทั้งหลาย !   แต่ว่า ในกาลใดแล ตถาคต
ผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ  บังเกิดข้ึนในโลก  ในกาลน้ัน
ความปรากฏแหง่ แสงสวา่ งอนั ใหญห่ ลวง ความสอ่ งสวา่ ง
อนั ใหญห่ ลวง ยอ่ มม ี ในกาลนนั้ ยอ่ มไมม่ คี วามมดื อนั เปน็
ความมืดซ่ึงกระทำ�ความบอด  ลำ�ดับน้ัน ย่อมมีการบอก
การแสดง การบัญญตั ิ การแต่งต้ัง การเปิดเผย การจำ�แนก
แจกแจง  การกระทำ�ให้เข้าใจได้ง่าย  ซึ่งอริยสัจจ์ทั้งสี่
อริยสัจจ์ท้ังสี่เหล่าไหนเล่า คือ ทุกขอริยสัจจ์ ทุกขสมุทย-
อรยิ สจั จ์ ทกุ ขนโิ รธอรยิ สจั จ์ ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทาอรยิ สจั จ.์

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอ
พึงกระทำ�โยคกรรมเพ่อื ให้ร้วู ่า “น้ที ุกข์  น้เี หตุให้เกิดทุกข์
นคี้ วามดบั แหง่ ทกุ ข ์ นท้ี างใหถ้ งึ ความดบั แหง่ ทกุ ข”์ ดงั นเ้ี ถดิ .

14

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ธรรมชาติ ๓ อยา่ ง  ท�ำให้ 06
พระองคเ์ กดิ ขึ้นเป็นประทปี ของโลก

-บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๑๕๔/๗๖.

ภิกษุทั้งหลาย !   ถ้าธรรมชาติ ๓ อย่างเหล่าน้ี
ไม่พึงมีอยู่ในโลกแล้วไซร้,  ตถาคตก็ไม่ต้องเกิดขึ้น
ในโลก เปน็ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ; และธรรมวนิ ยั ทตี่ ถาคต
ประกาศแลว้ กไ็ มต่ อ้ งรงุ่ เรอื งไปในโลก.  ธรรมชาติ ๓ อยา่ ง
น้นั คืออะไรเล่า ?  คือ ชาติด้วย ชราด้วย มรณะด้วย 
ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรมชาติ ๓ อย่างเหล่านี้แล ถ้าไม่มีอยู่
ในโลกแลว้ ไซร,้ ตถาคตกไ็ มต่ อ้ งเกดิ ขน้ึ ในโลก เปน็ อรหนั ต-
สัมมาสัมพุทธะ ;  และธรรมวินัยท่ีตถาคตประกาศแล้ว ก็
ไมต่ อ้ งรุง่ เรืองไปในโลก.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เพราะเหตใุ ดแล ทธ่ี รรมชาติ ๓ อยา่ ง
เหล่าน้ี มีอยู่ในโลก, เพราะเหตุนั้น ตถาคตจึงต้องเกิดข้ึน
ในโลกเปน็ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ;  และธรรมวนิ ยั ทต่ี ถาคต
ประกาศแลว้ จงึ ตอ้ งรุ่งเรอื งไปในโลก.

15

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

การมีธรรมของพระตถาคต 07
อยใู่ นโลก คือความสขุ ของโลก

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอ่ื พระสคุ ตกด็ ี ระเบยี บวนิ ยั ของ
พระสุคตก็ดี ยังคงมีอยู่ในโลกเพียงใด อันนั้นก็ยังเป็นไป
เพ่ือความเก้ือกูลแก่ชนเป็นอันมาก เพ่ือความสุขของชน
เป็นอันมาก เพื่ออนุเคราะห์แก่โลก, เพ่ือประโยชน์ เพื่อ
ความเก้ือกูล เพ่ือความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย,
อยูเ่ พยี งน้ัน.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  พระสคุ ตนน้ั คอื ใครเลา่ ? คอื ตถาคต
บงั เกดิ ขน้ึ ในโลกน้ี เปน็ พระอรหนั ต์ ผตู้ รสั รชู้ อบเอง ถงึ พรอ้ ม
ด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกคน
ควรฝึกไม่มีใครย่ิงกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้
เบกิ บานแลว้ จ�ำ แนกธรรมออกสอนสตั ว ์ นค้ี อื พระสคุ ต.

ภิกษุท้ังหลาย !   ระเบียบวินัยของพระสุคตนั้นคือ
อะไรเล่า? คือตถาคตน้ัน แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น
ท่ามกลาง และทีส่ ุด, ประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถะ
พรอ้ มทง้ั พยญั ชนะ บรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ   ธรรมทต่ี ถาคต

16

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

แสดง พรหมจรรยท์ ตี่ ถาคตประกาศ นแี้ ล คอื ระเบยี บวนิ ยั
ของพระสุคต.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เมอ่ื พระสคุ ตกด็ ี ระเบยี บวนิ ยั ของ
พระสุคตก็ดี ยังคงมีอยู่ในโลกเพียงใด อันน้ันก็ยังเป็นไป
เพื่อความเกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขของ
ชนเป็นอันมาก เพ่ืออนุเคราะห์แก่โลก, เพ่ือประโยชน์
เพอ่ื ความเกอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ แกเ่ ทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย,
อยู่เพยี งน้นั .

17

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

พระตถาคตเกดิ ขน้ึ 08
เพ่ือความสุขของโลก
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๓๗/๔๖.

แท้ๆ ก็เพขร้าาใหจมไณปเ์ วอ่ายก !ล า งมวสี ันม1ณกพลราางหวมันณแพ์ทว้ๆกหกน็เขง่ึ ้ากใลจาไงปควนื ่า
กลางคืน  ข้อน้ีเรากล่าวว่า เป็นเพราะสมณพราหมณ์
เหล่าน้ัน เป็นผู้อยดู่ ้วยความหลง.

พราหมณ์เอย !   ส่วนเราตถาคต ย่อมเข้าใจกลาง
คืนเปน็ กลางคืน กลางวนั เปน็ กลางวนั .

พราหมณ์เอย !   เม่ือใครจะเรียกผู้ใด ให้เป็นการ
ถกู ตอ้ งวา่ เปน็ สตั วผ์ มู้ คี วามไมห่ ลงอยเู่ ปน็ ปรกติ และเกดิ
ข้ึนเพื่อความเก้ือกูลแก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขแก่ชน
เป็นอันมาก เพ่อื อนุเคราะห์โลก, เพ่ือประโยชน์ เพอ่ื ความ
เก้ือกูล เพื่อความสุข ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายแล้ว ;
เขาเม่ือจะเรียกให้ถูกต้องเช่นนั้น พึงเรียกเราตถาคตนี้แล
ว่าเป็นสัตว์ผู้มีความไม่หลงอยู่เป็นปรกติ เกิดข้ึนเพ่ือความ
เก้ือกูลแก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขแก่ชนเป็นอันมาก
เพ่ืออนุเคราะห์โลก, เพ่ือประโยชน์ เพ่ือความเกื้อกูล เพื่อ
ความสขุ ของเทวดาและมนุษยท์ ้งั หลาย.

1. ค�ำวา่ กลางคนื กลางวนั ในทน่ี ้ี มไิ ดม้ คี วามหมายตามตวั หนงั สอื . -ผแู้ ปล
18

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

ผู้เชื่อฟงั พระตถาคต 09
จะได้รบั ประโยชนส์ ุขสิ้นกาลนาน

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๒๑/๓๙๑.

ภิกษุท้ังหลาย !   เราแล เป็นผู้ฉลาดในเร่ือง โลกนี้
ฉลาดในเร่ืองโลกอ่ืน, เป็นผู้ฉลาดต่อวัฏฏะอันเป็นที่อยู่
ของมาร ฉลาดต่อวิวัฏฏะอันไม่เป็นท่ีอยู่ของมาร, เป็น
ผู้ฉลาดต่อวัฏฏะอันเป็นท่ีอยู่ของมฤตยู ฉลาดต่อวิวัฏฏะ
อนั ไมเ่ ปน็ ทอี่ ยขู่ องมฤตย ู ชนเหลา่ ใดถอื วา่ เรอื่ งนคี้ วรฟงั
ควรเชอ่ื ขอ้ นน้ั จกั เปน็ ไปเพอื่ ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอื่ ความสขุ
แกช่ นท้ังหลายเหลา่ นั้นสิน้ กาลนาน.

(ครัน้ พระผมู้ ีพระภาคได้ตรัสคำ�น้แี ลว้ ไดต้ รัสคำ�อื่นอกี ดังนี้ว่า )

ทั้งโลกนแ้ี ลโลกอน่ื ตถาคตผทู้ ราบดอี ยู่ ไดป้ ระกาศ
ไว้ชัดแจ้งแล้ว.  ท้ังท่ีท่ีมารไปไม่ถึง และท่ีท่ีมฤตยูไปไม่ถึง
ตถาคตผรู้ ชู้ ดั เขา้ ใจชดั ไดป้ ระกาศไวช้ ดั แจง้ แลว้ เพราะความ
ร้โู ลกท้งั ปวง.  ประตูนครแห่งความไม่ตาย ตถาคตเปิดโล่ง
ไวแ้ ลว้ เพอ่ื สตั วท์ ง้ั หลายเขา้ ถงึ ถน่ิ อนั เกษม.  กระแสแหง่ มาร
ผู้มีบาป ตถาคตปิดก้ันเสียแล้ว กำ�จัดเสียแล้ว ทำ�ให้หมด
พษิ สงแลว้ .  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เธอทง้ั หลายจงเปน็ ผมู้ ากมมู
ดว้ ยปราโมทย์ ปรารถนาธรรมอนั เกษมจากโยคะเถดิ .

19

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

การบังเกิดข้ึนของตถาคต 10
ไมไ่ ดก้ ระทบต่อกฎของธรรมชาติ

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๓๐/๖๑.

(๑) ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรา
มรณะย่อมมี.  ภิกษุท้ังหลาย !  เพราะเหตุท่ีพระตถาคต
ทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม, จะไม่บังเกิดข้ึนก็ตาม,
ธรรมธาตนุ ั้น ยอ่ มตัง้ อยแู่ ล้วนนั่ เทียว ; คอื ความตงั้ อยู่แห่ง
ธรรมดา (ธมั มฏั ฐติ ตา), คอื ความเปน็ กฎตายตวั แหง่ ธรรมดา
(ธมั มนยิ ามตา), คอื ความทเี่ มอื่ มสี งิ่ นสี้ ง่ิ นเ้ี ปน็ ปจั จยั สง่ิ นสี้ งิ่ นี้
จงึ เกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).

ตถาคตย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ
ซง่ึ ธรรมธาตนุ น้ั  ; ครน้ั รพู้ รอ้ มเฉพาะแลว้ ถงึ พรอ้ มเฉพาะแลว้ ,
ยอ่ มบอก ยอ่ มแสดง ยอ่ มบญั ญตั ิ ยอ่ มตง้ั ขนึ้ ไว้ ยอ่ มเปดิ เผย
ย่อมจำ�แนกแจกแจง ย่อมทำ�ให้เป็นเหมือนการหงายของ
ที่คว่ำ� และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุท้ังหลาย !  ท่าน
ทั้งหลายจงมาดู : เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี”
ดงั น้ี.

ภิกษุท้งั หลาย !   เพราะเหตุดังน้แี ล : ธรรมธาตุใด
ในกรณนี น้ั อนั เปน็ ตถตา คอื ความเปน็ อยา่ งนนั้ , เปน็ อวติ ถตา
คือ ความไมผ่ ิดไปจากความเป็นอย่างนั้น, เป็นอนญั ญถตา

20

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

คอื ความไมเ่ ป็นไปโดยประการอื่น, เป็นอิทปั ปจั จยตา คือ
ความท่เี มือ่ มสี ิ่งน้ีสง่ิ นเ้ี ปน็ ปัจจยั สง่ิ น้สี ่ิงนจ้ี งึ เกิดขึน้  ;

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ธรรมนี้ เราเรยี กวา่ ปฏจิ จสมปุ บาท

(คือธรรมอันเปน็ ธรรมชาติ อาศัยกันแลว้ เกดิ ขน้ึ )

(๒) ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะภพเป็นปัจจัย
ชาติย่อมมี.  ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะเหตุท่ีพระตถาคต
ท้งั หลาย จะบังเกดิ ขน้ึ ก็ตาม,..1

(๓) ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย
ภพย่อมมี.  ภิกษุทั้งหลาย !    เพราะเหตุท่ีพระตถาคต
ทั้งหลาย จะบงั เกดิ ข้นึ ก็ตาม,..

(๔) ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะตัณหาเป็นปัจจัย
อปุ าทานยอ่ มม.ี   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเหตทุ พ่ี ระตถาคต
ท้ังหลาย จะบงั เกิดขน้ึ ก็ตาม, …

(๕) ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะเวทนาเป็นปัจจัย
ตณั หายอ่ มม.ี   ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เพราะเหตทุ พ่ี ระตถาคต
ท้งั หลาย จะบงั เกิดข้ึนก็ตาม, …

1. การละ … เชน่ น้ี หมายความวา่ ขอ้ ความในขอ้ (๒) เปน็ ตน้ ไปจนกระทง่ั ถงึ ขอ้
(๑๐) น้ี ซำ้� กนั โดยตลอดกบั ในขอ้ (๑) ตา่ งกนั แตเ่ พยี งปจั จยาการแตล่ ะอนั เทา่ นนั้  ;
ส�ำหรบั ขอ้ สดุ ทา้ ย คอื ขอ้ (๑๑) จะพมิ พไ์ วเ้ ตม็ เหมอื นขอ้ (๑) อกี ครงั้ หนง่ึ . -ผแู้ ปล
21

พุทธวจน - หมวดธรรม

(๖) ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะผัสสะเป็นปัจจัย
เวทนายอ่ มม.ี   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเหตทุ พ่ี ระตถาคต
ทง้ั หลาย จะบงั เกดิ ขน้ึ ก็ตาม, …

(๗) ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย
ผัสสะย่อมมี.  ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะเหตุท่ีพระตถาคต
ทง้ั หลาย จะบังเกิดข้ึนกต็ าม, …

(๘) ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะนามรูปเป็นปัจจัย
สฬายตนะย่อมมี.  ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะเหตุที่
พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกดิ ขน้ึ ก็ตาม, …

(๙) ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย
นามรปู ยอ่ มม.ี   ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เพราะเหตทุ พี่ ระตถาคต
ทั้งหลาย จะบังเกดิ ขึน้ ก็ตาม, …

(๑๐) ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะสังขารเป็นปัจจัย
วิญญาณย่อมมี.  ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะเหตุท่ีพระ
ตถาคตทง้ั หลาย จะบังเกิดข้นึ กต็ าม, …

(๑๑) ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย
สังขารท้ังหลายย่อมมี.  ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะเหตุท่ี
พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดข้ึนก็ตาม,  จะไม่บังเกิด
ขึ้นก็ตาม,  ธรรมธาตุน้ัน ย่อมต้ังอยู่แล้วนั่นเทียว ; คือ

22

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

ความตั้งอยู่แหง่ ธรรมดา (ธมั มฏั ฐติ ตา),  คอื ความเปน็ กฎ
ตายตวั แหง่ ธรรมดา (ธมั มนยิ ามตา),  คอื ความทเ่ี มอ่ื สง่ิ นส้ี ง่ิ น้ี
เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).

ตถาคตย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ
ซึ่งธรรมธาตุนั้น ;  ครั้นรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะ
แล้ว, ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งข้ึนไว้
ย่อมเปิดเผย ย่อมจำ�แนกแจกแจง ย่อมทำ�ให้เป็นเหมือน
การหงายของท่ีคว่ำ� และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุ
ท้งั หลาย !   ทา่ นทงั้ หลายจงมาดู : เพราะอวิชชาเปน็ ปัจจยั
สังขารทั้งหลายยอ่ มม”ี ดงั น้ี.

ภกิ ษุทัง้ หลาย !   เพราะเหตุดังน้แี ล : ธรรมธาตุใด
ในกรณีนั้น  อันเป็น ตถตา  คือ ความเป็นอย่างนั้น,
เป็น อวิตถตา  คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้น,
เป็น อนัญญถตา  คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น,
เป็น อิทัปปัจจยตา  คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย
สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น ;

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ธรรมน้ี เราเรยี กวา่ ปฏจิ จสมปุ บาท
(คือธรรมอันเปน็ ธรรมชาติ อาศัยกันแล้วเกิดขน้ึ ).

23

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงขนานนามพระองค์เองวา่ 11
“พทุ ธะ”

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๔๙/๓๖.

(การสนทนากบั โทณพราหมณ,์ เรม่ิ ในทน่ี ด้ี ว้ ยพราหมณท์ ลู ถาม)

“ทา่ นผูเ้ จรญิ ของเรา !   ทา่ นเป็นเทวดาหรอื  ?”

พราหมณเ์ อย !   เราไม่ไดเ้ ปน็ เทวดาดอก.

“ท่านผเู้ จรญิ ของเรา !   ท่านเป็นคนธรรพ์หรือ ?”

พราหมณ์เอย !   เราไม่ได้เปน็ คนธรรพ์ดอก.

“ทา่ นผู้เจริญของเรา !   ท่านเป็นยักษห์ รือ ?”

พราหมณเ์ อย !   เราไมไ่ ด้เปน็ ยกั ษด์ อก.

“ทา่ นผู้เจรญิ ของเรา !   ท่านเป็นมนษุ ยห์ รอื  ?”

พราหมณ์เอย !   เราไมไ่ ดเ้ ป็นมนุษย์ดอก.

“ท่านผู้เจริญของเรา !   เราถามอย่างไรๆ  ท่านก็ตอบว่ามิได้
เป็นอย่างน้ันๆ, ถ้าเชน่ น้นั ท่านเป็นอะไรเล่า ?”

พราหมณ์เอย !   อาสวะเหลา่ ใด ทีจ่ ะท�ำ ให้เราเป็น
เทวดา เพราะยังละมันไม่ได้, อาสวะเหล่านั้นเราละได้ขาด
ถอนข้ึนทั้งรากแล้ว ทำ�ให้เหมือนตาลยอดด้วน ไม่ให้มี

24

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

ไม่ให้เกิดข้ึน อีกต่อไปแล้ว.  พราหมณ์เอย !   อาสวะ
เหล่าใด ที่จะทำ�ให้เราเป็นคนธรรพ์ เป็นยักษ์ เป็นมนุษย์
เพราะยงั ละมนั ไมไ่ ด,้ อาสวะเหลา่ นน้ั เราละไดข้ าด ถอนขน้ึ
ทงั้ รากแลว้ ท�ำ ใหเ้ หมอื นตาลยอดดว้ น ไมใ่ หม้ ไี ม่ใหเ้ กดิ ข้ึน
อีกต่อไปแล้ว.

พราหมณ์ !   เปรียบเหมือนดอกบัวเขียว บัวหลวง
หรือบัวขาว, มันเกิดในนำ้� เจริญในนำ้� โผล่ขึ้นพ้นน้ำ�ต้ังอยู่
นำ้�ไม่เปียกติดมันได  ฉันใดก็ฉันน้ันนะพราหมณ์ !  เรานี้
เกดิ ในโลก เจรญิ ในโลก กจ็ รงิ แตเ่ ราครอบง�ำ โลกเสยี ไดแ้ ลว้
และอยู่ในโลก  โลกไมฉ่ าบทาแปดเป้ือน  เราได.้

พราหมณ์ !   ท่านจงจำ�เราไว้ว่า  เป็น “พุทธะ”
ดังนีเ้ ถดิ .

25

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

เหตุท่ีท�ำให้ได้พระนามว่า 12
“อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ”

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๔๓/๑๗๐๓.

ภิกษุท้ังหลาย !   ความจริงอันประเสริฐ ๔ อย่าง
เหล่านี้ มีอยู่, ส่ีอย่างเหล่าไหนเล่า ? ส่ีอย่างคือ ความจริง
อนั ประเสรฐิ คอื ทกุ ข ์; ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื เหตใุ หเ้ กดิ
ทกุ ข ์; ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข ์;
ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื
แห่งทุกข์ : น้ีแล ความจริงอนั ประเสริฐ ๔ อยา่ ง.

ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะได้ตรัสรู้ตามความเป็นจริง
ซงึ่ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ๔ อยา่ งเหลา่ นแ้ี ล ตถาคตจงึ มนี าม
ว่า “อรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธะ” ดังน้.ี

ภิกษทุ ้งั หลาย !   เพราะเหตุนนั้ ในกรณีนี้ พวกเธอ
ทงั้ หลาย พึงกระท�ำ ความเพียรเพอ่ื ให้รู้วา่ “น้ีทุกข์ ;  นี้เหตุ
ให้เกิดทุกข์ ;  น้ีความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ;  นี้ทางดำ�เนิน
ให้ถงึ ความดับไมเ่ หลือแห่งทุกข”์ ดังน้ีแล.

26

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

เหตทุ ท่ี �ำให้ไดพ้ ระนามวา่ 13
“อรหนั ตสมั มาสมั พุทธะ” (นยั ที่ ๒)

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๑/๑๒๕.

ภิกษุทั้งหลาย !   ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
หลุดพ้นแล้วจากรูป  เพราะความเบื่อหน่าย  ความคลาย
กำ�หนัด  ความดับ  และความไม่ยึดม่ัน จึงได้นามว่า
“สมั มาสมั พทุ ธะ”.  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   แมภ้ กิ ษผุ ปู้ ญั ญา-
วิมุตต์ ก็หลุดพ้นแล้วจากรูป เพราะความเบ่ือหน่าย ความ
คลายกำ�หนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น จึงได้นามว่า
“ปญั ญาวิมุตต”์ .

(ในกรณแี หง่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ กไ็ ดต้ รสั ไว้
มขี อ้ ความแสดงหลกั เกณฑอ์ ยา่ งเดยี วกนั กบั ในกรณแี หง่ รปู ทก่ี ลา่ วแลว้ ).

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในกรณนี นั้ อะไรเปน็ ความผดิ แผก
แตกต่างกัน อะไรเป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน อะไร
เปน็ เครอ่ื งกระท�ำ ใหแ้ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งตถาคตผอู้ รหนั ต-
สัมมาสัมพทุ ธะ กบั ภิกษุผปู้ ญั ญาวิมตุ ต์ ?

ภิกษุท้ังหลาย !   ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
ได้ทำ�มรรคที่ยังไม่เกิดให้เกิดข้ึน ได้ทำ�มรรคท่ียังไม่มีใครรู้

27

พุทธวจน - หมวดธรรม

ให้มีคนรู้ ได้ทำ�มรรคท่ียังไม่มีใครกล่าว ให้เป็นมรรคที่
กล่าวกันแล้ว ตถาคตเป็นมัคคัญญู (รู้มรรค) เป็นมัคควิทู
(รแู้ จง้ มรรค) เปน็ มคั คโกวโิ ท (ฉลาดในมรรค).  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  
สว่ นสาวกทงั้ หลาย ในกาลนี้ เปน็ มคั คานคุ า (ผเู้ ดนิ ตามมรรค)
เปน็ ผูต้ ามมาในภายหลัง.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   นแ้ี ล เปน็ ความผดิ แผกแตกตา่ งกนั
เป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน  เป็นเคร่ืองกระทำ�ให้
แตกต่างกัน ระหว่างตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับ
ภิกษุผู้ปัญญาวมิ ตุ ต.์

28


Click to View FlipBook Version