The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงบงั เกดิ ขึน้ เพือ่ อนเุ คราะห์โลก 112
-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๖๓/๑๙๒.

สารีบุตร !   มีสมณพราหมณ์พวกหน่ึงกล่าวอย่างนี้
เห็นอย่างนี้ว่า ช่ัวเวลาท่ีบุรุษนี้ยังเป็นหนุ่ม มีผมดำ�สนิท
ประกอบด้วยความหนุ่มแน่น ตั้งอยู่ในปฐมวัย, ก็ยังคง
ประกอบดว้ ยปญั ญาอนั เฉยี บแหลมวอ่ งไวอยเู่ พยี งนน้ั , เมอ่ื ใด
บุรุษนี้แก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลนาน ผ่านวัยไปแล้ว
มีอายุ ๘๐ ปี, ๙๐ ปี หรือ ๑๐๐ ปี จากการเกิด, เมื่อน้ัน
เขายอ่ มเปน็ ผเู้ สอ่ื มส้นิ จากปัญญาอันเฉยี บแหลมวอ่ งไว.

สารีบุตร !   ข้อนี้เธออย่าพึงเห็นอย่างนั้น, เราน้ีแล
ในบัดน้ีเป็นคนแก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยมาแล้ว
วยั ของเรานับได้ ๘๐ ปี, …

สารีบุตร !   ธรรมเทศนาท่ีแสดงไปน้ัน ก็มิได้
แปรปรวน บทพยญั ชนะแหง่ ธรรมของตถาคต กม็ ไิ ดแ้ ปรปรวน
ปฏภิ าณในการตอบปญั หาของตถาคต กม็ ไิ ดแ้ ปรปรวน…

สารบี ตุ ร !   แมว้ า่ เธอทง้ั หลาย จกั น�ำ เราไปดว้ ยเตยี ง
นอ้ ย (ส�ำ หรบั หามคนทพุ พลภาพ), ความแปรปรวนเปน็ อยา่ งอน่ื
แหง่ ปญั ญาอนั เฉยี บแหลมวอ่ งไวของตถาคตกม็ ไิ ดม้ .ี

279

พุทธวจน - หมวดธรรม

สารีบุตร !   ถ้าผู้ใดจะพึงกล่าวให้ถูกให้ชอบว่า
“สัตว์มีความไม่หลงเป็นธรรมดา บังเกิดข้นึ ในโลก เพ่อื
ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ แกม่ หาชน เพอ่ื อนเุ คราะห์
โลก, เพ่ือประโยชน์ เพ่ือความเก้ือกูล เพ่ือความสุขแก่
เทวดาและมนุษย์ท้งั หลาย” ดังน้แี ล้ว  ผ้นู ้นั พึงกล่าวซ่งึ
เราผเู้ ดยี วเทา่ นน้ั .

280

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงท�ำหนา้ ท่พี ระพุทธเจ้าบริบรู ณ์แล้ว 113
-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๓๗/๑๐๕.

จนุ ทะ !  ในบดั นเ้ี ราแล เปน็ ศาสดา บงั เกดิ ขน้ึ ในโลก
เปน็ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ, อนง่ึ ธรรมเราไดก้ ลา่ วไวด้ แี ลว้
ได้ประกาศไว้ดีแล้ว เป็นเคร่ืองนำ�สัตว์ออกจากห้วงทุกข์
เปน็ ไปพรอ้ มเพอ่ื ความสงบร�ำ งบั ชอ่ื วา่ ประกาศไวแ้ ลว้ โดย
พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ , อนง่ึ สาวกทง้ั หลาย เรากไ็ ดส้ อนใหร้ แู้ ลว้
ในสัทธรรม, พรหมจรรย์อันบริบูรณ์ส้ินเชิง สำ�หรับสัตว์
เหลา่ นน้ั เราไดก้ ระท�ำ ใหแ้ จม่ แจง้ ท�ำ ใหเ้ ปน็ ของหงาย (เขา้ ใจ
ได้ทันที) ทำ�ให้เป็นบทสงเคราะห์ ทำ�ให้เป็นส่งิ ประกอบด้วย
ความนา่ อศั จรรย์ พอเพยี งเพอ่ื ใหป้ ระกาศไดด้ ดี ว้ ย โดยเทวดา
และมนษุ ยท์ ง้ั หลาย (สบื ไป) แลว้ .  จนุ ทะ !  ในบดั น้ี เราเปน็
ศาสดาทแ่ี กเ่ ฒา่ รรู้ าตรนี าน บวชนาน มวี ยั ยดื ยาวผา่ นไปแลว้
โดยล�ำ ดบั .

จุนทะ !   ในบัดน้ี ภิกษุผู้เถระ ผู้เป็นสาวกของเรา
กม็ อี ยู่ ลว้ นเปน็ ผฉู้ ลาด เปน็ ผจู้ งู ได้ เปน็ ผแู้ กลว้ กลา้ ลธุ รรม
เปน็ เครอ่ื งเกษมจากโยคะแลว้  ; สามารถจะบอกสอนสทั ธรรม
สามารถขม่ ขถ่ี อ้ ยค�ำ อนั เปน็ ขา้ ศกึ ทบ่ี งั เกดิ แลว้ ใหส้ งบราบคาบ
โดยธรรม แลว้ แสดงธรรมพรอ้ มทง้ั ความนา่ อศั จรรยไ์ ด.้

281

พุทธวจน - หมวดธรรม

จนุ ทะ !  ในบดั น้ี ภกิ ษผุ ปู้ นู กลาง, ผใู้ หม,่ ผเู้ ปน็ สาวก
ของเรากม็ อี ย.ู่   จนุ ทะ ! ในบดั น้ี ภกิ ษณุ ผี เู้ ถระ, ผปู้ นู กลาง,
ผใู้ หม,่ ผเู้ ปน็ สาวกิ าของเรากม็ อี ย.ู่   จนุ ทะ ! ในบดั น้ี อบุ าสก
ผเู้ ปน็ คฤหสั ถน์ งุ่ หม่ ขาว ประพฤตพิ รหมจรรย์ ผเู้ ปน็ สาวกของ
เรากม็ อี ย,ู่ ผเู้ ปน็ คฤหสั ถน์ งุ่ หม่ ขาว ยงั บรโิ ภคกาม ผเู้ ปน็ สาวก
ของเราก็มีอย่.ู   จุนทะ !  ในบัดน้ี อุบาสิกา ผ้เู ป็นคฤหัสถ์
น่งุ ห่มขาว ประพฤติพรหมจรรย์ และพวกท่ยี ังบริโภคกาม
ผเู้ ปน็ สาวกิ าของเรากม็ อี ย.ู่

จุนทะ !   ในบัดน้ี พรหมจรรย์ (คือศาสนา) ของเรา
ม่งั คัง่ เจริญ แพร่หลาย เป็นทร่ี จู้ กั ของมหาชน เป็นปึกแผน่
พอเพ่อื เทวดาและมนษุ ย์ท้งั หลายประกาศได้ด้วยดี (สืบไป)
ไดแ้ ล้ว.

282

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : “ตถาคต”

พรหมจรรยข์ องพระองค์ 114
บรบิ ูรณ์ด้วยอาการทง้ั ปวง
-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๓๘/๑๐๗.

จุนทะ !   ศาสดาทั้งหลาย เท่าท่ีเกิดขึ้นแล้วในโลก
ในบัดน้ี, เราไม่เห็นว่ามีศาสดาอื่นใดสักผู้เดียว ที่เป็นผู้ถึง
แลว้ ซึ่งลาภและยศ เหมือนอยา่ งเราน้ี.

จุนทะ !   สงฆ์หรือหมู่คณะเท่าที่เกิดข้ึนแล้วในโลก
ในบัดนี้, เราไม่เห็นว่ามีสงฆ์หรือคณะอ่ืนใดสักหมู่เดียว
ท่เี ปน็ หมู่ทถี่ งึ แลว้ ซึง่ ลาภและยศ เหมอื นอย่างภิกษสุ งฆน์ .ี้

จนุ ทะ !  บคุ คลเมอ่ื จะกลา่ วโดยชอบ ซง่ึ พรหมจรรยใ์ ด
ว่าสมบูรณ์ด้วยอาการท้งั ปวง ว่าบริบูรณ์ด้วยอาการท้งั ปวง
ไมห่ ยอ่ น ไมย่ ง่ิ มกี ารกลา่ วดแี ลว้ บรบิ รู ณส์ น้ิ เชงิ ประกาศไว้
ดแี ลว้ , แลว้ ไซร ้; เขาเมอ่ื จะกลา่ วโดยชอบ พงึ กลา่ วพรหมจรรย์
นแ้ี หละ วา่ สมบรู ณด์ ว้ ยอาการทง้ั ปวง วา่ บรบิ รู ณด์ ว้ ยอาการ
ท้ังปวง ไม่หย่อน ไม่ย่ิง มีการกล่าวดีแล้ว บริบูรณ์ส้ินเชิง
ประกาศไวด้ แี ลว้ , ดงั น.้ี

283

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงหวงั ให้ช่วยกันท�ำความมนั่ คง 115
แกพ่ รหมจรรย์

-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๓๙/๑๐๘.

จุนทะ !   เพราะเหตุนั้น เธอพึงปฏิบัติในกรณีนี้ว่า
ธรรมเหลา่ ใด อนั เราแสดงแลว้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ , ในธรรม
เหลา่ นน้ั อนั เธอทง้ั หลายทกุ คน พงึ ประชมุ กนั มว่ั สมุ กนั แลว้
พงึ สงั คายนาซง่ึ อรรถโดยอรรถ ซง่ึ พยญั ชนะโดยพยญั ชนะ
พงึ ประพฤตกิ ระท�ำ ใหว้ เิ ศษ โดยประการทพ่ี รหมจรรยน์ ้ี จกั
ด�ำ รงอยยู่ นื นาน จกั ตง้ั อยตู่ ลอดกาลยาวนาน.  พรหมจรรย์
นน้ั แหละ จกั เปน็ ไปเพอื่ ความเกอื้ กลู แกม่ หาชน เพอื่ ความสขุ
แก่มหาชน เพ่ืออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพ่ือเก้ือกูล
เพอ่ื ความสขุ แกเ่ ทวดาและมนษุ ยท์ ้งั หลาย.

จนุ ทะ !  ธรรมทง้ั หลายอนั เราแสดงแลว้ ดว้ ยปญั ญา
อันย่ิง เหล่านั้นเป็นอย่างไรเล่า … ข้อน้ีได้แก่ธรรมเหล่าน้ี
คอื สตปิ ฏั ฐานทง้ั หลายส ่ี สมั มปั ปธานทง้ั หลายส ี่ อทิ ธบิ าท
ทง้ั หลายส่ี อนิ ทรยี ท์ ง้ั หลายหา้ พละทง้ั หลายหา้ สมั โพชฌงค์
ทง้ั หลายเจด็   อริยมรรคอนั ประกอบด้วยองค์แปด.

จนุ ทะ !   ธรรมเหลา่ นแ้ี ล เปน็ ธรรมอนั เราแสดงแลว้
ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ อนั เธอทงั้ หลาย ทกุ คนเทยี วพงึ ประชมุ กนั

284

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

ม่วั สุมกัน แล้วพงึ สังคายนาซ่งึ อรรถโดยอรรถ ซึง่ พยญั ชนะ
โดยพยัญชนะ พึงประพฤติกระทำ�ให้วิเศษ โดยประการท่ี
พรหมจรรยน์ ้ี จกั ด�ำ รงอยยู่ นื นาน จกั ตง้ั อยตู่ ลอดกาลยาวนาน.
พรหมจรรยน์ นั้ แหละ จกั เปน็ ไปเพอ่ื ความเกอื้ กลู แกม่ หาชน
เพ่อื ความสุขแก่มหาชน เพอ่ื อนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์
เพื่อเก้ือกูล เพื่อความสขุ แกเ่ ทวดาและมนุษยท์ ง้ั หลาย.

285

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงปลงอายุสงั ขาร 116

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๑๖/๙๔.

อานนท ์!  เธอจงถอื ผา้ ปนู ง่ั ไป เราจกั ไปสปู่ าวาลเจดยี ์
เพอ่ื นง่ั พกั ตลอดเวลากลางวนั . (ณ ทน่ี ้ี ไดต้ รสั อานภุ าพของอทิ ธบิ าท

ส่ีประการ ว่าอาจทำ�บุคคลผู้เจริญได้เต็มท่ี ให้มีชีวิตอยู่กัปป์หน่ึงก็ได้
แต่พระอานนท์มิได้ทูลขอให้ทรงอยู่ เพราะร้ไู ม่ทัน, ทรงขับพระอานนท์
ไปแล้ว มารได้ฟ้ืนคำ�สัญญาเร่ืองจะปรินิพพานในเม่ือพระศาสนาเป็น
ปึกแผ่นดีแล้ว พระองค์จึงทรงตัดสินพระทัยในการปรินิพพาน เรียกว่า
ปลงอายสุ งั ขาร, แผน่ ดนิ ไหว และตรสั เหตทุ ท่ี �ำ ใหแ้ ผน่ ดนิ ไหว, คอื ลมก�ำ เรบิ ,
ผมู้ ฤี ทธบ์ิ นั ดาล, โพธสิ ตั วจ์ ตุ ,ิ ประสตู ,ิ ตรสั ร,ู้ แสดงธรรมจกั ร, ปลงอายสุ งั ขาร,

ปรนิ พิ พาน).
อานนท ์ !   เมือ่ ตะกี้น้ี มารผ้ใู จบาป ไดเ้ ข้ามาหาเรา

ที่ปาวาลเจดีย์น้ี, ยืนอยู่ ณ ที่ข้างหนึ่ง แล้วกล่าวแก่เราว่า

“พระผู้มีพระภาคเจ้าจงปรินิพพานเสียเถิด,  บัดนี้ถึงเวลาปรินิพพาน
ของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว  เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้แต่

ก่อนว่า ‘มาร, เราจักยังไม่ปรินิพพาน จนกว่า พวกภิกษุ
สาวก ภิกษุณีสาวิกา อุบาสกสาวก อุบาสิกาสาวิกา จักมี
พร้อมบริบูรณ์, จนกว่าพรหมจรรย์ (คือศาสนา) จักม่ังคั่ง
เจรญิ แพรห่ ลาย เปน็ ทรี่ จู้ กั ของมหาชน เปน็ ปกึ แผน่ พอเพอื่
มนุษยแ์ ละเทวดาทง้ั หลาย ประกาศได้ด้วยดี (สืบไป)’ ดงั น,้ี  

286

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

พระองค์ผ้เู จริญ !  บัดน้พี รหมจรรย์ของพระผ้มู ีพระภาค มั่งคั่ง เจริญ
แพรห่ ลาย เป็นท่ีร้จู ักของมหาชน เป็นปึกแผ่นพอเพอื่ มนุษย์และเทวดา
ท้ังหลาย ประกาศได้ด้วยดีแล้ว ขอพระผู้มีพระภาคจงปรินิพพานเถิด,

ขอพระสุคตจงปรินิพพานเถิด” ดังน้ี.  เราตอบว่า “มารผู้ใจ
บาป !  เธอไม่ต้องขวนขวายดอก, ไม่นานเลย ตถาคตจัก
ปรินิพพาน, อีกสามเดือนจากนี้ ตถาคตก็จักปรินิพพาน”,
ดงั น้.ี

อานนท์ !   บัดนี้ เรามีสติสัมปชัญญะ ปลงอายุ
สงั ขารแล้ว ณ ปาวาลเจดีย์น้.ี

(พระอานนท์ได้สติ จึงทูลขอให้ดำ�รงพระชนม์ชีพอยู่ด้วย
อทิ ธิบาทภาวนา กปั ปห์ นึง่ หรือย่ิงกว่ากปั ป์ ; ทรงปฏเิ สธ)

อานนท์ !   อย่าเลย, อย่าวิงวอนตถาคตเลยมิใช่
เวลาจะวงิ วอนตถาคตเสยี แล้ว.

(พระอานนท์ทูลวิงวอนอีกจนครบสามครั้ง ได้รับพระดำ�รัสตอบ
อยา่ งเดยี วกนั , ตรสั วา่ เปน็ ความผดิ ของพระอานนทผ์ เู้ ดยี ว, แลว้ ทรงจาระไน
สถานท่ี ๑๖ แห่งท่ีเคยให้โอกาสแก่พระอานนท์ในเร่ืองนี้ แต่พระอานนท์
รู้ไมท่ ันสกั ครงั้ เดียว)

อานนท ์ !   ในทน่ี นั้ ๆ ถา้ เธอวงิ วอนตถาคต  ตถาคต
จกั หา้ มเสยี สองครง้ั แลว้ จกั รบั ค�ำ ในครงั้ ทสี่ าม,  อานนท ์ !  

287

พุทธวจน - หมวดธรรม

ตถาคตไดบ้ อกแล้วมใิ ช่หรอื ว่าสตั วจ์ ะต้องพลดั พรากจาก
ของรักของชอบใจทั้งส้ิน, สัตว์จะได้ตามปรารถนา ใน
สังขารนี้แต่ที่ไหนเล่า, ข้อที่สัตว์จะหวังเอาสิ่งท่ีเกิดแล้ว
เปน็ แลว้ มปี จั จยั ปรงุ แตง่ แลว้ มกี ารแตกดบั เปน็ ธรรมดา
วา่ สง่ิ นอ้ี ยา่ ฉบิ หายเลย ดงั น้ี ยอ่ มไมเ่ ปน็ ฐานะทม่ี ไี ดเ้ ปน็ ได.้

288

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงใหม้ ตี นและธรรมเปน็ ทีพ่ ึง่ 117
-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๑๖/๗๓๗-๗๔๐.

อานนท ์ !   เราไดก้ ลา่ วเตอื นไวก้ อ่ นแลว้ มใิ ชห่ รอื วา่
“ความเป็นต่างๆ ความพลัดพราก ความเป็นอย่างอื่นจาก
ของรกั ของชอบใจทง้ั ส้ิน ยอ่ มมี”.

อานนท์ !   ข้อน้ัน จักได้มาแต่ไหนเล่า ส่ิงใดเกิด
ขึ้นแล้ว เป็นแล้ว อันปัจจัยปรุงแล้ว มีความชำ�รุดไปเป็น
ธรรมดา, ส่ิงน้ันอย่าชำ�รุดไปเลย ดังนี้, ข้อน้ัน ย่อมเป็น
ฐานะทีม่ ไี ม่ได้.

อานนท ์ !   เพราะฉะนน้ั ในเรอื่ งน้ี พวกเธอทง้ั หลาย
จงมตี นเปน็ ประทปี มตี นเปน็ สรณะ ไมเ่ อาสงิ่ อนื่ เปน็ สรณะ ;
จงมีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ไม่มีส่ิงอื่นเป็น
สรณะ.

อานนท์ !   ภิกษุ มีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ
ไม่เอาส่ิงอ่ืนเป็นสรณะ, มีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็น
สรณะ ไม่เอาสิง่ อื่นเป็นสรณะนนั้ เปน็ อย่างไรเลา่  ?

อานนท ์ !   ภกิ ษุในธรรมวินัยนี้
พิจารณาเหน็ กายในกายเนอื งๆ อยู่

289

พุทธวจน - หมวดธรรม

พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทัง้ หลายเนืองๆ อยู่
พจิ ารณาเหน็ จติ ในจิตเนืองๆ อยู่
พจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมทัง้ หลายเนืองๆ อยู่
มีความเพียรเผากิเลส มีความรู้สึกตัวท่ัวพร้อม
มสี ติ ก�ำ จัดอภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกเสียได.้
อานนท์ !   ภิกษุอย่างน้ีแล ช่ือว่ามีตนเป็นประทีป
มตี นเปน็ สรณะ ไมเ่ อาสง่ิ อนื่ เปน็ สรณะ ; มธี รรมเปน็ ประทปี
มีธรรมเป็นสรณะ ไม่เอาส่ิงอ่นื เป็นสรณะ เปน็ อย่.ู
อานนท ์ !   ในกาลบดั นกี้ ด็ ี ในกาลลว่ งไปแหง่ เรากด็ ี
ใครก็ตาม จักต้องมีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอา
สง่ิ อน่ื เปน็ สรณะ ; มธี รรมเปน็ ประทปี มธี รรมเปน็ สรณะ ไมเ่ อา
สิ่งอ่นื เปน็ สรณะ.
อานนท์ !   ภิกษุพวกใด เป็นผู้ใคร่ในสิกขา, ภิกษุ
พวกนนั้ จักเป็นผ้อู ยใู่ นสถานะอนั เลศิ ทสี่ ุด แล.

290

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

แผน่ ดินไหว เนอ่ื งดว้ ย 118
การปลงอายสุ งั ขาร

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๒๖, ๑๒๗/๙๘, -บาลี อฏฺ ก. อ.ํ ๒๓/๓๒๒, ๓๒๓/๑๖๗.

อานนท์ !   เหตุปัจจัยที่ทำ�ให้ปรากฏการไหวแห่ง
แผ่นดินอนั ใหญห่ ลวงมอี ยู่ ๘ ประการ. …

อานนท์ !   ในกาลใด ตถาคต มีสติ สัมปชัญญะ
ปลงอายุสังขาร ; ในกาลน้นั แผ่นดินย่อมหว่นั ไหว ย่อมส่นั
สะเทือน ย่อมส่ันสะท้าน.  อานนท์ !  น่ีเป็นเหตุท่ี ๗
เป็นปัจจัยท่ี ๗ แห่งการปรากฏการไหวของแผ่นดินอัน
ใหญ่หลวง.

291

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงมงุ่ หวังประโยชนแ์ กส่ าวก 119
-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๓๙/๑๐๖.

อานนท ์ !   มาเถดิ , เราจกั ไปสปู่ า่ มหาวนั , เราจกั ไป
ยงั กฏู าคารศาลา.  อานนท ์ !  เธอจงใหภ้ กิ ษทุ กุ รปู บรรดา
อาศยั เมอื งเวสาลี มาประชมุ พรอ้ มกนั ทอ่ี ปุ ฏั ฐานสาลาเถดิ .
(คร้นั ภิกษปุ ระชุมพร้อมกนั แลว้ ไดต้ รสั อภญิ ญาเทสติ ธรรม ดังนี)้ :

ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรมเหล่าใดท่ีเราแสดงแล้ว
ดว้ ยปญั ญาอันย่ิง, ธรรมเหล่านั้น พวกเธอพึงเรียนเอาให้ดี
พงึ เสพให้ทัว่ พึงเจรญิ ทำ�ให้มาก โดยอาการท่พี รหมจรรย์
(คือศาสนา) นี้ จักมั่นคง ต้ังอยู่ได้ตลอดกาลนาน, ข้อนั้น
จักเป็นไปเพ่ือประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความ
สุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์โลก, เพื่อประโยชน์ เพ่ือ
ความเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. 
ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรมเหล่าไหนเล่า ท่ีเราแสดงแล้วด้วย
ปญั ญาอนั ยงิ่ …, คอื สตปิ ฏั ฐานสี่ สมั มปั ปธานส่ี อทิ ธบิ าทส่ี
อินทรีย์ห้า พละหา้ โพชฌงค์เจ็ด อรยิ มรรคมีองค์แปด.

ภิกษุทั้งหลาย !   บัดน้ีเราจักเตือนเธอทั้งหลาย :
สังขารท้งั หลาย มีความเสอื่ มไปเปน็ ธรรมดา พวกเธอจงถึง

292

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

พรอ้ มดว้ ยความไมป่ ระมาทเถดิ , การปรนิ พิ พานของตถาคต
จกั มีในกาลไม่นานเลย, ตถาคตจกั ปรนิ ิพพาน โดยกาลลว่ ง
ไปแห่งสามเดอื นจากน.้ี

สัตว์ท้ังปวง ท้ังที่เป็นคนหนุ่ม คนแก่, ทั้งที่เป็น
คนพาลและบณั ฑติ , ทงั้ ทมี่ ง่ั มแี ละยากจน ลว้ นแตม่ คี วาม
ตายเป็นทไี่ ปถงึ ในเบ้ืองหนา้ .  เปรยี บเหมอื นภาชนะดนิ
ท่ีช่างหม้อปั้นแล้ว ท้ังเล็กและใหญ่ ท้ังที่สุกแล้วและยัง
ดบิ ลว้ นแตม่ กี ารแตกท�ำ ลายเปน็ ทสี่ ดุ ฉนั ใด ;  ชวี ติ แหง่
สัตว์ท้ังหลาย กม็ คี วามตายเป็นเบอ้ื งหน้า ฉนั นั้น.

วยั ของเรา แกห่ ง่อมแล้ว ชวี ติ ของเรารบิ หรี่แล้ว,
เราจกั ละพวกเธอไป.  สรณะของตวั เองเราไดท้ �ำ ไวแ้ ลว้ . 
ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  พวกเธอจงเปน็ ผไู้ มป่ ระมาท มสี ติ มศี ลี
เป็นอย่างดี มีความดำ�ริอันต้ังไว้แล้วด้วยดี ตามรักษา
ซึ่งจิตของตนเถิด.  ในธรรมวินัยน้ี, ภิกษุใดเป็นผู้ไม่
ประมาทแล้ว จกั ละชาตสิ งสาร ท�ำ ท่สี ดุ แห่งทกุ ข์ได้.

293

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

หลกั ตดั สินธรรมวินัย ๔ ประการ 120
-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๔-๖/๑๑๓-๖.

๑. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยน้ีกล่าวอย่างน้ีว่า
ผู้มีอายุ !  ข้าพเจ้าได้สดับรับมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคว่า “น้ีเป็นธรรม น้ีเป็นวินัย น้ีเป็นคำ�สอนของ
พระศาสดา”…

๒. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างน้ีว่า
ในอาวาสชอ่ื โนน้ มีสงฆ์อยู่ พร้อมดว้ ยพระเถระ พร้อมด้วย
ปาโมกข์ (หัวหน้า) ข้าพเจ้าได้สดับมาเฉพาะหน้าสงฆ์นั้นว่า
“นี้เป็นธรรมนีเ้ ปน็ วินยั นเ้ี ป็นค�ำ สอนของพระศาสดา”…

๓. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างน้ีว่า
ในอาวาสชอ่ื โนน้ มภี กิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยจู่ �ำ นวนมาก เปน็ พหสู ตู
เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มา
เฉพาะหน้าพระเถระเหล่าน้ันว่า “นี้เป็นธรรม น้ีเป็นวินัย
นี้เปน็ คำ�สอนของพระศาสดา”…

๔. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยน้ีกล่าวอย่างน้ีว่า
ในอาวาสชื่อโน้น มีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่รูปหนึ่ง เป็นพหูสูต
เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั

294

เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : “ตถาคต”

เฉพาะหนา้ พระเถระรปู นน้ั วา่ “นเี้ ปน็ ธรรมนเี้ ปน็ วนิ ยั นเ้ี ปน็
คำ�สอนของพระศาสดา”  เธอทั้งหลายยังไม่พึงช่ืนชม
ยงั ไมพ่ งึ คดั คา้ นค�ำ กลา่ วของผนู้ นั้ พงึ เรยี นบทและพยญั ชนะ
เหล่าน้ันให้ดี แล้วพึงสอบสวนลงในพระสูตร เทียบเคียงดู
ในวนิ ยั ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั สอบลงในสตู รกไ็ มไ่ ด้
เทยี บเขา้ ในวนิ ยั กไ็ มไ่ ด้ พงึ ลงสนั นษิ ฐานวา่ “นม้ี ใิ ชพ่ ระด�ำ รสั
ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ น้ั แนน่ อน และภกิ ษนุ ร้ี บั มาผดิ ”
เธอทง้ั หลายพงึ ทง้ิ ค�ำ นน้ั เสยี .  ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั
สอบลงในสตู รกไ็ ด้ เทยี บเขา้ ในวนิ ยั กไ็ ด้ พงึ ลงสนั นษิ ฐานวา่
“นเี้ ปน็ พระด�ำ รสั ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ น้ั แนน่ อน
และภกิ ษนุ น้ั รบั มาดว้ ยด”ี .  เธอทง้ั หลาย พงึ จ�ำ มหาปเทสนไ้ี ว.้

295

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

เหตแุ ห่งความเจริญ ไม่เสอื่ ม 121

-บาลี สตตฺ ก. อ.ํ ๒๓/๒๑/๒๑.

ภกิ ษทง้ั หลาย !   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จักหม่นั ประชุมกัน
เนอื งนติ ย์ ประชมุ กนั ใหม้ ากพอ อยเู่ พยี งใด, ความเจรญิ กเ็ ปน็
สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนน้ั .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จกั พรอ้ มเพรยี งกนั
เขา้ ประชมุ จกั พรอ้ มเพรยี งกนั เลกิ ประชมุ จกั พรอ้ มเพรยี ง
กนั ท�ำ กจิ ทส่ี งฆจ์ ะตอ้ งท�ำ อยเู่ พยี งใด, ความเจรญิ กเ็ ปน็ สงิ่ ท่ี
ภิกษทุ ัง้ หลายหวงั ได้ ไม่มีความเสอื่ มเลย อยู่เพยี งนั้น.

ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุทั้งหลาย จกั ไมบ่ ญั ญตั สิ ง่ิ ท่ี
ไมเ่ คยบญั ญตั ิ จกั ไมเ่ พกิ ถอนสง่ิ ทบ่ี ญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ จกั สมาทาน
ศกึ ษาในสกิ ขาบททบ่ี ญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ อยา่ งเครง่ ครดั อยเู่ พยี งใด,
ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย
อยเู่ พียงนนั้ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จกั สกั การะ เคารพ
นบั ถอื บชู า ภกิ ษพุ วกทเ่ี ปน็ เถระ มพี รรษายกุ าล บวชนาน
เปน็ บดิ าสงฆ์ เปน็ ผนู้ �ำ สงฆ์ และตนจกั ตอ้ งเขา้ ใจตวั วา่ ตอ้ ง
เชอ่ื ฟงั ถอ้ ยค�ำ ของทา่ นเหลา่ นน้ั อยเู่ พยี งใด, ความเจรญิ กเ็ ปน็
สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนน้ั .

296

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จกั ไมล่ อุ �ำ นาจแกต่ ณั หา
ซง่ึ เปน็ ตวั เหตกุ อ่ ใหเ้ กดิ ภพใหม่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ อยเู่ พยี งใด,
ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย
อยเู่ พยี งนน้ั .

ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุท้ังหลาย จักมีใจจดจ่อใน
เสนาสนะปา่ อยเู่ พยี งใด, ความเจรญิ กเ็ ปน็ สงิ่ ทภี่ กิ ษทุ งั้ หลาย
หวงั ได้ ไม่มีความเสอ่ื มเลย อยู่เพียงนนั้ .

ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุทั้งหลาย จักเข้าไปตั้งสติ
ไว้อย่างมั่นเหมาะว่า “ทำ�ไฉนหนอ ขอเพื่อนผู้ประพฤติ
พรหมจรรย์ด้วยกัน ซ่ึงมีศีลเป็นท่ีรักยังไม่มา ขอให้มา,
ทมี่ าแลว้ ขอใหอ้ ยเู่ ปน็ สขุ เถดิ ” ดงั น้ี อยเู่ พยี งใด, ความเจรญิ
กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนน้ั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ธรรมอนั ไมเ่ ปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความเสอ่ื ม
เจ็ดประการเหล่าน้ี ยังคงดำ�รงอยู่ได้ในภิกษุทั้งหลาย และ
พวกเธอก็ยังเห็นพ้องต้องกันในธรรมเจ็ดประการเหล่าน้ี
อยเู่ พยี งใด, ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ งั้ หลายหวงั ได้ ไมม่ ี
ความเส่อื มเลย อย่เู พยี งนั้น.

297

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

อยา่ เป็นบรุ ษุ คนสดุ ท้าย 122

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.

อานนท์ !   ก็กัลยาณวัตรอันเราต้งั ไว้ในกาลน้ี ย่อม
เปน็ ไป เพอ่ื ความเบอ่ื หนา่ ยโดยสว่ นเดยี ว เพอ่ื คลายก�ำ หนดั
เพอ่ื ดบั เพอ่ื ความสงบระงบั เพอ่ื รยู้ ง่ิ เพอ่ื รพู้ รอ้ ม เพอ่ื นพิ พาน.

อานนท์ !   กัลยาณวัตรน้ี เป็นอย่างไรเล่า น้ีคือ
อริยมรรคมีองค์ ๘ กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ
สมั มาสติ สมั มาสมาธ.ิ

อานนท ์!  เกย่ี วกบั กลั ยาณวตั รนน้ั เราขอกลา่ วกะเธอ
โดยประการทเ่ี ธอทง้ั หลาย จะพากนั ประพฤตติ ามกลั ยาณวตั ร
ท่ีเราตั้งไว้แล้วน้ี : เธอท้ังหลายอย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้าย
ของเราเลย.

อานนท์ !   ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรน้มี ีในยุค
แหง่ บรุ ษุ ใด ; บรุ ษุ นน้ั ชอ่ื วา่ บรุ ษุ คนสดุ ทา้ ยแหง่ บรุ ษุ ทง้ั หลาย.

อานนท์ !   เก่ียวกับกัลยาณวัตรน้ัน เราขอกล่าว
(ยำ้�) กับเธอ โดยประการที่เธอทั้งหลายจะพากันประพฤติ
ตามกลั ยาณวตั รทเ่ี ราตงั้ ไวแ้ ลว้ น้ี : เธอทง้ั หลายอยา่ เปน็ บรุ ษุ
พวกสดุ ทา้ ยของเราเลย.

298

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

เสวยสกู รมทั ทวะ 123

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๗/๑๑๗.

อานนท ์!  มาเถดิ , เราจกั ไปสเู่ มอื งปาวา, (ทนี่ ้ี ประทบั ท่ี

สวนมะม่วงของนายจุนท์ กัมมารบุตร.  ทรงแสดงธรรมแก่นายจุนท์
และเสดจ็ ไปรับภัตตาหารทบ่ี า้ นในวันรุง่ ข้ึน).

จุนทะ !   สูกรมัททวะที่จัดไว้ จงนำ�มาเล้ียงเรา,
ขาทนยี ะ โภชนยี ะอยา่ งอน่ื ทต่ี กแตง่ ไว้ จงน�ำ ไปเลย้ี งภกิ ษสุ งฆ.์  
จุนทะ !  สูกรมัททวะที่เหลือนี้ ท่านจงฝังเสียในบ่อ เราไม่
มองเห็นใครในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก
หมสู่ ตั วพ์ รอ้ มทงั้ สมณพราหมณ์ พรอ้ มทงั้ เทวดาและมนษุ ย์
ที่บริโภคแล้ว จักให้ย่อยได้, นอกจากตถาคต, (ต่อจากนี้ก็

ประชวร ดว้ ยโรคปักขันทกิ าพาธอย่างกลา้ จวนสน้ิ พระชนมาย)ุ .

299

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

ผลแห่งการถวายบณิ ฑบาต 124
ท่มี ีผลยง่ิ ยอดกวา่ บิณฑบาตอืน่ ๆ

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๙/๑๑๗.

อานนท ์ !   มาเถดิ , เราจกั ไปเมอื งกสุ นิ ารา, (แลว้ เสดจ็
ทง้ั ทย่ี งั ประชวร, ในกลางทาง ทรงแวะนง่ั ณ รม่ ไมแ้ หง่ หนง่ึ ),  อานนท ์! 
เธอจงปผู า้ สงั ฆาฏทิ พ่ี บั เปน็ สช่ี น้ั ใหเ้ ราเถดิ เราล�ำ บากกายนกั ,
จกั นง่ั พกั ,  อานนท ์! เธอจงน�ำ น�ำ้ ดม่ื มาใหเ้ รา, เราระหายนกั .

(พระอานนท์ทูลผัดว่า เกวียนห้าร้อยเพ่ิงจะผ่านไป นำ้�ขุ่นหมด, ขอให้
ทรงทนไปหาน�ำ้ ทแ่ี มน่ �้ำ กกธุ นทขี า้ งหนา้ จนตรสั ซ�ำ้ ถงึ ๒ ครงั้ พระอานนท์
จึงไปตักน้ำ� แต่น้ำ�มิได้ขุ่นเลย, กลับมาแล้วทูลความอัศจรรย์ข้อน้ี. 
ต่อจากนี้ ทรงพบและสนทนาเรื่องสมาธิอย่างย่ิง กับปุกกุสะ มัลลบุตร. 
ในทส่ี ดุ เขารบั ถอื สรณะแลว้ ถวายผา้ เนอ้ื ดสี องผนื ).

ปุกกุสะ !   ถ้าอย่างนั้น เธอจงคลุมให้เราผืนหนึ่ง,
อกี ผนื หน่ึง ให้อานนท์เถดิ .

(แต่เม่ือปุกกุสะทำ�ดังนั้นหลีกไปแล้ว พระอานนท์น้อมเข้าไปสู่พระกาย
พระผมู้ ีพระภาคทัง้ สองผนื เหน็ พระฉวีผ่องใสยิง่ นกั ก็ทลู ถาม).

อานนท์ !   เป็นอย่างนั้น,  กายของตถาคต
ย่อมมีฉวีผุดผ่องในกาลสองคร้ัง คือ ในราตรีที่ตรัสรู้
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ, และราตรีท่ีตถาคตปรินิพพาน

300

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ดว้ ยอนปุ าทเิ สสนพิ พานธาต.ุ   อานนท ์ !   การปรนิ พิ พาน
ของตถาคตจักมีในระหว่างต้นสาละคู่ ในสวนสาละอันเป็น
ทแี่ วะพักกลางทาง ของพวกมลั ลกษัตรยิ ์ ใกลเ้ มืองกสุ นิ ารา
ในตอนปจั ฉิมยามแห่งคืนน.ี้

มาเถิด, อานนท์ !   เราจักไปยังแม่นำ้�กกุธนที
ด้วยกัน.

(ทรงสรงในแม่น้ำ�แล้ว เสด็จเข้าสวนอัมพวัน ประทับนอน
สีหเสยยา เพื่อพักผ่อนบนสังฆาฏิพับเป็นส่ีชั้น ปูถวายโดยพระจุนทกะ,

และตรัสปรารถถึงนายจนุ ท)์ .
อานนท์ !   คงมีใครทำ�ความเดือดร้อนให้แก่

จุนทะ กัมมารบุตรโดยกล่าวว่า “จุนทะ !  การท่ีท่านถวาย
บิณฑบาตเป็นครั้งสุดท้าย ซ่ึงหาได้โดยยากน้ัน ไม่เป็นลาภ
เสียแล้ว” ดังนี้.  อานนท์ !  เธอพึงกำ�จัดความเดือดร้อน
นน้ั เสยี โดยกลา่ ววา่ “จนุ ทะ ! การถวายบณิ ฑบาตครงั้ สดุ ทา้ ย
ของท่านเป็นความดีแล้ว เป็นลาภของท่านแล้ว, เราได้ฟัง
มาแลว้ เฉพาะพระพกั ตรว์ า่ บณิ ฑบาตทง้ั สอง มผี ลเสมอกนั
มผี ลยง่ิ ยอดกวา่ บณิ ฑบาตอน่ื ๆ คอื บณิ ฑบาตทพ่ี ระตถาคตเจา้
เสวยแลว้ ตรสั รอู้ นตุ ตรสมั มาสมั โพธญิ าณ อยา่ งหนงึ่ และ
ทเ่ี สวยแลว้ เสดจ็ ปรนิ พิ พาน ดว้ ยอนปุ าทเิ สสนพิ พานธาตุ

301

พุทธวจน - หมวดธรรม

อยา่ งหนง่ึ .  กศุ ลกรรมทน่ี ายจนุ ทะสรา้ งสมแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป
เพื่อ อายุ วรรณะ สุขะ ยศ สวรรค์ และความเป็นใหญ่.”
อานนท์ !  เธอพึงกำ�จัดความเดือดร้อนของนายจุนทะ
กัมมารบุตรดว้ ยการกล่าวอย่างนีแ้ ล.

(จากนั้นทรงเปลง่ พระอุทานว่า)

บุญ ย่อมเจริญ งอกงาม แก่ทายกผู้ให้อยู่ๆ, เวร
ยอ่ มไมส่ บื ตอ่ แกบ่ คุ คลผรู้ ะงบั เวรเสยี ได,้ คนฉลาดเทา่ นน้ั ,
ละบาปเสียได้แล้วก็นิพพาน เพราะความสิ้นไปแห่ง ราคะ
โทสะ และโมหะ.

302

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : “ตถาคต”

การปรนิ พิ พานหรอื 125
การประทบั สีหเสยยาคร้ังสดุ ท้าย

.-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๕๙/๑๒๘.

อานนท์ !   มาเถิด, เราจักไปสู่ฝั่งโน้นแห่งแม่น้ำ�
หริ ญั ญวด,ี ไปยงั สวนปา่ สาละเปน็ ทแี่ วะพกั ของมลั ลกษตั รยิ ์
ใกลเ้ มอื งกสุ นิ ารา. (ครนั้ ถงึ ทนี่ นั้ แลว้ ตรสั สงั่ ใหต้ งั้ เตยี งปรนิ พิ พาน).

อานนท ์ !   เธอจงจดั ตง้ั เตยี งนอ้ ย ระหวา่ งตน้ สาละคู่
มศี รี ษะทางทศิ เหนอื เราล�ำ บากกายนกั , จกั นอน.  (ประทบั

สหี เสยยาแล้ว มีอัศจรรย์ ดอกสาละผลิผดิ ฤดกู าลโปรยลงบนพระสรรี ะ,
ดอกมัณฑารพ จุรณ์ไม้จันทน์, ดนตรีล้วนแต่ของทิพย์ ได้ตกลงและ
บรรเลงข้ึน ; เพอ่ื บูชาพระตถาคตเจ้า).

อานนท ์ !   การบชู าเหลา่ น้ี หาชอ่ื วา่ ตถาคตเปน็ ผทู้ ี่
ไดร้ บั สกั การะ เคารพ นบั ถอื บชู าแลว้ ไม.่   อานนท ์ !  ภกิ ษุ
ภกิ ษุณี อบุ าสก อบุ าสิกาใด ประพฤตธิ รรมสมควรแก่ธรรม
ปฏบิ ตั ชิ อบยงิ่ , ปฏบิ ตั ติ ามธรรมอย ู่; ผนู้ น้ั ชอื่ วา่ ยอ่ มสกั การะ
เคารพ นบั ถอื บชู าตถาคต ดว้ ยการบชู าอนั สงู สดุ .  อานนท ์!  
เพราะฉะนั้นเธอพึงกำ�หนดใจว่า ‘เราจักประพฤติธรรม
สมควรแก่ธรรม ปฏิบตั ิชอบยงิ่ ปฏบิ ัตติ ามธรรมอย’ู่ ดังน.ี้

(ต่อจากน้ี ทรงขับท่านพระอุปวาณะ ที่เข้ามาอยู่งานพัด, พระอานนท์
ทลู ถามถึงเหตทุ ่ขี ับ, ตรสั ตอบดงั ต่อไปน)้ี :

303

พุทธวจน - หมวดธรรม

อานนท์ !   พวกเทวดาในโลกธาตุท้ังสิบโดยมาก
มาประชมุ กนั แลว้ เพอ่ื เหน็ ตถาคต.  อานนท ์! สวนปา่ สาละ
ทแ่ี วะพกั ของมลั ลกษตั รยิ แ์ หง่ เมอื ง กสุ นิ ารา ๑๒ โยชนโ์ ดยรอบ
มไิ ด้มีทีว่ า่ งแมเ้ ทา่ ปลายขนทราย ทเี่ ทวดามีศักด์ิมิได้ตง้ั อย่.ู
เทวดาทัง้ หลาย ยอ่ มยกโทษว่า ‘เราทง้ั หลายมาแตไ่ กลเพ่อื
เหน็ พระตถาคต, ตอ่ นานนกั พระตถาคตจงึ จะเกดิ ขนึ้ ในโลก
สักคราวหน่ึง และการปรินิพพานของพระตถาคต ก็จักมี
ในปัจฉิมยามแห่งราตรีวันน้ี ก็พระภิกษุผู้มีศักดิ์ใหญ่รูปน้ี
มายืนเสียตรงพระพักตร์ บังอยู่, เราทั้งหลาย ไม่ได้เห็น
พระตถาคตในกาลสดุ ทา้ ย’ ดงั น.้ี   (ตอ่ จากน้ี พระอานนทท์ ลู ถาม

ถงึ ความรู้สึกภายในใจของพวกเทวดา ได้ตรัสดงั ตอ่ ไปน)ี้

อานนท์ !   มีพวกเทวดา ผู้มีความสำ�คัญในอากาศ
ว่าเป็นแผ่นดิน, และพวกที่มีความสำ�คัญในแผ่นดิน
วา่ แผน่ ดนิ พากนั สยายผม รอ้ งไห้ คร�ำ่ ครวญ กอดแขนรอ้ งไห้
คร�ำ่ ครวญ ลม้ กลง้ิ เกลอื กไปมา ดจุ วา่ มเี ทา้ ถกู ตดั ขาดออก,
รำ�พันอยู่ว่า ‘พระผู้มีพระภาคจักปรินิพพาน เสียเร็วนัก,
พระสคุ ตจกั ปรนิ พิ พานเสยี เรว็ นกั , พระผเู้ ปน็ ดวงจกั ษใุ นโลก
จกั ดบั หายไปเสยี เรว็ นกั ’, ดงั น.้ี   สว่ นเทวดาเหลา่ ใด ปราศจาก
ราคะแลว้ , เทวดาทงั้ หลาย เหลา่ นนั้ มสี ติ สมั ปชญั ญะ อดกลนั้

304

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ดว้ ยรสู้ กึ วา่ ‘สงั ขารทงั้ หลายไมเ่ ทยี่ ง, ขอ้ ทจ่ี ะใหไ้ ดต้ ามใจหวงั
ในเรื่องนี้น้ัน สัตว์จักได้มาแต่ที่ไหนเล่า’ ดังน้ี.  (ต่อจากน้ี

พระอานนท์ทูลถึง เม่ือไม่มีพระองค์แล้วสาวกก็ไม่ได้พบปะกันเหมือน
ดง่ั บดั น,้ี ทรงแสดงสถานทส่ี แี่ หง่ คอื ทป่ี ระสตู ,ิ ตรสั ร,ู้ แสดงธรรมจกั ร,
และนพิ พาน วา่ เปน็ ทค่ี วรเหน็ และพบปะกนั ของพทุ ธบรษิ ทั ดงั ทป่ี รากฏอยู่
ในชว่ งทา้ ย.  ตอ่ จากนน้ั ตรสั เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ใิ นสตรี คอื การไมพ่ บปะดว้ ย,
ถ้าต้องพบปะก็ไม่พูด, ถ้าต้องพูดพึงมีสติ, ต่อจากน้ัน พระอานนท์ได้
ทลู ถามถึงการจดั พระศพ).

อานนท์ !   พวกเธออย่าขวนขวาย เพื่อจัดการบูชา
สรีระของตถาคตเลย, จงสืบต่อ จงพยายาม ในประโยชน์
ของตน (คือการตั้งหน้าปฏิบัติ) เถิด, จงอย่าประมาท จงมี
ความเพยี ร ก�ำ หนดอยใู่ นประโยชนข์ องตนเถดิ .  อานนท ์ ! 
กษตั รยิ ,์ พราหมณ,์ หรอื คหบดี ผเู้ ลอ่ื มใสอยา่ งยง่ิ ในตถาคต
กม็ ีอยู,่ เขาเหล่าน้นั จกั จัดการบชู าสรีระของตถาคต.

“ขา้ แต่พระองค์ !   เขาเหล่านั้น พึงจดั การอย่างไร”

อานนท์ !   เขาพึงจัดเหมือนที่จัดในสรีระของ
พระเจา้ จกั รพรรดิ : เขาพนั สรรี ะของพระเจา้ จกั รพรรดดิ ว้ ย
ผา้ ใหม่ แลว้ ซบั ส�ำ ลี แลว้ พนั ดว้ ยผา้ ใหมโ่ ดยอบุ ายนี้ ๕๐๐ คู่
แลว้ เชญิ ลงในรางเหล็กเต็มดว้ ยนำ�้ มนั ปดิ ดว้ ยรางเหล็กอีก

305

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

รางหนง่ึ กระท�ำ จติ กาธานดว้ ยของหอมทกุ อยา่ งแลว้ จงึ ถวาย
พระเพลงิ , กระทำ�สถูป (ทร่ี ะลกึ ) สำ�หรับพระมหาจกั รพรรดิ
ไว้ ณ หนทางส่ีแยก.  อานนท์ !   ชนเหล่าน้ันพึงปฏิบัติ
ในสรีระของตถาคต เช่นเดียวกับท่ีชนทั้งหลายปฏิบัติใน
สรรี ะของพระมหาจกั รพรรดิ นน้ั แล, ชนเหลา่ ใดวางพวงมาลยั
หรอื ของหอม หรอื จรุ ณห์ อม ณ ทนี่ น้ั กด็ ี หรอื อภวิ าท, หรอื
ท�ำ ความเลอ่ื มใส อยใู่ นจติ กด็ ,ี ขอ้ นน้ั จกั เปน็ ไปเพอื่ ประโยชน์
เพ่ือความสุขแก่เขาสิ้นกาลนาน.  (ต่อจากนั้นตรัสเร่ืองเกี่ยวกับ

บคุ คลควรแกก่ ารกอ่ สถปู ๔ จ�ำ พวก คอื พระตถาคต, พระปจั เจกพทุ ธะ,
พระสาวก, พระเจา้ จกั รพรรด,ิ พระอานนทเ์ ลย่ี งไปยนื เหนย่ี วไมเ้ ตา้ กปสิ สี ะ
รอ้ งไหอ้ ย,ู่ ตรัสใหไ้ ปเรยี กตัวมา ตรสั สรรเสริญวา่ เปน็ ยอดของอุปฏั ฐาก
ผู้หน่ึง ในบรรดายอดอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้าทั้งปวง.  และสรรเสริญ
การรอบรู้ในหน้าที่นี้ และการกล่าววาจาเป็นท่ีชอบใจแก่ผู้เข้าไปคบหา,
ตอ่ จากนน้ั พระอานนทท์ ลู ขอใหเ้ สดจ็ ไปปรนิ พิ พานเมอื งอน่ื เพราะเมอื งนี้
เป็นเมอื งกิ่ง เมอื งดอน).

อานนท์ !   เธออย่ากล่าวว่า เมืองน้อย เมืองดอน
ก่งิ เมือง ดังนีเ้ ลย ครั้งก่อนโน้น ราชาพระนามว่ามหาสทุ ศั น์
เป็นพระเจ้าจักรพรรดิธรรมราชา มีอาณาเขตกระทั่ง
มหาสมุทรทั้งสี่ ชนะสงคราม มีชนบทมั่งค่ัง ประกอบด้วย
รตั นะ ๗ ชนดิ .  อานนท ์!  เมอื งกสุ นิ ารานแี้ ล เปน็ ราชธานี

306

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

ของพระเจ้ามหาสุทัศน์ (ในครั้งน้ัน) ช่ือว่ากุสาวดี ยาวทาง
บุรพทิศ และปัจฉิมทิศ ๑๒ โยชน์ กว้างทางอุตตรทศิ และ
ทกั ขณิ ทศิ ๗ โยชน์ เกลื่อนกลน่ ด้วยหม่มู นษุ ย์ …

อานนท์ !   เธอจงเข้าไปในเมืองกุสินารา จงบอก
แก่มัลลกษัตริย์ท้ังหลาย แห่งเมืองกุสินาราว่า ‘กษัตริย์
ผู้วาเสฏฐโคตรท้ังหลาย !  ในยามสุดท้ายแห่งราตรีวันนี้
การปรนิ พิ พานของพระตถาคตเจา้ จกั ม.ี   เชญิ ทา่ นทง้ั หลาย
รบี ไป, ขออยา่ ตอ้ งเดอื ดรอ้ นในภายหลงั วา่ การปรนิ พิ พานของ
พระตถาคตเจา้ ไดม้ แี ลว้ ในคามเขตของพวกเรา แตพ่ วกเรา
มไิ ดเ้ หน็ พระตถาคตเจา้ เปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ย’.  (พระอานนทผ์ เู้ ดยี ว

เข้าไปแจ้งแก่มัลลกษัตริย์, มัลลกษัตริย์ ครำ่�ครวญโดยนัยเดียวกับพวก
เทวดาทกี่ ลา่ วมาแลว้ พากนั ออกมาเฝา้ พระองค.์   พระอานนทจ์ ดั ใหเ้ ฝา้
โดยขานชอ่ื ถวายทลี ะพวก เสรจ็ กอ่ นปฐมยาม.  ตอ่ จากนส้ี ภุ ทั ทปรพิ พาชก
มีโอกาสเข้าเฝ้า ทูลถามความผิดหรือถูกของลัทธิอ่ืนๆ.  ตรัสห้ามเสีย
แล้วตรัสถงึ เรอ่ื งสมณะทแ่ี ทจ้ รงิ มเี ฉพาะในศาสนาทม่ี อี รยิ มรรคประกอบ
ดว้ ยองคแ์ ปด, ไมม่ ใี นศาสนาทไ่ี มม่ อี รยิ มรรคมอี งคแ์ ปด).

สภุ ทั ทะ !   เราเมอ่ื มวี ยั ๒๙ ปี บวชแลว้ แสวงหาอยู่
วา่ อะไรเปน็ กุศลๆ, นบั แต่บวชแลว้ ได้ ๕๑ ปี ความเป็นไป
แห่งธรรมประเทศเครื่องตรัสรู้ มิได้มีภายนอกจากธรรม-
วินัยนี้, แม้สมณะ (สมณะที่ ๑ คือ โสดาบัน) ก็มิได้มี. 

307

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภายนอกจากธรรมวนิ ยั น้ี แมส้ มณะท่ี ๒, ที่ ๓, ท่ี ๔, กม็ ไิ ดม้ .ี  
วาทะเครอ่ื งสอนของผอู้ น่ื วา่ งจากสมณะของพวกอน่ื , สภุ ทั ทะ ! 
ก็ภิกษุทั้งหลาย เหล่าน้ีพึงอยู่โดยชอบเถิด โลกก็จะไม่ว่าง
เปลา่ จากพระอรหนั ตท์ งั้ หลาย.  (ตอ่ จากน้ี สภุ ทั ทะทลู สรรเสรญิ

เทศนา ขอบรรพชาอุปสมบท ได้รับยกเว้นไม่ต้องอยู่ติตถิยปริวาสก่อน
อปุ สมบท, ตอ่ มาไมน่ านไดบ้ รรลอุ รหตั ตผล.  (เธอเปน็ สาวกองคส์ ดุ ทา้ ย
ในบรรดาสาวกท่ีทันเห็นพระพุทธองค์), ต่อจากนี้ ได้ตรัสพระโอวาท
ท่สี �ำ คัญๆ ต่างๆ อีก ๔-๕ เร่ือง).

อานนท์ !   ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างนี้ว่า
‘ธรรมวินัยของพวกเรามีพระศาสดาล่วงลับไปเสียแล้ว
พวกเราไมม่ พี ระศาสดา’ ดงั น.ี้   อานนท ์ !  พวกเธออยา่ คดิ
ดังนั้น.  อานนท์ !  ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราแสดงแล้ว
บัญญัติแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย ธรรมวินัยนั้น จักเป็น
ศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยกาลล่วงไปแหง่ เรา.

อานนท ์ !   เวลานี้ พวกภกิ ษทุ ว่ั ไป เรยี กกนั ดว้ ยค�ำ วา่
อาวุโส แก่กันและกัน (ท้ังแก่ท้ังอ่อน) ; โดยกาลท่ีเราล่วงลับ
ไปแลว้ ไมค่ วรเรยี กรอ้ งกนั ดงั่ นน้ั : ผแู้ กก่ วา่ จงเรยี กผอู้ อ่ น
โดยชือ่ หรือโดยชื่อสกลุ หรอื โดยค�ำ ว่าอาวโุ ส, ผู้ออ่ นกว่า
จงรอ้ งเรยี กผแู้ กก่ วา่ วา่ ภนั เต หรอื อายสั ม๎ า.  อานนท ์ ! 

308

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

โดยกาลท่ีเราล่วงลับไปแล้ว สงฆ์จงเลิกถอนสิกขาบท
เล็กน้อยได้, ถา้ ต้องการ.

อานนท์ !   โดยกาลท่ีเราล่วงลับไปแล้ว สงฆ์จงลง
พรหมทณั ฑแ์ ก่ภิกษุฉนั นะ, คอื ภิกษฉุ ันนะจงกลา่ วอะไรได้
ตามพอใจ, ภกิ ษทุ งั้ หลายไมพ่ งึ วา่ กลา่ วตกั เตอื นสง่ั สอนเธอ.

(ตอ่ จากนต้ี รสั ประทานโอกาสครง้ั สดุ ทา้ ยใหผ้ นู้ นั้ กลา่ วออกมาได้ ถา้ ใคร
ยงั สงสัยรงั เกยี จอนั ใดบ้าง ในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ)์ .

ภิกษุทั้งหลาย !   ก็ถ้ามีภิกษุแม้รูปหนึ่ง มีความ
เคลือบแคลง เห็นแย้งในพระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์,
ในมรรค ในขอ้ ปฏบิ ตั กิ ด็ ี จงถามเสยี .  อยา่ เปน็ ผเู้ ดอื ดรอ้ น
ในภายหลงั วา่ ‘เราอยเู่ ฉพาะหนา้ พระศาสดาแลว้ ไมก่ ลา้ ถาม
ในทเ่ี ฉพาะหนา้ ’ ดงั น.้ี   (ไมม่ ภี กิ ษรุ ปู ใดทลู ถาม ตลอดเวลาทท่ี รงเตอื น

ซ�ำ้ จนครบสามครง้ั , ในทส่ี ดุ ตรสั วา่ ถา้ ไมก่ ลา้ ถามเอง ใหว้ านเพอ่ื นถามแทน,
ก็ไม่มีใครทูลถาม.  พระอานนท์ทูลสรรเสริญความที่ภิกษุสงฆ์แม้แต่
รูปหน่ึง ก็ไม่มีใครเคลือบแคลงในพระศาสดา หรือธรรมวินัยของตน,
ตรสั ว่า) :

อานนท ์ !   เธอกลา่ วดว้ ยความเลอื่ มใสและหยง่ั ถงึ . 
ท่ีจริงในเร่ืองน้ี ความรู้สึกของตถาคตก็มีแล้วว่า ความ
เคลือบแคลง เห็นแย้ง ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์

309

พุทธวจน - หมวดธรรม

ในมรรค ในข้อปฏิบัติ ของภิกษุแม้รูปเดียว ในภิกษุสงฆ์นี้
ไมม่ เี ลย, อานนท ์ !  เพราะวา่ ในบรรดาภกิ ษุ ๕๐๐ รปู เหลา่ นี้
รปู ใด ทตี่ �ำ่ ทส่ี ดุ กวา่ เขาทง้ั ปวง รปู นน้ั กย็ งั เปน็ โสดาบนั มอี นั
ไมต่ กต�ำ่ เปน็ ธรรมดา เทย่ี งตอ่ นพิ พาน มกี ารตรสั รเู้ ปน็ เบอ้ื งหนา้ ,
(ในที่สดุ ได้ทรงเตือนเป็นคร้ังสดุ ทา้ ยว่า) :

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  บดั น้ี เราจกั เตอื นพวกเธอทง้ั หลายวา่
‘สงั ขารทง้ั หลายมคี วามเสอ่ื มไปเปน็ ธรรมดา.  พวกเธอ
ท้ังหลาย จงถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถิด’ ดังน้ี. 
นเ่ี ปน็ วาจาครง้ั สดุ ทา้ ยของตถาคต.

310

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

แผน่ ดนิ ไหว เนอ่ื งดว้ ยการปรนิ พิ พาน 126
-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๒๖, ๑๒๗/๙๘.

อานนท์ !   ในกาลใด ตถาคตปรินิพพาน ด้วย
อนุปาทเิ สสนพิ พานธาต ุ; ในกาลน้ัน ปฐวยี อ่ มไหว ย่อมสั่น
ย่อมสะเทือน.  อานนท์ !  น่ีเป็นเหตุที่แปด เป็นปัจจัย
ทีแ่ ปด แห่งการปรากฏของแผน่ ดนิ ไหวอนั ใหญ่.

311

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

การปรินิพพานของพระองค์ 127
คอื ความทุกข์ร้อนของมหาชน

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๒๙/๑๔๒.

ภิกษุท้ังหลาย !   การทำ�กาลกิริยาของบุคคลเอก
ย่อมเป็นความทุกข์ร้อนของมหาชนเป็นอันมาก.  การทำ�
กาลกริ ยิ าของบคุ คลเอกคนใดเลา่  ?  คอื การท�ำ กาลกริ ยิ าของ
พระตถาคต ผเู้ ปน็ พระอรหนั ต์ ตรสั รชู้ อบดว้ ยพระองคเ์ อง.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   การท�ำ กาลกริ ยิ าของบคุ คลเอกนแ้ี ล
ยอ่ มเปน็ ความทกุ ขร์ อ้ นของมหาชนเปน็ อนั มาก.

312

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

หลงั ปรินิพพาน เทวดาและมนุษย์ 128
จะไมเ่ ห็นตถาคตอกี

-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๕๙/๙๐.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   กายของตถาคตน้ี มตี ณั หาอนั เปน็
เครอ่ื งน�ำ ไปหาภพ ถกู ตถาคตถอนขน้ึ เสยี ไดแ้ ลว้ , ด�ำ รงอย.ู่   
กายน้ียังดำ�รงอยู่เพียงใด เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ยังคง
ไดเ้ หน็ ตถาคตนน้ั อยเู่ พยี งนนั้ เพราะการท�ำ ลายแหง่ กาย,
หลังจากการควบคุมกันอยู่ได้ของชีวิต เทวดาและมนุษย์
ท้งั หลาย จักไมเ่ หน็ ตถาคตนั้นเลย.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอ่ื ขว้ั พวงมะมว่ งขาดแลว้ มะมว่ ง
ทง้ั หลายเหลา่ ใดท่เี นือ่ งข้วั เดียวกัน มะม่วงเหล่านน้ั ทง้ั หมด
ย่อมเป็นของตกตามไปด้วยกันนี้ฉันใด,  ภิกษุท้ังหลาย ! 
กายของตถาคตก็ฉันน้ัน กายของตถาคตมีตัณหาเครื่องนำ�
ไปหาภพ ถกู ตถาคตถอนขนึ้ เสยี ไดแ้ ลว้ , ด�ำ รงอย.ู่   กายน้ี
ด�ำ รงอยเู่ พยี งใด เทวดาและมนษุ ยท์ งั้ หลาย ยงั คงเหน็ ตถาคต
อยชู่ ว่ั เวลาเทา่ นน้ั .  เพราะการท�ำ ลายแหง่ กาย, หลงั จากการ
ควบคุมกันอย่ไู ด้ของชีวิต เทวดาและมนุษย์ท้งั หลาย จักไม่
เห็นตถาคตเลย.

313

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

สังเวชนยี สถานภายหลัง 129
พุทธปรนิ พิ พาน
-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๖๓/๑๓๑.

“ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   แตก่ อ่ นน้ี ภกิ ษทุ งั้ หลายทจ่ี �ำ พรรษา
ในทิศต่างๆ แล้วย่อมมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า.  พวกข้าพระองค์
ท้ังหลาย ไดม้ โี อกาสเห็นภกิ ษทุ ้งั หลายผูน้ า่ เจริญใจเหล่าน้ัน ไดม้ โี อกาส
เขา้ พบปะภกิ ษทุ ง้ั หลายผนู้ า่ เจรญิ ใจเหลา่ นน้ั .  ครน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้
ลว่ งลบั ไปแลว้ พวกขา้ พระองคท์ ง้ั หลาย ยอ่ มหมดโอกาสทจ่ี ะไดเ้ หน็ หรอื
ได้เขา้ พบปะภิกษุทงั้ หลายผ้นู ่าเจรญิ ใจเหลา่ นั้นอีกต่อไป”

อานนท์ !   สถานท่ีที่ควรเห็นและควรเกิดความ
สังเวช แก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา มีอยู่ ๔ ตำ�บล.  ๔ ตำ�บล
อะไรเลา่  ?

(๑) สถานท่ี ท่ีควรเห็นและควรเกิดความสังเวช
แก่กุลบุตรผูม้ ีศรทั ธา ว่าตถาคตประสูติ แลว้ ณ ทีน่ ้ี.

(๒) สถานท่ี ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวช
แก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่าตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมา-
สัมโพธญิ าณแล้ว ณ ทนี่ ้.ี

(๓) สถานที่ ท่ีควรเห็นและควรเกิดความสังเวช
แกก่ ลุ บตุ รผมู้ ศี รทั ธา วา่ ตถาคตไดป้ ระกาศอนตุ ตรธรรมจกั ร
ใหเ้ ปน็ ไปแลว้ ณ ทน่ี .้ี

314

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

(๔) สถานที่ ท่ีควรเห็นและควรเกิดความสังเวช
แกก่ ลุ บตุ รผมู้ ศี รทั ธา วา่ ตถาคตปรนิ พิ พานดว้ ยอนปุ าทเิ สส-
นพิ พานธาตุแลว้ ณ ทีน่ .้ี

อานนท์ !   สถานที่ ที่ควรเห็นและควรเกิดความ
สงั เวชแกก่ ุลบุตรผมู้ ีศรัทธา มี ๔ ต�ำ บลเหล่านแ้ี ล.

อานนท์ !   ภิกษุท้ังหลาย หรือภิกษุณีท้ังหลาย
หรืออุบาสกท้ังหลาย หรืออุบาสิกาทั้งหลาย ผู้มีศรัทธาจัก
พากันมาสู่สถานที่ ๔ ตำ�บลเหล่าน้ี โดยหมายใจว่าตถาคต
ได้ประสูติแล้ว ณ ที่น้ีบ้าง, ตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมา-
สัมโพธิญาณแล้ว ณ ท่ีน้ีบ้าง, ตถาคตได้ประกาศอนุตตร-
ธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว ณ ที่นี้บ้าง, ตถาคตได้ปรินิพพาน
ดว้ ยอนปุ าทเิ สสนพิ พานธาตุ ณ ทีน่ บี้ ้าง ดังนี้.

อานนท์ !   ชนเหล่าใด เที่ยวไปตามเจดียสถาน
จักมีจิตเลื่อมใส ทำ�กาละแล้ว ชนเหล่าน้ัน จักเข้าถึงสุคติ
โลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำ�ลายแห่งกาย
ดงั น.ี้

315

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

สถานที่ท่ีควรจะระลึกตลอดชีวติ 130
-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๓๔/๔๕๑.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   สถานที่ ๓ แหง่ เปน็ ทร่ี ะลกึ ตลอด
ชวี ติ ของพระราชา ผเู้ ปน็ กษตั รยิ ม์ รุ ธาภเิ ษกแลว้ .  ๓ แหง่
ทีไ่ หนบา้ งเล่า ?  ๓ แห่ง คือ :-

พระราชา ผเู้ ปน็ กษตั รยิ ม์ รุ ธาภเิ ษก ประสตู ิ ณ ต�ำ บลใด
ตำ�บลน้ีเป็นท่ีระลึกตลอดชีวิตของพระราชา พระองค์น้ัน
เปน็ แหง่ ทห่ี นง่ึ ,  พระราชา ไดเ้ ปน็ กษตั รยิ ม์ รุ ธาภเิ ษกแลว้
ณ ตำ�บลใด ตำ�บลนี้เป็นที่ระลึกตลอดชีวิตของพระราชา
พระองคน์ น้ั เปน็ แหง่ ทส่ี อง,  พระราชาผเู้ ปน็ กษตั รยิ ม์ รุ ธา-
ภเิ ษก ทรงผจญสงครามไดช้ ยั ชนะแลว้ เขา้ ยดึ ครองสนามรบ
นั้นไว้ได้ ณ ตำ�บลใด ตำ�บลนี้เป็นที่ระลึกตลอดชีวิตของ
พระราชาพระองคน์ นั้ เปน็ แห่งทีส่ าม.

ภิกษุท้ังหลาย !   ฉันใดก็ฉันนั้น : สถานที่สามแห่ง
เป็นท่ีระลึกตลอดชีวิตของภิกษุเหมือนกัน.  สามแห่ง
ท่ไี หนบ้างเล่า ?  สามแห่งคอื :-

316

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุ ปลงผมและหนวด ครองผ้าย้อมนำ้�ฝาด
ออกบวชจากเรือน เป็นผู้ไม่เก่ียวข้องด้วยเรือน ณ สถาน
ที่ใด  สถานที่นี้เป็นท่ีควรระลึกตลอดชีวิตของภิกษุนั้น
เปน็ แห่งท่ีหน่ึง.

ภิกษุ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า ทุกข์เป็นเช่นน้ีๆ,
เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ขเ์ ปน็ เชน่ นๆ้ี , ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ขเ์ ปน็
เชน่ นๆี้ , และขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ขเ์ ปน็
เชน่ นๆ้ี ณ สถานทใี่ ด สถานทน่ี ก้ี เ็ ปน็ ทค่ี วรระลกึ ตลอดชวี ติ
ของภิกษนุ นั้ เปน็ แหง่ ทส่ี อง.

ภกิ ษุ กระท�ำ ใหแ้ จง้ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั หา
อาสวะมไิ ด้ เพราะความสนิ้ ไปแหง่ อาสวะทง้ั หลาย ดว้ ยปญั ญา
อันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรม เข้าถึงแล้วแลอยู่ ณ สถานท่ีใด
สถานทนี่ ก้ี เ็ ปน็ ทค่ี วรระลกึ ตลอดชวี ติ ของภกิ ษนุ นั้ เปน็ แหง่
ท่ีสาม.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   สถานทส่ี ามแหง่ เหลา่ นี้ เปน็ ทคี่ วร
ระลึกตลอดชวี ิตของภิกษุแล.

317





พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : “ตถาคต”

ทรงมีตถาคตพละสิบอยา่ ง 131

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๔๐/๑๖๖, -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๓๓/๖๕.

ภิกษุท้ังหลาย !   ตถาคตเป็นผู้ประกอบด้วยพละ
๑๐ อย่าง  และประกอบด้วยเวสารัชชญาณ ๔ อย่าง
จึงปฎิญญาตำ�แหน่งจอมโลก บันลือสีหนาทประกาศ
พรหมจักร ในท่ามกลางบรษิ ทั ท้ังหลาย.

สารบี ตุ ร !   เหลา่ นเ้ี ปน็ ตถาคตพละ ๑๐ อยา่ ง ของ
ตถาคต ท่ีตถาคตประกอบพร้อมแล้ว ปฎิญญาตำ�แหน่ง
จอมโลก บนั ลอื สหี นาทประกาศพรหมจกั ร ในทา่ มกลางบรษิ ทั
ทง้ั หลายได,้ สบิ อยา่ งคอื :-

(๑) ตถาคต ย่อมรู้ตามเป็นจริง ซ่ึงส่ิงเป็นฐานะ
(คือมีได้เป็นได้) โดยความเป็นส่งิ มีฐานะ, ซ่งึ ส่งิ ไม่เป็นฐานะ
(คอื ไมม่ ไี ดไ้ มเ่ ปน็ ได)้ โดยความเปน็ สง่ิ ใชฐ่ านะ : นเ้ี ปน็ ตถาคตพละ
ของตถาคต.

(๒) ตถาคต ยอ่ มรตู้ ามเปน็ จรงิ ซง่ึ วบิ าก (คอื ผล) ของ
การท�ำ กรรมทเ่ี ปน็ อดตี อนาคต ปจั จบุ นั ไดท้ ง้ั โดยฐานะและ
โดยเหตุ : นก่ี เ็ ปน็ ตถาคตพละของตถาคต.

320

เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

(๓) ตถาคต ยอ่ มรตู้ ามเปน็ จรงิ ซงึ่ ปฏปิ ทาเครอื่ งท�ำ
ผู้ปฏิบัติให้ไปสู่ภูมิทั้งปวงได้  :  นี่ก็เป็นตถาคตพละของ
ตถาคต.

(๔) ตถาคต ยอ่ มรตู้ ามเปน็ จรงิ ซงึ่ โลกนอ้ี นั ประกอบ
ดว้ ยธาตมุ ใิ ชอ่ ยา่ งเดยี ว ดว้ ยธาตตุ า่ งๆ กนั : นก่ี เ็ ปน็ ตถาคต
พละของตถาคต.

(๕) ตถาคต ยอ่ มรตู้ ามเปน็ จรงิ ซง่ึ อธมิ ตุ ิ (คอื ฉนั ทะและ
อธั ยาศยั ) อนั ตา่ งๆ กนั ของสตั วท์ ง้ั หลาย : นก่ี เ็ ปน็ ตถาคตพละ
ของตถาคต.

(๖) ตถาคต ยอ่ มรตู้ ามเปน็ จรงิ ซงึ่ ความยงิ่ และหยอ่ น
แหง่ อินทรียข์ องสัตว์เหล่าอ่นื ของบุคคลเหล่าอ่ืน : นก่ี ็เปน็
ตถาคตพละของตถาคต.

(๗) ตถาคต ยอ่ มรตู้ ามเปน็ จรงิ ซงึ่ ความเศรา้ หมอง
ความผอ่ งแผว้ ความออก แหง่ ฌาน วโิ มกข์ สมาธิ และสมาบตั ิ
ทัง้ หลาย : น่ีกเ็ ปน็ ตถาคตพละของตถาคต.

(๘) ตถาคต ย่อมระลึกได้ ซึ่งขันธ์อันตนเคยอยู่
อาศยั ในภพกอ่ น มชี นดิ ตา่ งๆ กนั คอื ระลกึ ไดช้ าตหิ นงึ่ บา้ ง
สองชาตบิ ้าง1 … : น่ีกเ็ ปน็ ตถาคตพละของตถาคต.

1. ดรู ายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ไดใ้ นหนา้ ๑๗๕ วา่ ดว้ ยวชิ ชาทห่ี นง่ึ .
321

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

(๙) ตถาคต ยอ่ มเหน็ สตั วท์ ง้ั หลายดว้ ยทพิ ยจกั ขอุ นั
หมดจด กา้ วลว่ งจกั ขมุ นษุ ย์ : เหน็ สตั วท์ งั้ หลายผเู้ คลอ่ื นอยู่
บงั เกดิ อย1ู่ … : นกี่ เ็ ป็นตถาคตพละของตถาคต.

(๑๐) ตถาคต ยอ่ มท�ำ ใหแ้ จง้ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ
อนั ไมม่ อี าสวะ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะทง้ั หลายได ้2 … :
นี่กเ็ ปน็ ตถาคตพละของตถาคต.

สารีบุตร !   เหล่านี้แล เป็นตถาคตพละสิบอย่าง
ของตถาคต ที่ตถาคตประกอบแล้ว ย่อมปฏิญญาตำ�แหน่ง
จอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร ให้เป็นไปใน
ทา่ มกลางบรษิ ัททั้งหลาย.

1. ดรู ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ไดใ้ นหนา้ ๑๗๖ วา่ ดว้ ยวชิ ชาทส่ี อง.
2. ดรู ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ไดใ้ นหนา้ ๑๗๗ วา่ ดว้ ยวชิ ชาทสี่ าม.
322

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงทราบความยงิ่ และหยอ่ น 132
แหง่ อนิ ทรยี ข์ องสตั ว์

-บาลี ม. ม. ๑๓/๑๘๗/๑๘๑.

อุทายิ !   บุคคล ๔ จำ�พวกเหล่านี้ มีอยู่ในโลก. 
สจี่ �ำ พวกเหล่าไหนเล่า ?  สจ่ี �ำ พวก คือ :-

อทุ าย ิ!  บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั เิ พอื่ ละ
เพ่ือสลัดคืนซ่ึงอุปธิ ความดำ�ริอันซ่านไป (สรสงฺกปฺปา) ซึ่ง
ประกอบดว้ ยอปุ ธิ กลมุ้ รมุ เขาอย ู่; เขาทนมคี วามด�ำ รอิ นั ซา่ น
ไปเหลา่ นนั้ ไมล่ ะเสยี ไมบ่ รรเทาเสยี ไมก่ ระท�ำ ใหส้ นิ้ สดุ เสยี
ไมก่ ระท�ำ ใหถ้ งึ ซงึ่ ความไมม่  ี;  อทุ าย ิ !  เรายอ่ มกลา่ วบคุ คล
นี้แลว่า เป็นผู้ประกอบอยู่ด้วยกิเลส (สํยุตฺโต) หาใช่เป็น
ผปู้ ราศจากกิเลส (วิสํยุตโฺ ต) ไม.่   เพราะเหตไุ รเราจึงกลา่ ว
อยา่ งนนั้  ?  อทุ าย ิ !  เพราะเหตวุ ่า เรารคู้ วามย่งิ หยอ่ นแห่ง
อินทรยี ์ (ทีม่ อี ย)ู่ ในบุคคลนี.้

อทุ าย ิ !   แตว่ า่ บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิ
เพอ่ื ละ เพอื่ สลดั คนื ซงึ่ อปุ ธิ ความด�ำ รอิ นั ซา่ นไป ซงึ่ ประกอบ
ด้วยอุปธิกลุ้มรุมเขาอยู่ ; เขาไม่ทนมีความดำ�ริอันซ่านไป
เหล่าน้นั เขาละอยู่ บรรเทาอยู่ กระทำ�ให้ส้นิ สุดอยู่ กระทำ�

323

พุทธวจน - หมวดธรรม

ใหถ้ งึ ซง่ึ ความไมม่ อี ย ู่;  อทุ าย ิ !  เรายอ่ มกลา่ วบคุ คลแมน้ ว้ี า่
ยงั เปน็ ผปู้ ระกอบอยดู่ ว้ ยกเิ ลส หาใชเ่ ปน็ ผปู้ ราศจากกเิ ลสไม่
อยู่น่ันเอง.  เพราะเหตุไรเราจึงกล่าวอย่างนั้น ?  อุทายิ !  
เพราะเหตุว่า เรารู้ความย่ิงหย่อนแห่งอินทรีย์ (ท่ีมีอยู่) ใน
บุคคลนี้.

อทุ าย ิ !   แตว่ า่ บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิ
เพ่ือละ เพ่ือสลัดคืนซึ่งอุปธิ ; เพราะการหลงลืมแห่งสติ
ในกาลบางคราว ความด�ำ ริอนั ซา่ นไป ซึง่ ประกอบด้วยอุปธิ
กก็ ลมุ้ รมุ เขาอย ู่;  อทุ าย ิ !  (ระยะเวลาท)ี่ สติ (จะกลบั ) เกดิ ขน้ึ
กย็ งั ชา้ (กวา่ ระยะเวลาท)่ี เขาท�ำ ใหค้ วามด�ำ รนิ น้ั ละไป บรรเทาไป
ส้ินสุดไป ถึงความไม่มีไปอย่างฉบั พลนั , ไปเสียอกี .

อุทายิ !   เปรียบเหมือนบุรุษหยดนำ้�สองสามหยด
ลงไปในกระทะเหลก็ ทร่ี อ้ นเปรย้ี งอยทู่ ง้ั วนั  ; (ระยะเวลาท)่ี น�ำ้ หยด
ลงไปยงั ชา้ (กวา่ ระยะเวลาท)่ี น�ำ้ นน้ั ถงึ ซง่ึ ความเหอื ดแหง้ หายไป
อย่างฉับพลัน, ฉันใด ;  อุทายิ !  ข้อน้ีก็ฉันน้ันเหมือนกัน
กล่าวคือ บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อละ เพ่ือ
สลดั คืนซ่งึ อุปธิ ; เพราะการหลงลืมแหง่ สตใิ นกาลบางคราว
ความดำ�รอิ ันซ่านไป ซึง่ ประกอบด้วยอปุ ธิ ก็กลมุ้ รมุ เขาอย ู่;
อุทายิ !  (ระยะเวลาท่ี) สติ (จะกลับ) เกิดขึ้นก็ยังช้า (กว่าระยะ

324

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

เวลาท่ี) เขาทำ�ให้ความดำ�รินั้นละไป บรรเทาไป สิ้นสุดไป
ถงึ ความไมม่ ี ไปอยา่ งฉบั พลนั , ไปเสยี อกี  ;  อทุ าย ิ !  เรายอ่ ม
กลา่ วบคุ คลแมน้ ว้ี า่ ยงั เปน็ ผปู้ ระกอบอยดู่ ว้ ยกเิ ลส หาใชเ่ ปน็
ผู้ปราศจากกเิ ลสไม่ อยนู่ ่ันเอง.  เพราะเหตุไรเราจึงกลา่ ว
อยา่ งนน้ั  ?  อุทายิ !  เพราะเหตวุ า่ เรารู้ความยิง่ หยอ่ นแหง่
อนิ ทรยี ์ (ทีม่ อี ยู)่ ในบคุ คลน้ี.

อุทายิ !   ก็แต่ว่า บุคคลบางคนในกรณีนี้ รู้แจ้งว่า
“อุปธิเป็นมูลแห่งทุกข์” ดังน้ีแล้ว เป็นผู้ปราศจากอุปธิ
หลดุ พน้ แลว้ เพราะความสน้ิ แหง่ อปุ ธ ิ;  อทุ าย ิ! เรายอ่ มกลา่ ว
บคุ คลนแ้ี ล วา่ เปน็ ผปู้ ราศจากกเิ ลส หาใชเ่ ปน็ ผปู้ ระกอบอยู่
ด้วยกิเลสไม่.  เพราะเหตุไรเราจึงกล่าวอย่างนั้น อุทายิ ! 
เพราะเหตุว่า เรารู้ความย่ิงหย่อนแห่งอินทรีย์ (ที่มีอยู่) ใน
บุคคลนี้.

อุทาย ิ !   บุคคล ๔ จำ�พวกเหลา่ น้แี ล มอี ยูใ่ นโลก.

325

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงทราบความยง่ิ และหยอ่ น 133
แหง่ อนิ ทรยี ข์ องสตั ว์ (นยั ที่ ๒)

-บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๑๕๐/๗๕.

ตรัสกับพระอานนท์ ปรารภเหตุนางมิคสาลากล่าวแย้ง
พระพุทธเจ้าเร่ืองการพยากรณ์ความเป็นอริยบุคคล ระหว่างบิดาของ
ตนเองผู้ประพฤติพรหมจรรย์และเพื่อนของบิดาผู้ไม่ได้ประพฤติ
พรหมจรรย์ แต่พระพุทธเจ้าพยากรณ์ทั้ง ๒ บุคคลว่าเป็นสกทาคามีได้
กายดุสิตเหมอื นกนั .

อานนท์ !   ก็มิคสาลาอุบาสิกาเป็นพาลไม่ฉลาด
เป็นคนบอดมีปัญญาทึบ เป็นอะไร และพระสัมมา-
สัมพุทธเจ้าเป็นอะไร ในญาณเครื่องกำ�หนดรู้ความยิ่งและ
หยอ่ นแหง่ อนิ ทรยี ข์ องบคุ คล.  อานนท ์ !  บคุ คล ๑๐ จ�ำ พวก
น้ีมีอยู่ในโลก ๑๐ จ�ำ พวกเป็นอย่างไรเล่า ?

อานนท ์ !   บุคคลบางคนในโลกน้ีเป็นผู้ทุศีล และ
ไมร่ ชู้ ดั ซง่ึ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั เปน็ ทด่ี บั โดยไมเ่ หลอื
แห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลน้ัน
ไม่กระทำ�กิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำ�กิจแม้ด้วยความเป็น
พหูสูต ไม่แทงตลอดแม้ด้วยทิฏฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อัน
เกดิ ในสมยั เมอ่ื ตายไป เขายอ่ มไปทางเสอื่ มไมไ่ ปทางเจรญิ
ยอ่ มถึงความเสอ่ื ม ไม่ถงึ ความเจรญิ . 

326

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

อานนท์ !   ส่วนบุคคลบางคนในโลกน้ี เป็นผู้ทุศีล
แตร่ ชู้ ดั ซง่ึ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั เปน็ ทดี่ บั โดยไมเ่ หลอื
แห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลน้ัน
กระท�ำ กจิ แมด้ ว้ ยการฟงั กระท�ำ กจิ แมด้ ว้ ยความเปน็ พหสู ตู
แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฏฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิด
ในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเส่ือม
ยอ่ มถงึ ความเจรญิ อยา่ งเดียว ไมถ่ ึงความเสื่อม. 

อานนท์ !   พวกคนผู้ถือประมาณย่อมประมาณใน
เรอื่ งนน้ั ว่า ธรรมแมข้ องคนนก้ี เ็ หลา่ นน้ั แหละ ธรรมแมข้ อง
คนอนื่ กเ็ หลา่ นนั้ แหละ เพราะเหตไุ รในสองคนนน้ั คนหนงึ่ เลว
คนหนงึ่ ดี กก็ ารประมาณของคนผถู้ อื ประมาณเหลา่ นน้ั ยอ่ ม
เป็นไปเพอ่ื มใิ ช่ประโยชน์เกอ้ื กูล เพอ่ื ทุกข์ ตลอดกาลนาน.

อานนท์ !   ในสองคนน้ัน บุคคลใดเป็นผู้ทุศีลและ
รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือ
แห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลน้ัน
กระท�ำ กจิ แมด้ ว้ ยการฟงั กระท�ำ กจิ แมด้ ว้ ยความเปน็ พหสู ตู
แทงตลอดดว้ ยดแี มด้ ว้ ยทฐิ ิ ยอ่ มไดว้ มิ ตุ ตแิ มอ้ นั เกดิ ในสมยั
อานนท ์ !  บคุ คลนด้ี กี วา่ และประณตี กวา่ บคุ คลทก่ี ลา่ วขา้ งตน้
ข้อน้ันเพราะเหตุไรเล่า ?  เพราะกระแสแห่งธรรมย่อม
ถูกตอ้ งบคุ คลน้ี ใครเลา่ จะพึงรเู้ หตนุ ้ันได้ นอกจากตถาคต.

327

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อานนท์ !   เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายอย่า
ได้เป็นผู้ชอบประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณใน
บุคคล เพราะผู้ถือประมาณในบุคคลย่อมทำ�ลายคุณวิเศษ
ของตน เราหรอื ผทู้ ีเ่ หมือนเราพงึ ถอื ประมาณในบคุ คลได.้

(แต่นี้ได้ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับ ในกรณีแห่งบุคคลผู้มีศีล,
มีราคะกลา้ , มักโกรธ, ฟุง้ ซา่ น โดยนยั เดยี วกันกับกรณีของบคุ คลผทู้ ศุ ีล
รวมเปน็ ๑๐ จ�ำ พวก ผศู้ ึกษาพงึ เทยี บเคียงได้เอง -ผูร้ วบรวม)

อานนท์ !   ก็มิคสาลาอุบาสิกาเป็นพาล ไม่ฉลาด
เปน็ คนบอด มปี ญั ญาทบึ เปน็ อะไร และพระสมั มาสมั พทุ ธะ
เป็นอะไร ในญาณเคร่ืองกำ�หนดรู้ความยิ่งและหย่อนแห่ง
อินทรีย์ของบุคคล.  อานนท์ !  บุคคล ๑๐ จำ�พวกน้ีแล
มีปรากฏอยู่ในโลก.

อานนท์ !   บุรุษช่ือปุราณะเป็นผู้ประกอบด้วยศีล
เช่นใด บุรุษชื่ออิสิทัตตะก็เป็นผู้ประกอบด้วยศีลเช่นนั้น
บรุ ุษชื่อปุราณะ จะได้รแู้ ม้คติของบุรษุ ชอ่ื อิสิทตั ตะก็หามิได้
บุรุษชื่ออิสิทัตตะเป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาเช่นใด บุรุษช่ือ
ปรุ าณะกเ็ ปน็ ผปู้ ระกอบดว้ ยปญั ญาเชน่ นน้ั บรุ ษุ ชอ่ื อสิ ทิ ตั ตะ
จะไดร้ แู้ มค้ ติ ของบรุ ษุ ชอ่ื ปรุ าณะกห็ ามไิ ด.้   อานนท ์! คนทง้ั
สองน้ี เลวกวา่ กนั ดว้ ยองคค์ ณุ คนละอยา่ ง ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

328


Click to View FlipBook Version