The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

เสดจ็ ส�ำนักอทุ กดาบส 37

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๔๖-๔๔๘/๔๙๐.1

ราชกุมาร !   เรานั้นแสวงหาอยู่ว่าอะไรเป็นกุศล
ค้นหาแต่สิ่งท่ีประเสริฐฝ่ายสันติชนิดท่ีไม่มีอะไรย่ิงกว่า ;
ได้เข้าไปหาอุทกดาบสผู้รามบุตรถึงที่สำ�นัก แล้วกล่าวว่า
“ท่านรามะ !   เราอยากประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัย
นีด้ ้วย”.

ราชกมุ าร !   ครน้ั เรากลา่ วดงั นี้ ทา่ นอทุ กผรู้ ามบตุ ร
ไดก้ ลา่ วตอบวา่

“อยู่เถิดท่านผู้มีอายุ !   ธรรมน้ีเป็นเช่นนี้ๆ ; ถ้าบุรุษเข้าใจ
ความแลว้ ไม่นานเลย คงท�ำ ให้แจง้ บรรลุได้ด้วยปญั ญาอันยิ่งเอง ทัว่ ถงึ
ลัทธิของอาจารยต์ น”.

ราชกมุ าร !  เราเลา่ เรยี นธรรมนน้ั ไดฉ้ บั ไวไมน่ านเลย.
ราชกมุ าร !  เรานน้ั กลา่ วไดท้ ง้ั ญาณวาท และ เถรวาท
ด้วยอาการมาตรว่าท่องด้วยปาก ด้วยเวลาช่วั ท่เี จรจาตอบ
ตลอดกาลเทา่ นน้ั .  อนง่ึ เราและศษิ ยอ์ น่ื ๆ ปฏญิ ญาไดว้ า่
เรารเู้ ราเหน็ ดงั น.้ี

1. ยงั มตี รสั ในพระสตู รอน่ื อกี คอื สคารวสตู ร -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๗๒/๗๓๙, ปาสราสสิ ตู ร
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๓๒๐/๓๑๘, มหาสจั จกสตู ร -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๔๔/๔๑๒. -ผแู้ ปล

79

พุทธวจน - หมวดธรรม

ราชกุมาร !   ความรู้สึกได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “อุทก
ผู้รามบุตรได้ประกาศว่า ‘เราทำ�ให้แจ้งธรรมน้ดี ้วยปัญญา
อันย่ิงเองแล้วแลอยู่’  ด้วยคุณสักว่าศรัทธาอย่างเดียวก็
หามไิ ด,้ ทแ่ี ทอ้ ทุ กผรู้ ามบตุ รคงรอู้ ยเู่ หน็ อยู่ ซง่ึ ธรรมนเ้ี ปน็ แน”่ .

ราชกุมาร !   ครั้งนั้นเราเข้าไปหาอุทกผู้รามบุตร
ถึงทอี่ ย่แู ล้วกลา่ วว่า

“ทา่ นรามะ !   ทา่ นท�ำ ธรรมนใ้ี หแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั
ยงิ่ เองแล้ว และประกาศได้เพยี งเทา่ ไรหนอ ?”.

ครน้ั เรากลา่ วอยา่ งน้ี อทุ กรามบตุ รไดป้ ระกาศใหร้ ถู้ งึ
เนวสัญญานาสัญญายตนะแลว้ .  ราชกุมาร !  ความรสู้ ึก
ได้เกิดข้ึนแก่เราว่า “ศรัทธา, วิริยะ, สติ, สมาธิ, ปัญญา
จักมีแตข่ องอุทกรามบตุ รผู้เดยี วกห็ าไม่.  ศรัทธา, วิริยะ,
สติ, สมาธิ, ปัญญา ของเราก็มีอยู่ ; อย่างไรก็ตาม เราจัก
ตั้งความเพียร ทำ�ให้แจ้งธรรมท่ีท่านรามะประกาศแล้วว่า
‘เราท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ แลอย’ู่ ดงั น้ี ใหจ้ งได”้ .

ราชกุมาร !   เราได้บรรลุทำ�ให้แจ้งซ่ึงธรรมน้ัน
ด้วยปัญญาอนั ย่ิงเองฉบั ไวไมน่ านเลย.

80

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : “ตถาคต”

ราชกุมาร !   คร้ังนั้น เราเข้าไปหาอุทกผู้รามบุตร
ถึงท่อี ยแู่ ล้วกล่าวว่า “มีเทา่ นี้หรือทที่ า่ นบรรลุถงึ ท�ำ ให้แจ้ง
ด้วยปญั ญาอันยิ่งแลว้ ประกาศแก่ผอู้ ื่นอย่ ู ?”.

“เทา่ นเ้ี องผมู้ อี าย ุ !   ทเ่ี ราบรรลถุ งึ ท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ
แลว้ ประกาศแกผ่ อู้ น่ื ”.

“ทา่ นรามะ !   ถงึ เรากไ็ ดบ้ รรลทุ �ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญา
อันย่ิงเองเทา่ นั้นเหมอื นกัน”.

ราชกมุ าร !   อทุ กผูร้ ามบุตรได้กลา่ วกะเราว่า

“ลาภของเราแล้ว ท่านผู้มีอายุ !   เราได้ดีแล้ว, ท่านผู้มีอายุ !  
มิเสียแรงที่ได้พบเพ่ือนร่วมพรหมจรรย์เช่นกับท่าน ผู้ทำ�ให้แจ้งธรรมที่
รามะรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง, แม้รามะก็ทำ�ให้แจ้งธรรมท่ีท่านทำ�ให้แจ้ง
ด้วยปัญญาอันยิ่งเองนั้นอย่างเดียวกัน.  รามะรู้ท่ัวถึงธรรมใด ท่านรู้
ธรรมนน้ั , ทา่ นรธู้ รรมใด รามะรทู้ ว่ั ถงึ ธรรมนน้ั , รามะเปน็ เชน่ ใด ทา่ นเปน็
เชน่ นน้ั , ทา่ นเปน็ เชน่ ใด รามะเปน็ เชน่ นน้ั  ;  มาเถดิ ทา่ นผมู้ อี าย ุ !  ทา่ นจง
ปกครองคณะนี้ตอ่ ไป”.

ราชกมุ าร !  อทุ กรามบตุ รเมอ่ื เปน็ สพรหมจารตี อ่ เรา
ก็ได้ต้ังเราไว้ในฐานะแห่งอาจารย์นั่นเทียว ; ได้บูชาเราด้วย
การบูชาอันยิ่ง.  ราชกุมาร !   (เม่ือเราได้เสมอด้วยอาจารย์

81

พุทธวจน - หมวดธรรม

ได้การบูชาที่ย่ิงดังน้ัน) ได้เกิดความรู้สึกนี้ว่า “ธรรมน้ีจะได้
เปน็ ไปพรอ้ มเพอ่ื ความหนา่ ย เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั เพอ่ื ความ
ดับสนิท เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ย่ิง เพ่ือความรู้พร้อม
เพอ่ื นพิ พาน กห็ าไม,่ แตเ่ ปน็ ไปพรอ้ ม เพยี งเพอ่ื การบงั เกดิ ใน
เนวสัญญานาสัญญายตนภพ เท่านน้ั เอง”.

ราชกุมาร !   ตถาคต (เมื่อเห็นโทษในสมาบัติทั้งแปด)
จงึ ไมพ่ อใจในธรรมนน้ั เบอ่ื หนา่ ยจากธรรมนนั้ หลกี ไปเสยี .

82

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

ทรงพบสถานทปี่ ระกอบความเพียร 38
-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๔๘/๔๙๑.

ราชกุมาร !   เราน้ันเม่ือหลีกไปจากสำ�นักอุทก
ผู้รามบุตรแล้ว แสวงหาอยู่ว่าอะไรเป็นกุศล ค้นหาแต่ส่ิง
ที่ประเสริฐฝ่ายสันติอันไม่มีอื่นยิ่งกว่า, เที่ยวจาริกไปตาม
ลำ�ดับหลายตำ�บลในมคธรัฐ จนบรรลุถึงตำ�บลอุรุเวลา-
เสนานิคม พักแรมอยู่ ณ ตำ�บลนนั้ .

ณ ทน่ี น้ั เราไดพ้ บภาคพน้ื รมณยี สถาน มชี ฏั ปา่ เยอื กเยน็
แมน่ �ำ้ ไหลใสเยน็ จดื สนทิ มที า่ น�ำ้ ราบเรยี บเปน็ อนั ดนี า่ เพลนิ ใจ
มบี า้ นส�ำ หรบั โคจรตง้ั อยโู่ ดยรอบ.

ราชกุมาร !   เราได้เห็นแล้ว เกิดความรู้สึกว่า
“ภูมิภาคนีน้ ่าร่ืนรมย์จรงิ ชัฏปา่ เยน็ เยือก แมน่ �ำ้ ไหลใสเย็น
จืดสนิท มีท่าน้ำ�ราบเรียบเป็นอันดีน่าเพลินใจ ท้ังท่ีโคจร
กต็ ง้ั อยโู่ ดยรอบ, ทน่ี ส้ี มควรเพอื่ จะตง้ั ความเพยี รของกลุ บตุ ร
ผูต้ ้องการดว้ ยความเพยี ร” ดงั น้.ี

ราชกมุ าร !   เรานง่ั พกั อยู่ ณ ต�ำ บลนนั้ เองดว้ ยคดิ วา่
ทนี่ ี้สมควรแล้วเพอื่ การตัง้ ความเพยี ร ดังนี้.

83

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

อปุ มาปรากฏแจ่มแจง้ 39

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๔๘/๔๙๒.

ราชกุมาร !   เร่ืองประหลาดเกิดมีแก่เรา อุปมา
สามขอ้ เปน็ อศั จรรยท์ ไ่ี มเ่ คยไดย้ นิ มาแลว้ มาแจม่ แจง้ แกเ่ รา.

(1) ราชกมุ าร !   อปุ มาขอ้ หนง่ึ วา่ เหมอื นไมส้ ดชมุ่
ด้วยยาง ทั้งเขาตัดลงแช่น้ำ�ไว้,  ถ้าบุรุษตั้งใจว่า เราจะนำ�
ไมส้ ไี ฟอนั บน มาสกี บั ไมน้ น้ั ใหไ้ ฟเกดิ ปรากฏดงั น,้ี ราชกมุ าร !  
ทา่ นจะเขา้ ใจวา่ อยา่ งไร บรุ ษุ นนั้ จกั ถอื ไมส้ ไี ฟอนั บน มาสไี ฟ
ให้เกิดปรากฏขึ้นไดห้ รือไม ่ ?

“พระองค์ผ้เู จริญ !   ไม่ได้เลย, เพราะเหตุว่าโน้นเป็นไม้สด
ชมุ่ ดว้ ยยาง ทง้ั ยงั แชอ่ ยใู่ นน�ำ้ เขาจะสตี ลอดกาลเพยี งใด จกั ตอ้ งเหนด็ เหนอ่ื ย
คบั แคน้ เปลา่ เพยี งนน้ั ”.

ราชกุมาร !   ฉันใดก็ฉันน้ัน สมณะหรือพราหมณ์
พวกใด กายยังไม่หลีกออกจากวัตถุกาม ใจก็ยังระคนด้วย
กิเลสกามอันทำ�ความพอใจ ความเย่ือใย ความเมาหมก
ความกระหาย ความรุ่มร้อน ในวัตถุกามทั้งหลาย, เขายัง
ละไมไ่ ด้ ยงั ร�ำ งบั ไมไ่ ด้ ซง่ึ กเิ ลสกามอนั เปน็ ภายในเหลา่ นนั้ ,
ท่านสมณะหรือพราหมณ์เหลา่ นนั้ ถงึ จะได้เสวยทกุ ขเวทนา

84

เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

อันกลา้ แขง็ เผด็ รอ้ น เพราะการท�ำ ความเพยี รก็ดี หรอื ไมไ่ ด้
เสวยกด็ ี ยอ่ มไมค่ วรเพอ่ื เกดิ ปญั ญารเู้ หน็ อนั ไมม่ ปี ญั ญาอนื่
ยิ่งไปกว่าได้เลย.  ราชกุมาร !  นี่เป็นอุปมาทีแรก ท่ีเป็น
อัศจรรย์ ท่ีเราไม่เคยได้ยินมาแล้วแต่ก่อน ได้มาแจ่มแจ้ง
แก่เราแลว้ .

(2) ราชกมุ าร !   อปุ มาขอ้ สอง เปน็ อศั จรรยท์ เ่ี รา
ไม่เคยได้ยินมาแล้ว ได้มาแจ่มแจ้งแก่เรา.  ราชกุมาร !  
อุปมาว่าไม้สดชุ่มด้วยยาง วางอยู่บนบกไกลจากน้ำ�, หาก
บุรุษตั้งใจว่า เราจักนำ�ไม้สีไฟอันบน มาสีกับไม้น้ันให้ไฟ
เกดิ ปรากฏดงั น,้ี ทา่ นจกั เขา้ ใจวา่ อยา่ งไร บรุ ษุ นน้ั จกั ถอื เอา
ไมส้ ีไฟอนั บน มาสีให้เกิดไฟปรากฏขน้ึ ไดห้ รือไม่ ?

“พระองค์ผู้เจริญ !   ไม่ได้เลย, เพราะเหตุว่าโน้นเป็นไม้สด
ชุ่มด้วยยาง แม้วางอยู่บนบกก็จริง เขาจะสีไปตลอดกาลเพียงใด ก็จัก
เหน็ดเหนื่อย คบั แค้นเปล่าตลอดกาลเพียงน้นั ”.

ราชกุมาร !   ฉันใดก็ฉันนั้น สมณะหรือพราหมณ์
พวกใด มีกายหลีกออกจากวัตถุกามแล้ว แต่ใจยังระคน
ดว้ ยกเิ ลสกามอนั ท�ำ ความพอใจ ความเยอ่ื ใย ความเมาหมก
ความกระหาย ความรุ่มร้อน ในวัตถุกามทั้งหลาย,  เขายัง

85

พุทธวจน - หมวดธรรม

ละไม่ได้ ระงับไม่ได้ซึ่งกิเลสกามอันเป็นภายในเหล่าน้ัน,
สมณะหรือพราหมณ์เหล่าน้ัน จะได้เสวยทุกขเวทนาอัน
กล้าแข็งเผ็ดร้อน เพราะทำ�ความเพียรก็ดี หรือไม่ได้เสวย
ก็ดี ก็ไม่ควรเพ่ือจะเกิดปัญญารู้เห็นอันไม่มีปัญญาอ่ืน
ยิ่งไปกว่าได้เลย.  ราชกุมาร !  นี่เป็นอุปมาท่ีสอง ท่ีเป็น
อัศจรรย์ อันเราไม่เคยได้ยินมาแล้วแต่ก่อน ได้มาแจ่มแจ้ง
แก่เราแล้ว.

(3) ราชกุมาร !   อุปมาข้อสาม ท่ีเป็นอัศจรรย์
อนั เราไมเ่ คยไดย้ นิ มาแลว้ มาแจม่ แจง้ แกเ่ รา.  ราชกมุ าร !  
อุปมาว่าไม้แห้งสนิท ท้ังวางไว้บนบกไกลจากนำ้�, หากบุรุษ
ต้ังใจว่าเราจักนำ�ไม้สีไฟอันบน มาสีกับไม้นั้นให้ไฟเกิด
ปรากฏขน้ึ ดงั น,้ี ราชกมุ าร !  ทา่ นจะเขา้ ใจวา่ อยา่ งไร บรุ ษุ นน้ั
จักนำ�ไม้สีไฟอันบน มาสีกับไม้นั้นให้ไฟเกิดปรากฏข้ึนได้
หรอื ไม ่ ?

“พระองค์ผู้เจริญ !   ได้โดยแท้, เพราะเหตุว่าโน้นเป็นไม้
แห้งเกราะ ทง้ั อยบู่ นบกไกลจากนำ�้ ดว้ ย”.

ราชกุมาร !   ฉันใดก็ฉันน้ัน สมณะหรือพราหมณ์
พวกใด มีกายละจากวัตถุกามแล้ว ทั้งใจก็ไม่ระคนอยู่ด้วย
กิเลสกามอันทำ�ความพอใจ ความเยื่อใย ความเมาหมก

86

เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

ความกระหาย ความร่มุ ร้อน ในวตั ถุกามทง้ั หลาย, เขาเป็น
ผลู้ ะได้ ระงบั ไดซ้ งึ่ กเิ ลสกามอนั เปน็ ภายในเหลา่ นนั้ . สมณะ
หรือพราหมณ์เหล่าน้ัน จะได้เสวยทุกขเวทนาอันกล้าแข็ง
เผ็ดร้อน เพราะทำ�ความเพียรก็ดี หรือไม่ได้เสวยก็ดี ย่อม
ควรเพ่ือเกิดปัญญารู้เห็นอันไม่มีปัญญาอื่นยิ่งไปกว่าได้.
ราชกมุ าร !   นเี่ ปน็ อปุ มาทส่ี าม ทเ่ี ปน็ อศั จรรยอ์ นั เราไมเ่ คย
ไดย้ ินมาแลว้ แตก่ อ่ น ไดม้ าแจ่มแจ้งกะเราแลว้ .

87

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

บ�ำเพ็ญทกุ รกิรยิ า 40

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๕๒/๔๙๕.1

(วาระท่ี ๑) ราชกุมาร !   ความคดิ ขอ้ น้ีไดเ้ กิดขน้ึ แก่
เราว่า  ถ้ากระไรเราพึงขบฟันด้วยฟัน อัดเพดานด้วยลิ้น
ข่มจิตด้วยจิต บีบให้แน่นจนร้อนจัดดูที.  ราชกุมาร !  
ครั้นเราคิดดังนั้นแล้ว จึงขบฟันด้วยฟัน อัดเพดานด้วยลิ้น
ขม่ จติ ดว้ ยจติ บบี ใหแ้ นน่ จนรอ้ นจดั แลว้ เหงอ่ื ไหลออกจาก
รักแร้ท้ังสอง, ราชกุมาร !  เปรียบเหมือนคนท่ีแข็งแรงจับ
คนก�ำ ลงั นอ้ ยทศี่ รี ษะหรอื ทคี่ อ บบี ใหแ้ นน่ จนรอ้ นจดั ฉะนน้ั . 
ราชกุมาร !  แต่ความเพียรท่ีเราปรารภแล้ว จะได้ย่อหย่อน
กห็ าไม่ สตจิ ะฟน่ั เฟอื นไปกห็ าไม,่ เปน็ แตก่ ายกระสบั กระสา่ ย
ไมส่ งบ เพราะก�ำ ลงั ความเพียรทที่ นไดย้ ากเสยี ดแทงเอา.

(วาระท่ี ๒) ราชกุมาร !   ความคิดข้อนไ้ี ด้เกิดขน้ึ แก่
เราวา่ ถา้ กระไรเราพงึ เพง่ ฌาน เอาการไมห่ ายใจเปน็ อารมณเ์ ถดิ .
ราชกมุ าร !  ครนั้ คดิ ดงั นน้ั แลว้ เราจงึ กลนั้ ลมหายใจออกเขา้
ทั้งทางจมูกและทางปาก.  ราชกุมาร !  คร้ันเรากล้ัน
ลมหายใจท้ังทางจมูกและทางปาก เสียงลมออกทางช่อง
หูทั้งสองดังเหลือประมาณ  เหมือนเสียงลมในสูบแห่ง

1. ยังมีตรัสในพระสูตรอื่นอีก คือ สคารวสูตร -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๗๘ /๗๔๔,
มหาสจั จกสตู ร -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๕๐/๔๑๗, ความตอนนี้ ปาสราสสิ ตู รไมม่ .ี -ผแู้ ปล

88

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

นายช่างทองท่ีสูบไปสูบมาฉะน้ัน.  ราชกุมาร !  แต่ความ
เพยี รทเี่ ราปรารภแลว้ จะไดย้ อ่ หยอ่ นกห็ าไม่ สตจิ ะฟนั่ เฟอื น
ไปก็หาไม่ เป็นแต่กายกระสับกระส่ายไม่สงบ เพราะกำ�ลัง
แห่งความเพียรท่ีทนได้ยากเสยี ดแทงเอา.

(วาระที่ ๓) ราชกมุ าร !   ความคดิ ขอ้ นี้ไดเ้ กดิ ข้นึ แก่
เราว่า ถ้ากระไรเราพึงเพ่งฌาน มีการไม่หายใจนั่นแหละ
(ใหย้ ง่ิ ขน้ึ ) เปน็ อารมณเ์ ถดิ .  ราชกมุ าร !  ครน้ั คดิ ดงั นน้ั แลว้
เราจึงกล้ันลมหายใจออกเข้า ท้ังทางจมูกทางปากและทาง
ช่องหูท้ังสองแล้ว.  ราชกุมาร !  ครั้นเรากล้ันลมหายใจ
ออกเข้า ทั้งทางจมูกทางปากและทางช่องหูท้ังสองแล้ว
ลมกล้าเหลือประมาณ แทงเซาะข้ึนไปทางบนกระหม่อม
เหมือนถูกบุรุษแข็งแรง เชือดเอาท่ีแสกกระหม่อมด้วย
มีดโกนอันคมฉะนั้น.  ราชกุมาร !  แต่ความเพียรท่ีเรา
ปรารภแล้วจะได้ย่อหย่อนก็หาไม่ สติจะได้ฟ่ันเฟือนไป
กห็ าไม่ เปน็ แตก่ ายกระสบั กระสา่ ยไมส่ งบ เพราะความเพยี ร
ทที่ นได้แสนยากเสียดแทงเอา.

(วาระที่ ๔) ราชกมุ าร !   ความคดิ ขอ้ นไี้ ดเ้ กิดข้นึ แก่
เราว่า ถ้ากระไรเราพึงเพ่งฌาน มีการไม่หายใจน่ันแหละ
(ให้ยิ่งข้ึนไปอีก) เป็นอารมณ์เถิด.  ราชกุมาร !  คร้ันคิด

89

พุทธวจน - หมวดธรรม

ดงั นน้ั แลว้ เราไดก้ ลนั้ ลมหายใจออกเขา้ ทง้ั ทางจมกู ทางปาก
และทางช่องหูทั้งสองแล้ว.  ราชกุมาร !  คร้ันเรากล้ันลม
หายใจออกเขา้ ทง้ั ทางจมกู ทางปากและทางชอ่ งหทู งั้ สองแลว้
รู้สึกปวดศีรษะทั่วไปท้ังศีรษะเหลือประมาณ เปรียบปาน
ถูกบุรุษแข็งแรง รัดศีรษะเข้าทั้งศีรษะด้วยเชือกมีเกลียว
อนั เขมง็ ฉะนน้ั .  ราชกมุ าร !  แตค่ วามเพยี รทเ่ี ราปรารภแลว้
จะไดย้ อ่ หยอ่ นกห็ าไม่ สตจิ ะฟนั่ เฟอื นไปกห็ าไม่ เปน็ แตก่ าย
กระสับกระส่ายไม่สงบ เพราะความเพียรที่ทนได้แสนยาก
เสยี ดแทงเอา.

(วาระที่ ๕) ราชกุมาร !   ความคิดข้อน้ีได้เกิดขึ้น
แก่เราว่า ถ้ากระไรเราพึงเพ่งฌานมีการไม่หายใจน่ันแหละ
(ให้ยิ่งข้ึนไปอีก) เป็นอารมณ์เถิด.  ราชกุมาร !  คร้ันคิด
ดังน้ันแล้ว เราได้กลั้นลมหายใจออกเข้า ท้ังทางจมูกและ
ทางปากและทางช่องหทู ้ังสอง.  ราชกุมาร !  ครัน้ เรากลัน้
ลมหายใจออกเข้า ทั้งทางจมูกและทางปากและทางช่องหู
ทั้งสองแล้ว ลมกล้าเหลือประมาณหวนกลับลงแทงเอา
พื้นท้อง ดุจถูกคนฆ่าโคหรือลูกมือตัวขยันของเขา เฉือน
เน้ือพ้ืนท้องด้วยมีดสำ�หรับเฉือนเน้ือโคอันคมฉะน้ัน. 
ราชกุมาร !  แต่ความเพียรของเราจะได้ย่อหย่อนก็หาไม่

90

เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : “ตถาคต”

สติจะได้ฟ่ันเฟือนไปก็หาไม่ เป็นแต่กายกระสับกระส่าย
ไม่สงบ เพราะกำ�ลังแห่งความเพียรที่ทนได้แสนยาก
เสยี ดแทงเอา.

(วาระที่ ๖) ราชกุมาร !   ความคิดอันน้ีได้เกิดขึ้น
แก่เราว่า ถ้ากระไรเราพึงเพ่งฌานมีการไม่หายใจนั่นแหละ
(ให้ย่ิงขึ้นไปอีก) เป็นอารมณ์เถิด.  ราชกุมาร !  คร้ันคิด
ดังนั้นแล้ว เราได้กล้ันลมหายใจออกเข้าไว้ท้ังทางจมูกและ
ทางปากและทางช่องหทู ้งั สอง.  ราชกมุ าร !  ครน้ั เรากลั้น
ลมหายใจออกเข้า ไว้ทั้งทางจมูกทางปากและทางช่องหู
ท้ังสอง ก็เกิดความร้อนกล้าขึ้นท่ัวกาย ดุจถูกคนแข็งแรง
สองคนชว่ ยกนั จบั คนก�ำ ลงั นอ้ ยทแ่ี ขนขา้ งละคนแลว้ ยา่ งรมไว้
เหนอื หลมุ ถา่ นเพลงิ อนั ระอฉุ ะนน้ั .  ราชกมุ าร !  แตค่ วาม
เพยี รทเ่ี ราปรารภแลว้ จะไดย้ อ่ หยอ่ นกห็ าไม่ สตจิ ะฟนั่ เฟอื น
ไปก็หาไม่ เป็นแต่กายกระวนกระวายไม่สงบ เพราะกำ�ลัง
แหง่ ความเพียรที่ทนไดแ้ สนยากเสียดแทงเอา.

โอ ราชกุมาร !   พวกเทวดาเห็นเราแล้วพากัน
กลา่ วว่า พระสมณโคดมทำ�กาละเสยี แล้ว, บางพวกกลา่ ววา่
พระสมณโคดมไมใ่ ช่ทำ�กาละแลว้ เปน็ แต่กำ�ลังท�ำ กาละอย่,ู
บางพวกกลา่ ววา่ ไมใ่ ชเ่ ชน่ นน้ั จะวา่ พระสมณโคดมท�ำ กาละแลว้

91

พุทธวจน - หมวดธรรม

หรอื ก�ำ ลงั ท�ำ กาละอยู่ กไ็ มช่ อบทงั้ สองสถาน พระสมณโคดม
เป็นพระอรหันต์ นั่นเป็นการอยู่ของท่าน, การอยู่เช่นนั้น
เปน็ การอย่ขู องพระอรหนั ต์ ดังนี้.

(วาระที่ ๗) ราชกุมาร !   ความคิดอันนี้ได้เกิดข้ึน
แก่เราว่า ถ้ากระไรเราพึงปฏิบัติการอดอาหารโดยประการ
ทง้ั ปวงเสยี .  ราชกมุ าร ! ครง้ั นน้ั พวกเทวดาเขา้ มาหาเราแลว้
กล่าวว่า “ท่านผู้นิรทุกข์ !  ท่านอย่าปฏิบัติการอดอาหาร
โดยประการท้ังปวงเลย ถ้าทา่ นจกั ปฏบิ ตั ิการอดอาหารโดย
ประการทั้งปวงไซร้ พวกขา้ พเจ้าจักแทรกโอชาอันเปน็ ทพิ ย์
ลงตามขมุ ขนของทา่ น ทา่ นจกั มชี วี ติ อยไู่ ดด้ ว้ ยโอชาทพิ ยน์ น้ั ”.
ราชกมุ าร !  ความคดิ นไ้ี ดเ้ กดิ ขน้ึ แกเ่ ราวา่ เราปฏญิ ญาการไม่
บรโิ ภคอาหารดว้ ยประการทง้ั ปวงดว้ ยตนเอง ถา้ เทวดาเหลา่ น้ี
แทรกโอชาอนั เปน็ ทพิ ยล์ งตามขมุ ขนแหง่ เราแลว้ ถา้ เราจะมี
ชีวิตอยู่ด้วยโอชาน้ัน ข้อนั้นจักเป็นมุสาแก่เราไป ดังน้ี. 
ราชกมุ าร !  เราบอกหา้ มกะเทวดาเหลา่ นน้ั วา่ อยา่ เลย.

ราชกมุ าร !  ความคดิ อนั นไ้ี ดเ้ กดิ มแี กเ่ ราวา่ ถา้ กระไร
เราบรโิ ภคอาหารผ่อนให้น้อยลง วันละฟายมือบา้ ง เทา่ เยอ่ื
ถั่วเขียวบ้าง เท่าเยื่อถั่วพูบ้าง เท่าเย่ือถ่ัวดำ�บ้าง เท่าเย่ือใน
เมล็ดบัวบ้าง ดังน้ี.  ราชกุมาร !   เราได้บริโภคอาหาร

92

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

ผ่อนน้อยลงวันละฟายมือบ้าง เท่าเยื่อถ่ัวเขียวบ้าง เท่าเย่ือ
ถัว่ พบู า้ ง เท่าเยอ่ื ถว่ั ด�ำ บ้าง เทา่ เยื่อในเมลด็ บัวบา้ งแลว้ .

ราชกุมาร !   เมื่อเป็นเช่นน้ันร่างกายของเราได้ถึง
การซูบผอมลงยิ่งนัก.  เพราะโทษที่เรามีอาหารน้อย :
อวัยวะใหญ่น้อยของเราเป็นเหมือนเถาวัลย์อาสีติกบรรพ
หรอื เถากาฬบรรพ, เนอ้ื ทต่ี ะโพกทนี่ ง่ั ทบั ของเรา มสี ณั ฐานดงั
เทา้ อฐู , ขอ้ กระดกู สนั หลงั ของเราผดุ ขน้ึ ระกะราวกะเถาวลั ย์
วัฏฏนาวลี, ซ่ีโครงของเราโหรงเหรงเหมือนกลอนศาลา
อันเก่าคร่ำ�คร่า,  ดาวคือดวงตาของเรา  ถล่มลึกอยู่ใน
กระบอกตา ดุจเงาแห่งดวงดาวที่ปรากฏอยู่ในบ่อน้ำ�อันลึก
ฉะนั้น, ผิวหนังศีรษะของเราเห่ียวย่น เหมือนน้ำ�เต้าอ่อน
ทตี่ ัดมาแตย่ งั สด ถกู แดดเผาเหี่ยวย่นเชน่ เดียวกัน.

ราชกุมาร !   เราคิดว่า จะจับพื้นท้องคร้ันจับเข้าก็
ถูกถึงกระดูกสันหลังตลอดไป, คิดว่าจะจับกระดูกสันหลัง
คร้ันจับเข้าก็ถูกถึงพ้ืนท้องด้วย,  หนังท้องกับกระดูก
สนั หลงั ของเราชดิ กนั สนทิ  ; เพราะความเปน็ ผมู้ อี าหารนอ้ ย. 
ราชกุมาร !  เราคิดจะถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ ก็เซล้มราบ
อยู่ ณ ทนี่ นั้ เอง.

93

พุทธวจน - หมวดธรรม

ราชกมุ าร !   เราหวงั จะใหก้ ายมคี วามสขุ บา้ ง จงึ ลบู
ไปตามตัวด้วยฝ่ามือ ขนมีรากอันเน่าหลุดตกลงจากกาย ;
เพราะความเป็นผูม้ อี าหารนอ้ ย.

โอ ราชกมุ าร !   มนษุ ยท์ งั้ หลายเหน็ เราแลว้ กลา่ ววา่
พระสมณโคดมดูดำ�ไป, บางพวกกล่าวว่า พระสมณโคดม
ไมด่ �ำ เปน็ แตค่ ล�้ำ ไป, บางพวกกลา่ ววา่ จะด�ำ กไ็ มเ่ ชงิ จะคล�้ำ
กไ็ มเ่ ชงิ พระสมณโคดมมผี วิ เผอื ดไปเทา่ นนั้ .  ราชกมุ าร !  
ผิวพรรณท่ีเคยบริสุทธิ์ผุดผ่องของตถาคต มากลายเป็นถูก
ท�ำ ลายลงแลว้ เพราะความที่ตนมีอาหารน้อยนน้ั .

94

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ทรงประพฤติอัตตกลิ มถานโุ ยค 41
(วตั รของเดยี รถยี ์)

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๕๕/๑๗๗.

สารีบุตร !   เราตถาคตรู้เฉพาะซ่ึง พรหมจรรย์
อันประกอบด้วยองค์ ๔ ที่ได้ประพฤติแล้ว ; ตปัสสีวัตร
เรากไ็ ดป้ ระพฤตอิ ยา่ งยงิ่ , ลขู วตั ร เรากไ็ ดป้ ระพฤตอิ ยา่ งยงิ่ ,
เชคจุ ฉวิ ตั ร เรากไ็ ดป้ ระพฤตอิ ยา่ งยงิ่ , ปววิ ติ ตวตั ร เรากไ็ ด้
ประพฤตอิ ยา่ งยิง่ . 

ในวตั ร ๔ อยา่ งนน้ั นเี้ ปน็ ตปสั สวี ตั ร (วตั รเพอื่ มตี บะ)
ของเรา คอื เราไดป้ ระพฤตเิ ปลอื ยกาย  มมี รรยาทอนั ปลอ่ ย
ทิ้งเสียแล้ว  เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ 
ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารท่ีเขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา 
ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์ว่าท่านผู้เจริญจงหยุดก่อน 
ไมย่ นิ ดใี นอาหารทเ่ี ขาน�ำ มาจ�ำ เพาะ  ไมย่ นิ ดใี นอาหารทเ่ี ขา
ท�ำ อทุ ศิ เจาะจง  ไมย่ นิ ดใี นอาหารทเ่ี ขารอ้ งนมิ นต ์ เราไมร่ บั
อาหารจากปากหม้อ  ไม่รับอาหารจากปากภาชนะ  ไม่รับ
อาหารครอ่ มธรณปี ระต ู ไมร่ บั อาหารครอ่ มทอ่ นไม ้ ไมร่ บั
อาหารคร่อมสาก  ไม่รับอาหารของชนสองคนผู้บริโภคอยู่

95

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ไมร่ บั อาหารของหญงิ มคี รรภ ์ ไมร่ บั อาหารของหญงิ ทกี่ �ำ ลงั
ให้บุตรด่ืมนมอยู่  ไม่รับอาหารของหญิงผู้ไปในระหว่าง
แหง่ บุรษุ   ไม่รับอาหารในอาหารทีม่ นุษยช์ กั ชวนร่วมกันทำ� 
ไมร่ บั อาหารในทที่ มี่ สี นุ ขั เขา้ ไปยนื เฝา้ อย ู่ ไมร่ บั อาหารในที่
ที่เห็นแมลงวันบินไปเป็นหมู่ๆ  ไม่รับปลา  ไม่รับเน้ือ 
ไมร่ บั สรุ า  ไมร่ บั เมรยั   ไมด่ มื่ น�้ำ อนั ดองดว้ ยแกลบ  เรารบั
เรือนเดียวฉันคำ�เดียวบ้าง  รับสองเรือนฉันสองคำ�บ้าง 
รับสามเรือนฉันสามคำ�บ้าง … รับเจ็ดเรือนฉันเจ็ดคำ�บ้าง, 
เราเลยี้ งรา่ งกายดว้ ยอาหารในภาชนะนอ้ ยๆ ภาชนะเดยี วบา้ ง 
เล้ียงร่างกายด้วยอาหารในภาชนะน้อยๆ สองภาชนะบ้าง
… เลย้ี งรา่ งกายดว้ ยอาหารในภาชนะนอ้ ยๆ เจด็ ภาชนะบา้ ง 
เราฉันอาหารท่ีเก็บไว้วันเดียวบ้าง  ฉันอาหารท่ีเก็บไว้สอง
วันบ้าง … ฉันอาหารที่เก็บไว้เจ็ดวันบ้าง,  เราประกอบ
ความเพยี รในภตั รและโภชนะมปี รยิ ายอยา่ งน้ี จนถงึ กง่ึ เดอื น
ด้วยอาการอย่างน้ี.  เราน้ัน มีผักเป็นภักษาบ้าง  มีสาร
แห่งหญ้ากับแก้เป็นภักษาบ้าง  มีลูกเดือยเป็นภักษาบ้าง 
มเี ปลอื กไมเ้ ปน็ ภกั ษาบา้ ง  มสี าหรา่ ยเปน็ ภกั ษาบา้ ง  มรี �ำ ขา้ ว
เป็นภักษาบ้าง  มีข้าวตังเป็นภักษาบ้าง  มีข้าวสารหักเป็น
ภกั ษาบา้ ง  มหี ญา้ เปน็ ภกั ษาบา้ ง  มโี คมยั (ขว้ี วั ) เปน็ ภกั ษาบา้ ง 

96

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

มีผลไม้และรากไม้ในป่าเป็นอาหารบ้าง  บริโภคผลไม้อัน
เป็นไป (หล่นเอง) ยังชีวิตให้เป็นไปบ้าง.  เรานั้นนุ่งห่ม
ด้วยผ้าป่านบ้าง  นุ่งห่มผ้าเจือกันบ้าง  นุ่งห่มผ้าท่ีเขาท้ิงไว้
กบั ซากศพบา้ ง  นงุ่ หม่ ผา้ คลกุ ฝนุ่ บา้ ง  นงุ่ หม่ เปลอื กไมบ้ า้ ง 
นุ่งห่มหนังอชินะบ้าง  นุ่งห่มหนังอชินะทั้งเล็บบ้าง  นุ่งห่ม
แผ่นหญ้าคากรองบ้าง  นุ่งห่มแผ่นปอกรองบ้าง  นุ่งห่ม
แผน่ กระดานกรองบา้ ง  นงุ่ หม่ ผา้ กมั พลผมคนบา้ ง  นงุ่ หม่
ผา้ กมั พลท�ำ ดว้ ยขนหางสตั วบ์ า้ ง  นงุ่ หม่ ปกี นกเคา้ บา้ ง (ศพั ทน์ ้ี
แปลกทไ่ี มม่ คี �ำ วา่ กมั พล) เราตดั ผมและหนวด  ประกอบตามซงึ่
ความเพียรในการตัดผมและหนวด,  เราเป็นผู้ยืนกระหย่ง
ห้ามเสียซ่ึงการนั่ง,  เป็นผู้เดินกระหย่ง  ประกอบตามซึ่ง
ความเพียรในการเดินกระหย่งบ้าง,  เราประกอบการยืน
การเดินบนหนาม  สำ�เร็จการนอนบนที่นอนทำ�ด้วยหนาม, 
เราประกอบตามซึ่งความเพียร ในการลงสู่นำ้�เวลาเย็นเป็น
คร้ังท่ีสามบ้าง,  เราประกอบตามซ่ึงความเพียรในการทำ�
(กิเลสใน) กายใหเ้ หือดแหง้ ดว้ ยวิธีต่างๆ เช่นนี้ ด้วยอาการ
อยา่ งน.้ี   สารบี ตุ ร !   นแี่ ล เปน็ วตั รเพอ่ื ความเปน็ ผมู้ ตี บะ
ของเรา.

97

พุทธวจน - หมวดธรรม

สารบี ตุ ร !   ในวตั รสอ่ี ยา่ งนน้ั นเ้ี ปน็ ลขู วตั ร (วตั รใน
การเศรา้ หมอง) ของเรา คือ ธุลเี กรอะกรงั แลว้ ทกี่ ายสิน้ ปีเป็น
อันมากเกดิ เปน็ สะเก็ดข้นึ .  สารีบตุ ร !  เปรยี บเหมอื นตอ
ตะโกนานปีมีสะเก็ดข้ึนแล้ว ฉันใดก็ฉันนั้น ธุลีเกรอะกรัง
แลว้ ทก่ี าย สน้ิ ปเี ปน็ อนั มากจนเกดิ เปน็ สะเกด็ ขนึ้ .  สารบี ตุ ร !  
ความคดิ นกึ วา่ โอหนอ เราพงึ ลบู ธลุ นี อี้ อกเสยี ดว้ ยฝา่ มอื เถดิ
ดังนี้ ไม่มีแก่เรา,  แม้ความคิดนึกว่าก็หรือชนเหล่าอ่ืน
พึงลูบธุลีนี้ออกเสียด้วยฝ่ามือเถิด ดังนี้ ก็มิได้มีแก่เรา. 
สารบี ตุ ร !  นีแ้ ล เปน็ วัตรในความเปน็ ผเู้ ศรา้ หมองของเรา.

สารีบุตร !   ในวัตรสี่อย่างนั้น น้ีเป็น เชคุจฉิวัตร
(วัตรในความเป็นผู้รังเกียจ) ของเรา คือ สารีบุตร !  เรานั้น
มสี ติก้าวขาไป มีสตกิ ้าวขากลับ โดยอาการเทา่ ที่ความเอน็ ดู
ออ่ นโยนของเราพงึ บงั เกดิ ขน้ึ แมใ้ นหยาดแหง่ น�ำ้ วา่ เราอยา่
ทำ�สัตว์น้อยๆ ทั้งหลาย ท่ีมีคติไม่เสมอกันให้ลำ�บากเลย. 
สารบี ตุ ร !  นแ้ี ลเปน็ วตั รในความเปน็ ผรู้ งั เกยี จของเรา.

สารีบุตร !   ในวัตรส่ีอย่างน้ัน น้ีเป็น ปวิวิตตวัตร
(วัตรในความเป็นผู้สงัดท่ัวแล้ว) ของเรา คือ สารีบุตร !  เรานั้น
เข้าสู่ราวป่าแห่งใดแห่งหน่ึงแล้วแลอยู่ เมื่อเห็นคนเลี้ยงโค
หรอื คนเลยี้ งปศสุ ตั ว์ หรอื คนเกย่ี วหญา้ หรอื คนหาไม้ หรอื คน

98

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

ท�ำ งานในปา่ มา เรากร็ บี ลดั เลาะจากปา่ นไ้ี ปปา่ โนน้ จากรกชฏั น้ี
สรู่ กชฏั โนน้ จากลมุ่ นสี้ ลู่ มุ่ โนน้ จากดอนนสี้ ดู่ อนโนน้ เพราะ
เหตุคิดว่า ขอคนพวกน้ันอย่าเห็นเราเลย และเราก็อย่าได้
เห็นชนพวกนั้น.  สารีบุตร !  เปรียบเหมือนเนื้ออันอยู่
ในป่า เห็นมนุษย์แล้วย่อมเลาะลัดจากป่านี้สู่ป่าโน้น จาก
รกชฏั นสี้ รู่ กชฏั โนน้ จากลมุ่ นส้ี ลู่ มุ่ โนน้ จากดอนนสี้ ดู่ อนโนน้ ,
ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั ทเี่ ราเมอ่ื เหน็ คนเลย้ี งโค หรอื คนเลย้ี งปศสุ ตั ว์
หรอื คนเกย่ี วหญา้ หรอื คนหาไม้ หรอื คนท�ำ งานในปา่ มา กร็ บี
เลาะลดั จากป่านส้ี ปู่ า่ โน้น จากรกชัฏนี้สู่รกชฏั โน้น จากลุม่ นี้
สู่ลุ่มโน้น จากดอนนี้สู่ดอนโน้น ด้วยหวังว่า คนพวกนี้
อยา่ เหน็ เราเลย และเรากอ็ ยา่ ไดเ้ หน็ คนพวกนน้ั .  สารบี ตุ ร !  
นแ้ี ล เปน็ วตั รในความเปน็ ผสู้ งดั ทว่ั ของเรา.

สารีบุตร !   เรานั้น โคเหล่าใดออกจากคอกหาคน
เลีย้ งมไิ ด,้ เราก็คลานเข้าไปในทีน่ น้ั ถอื เอาโคมัยของลกู โค
น้อยๆ ที่ยังดื่มนมแม่เป็นอาหาร.  สารีบุตร !  มูตรและ
กรีส (ปัสสาวะและอุจจาระ) ของตนเอง ยังไม่หมดเพียงใด
เราก็ถือมูตรและกรีสนั้นเป็นอาหารตลอดกาลเพียงนั้น. 
สารบี ุตร !  น้ีแล เป็นวัตรใน มหาวิกฏโภชนวัตร ของเรา.

99

พุทธวจน - หมวดธรรม

สารบี ุตร !   เราแลเขา้ ไปสู่ชัฏแห่งปา่ น่าสะพรึงกลัว
แห่งใดแห่งหน่ึงแล้วแลอยู่.  เพราะชัฏแห่งป่าน้ันกระทำ�
ซ่ึงความกลัวเป็นเหตุ ผู้ท่ีมีสันดานยังไม่ปราศจากราคะ
เขา้ ไปสชู่ ฏั ปา่ นน้ั แลว้ โลมชาตยิ อ่ มชชู นั โดยมาก.  สารบี ตุ ร ! 
เรานั้นในราตรีท้ังหลาย อันมีในฤดูหนาวระหว่างแปดวัน
เปน็ สมยั ทต่ี กแหง่ หมิ ะอนั เยน็ เยอื ก กลางคนื เราอยทู่ ก่ี ลางแจง้
กลางวันเราอยู่ในชัฏแห่งป่า.  ครั้นถึงเดือนสุดท้ายแห่ง
ฤดูร้อน กลางวันเราอยู่ในท่ีแจ้ง กลางคืนเราอยู่ในป่า. 
สารีบุตร !  คาถาน่าเศร้าน้ี อันเราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน
มาแจ้งแก่เราว่า :-

“เรานน้ั แหง้ (รอ้ น) แลว้ ผเู้ ดยี ว, เปยี กแลว้ ผเู้ ดยี ว,
อยใู่ นปา่ นา่ พงึ กลวั แตผ่ เู้ ดยี ว, เปน็ ผมู้ กี ายอนั เปลอื ยเปลา่
ไมผ่ งิ ไฟ, เปน็ มนุ ขี วนขวายแสวงหาความบรสิ ทุ ธ.ิ์ ” ดงั น.ี้

สารีบุตร !   เราน้ันนอนในป่าช้า ทับกระดูกแห่ง
ซากศพทั้งหลาย ฝูงเด็กเลี้ยงโคเข้ามาใกล้เรา โห่ร้องใส่
หูเราบ้าง ถ่ายมูตรรดบ้าง ซัดฝุ่นใส่บ้าง เอาไม้แหลมๆ
ทมิ่ ชอ่ งหบู า้ ง.  สารบี ตุ ร !  เราไมร่ สู้ กึ ซง่ึ จติ อนั เปน็ บาปตอ่
เด็กเลย้ี งโคท้งั หลายเหล่านน้ั แมด้ ว้ ยการทำ�ความคิดนกึ ให้
เกดิ ขน้ึ .  สารบี ตุ ร !  นเี้ ปน็ วตั รในการอยอู่ เุ บกขา ของเรา.

100

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

สารบี ตุ ร !   สมณพราหมณบ์ างพวกมกั กลา่ วมกั เหน็
อยา่ งนวี้ า่ “ความบรสิ ทุ ธม์ิ ไี ดเ้ พราะอาหาร”, สมณพราหมณ์
พวกน้ันกล่าวกันว่า พวกเราจงเลี้ยงชีวิตให้เป็นไปด้วยผล
กะเบา1 ทงั้ หลายเถดิ .  สมณพราหมณเ์ หลา่ นนั้ จงึ เคยี้ วกนิ
ผลกะเบาบ้าง เคี้ยวกินกะเบาตำ�ผงบ้าง ดื่มนำ้�ค้ันจากผล
กะเบาบ้าง ย่อมบริโภคผลกะเบาอันทำ�ให้แปลกๆ มีอย่าง
ตา่ งๆ บา้ ง.  สารบี ตุ ร ! เรากไ็ ดใ้ ชก้ ะเบาผลหนง่ึ เปน็ อาหาร. 
สารีบุตร !  คำ�เล่าลืออาจมีแก่เธอว่า ผลกะเบาในคร้ังน้ัน
ใหญ่มาก ข้อนี้เธออย่าเห็นอย่างนั้น ผลกะเบาในครั้งนั้น
กโ็ ตเทา่ นเ้ี ปน็ อยา่ งยง่ิ เหมอื นในครง้ั นเ้ี หมอื นกนั .  สารบี ตุ ร ! 
เม่ือเราฉันกะเบาผลเดียวเป็นอาหาร ร่างกายได้ถึงความ
ซบู ผอมอยา่ งยงิ่ .  เถาวลั ยอ์ าสตี กิ บรรพ หรอื เถากาฬบรรพ
มสี ณั ฐานเชน่ ไร อวยั วะนอ้ ยใหญข่ องเรา กเ็ ปน็ เหมอื นเชน่ นน้ั
เพราะความเปน็ ผมู้ อี าหารนอ้ ย.  รอยเทา้ อฐู มสี ณั ฐานเชน่ ไร
รอยตะโพกนง่ั ทบั ของเรากม็ สี ณั ฐานเชน่ นนั้ เพราะความเปน็
ผู้มีอาหารน้อย.  เถาวัฏฏนาวฬีมีสัณฐานเช่นใด กระดูก
สันหลังของเราก็เป็นข้อๆ มีสัณฐานเช่นนั้น เพราะความ
เปน็ ผมู้ อี าหารนอ้ ย.  กลอน (หรอื จนั ทนั ) แหง่ ศาลาทค่ี ร�ำ่ ครา่

1. ศพั ท์ โกล น้ี แปลวา่ พทุ รากไ็ ด,้ โกเลหตี ิ พทเรห,ิ ปปญ.ฺ ๒/๖๕. -ผแู้ ปล
101

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เกะกะมสี ณั ฐานเชน่ ไร ซโ่ี ครงของเรากเ็ กะกะมสี ณั ฐานเชน่ นน้ั
เพราะความเป็นผู้มีอาหารน้อย.  ดวงดาวท่ีปรากฏในนำ้�
ในบอ่ น�ำ้ อนั ลกึ ปรากฏอยลู่ กึ ฉนั ใด ดวงดาวคอื ลกู ตาของเรา
ปรากฏอยลู่ กึ ในเบา้ ตาฉนั นน้ั เพราะความเปน็ ผมู้ อี าหารนอ้ ย. 
น�ำ้ เตา้ ทีเ่ ขาตัดแต่ยังอ่อน ครัน้ ถกู ลมและแดดย่อมเห่ียวยู่ย่ี
มสี ณั ฐานเชน่ ไร หนงั ศรี ษะแหง่ เรากเ็ หยี่ วยมู่ สี ณั ฐานเชน่ นนั้
เพราะความเปน็ ผมู้ อี าหารน้อย.

สารีบุตร !   เราตั้งใจว่าลูบท้อง  ก็ลูบถูกกระดูก
สันหลังด้วย, ตั้งใจว่าลูบกระดูกสันหลัง ก็ลูบถูกท้องด้วย. 
สารีบุตร !  หนังท้องกับกระดูกสันหลังของเราชิดกันสนิท
เพราะความเปน็ ผมู้ อี าหารนอ้ ย.  สารบี ตุ ร !  เราเมอ่ื คดิ วา่
จกั ถา่ ยอจุ จาระปสั สาวะกล็ ม้ พบั อยตู่ รงนนั้ เพราะความเปน็
ผมู้ อี าหารน้อย.

สารีบุตร !   เราเม่ือจะบรรเทาซ่ึงกายนั้นให้มีความ
สุขบ้าง จึงลูบตัวด้วยฝ่ามือ, เม่ือเราลูบตัวด้วยฝ่ามือ ขนที่
มีรากเน่าแล้วได้หลุดออกจากกายร่วงไป เพราะความเป็น
ผู้มอี าหารน้อย.

102

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

(ตอ่ จากนี้ มเี รอ่ื งการบรสิ ทุ ธเ์ิ พราะอาหารอยา่ งเดยี วกนั กบั การ
บริโภคผลกะเบา ต่างกันแต่แทนผลกะเบากลายเป็น ถั่วเขียว, งา,
ขา้ วสาร เทา่ นน้ั . พระองคไ์ ดท้ ดลองเปลย่ี นทกุ ๆ อยา่ ง.  เรอ่ื งตง้ั แตต่ น้ มา
แสดงว่า พระองค์ได้เคยทรงประพฤติวัตรของเดียรถีย์ ท่ีเรียกว่า
อัตตกิลมถานุโยค แล้วทุกๆ อย่าง สรุปเรียกได้ว่าส่วนสุดฝ่ายข้างตึง
ที่พระองค์สอนให้เว้นในยุคหลัง.  วัตรเหล่าน้ี สันนิษฐานว่าทำ�ทีหลัง
การไปสำ�นัก ๒ ดาบส.  ถ้าทีหลังก็ต้องก่อนเบญจวัคคีย์ไปอยู่ด้วย
ยตุ เิ ป็นอย่างไรแลว้ แตจ่ ะวนิ จิ ฉัย เพราะระยะท�ำ ความเพยี รนานถงึ ๖ ปี
ไดเ้ หตผุ ลเป็นอย่างไรโปรดเผยแผก่ นั ฟังด้วย. -ผู้แปล)

103

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงแน่พระทยั ว่าไมอ่ าจตรสั ร้เู พราะ 42
การท�ำทกุ รกริ ิยา

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๖๒/๑๘๖.

สารีบุตร !   ด้วยอิริยา1 (เครื่องออกไปจากข้าศึก) แม้
ชนดิ นน้ั ดว้ ยปฏปิ ทาชนดิ นนั้ ดว้ ยทกุ รกริ ยิ าชนดิ นน้ั , เราไม่
ไดบ้ รรลแุ ลว้ ซงึ่ อลมรยิ ญาณทสั สนวเิ สส ทย่ี ง่ิ ไปกวา่ ธรรมดา
แห่งมนุษยเ์ ลย. ข้อนนั้ เพราะเหตไุ รเลา่ ขอ้ น้นั เพราะเหตุว่า
ไมม่ กี ารถงึ ทบั ซง่ึ อรยิ ปญั ญา อนั เปน็ อรยิ ปญั ญาทถ่ี งึ ทบั แลว้
จกั เปน็ นยิ ยานกิ ธรรมอนั ประเสรฐิ น�ำ ผปู้ ฏบิ ตั ติ ามนน้ั ใหถ้ งึ
ความสนิ้ ทกุ ข์โดยชอบ นนั่ เทยี ว.

1. อิริยา ค�ำนี้ถือเอาตามพระบาลีในปาสราสิสูตร ม. ม. และโพธิกุมารสูตร ม. ม.
ซง่ึ เปน็ อริ ยิ าย ตรงกนั  ; สว่ นบาลี มหาสหี นาทสตู ร นเ้ี ปน็ อริ ยิ า. -ผู้แปล

104

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงกลับพระทัยฉันอาหารหยาบ 43
-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๕๘/๕๐๔.

ราชกุมาร !   ความคิดอันน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า ใน
อดีตกาลอันยาวยืดก็ดี … ในอนาคตกาลอันยาวยืดก็ดี …
แม้ในปัจจุบันนี้ก็ดี, สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดที่ได้เสวย
ทุกขเวทนากลา้ แขง็ เผ็ดรอ้ น อันเกิดจากการทำ�ความเพียร
อยา่ งสงู สดุ กเ็ ทา่ ทเี่ ราไดเ้ สวยอยนู่ ี้ ไมย่ ง่ิ ไปกวา่ นไี้ ด,้ กแ็ ตว่ า่
เราหาอาจบรรลธุ รรมอนั ยง่ิ กวา่ ธรรมของมนษุ ย์ หรอื อลมรยิ -
ญาณทสั สนะวเิ ศษ ดว้ ยทกุ รกริ ยิ าอนั กลา้ แขง็ แสบเผด็ นไี้ ม.่
ชะรอยหนทางแหง่ การตรัสร้จู ักพงึ มโี ดยประการอน่ื .

ราชกุมาร !   ความระลึกอันน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า
เออกเ็ รายงั จ�ำ ไดอ้ ยเู่ มอ่ื งานแรกนาแหง่ บดิ า เรานง่ั ณ รม่ ไมห้ วา้
มเี งาเยน็ สนทิ มใี จสงดั แลว้ จากกาม และอกศุ ลธรรมทงั้ หลาย
บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก
แล้วแลอยู่ ชะรอยน่ันจกั เปน็ ทางแห่งการตรัสร้บู ้าง ดังน.้ี

ราชกุมาร !   วิญญาณอันแล่นไปตามความระลึก
ได้มีแลว้ แก่เราวา่ น่ีแล แนแ่ ล้วหนทางแห่งการตรสั รู้ ดงั น้.ี

ราชกุมาร !   ความสงสัยอันน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า
เราควรจะกลวั ตอ่ ความสขุ ชนดิ ทเ่ี วน้ จากกามและอกศุ ลธรรม

105

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

หรอื ไมห่ นอ ?  ราชกมุ าร ! ความแนใ่ จอนั นไ้ี ดเ้ กดิ ขน้ึ แกเ่ ราวา่
เราไมค่ วรกลวั ตอ่ สขุ อนั เวน้ จากกามและอกศุ ลธรรมทง้ั หลาย.

ราชกมุ าร !   ความคดิ ไดม้ แี กเ่ ราสบื ไปวา่ กค็ วามสขุ
ชนดิ นน้ั คนทม่ี รี า่ งกายหวิ โหยเกนิ กวา่ เหตเุ ชน่ นี้ จะบรรลไุ ด้
โดยงา่ ยไมไ่ ดเ้ ลย ถา้ ไฉนเราพงึ กลนื กนิ อาหารหยาบ คอื ขา้ วสกุ
และขนมสดเถิด.

ราชกมุ าร !   เราไดก้ ลืนกนิ อาหารหยาบ คอื ขา้ วสุก
และขนมสดแลว้ .

106

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

ปญั จวคั คียห์ ลกี ไป 44

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๕๙/๕๐๕.

ราชกมุ าร !   เรานน้ั ไดก้ ลนื กนิ อาหารหยาบ คอื ขา้ วสกุ
และขนมสดแลว้ .

ราชกุมาร !   ก็ครั้งนั้นมีภิกษุผู้เป็นพวกกัน ๕ รูป
(ปญั จวคั คยี )์ เปน็ ผคู้ อยบ�ำ รงุ เราดว้ ยหวงั อยวู่ า่ พระสมณโคดม
ได้บรรลุธรรมใด จักบอกธรรมนน้ั แก่เราทั้งหลาย.

ราชกุมาร !   คร้นั ตถาคตกลืนกินอาหารหยาบ คือ
ขา้ วสกุ และขนมสดแลว้ ภกิ ษผุ เู้ ปน็ พวกกนั ๕ รปู นน้ั พากนั
หน่ายในเรา หลีกไปเสีย ด้วยคิดว่าพระสมณโคดมเป็นคน
มกั มาก คลายความเพยี รเวยี นมาเปน็ คนมกั มากเสยี แลว้ ดงั น.้ี

107

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : “ตถาคต”

ความฝันครงั้ ส�ำคัญ กอ่ นตรสั รู้ 45
-บาลี ปญจฺ ก. อ.ํ ๒๒/๒๖๗/๑๙๖.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ความฝนั ครง้ั ส�ำ คญั (มหาสบุ นิ )๕ อยา่ ง
ได้ปรากฏแก่ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า คร้ังเม่ือ
กอ่ นแตก่ ารตรสั รู้ ยงั ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ย.ู่ ๕ อยา่ ง
คอื อะไรบ้างเลา่  ? คอื :-

มหาปฐพีน้ีเปน็ ที่นอนอนั ใหญ่ของตถาคต จอมเขา
หิมวันต์เป็นหมอน มือข้างซ้ายพาดลงท่ีสมุทรด้านตะวัน
ออก มือข้างขวาพาดลงท่ีสมุทรด้านตะวันตก เท้าทั้งสอง
หย่อนลงทส่ี มทุ รดา้ นทกั ษณิ .  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  นเ้ี ปน็ มหา
สบุ นิ ขอ้ ท่ี ๑ ไดม้ ีแล้วแกต่ ถาคตผู้อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้
ครง้ั เมอื่ กอ่ นแตก่ ารตรสั รู้ ยงั ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ย.ู่

ข้ออื่นอีก : หญ้าคา1 งอกขึ้นจากสะดือ ข้ึนไปสูง
จดฟา้ .  ภิกษุท้ังหลาย !  น้เี ปน็ มหาสุบนิ ขอ้ ที่ ๒ ไดม้ ีแล้ว
แก่ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า คร้ังเมื่อก่อนแต่การ
ตรัสรู้ ยังไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เปน็ โพธสิ ัตว์อยู่.

ขอ้ อนื่ อกี : หนอนทง้ั หลาย มสี ขี าวหวั ด�ำ คลานขนึ้
มาตามเท้าจนถึงเข่า.  ภิกษุทั้งหลาย !  นี้เป็นมหาสุบิน

1. ศพั ทน์ ้ี บาลเี ปน็ ตริ ยิ า นาม ตณิ ชาติ แปลวา่ หญา้ แพรกกเ็ คยแปลกนั . -ผู้แปล
108

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

ขอ้ ท่ี ๓ ไดม้ แี ลว้ แกต่ ถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เมอื่
ครงั้ ก่อนแต่การตรสั รู้ ยงั ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เป็นโพธสิ ตั ว์อยู.่

ขอ้ อน่ื อกี : นกทง้ั หลาย สจ่ี �ำ พวก มสี ตี า่ งๆ กนั มาแลว้
จากทิศท้ังส่ี หมอบลงท่ีใกล้เท้าแล้ว กลายเป็นสีขาวหมด. 
ภิกษุทั้งหลาย !  นเ้ี ปน็ มหาสุบนิ ขอ้ ท่ี ๔ ได้มีแลว้ แกต่ ถาคต
ผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ ยังไม่ได้
ตรัสรู้ ยังเป็นโพธสิ ตั วอ์ ยู่.

ข้ออ่ืนอีก : ตถาคตไดเ้ ดินไปบนอุจจาระกองใหญ่
เหมือนภูเขา อุจจาระมิได้เปื้อนเลย.  ภิกษุท้ังหลาย ! 
นเ้ี ปน็ มหาสบุ นิ ขอ้ ที่ ๕ ไดม้ แี ลว้ แกต่ ถาคตผอู้ รหนั ตสมั มา-
สัมพุทธเจ้า ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ ยังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็น
โพธิสัตว์อย่.ู

ภิกษุท้ังหลาย !   ข้อว่ามหาปฐพีน้ีเป็นท่ีนอนใหญ่
ของตถาคต จอมเขาหมิ วนั ตเ์ ปน็ หมอน มอื ขา้ งซา้ ยพาดลงท่ี
สมทุ รดา้ นตะวนั ออก มอื ขา้ งขวาพาดลงทส่ี มทุ รดา้ นตะวนั ตก
เท้าทั้งสองหย่อนลงในสมุทรด้านทักษิณนั้น เป็นมหาสุบิน
ข้อที่ ๑ เพ่ือให้รู้ข้อที่ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ไดต้ รัสรอู้ นตุ ตรสมั มาสัมโพธญิ าณ.

ขอ้ วา่ หญา้ คางอกจากสะดอื ขน้ึ ไปสงู จดฟา้ เปน็ มหา-
สบุ นิ ขอ้ ท่ี ๒ เพอ่ื ใหร้ ขู้ อ้ ทต่ี ถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้

109

พุทธวจน - หมวดธรรม

ได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค แล้วประกาศ
เพียงไร แกม่ นุษย์และเทวดา.

ข้อว่าหนอนท้ังหลายมีสีขาวหัวดำ�คลานข้ึนมาตาม
เทา้ จนถงึ เขา่ นน้ั เปน็ มหาสบุ นิ ขอ้ ท่ี ๓ เพอื่ ใหร้ ขู้ อ้ ทค่ี ฤหสั ถ์
ผ้นู ่งุ ขาวเปน็ อันมาก ถึงตถาคตเปน็ ท่พี ึง่ ตลอดชีวิต.

ข้อว่านกสี่จำ�พวกมีสีต่างๆ กัน มาจากทิศท้ังส่ี
หมอบลงท่ีเท้าแล้วกลายเป็นสีขาวหมดนั้น เป็นมหาสุบิน
ข้อท่ี ๔ เพื่อให้รู้ข้อท่ี วรรณะสี่จำ�พวกเหล่านี้ คือ กษัตริย์
พราหมณ์ เวสส์ สูทท์ ได้ออกจากเรือนมาบวชในธรรมวินัย
ทต่ี ถาคตประกาศแลว้ อยา่ งไมเ่ กย่ี วขอ้ งดว้ ยเรอื น ยอ่ มท�ำ ให้
แจง้ ซงึ่ วิมตุ ตอิ ันไม่มอี น่ื ยง่ิ ไปกว่าได.้

ขอ้ วา่ ตถาคตเดนิ ไปบนกองอจุ จาระใหญเ่ หมอื นภเู ขา
อจุ จาระไมเ่ ปอ้ื นเลยนน้ั เปน็ มหาสบุ นิ ขอ้ ท่ี ๕ เพอ่ื ใหร้ ขู้ อ้ ท่ี
ตถาคตเปน็ ผมู้ ลี าภในบรกิ ขาร คอื จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ
และคลิ านปจั จยเภสชั ทง้ั หลาย แตต่ ถาคตไมต่ ดิ จม ไมห่ มกใจ
ในลาภนน้ั , เมอ่ื บรโิ ภค กบ็ รโิ ภคดว้ ยความเหน็ โทษ มปี ญั ญา
เปน็ เครอ่ื งออกไปพน้ จากทกุ ขไ์ ด.้

110

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงท�ำลายความขลาด กอ่ นตรัสรู้ 46
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๒๙/๓๐.

คร้ังกอ่ นแตก่ ารตรัสรู้ เม่อื เรายังไมไ่ ด้ตรสั รู้ ยงั เป็น
โพธิสัตว์อยู่ มีความรู้สึกว่า เสนาสนะอันสงัด คือป่าและ
ป่าเปล่ียว เป็นเสนาสนะยากท่ีจะเสพได้ ความสงัดยากท่ี
จะทำ�ได้ ยากท่ีจะยินดีในการอยู่ผู้เดียว ป่าท้ังหลายเป็น
ประหน่ึงวา่ นำ�ไปเสียแลว้ ซง่ึ ใจแห่งภิกษผุ ู้ยังไม่ได้สมาธ.ิ

พราหมณ ์ !   สมณะหรอื พราหมณเ์ หล่าใด มีกรรม
ทางกายไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ เสพเสนาสนะสงดั คอื ปา่ และปา่ เปลย่ี วอย,ู่
เพราะโทษคอื กรรมทางกาย อนั ไมบ่ รสิ ทุ ธข์ิ องตนแล สมณ-
พราหมณผ์ เู้ จรญิ เหลา่ นน้ั ยอ่ มเรยี กรอ้ งมาซง่ึ ความขลาดและ
ความกลัวอย่างอกุศล.  ส่วนเราเอง หาได้เป็นผู้มีกรรม
ทางกายอันไม่บริสุทธ์ิ แล้วเสพเสนาสนะสงัด คือป่าและ
ปา่ เปลย่ี วไม่ : เราเปน็ ผมู้ กี รรมทางกายอนั บรสิ ทุ ธ.์ิ   ในบรรดา
พระอริยเจ้าท้งั หลายผ้มู ีกรรมทางกายอันบริสุทธ์ิ และเสพ
เสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ และปา่ เปลย่ี ว เราเปน็ อรยิ เจา้ องคห์ นง่ึ
ในพระอรยิ เจา้ เหลา่ นน้ั .  พราหมณ ์! เรามองเหน็ ความเปน็
ผมู้ กี รรมทางกายอนั บรสิ ทุ ธใ์ิ นตนอยู่ จงึ ถงึ ความมขี นอนั ตก
สนทิ แลว้ (ไมข่ นพอง) อยใู่ นปา่ ได.้

111

พุทธวจน - หมวดธรรม

พราหมณ ์!  สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด มวี จกี รรม
ไมบ่ รสิ ทุ ธ,์ิ … มมี โนกรรมไมบ่ รสิ ทุ ธ,์ิ … มอี าชวี ะไมบ่ รสิ ทุ ธ,์ิ
… มอี ภชิ ฌามาก มคี วามก�ำ หนดั แกก่ ลา้ ในกามทง้ั หลาย, …
มจี ติ พยาบาท มดี �ำ รชิ ว่ั ในใจ, … มถี นี มทิ ธะกลมุ้ รมุ จติ , …
มจี ติ ฟงุ้ ขน้ึ ไมส่ งบ, … มคี วามระแวงมคี วามสงสยั , … เปน็ ผู้
ยกตนขม่ ทา่ น, … เปน็ ผมู้ กั หวาดเสยี ว มชี าตแิ หง่ คนขลาด,
… มคี วามปรารถนาเตม็ ทใ่ี นลาภสกั การะและสรรเสรญิ , …
เป็นคนเกียจคร้าน มีความเพียรเลวทราม, … เป็นผ้ลู ะสติ
ปราศจากสัมปชัญญะ, … มีจิตไม่ต้งั ม่นั มีจิตหมุนไปผิด,
… มปี ญั ญาเสอ่ื มทราม เปน็ คนพดู บา้ น�ำ้ ลาย, (อยา่ งหนง่ึ ๆ) …
เสพเสนาสนะสงัด คือป่าและป่าเปล่ียวอยู่ เพราะโทษ
(อย่างหน่งึ ๆ) น้นั ของตนแล สมณพราหมณ์ผ้เู จริญเหล่าน้นั
ย่อมเรียกร้องมาซ่งึ ความขลาด และความกลัวอย่างอกุศล.
สว่ นเราเองหาไดเ้ ปน็ ผู้ (ประกอบดว้ ยโทษนน้ั ๆ อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ )
มีวจีกรรมไม่บริสุทธ์ิ (เป็นต้น) ไม่  :  เราเป็นผู้มีวจีกรรม
อันบริสุทธ์ิ (และปราศจากโทษเหล่าน้ันทุกอย่าง)  ในบรรดา
พระอรยิ เจา้ ทง้ั หลายผมู้ วี จกี รรมอนั บรสิ ทุ ธ์ิ (เปน็ ตน้ ) และเสพ
เสนาสนะสงดั คอื ปา่ และปา่ เปลย่ี ว เราเปน็ อรยิ เจา้ องคห์ นง่ึ
ในพระอรยิ เจา้ เหลา่ นน้ั .  พราหมณ ์! เรามองเหน็ ความเปน็

112

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ผมู้ วี จกี รรมอนั บรสิ ทุ ธ์ิ (เปน็ ตน้ ) ในตนอยจู่ งึ ถงึ ความเปน็ ผมู้ ขี น
ตกสนทิ แลว้ แลอยใู่ นปา่ ได.้

พราหมณ์ !   ความตกลงใจอันน้ีได้มีแก่เราว่า
ถา้ กระไรในราตรอี นั ก�ำ หนดไดแ้ ลว้ วา่ เปน็ วนั ๑๔, ๑๕ และ
๘ คำ�่ แห่งปักข์ สวนอันถือกันว่าศักด์สิ ิทธ์ิ ป่าอันถือกันว่า
ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ตน้ ไมอ้ นั ถอื กนั วา่ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ เหลา่ ใดเปน็ ทน่ี า่ พงึ กลวั
เป็นท่ีชูชันแห่งโลมชาติ เราพึงอยู่ในเสนาสนะเช่นน้ันเถิด
บางที เราอาจเหน็ ตวั ความขลาดและความกลวั ได.้   พราหมณ ์! 
เราไดอ้ ยใู่ นเสนาสนะเชน่ นน้ั ในวนั อนั ก�ำ หนดนน้ั แลว้ .

พราหมณ ์ !   เมอ่ื เราอยใู่ นเสนาสนะเชน่ นน้ั สตั วป์ า่
แอบเขา้ มา หรอื วา่ นกยงู ท�ำ กง่ิ ไมแ้ หง้ ใหต้ กลงมา หรอื วา่ ลม
พัดหยากเย่อื ใบไม้ให้ตกลงมา : ความตกใจกลัวได้เกิดแก่
เราว่า น่ันความกลัวและความขลาดมาหาเราเป็นแน่. 
ความคดิ คน้ ไดม้ แี กเ่ ราวา่ ท�ำ ไมหนอ เราจงึ เปน็ ผพู้ ะวงแตใ่ น
ความหวาดกลัว ถ้าอย่างไร เราจะหักห้ามความขลาดกลัว
นน้ั ๆ เสยี โดยอริ ยิ าบถทค่ี วามขลาดกลวั นน้ั ๆ มาสเู่ รา.

พราหมณ์ !   เม่ือเราจงกรมอยู่ ความกลัวเกิดมีมา
เรากข็ นื จงกรมแกค้ วามขลาดนน้ั , ตลอดเวลานน้ั เราไมย่ นื
ไมน่ ง่ั ไมน่ อน.  เมอ่ื เรายนื อยู่ ความกลวั เกดิ มมี า เรากข็ นื ยนื

113

พุทธวจน - หมวดธรรม

แกค้ วามขลาดนน้ั , ตลอดเวลานน้ั เราไมจ่ งกรม ไมน่ ง่ั ไมน่ อน. 
เม่ือเราน่ังอยู่ ความกลัวเกิดมีมา เราก็ขืนน่ังแก้ความ
ขลาดน้ัน, ตลอดเวลาน้ัน เราไม่จงกรม ไม่ยืน ไม่นอน. 
พราหมณ์ !  เม่ือเรานอนอยู่ ความขลาดเกิดมีมา เราก็
ขนื นอนแกค้ วามขลาดนน้ั , ตลอดเวลานน้ั เราไมจ่ งกรม ไมย่ นื
ไม่นงั่ เลย.

114

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ทรงกั้นจิตจากกามคณุ ในอดีต 47
ก่อนตรสั รู้

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๒๑/๑๗๓.

ภิกษุทั้งหลาย !   คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรา
ยังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ มีความรู้สึกเกิดข้ึนว่า
กามคณุ หา้ ทเ่ี ปน็ อดตี ทเี่ ราเคยสมั ผสั มาแลว้ แตก่ อ่ น ไดด้ บั
ไปแล้วเพราะความแปรปรวนก็จริง แต่โดยมากจิตของเรา
เมื่อจะแล่น ก็แล่นไปสู่กามคุณเป็นอดีตน้ัน, น้อยนักท่ีจะ
แล่นไปสู่กามคุณในปัจจบุ นั หรืออนาคตดงั น.ี้

ภิกษุท้ังหลาย !   ความตกลงใจได้เกิดข้ึนแก่เรา
สบื ไปวา่ ความไมป่ ระมาทและสติ เปน็ สง่ิ ซง่ึ เราผหู้ วงั ประโยชน์
แก่ตนเองพึงกระทำ�ให้เป็นเคร่ืองป้องกันจิต ในเพราะ
กามคุณห้าอันเป็นอดีต ท่ีเราเคยสัมผัสมาและดับไปแล้ว
เพราะความแปรปรวนนน้ั .

ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะเหตุน้ัน ในเร่ืองน้ี, แม้จิต
ของพวกเธอทง้ั หลาย เมอื่ จะแลน่ กค็ งแลน่ ไปในกามคณุ หา้
อันเป็นอดีต ท่ีพวกเธอเคยสัมผัสมาและดับไปแล้ว เพราะ
ความแปรปรวน (เหมอื นกัน) โดยมาก, นอ้ ยนักทจ่ี ะแลน่ ไป
สกู่ ามคณุ ในปจั จบุ นั หรอื อนาคต.  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เพราะ

115

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เหตุน้ัน ในเรื่องน้ี ความไม่ประมาทและสติ จึงเป็นส่ิงท่ี
พวกเธอ ผหู้ วงั ประโยชน์แกต่ ัวเอง พงึ กระท�ำ ให้เปน็ เครอื่ ง
ป้องกันจติ ในเพราะเหตกุ ามคุณหา้ อนั เป็นอดตี ที่พวกเธอ
เคยสมั ผสั มา และดบั ไปแลว้ เพราะความแปรปรวนนั้น.

116

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงคอยควบคมุ วติ ก กอ่ นตรสั รู้ 48
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๒๓๒/๒๕๒.

ภิกษุท้ังหลาย !   คร้งั ก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรายัง
ไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อย่,ู ได้เกิดความร้สู ึกอันน้ขี ้นึ ว่า
เราพงึ ท�ำ วติ กทง้ั หลายใหเ้ ปน็ สองสว่ นเถดิ .  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  
เราไดท้ �ำ กามวติ ก พย๎ าปาทวติ ก วหิ งิ สาวติ ก สามอยา่ งน้ี
ให้เป็นส่วนหน่ึง,  ได้ทำ� เนกขัมมวิตก อัพ๎ยาปาทวิตก
อวหิ งิ สาวติ ก สามอยา่ งนใ้ี หเ้ ปน็ อกี สว่ นหนง่ึ แลว้ .

ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อเราเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียร
มีตนส่งไปอยู่อย่างน้ี กามวิตกเกิดข้ึน เราก็รู้ชัดอย่างน้ีว่า
กามวิตกเกิดแก่เราแล้ว, กามวิตกน้ัน ย่อมเป็นไปเพ่ือ
เบยี ดเบยี นตนบา้ ง เบยี ดเบยี นผอู้ น่ื บา้ ง เบยี ดเบยี นทง้ั สองฝา่ ย
(คือท้ังตนและผู้อื่น) บ้าง,  เป็นไปเพ่ือความดับแห่งปัญญา
เปน็ ฝกั ฝา่ ยแหง่ ความคบั แคน้ ไมเ่ ปน็ ไปพรอ้ มเพอื่ นพิ พาน.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอ่ื เราพจิ ารณาเหน็ อยู่ … อยา่ งน้ี
กามวติ กยอ่ มถงึ ซง่ึ อนั ตง้ั อยไู่ มไ่ ด.้   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เราไดล้ ะ
และบรรเทากามวติ กอนั บงั เกดิ ขน้ึ แลว้ และบงั เกดิ แลว้ กระท�ำ
ให้สนิ้ สดุ ได้แลว้ .

117

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย !   เม่ือเราเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียร
มตี นสง่ ไปอยอู่ ยา่ งน้ี พย๎ าปาทวติ กเกดิ ขน้ึ เรากร็ ชู้ ดั อยา่ งนว้ี า่
พย๎ าปาทวติ กเกดิ แกเ่ ราแลว้ , กพ็ ย๎ าปาทวติ กนน้ั ยอ่ มเปน็ ไป
เพอื่ เบียดเบียนตนบ้าง เบยี ดเบียนผอู้ ื่นบ้าง เบยี ดเบยี นทงั้
สองฝ่ายบ้าง, เป็นไปเพ่ือความดับแห่งปัญญา เป็นฝักฝ่าย
แห่งความคบั แคน้ ไม่เปน็ ไปพร้อมเพื่อนิพพาน.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอ่ื เราพจิ ารณาเหน็ อยู่ … อยา่ งน้ี
พ๎ยาปาทวิตกย่อมถึงซ่ึงอันตั้งอยู่ไม่ได้.  ภิกษุท้ังหลาย !  
เราได้ละและบรรเทาพ๎ยาปาทวิตก  อันบังเกิดขึ้นแล้วและ
บงั เกิดแลว้ กระท�ำ ใหส้ ิน้ สดุ ได้แล้ว.

ภิกษุทั้งหลาย !   เม่ือเราเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียร
มีตนส่งไปอยอู่ ยา่ งน้ี วิหิงสาวติ กเกิดขึน้ เราก็รชู้ ัดอย่างน้ีว่า
วิหิงสาวิตกเกิดขึ้นแก่เราแล้ว, ก็วิหิงสาวิตกน้ันย่อมเป็นไป
เพื่อเบียดเบยี นตนบ้าง เบยี ดเบยี นผอู้ น่ื บ้าง เบียดเบยี นท้งั
สองฝ่ายบ้าง, เป็นไปเพื่อความดับแห่งปัญญา เป็นฝักฝ่าย
แหง่ ความคบั แคน้ ไมเ่ ปน็ ไปพร้อมเพ่ือนพิ พาน.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอ่ื เราพจิ ารณาเหน็ อยู่ … อยา่ งน้ี
วิหิงสาวิตกย่อมถึงซึ่งอันต้ังอยู่ไม่ได้.  ภิกษุท้ังหลาย !  
เราได้ละและบรรเทาวิหิงสาวิตก อันบังเกิดขึ้นแล้วและ
บังเกดิ แลว้ กระท�ำ ใหส้ ้นิ สุดไดแ้ ลว้ .

118

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ภกิ ษตุ รกึ ตามตรองตามถงึ อารมณ์
ใดๆ มาก จิตย่อมน้อมไปโดยอาการอย่างนั้นๆ : ถ้าภิกษุ
ตรกึ ตามตรองตามถงึ กามวติ กมาก กเ็ ปน็ อนั วา่ ละเนกขมั ม-
วิตกเสีย กระทำ�แล้วอย่างมากซ่ึงกามวิตก ; จิตของเธอน้ัน
ยอ่ มนอ้ มไปเพอ่ื ความตรกึ ในกาม.  ถา้ ภกิ ษตุ รกึ ตามตรอง
ตามถึงพ๎ยาปาทวิตกมาก ก็เป็นอันว่าละอัพ๎ยาปาทวิตกเสีย
กระทำ�แล้วอย่างมากซ่ึงพ๎ยาปาทวิตก, จิตของเธอน้ันย่อม
น้อมไปเพ่อื ความตรึกในการพยาบาท.  ถ้าภิกษุตรึกตาม
ตรองตามถงึ วหิ งิ สาวติ กมาก กเ็ ปน็ อนั วา่ ละอวหิ งิ สาวติ กเสยี
กระท�ำ แลว้ อยา่ งมากซง่ึ วหิ งิ สาวติ ก, จติ ของเธอนน้ั ยอ่ มนอ้ มไป
เพอ่ื ความตรกึ ในการท�ำ สตั วใ์ หล้ �ำ บาก.

ภิกษุท้ังหลาย !   เปรียบเหมือนในคราวฤดูสารท
คือเดือนสุดท้ายแห่งฤดูฝน คนเลี้ยงโคต้องเลี้ยงฝูงโคในที่
แคบ เพราะเตม็ ไปดว้ ยขา้ วกลา้ เขาตอ้ งตตี อ้ นหา้ มกนั ฝงู โค
จากข้าวกล้าน้นั ด้วยท่อนไม้ เพราะเขาเห็นโทษ คือการถูก
ประหาร การถกู จบั กมุ การถกู ปรบั ไหม การตเิ ตยี น เพราะมี
ขา้ วกลา้ นน้ั เปน็ เหตุ ขอ้ นฉ้ี นั ใด,  ภิกษุท้ังหลาย !   ถึงเรา
ก็ฉันนั้น ได้เห็นแล้วซึ่งโทษความเลวทรามเศร้าหมองแห่ง
อกุศลธรรมทั้งหลาย,  เห็นอานิสงส์ในการออกจากกาม
ความเปน็ ฝกั ฝา่ ยของความผอ่ งแผว้ แหง่ กศุ ลธรรมทงั้ หลาย.

119

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย !   เม่ือเราเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียร
มตี นสง่ ไปอยอู่ ยา่ งน้ี เนกขมั มวติ กยอ่ มเกดิ ขน้ึ …1 อพั ย๎ าปาท-
วติ กยอ่ มเกดิ ขน้ึ … อวหิ งิ สาวติ กยอ่ มเกดิ ขน้ึ .  เรายอ่ มรแู้ จง้
ชัดว่า อวิหิงสาวิตกเกิดข้ึนแก่เราแล้ว, ก็อวิหิงสาวิตกน้ัน
ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื เบยี ดเบยี นตน เบยี ดเบยี นผอู้ น่ื หรอื เบยี ดเบยี น
ท้ังสองฝ่าย, แต่เป็นไปพร้อมเพ่ือความเจริญแห่งปัญญา
ไมเ่ ปน็ ฝกั ฝา่ ยแหง่ ความคบั แคน้ เปน็ ไปพรอ้ มเพอ่ื นพิ พาน.
แม้เราจะตรึกตามตรองตามถึงอวิหิงสาวิตกน้ันตลอดคืน
กม็ องไมเ่ หน็ ภยั ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ เพราะอวหิ งิ สาวติ กนน้ั เปน็ เหต.ุ
แมเ้ ราจะตรกึ ตามตรองตามถงึ อวหิ งิ สาวติ กนน้ั ตลอดวนั , หรอื
ตลอดท้ังกลางคืนกลางวัน  ก็มองไม่เห็นภัยอันจะเกิดข้ึน
เพราะอวหิ งิ สาวติ กนน้ั เปน็ เหต.ุ

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เพราะเราคดิ เหน็ วา่ เมอ่ื เราตรกึ ตาม
ตรองตามนานเกนิ ไปนกั กายจะเมอื่ ยลา้ , เมอื่ กายเมอ่ื ยลา้
จิตก็อ่อนเพลีย, เมื่อจิตอ่อนเพลีย จิตก็ห่างจากสมาธิ,
เราจงึ ไดด้ �ำ รงจติ ใหห้ ยดุ อยใู่ นภายใน กระท�ำ ใหม้ อี ารมณอ์ นั
เดยี วตง้ั มนั่ ไว้ ดว้ ยหวงั อยวู่ า่ จติ ของเราอยา่ ฟงุ้ ขน้ึ เลย ดงั น.้ี

1. ท่ีละด้วยจุดน้ี หมายความว่าตรัสทีละวิตก แต่ค�ำตรัสเหมือนกันหมด ผิดแต่ช่ือ
เทา่ นน้ั , ทกุ ๆ วติ กมเี นอ้ื ความอยา่ งเดยี วกนั . -ผู้แปล

120

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ภกิ ษตุ รกึ ตามตรองตามถงึ อารมณ์
ใดๆ มาก จิตย่อมน้อมไปโดยอาการอย่างน้นั ๆ.  ถ้าภิกษุ
ตรึกตามตรองตามถึงเนกขัมมวิตกมาก  ก็เป็นอันว่าละ
กามวติ กเสยี กระท�ำ แลว้ อยา่ งมากซง่ึ เนกขมั มวติ ก ; จติ ของ
เธอน้ันย่อมน้อมไป เพ่ือความตรึกในการออกจากกาม. 
ถา้ ภกิ ษตุ รกึ ตามตรองตามถงึ อพั ย๎ าปาทวติ กมาก กเ็ ปน็ อนั วา่
ละพย๎ าปาทวติ กเสยี กระท�ำ แลว้ อยา่ งมากในอพั ย๎ าปาทวติ ก
จติ ของเธอนน้ั ยอ่ มนอ้ มไปเพอ่ื ความตรกึ ในการไมพ่ ยาบาท. 
ถ้าภิกษุตรึกตามตรองตามถึงอวิหิงสาวิตกมาก ก็เป็นอันว่า
ละวิหิงสาวิตกเสีย กระทำ�แล้วอย่างมากใน อวิหิงสาวิตก. 
จิตของเธอน้ันย่อมน้อมไปเพ่ือความตรึกในการไม่ยังสัตว์
ใหล้ �ำ บาก.

ภิกษุทั้งหลาย !   เปรียบเหมือนในเดือนสุดท้าย
แห่งฤดูร้อน ข้าวกล้าท้ังหมดเขาขนนำ�ไปในบ้านเสร็จแล้ว
คนเลี้ยงโคพึงเลี้ยงโคได้.  เม่ือเขาไปพักใต้ร่มไม้ หรือ
ไปกลางทุ่งแจ้งๆ พึงทำ�แต่ความกำ�หนดว่า น่ันฝูงโคดังน้ี
(กพ็ อแลว้ ) ฉนั ใด, ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  ถงึ ภกิ ษกุ เ็ พยี งแตท่ �ำ ความ
ระลกึ วา่ นนั่ ธรรมทงั้ หลายดงั น้ี (กพ็ อแลว้ ) ฉนั นน้ั เหมอื นกนั .

121

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุท้ังหลาย !   ความเพียรเราได้ปรารภแล้วไม่
ย่อหย่อน สติเราได้ดำ�รงไว้แล้วไม่ฟั่นเฟือน กายสงบระงับ
ไมก่ ระสบั กระสา่ ย จติ ตง้ั มน่ั มอี ารมณอ์ นั เดยี วแลว้ .  ภกิ ษุ
ท้ังหลาย !  เรานั้น เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม
ทงั้ หลาย ไดเ้ ขา้ ถงึ ปฐมฌาน มวี ติ กวจิ าร มปี ตี แิ ละสขุ เกดิ แต่
วิเวกแล้วแลอยู่.  (ข้อความต่อไปนี้เหมือนในตอนท่ีกล่าวด้วยการ

ตรสั รู้ ในหวั ขอ้ วา่ “อาการแหง่ การตรสั ร”ู้ ทห่ี นา้ ๑๗๔ ;  จนกระทงั่ จบ
วิชชาท่ี ๓)

122

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงคน้ วธิ แี หง่ อิทธิบาท กอ่ นตรัสรู้ 49
-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๓๖๒/๑๒๐๕.

ภิกษุทั้งหลาย !   คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรา
ยังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ มีความสงสัยเกิดข้ึนว่า
อะไรหนอเป็นหนทาง เปน็ ขอ้ ปฏิบัติ1 เพ่ือความเจรญิ แห่ง
อทิ ธบิ าท ?

ภิกษุท้ังหลาย !   ความรู้ข้อนี้เกิดข้ึนแก่เราว่า
ภิกษุนั้นๆ ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย
ธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยฉันทะเป็นปธานกิจว่า
ด้วยอาการอย่างนี้ ฉันทะของเราย่อมมีในลักษณะที่จักไม่
ย่อหย่อน, ท่ีจักไม่เข้มงวดเกิน, ที่จักไม่สยบอยู่ในภายใน,
ที่จักไม่ส่ายไปในภายนอก ; และเธอเป็นผู้มีความรู้สึกท้ัง
ในกาลก่อนและกาลเบื้องหน้าอยู่ด้วย : ก่อนนี้เป็นเช่นใด
ตอ่ ไปกเ็ ชน่ นน้ั , ตอ่ ไปเปน็ เชน่ ใด กอ่ นนก้ี เ็ ชน่ นนั้ , เบอ้ื งลา่ ง
เช่นใด เบื้องบนก็เช่นน้ัน, เบื้องบนเช่นใด เบ้ืองล่างก็
เชน่ นน้ั , กลางคนื เหมอื นกลางวนั , กลางวนั เหมอื นกลางคนื :

1. มขี อ้ ความอกี สตู รหนงึ่ (-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๓๓๙/๑๑๓๖) ซง่ึ มขี อ้ ความเหมอื นกบั
สตู รนตี้ ลอดเรอ่ื ง, ผดิ กนั แตใ่ ชค้ �ำวา่ “เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ” แทนค�ำวา่ “เปน็ หนทาง
เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ”ิ ดงั ทปี่ รากฏอยใู่ นสตู รน.ี้ -ผแู้ ปล
123

พุทธวจน - หมวดธรรม

เธอย่อมอบรมจิตอนั มีแสงสวา่ งดว้ ยทัง้ จติ อันเปดิ แล้ว ไม่มี
อะไรพวั พัน ให้เจรญิ อยดู่ ว้ ยอาการอย่างนี…้

(ขอ้ ตอ่ ไปอีก ๓ ขอ้ ก็เหมือนกัน แต่เปลีย่ นจากคำ�ว่าอทิ ธบิ าท
เปน็ วริ ยิ ะ จติ ตะ วมิ งั สา, เทา่ นน้ั .  พระองคท์ รงพบการเจรญิ อทิ ธบิ าท
ดว้ ยวธิ ีคดิ ค้นอย่างน้ี).

124

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : “ตถาคต”

ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมาก 50
ก่อนตรสั รู้

-บาลี ปญจฺ ก. อ.ํ ๒๒/๙๔/๖๘.

ภิกษุท้ังหลาย !   คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรายัง
ไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่, เราได้อบรมท�ำ ให้มากแล้ว
ซงึ่ ธรรมหา้ อยา่ ง.  ธรรมหา้ อยา่ งอะไรบา้ ง ? ธรรมหา้ อยา่ ง
คือ เราได้อบรม อิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม
เครอ่ื งปรงุ แตง่ มสี มาธอิ าศยั ฉนั ทะ … วริ ยิ ะ … จติ ตะ …
วิมังสาเป็นปธานกิจ  และความเพียรมีประมาณโดยย่ิง
เปน็ ที่ห้า.

ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะความท่ีเราได้อบรมทำ�ให้
มากในธรรม มคี วามเพยี ร มปี ระมาณโดยยงิ่ เปน็ ทหี่ า้ , เราได้
น้อมจิตไปเฉพาะต่อธรรมใดๆ ซ่ึงควรทำ�ให้แจ้งโดย
ปัญญาอันย่ิง  เพ่ือทำ�ให้แจ้งด้วยปัญญาอันย่ิงแล้ว,
ในธรรมนั้นๆ เราได้ถึงแล้วซึ่งความสามารถทำ�ได้จนเป็น
สกั ขพี ยาน ในขณะทอี่ ายตนะยังมอี ย.ู่

ภิกษุท้ังหลาย !   ถ้าเราหวังว่า  เราพึงมีอิทธิวิธี
มปี ระการตา่ งๆ : ผเู้ ดยี วแปลงรปู เปน็ หลายคน, หลายคนเปน็
คนเดียว, ทำ�ท่กี ำ�บังให้เป็นท่แี จ้ง, ทำ�ท่แี จ้งให้เป็นท่กี ำ�บัง,

125

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ไปไดไ้ มข่ ดั ขอ้ ง ผา่ นทะลฝุ า ทะลกุ �ำ แพง ทะลภุ เู ขา ดจุ ไปใน
อากาศว่างๆ, ผุดข้นึ และดำ�ลงในแผ่นดินได้ เหมือนในนำ�้ ,
เดนิ ไดเ้ หนอื น�ำ้ เหมอื นเดนิ บนแผน่ ดนิ , ไปไดใ้ นอากาศเหมอื น
นกมีปีก ท้งั ท่ยี ังน่งั ขัดสมาธิค้บู ัลลังก์.  ลูบคลำ�ดวงจันทร์
และดวงอาทติ ย์ อนั มฤี ทธอ์ิ านภุ าพมากอยา่ งนไ้ี ด้ ดว้ ยฝา่ มอื ,
และแสดงอ�ำ นาจทางกาย เปน็ ไปตลอดถงึ พรหมโลกได้ ดงั น้ี
กต็ าม, ในอทิ ธวิ ธิ นี น้ั ๆ เรากถ็ งึ แลว้ ซง่ึ ความสามารถท�ำ ไดจ้ น
เปน็ สกั ขพี ยาน ในขณะทอ่ี ายตนะยงั มอี ย.ู่

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   หรอื ถา้ เราหวงั วา่ เราพงึ ท�ำ ใหแ้ จง้
ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ เพราะหมด
อาสวะ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองในทฏิ ฐธรรมน้ี เขา้ ถงึ แลว้ แลอยู่
ดังน้ีก็ตาม.  ในวิชชานั้นๆ เราก็ถึงแล้วซ่ึงความสามารถ
ท�ำ ได้จนเป็นสักขพี ยาน ในขณะท่ีอายตนะยงั มอี ยู.่

126

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงพยายามในเนกขมั มจิต 51
และอนปุ พุ พวหิ ารสมาบตั ิ กอ่ นตรสั รู้

-บาลี นวก. อ.ํ ๒๓/๔๕๗/๒๔๕.

อานนท์ !   คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรายังไม่ได้
ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่, ความรู้ได้เกิดข้ึนแก่เราว่า
เนกขมั มะ (ความหลกี ออกจากกาม) เปน็ ทางแหง่ ความส�ำ เรจ็ ,
ปวเิ วก (ความอยสู่ งดั จากกาม) เปน็ ทางแหง่ ความส�ำ เรจ็ ดงั น,้ี
แต่แม้กระน้ัน จิตของเราก็ยังไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ตั้ง
อยไู่ ด้ ไมห่ ลดุ ออกไปในเนกขมั มะ ทง้ั ทเ่ี ราเหน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.

อานนท ์!  ความคดิ ไดเ้ กดิ ขน้ึ แกเ่ ราสบื ไปวา่ อะไรหนอ
เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั .  อานนท ์!  
ความร้สู ึกได้เกิดข้นึ แก่เราว่า เพราะว่าโทษในกามท้งั หลาย
เปน็ สง่ิ ทเ่ี รายงั มองไมเ่ หน็ ยงั ไมไ่ ดน้ �ำ มาท�ำ การคดิ นกึ ใหม้ าก
และทง้ั อานสิ งสแ์ หง่ การออกจากกาม เรากย็ งั ไมเ่ คยไดร้ บั เลย
ยงั ไมเ่ คยรรู้ สเลย ; จติ ของเราจงึ เปน็ เชน่ นน้ั .

อานนท ์!  ความคดิ ไดเ้ กดิ ขน้ึ แกเ่ ราสบื ไปวา่ ถา้ กระไร
เราได้เห็นโทษในกามทั้งหลาย แล้วนำ�มาทำ�การคิดนึกใน
ข้อนั้นให้มาก ได้รับอานิสงส์ในการหลีกออกจากกาม
แล้วพึงเสพในอานิสงส์นั้นอย่างทั่วถึงไซร้, ข้อน้ันแหละ
จะเปน็ ฐานะทจี่ ะท�ำ ใหจ้ ติ ของเราพงึ แลน่ ไป พงึ เลอื่ มใส ตงั้ อยไู่ ด้

127

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

หลุดออกไป  ในเนกขัมมะ  โดยท่ีเห็นอยู่ว่าน่ันสงบ. 
อานนท์ !  โดยกาลต่อมา เราได้ทำ�เช่นนั้นแล้วอย่างทั่วถึง
จิตของเราจึงแล่นไป จึงเลื่อมใส ตั้งอยู่ได้ หลุดออกไป
ในเนกขมั มะ โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.  อานนท ์ !  เมอ่ื เปน็
เชน่ นน้ั , เราแล เพราะสงดั จากกามและอกศุ ลธรรมทง้ั หลาย
จึงบรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่
วิเวกแลว้ แลอยู่. 

อานนท์ !   แม้เมื่อเราอยู่ด้วยวิหารธรรมน้ี การทำ�
ในใจตามอำ�นาจแห่งสัญญาท่ีเป็นไปในทางกาม ก็ยังเกิด
แทรกแซงอยู่.  ข้อนั้นยังเป็นอาพาธ (ในทางจิต) แก่เรา,
เหมือนผู้มีสุข แล้วยังมีทุกข์เกิดข้ึนขัดขวาง เพราะอาพาธ
ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั .

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า เพ่ือ
กำ�จัดอาพาธข้อน้ันเสีย ถ้ากระไรเรา เพราะสงบวิตกวิจาร
เสียได้ พึงบรรลุฌานท่ี ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งจิตใน
ภายใน น�ำ ใหเ้ กดิ สมาธมิ อี ารมณอ์ นั เดยี ว ไมม่ วี ติ กวจิ ารมแี ต่
ปตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตส่ มาธแิ ลว้ แลอยเู่ ถดิ ดงั น.้ี   อานนท ์ !  
แม้กระน้ันจิตของเราก็ยังไม่แล่นไปไม่เล่ือมใส ไม่ต้ังอยู่ได้
ไม่หลุดออกไป ในอวิตกธรรม (คือฌานท่ี ๒) น้ัน ทั้งท่ีเรา
เห็นอยูว่ ่านนั่ สงบ.

128


Click to View FlipBook Version