The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงขนานนามพระองค์เองวา่ 14
“ตถาคต”

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๑๗/๑๖.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   อกี ประการหนง่ึ ตถาคตบงั เกดิ ขนึ้
ในโลกน้ี เป็นพระอรหันต์ ผ้ตู รัสร้ชู อบเอง ถึงพร้อมด้วย
วชิ ชาและจรณะ เปน็ ผดู้ �ำ เนนิ ไปดี เปน็ ผรู้ แู้ จง้ โลก เปน็ สารถี
ฝึกคนท่ีควรฝึกอย่างไม่มีใครย่ิงกว่า  เป็นครูของเทวดา
และมนุษย์ทั้งหลาย  เป็นผู้ตื่นแล้ว  เป็นผู้จำ�แนกธรรม
ตถาคตน้ันทำ�ให้แจ้งด้วยปัญญาอันย่ิงเองแล้ว  สอนโลกน้ี
พร้อมท้ังเทวโลก มารโลก พรหมโลก หมู่สัตว์พร้อมท้ัง
สมณพราหมณ์ เทวดาและมนษุ ย์ ใหร้ แู้ จง้ ตาม ตถาคตน้ัน
แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น  ในท่ามกลาง  ในท่ีสุด
พรอ้ มทง้ั อรรถะ  พรอ้ มทงั้ พยญั ชนะ  ประกาศพรหมจรรย์
อันบรสิ ุทธ์ิบริบูรณส์ ้นิ เชิง.

29

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : “ตถาคต”

เหตทุ ที่ �ำให้ทรงพระนามว่า 15
“ตถาคต”

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๐/๒๓, -บาลี อติ วิ .ุ ข.ุ ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   โลกเปน็ สภาพทต่ี ถาคตไดร้ พู้ รอ้ ม
เฉพาะแลว้ ตถาคตจงึ เปน็ ผถู้ อนตนจากโลกไดแ้ ลว้ .  เหตใุ ห้
เกิดโลก เป็นสภาพท่ีตถาคตได้รู้พร้อมเฉพาะแล้ว ตถาคต
จึงละเหตุให้เกิดโลกได้แล้ว.  ความดับไม่เหลือของโลก
เปน็ สภาพทต่ี ถาคตรพู้ รอ้ มเฉพาะแลว้   ตถาคตจงึ ท�ำ ใหแ้ จง้
ความดับไม่เหลือของโลกได้แล้ว.  ทางให้ถึงความดับ
ไมเ่ หลอื ของโลก เปน็ สงิ่ ทตี่ ถาคตรพู้ รอ้ มเฉพาะแลว้ ตถาคต
จึงทำ�ให้เกิดมีข้ึนได้แล้ว  ซึ่งทางให้ถึงความดับไม่เหลือ
ของโลกนน้ั .

ภิกษุทั้งหลาย !   อายตนะอันใด ที่พวกมนุษยโลก
พร้อมท้ังเทวโลก มาร, พรหม, ที่หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณ-
พราหมณ์ พรอ้ มทั้งเทวดาและมนุษย์ ไดเ้ หน็ ไดฟ้ งั ได้ดม 
ล้ิม  สัมผัส  ได้รู้แจ้ง  ได้บรรลุ  ได้แสวงหา  ได้เท่ียว
ผูกพันติดตามโดยนำ้�ใจ, อายตนะน้ัน ตถาคตได้รู้พร้อม
เฉพาะแล้วทัง้ สิ้น เพราะเหตนุ ้ัน จงึ ได้นามว่า “ตถาคต”.

30

เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุท้ังหลาย !   ในราตรีใด ตถาคตได้ตรัสรู้ และ
ในราตรีใด ตถาคตปรินิพพาน,  ในระหว่างน้ัน ตถาคต
ได้กล่าวสอน พร่ำ�สอน แสดงออกซึ่งคำ�ใด, คำ�นั้นทั้งหมด
ย่อมมีโดยประการเดียวกันทั้งสิ้น  ไม่แปลกกันโดย
ประการอน่ื ,  เพราะเหตุนั้น จึงได้นามว่า “ตถาคต”.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในโลก พร้อมท้ังเทวโลก มาร,
พรหม, ในหมสู่ ตั วพ์ รอ้ มทงั้ สมณพราหมณ์ พรอ้ มทงั้ เทวดา
และมนษุ ย์ ตถาคตเปน็ ผเู้ ปน็ ยง่ิ ไมม่ ใี ครครอบง�ำ เปน็ ผเู้ หน็
ส่ิงท้ังปวงโดยเด็ดขาด เป็นผู้มีอำ�นาจสูงสุด (โดยธรรม)
แตผ่ ู้เดียว, เพราะเหตุนัน้ จึงได้นามว่า “ตถาคต”.

31

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงพระนามวา่ “ตถาคต” 16
เพราะทรงเปน็ กาลวาที ภูตวาที

-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๔๘/๑๑๙.

จุนทะ !   แม้เป็นเร่ืองในอดีต ถ้าไม่จริง ไม่แท้
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ตถาคตย่อมไม่พยากรณ์
ซ่ึงเรอ่ื งนน้ั  ; 

จุนทะ !   แม้เป็นเรื่องในอดีต ถ้าเป็นเรื่องจริง
เร่ืองแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ตถาคตก็ย่อม
ไมพ่ ยากรณ์ ซ่ึงเร่อื งแม้น้นั  ;

จุนทะ !   แม้เป็นเร่ืองในอดีต ถ้าเป็นเรื่องจริง
เร่ืองแท้ เร่ืองประกอบด้วยประโยชน์, ตถาคตย่อมเป็น
ผรู้ กู้ าลอนั สมควรในเรอื่ งนน้ั เพอ่ื พยากรณ์ปญั หาน้นั .

จุนทะ !   แม้เปน็ เรอ่ื งในอนาคต ถ้าไมจ่ ริง ไมแ่ ท้
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,  ตถาคตย่อมไม่พยากรณ์
ซึง่ เร่ืองน้ัน ;

จุนทะ !   แม้เป็นเรื่องในอนาคต ถ้าเป็นเร่ืองจริง
เร่ืองแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ตถาคตก็ย่อม
ไมพ่ ยากรณ์ซ่ึงเรอื่ งแมน้ ้ัน ;

32

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

จุนทะ !   แม้เป็นเรื่องในอนาคต ถ้าเป็นเร่ืองจริง
เรื่องแท้ เร่ืองประกอบด้วยประโยชน์, ตถาคตย่อมเป็น
ผรู้ ู้กาลอนั สมควรในเรื่องนน้ั เพ่ือพยากรณป์ ัญหานน้ั .

จุนทะ !   แมเ้ ป็นเรอ่ื งในปจั จุบัน ถา้ ไม่จรงิ ไม่แท้
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,  ตถาคตย่อมไม่พยากรณ์
ซ่งึ เรอ่ื งน้นั  ;

จุนทะ !   แม้เป็นเรื่องในปัจจุบัน ถ้าเป็นเร่ืองจริง
เร่ืองแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ตถาคตก็ย่อม
ไม่พยากรณซ์ งึ่ เรอื่ งแมน้ น้ั  ;

จุนทะ !   แม้เป็นเรื่องในปัจจุบัน ถ้าเป็นเรื่องจริง
เรื่องแท้ เร่ืองประกอบด้วยประโยชน์, ตถาคตย่อมเป็น
ผรู้ กู้ าลอนั สมควรในเรื่องนัน้ เพอ่ื พยากรณ์ปญั หานน้ั .

จุนทะ !   ด้วยเหตุดังน้ีแล ตถาคตจึงเป็นกาลวาที
สัจจวาที ภูตวาที อัตถวาที ธัมมวาที วินยวาที ในธรรม
ท้ังหลาย ท่ีเป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน ;  เพราะเหตุนั้น
จงึ ไดน้ ามวา่ “ตถาคต”.

33

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

เหตทุ ี่ท�ำให้ไดพ้ ระนามว่า 17
“อนตุ ตรปุรสิ ทมั มสารถ”ิ
-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๔๐๙/๖๓๗.

ภิกษุทั้งหลาย !   คำ�ที่เรากล่าวแล้วว่า “ตถาคตนั้น
เป็นผู้อันบุคคลกล่าวว่า เป็นสารถีฝึกบุรุษ ไม่มีผู้อ่ืนย่ิงกว่า
ในบรรดาอาจารยผ์ ฝู้ กึ ทง้ั หลาย” ดงั นน้ี น้ั  ; ค�ำ นน้ั เรากลา่ วแลว้
เพราะอาศยั อะไรเลา่  ?

ภิกษุท้ังหลาย !   ช้างที่ควรฝึก อันควาญช้างฝึก
จนรู้บทแห่งการฝึกแล้ว ก็แล่นไปได้สู่ทิศทางเดียวเท่าน้ัน
คือ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศเหนือ หรือทิศใต้. 
ภิกษุท้ังหลาย !   ม้าที่ควรฝึก อันควาญม้าฝึกจนรู้บท
แห่งการฝึกแล้ว ก็แล่นไปได้สู่ทิศทางเดียวเท่านั้น คือ
ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศเหนือ หรือทิศใต้.  ภิกษุ
ทงั้ หลาย !   โคทคี่ วรฝกึ อนั ผฝู้ กึ โคจนรบู้ ทแหง่ การฝกึ แลว้
ก็แล่นไปได้สู่ทิศทางเดียวเท่าน้ัน คือ ทิศตะวันออก
ทศิ ตะวันตก ทศิ เหนอื หรอื ทศิ ใต้.

ภิกษุทั้งหลาย !   ส่วนบุรุษที่ควรฝึก อันตถาคต
ผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะฝึกจนรู้บทแห่งการฝึกแล้ว

34

เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

กแ็ ลน่ ไปไดส้ ทู่ ศิ ทงั้ แปด : เปน็ ผมู้ รี ปู ยอ่ มเหน็ รปู ทง้ั หลาย
นีค้ ือทศิ ที่ ๑ ;

เป็นผู้ไม่มีสัญญาในรูปอันเป็นภายใน  ย่อมเห็น
ซึ่งรูปท้ังหลาย อนั เป็นภายนอก น้ีเป็นทิศท่ี ๒ ;

เป็นผู้น้อมใจด้วยความรู้สึกว่า “งาม” เท่านั้น
นี้เป็นทิศท่ี ๓ ;

เพราะกา้ วลว่ งเสยี ไดซ้ งึ่ รปู สญั ญา เพราะความดบั ไป
แห่งปฏฆิ สัญญา เพราะไมใ่ ส่ใจนานัตตสัญญา โดยประการ
ท้ังปวง เป็นผู้เข้าถึงซ่ึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำ�
ในใจวา่ “อนนั โต อากาโส” ดงั น้ี แลว้ แลอยู่ นเี้ ปน็ ทศิ ท่ี ๔ ;

เพราะก้าวล่วงเสียได้ซ่ึงอากาสานัญจายตนะโดย
ประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึงซึ่งวิญญาณัญจายตนะ อันมี
การทำ�ในใจว่า “อนนั ตัง วิญญาณัง” ดังน้แี ล้วแลอยู่ น้ีเป็น
ทศิ ที่ ๕ ;

เพราะก้าวล่วงเสียได้ซึ่งวิญญาณัญจายตนะโดย
ประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึงซ่ึงอากิญจัญญายตนะ อันมี
การท�ำ ในใจวา่ “นตั ถิ กญิ จ”ิ ดงั นี้ แลว้ แลอยู่ นเ้ี ปน็ ทศิ ที่ ๖ ;

เพราะก้าวล่วงเสียได้ซ่ึงอากิญจัญญายตนะโดย
ประการทั้งปวง เป็นผู้เข้าถึงซ่ึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
แล้วแลอยู่ น้เี ป็นทศิ ท่ี ๗ ;

35

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เพราะก้าวล่วงเสียได้ซ่ึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
โดยประการทั้งปวง  เป็นผู้เข้าถึงซ่ึงสัญญาเวทยิตนิโรธ
แลว้ แลอยู่ นีเ้ ปน็ ทิศที่ ๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  บรุ ษุ ทค่ี วรฝกึ อนั ตถาคตผอู้ รหนั ต-
สัมมาสัมพุทธะฝึกจนรู้บทแห่งการฝึกแล้ว  ก็แล่นไปได้สู่
ทิศท้ัง ๘ เหลา่ นี้.

ภิกษุทั้งหลาย !   คำ�ที่เรากล่าวแล้วว่า “ตถาคตนั้น
เป็นผู้อันบุคคลกล่าวว่าเป็นสารถีฝึกบุรุษ ไม่มีผู้อ่ืนยิ่งกว่า
ในบรรดาอาจารยผ์ ฝู้ กึ ท้ังหลาย” ดงั นนี้ น้ั  ; ค�ำ น้นั เรากลา่ ว
แลว้ เพราะอาศัยความข้อนี,้ ดงั นแี้ ล.

36

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

ไวพจน์แหง่ ค�ำว่า “ตถาคต” 18

-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๙๑/๕๕, -บาลี อฏฺ ก. อ.ํ ๒๓/๓๕๒/๑๙๒.

วาเสฏฐะท้ังหลาย !   ก็ศรัทธาของผู้ใดแล ต้ังม่ัน
ในตถาคต ฝังลงรากแล้วดำ�รงอยู่ได้มั่นคง อันสมณะหรือ
พราหมณ์  เทวดา  มาร  พรหม  หรือใครๆในโลกก็ตาม
ไม่ชักนำ�ไปทางอื่นได้, ผู้นั้นควรจะกล่าวได้อย่างนี้ว่า
“เราเป็นบุตร เป็นโอรส เกิดจากปากของพระผ้มู ีพระภาค
เกดิ โดยธรรม อนั ธรรมเนรมติ เปน็ ทายาทแหง่ ธรรม” ดงั น.้ี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?  เพราะคำ�ว่า “ธรรมกาย” บ้าง
“พรหมกาย” บ้าง  “ธรรมภูต” บ้าง  “พรหมภูต” บ้าง
น้ีเปน็ คำ�สำ�หรับเรียกแทนชือ่ ตถาคต แล.

ภิกษุทั้งหลาย !   คำ�ว่า “สมณะ” เป็นคำ�แทนช่ือ
ของตถาคต.

ภิกษุท้ังหลาย !   คำ�ว่า “พราหมณ์” (ผู้ประเสริฐ)
เป็นค�ำ แทนช่ือของตถาคต.

ภิกษุท้ังหลาย !   คำ�ว่า “เวทคู” (ผู้จบเวท) เป็นคำ�
แทนชอื่ ของตถาคต.

37

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย !   คำ�ว่า “ภิสักโก” (ศัลยแพทย์/
หมอผ่าตัด) เป็นคำ�แทนชอ่ื ของตถาคต.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  ค�ำ วา่ “นมิ มโล” (ไมม่ มี ลทนิ ) เปน็ ค�ำ
แทนชอ่ื ของตถาคต.

ภิกษุท้ังหลาย !   คำ�ว่า “วิมโล” (ผู้ปราศจากมลทิน)
เปน็ คำ�แทนช่ือของตถาคต.

ภิกษุทั้งหลาย !   คำ�ว่า “ญาณี” (ผู้มีญาณ) เป็นคำ�
แทนชือ่ ของตถาคต.

ภิกษุท้ังหลาย !   คำ�ว่า “วิมุตโต”(หลุดพ้น) เป็นคำ�
แทนช่ือของตถาคต.1

1. ยงั มสี ตู รอน่ื ทไี่ ดก้ ลา่ วถงึ พระนามของตถาคตไว้ เชน่ -บาลี ส.ุ ข.ุ ๒๕/๔๐๗/๓๕๔,
-บาลี พทุ ธฺ ว. ข.ุ ๓๓/๕๔๓/๒๖. ซง่ึ มคี วามกำ�้ กงึ่ วา่ เปน็ พทุ ธวจนหรอื ไม่ จงึ ไมไ่ ด้
น�ำใสม่ าไวใ้ นเลม่ นี้ -ผรู้ วบรวม

38





เร่อื งตัง้ แตก่ ่อนประสูติ
จนถงึ กอ่ นบรรพชา

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

การเกดิ แหง่ วงศส์ ากยะ 19

-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๑๒๐-๑๒๑/๑๔๙.

อมั พฏั ฐะ !   เรอ่ื งดกึ ด�ำ บรรพ,์ พระเจา้ อกุ กากราช
ปรารถนาจะยกราชสมบัติประทานแก่โอรสของพระมเหสี
ที่โปรดปรานต้องพระทัย จึงได้ทรงขับราชกุมารผู้มีชนมายุ
แก่กว่า คือเจ้า อุกกามุข, กรกัณฑุ, หัตถินีกะ, สินีปุระ,
ออกจากราชอาณาจักร ไปต้ังสำ�นักอยู่ ณ ป่าสากใหญ่
(มหาสากวนสณฺโฑ) ใกล้สระโบกขรณีข้างภูเขาหิมพานต์. 
เธอเหล่าน้ัน กลัวชาติจะระคนกัน จึงสมสู่กับพ่ีน้องหญิง
ของเธอเอง. ต่อมาพระเจ้าอุกกากราชตรัสถามอำ�มาตย์ว่า
‘บดั น้ีกุมารเหลา่ นั้นอยู่ทีไ่ หน’

อำ�มาตย์กราบทูลว่า บัดน้ีกุมารเหล่าน้ันเสด็จอยู่
ณ ป่าสากใหญ่ ซ่ึงอยู่ใกล้สระโบกขรณี ข้างภูเขาหิมพานต์
พระกุมารท้ังหลายกลัวชาติระคนกัน จึงสมสู่กับภคินีของ
ตนเอง.

ขณะน้ันพระเจ้าอุกกากราชทรงเปล่งพระอุทาน
ว่า ‘กุมารผู้อาจหาญหนอ, กุมารผู้อาจหาญอย่างย่ิงหนอ’.
เ(ดสกมิ ยฺ าจงึวเตปโน็ ภพกวมุ กาทราไ่ี ดปช้รมอ่ื สวกา่ ยฺ ‘าสวาตกโยภะ’ก1มุ า(รสากตยฺ )ิ า)เพสรบื ามะาเห…ตนุ น้ั เปน็

1. ชอื่ นมี้ มี ลู มาจากตน้ สากกไ็ ด,้ แหง่ ค�ำวา่ กลา้ หาญกไ็ ด,้ เพราะสกั ก-กลา้ หาญ.
สกั กเราเรยี กในเสยี งภาษาไทยกนั วา่ สากยะ. -ผแู้ ปล

42

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

การอยใู่ นหมเู่ ทพชน้ั ดสุ ติ 20

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๔๗-๒๔๘/๓๖๐-๓๖๒.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อน้ี ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจา้ วา่

“อานนท ์ !   โพธสิ ตั ว์ มสี ติ รตู้ วั ทว่ั พรอ้ ม บงั เกดิ ขน้ึ
ในหมเู่ ทพชน้ั ดุสติ ” ดังนี.้

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   ขอ้ ทพ่ี ระโพธสิ ตั ว์ มสี ติ รตู้ วั ทวั่ พรอ้ ม
บังเกิดขึ้นในหมู่เทพชั้นดุสิตน้ี ข้าพระองค์ย่อมถือไว้ว่าเป็นของ
น่าอศั จรรย์ ไม่เคยมีเกีย่ วกบั พระผูม้ พี ระภาค.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อน้ี ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจา้ ว่า

“อานนท ์ !   โพธิสตั ว์ มสี ติ รตู้ ัวทั่วพร้อม ด�ำ รงอยู่
ในหมเู่ ทพชั้นดุสติ ” ดงั นี้.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   ขอ้ ทพี่ ระโพธสิ ตั ว์ มสี ติ รตู้ วั ทว่ั พรอ้ ม
ด�ำ รงอยใู่ นหมเู่ ทพชน้ั ดสุ ติ นี้ ขา้ พระองคย์ อ่ มถอื ไวว้ า่ เปน็ ของนา่ อศั จรรย์
ไมเ่ คยมเี กีย่ วกบั พระผมู้ พี ระภาค.

43

พุทธวจน - หมวดธรรม
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อนี้ ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ

พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจ้าว่า

“อานนท์ !   โพธิสัตว์ มสี ติ รตู้ วั ทั่วพรอ้ ม ด�ำ รงอยู่
ในหมู่เทพช้ันดุสติ จนกระทง่ั ตลอดกาลแห่งอายุ” ดังน้ี.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   ขอ้ ทพี่ ระโพธสิ ตั ว์ มสี ติ รตู้ วั ทวั่ พรอ้ ม
ดำ�รงอยู่ในหมู่เทพชั้นดุสิต จนกระทั่งตลอดกาลแห่งอายุนี้ ข้าพระองค์
ย่อมถอื ไว้วา่ เปน็ ของนา่ อศั จรรย์ ไม่เคยมเี กีย่ วกบั พระผ้มู พี ระภาค.

44

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

การจตุ จิ ากดุสิตลงสู่ครรภ์ 21

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๔๘/๓๖๓.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อนี้ ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ท่ีเฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจ้าวา่

“อานนท์ !   โพธิสัตว์ มีสติ รู้ตัวท่ัวพร้อม จุติจาก
หมเู่ ทพชนั้ ดุสิต ก้าวลงสูค่ รรภ์แหง่ มารดา” ดงั น้ี.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   แม้ข้อน้ี ข้าพระองค์ย่อมถือไว้ว่า
เป็นของน่าอัศจรรย์ ไมเ่ คยมเี กยี่ วกับพระผมู้ พี ระภาค.

45

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

เกิดแสงสว่าง เน่ืองดว้ ย 22
การจตุ ิจากดสุ ติ
-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๔๘-๒๔๙/๓๖๔.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อนี้ ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ท่ีเฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจา้ ว่า

“อานนท์ !   โพธิสัตว์ มีสติ รู้ตัวทั่วพร้อม จุติจาก
หมู่เทพช้ันดุสิตแล้ว ก้าวลงสู่ครรภ์แห่งมารดา ในขณะนั้น
แสงสวา่ งอนั โอฬารจนหาประมาณมไิ ด้ ยงิ่ ใหญก่ วา่ อานภุ าพ
ของเทวดาทง้ั หลายจะบนั ดาลได,้ ไดป้ รากฏขนึ้ ในโลกพรอ้ ม
ท้ังเทวโลก  มารโลก  พรหมโลก  ในหมู่สัตว์พร้อมทั้ง
สมณพราหมณ์ พรอ้ มทง้ั เทวดาและมนษุ ย์.

ถงึ แมใ้ นโลกนั ตรกิ นรก อนั โลง่ โถงไมม่ อี ะไรปดิ กนั้
แตม่ ดื มน หาการเกดิ แหง่ จกั ขวุ ญิ ญาณมไิ ด้ อนั แสงสวา่ งแหง่
ดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทติ ย์ อนั มฤี ทธอ์ิ านภุ าพอยา่ งนสี้ อ่ งไป
ไมถ่ งึ นน้ั แมใ้ นทน่ี น้ั แสงสวา่ งอนั โอฬารจนหาประมาณมไิ ด้
ย่ิงใหญ่กว่าอานุภาพของเทวดาท้ังหลายจะบันดาลได้ ก็ได้
ปรากฏขึ้นเหมือนกัน สัตว์ที่เกิดอยู่ ณ ท่ีนั้น จะรู้จักกันได้

46

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

ด้วยแสงสว่างน้ัน พากันร้องว่า ‘ท่านผู้เจริญท้ังหลายเอ๋ย
ผู้อ่ืนอันเกิดอยู่ในท่ีนี้ นอกจากเราก็มีอยู่เหมือนกัน’ ดังน้ี.
และหมน่ื โลกธาตนุ ้ี กห็ วน่ั ไหว สน่ั สะเทอื นสะทา้ น.  แสงสวา่ ง
อันโอฬารจนหาประมาณมไิ ด้ ได้ปรากฏขนึ้ ในโลก เกินกว่า
อานุภาพของเทวดาทัง้ หลายจะบันดาลได้” ดงั น.้ี

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   แมข้ อ้ นี้ ขา้ พระองคย์ อ่ มถอื ไวว้ า่ เปน็
ของนา่ อัศจรรย์ ไม่เคยมเี ก่ียวกบั พระผูม้ พี ระภาค.

(มพี ระสตู รทไ่ี ดต้ รสั ไวเ้ ชน่ เดยี วกนั นอ้ี กี คอื สตั ตมสตู ร ภยวคั ค์
-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๑๗๖/๑๒๗. -ผแู้ ปล)

47

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

แผน่ ดินไหว เนื่องด้วยการจุติ 23

-บาลี อฏฺ ก. อ.ํ ๒๓/๓๒๒, ๓๒๓/๑๖๗.

อานนท์ !   เหตุปัจจัยท่ีทำ�ให้ปรากฏการไหวแห่ง
แผน่ ดินอันใหญ่หลวง มีอย่แู ปดประการ. ...

อานนท์ !   เม่ือใด โพธิสัตว์จุติจากหมู่เทพช้ันดุสิต
มสี ตสิ มั ปชญั ญะ กา้ วลงสคู่ รรภแ์ หง่ มารดา ; เมอื่ นน้ั แผน่ ดนิ
ย่อมหวั่นไหว ย่อมส่ันสะเทือน ย่อมส่ันสะท้าน.  อานนท์ !  
น้ีเป็นเหตุปัจจัยคำ�รบสาม แห่งการปรากฏการไหวของ
แผ่นดนิ อันใหญห่ ลวง.

48

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

การลงสคู่ รรภ์ 24

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๔๙/๓๖๕.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อน้ี ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจ้าวา่

“อานนท ์ !   ในกาลใด โพธสิ ตั วก์ �ำ ลงั กา้ วลงสคู่ รรภ์
แหง่ มารดา ในกาลนนั้ เทพบตุ รทงั้ หลายยอ่ มท�ำ การอารกั ขา
ในทิศท้ังส่ีแก่โพธิสัตว์ โดยประสงค์ว่ามนุษย์ หรืออมนุษย์
หรือใครๆ ก็ตาม อย่าได้เบียดเบียนโพธิสัตว์ หรือมารดา
แหง่ โพธสิ ตั วเ์ ลย” ดงั น.้ี

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   แม้ข้อนี้ข้าพระองค์ย่อมถือไว้ว่าเป็น
ของน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีเกีย่ วกับพระผมู้ พี ระภาค.

49

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

การอยใู่ นครรภ์ 25

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๔๙-๒๕๑/๓๖๖-๓๖๙, ๓๗๑.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อนี้ ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจา้ วา่

“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์ก้าวลงสู่ครรภ์แห่ง
มารดา ในกาลน้ัน มารดาแห่งโพธิสัตว์ ย่อมเป็นผู้มีศีลอยู่
โดยปกติ เป็นผู้เว้นจากปาณาติบาต เว้นจากอทินนาทาน
เว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร เว้นจากมุสาวาท เว้นจากสุราและ
เมรยั อนั เป็นที่ตงั้ ของความประมาท” ดงั น.ี้

…“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์ก้าวลงสู่ครรภ์
แหง่ มารดา ในกาลนน้ั มารดาแหง่ โพธสิ ตั ว์ ยอ่ มไมม่ คี วาม
คิดอันเจือด้วยกามคุณในบุรุษท้ังหลาย, อน่ึง มารดาแห่ง
โพธิสัตว์ย่อมเป็นผู้ที่บุรุษใดๆ ไม่คิดจะล่วงเกินด้วยจิตอัน
ก�ำ หนดั ” ดังน้.ี

…“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์ก้าวลงสู่ครรภ์
กแาหมง่ คมณุารทดง้ั าหใา้ น,1กามลานรดน้ั ามแาหรงด่ โาพแธหสิ ง่ ตั โพวน์ธน้ัสิ ตั อวมิ่ ์ เเปอน็บิ ผดวู้้มยลี กาาภมดคว้ ณุ ย
ทง้ั หา้ เพยี บพรอ้ มดว้ ยกามคณุ ทง้ั หา้ ใหเ้ ขาประคบประหงม
อย”ู่ ดังน้.ี

1. กามคณุ หา้ ในทนี่ ้ี หมายเพยี งเครอื่ งบ�ำรงุ ตามธรรมดา มไิ ดห้ มายถงึ ทเ่ี กย่ี วกบั
50 กามารมณโ์ ดยตรง เพราะมปี ฎเิ สธอยู่ ในขอ้ ตน้ จากนอี้ ยแู่ ลว้ . -ผแู้ ปล

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

…“อานนท ์!   ในกาลใด โพธสิ ตั วก์ า้ วลงสคู่ รรภแ์ หง่
มารดา ในกาลนนั้ มารดาแหง่ โพธสิ ตั ว์ ยอ่ มไมม่ อี าพาธไรๆ
มีความสขุ ไมอ่ อ่ นเพลยี , อน่ึง มารดาแห่งโพธสิ ตั ว์ ย่อมแล
เหน็ โพธสิ ตั วผ์ อู้ ยใู่ นครรภม์ ารดา มอี วยั วะนอ้ ยใหญส่ มบรู ณ์
มอี นิ ทรยี ไ์ มท่ ราม.  เหมอื นอยา่ งวา่ แกว้ ไพฑรู ยอ์ นั งดงาม
โชตชิ ว่ งสดใสเจยี ระไนดแี ลว้ มดี า้ ยรอ้ ยอยใู่ นแกว้ นน้ั สเี ขยี ว
เหลอื งแกมเขยี ว แดง ขาว หรอื เหลอื ง กต็ าม บรุ ษุ ทตี่ ายงั ดี
เอาแกว้ นน้ั วางบนฝ่ามือแลว้ ย่อมมองเหน็ ชดั เจนว่า น้ีแก้ว
ไพฑูรย์อันงดงามโชติช่วงสดใส เจียระไนดีแล้ว, นี้ด้ายซึ่ง
รอ้ ยอยใู่ นแก้วนั้น จะเปน็ สีเขียว เหลืองแกมเขียว แดง ขาว
หรือเหลือง ก็ตาม; ฉันใดก็ฉันน้ัน ที่มารดาแห่งโพธิสัตว์
เปน็ ผไู้ มม่ อี าพาธ มคี วามสบายไมอ่ อ่ นเพลยี แลเหน็ โพธสิ ตั ว์
ผนู้ ง่ั อยใู่ นครรภ์ มอี วยั วะนอ้ ยใหญส่ มบรู ณ์ มอี นิ ทรยี ไ์ มท่ ราม”
ดงั นี้.

…“อานนท์ !   หญงิ อ่นื ๆ อุม้ ครรภ์ไว้เก้าเดือนบา้ ง 
สิบเดือนบ้าง จึงจะคลอด, ส่วนมารดาแห่งโพธิสัตว์ไม่เป็น
เชน่ นนั้ , ยอ่ มอมุ้ ครรภไ์ วส้ บิ เดอื นเตม็ ทเี ดยี วแลว้ จงึ คลอด”
ดังน.้ี

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   แม้ข้อนี้ๆ ข้าพระองค์ย่อมถือไว้ว่า
เป็นของน่าอัศจรรยไ์ มเ่ คยมี เกีย่ วกับพระผมู้ พี ระภาค.

51

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : “ตถาคต”

การประสูติ 26

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๕๑-๒๕๓/๓๗๒-๓๗๗.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อนี้ ข้าพระองค์ได้ฟังมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้จำ�มาแต่ท่ีเฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจา้ วา่

“อานนท์ !   หญิงอ่ืนๆ ย่อมนั่งคลอดบ้าง  นอน
คลอดบ้าง.  ส่วนมารดาแห่งโพธิสัตว์หาเป็นอย่างนั้นไม่,
มารดาแหง่ โพธสิ ตั ว์ ย่อมยนื คลอดโพธิสัตว”์ ดงั น.ี้

…“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์ออกมาจากท้อง
แห่งมารดา ในกาลนั้น เทวดาท้ังหลายย่อมเข้ารับก่อน
สว่ นมนษุ ยท์ ้ังหลายย่อมเข้ารบั ต่อภายหลงั ” ดงั น.ี้

…“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์ออกมาจากท้อง
แห่งมารดายังไม่ทันถึงแผ่นดิน เทพบุตรทั้งสี่ ย่อมรับเอา
มาวางตรงหนา้ แหง่ มารดา ทลู วา่ แมเ่ จา้ จงพอพระทยั เถดิ
บตุ รอนั มีศกั ดาใหญ่ของแม่เจ้าเกดิ แลว้ ” ดังน.้ี

…“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์ออกมาจากท้อง
แห่งมารดา ในกาลน้ัน เปน็ ผูส้ ะอาดหมดจด ไม่เปื้อนดว้ ย
เมอื ก ไม่เปอื้ นด้วยเสมหะ ไมเ่ ปอ้ื นด้วยเลอื ด ไม่เปอื้ นดว้ ย
หนอง ไม่เป้ือนด้วยของไม่สะอาดอย่างใดๆ เป็นผู้บริสุทธ์ิ
สะอาดหมดจดมาทีเดียว.  เหมือนอย่างว่าแก้วมณีท่ีวาง

52

เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

อยู่บนผ้าเนื้อเกลี้ยงอันมาแต่แคว้นกาสี, แก้วก็ไม่เป้ือนผ้า
ผ้าก็ไม่เปื้อนแก้ว, เพราะเหตุใด, เพราะเหตุว่ามันเป็นของ
สะอาดหมดจดทง้ั สองอยา่ ง ; ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ ทโ่ี พธสิ ตั วอ์ อก
มาจากท้องแห่งมารดาเป็นผสู้ ะอาดหมดจด ไม่เป้ือนด้วย
เมอื ก ไมเ่ ปอื้ นดว้ ยเสมหะ ไมเ่ ปอื้ นดว้ ยเลอื ด ไมเ่ ปอื้ นดว้ ย
หนอง ไม่เปื้อนด้วยของไม่สะอาดอย่างใดๆ เป็นผู้บริสุทธ์ิ
สะอาดหมดจดมาทีเดียว” ดงั น้ี.
…“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์ออกมาจากท้อง
แห่งมารดา ในกาลนน้ั ทอ่ ธารแหง่ น้ําสองทอ่ ปรากฏจาก
อากาศ เยน็ ทอ่ หนง่ึ รอ้ นทอ่ หนง่ึ , อนั เขาใชใ้ นกจิ อนั เนอ่ื งดว้ ย
น�ำ้ แก่โพธิสัตวแ์ ละแก่มารดา” ดงั น.้ี
…“อานนท์ !   โพธิสัตว์ผู้คลอดแล้วเช่นนี้ เหยียบ
พ้ืนดินด้วยฝ่าเท้าอันสมำ่�เสมอ มีพระพักตร์ทางทิศเหนือ
กทาศ้ิ วทไง้ัปห๗ลายกา้แวล,ะมกฉีลา่ตั วรอสาขี สาภววิกาน้ั จอา1ยู่ ณ เบอื้ งบน, ยอ่ มเหลยี วดู
วา่ “เราเปน็ ผเู้ ลศิ แหง่ โลก,
เราเปน็ ผเู้ จรญิ ทส่ี ดุ แหง่ โลก, เราเปน็ ผปู้ ระเสรฐิ สดุ แหง่ โลก.
ชาตนิ ี้ เปน็ ชาตสิ ดุ ทา้ ย.  บดั นี้ ภพใหมย่ อ่ มไมม่ ”ี ดงั น.้ี

1. อาสภวิ าจา คอื วาจาอนั ประกาศความสงู สดุ ภาษาบาลมี วี า่ อคโฺ คหมสมฺ ิ โลกสสฺ
เชฏโฐหมสมฺ ิ โลกสสฺ เสฏโฐหมสมฺ ิ โลกสสฺ . อยมนตฺ มิ าชาต.ิ นตถฺ ทิ านิ ปนุ พภโฺ ว.
อคโฺ ค หมายถงึ เปน็ ยอดคน.  เชฏโฺ ฐ หมายถงึ พใี่ หญ่ กวา่ เขาทง้ั หมด.  เสฏโฺ ฐ
หมายถงึ สงู ดว้ ยคณุ ธรรม กวา่ เขาทงั้ หมด.  ค�ำทงั้ สามนน้ี า่ คดิ ด.ู -ผแู้ ปล
53

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

เกิดแสงสว่าง เนอื่ งด้วยการประสตู ิ 27
-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๕๓-๒๕๔/๓๗๘.

…“อานนท์ !   ในกาลใด โพธิสัตว์คลอดจากท้อง
แห่งมารดา ในกาลนั้นแสงสว่างอันโอฬาร จนหาประมาณ
มไิ ด้ ยิ่งใหญ่กว่าอานภุ าพของเทวดาทงั้ หลาย จะบันดาลได้
ได้ปรากฏข้ึนในโลก พร้อมท้ังเทวโลก มารโลก พรหมโลก
ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมท้ังเทวดาและ
มนษุ ย์.

ถงึ แม้ในโลกนั ตริกนรก อนั โล่งโถงไมม่ อี ะไรปดิ กั้น
แตม่ ดื มน หาการเกดิ แหง่ จกั ขวุ ญิ ญาณมไิ ด้ อนั แสงสวา่ งแหง่
ดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทติ ย์ อนั มฤี ทธอิ์ านภุ าพอยา่ งน้ี สอ่ งไป
ไมถ่ งึ นนั้ แมใ้ นทนี่ นั้ แสงสวา่ งอนั โอฬารจนหาประมาณมไิ ด้
ย่ิงใหญ่กว่าอานุภาพของเทวดาทั้งหลายจะบันดาลได้ ก็ได้
ปรากฏขึ้นเหมือนกัน.  สัตว์ท่ีเกิดอยู่ในท่ีนั้น จะรู้จักกัน
ไดด้ ว้ ยแสงสวา่ งนน้ั พากนั รอ้ งวา่ ‘ทา่ นผเู้ จรญิ ทงั้ หลายเอย๋
ผอู้ ื่นอันเกดิ อยู่ในทน่ี ้ี นอกจากเราก็มอี ยเู่ หมอื นกัน’ ดังน้ี.

และหม่ืนโลกธาตุนี้ก็หวั่นไหวสั่นสะเทือนสะท้าน.
แสงสวา่ ง อนั โอฬารจนหาประมาณมไิ ด้ ไดป้ รากฏขน้ึ ในโลก
เกินกว่าอานภุ าพของเทวดาทัง้ หลาย จะบันดาลได”้ ดังน้.ี

54

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

แผ่นดนิ ไหว เนือ่ งด้วยการประสูติ 28
-บาลี อฏฺ ก. อ.ํ ๒๓/๓๒๒, ๓๒๓/๑๖๗.

อานนท์ !   เหตุปัจจัยท่ีทำ�ให้ปรากฏการไหวแห่ง
แผน่ ดินอนั ใหญห่ ลวง มีอย่แู ปดประการ. ...

อานนท์ !   เมอ่ื ใด โพธสิ ตั ว์ มสี ตสิ มั ปชญั ญะ ออก
จากท้องแห่งมารดา; เม่ือนั้น แผ่นดินย่อมหวั่นไหว ย่อม
สน่ั สะเทอื น ยอ่ มสนั่ สะทา้ น.  อานนท ์ !   นเ้ี ปน็ เหตปุ จั จยั
ค�ำ รบส่ี แห่งการปรากฏการไหวแหง่ แผน่ ดนิ อนั ใหญ่หลวง.

55

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ประกอบดว้ ยมหาปุรสิ ลกั ขณะ ๓๒ 29
-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๕๗-๑๕๙/๑๓๐.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   มหาบรุ ษุ (คอื พระองคเ์ องกอ่ นผนวช)
ผู้ประกอบด้วย มหาปุริสลักขณะ ๓๒ ประการ ย่อมมีคติ
เป็นสอง หาเปน็ อยา่ งอืน่ ไม่ คอื :-

ถ้าเป็นฆราวาส ย่อมเป็นจักรพรรดิผู้ประกอบด้วย
ธรรม เปน็ พระราชาโดยธรรม มแี วน่ แควน้ จดมหาสมทุ รทงั้ สี่
เปน็ ทส่ี ดุ มชี นบทอนั บรบิ รู ณ์ ประกอบดว้ ยแกว้ ๗ ประการ.
แกว้ ๗ ประการ ยอ่ มเกดิ แกม่ หาบรุ ษุ นน้ั คอื จกั รแกว้ ชา้ งแกว้
ม้าแก้ว แก้วมณี นางแก้ว คหบดีแก้ว และปริณายกแก้ว
เป็นท่ี ๗.  มีบุตรผู้กล้าหาญ มีแววแห่งคนกล้าอันใครๆ
จะย่ำ�ยมี ิได้ ตามเสดจ็ กว่า ๑๐๐๐.  มหาบรุ ษุ นั้นชนะแลว้
ครอบครองแผ่นดนิ มีสาครเปน็ ที่สดุ โดยรอบ, ไม่มีหลกั ตอ
เสย้ี นหนาม มงั่ คงั่ เบกิ บาน เกษม รม่ เยน็ ปราศจากเสนยี ด
คือโจร, ทรงครอบครองโดยธรรมอันสมำ่�เสมอ มิใช่โดย
อาญาและศาสตรา.

ถ้าออกบวชจากเรือน เป็นผู้ไม่มีประโยชน์เกื้อกูล
ด้วยเรือน ย่อมเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า มีกิเลส
เครือ่ งปกปดิ อันเปดิ แลว้ ในโลก.

56

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุทั้งหลาย! มหาปุริสลักขณะ ๓๒ ประการน้ัน
เหลา่ ไหนเลา่ คอื :-
๑. มหาบุรุษ มีพน้ื เท้าสมำ�่ เสมอ.
๒. มหาบรุ ษุ ทฝ่ี า่ เทา้ มจี กั รเกดิ แลว้ , มซี ต่ี ง้ั พนั พรอ้ มทง้ั

กงและดมุ .
๓. มหาบรุ ุษ มสี ้นเทา้ ยาว.
๔. มหาบุรษุ มขี อ้ นิ้วยาว.
๕. มหาบรุ ษุ มีฝ่ามอื ฝ่าเทา้ อ่อนละมุน.
๖. มหาบุรุษ มีลายฝา่ มือฝา่ เทา้ ดุจตาขา่ ย.
๗. มหาบุรษุ มีข้อเทา้ อยสู่ ูง.
๘. มหาบุรุษ มีแขง้ ดุจแข้งเนอื้ ทราย.
๙. มหาบุรุษ ยืนไม่ย่อตัวลงแตะเขา่ ได้ด้วยมอื ท้งั สอง.
๑๐. มหาบรุ ุษ มอี งคชาตตง้ั อยใู่ นฝกั .
๑๑. มหาบุรษุ มสี กี ายดุจทอง คือมผี วิ หนังดจุ ทอง.
๑๒. มหาบรุ ษุ มผี วิ หนังละเอียด ละอองจับไมไ่ ด.้
๑๓. มหาบรุ ุษ มขี นขุมละเสน้ เส้นหน่งึ ๆอย่ขู มุ หนึ่งๆ.
๑๔. มหาบุรษุ มีปลายขนช้อนขึน้ สดี ุจดอกอญั ชัน

ข้นึ เวียนขวา.
๑๕. มหาบรุ ษุ มกี ายตรงดุจกายพรหม.
๑๖. มหาบรุ ษุ มเี นอ้ื นนู หนาในท่ี ๗ แหง่ (คอื หลงั มอื

หลงั เทา้ บา่ คอ).

57

พุทธวจน - หมวดธรรม

๑๗. มหาบุรุษ มกี ายขา้ งหนา้ ดจุ ราชสหี .์
๑๘. มหาบุรษุ มหี ลังเต็ม (ไม่มีร่องหลัง).
๑๙. มหาบรุ ุษ มีทรวดทรงดจุ ต้นไทร กายกบั วาเทา่ กนั .
๒๐. มหาบุรษุ มคี อกลมเกลี้ยง.
๒๑. มหาบุรษุ มปี ระสาทรบั รสอนั เลศิ .
๒๒. มหาบรุ ุษ มคี างดจุ คางราชสีห์.
๒๓. มหาบุรษุ มีฟัน ๔๐ ซี่บรบิ ูรณ์.
๒๔. มหาบรุ ุษ มีฟันเรยี บเสมอ.
๒๕. มหาบรุ ุษ มฟี นั สนิท (ชิด).
๒๖. มหาบุรษุ มเี ขย้ี วสขี าวงาม.
๒๗. มหาบรุ ุษ มีล้ิน (ใหญ่และยาว) เพียงพอ.
๒๘. มหาบรุ ุษ มีเสียงดจุ เสียงพรหม พูดเหมอื น

นกการวิก.
๒๙. มหาบุรุษ มตี าเขยี วสนิท (สีนลิ ).
๓๐. มหาบรุ ุษ มตี าดจุ ตาวัว.
๓๑. มหาบรุ ุษ มีอุณาโลมหวา่ งควิ้ ขาวออ่ นเหมอื นสำ�ลี.
๓๒. มหาบุรษุ มศี ีรษะรับกบั กรอบหนา้ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  นเ้ี ปน็ มหาปรุ สิ ลกั ขณะ ๓๒ ประการ
ของมหาบุรุษ.

58

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

ประสูตไิ ด้ ๗ วัน พระชนนที วิ งคต 30
-บาลี อ.ุ ข.ุ ๒๕/๑๔๕/๑๑๑.

…ถูกแล้วอานนท์ !   ถูกแล้วอานนท์ !   จริงเทียว
มารดาแหง่ โพธสิ ตั วม์ ชี นมายนุ อ้ ย.  เมอ่ื ประสตู พิ ระโพธสิ ตั ว์
แลว้ ได้ ๗ วนั มารดาแหง่ โพธสิ ตั วย์ อ่ มสวรรคต, ยอ่ มเขา้ ถงึ
เทวนิกาย ชนั้ ดสุ ิต.

59

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงไดร้ ับการบ�ำเรอ 31

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๘๓-๑๘๕/๔๗๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เราเปน็ ผลู้ ะเอยี ดออ่ น ละเอยี ดออ่ น
อย่างยิ่ง ละเอียดอ่อนอย่างที่สุด, ดังเราจะเล่าให้ฟัง. 
ภิกษุท้ังหลาย !   เขาขุดสระ ๓ สระในวังแห่งบิดาของเรา,
ในสระหนง่ึ ปลกู อบุ ล (บวั เขยี ว), สระหนง่ึ ปลกู ปทมุ (บวั หลวง),
สระหนึ่งปลกู บุณฑรกิ ะ (บวั ขาว), เพอ่ื ประโยชน์แก่เรา.

ภิกษุทั้งหลาย !   มิใช่ว่าจันทน์ที่เราใช้อย่างเดียว
ทม่ี าแตเ่ มอื งกาส,ี ถงึ ผา้ โพก, เสอื้ , ผา้ นงุ่ , ผา้ หม่ , กล็ ว้ นมา
แต่เมืองกาสี.  ภิกษุท้ังหลาย !   เขาคอยก้ันเศวตฉัตรให้
เราด้วยหวังวา่ ความหนาว, ความรอ้ น, ละออง, หญา้ , หรอื
น�ำ้ ค้าง อย่าได้ถูกตอ้ งเราทั้งกลางวนั และกลางคืน.

ภิกษุทั้งหลาย !   มีปราสาทสำ�หรับเรา ๓ หลัง ;
หลังหนึ่งสำ�หรับฤดูหนาว, หลังหนึ่งสำ�หรับฤดูร้อน, และ
หลงั หนง่ึ ส�ำ หรบั ฤดฝู น.  เราอยบู่ นปราสาทส�ำ หรบั ฤดฝู น
ตลอดสเี่ ดอื นฤดฝู น ใหเ้ ขาบ�ำ เรออยดู่ ว้ ยดนตรอี นั ปราศจาก
บุรษุ , ไม่ลงจากปราสาททั้งหลาย.

60

เปิดธรรมที่ถกู ปิด : “ตถาคต”

ภิกษุทั้งหลาย !   ในวังของบิดาเรา, เขาให้ข้าวสุก
แห่งข้าวสาลีเจือด้วยเนื้อแก่ทาสและคนงาน (ดาษด่ืน) เช่น
เดยี วกับท่ีทอี่ ื่นเขาให้ขา้ วปลายเกรยี นกับน้ำ�ส้มแกพ่ วกทาส
และคนใช้.

ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือเราเพียบพร้อมไปด้วยการได้
ตามใจตัวถึงเพียงนี้ มีการได้รับความประคบประหงมถึง
เพยี งน้ี ความคดิ กย็ งั บงั เกดิ แกเ่ ราวา่ “ปถุ ชุ นทมี่ ไิ ดย้ นิ ไดฟ้ งั
ทง้ั ทต่ี วั เองจะตอ้ งแก่ ไมล่ ว่ งพน้ ความแกไ่ ปได,้ แตค่ รนั้ เหน็
คนอื่นแก่ ก็นึกอิดหนาระอาใจ สะอิดสะเอียน ไม่นึกถึงตัว
เสียเลย.  ถึงเราเองก็เหมือนกัน จะต้องแก่ ไม่ข้ามพ้น
ความแก่ไปได้, แต่ว่าเม่ือจะต้องแก่ ไม่พ้นความแก่ไปได้
แลว้ จะมาลมื ตวั อดิ หนาระอาใจ สะอดิ สะเอยี น เมอ่ื เหน็ คน
อ่ืนแกน่ นั้ ไมเ่ ป็นการสมควรแก่เรา”.

ภิกษุท้ังหลาย !   เมื่อเราพิจารณาได้เช่นน้ี ความ
มัวเมาในความหนมุ่ ของเรา ไดห้ ายไปหมดสนิ้ .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ปถุ ชุ นทไ่ี มไ่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั ทง้ั ทต่ี วั เอง
จะตอ้ งเจบ็ ไข้ ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไขไ้ ปได้, ครนั้ เหน็ คนอืน่
เจบ็ ไข้ กน็ กึ อดิ หนาระอาใจ สะอดิ สะเอยี น ไมน่ กึ ถงึ ตวั เสยี เลย.

61

พุทธวจน - หมวดธรรม

ถึงเราเองก็เหมือนกนั จะต้องเจ็บไข้ ไม่ล่วงพน้ ความเจบ็ ไข้
ไปได,้ แตว่ า่ เมอ่ื จะตอ้ งเจบ็ ไข้ ไมล่ ว่ งพน้ ความเจบ็ ไขไ้ ปไดแ้ ลว้
จะมาลมื ตวั อดิ หนาระอาใจ สะอดิ สะเอยี น เมือ่ เหน็ คนอ่ืน
เจ็บไข้นัน้ ไม่เป็นการสมควรแกเ่ รา.

ภิกษุทั้งหลาย !   เม่ือเราพิจารณาได้เช่นนี้ ความ
มัวเมาในความไม่มโี รค ของเราก็หายไปหมดสิน้ .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ปถุ ชุ นทไี่ มไ่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั ทง้ั ทต่ี วั เอง
จะต้องตาย ไมล่ ่วงพน้ ความตายไปได,้ ครัน้ เห็นคนอื่นตาย
ก็อิดหนาระอาใจ สะอิดสะเอียน ไม่นึกถึงตัวเสียเลย.
ถงึ เราเองกเ็ หมอื นกนั จะตอ้ งตาย ไมล่ ว่ งพน้ ความตายไปได,้
แต่ว่าเม่ือจะต้องตาย ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้แล้ว จะมา
ลมื ตวั อดิ หนาระอาใจ สะอดิ สะเอยี น เมอ่ื เหน็ คนอน่ื ตายนนั้
ไม่เปน็ การสมควรแกเ่ รา.

ภิกษุทั้งหลาย !   เม่ือเราพิจารณาได้เช่นน้ี ความ
มวั เมาในชวี ติ ความเป็นอยู่ ของเราไดห้ ายไปหมดสน้ิ .

62

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : “ตถาคต”

กามสุขกบั ความหนา่ ย 32

-บาลี ม. ม. ๑๓/๒๗๔/๒๘๑.

…มาคัณฑิยะ !   ครั้งเม่ือเรายังเป็นคฤหัสถ์
ประกอบการครองเรือน ได้อ่ิมพร้อมไปด้วยกามคุณทั้งห้า
ให้เขาบำ�เรอตนด้วยรูปที่เห็นได้ด้วยจักขุ, ด้วยเสียงท่ี
ฟงั ได้ดว้ ยห,ู ด้วยกล่ินอนั ดมได้ดว้ ยจมกู , ด้วยรสอันลิม้ ได้
ดว้ ยลน้ิ , ดว้ ยโผฏฐพั พะอนั สมั ผสั ไดด้ ว้ ยกาย ลว้ นแตท่ ส่ี ตั ว์
อยากได้ รกั ใครพ่ อใจ ยวนใจ เข้าไปตง้ั ไวซ้ ่ึงความใคร่ เป็น
ท่ตี ้ังแห่งราคะ.

มาคัณฑิยะ !   ปราสาทของเราน้ัน มีแล้ว ๓ แห่ง
ปราสาทหน่ึงเป็นที่อยู่ในฤดูฝน, ปราสาทหนึ่งเป็นท่ีอยู่ใน
ฤดูหนาว, ปราสาทหน่ึงสำ�หรับฤดูร้อน.  มาคัณฑิยะ !  
เราใหบ้ �ำ เรอตนอยดู่ ว้ ยดนตรี ลว้ นแตส่ ตรี ไมม่ บี รุ ษุ เจอื ปน
ณ ปราสาทเป็นที่อยู่ในฤดูฝนสี่เดือน ไม่ลงจากปราสาท
ครั้นลว่ งไปถึงสมยั อื่น มามองเห็น เหตุเปน็ ทีบ่ ังเกิด, และ
ความทต่ี ง้ั อยไู่ มไ่ ด,้ และความอรอ่ ย, และโทษอนั ตา่ํ ทราม,
และอุบายเป็นเครื่องออกไปพ้น, แห่งกามทั้งหลาย ตาม
เปน็ จรงิ , จงึ ละความอยากในกามเสยี บรรเทาความเดอื ดรอ้ น

63

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เพราะกาม  ปราศจากความกระหายในกาม  มีจิตสงบ ณ
ภายใน.  เรานน้ั เหน็ สตั วเ์ หลา่ อน่ื ยงั ไมป่ ราศจากความก�ำ หนดั
ในกาม ถกู ตณั หาในกามเคยี้ วกนิ อยู่ ถกู ความกระวนกระวาย
ในกามรุมเผาเอาอยู่ แต่ก็ยังขืนเสพกาม,  เรามิได้
ทะเยอทะยานตามสัตว์เหล่านั้น ไม่ยินดีในการเสพกาม
น้ันเลย.  ข้อน้นั เปน็ เพราะเหตใุ ด ?

มาคัณฑิยะ !   เพราะว่าคนเรา ถึงแม้ยินดีด้วย
ความยินดีที่ปราศจากกาม หรือปราศจากอกุศลแล้ว ก็ยัง
จัดเปน็ สัตวท์ ี่เลวทรามอย,ู่ เราจึงไมท่ ะเยอทะยานตามสตั ว์
เหลา่ น้ัน ขนื เสพกามอกี เลย.

มาคัณฑิยะ !   คฤหบดีหรือบุตรคฤหบดีผู้ม่ังค่ัง
มีทรัพย์สมบัติมาก เพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขา
บ�ำ เรอตนดว้ ย รปู , เสยี ง, กลน่ิ , รส, และโผฏฐพั พะ อนั สตั ว์
ปรารถนารกั ใครช่ อบใจ ยว่ั ยวน, เขา้ ไปตงั้ อยดู่ ว้ ยความใคร่
เป็นท่ีตั้งแห่งราคะ. ถ้าหากเขานั้นประพฤติสุจริตด้วยกาย
วาจา ใจ เบื้องหน้าแต่กายแตกตายไป พึงเข้าถึงสุคติ
โลกสวรรค์ เปน็ สหายกบั เหลา่ เทพในดาวดงึ ส,์ เทพบตุ รนนั้
มีนางอัปสรแวดล้อมอยู่ในนันทวัน อิ่มหนำ� เพียบพร้อม
ดว้ ยกาม ใหน้ างอปั สรบ�ำ เรอตนดว้ ยกามคณุ หา้ อนั เปน็ ทพิ ย์

64

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

ในดาวดงึ สน์ น้ั .  เทวบตุ รนน้ั หากไดเ้ หน็ คฤหบดี หรอื บตุ ร
ของคฤหบดี (ในมนุษย์โลกน้ี) อ่ิมหนำ� เพียบพร้อมด้วยกาม
ให้เขาบำ�เรอตนด้วยกามอยู่.

มาคณั ฑยิ ะ !   ทา่ นจะเขา้ ใจวา่ อยา่ งไร, เทพบตุ รนน้ั
จะทะเยอทะยานต่อกามคุณของคฤหบดี หรือบุตรของ
คฤหบดีนั้นบ้างหรือ หรือจะเวียนมาเพื่อกามอันเป็นของ
มนุษยน์ ้บี ้าง ?

“พระโคดม !  หามไิ ดเ้ ลย เพราะวา่ กามทเ่ี ปน็ ทพิ ย์ นา่ รกั ใครก่ วา่
ประณีตกว่า กามของมนษุ ย์”.

65

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงหลงกามและหลดุ จากกาม 33
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๘๐/๒๑๑.

มหานาม !   ครั้งก่อนแตก่ ารตรสั รู้ เม่ือเรายังไม่ได้
ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ แม้เป็นผู้มีสติระลึกได้ว่า “กาม
ทง้ั หลาย มรี สทน่ี า่ ยนิ ดนี อ้ ย มที กุ ขม์ าก, มคี วามคบั แคน้ มาก,
โทษอันแรงร้ายมีอยู่ในกามนั้นอย่างยิ่ง” ก็ดี แต่เรานั้น
ยงั ไมไ่ ดบ้ รรลสุ ขุ อนั เกดิ แตป่ ตี ิ หรอื ธรรมอนื่ ทสี่ งบยงิ่ ไปกวา่
ปีติสุขนั้น,  นอกจากได้เสวยแต่กามและอกุศลธรรม
อย่างเดียว; เราจึงเป็นผู้หมุนกลับจากกามไม่ได้, ไม่รู้
อยา่ งแจม่ แจง้ ในกามทั้งหลาย อย่เู พียงนน้ั .

มหานาม !   เมอื่ ใด เปน็ อนั วา่ เราไดเ้ หน็ ขอ้ นอ้ี ยา่ งดี
ดว้ ยปญั ญาอนั ชอบตามเปน็ จรงิ วา่ “กามทงั้ หลาย มรี สทน่ี า่
ยินดีน้อย มีทกุ ข์มาก มคี วามคับแค้นมาก, โทษอันแรงร้าย
มอี ยใู่ นกามนน้ั อยา่ งยง่ิ ” แลว้ ;  ...เมอ่ื นน้ั เรากเ็ ปน็ ผไู้ มห่ มนุ
กลบั มาสู่กามทัง้ หลาย รจู้ กั กามทง้ั หลายอย่างแจม่ แจ้งได้.

66

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

ความรูส้ ึก ท่ถี งึ กับท�ำใหอ้ อกผนวช 34
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๓๑๖-๓๑๗/๓๑๖.

ภิกษุทั้งหลาย !   ในโลกน้ี คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้
เมอ่ื เรายงั ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ยู่ ตนเองมคี วามเกดิ
เป็นธรรมดาอยู่แล้ว ก็ยังมัวหลงแสวงหาส่ิงที่มีความเกิด
เป็นธรรมดาอยู่นั่นเอง,  ตนเองมีความแก่เป็นธรรมดา
อยู่แล้ว ก็ยังมัวหลงแสวงหาส่ิงท่ีมีความแก่เป็นธรรมดา
อยู่นั่นเอง, ตนเองมีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาอยู่แล้ว ก็ยัง
มัวหลงแสวงหาสิ่งท่ีมีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาอยู่นั่นเอง,
ตนเองมคี วามตายเปน็ ธรรมดาอยแู่ ลว้ กย็ งั มวั หลงแสวงหา
ส่ิงที่มีความตายเป็นธรรมดาอยู่น่ันเอง, ตนเองมีความโศก
เป็นธรรมดาอยู่แล้ว ก็ยังมัวหลงแสวงหาส่ิงที่มีความโศก
เปน็ ธรรมดาอยนู่ น่ั เอง, ตนเองมคี วามเศรา้ หมองโดยรอบดา้ น
เปน็ ธรรมดาอยแู่ ลว้ กย็ งั มวั หลงแสวงหาสง่ิ ทม่ี คี วามเศรา้ หมอง
โดยรอบดา้ นเป็นธรรมดาอยู่น่นั เองอีก.

ภิกษุทั้งหลาย !   ก็อะไรเล่า เป็นสิ่งท่ีมีความเกิด
(เปน็ ตน้ ) … มีความเศรา้ หมองโดยรอบด้าน (เปน็ ท่สี ุด) เปน็
ธรรมดา ?

67

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย !   บุตรและภรรยา  มีความเกิด
เปน็ ธรรมดา … มคี วามเศรา้ หมองโดยรอบดา้ นเปน็ ธรรมดา.

ทาสหญิงทาสชาย มีความเกิดเป็นธรรมดา…
มีความเศร้าหมองโดยรอบด้านเป็นธรรมดา.

แพะ แกะมคี วามเกดิ เปน็ ธรรมดา…มคี วามเศรา้ หมอง
โดยรอบด้านเปน็ ธรรมดา.

ไก่ สกุ ร มคี วามเกดิ เปน็ ธรรมดา … มคี วามเศรา้ หมอง
โดยรอบดา้ นเปน็ ธรรมดา.

ชา้ ง โค มา้ ลา มคี วามเกดิ เปน็ ธรรมดา … มคี วาม
เศร้าหมองโดยรอบดา้ นเป็นธรรมดา.

ทองและเงิน เป็นสิ่งท่ีมีความเกิดเป็นธรรมดา …
มีความเศรา้ หมองโดยรอบดา้ นเป็นธรรมดา.

ส่ิงท่ีมนุษย์เข้าไปเทิดทูนเอาไว้ เหล่าน้ีแลท่ีช่ือว่า
สง่ิ ทม่ี คี วามเกดิ เปน็ ธรรมดา … มคี วามเศรา้ หมองโดยรอบดา้ น
เปน็ ธรรมดา ซง่ึ คนในโลกนพ้ี ากนั จมตดิ อยู่ พากนั มวั เมาอยู่
พากันสยบอยู่ในส่ิงเหล่าน้ี  จึงทำ�ให้ตนท้ังท่ีมีความเกิด
เปน็ ธรรมดา … มคี วามเศรา้ หมองโดยรอบดา้ นเปน็ ธรรมดา
อยเู่ องแลว้ กย็ งั มวั หลงแสวงหาสง่ิ ทม่ี คี วามเกดิ เปน็ ธรรมดา …
ทม่ี คี วามเศรา้ หมองโดยรอบดา้ นเปน็ ธรรมดา อยนู่ น่ั เองอกี .

68

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ภิกษุท้ังหลาย !   ความคิดอันนี้ ได้เกิดข้ึนแก่เรา
ว่า “ทำ�ไมหนอ เราซ่ึงมีความเกิด … ความเศร้าหมองโดย
รอบด้าน เป็นธรรมดาอยู่เองแล้ว จะต้องไปมัวแสวงหาส่ิง
ทมี่ คี วามเกดิ … ความเศรา้ หมองโดยรอบดา้ นเปน็ ธรรมดา
อยู่อีก.  ไฉนหนอ เราผู้มีความเกิด … ความเศร้าหมอง
โดยรอบด้าน เป็นธรรมดาอยู่เองแล้ว ครั้นได้รู้สึกถึงโทษ
อันตำ่�ทรามของการมีความเกิด … ความเศร้าหมองโดย
รอบดา้ นเปน็ ธรรมดานแ้ี ลว้ เราพงึ แสวงหานพิ พาน อนั ไมม่ ี
ความเกิด … ไม่มีความเศร้าหมองโดยรอบด้าน อันเป็น
ธรรมทเี่ กษมจากเครอื่ งร้อยรัด ไมม่ ีธรรมอน่ื ยงิ่ กวา่ เถดิ ”.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เรานนั้ โดยสมยั อนื่ อกี ยงั หนมุ่ เทยี ว
เกสายงั ด�ำ จดั บรบิ รู ณ์ ดว้ ยความหนมุ่ ทก่ี �ำ ลงั เจรญิ ยงั อยใู่ น
ปฐมวยั , เมอื่ มารดาบดิ าไมป่ รารถนาดว้ ย ก�ำ ลงั พากนั รอ้ งไห้
น�้ำ ตานองหนา้ อย,ู่ เราไดป้ ลงผมและหนวด ครองผา้ ยอ้ มฝาด
ออกจากเรอื น บวชเปน็ ผไู้ มม่ ีเรือนแล้ว.

(ขอ้ สังเกต: ไมพ่ บว่ามพี ทุ ธวจนกล่าวถงึ การไดท้ อดพระเนตร
เหน็ เทวทตู ทงั้ ๔ อนั เปน็ เหตใุ หต้ ดั สนิ ใจออกผนวช ซง่ึ การทอดพระเนตร
เห็นเทวทูตท้ัง ๔ นั้น พบแต่ในส่วนประวัติของพระพุทธเจ้าพระนามว่า
วปิ สั สี ดงั ปรากฏในมหาปทานสตู ร -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๒๔/๓๒. -ผรู้ วบรวม)

69

พุทธวจน - หมวดธรรม
(ในบาลี สคารวสตู ร1 ม. ม. ๑๓/๖๖๙/๗๓๘.  มที ตี่ รสั ไวส้ รปุ

แตส่ น้ั ๆ ว่า :-)

ภารทวาชะ !   ในโลกนี้ ครง้ั ก่อนแตก่ ารตรัสรู้ เมอื่
เรายงั ไมไ่ ดต้ รสั รยู้ งั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ย,ู่ ความคดิ นเ้ี กดิ มแี กเ่ รา
วา่ “ฆราวาสคบั แคบ เปน็ ทางมาแหง่ ธลุ ,ี สว่ นบรรพชาเปน็
โอกาสว่าง; ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้
บรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณโ์ ดยสว่ นเดยี ว เหมอื นสงั ขท์ เี่ ขาขดั ดแี ลว้ ,
โดยง่ายนั้นไม่ได้.  ถ้าไฉนเราพึงปลงผมและหนวด
ครองผา้ ยอ้ มฝาด ออกจากเรอื น บวชเปน็ ผไู้ มม่ ปี ระโยชน์
เกยี่ วข้องด้วยเรอื นเถดิ ” ดังน้ี.

ภารทวาชะ !   เรานน้ั โดยสมยั อน่ื อกี ยงั หนมุ่ เทยี ว …

1. นอกจากน้ียังมีในสูตรอื่นอีก เช่น มหาสัจจกสูตร -บาลี มู. ม. ๑๓/๔๔๒/๔๑๑.
เปน็ ตน้ . -ผแู้ ปล

70





เริม่ แต่ออกบรรพชาแล้ว
เท่ียวเสาะแสวงหาความรู้

ทรมานพระองค์
จนได้ตรัสรู้

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

การออกบรรพชา 35

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๔๓/๔๘๙, -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๗๖/๑๓๙.

…ราชกมุ าร !   ครง้ั กอ่ นแตก่ ารตรสั รู้ เมอ่ื เรายงั ไมไ่ ด้
ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อย่,ู ได้เกิดความร้สู ึกข้นึ ภายในใจว่า
‘ชื่อว่าความสุขแล้ว ใครๆ จะบรรลุได้โดยง่ายเป็นไม่มี’
ดังนี้.  ราชกุมาร !  คร้ันสมัยอื่นอีก เรานั้นยังหนุ่มเทียว
เกสายังดำ�จัด  บริบูรณ์ด้วยเยาว์อันเจริญในปฐมวัย,  เม่ือ
มารดาบิดาไม่ปรารถนาด้วย,  กำ�ลังพากันร้องไห้ นำ้�ตา
นองหน้าอยู่, เราได้ปลงผมและหนวด ครองผ้าย้อมฝาด
ออกจากเรือน บวชเป็นผูไ้ ม่มเี รอื นแล้ว…

…เรามีอายุได้ สามสิบหย่อนหน่ึงโดยวัย, ได้ออก
บรรพชา แสวงหาวา่ ‘อะไรเปน็ กศุ ล อะไรเปน็ กศุ ล’ ดงั น.้ี ...

74

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : “ตถาคต”

เสด็จส�ำนกั อาฬารดาบส 36

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๔๓-๔๔๖/๔๘๙.1

เราน้ัน คร้ันบวชอย่างน้ีแล้ว แสวงหาอยู่ว่า อะไร
เปน็ กศุ ล คน้ หาแตส่ งิ่ ทปี่ ระเสรฐิ ฝา่ ยสนั ตชิ นดิ ทไ่ี มม่ อี ะไรยงิ่
ไปกวา่  ;  ไดเ้ ขา้ ไปหาอาฬารดาบสผกู้ าลามโคตรถงึ ทส่ี �ำ นกั
แลว้ กลา่ ววา่ “ทา่ นกาลามะ !  เราอยากประพฤตพิ รหมจรรย์
ในธรรมวินยั นี้ด้วย”.

ราชกุมาร !   คร้ันเรากล่าวดังน้ีแล้ว อาฬารดาบส
ผกู้ าลามโคตรไดต้ อบว่า

“อยู่เถิดท่านผู้มีอายุ !   ธรรมน้ีเป็นเช่นน้ีๆ ; ถ้าบุรุษเข้าใจ
ความแลว้ ไม่นานเลยคงทำ�ใหแ้ จ้ง บรรลไุ ด้ด้วยปัญญาอนั ย่งิ เอง ทว่ั ถงึ
ลัทธขิ องอาจารย์ตน”.

ราชกมุ าร !  เราเลา่ เรยี นธรรมนน้ั ไดฉ้ บั ไวไมน่ านเลย.
ราชกมุ าร !  เรานน้ั กลา่ วไดท้ ง้ั ญาณวาท และ เถรวาท
ดว้ ยอาการมาตรวา่ ทอ่ งดว้ ยปาก และดว้ ยเวลาชว่ั ทเ่ี จรจาตอบ
ตลอดกาลเท่านั้น.  อน่ึง เราและศิษย์อ่ืนๆ ปฏิญญา
ได้ว่าเรารู้เราเห็นดังนี้.  ราชกุมาร !   ความรู้สึกเกิดขึ้น

1. ยงั มตี รสั ในพระสตู รอน่ื อกี คอื สคารวสตู ร -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๗๐/๗๓๘, ปาสราสสิ ตู ร
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๓๑๘/๓๑๗, มหาสจั จกสตู ร -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๔๒/๔๑๑. -ผแู้ ปล

75

พุทธวจน - หมวดธรรม

แก่เราว่า  “อาฬารผู้กาลามโคตรประกาศให้ผู้อ่ืนทราบว่า
‘เราทำ�ให้แจ้งธรรมน้ีด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วแลอยู่’
ด้วยคุณสักว่าศรัทธาอย่างเดียวก็หามิได้,  ท่ีแท้อาฬาร
ผู้กาลามโคตรคงรู้อยเู่ หน็ อยซู่ ึ่งธรรมนเี้ ป็นแน”่ .

ราชกมุ าร !  ครง้ั นน้ั เราเขา้ ไปหาอาฬารผกู้ าลามโคตร
ถงึ ท่ีอยู่แล้วกล่าวว่า

“ทา่ นกาลามะ !   ทา่ นทำ�ให้แจง้ ธรรมน้ดี ้วยปัญญา
อันยง่ิ เองแล้วและประกาศได้เพียงเทา่ ไรหนอ ?”.

คร้ันเรากล่าวอย่างนี้ อาฬารผู้กาลามโคตรได้
ประกาศให้รู้ถึง อากิญจัญญายตนะแล้ว.  ราชกุมาร !  
ความรู้สึกได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “ศรัทธา, วิริยะ, สติ, สมาธิ,
ปัญญา จักมีแต่ของอาฬารผู้กาลามโคตรผู้เดียวก็หาไม่. 
ศรทั ธา, วิรยิ ะ, สต,ิ สมาธ,ิ ปัญญา ของเรากม็ อี ย่ ู; อยา่ งไร
ก็ตาม  เราจกั ต้งั ความเพียร ท�ำ ใหแ้ จ้งธรรมท่ีท่านกาลามะ
ประกาศแลว้ วา่ ‘เราท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ แลอย’ู่
ดังนี้ ใหจ้ งได้”.

ราชกุมาร !   เราได้บรรลุทำ�ให้แจ้งธรรมน้ันด้วย
ปญั ญาอันยง่ิ เองฉบั ไวไมน่ านเลย.

76

เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

ราชกมุ าร !  ครง้ั นน้ั เราเขา้ ไปหาอาฬารผกู้ าลามโคตร
ถึงท่อี ยูแ่ ลว้ กลา่ วว่า “มีเท่านี้หรอื ท่ีท่านบรรลุถึง ท�ำ ให้แจง้
ดว้ ยปัญญาอนั ยงิ่ เองแล้วประกาศแกผ่ ู้อื่นอยู่ ?”.

“เทา่ นเ้ี องผมู้ อี าย ุ !   ทเี่ ราบรรลถุ งึ ท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่
เองแลว้ ประกาศแกผ่ ้อู นื่ อย”ู่ .

“ท่านกาลามะ !   แม้เราก็บรรลุทำ�ให้แจ้งด้วย
ปัญญาอนั ยงิ่ เองถงึ เพยี งนั้นเหมอื นกนั ”.

ราชกมุ าร !   อาฬารผกู้ าลามโคตรไดก้ ลา่ วกะเราวา่

“ลาภของเราแล้วท่านผู้มีอายุ !   เราได้ดีแล้ว, ท่านผู้มีอายุ !  
มิเสียแรงท่ีได้พบเพื่อนร่วมพรหมจรรย์เช่นกับท่าน ผู้ทำ�ให้แจ้งธรรม
ทเ่ี รารดู้ ว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เอง, แมเ้ รากท็ �ำ ใหแ้ จง้ ธรรมทท่ี า่ นท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ย
ปญั ญาอนั ยง่ิ เองนน้ั อยา่ งเดยี วกนั .  เรารธู้ รรมใด ทา่ นรธู้ รรมนน้ั , ทา่ นรู้
ธรรมใด เรารธู้ รรมนนั้ , เราเปน็ เชน่ ใด ทา่ นเปน็ เชน่ นน้ั , ทา่ นเปน็ เชน่ ใด
เราเป็นเช่นนั้น ;  มาเถิดท่านผู้มีอายุ !  เราสองคนด้วยกันจักช่วยกัน
ปกครองคณะนี้ต่อไป”.

ราชกุมาร !   อาฬารกาลามโคตรผู้เป็นอาจารย์ของ
เรา ไดต้ งั้ เราผเู้ ปน็ ศษิ ยใ์ หเ้ สมอดว้ ยตนแลว้ , ไดบ้ ชู าเราดว้ ย
การบูชาอย่างย่ิง.  ราชกุมาร !  (เมื่อเราได้เสมอด้วยอาจารย์

77

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ได้การบูชาท่ียิ่งดังนั้น) ได้เกิดความรู้สึกน้ีว่า “ก็ธรรมนี้จะได้
เปน็ ไปพรอ้ มเพอ่ื ความหนา่ ย เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั เพอ่ื ความ
ดับสนิท เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ย่ิง เพ่ือความรู้พร้อม
เพอ่ื นพิ พาน กห็ าไม,่ แตเ่ ปน็ ไปพรอ้ ม เพยี งเพอื่ การบงั เกดิ ใน
อากิญจญั ญายตนภพ เท่าน้ันเอง”.

ราชกุมาร !   ตถาคต (เมื่อเห็นโทษในสมาบัติทั้งเจ็ด)
จึงไม่พอใจ เบ่ือจากธรรมนนั้ หลีกไปเสยี .

78


Click to View FlipBook Version