The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงพยากรณแ์ ลว้ เปน็ หนงึ่ ไมม่ สี อง 134
-บาลี ฉกกฺ . อ.ํ ๒๒/๔๕๐/๓๓๓.

ครง้ั นน้ั ทา่ นพระอานนทไ์ ดก้ ราบทลู พระผมู้ พี ระภาค ถงึ การทม่ี ี
ภิกษุรูปหน่งึ เกิดความสงสัย ท่พี ระผ้พู ระภาคได้พยากรณ์พระเทวทัตว่า
จะตอ้ งเกดิ ในอบาย ตกนรก ตง้ั อยตู่ ลอดกปั ชว่ ยเหลอื ไมไ่ ด้ พระผมู้ พี ระภาค
จงึ ไดต้ รสั วา่ :-

อานนท ์!  กภ็ กิ ษรุ ปู นน้ั จกั เปน็ ภกิ ษใุ หม่ บวชไมน่ าน
หรือว่าเป็นภิกษุเถระ แต่เป็นคนโง่เขลา ไม่ฉลาด เพราะว่า
ขอ้ ทเ่ี ราพยากรณแ์ ลว้ โดยสว่ นเดยี ว จกั เปน็ สองไดอ้ ยา่ งไร.

อานนท์ !   เราย่อมไม่พิจารณาเห็นบุคคลอ่ืนแม้
คนหน่ึง ท่ีเราได้กำ�หนดรู้เหตุท้ังปวงด้วยใจ แล้วพยากรณ์
อย่างน้ี เหมือนเทวทัตเลย หากเราได้เห็นธรรมขาวของ
เทวทัต (ส่วนดี) แม้ประมาณเท่านำ้�ท่ีสลัดออกจากปลาย
ขนทรายเพยี งใด เรากย็ งั ไมพ่ ยากรณเ์ ทวทตั เพยี งนน้ั วา่ เทวทตั
จะตอ้ งเกดิ ในอบาย ตกนรก ตง้ั อยตู่ ลอดกปั ชว่ ยเหลอื ไมไ่ ด้
แตว่ า่ เมอ่ื ใด เราไมไ่ ดเ้ หน็ ธรรมขาวของเทวทตั แมป้ ระมาณ
เท่านำ้�ท่ีสลัดออกจากปลายขนทราย เม่ือน้ัน เราจึงได้
พยากรณ์เทวทัตน้นั ว่า เทวทัตจะต้องเกิดในอบาย ตกนรก
ตง้ั อยตู่ ลอดกปั ชว่ ยเหลอื ไมไ่ ด.้

329

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อานนท ์ !   เปรยี บเหมอื นหลมุ คถู ลกึ ยง่ิ กวา่ ชว่ั บรุ ษุ
เตม็ ดว้ ยคถู เสมอขอบปากหลมุ บรุ ษุ พงึ ตกลงไปทห่ี ลมุ คถู นน้ั
จมมิดศีรษะ บุรุษบางคนผ้หู วังประโยชน์ หวังความเก้อื กูล
หวังความเกษม  ปรารถนาจะยกเขาข้ึนจากหลุมคูถน้ัน
จงึ เขา้ มาหา เขาเดนิ รอบหลมุ คถู นน้ั อยู่ กไ็ มพ่ งึ เหน็ อวยั วะท่ี
ไมเ่ ปอ้ื นคถู ซง่ึ พอจะจบั เขายกขน้ึ มาได้ แมป้ ระมาณเทา่ น�ำ้ ท่ี
สลดั ออกจากปลายขนทรายของบรุ ษุ นน้ั ฉนั ใด.  เรากไ็ มไ่ ด้
เหน็ ธรรมขาวของเทวทตั แมป้ ระมาณเทา่ น�ำ้ ทส่ี ลดั ออกจาก
ปลายขนทราย ฉนั นน้ั เหมอื นกนั เมอ่ื นน้ั เราจงึ ไดพ้ ยากรณ์
เทวทตั วา่ เทวทตั จะตอ้ งเกดิ ในอบาย ตกนรก ตง้ั อยตู่ ลอดกปั
เยยี วยาไมไ่ ด.้

อานนท ์!  เรายอ่ มก�ำ หนดรใู้ จบคุ คลบางคนในโลกน้ี
ดว้ ยใจอยา่ งนว้ี า่ กศุ ลธรรมกด็ ี อกศุ ลธรรมกด็ ี ของบคุ คลน้ี
มีอยู่ สมัยต่อมา เรากำ�หนดรู้ใจบุคคลน้ีด้วยใจอย่างน้ีว่า
กุศลธรรมของบุคคลน้ีหายไป อกุศลธรรมปรากฏขึ้น
เฉพาะหน้า กุศลมูลท่ีบุคคลน้ันยังตัดไม่ขาดมีอยู่ เพราะ
กศุ ลมลู นนั้ กศุ ลอยา่ งอน่ื ของเขาจกั ปรากฏ ดว้ ยอาการอยา่ งนี้
บคุ คลนจ้ี กั เปน็ ผไู้ มเ่ สอ่ื มตอ่ ไปเปน็ ธรรมดา เปรยี บเหมอื น
เมล็ดพืชท่ีไม่หัก ไม่เน่า ไม่ถูกลมและแดดเผา เกิดในต้น
ฤดหู นาว เกบ็ ไวด้ แี ลว้ อนั บคุ คลปลกู ณ ทด่ี นิ อนั พรวนดแี ลว้

330

เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

ในที่นาดี เธอพึงทราบไหมว่า เมล็ดพืชเหล่าน้ี จักถึงความ
เจริญงอกงามไพบลู ย.์

เปน็ อยา่ งนั้น พระเจา้ ข้า !

…อานนท์ !   ตถาคตย่อมกำ�หนดรใู้ จบคุ คลดว้ ยใจ
ดว้ ยอาการอยา่ งนี้ ก�ำ หนดญาณเปน็ เครอ่ื งทราบอนิ ทรยี ข์ อง
บรุ ษุ ดว้ ยใจดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ก�ำ หนดรธู้ รรมทอ่ี าศยั กนั เกดิ
ขน้ึ ต่อไปดว้ ยใจ ดว้ ยอาการอย่างนี้.

อานนท์ !   อนึ่ง เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลบางคน
ในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า กุศลธรรมก็ดี อกุศลธรรมก็ดี
ของบุคคลนี้มีอยู่ สมัยต่อมา เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลน้ัน
ดว้ ยใจอยา่ งนวี้ า่ อกศุ ลธรรมของบคุ คลนห้ี ายไป กศุ ลธรรม
ปรากฏขึ้นเฉพาะหน้า แต่อกุศลมูลที่เขายังตัดไม่ขาดมีอยู่
เพราะอกศุ ลมูลนน้ั อกศุ ลอ่ืนของเขาจักปรากฏ ด้วยอาการ
อย่างน้ี บุคคลน้จี ักเป็นผ้เู ส่อื มต่อไปเป็นธรรมดา เปรียบ
เหมอื นเมลด็ พชื ทไี่ มห่ กั ไมเ่ นา่ ไมถ่ กู ลมและแดดเผา เกดิ ใน
ต้นฤดูหนาว เกบ็ ไวด้ ีแล้ว อนั บุคคลปลูก ณ ทศี่ ลิ าแท่งทึบ
เธอพึงทราบไหมว่า เมล็ดพืชเหล่าน้ี จักไม่ถึงความเจริญ
งอกงามไพบลู ย.์

เปน็ อยา่ งนัน้ พระเจา้ ข้า !

331

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

…อานนท์ !   ตถาคตยอ่ มก�ำ หนดรใู้ จบคุ คลด้วยใจ
ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ก�ำ หนดญาณเปน็ เครอื่ งทราบอนิ ทรยี ข์ อง
บรุ ษุ ดว้ ยใจดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ก�ำ หนดรธู้ รรมทอ่ี าศยั กนั เกดิ
ข้ึนตอ่ ไปด้วยใจ ดว้ ยอาการอย่างน.ี้

อานนท์ !   อน่ึง เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลบางคน
ในโลกน้ีด้วยใจ อย่างน้ีว่า กุศลธรรมก็ดี อกุศลธรรมก็ดี
ของบุคคลน้มี ีอยู่ สมัยต่อมา เราย่อมกำ�หนดร้ใู จบุคคลน้นั
ด้วยใจอย่างน้วี ่า ธรรมขาวของบุคคลน้ี แม้ประมาณเท่า
น�ำ้ ทส่ี ลดั ออกจากปรายขนทรายไมม่ ี บคุ คลนป้ี ระกอบดว้ ย
อกุศลธรรมฝ่ายดำ�อย่างเดียว เม่ือตายไปจักเข้าถึงอบาย
ทุคติ วินิบาต นรก เปรียบเหมือนเมล็ดพืชท่หี ักเน่า ถูกลม
และแดดแผดเผา อันบุคคลปลูก ณ ท่ีดินซ่ึงพรวนดีแล้ว
ในนาดี เธอพึงทราบไหมว่า เมล็ดพืชน้จี ักไม่ถึงความเจริญ
งอกงามไพบลู ย.์

เป็นอย่างน้นั พระเจา้ ขา้  !

…อานนท ์ !   ตถาคตยอ่ มก�ำ หนดรู้ใจบุคคลดว้ ยใจ
ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ก�ำ หนดญาณเปน็ เครอ่ื งทราบอนิ ทรยี ข์ อง
บรุ ษุ ดว้ ยใจดว้ ยอาการอยา่ งนี้ ก�ำ หนดรธู้ รรมทอ่ี าศยั กนั เกดิ
ขึ้นตอ่ ไปดว้ ยใจ ด้วยอาการอย่างน้.ี

332

เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคทรงสามารถบัญญัติ
บคุ คล ๓ จ�ำ พวกนีอ้ อกเป็นส่วนละ ๓ อีกหรือพระเจ้าขา้  !

สามารถ อานนท์ !   เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลบาง
คนในโลกน้ีด้วยใจอย่างน้ีว่า กุศลธรรมก็ดี อกุศลธรรมก็ดี
ของบคุ คลนม้ี อี ยู่ สมยั ตอ่ มา เราก�ำ หนดรใู้ จบคุ คลนน้ั ดว้ ยใจ
อยา่ งนว้ี า่ กศุ ลธรรมของบคุ คลนห้ี ายไป อกศุ ลธรรมปรากฏ
ขน้ึ เฉพาะหน้า แต่กุศลมูลที่เขายังตัดไม่ขาดมีอยู่ และ
กศุ ลมลู นน้ั กถ็ งึ ความถอนขน้ึ โดยประการทง้ั ปวง ดว้ ยประการ
อย่างนี้ บุคคลน้ีจักเป็นผู้เสื่อมต่อไปเป็นธรรมดา เปรียบ
เหมือนถ่านไฟท่ีไฟติดทั่วแล้วลุกโพลงสว่างไสว อันบุคคล
เก็บไว้บนศิลาทึบ เธอพึงทราบไหมว่า ถ่านไฟเหล่านี้จัก
ไมถ่ งึ ความเจรญิ งอกงามไพบลู ย.์

อย่างนั้น พระเจา้ ขา้  !

อานนท์ !   อน่ึง เปรียบเหมือนเม่ือพระอาทิตย์
ตกไปในเวลาเย็น เธอพึงทราบไหมว่า แสงสว่างจักหายไป
ความมดื จกั ปรากฏ.

อย่างน้นั พระเจา้ ขา้  !

อานนท์ !   อน่ึง เปรียบเหมือนในเวลาเสวยพระ-
กระยาหารของราชสกลุ ในเวลาเทยี่ งคนื เธอพงึ ทราบไหมวา่
แสงสว่างหายไปหมดแลว้ ความมดื ได้ปรากฏแลว้ .

อยา่ งนน้ั พระเจา้ ขา้  !

333

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

…อานนท์ !   ตถาคตย่อมก�ำ หนดรู้ใจบุคคลดว้ ยใจ
ดว้ ยอาการอยา่ งนี้ ก�ำ หนดญาณเปน็ เครอ่ื งทราบอนิ ทรยี ข์ อง
บรุ ษุ ดว้ ยใจดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ก�ำ หนดรธู้ รรมทอ่ี าศยั กนั เกดิ ขน้ึ
ตอ่ ไปดว้ ยใจ ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

อานนท์ !   อน่ึง เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลบางคน
ในโลกน้ีด้วยใจอย่างนี้ว่า กุศลธรรมก็ดี อกุศลธรรมก็ดี
ของบุคคลนี้มีอยู่ สมัยต่อมา เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลนั้น
ดว้ ยใจอยา่ งนวี้ า่ อกศุ ลธรรมของบคุ คลนหี้ ายไป กศุ ลธรรม
ปรากฏขึ้นเฉพาะหน้า แต่อกุศลมูลท่ีเขายังตัดไม่ขาด
มีอยู่ และอกุศลมูลแม้น้ัน ก็ถึงความเพิกถอนข้ึนโดย
ประการท้ังปวง ด้วยประการอย่างน้ี บุคคลนี้จักไม่เส่ือม
ต่อไปเป็นธรรมดา เปรียบเหมือนถ่านไฟท่ีไฟติดทั่วแล้ว
ลกุ โพลงสวา่ งไสว อนั บคุ คลเกบ็ ไวบ้ นกองหญา้ แหง้ หรอื บน
กองไม้แห้ง เธอพึงทราบไหมว่า ถ่านไฟเหล่านี้จักถึงความ
เจริญงอกงามไพบูลย์.

อยา่ งน้ัน พระเจ้าข้า !

อานนท ์ !   อนงึ่ เปรยี บเหมอื นเมอื่ พระอาทติ ยก์ �ำ ลงั
ขน้ึ มาในเวลารงุ่ อรณุ เธอพงึ ทราบไหมวา่ ความมดื จกั หายไป
แสงสว่างจกั ปรากฏ.

อย่างนัน้ พระเจา้ ข้า !

334

เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : “ตถาคต”

อานนท์ !   อนึ่ง เปรียบเหมือนในเวลาเสวยพระ-
กระยาหารของราชสกลุ ในเวลาเทย่ี งวนั เธอพงึ ทราบไหมวา่
ความมดื หายไปหมดแล้ว แสงสว่างได้ปรากฏแล้ว.

อยา่ งนั้น พระเจา้ ขา้  !

…อานนท ์ !   ตถาคตย่อมก�ำ หนดรูใ้ จบคุ คลด้วยใจ
ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ก�ำ หนดญาณเปน็ เครอื่ งทราบอนิ ทรยี ข์ อง
บรุ ษุ ดว้ ยใจดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ก�ำ หนดรธู้ รรมทอ่ี าศยั กนั เกดิ ขน้ึ
ตอ่ ไปดว้ ยใจ ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

อานนท์ !   อน่ึง เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลบางคน
ในโลกนด้ี ว้ ยใจอยา่ งนวี้ า่ กศุ ลธรรมกด็ ี อกศุ ลธรรมกด็ ี ของ
บคุ คลนม้ี อี ยู่ สมยั ตอ่ มา เรายอ่ มก�ำ หนดรใู้ จบคุ คลนนั้ ดว้ ยใจ
อย่างนี้ว่า อกุศลธรรมของบุคคลน้ี แม้ประมาณเท่านำ้�ท่ี
สลัดออกจากปลายขนทรายไม่มี บุคคลนี้ประกอบด้วย
ธรรมทไ่ี มม่ โี ทษ เปน็ ธรรมฝา่ ยขาวอยา่ งเดยี ว จกั ปรนิ พิ พาน
ในปจั จบุ นั ทเี ดยี ว เปรยี บเหมอื นถา่ นไฟทเ่ี ยน็ มไี ฟดบั แลว้
อันบุคคลเก็บไว้บนกองหญ้าแห้ง หรือบนกองไม้แห้ง เธอ
พึงทราบไหมว่า ถ่านไฟเหล่านี้จักไม่ถึงความเจริญงอกงาม
ไพบูลย์.

อย่างน้ัน พระเจ้าขา้  !

335

พุทธวจน - หมวดธรรม

…อานนท ์ !   ตถาคตย่อมกำ�หนดรใู้ จบคุ คลดว้ ยใจ
ดว้ ยอาการอยา่ งนี้ ก�ำ หนดญาณเปน็ เครอื่ งทราบอนิ ทรยี ข์ อง
บรุ ษุ ดว้ ยใจดว้ ยอาการอยา่ งนี้ ก�ำ หนดรธู้ รรมทอี่ าศยั กนั เกดิ
ขึ้นตอ่ ไปด้วยใจ ด้วยอาการอย่างน.ี้

อานนท ์ !   บคุ คล ๖ จ�ำ พวกน้ัน บคุ คล ๓ จ�ำ พวก
ข้างต้น คนหนึ่งเป็นผู้ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา คนหนึ่งเป็น
ผู้เสื่อมเป็นธรรมดา คนหนึ่งเป็นผู้เกิดในอบาย ตกนรก
ในบุคคล ๖ จำ�พวกนน้ั บคุ คล ๓ จำ�พวกข้างหลัง คนหนง่ึ
เปน็ ผไู้ มเ่ สอื่ มเปน็ ธรรมดา คนหนง่ึ เปน็ ผเู้ สอื่ มเปน็ ธรรมดา
คนหน่งึ เปน็ ผจู้ ะปรนิ พิ พานเปน็ ธรรมดา.

336

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงทราบคติ ๕ และอุปมา 135

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๔๗-๑๕๓/๑๗๐-๑๗๖.

สารบี ุตร !   คติ ๕ ประการเหล่านี้ มีอย.ู่
๕ ประการ อยา่ งไรเล่า ? คือ :-
(๑) นรก
(๒) ก�ำ เนดิ เดรัจฉาน
(๓) เปรตวสิ ยั
(๔) มนุษย์
(๕) เทวดา
สารบี ตุ ร !   เรายอ่ มรชู้ ดั ซง่ึ นรก ทางยงั สตั วใ์ หถ้ งึ นรก
และปฏปิ ทาอนั จะยงั สตั วใ์ หถ้ งึ นรก อนง่ึ สตั วผ์ ปู้ ฏบิ ตั ปิ ระการ
ใด เบ้อื งหน้าแตต่ ายเพราะกายแตก ย่อมเขา้ ถึงอบาย ทคุ ติ
วนิ บิ าต นรก เรายอ่ มรชู้ ดั ซง่ึ ประการนน้ั ดว้ ย.
สารีบุตร !   เราย่อมรู้ชัดซ่ึงกำ�เนิดเดรัจฉาน ทาง
ยังสัตว์ให้ถึงกำ�เนิดเดรัจฉาน และปฏิปทาอันจะยังสัตว์ให้ถึง
กำ�เนิดเดรัจฉาน อน่ึง สัตว์ผู้ปฏิบัติประการใด เบ้ืองหน้า
แต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงกำ�เนิดเดรัจฉาน เราย่อม
รู้ชัดซงึ่ ประการน้นั ด้วย.
สารบี ตุ ร !   เรายอ่ มรชู้ ดั ซง่ึ เปรตวสิ ยั ทางยงั สตั วใ์ ห้
ถึงเปรตวิสัย และปฏิปทาอันจะยังสัตว์ให้ถึงเปรตวิสัย อนง่ึ

337

พุทธวจน - หมวดธรรม

สตั วผ์ ปู้ ฏบิ ตั ปิ ระการใด เบอ้ื งหนา้ แตต่ ายเพราะกายแตก ย่อม
เข้าถึงเปรตวิสัย เราย่อมรู้ชดั ซ่งึ ประการนนั้ ด้วย.

สารีบุตร !   เราย่อมรู้ชัดซึ่งเหล่ามนุษย์  ทาง
ยังสัตว์ให้ถึงมนุษย์โลก  และปฏิปทาอันจะยังสัตว์ให้ถึง
มนุษย์โลก อน่ึง สัตว์ผ้ปู ฏิบัติประการใด เบอ้ื งหนา้ แต่ตาย
เพราะกายแตก ย่อมบังเกิดในหมู่มนุษย์ เราย่อมรู้ชัดซ่ึง
ประการน้ันดว้ ย.

สารบี ตุ ร !  เรายอ่ มรชู้ ดั ซง่ึ เทวดาทง้ั หลาย ทางยงั สตั ว์
ให้ถึงเทวโลก และปฏิปทาอันจะยังสัตว์ให้ถึงเทวโลก อนึ่ง
สตั วผ์ ปู้ ฏบิ ตั ปิ ระการใด เบอื้ งหนา้ แตต่ ายเพราะกายแตก ยอ่ ม
เขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ เรายอ่ มรชู้ ดั ซงึ่ ประการนน้ั ดว้ ย.

สารีบุตร !   เราย่อมรู้ชัดซึ่งนิพพาน ทางยังสัตว์
ให้ถึงนิพพาน และปฏิปทาอันจะยังสัตว์ให้ถึงนิพพาน อน่งึ
สัตว์ผู้ปฏิบัติประการใด ย่อมกระทำ�ให้แจ้งซ่งึ เจโตวิมุตติ
ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั หาอาสวะมไิ ด้ เพราะอาสวะทง้ั หลายสน้ิ ไป
ด้วยปัญญาอันย่ิงเองในปัจจุบัน เข้าถึงแล้วแลอยู่ เราย่อม
รชู้ ดั ซง่ึ ประการนัน้ ดว้ ย.

อปุ มาการเห็นคติ
สารบี ตุ ร !   เปรยี บเหมอื นหลมุ ถา่ นเพลงิ ลกึ ยง่ิ กวา่
ชัว่ บรุ ษุ เต็มไปด้วยถ่านเพลิง ปราศจากเปลว ปราศจาก

338

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ควนั ล�ำ ดบั นน้ั บรุ ษุ ผมู้ ตี วั อนั ความรอ้ นแผดเผา เหนด็ เหนอื่ ย
หิว ระหาย ม่งุ มาสหู่ ลมุ ถ่านเพลงิ นน้ั แหละ โดยมรรคาสาย
เดียว บุรุษผู้มีจักษุเห็นเขาแล้ว พึงกล่าวอยา่ งนว้ี า่ “บรุ ษุ ผู้
เจรญิ น้ี ปฏบิ ตั อิ ยา่ งนน้ั ด�ำ เนนิ อยา่ งนน้ั และขึ้นสหู่ นทางน้นั  
จักมาถึงหลุมถ่านเพลิงนี้ทีเดียว” โดยสมัยต่อมา บุรุษผู้
มีจักษุนั้น พึงเห็นเขาตกลงในหลุมถ่านเพลิงนั้น เสวย
ทุกขเวทนาอันแรงกลา้ เผด็ รอ้ นโดยส่วนเดียว แม้ฉนั ใด.

สารีบุตร !   เราย่อมกำ�หนดรู้ใจบุคคลบางคนใน
โลกน้ีด้วยใจฉันน้ันเหมือนกันว่า บุคคลน้ีปฏิบัติอย่างน้ัน
ดำ�เนินอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางน้ัน เบ้ืองหน้าแต่ตาย
เพราะกายแตก จักเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
โดยสมัยต่อมา  เราได้เห็นบุคคลน้ัน  เบ้ืองหน้าแต่ตาย
เพราะกายแตก เข้าถึงแล้วซ่ึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
เสวยทุกขเวทนาอันแรงกล้า  เผ็ดร้อนโดยส่วนเดียว
ด้วยทพิ ยจกั ษอุ นั บรสิ ุทธิ์ ลว่ งจักษุของมนุษย์.

(ในกรณอี ปุ มาแหง่ คตอิ นื่ คอื ก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน ทรงอปุ มาดว้ ย
บุรุษตกลงไปในหลุมคูถ, เปรตวิสัย ทรงอุปมาด้วย บุรุษอยู่ใต้ต้นไม้
ตน้ ไม้ อนั เกดิ ในพน้ื ทไ่ี มเ่ สมอ มใี บออ่ นและใบแกอ่ นั เบาบาง มเี งาอนั โปรง่ ,
มนษุ ย์ ทรงอปุ มาดว้ ย บรุ ษุ อยใู่ ตต้ น้ ไม้ อนั เกดิ ในพน้ื ทเ่ี สมอ มใี บออ่ นและ
ใบแกอ่ นั หนา มเี งาหนาทบึ , นพิ พาน ทรงอปุ มาดว้ ย บรุ ษุ อยใู่ นแนวปา่ ทบึ
มสี ระโบกขรณี มนี �ำ้ อนั เยน็ ใสสะอาด มที า่ อนั ดี นา่ รน่ื รมย,์ สามารถศกึ ษา
เพม่ิ เตมิ ไดจ้ าก พทุ ธวจน-หมวดธรรม ฉบบั ๑๑ ภพภมู ิ -ผรู้ วบรวม)

339

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงมีเวสารัชชญาณส่อี ย่าง 136

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๑๐/๘, -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๔๔/๑๖๗.

ภิกษุทั้งหลาย !   เหล่านี้เป็นเวสารัชชญาณสี่อย่าง
ของตถาคต ทต่ี ถาคตประกอบพรอ้ มแลว้ ปฏญิ ญาต�ำ แหนง่
จอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร ในท่ามกลาง
บริษัททง้ั หลายได้, สอี่ ย่างคือ :-

(๑) ตถาคตไม่มองเห็นว่ีแววช่องทางที่จะมีว่า
สมณะหรอื พราหมณ,์ เทพ, มาร, พรหม, หรอื ใครๆ ในโลก
จกั โจททว้ งเราได้ดว้ ยท้ังเหตุผลว่า “ธรรมเหลา่ นีๆ้ อนั ทา่ น
ผปู้ ฏญิ ญาตนเปน็ สมั มาสมั พทุ ธะอยู่ ไมไ่ ดร้ พู้ รอ้ มเฉพาะแลว้ ”
ดังน้ี.  ภิกษุท้ังหลาย !  ตถาคตเม่ือมองหาไม่เห็นว่ีแวว
อนั นน้ั จงึ เปน็ ผถู้ งึ ความเกษม ถงึ ความไมก่ ลวั ถงึ ความเปน็
ผกู้ ลา้ หาญอยูไ่ ด้.

(๒)ตถาคต ไม่มองเห็นว่ีแววช่องทางที่จะมีว่า
สมณะหรอื พราหมณ,์ เทพ, มาร, พรหม, หรอื ใครๆ ในโลก
จกั โจททว้ งเราไดด้ ว้ ยทง้ั เหตผุ ลวา่ “อาสวะเหลา่ นๆ้ี อนั ทา่ น
ผปู้ ฏญิ ญาตนเปน็ ขณี าสพผสู้ น้ิ อาสวะอยู่ ยงั ไมส่ นิ้ รอบแลว้ ”
ดังนี้.  ภิกษุทั้งหลาย !  ตถาคต เม่ือมองหาไม่เห็นว่ีแวว
อนั นนั้ จงึ เปน็ ผถู้ งึ ความเกษม ถงึ ความไมก่ ลวั ถงึ ความเปน็
ผกู้ ล้าหาญอยู่ได.้

340

เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

(๓) ตถาคต ไม่มองเห็นวี่แววช่องทางที่จะมีว่า
สมณะหรอื พราหมณ,์ เทพ, มาร, พรหม, หรอื ใครๆ ในโลก
จักโจทท้วงเราได้ด้วยท้ังเหตุผลว่า “ธรรมเหล่าใด ท่ีท่าน
กล่าวว่าเป็นธรรมทำ�อันตรายแก่ผู้เสพ, ธรรมเหล่าน้ันถึง
เมื่อบุคคลเสพอยู่ ก็หาอาจทำ�อันตรายไม่” ดังน้ี.  ภิกษุ
ท้ังหลาย !  ตถาคตเม่ือมองหาไม่เห็นวี่แววอันน้ัน จึงเป็นผู้
ถงึ ความเกษม ถงึ ความไมก่ ลวั ถงึ ความเปน็ ผกู้ ลา้ หาญอยไู่ ด.้

(๔) ตถาคตไม่มองเห็นว่ีแววช่องทางที่จะมีว่า
สมณะหรอื พราหมณ,์ เทพ, มาร, พรหม, หรอื ใครๆ ในโลก
จักโจทท้วงเราได้ด้วยทั้งเหตุผลว่า “ท่านแสดงธรรมเพ่ือ
ประโยชนอ์ ยา่ งใด ประโยชนน์ นั้ ไมเ่ ปน็ ทางสนิ้ ทกุ ขโ์ ดยชอบ
แกบ่ คุ คลผปู้ ระพฤตติ ามธรรมนนั้ ” ดงั น.้ี   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  
ตถาคต เมื่อมองหาไม่เห็นวี่แววอันน้ัน จึงเป็นผู้ถึงความ
เกษม ถึงความไม่กลัว ถึงความเป็นผ้กู ล้าหาญอยู่ได.้

ภิกษุทั้งหลาย !   เหล่าน้ีแล เป็นเวส3ารัชชญาณ
สอ่ี ยา่ งของตถาคต อนั ตถาคตประกอบพรอ้ มแลว้ ปฏญิ ญา
ต�ำ แหนง่ จอมโลก บนั ลอื สหี นาทประกาศพรหมจกั ร ใหเ้ ปน็
ไปในทา่ มกลางบรษิ ัทท้งั หลาย.

341

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงมีอทิ ธิบาทเพ่ืออยู่ได้ถึงกปั ป์ 137
-บาลี อ.ุ ข.ุ ๒๕/๑๗๐/๑๒๗.

อานนท์ !   อิทธิบาทส่ีประการ อันบุคคลใดเจริญ
ท�ำ ใหม้ าก ท�ำ ใหเ้ ปน็ ดจุ ยาน ท�ำ ใหเ้ ปน็ ดจุ ทรี่ องรบั ใหเ้ กดิ ขน้ึ
มัน่ คงแล้ว อบรมทว่ั ถงึ ดีแลว้ ปรารภหนักแน่นแล้ว.  เม่อื
บุคคลน้ันปรารถนา เขาก็พึงตั้งอยู่ได้กัปป์หน่ึง หรือย่ิงขึ้น
ไปกวา่ กปั ป.์

อานนท์ !   อิทธิบาทส่ีประการน้ัน อันตถาคตนี้แล
ได้เจริญ ทำ�ให้มากแล้ว ทำ�ให้เป็นดุจยาน ทำ�ให้เป็นดุจ
ที่รองรับ ให้เกิดข้ึนม่ันคงแล้ว อบรมทั่วถึงดีแล้ว ปรารภ
หนักแน่นแล้ว, ถ้าตถาคตปรารถนา ตถาคตก็พึงตั้งอยู่ได้
กัปปห์ นงึ่ หรือยิ่งข้ึนไปกว่ากัปป์ ดังน้ี.

342

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงแสดงฤทธไิ์ ด้ เพราะอทิ ธิบาทสี่ 138
. -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๓๗๒/๑๒๔๕.

ภิกษุทั้งหลาย !   พวกเธอจะสำ�คัญความข้อน้ี
ว่าอย่างไร คือ เพราะได้เจริญหรือทำ�ให้มากซึ่งธรรมเหล่า
ไหนเล่า ตถาคตจึงเป็นผู้มีฤทธ์ิมากอย่างน้ี มีอานุภาพมาก
อยา่ งน้ี ?

“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้าพระองค์ทั้งหลายมีพระผู้มี
พระภาคเป็นมูล มีพระผู้มีพระภาคเป็นผู้นำ� ขอพระผู้มีพระภาคจง
ทรงแสดงเนอื้ ความนน้ั เถดิ , ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จกั ไดท้ รงจ�ำ ไว”้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย
ทูลตอบ.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะไดเ้ จรญิ และท�ำ ใหม้ ากซงึ่
อิทธิบาทส่ีประการ, ตถาคตจึงเป็นผู้มีฤทธ์ิมากอย่างนี้
มีอานุภาพมากอย่างน้ี. อิทธิบาทส่ีประการอย่างไหนเล่า
ภิกษุทั้งหลาย !  ในเรื่องนี้ ตถาคตย่อมเจริญอิทธิบาท อัน
ประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง ซ่ึงมีสมาธิอาศัย
ฉนั ทะเปน็ ปธานกจิ วา่ ดว้ ยอาการอยา่ งน,ี้ ฉนั ทะของเรายอ่ ม
มีในลักษณะท่ีจักไม่ย่อหย่อน, ท่ีจักไม่เข้มงวดเกิน, ที่จัก
ไม่สยบอยู่ในภายใน, ท่ีจักไม่ส่ายไปในภายนอก ; ตถาคต
ยอ่ มเปน็ ผมู้ คี วามรสู้ กึ ทงั้ ในสว่ นทจี่ ะมมี า และสว่ นทล่ี ว่ งมา
แล้วแต่กาลก่อน : กาลก่อนก็เหมือนภายหลัง ภายหลังก็

343

เหมือนกาลก่อน, เบื้องล่างก็เหมือนเบ้ืองบน เบ้ืองบนก็
เหมอื นเบอ้ื งลา่ ง, กลางวนั เหมอื นกลางคนื กลางคนื เหมอื น
กลางวนั : ยอ่ มเจรญิ จติ อนั ประกอบดว้ ยแสงสวา่ ง ดว้ ยจติ อนั
ตนเปิดแล้ว ด้วยอาการอยา่ งนี้ ไมม่ ีอะไรหมุ้ ห่อ.

(ตอ่ ไปนที้ รงแสดงดว้ ยสมาธอิ นั อาศยั วริ ยิ ะ…จติ ตะ…วมิ งั สา
เปน็ ปธานกจิ โดยเนอื้ ความอยา่ งเดยี วกนั แปลกกนั แตช่ อ่ื ของอทิ ธบิ าท,
จนครบทัง้ ๔ อย่าง)

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเจรญิ ท�ำ ใหม้ ากซงึ่ อทิ ธบิ าท
สอ่ี ยา่ งเหลา่ นแ้ี ล ตถาคตจงึ เปน็ ผมู้ ฤี ทธม์ิ ากอยา่ งน้ี มอี านภุ าพ
มากอยา่ งน.้ี   ตถาคตยอ่ มแสดงอทิ ธวิ ธิ มี อี ยา่ งตา่ งๆ ได้ :
ผูเ้ ดียวแปลงรปู เปน็ หลายคน, หลายคนเป็นคนเดยี ว, ท�ำ ท่ี
กำ�บงั ใหเ้ ปน็ ท่ีแจง้ ทำ�ท่แี จ้งใหเ้ ป็นทก่ี ำ�บงั , ไปได้ไมข่ ัดขอ้ ง
ผ่านทะลุฝา ทะลุกำ�แพง ทะลุภูเขา ดุจไปในอากาศว่างๆ,
ผดุ ขนึ้ และด�ำ ลงในแผน่ ดนิ ไดเ้ หมอื นในน�้ำ , เดนิ ไดเ้ หนอื น�ำ้
เหมอื นเดนิ บนแผน่ ดนิ , ไปไดใ้ นอากาศเหมอื นนกมปี กี ทง้ั ท่ี
ยงั นงั่ ขดั สมาธคิ บู้ ลั ลงั ก,์ ลบู คล�ำ ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์
อนั มฤี ทธอ์ิ านภุ าพมาก ไดด้ ว้ ยฝา่ มอื และแสดงอ�ำ นาจดว้ ยกาย
เป็นไปตลอดถึงพรหมโลกได.้

344

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงมีปาฏิหารยิ ์สามอยา่ ง 139

-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๒๗๓/๓๓๙.

เกวฏั ฏะ !   นปี่ าฏหิ ารยิ ส์ ามอยา่ ง ทเ่ี ราไดท้ �ำ ใหแ้ จง้
ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ ประกาศใหผ้ อู้ น่ื รไู้ ด.้   สามอยา่ ง
อะไรเลา่  ? สามอยา่ งคอื อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ์ อาเทสนาปาฏหิ ารยิ ์
และอนุศาสนีปาฏิหารยิ .์

(๑) เกวฏั ฏะ !  อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ น์ น้ั เปน็ อยา่ งไรเลา่  ?
เกวฏั ฏะ ! ภกิ ษใุ นกรณนี ี้ กระท�ำ อทิ ธวิ ธิ มี อี ยา่ งตา่ งๆ : ผเู้ ดยี ว
แปลงรปู เปน็ หลายคน,หลายคนเปน็ คนเดยี ว, ท�ำ ทกี่ �ำ บงั ให้
เปน็ ทแี่ จง้ ท�ำ ทแี่ จง้ ใหเ้ ปน็ ทกี่ �ำ บงั , ไปไดไ้ มข่ ดั ขอ้ ง ผา่ นทะลฝุ า
ทะลกุ �ำ แพง ทะลภุ เู ขา ดจุ ไปในอากาศวา่ งๆ, ผดุ ขนึ้ และด�ำ ลง
ในแผน่ ดินไดเ้ หมอื นในนำ้�, เดินไปได้เหนือนำ้� เหมอื นเดนิ
บนแผ่นดิน, ไปได้ในอากาศเหมือนนกมีปีก ท้ังท่ียังน่ัง
สมาธคิ บู้ ลั ลงั ก.์   ลบู คล�ำ ดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทติ ยอ์ นั มฤี ทธ์ิ
อานุภาพมาก ได้ด้วยฝ่ามือ. และแสดงอำ�นาจทางกายเป็น
ไปตลอดถึงพรหมโลกได้.  เกวัฏฏะ !  กุลบุตรผู้มีศรัทธา
เลื่อมใสได้เห็นการแสดงนน้ั แลว้ เขาบอกเลา่ แกก่ ุลบตุ รอน่ื
บางคน ที่ไม่ศรัทธาเลื่อมใสว่า น่าอัศจรรย์นัก.  กุลบุตร

345

พุทธวจน - หมวดธรรม

ผไู้ มม่ ศี รทั ธาเลอ่ื มใสนนั้ กจ็ ะพงึ ตอบวา่ วชิ าชอ่ื คนั ธาร1ี มอี ยู่
ภกิ ษนุ น้ั แสดงอทิ ธวิ ธิ ดี ว้ ยวชิ านน่ั เทา่ นน้ั (หาใชม่ ปี าฏหิ ารยิ ไ์ ม)่ ,
เกวฏั ฏะ !  ทา่ นจะเขา้ ใจวา่ อยา่ งไร : กค็ นไมเ่ ชอ่ื ไมเ่ ลอ่ื มใส
ยอ่ มกลา่ วตอบผู้เชื่อผู้เล่ือมใส ได้อย่างนัน้ มิใช่หรอื .

“พงึ ตอบได,้ พระองค์ !”

เกวฏั ฏะ !   เราเหน็ โทษในการแสดงอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ์
ดงั นแ้ี ล จึงอดึ อัดขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออทิ ธิปาฏหิ าริย์.

(๒) เกวัฏฏะ !   อาเทสนาปาฏิหาริย์นั้น เป็น
อย่างไรเล่า ? เกวัฏฏะ !  ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทายจิต ทาย
ความรู้สึกของจิต ทายความตรึก ทายความตรอง ของสัตว์
เหล่าอ่ืน ของบุคคลเหล่าอ่ืนได้ว่า ใจของท่านเช่นน้ี ใจของ
ทา่ นมปี ระการน้ี ใจของทา่ นมดี ว้ ยอาการอยา่ งน.้ี … กลุ บตุ ร
ผู้ไม่เชื่อ ไม่เล่ือมใส ย่อมค้านกุลบุตรผู้เช่ือผู้เล่ือมใสว่า
วิชาช่ือมณิกา มีอยู่  ภิกษุนั้นกล่าวทายใจได้เช่นนั้นๆ
ก็ด้วยวิชาน้ัน (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), เกวัฏฏะ !  ท่านจะเข้าใจ
ว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อไม่เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เช่ือ
ผูเ้ ล่อื มใสได้อยา่ งนั้น มิใชห่ รือ ?

“พึงตอบได้, พระองค์ !”

1. คนั ธารี ชอ่ื มนต์ แตง่ โดยฤษมี นี ามคนั ธาระ, อกี อยา่ งหนง่ึ วา่ ในแควน้ คนั ธาระ. -ผแู้ ปล
346

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

เกวัฏฏะ !   เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนา-
ปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่อ
อาเทสนาปาฏิหารยิ .์

(๓) เกวัฏฏะ !   อนุศาสนีปาฏิหาริย์นั้น เป็น
อยา่ งไรเลา่  ? เกวฏั ฏะ !  ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ยอ่ มสงั่ สอนวา่ ทา่ น
จงตรกึ อยา่ งนๆ้ี อยา่ ตรกึ อยา่ งนน้ั ๆ, จงท�ำ ไวใ้ นใจอยา่ งนๆ้ี
อย่าทำ�ไว้ในใจอยา่ งนัน้ ๆ จงละส่งิ นๆี้ เสยี , จงเขา้ ถึงส่ิงนีๆ้
แลว้ แลอยู่ ดงั น้ี น้เี ราเรียกวา่ อนุศาสนีปาฏหิ ารยิ .์

เกวัฏฏะ !   …1เหล่าน้ีแล เป็นปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง
ท่ีเราได้ทำ�ให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้
ผู้อื่นรตู้ ามด้วย.

1. ระหว่างน้ี ทรงแสดงข้อปฏิบัติ เร่ืองศีล สันโดษ สติสัมปชัญญะ … ว่าเป็น
อนศุ าสนปี าฏหิ ารยิ ข์ องพระองค์ อนั หนงึ่ ๆ ทกุ อนั . -ผแู้ ปล
347

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงเปล่งเสยี งคราวเดียว 140
ได้ยนิ ตลอดทกุ โลกธาตุ
-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๙๒/๕๒๐.

อานนท ์ !   ดวงจนั ทรด์ วงอาทติ ยแ์ ผร่ ศั มสี อ่ งแสงให้
สว่างไปท่ัวทิศกินเน้ือท่ีประมาณเท่าใด โลกมีเน้ือท่ีเท่าน้ัน
มีจำ�นวนพันหน่ึง.  ในพันโลกน้ัน มีดวงจันทร์พันดวง
ดวงอาทิตย์พันดวง ภูเขาสิเนรุพันลูก ชมพูทวีปพันทวีป
อมรโคยานพันทวีป อุตรกุรุพันทวีป ปุพพวิเทหะพันทวีป
มหาสมทุ รสพ่ี นั มหาราชสพ่ี นั จาตมุ มหาราชพนั หนง่ึ ดาวดงึ ส์
พันหน่ึง ยามาพันหน่ึง ดุสิตพันหน่ึง นิมมานรดีพันหน่ึง
ปรนิมมิตวสวัตตีพันหน่ึง  พรหมพันหน่ึง  น้ีเรียกว่า
สหสั สจี ฬู นกิ าโลกธาต.ุ

สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุมีขนาดเท่าใด โลกธาตุขนาด
เทา่ นน้ั ค�ำ นวณทวขี น้ึ โดยสว่ นพนั นน้ั เรยี กวา่ ทวสิ หสั สมี ชั ฌมิ กิ า
โลกธาต.ุ

ทวิสหัสสีมัชฌิมิกาโลกธาตุมีขนาดเท่าใด โลกธาตุ
ขนาดเท่าน้ัน  คำ�นวณทวีข้ึนโดยส่วนพัน  น้ันเรียกว่า
ตสิ หสั สมี หาสหสั สโี ลกธาต.ุ

348

เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

อานนท์ !   ตถาคต เม่อื มีความจำ�นง ก็ย่อมพูดให้
ตสิ หสั สมี หาสหสั สโี ลกธาตุ ไดย้ นิ เสยี งทว่ั กนั ได,้ หรอื วา่ จ�ำ นง
ใหไ้ ดย้ นิ เพยี งเทา่ ใด กไ็ ด.้

“ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า !   เป็นไปได้ด้วยวิธีอย่างใด
พระเจ้าข้า ”

อานนท ์!  ตถาคตอยทู่ น่ี ่ี จะพงึ แผร่ ศั มี มโี อภาสสวา่ ง
ไปทว่ั ตสิ หสั สมี หาสหสั สโี ลกธาตุ เสยี กอ่ น , เมอ่ื สตั วเ์ หลา่ นน้ั
ร้สู ึกต่อแสงสว่างอันน้นั แล้วตถาคตก็จะบันลือเสียง ให้สัตว์
เหล่าน้ันได้ยิน.  อย่างน้ีแล อานนท์ !  ตถาคตจะพูดให้
ติสหัสสีมหาสหัสสีโลกธาตุ ได้ยินเสียงท่วั กันได้, หรือจำ�นง
ใหไ้ ดย้ นิ เพยี งเทา่ ใดกไ็ ด.้

349

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

ความหมายของสัพพญั ญทู ่ีแท้จรงิ 141
-บาลี ม. ม. ๑๓/๒๓๗/๒๔๑.

วัจฉะ !   พวกชนเหล่าใด ท่ีกล่าวว่า “พระสมณ-
โคดม เป็นผู้สัพพัญญูรู้สิ่งท้ังปวงอยู่เสมอเป็นธรรมดา
เปน็ ผสู้ พั พทสั สาวี เหน็ สงิ่ ทงั้ ปวงอยเู่ สมอเปน็ ธรรมดา และ
ปฏญิ ญาความรคู้ วามเหน็ ทว่ั ทกุ กาลไมม่ สี ว่ นเหลอื วา่ เมอ่ื เรา
เที่ยวไปๆ ก็ดี หยุดอยู่ก็ดี หลับอยู่ก็ดี ตื่นอยู่ก็ดี ความรู้
ความเห็นน้ัน ย่อมปรากฏแก่เราติดต่อเนื่องกันอยู่เสมอ”
ดังน้ี.  ชนพวกน้ันไม่ได้กล่าวตรงตามที่เรากล่าว, แต่เขา
กล่าวตเู่ ราดว้ ยค�ำ อันไม่มจี ริง ไมเ่ ป็นจรงิ .

วัจฉะ !   ต่อเราต้องการจะน้อมจิตไปเฉพาะเพ่ือ
บุพเพนิวาสานุสสติญาณเราจึงตามระลึกถึง ขันธ์ท่ีเคยอยู่
อาศัยในภพก่อน … , ต่อเราต้องการจะน้อมจิตไปเฉพาะ
เเรพาือ่ ทท�ำ ิพใหพแ้ จจักง้ ขเจญุ โาตณวิมเุตราตจิ งึปนัญ้อญมาจวติ ิมไุตปตเพิ …่อื ทแพิ ลพ้วแจกัลขอญุยู่.า1ณ …

วัจฉะ !   เมื่อผู้ใดกล่าวให้ชัดว่า “พระสมณโคดม
มีวิชชาสาม” ดังนี้จึงจะชื่อว่า ไม่กล่าวตู่เราด้วยคำ�ไม่จริง,
เปน็ การกลา่ วถกู ตอ้ งตามธรรม และผทู้ ก่ี ลา่ วตามเขาตอ่ ๆ ไป
ก็จะไมต่ กไปในฐานะอนั ใครจะพงึ ติเตียนได้.

1. สามารถอา่ นความเตม็ ไดใ้ นสว่ นของวชิ ชา ๓ ในหนา้ ๑๗๕-๑๗๗. -ผรู้ วบรวม
350

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

ไมท่ รงมคี วามลบั 142
ทตี่ อ้ งใหใ้ ครชว่ ยปกปดิ
-บาลี ปญจฺ ก. อ.ํ ๒๒/๑๔๒/๑๐๐.

โมคคลั ลานะ !   ตถาคตเปน็ ผทู้ ่ีมี ศลี บรสิ ทุ ธิ์ ดอี ยู่
เสมอ จงึ ปฏญิ ญาวา่ เราเปน็ ผมู้ ศี ลี บรสิ ทุ ธแิ์ ลว้ .  ศลี ของเรา
บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่เศร้าหมองเลย, สาวกทั้งหลาย จึง
ไมต่ อ้ งชว่ ยกนั ท�ำ การปอ้ งกนั ใหต้ ถาคต ในเรอ่ื งอนั เกย่ี วกบั ศลี ,
ทั้งตถาคตก็ไม่หวังการป้องกันจากสาวกท้ังหลาย ในเรื่อง
อันเก่ียวกับศีลเลย.

โมคคัลลานะ !   ตถาคตเป็นผู้ท่ีมี อาชีวะบริสุทธ์ิ
ดีอยู่เสมอ จึงปฏิญญาว่าเราเป็นผู้มีอาชีวะบริสุทธิ์แล้ว. 
อาชีวะของเราบริสุทธ์ิ ขาวผ่อง ไม่เศร้าหมองเลย, สาวก
ทงั้ หลาย จงึ ไมต่ อ้ งชว่ ยการท�ำ การปอ้ งกนั ใหต้ ถาคต ในเรอ่ื ง
อนั เกยี่ วกบั อาชวี ะ, ทง้ั ตถาคตกไ็ มห่ วงั การปอ้ งกนั จากสาวก
ท้ังหลาย ในเรอ่ื งอันเกีย่ วกับอาชวี ะเลย.

โมคคลั ลานะ !   ตถาคตเป็นผู้ที่มี การแสดงธรรม
บรสิ ทุ ธ์ิ ดอี ยเู่ สมอ จงึ ปฏญิ ญาวา่ เราเปน็ ผมู้ กี ารแสดงธรรม
บรสิ ทุ ธ.ิ์   การแสดงธรรมของเราบรสิ ทุ ธิ์ ขาวผอ่ ง ไมเ่ ศรา้
หมองเลย, สาวกทงั้ หลาย จึงไม่ต้องช่วยการทำ�การปอ้ งกัน

351

พุทธวจน - หมวดธรรม

ให้ตถาคต ในเรื่องอันเก่ียวกับการแสดงธรรม, ท้ังตถาคต
ก็ไม่หวังการป้องกันจากสาวกท้ังหลาย ในเร่ืองอันเกี่ยวกับ
การแสดงธรรมเลย.

โมคคลั ลานะ !   ตถาคตเปน็ ผทู้ มี่ ี การตอบค�ำ ถาม
บรสิ ทุ ธิ์ ดอี ยเู่ สมอ จงึ ปฏญิ ญาวา่ เราเปน็ ผมู้ กี ารตอบค�ำ ถาม
บรสิ ทุ ธ.ิ์   การตอบค�ำ ถามของเราบรสิ ทุ ธิ์ ขาวผอ่ ง ไมเ่ ศรา้
หมองเลย, สาวกทั้งหลาย จึงไมต่ ้องชว่ ยการทำ�การป้องกัน
ให้ตถาคต ในเรื่องอันเก่ียวกับการตอบคำ�ถาม, ท้ังตถาคต
ก็ไม่หวังการป้องกันจากสาวกท้ังหลาย ในเร่ืองอันเกี่ยวกับ
การตอบค�ำ ถามเลย.

โมคคัลลานะ !   ตถาคตเป็นผู้ที่มี ญาณทัสสนะ
บริสุทธ์ิ ดีอยู่เสมอ จึงปฏิญญาว่า เราเป็นผู้มีญาณทัสสนะ
บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว้ .  ญาณทสั สนะของเราบรสิ ทุ ธ์ิ ขาวผอ่ ง ไมเ่ ศรา้
หมองเลย, สาวกทง้ั หลายจึงไม่ ตอ้ งช่วยการทำ�การปอ้ งกนั
ให้ตถาคต ในเร่ืองอันเกี่ยวกับญาณทัสสนะ, ทั้งตถาคต
ก็ไม่หวังการป้องกันจากสาวกท้ังหลาย ในเรื่องอันเก่ียวกับ
ณาณทัสสนะเลย, ดังน.้ี

352

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ส่ิงทพี่ ระองคไ์ ม่ต้องส�ำรวมรกั ษา 143
-บาลี สตตฺ ก. อ.ํ ๒๓/๘๔/๕๕.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ธรรมสอ่ี ยา่ งเหลา่ น้ี เปน็ สง่ิ ทต่ี ถาคต
ไม่ต้องสำ�รวมรักษา (ด้วยเจตนางดเว้นอีกต่อไป).  ส่ีอย่าง
เหล่าไหนเลา่  ?

(๑) ภิกษุท้ังหลาย !   ตถาคต มีมรรยาททางกาย
บริสุทธส์ิ ะอาด, กายทุจริตท่ีตถาคตต้องรักษา (คือปิดบัง)
ว่า “ใครๆ อื่น อยา่ ลว่ งรู้ถึงกายทุจริตข้อน้ขี องเรา” ดงั นี้
ย่อมไมม่ ีแกต่ ถาคต.

(๒) ภิกษุท้ังหลาย !   ตถาคต มีมรรยาททางวาจา
บรสิ ทุ ธสิ์ ะอาด, วจที จุ รติ ทต่ี ถาคตตอ้ งรกั ษา วา่ “ใครๆ อน่ื
อย่าล่วงรู้ถึงวจีทุจริตข้อน้ีของเรา” ดังน้ี  ย่อมไม่มีแก่
ตถาคต.

(๓) ภิกษุทั้งหลาย !   ตถาคต มีมรรยาททางใจ
บรสิ ทุ ธส์ิ ะอาด, มโนทจุ รติ ทต่ี ถาคตตอ้ งรกั ษา วา่ “ใครๆ อน่ื
อย่าลว่ งรู้ถึงมโนทุจรติ ข้อนี้ของเรา” ดงั น ี้ ยอ่ มไมม่ แี ก่
ตถาคต.

(๔) ภิกษุท้ังหลาย !   ตถาคต มีการเล้ียงชีพ
บรสิ ทุ ธส์ิ ะอาด, มจิ าฉาชพี ทต่ี ถาคตตอ้ งรกั ษา วา่ “ใครๆ อนื่
อย่าล่วงรู้ถึงมิจฉาชีพข้อนี้ของเรา” ดังนี้  ย่อมไม่มีแก่
ตถาคตเลย.

353

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงยนื ยันในคุณธรรมของพระองค์ 144
-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๒๑๘/๒๗๑.

(๑) กัสสปะ !   สมณพราหมณ์บางพวกเป็น
สีลวาที, เขากล่าวพรรณาคุณแห่งศีลโดยอเนกปริยาย. 
กัสสปะ !   ปรมศีลอันประเสริฐ (อริยะ) มีได้ด้วยเหตุมี
ประมาณเทา่ ใด เราไม่มองเหน็ ใครจะเสมอด้วยเรา ในสว่ น
ปรมศลี อนั ประเสรฐิ นน้ั : ผทู้ ยี่ ง่ิ ไปกวา่ เรา จะมมี าแตไ่ หนเลา่ . 
เราแล, ทแ่ี ทเ้ ป็นผยู้ ่งิ ใน อธิศีล.

(๒) กัสสปะ !   สมณพราหมณ์บางพวกเป็น
ตโปชิคุจฉวาที, เขากล่าวพรรณนาคุณแห่งการเกลียดกัน
กิเลสด้วยตบะโดยอเนกปริยาย.  กัสสปะ !  การเกียดกัน
กิเลสด้วยตบะ อันอย่างยิ่งและประเสริฐ มีได้ด้วยเหตุมี
ประมาณเท่าใด เราไม่มองเหน็ ใครจะเสมอดว้ ยเรา ในส่วน
การเกียดกันกิเลสด้วยตบะอันอย่างยิ่งและประเสริฐนั้น :
ผู้ที่ย่ิงไปกว่าเรา จะมีมาแต่ไหนเล่า.  เราแล, ท่ีแท้เป็น
ผยู้ ่งิ ใน อธิเชคจุ ฉะ (คอื อธจิ ิต).

(๓) กัสสปะ !   สมณพราหมณ์บางพวกเป็น
ปัญญาวาที, เขากล่าวพรรณาคุณแห่งปัญญาโดยอเนก-
ปรยิ าย.  กสั สปะ !  ปรมปญั ญาอนั ประเสรฐิ มไี ดด้ ว้ ยเหตุ

354

เปิดธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

มปี ระมาณเทา่ ใด เราไมม่ องเหน็ ใครจะเสมอดว้ ยเรา ในสว่ น
ปรมปัญญาอันประเสริฐน้ัน : ผู้ท่ีย่ิงไปกว่าเรา จะมีมาแต่
ไหนเลา่ .  เราแล, ท่ีแทเ้ ปน็ ผยู้ ่งิ ใน อธิปญั ญา.

(๔) กัสสปะ !   สมณพราหมณ์บางพวกเป็น
วิมุตติวาที, เขากล่าวพรรณาคุณแห่งวิมุตติโดยอเนก-
ปริยาย.  กัสสปะ !   ปรมวิมุตติอันประเสริฐ มีได้ด้วย
เหตุมีประมาณเท่าใด  เราไม่มองเห็นใครจะเสมอด้วยเรา
ในส่วนปรมวิมุตติอันประเสริฐนั้น : ผู้ที่ยิ่งไปกว่าเรา จะมี
มาแตไ่ หนเล่า.  เราแล, ที่แท้เป็นผยู้ ิ่งใน อธิวิมุตต.ิ

355

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงบังคับใจไดเ้ ดด็ ขาด 145

-บาลี จตุ กกฺ . อ.ํ ๒๑/๔๗/๓๕.

พราหมณ์ !   เราเป็นผู้ปฏิบัติแล้วเพื่อความเกื้อกูล
แก่มหาชน เพ่ือความสุขแก่มหาชน.  เราได้ประดิษฐาน
มหาชนไว้แล้วในอริยญายธรรม คือในความเป็นผู้มีธรรม
อนั งดงาม มธี รรมเปน็ กศุ ล.  พราหมณ ์ !  เราอยากตรติ รกึ
(วติ ก) ไปในวติ กเรอ่ื งใด กต็ รติ รกึ ในวติ กนน้ั ได,้ เราไมอ่ ยาก
ตริตรึกไปในวิตกเรื่องใด ก็ไม่ตริตรึกไปในวิตกน้ันได้1. 
เราอยากดำ�ริ (สังกัปปะ) ไปในความดำ�ริอย่างใด ก็ดำ�ริใน
ความด�ำ รนิ ั้นได,้ เราไม่อยากด�ำ ริในความด�ำ รอิ ย่างใด ก็ไม่
ดำ�ริไปในความดำ�ริอย่างนั้นได้.  พราหมณ์ !  เราเป็น
ผู้บรรลุแล้วซึ่งความมีอำ�นาจเหนือจิตในคลองแห่งวิตก
ท้ังหลาย, เราจงึ มีธรรมดาไดฌ้ านทง้ั ส่ี อนั เป็นการอยู่อยา่ ง
ผาสุกยิ่ง ในชาติน้ี, เราได้โดยง่ายดาย ไม่ยาก ไม่ลำ�บาก.
พราหมณ ์ !  เราแล, เพราะความสน้ิ อาสวะทง้ั หลาย, ไดท้ �ำ ให้
แจ้งแล้วซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันปราศจากอาสวะ
ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เอง ในทฏิ ฐธรรม เขา้ ถงึ วมิ ตุ ตนิ น้ั แลว้ แลอย.ู่

1. คอื ทรงบงั คบั จติ ใหค้ ดิ หรอื ไมใ่ หค้ ดิ กไ็ ด้ หรอื ใหค้ ดิ เฉพาะเรอ่ื งใดกไ็ ด.้ -ผแู้ ปล
356

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงมคี วามคงทต่ี อ่ วสิ ยั โลก 146
ไม่มใี ครยิง่ กวา่

-บาลี จตกุ กฺ .อ.ํ ๒๑/๓๑/๒๔.

ภิกษุทั้งหลาย !   ส่ิงใดๆ ที่ชาวโลก รวมท้ังเทวดา
มาร พรหม หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดารวม
ทัง้ มนษุ ย์ ไดพ้ ากนั เหน็ แล้ว ไดย้ นิ แลว้ รูส้ ึกแล้ว ร้แู จ้งแล้ว
พบปะแล้ว แสวงหากันแล้ว คิดค้นกันแล้ว,  สิ่งนั้นๆ
เราก็รู้จกั .

ภิกษุท้ังหลาย !   สิ่งใดๆ ที่ชาวโลก รวมทั้งเทวดา
มาร พรหม หมู่สัตว์ พร้อมท้ังสมณพราหมณ์ เทวดารวม
ทงั้ มนษุ ย์ ได้พากนั เหน็ แล้ว ไดย้ นิ แล้ว รสู้ กึ แล้ว ร้แู จง้ แล้ว
พบปะแลว้ แสวงหากนั แลว้ คดิ คน้ กนั แลว้ , สงิ่ นน้ั ๆ เราได้
รู้แจ้งแล้วด้วยปัญญาอันย่ิง.  ส่ิงน้ันๆ เป็นที่แจ่มแจ้ง
แกต่ ถาคต, สง่ิ นน้ั ๆ ไมอ่ าจเขา้ ไป (ตดิ อยใู่ นใจของ) ตถาคต.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   สงิ่ อนั เปน็ วสิ ยั โลกตา่ งๆ ทชี่ าวโลก
รวมท้งั เทวดา มารพรหม หมูส่ ตั ว์ พร้อมท้ังสมณพราหมณ์
เทวดารวมทง้ั มนษุ ย์ ได้พากันเหน็ แลว้ ได้ยนิ แลว้ รูส้ ึกแล้ว
รู้แจ้งแล้ว พบปะแล้ว แสวงหากันแล้ว คิดค้นกันแล้วน้ันๆ
เราพงึ กลา่ วไดว้ า่ เรารจู้ กั มนั ด.ี   มนั จะเปน็ การมสุ าแกเ่ รา

357

พุทธวจน - หมวดธรรม

ถ้าเราจะพึงกล่าวว่า เรารู้จักบ้าง ไม่รู้จักบ้าง. และมันจะ
เป็นการมุสาแก่เราเหมือนกัน ถ้าเราจะพึงกล่าวว่า เรารู้จัก
กห็ ามไิ ด,้ ไมร่ จู้ กั กห็ ามไิ ด,้ ขอ้ นน้ั มนั เปน็ ความเสยี หายแกเ่ รา.

ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะเหตุน้ีแล ตถาคตเห็นสิ่ง
ท่ีต้องเห็นแล้ว ก็ไม่ทำ�ความมั่นหมายว่า เห็นแล้ว, ไม่ทำ�
ความมนั่ หมายวา่ ไมไ่ ดเ้ หน็ , ไมท่ �ำ ความมน่ั หมายวา่ เปน็ สงิ่
ที่ต้องเห็น, ไม่ทำ�ความม่ันหมายว่าตนเป็นผู้หนึ่งท่ีได้เห็น,

(ในส่ิงท่ไี ดฟ้ งั , ไดร้ สู้ กึ , ได้รแู้ จ้ง ก็มีนยั อย่างเดยี วกัน).

ภิกษุทั้งหลาย !   ด้วยเหตุนี้แล ตถาคตช่ือว่าเป็น
ผคู้ งทเี่ ปน็ ปรกตอิ ยเู่ ชน่ นน้ั ไดใ้ นสงิ่ ทง้ั หลาย ทไี่ ดเ้ หน็ ไดย้ นิ
ไดร้ สู้ กึ และไดร้ แู้ จง้ แลว้ , และเรายงั กลา่ ววา่ จะหาบคุ คลอนื่
ท่ีเป็นผู้คงท่ี ซึ่งย่ิงไปกว่า ประณีตกว่าตถาคตผู้คงที่น้ัน
เปน็ ไม่มเี ลย.

358

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

ทรงทราบ ทรงเปดิ เผย 147
แต่ไม่ทรงตดิ ซึ่งโลกธรรม
-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๑๗๐/๒๔๐.

ภิกษุท้ังหลาย !   โลกธรรม มีอยู่ในโลก.  ตถาคต
ยอ่ มตรัสรู้ ยอ่ มรู้พร้อมเฉพาะ ซง่ึ โลกธรรมนน้ั  ; ครั้นตรสั รู้
แล้ว ร้พู ร้อมเฉพาะแล้ว ยอ่ มบอก ยอ่ มแสดง ย่อมบญั ญัติ
ย่อมต้ังขึ้นไว้ ยอ่ มเปิดเผย ย่อมจำ�แนกแจกแจง ยอ่ มทำ�ให้
เป็นเหมอื นการหงายของที่คว่ำ�.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   กอ็ ะไรเลา่ เปน็ โลกธรรมในโลก?
ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  รปู เปน็ โลกธรรมในโลก.  ตถาคต
ย่อมตรัสรู้ ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งรูปอันเป็นโลกธรรมนั้น ;
คร้ันตรัสรู้แล้ว รู้พร้อมเฉพาะแล้ว ย่อมบอก ย่อมแสดง
ยอ่ มบญั ญตั ิ ยอ่ มตงั้ ขนึ้ ไว้ ยอ่ มเปดิ เผย ยอ่ มจ�ำ แนกแจกแจง
ย่อมท�ำ ให้เปน็ เหมอื นการหงายของท่คี ว่ำ�.
ภิกษทุ งั้ หลาย !   บุคคลบางคน แมเ้ ราตถาคตบอก
แสดง บัญญตั ิ ตั้งขน้ึ ไวเ้ ปดิ เผย จำ�แนกแจกแจง ทำ�ให้เปน็
เหมือนการหงายของท่ีคว่ำ�อยู่อย่างน้ี เขาก็ยังไม่รู้ไม่เห็น.
ภิกษุท้ังหลาย !  กะบุคคลที่เป็นพาล เป็นปุถุชน คนมืด
คนไมม่ จี กั ษุ คนไมร่ ไู้ มเ่ หน็ เชน่ น้ี เราจะกระท�ำ อะไรกะเขาได.้

359

พุทธวจน - หมวดธรรม
(ในกรณแี หง่ เวทนา, สญั ญา, สงั ขาร และวญิ ญาณ กไ็ ดต้ รสั

ไวด้ ว้ ยถอ้ ยค�ำ ทม่ี หี ลกั เกณฑใ์ นการตรสั อยา่ งเดยี วกนั กบั ในกรณแี หง่ รปู
ทก่ี ลา่ วแลว้ นั้นทกุ ประการ)

ภิกษุทั้งหลาย !   เปรียบเหมือน ดอกอุบล หรือ
ดอกปทมุ หรอื ดอกบวั บณุ ฑรกิ กด็ ี เกดิ แลว้ เจรญิ แลว้ ในน�้ำ
พ้นจากนำ้�แล้วดำ�รงอยู่ได้ โดยไม่เปื้อนน้ำ�, ฉันใด ; ภิกษุ
ท้ังหลาย !  ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน เกิดแล้วเจริญแล้ว
ในโลก ครอบงำ�โลกแลว้ อย่อู ย่างไมแ่ ปดเปอ้ื นดว้ ยโลก.

360

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ทรงตา่ งจากเทวดาและมนษุ ย์ 148
-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๒๙/๑๔๑.

ภิกษุทั้งหลาย !   เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูป
เปน็ ทม่ี ายนิ ดี ยนิ ดแี ลว้ ในรปู บนั เทงิ ดว้ ยรปู .  เทวดาและ
มนุษย์ท้ังหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวน
ความเสอื่ มสลาย และความดบั ไปของรปู .  ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  
เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายมีเสียง …, มีกลิ่น …, มีรส …,
มีโผฏฐัพพะ …, มีธรรมารมณ์เป็นที่มายินดี ยินดีแล้ว
ในธรรมารมณ์ บนั เทงิ ดว้ ยธรรมารมณ.์   เทวดาและมนษุ ย์
ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวน ความ
เส่อื มสลาย และความดับไปของธรรมารมณ์.

ภิกษุทั้งหลาย !   ส่วนตถาคตผู้เป็นอรหันตสัมมา-
สัมพุทธะ รู้แจ้งตามเป็นจริงซ่ึงเหตุเป็นเคร่ืองเกิดขึ้น
ซ่ึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ซ่ึงรสอร่อย ซึ่งโทษ คือความตำ่�ทราม
และอุบายเครื่องหลุดพ้นออกไปได้ แห่งรูปทั้งหลายแล้ว ;
ไมเ่ ปน็ ผมู้ รี ปู เปน็ ทมี่ ายนิ ดี ไมย่ นิ ดใี นรปู ไมบ่ นั เทงิ ดว้ ยรปู .
ภิกษุท้ังหลาย !  ตถาคตย่อมอยู่เป็นสุข เพราะความ
แปรปรวน ความเสอ่ื มสลาย และความดบั ไปของรปู ,  ภกิ ษุ
ทง้ั หลาย ! ตถาคตรแู้ จง้ ตามเปน็ จรงิ ซง่ึ เหตเุ ปน็ เครอ่ื งเกดิ ขน้ึ
ซ่ึงความต้ังอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษ คือความตำ่�ทราม

361

พุทธวจน - หมวดธรรม

และอุบายเคร่ืองหลุดพ้นออกไปได้แห่งเสียงท้ังหลาย แห่ง
กลน่ิ ทงั้ หลาย แหง่ รสทง้ั หลาย แหง่ โผฏฐพั พะทง้ั หลาย และ
แห่งธรรมารมณ์ท้ังหลายแล้ว ; ไม่เป็นผู้มีเสียง กล่ิน รส
โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์เป็นที่มายินดี ไม่ยินดี ไม่บันเทิง
ด้วยเสียง เป็นต้น ภิกษุทั้งหลาย !  ตถาคตย่อมอยู่เป็นสุข
เพราะความแปรปรวน ความเส่ือมสลาย และความดับไป
แห่งธรรมมีเสยี งเป็นต้นน้ันๆ.

รูปท้ังหลาย  เสียงทั้งหลาย  กลิ่นท้ังหลาย
รสท้ังหลาย ผัสสะท้ังหลาย ธรรมทั้งหลายทั้งส้ิน อัน
น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าชอบใจ ยังเป็นสิ่งกล่าวได้ว่า
มอี ยเู่ พยี งใด มนษุ ยโลกพรอ้ มดว้ ยเทวโลก กย็ งั สมมตวิ า่
“น่ันสุข” อยู่เพียงน้ัน.  ถ้าเมื่อสิ่งเหล่าน้ันแตกดับลง
ในที่ใด, สัตว์เหล่าน้ัน ก็สมมติว่า “นั่นทุกข์” ในท่ีน้ัน. 
สง่ิ ทพี่ ระอรยิ เจา้ ทงั้ หลายเหน็ วา่ เปน็ ความสขุ กค็ อื ความ
ดับสนิทแห่งสักกายะท้ังหลาย, แต่สิ่งนี้กลับปรากฏเป็น
ข้าศึกตัวร้ายกาจ แก่สัตว์ท้ังหลายผู้เห็นอยู่โดยความ
เป็นโลกท้ังปวง.  สิ่งใด ที่สัตว์อ่ืนกล่าวแล้วโดยความ
เปน็ สขุ , พระอรยิ เจา้ ทง้ั หลาย กลา่ วสงิ่ นน้ั โดยความเปน็
ทุกข์.  สิ่งใดท่ีสัตว์อ่ืน กล่าวแล้วโดยความเป็นทุกข์,
พระอรยิ ะผู้รู้ กล่าวสิ่งนัน้ โดยความเปน็ สุข, ดังนี.้

362

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ไมท่ รงตดิ แมใ้ นนพิ พาน 149

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๐/๘-๙.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  แมต้ ถาคต ผเู้ ปน็ พระอรหนั ต์ ตรสั รู้
ชอบเอง ก็ร้ชู ัดซ่งึ นิพพานตามความเป็นนิพพาน.  คร้นั รู้
นิพพานตามความเป็นนิพพานชัดแจ้งแล้ว ก็ไม่ทำ�ความ
ม่ันหมายซ่ึงนิพพาน ไม่ทำ�ความม่ันหมายในนิพพาน
ไม่ทำ�ความมั่นหมายโดยความเป็นนิพพาน ไม่ทำ�ความ
มนั่ หมายวา่ “นพิ พานเปน็ ของเรา”, ไมเ่ พลดิ เพลนิ ลมุ่ หลง
ในนิพพาน.  ข้อนี้เพราะเหตุไรเล่า ?  เพราะเหตุว่า
นพิ พานน้นั เปน็ สงิ่ ทีต่ ถาคตกำ�หนดรู้ทัว่ ถึงแล้ว.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  แมต้ ถาคต ผเู้ ปน็ พระอรหนั ต์ ตรสั รู้
ชอบเอง ก็ร้ชู ัดซ่งึ นิพพานตามความเป็นนิพพาน.  คร้นั รู้
นิพพานตามความเป็นนิพพานชัดแจ้งแล้ว ก็ไม่ทำ�ความ
มน่ั หมายซง่ึ นพิ พาน ไม่ท�ำ ความมน่ั หมายในนิพพาน ไมท่ �ำ
ความมน่ั หมายโดยความเปน็ นพิ พาน ไมท่ �ำ ความมน่ั หมายวา่
“นิพพานเป็นของเรา”, ไม่เพลิดเพลินล่มุ หลงในนิพพาน. 
ขอ้ นเ้ี พราะเหตไุ รเลา่  ? เรากลา่ ววา่ เพราะรวู้ า่ ความเพลดิ เพลนิ
เปน็ มลู แหง่ ทกุ ข์ และเพราะมภี พ จงึ มชี าต,ิ เมอ่ื เกดิ เปน็ สตั ว์
แล้วต้องมีแก่และตาย.  เพราะเหตุน้ันตถาคตจึงตรัสรู้
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะตัณหาท้ังหลายส้ินไป
ปราศไป ดบั ไป สละไป ไถถ่ อนไป โดยประการทง้ั ปวง ดงั น.้ี

363



เรอ่ื งทที่ รงตรสั เกย่ี วกับ
อดตี ชาตขิ องพระองค์

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : “ตถาคต”

ต้องทอ่ งเทย่ี วมาแล้ว 150
เพราะไม่รอู้ ริยสจั จ์
-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๔๑/๑๖๙๘.

ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอด
ซึ่งอริยสัจจ์ส่ีอย่าง, เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงท่องเที่ยว
ไปแล้วในสังสารวัฏ  ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้. 
ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะไม่รู้ถึง  เพราะไม่แทงตลอดซ่ึง
อรยิ สจั จส์ อี่ ยา่ งเหลา่ ไหนเลา่  ? สอี่ ยา่ งคอื อรยิ สจั จค์ อื ทกุ ข,์
อริยสัจจ์คือเหตุให้เกิดทุกข์, อริยสัจจ์คือความดับไม่เหลือ
แห่งทุกข์, อริยสัจจ์คือทางดำ�เนินให้ถึงความดับไม่เหลือ
แหง่ ทกุ ข.์   ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เพราะไมร่ ถู้ งึ ไมแ่ ทงตลอด
ซงึ่ อรยิ สจั จส์ ป่ี ระการ เหลา่ นแี้ ล, เราและพวกเธอทง้ั หลาย
จึงได้ท่องเท่ียวไปแล้ว ในสังสารวัฏ ตลอดกาลยืด
ยาวนานถึงเพยี งน้ี. …

366

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

ตลอดสงั สารวฎั 151
ไมเ่ คยบงั เกดิ ในชัน้ สุทธาวาส

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๖๒/๑๘๗.

สารีบุตร !   สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีถ้อยคำ�
มีความเห็นว่า “ความบริสุทธิ์มีได้ เพราะการท่องเท่ียวใน
สังสารวัฏ”.  สารีบุตร !  ก็สังสารวัฏที่เราไม่เคยท่องเที่ยว
มาแล้วแต่หลัง ตลอดกาลยืดยาวนานน้ัน หาได้ไม่ง่ายเลย,
เว้นเสียแต่ในหมู่เทพชั้นสุทธาวาส.  สารีบุตร !  ถ้าเรา
ทอ่ งเทย่ี วไปในหมเู่ ทพเหลา่ สทุ ธาวาส, กจ็ ะไมพ่ งึ มาสโู่ ลกน้ี
ไดเ้ ลย, (ย่อมปรินพิ พานในภพน้ัน).

สารีบุตร !   สมณพราหมณ์พวกหน่ึง มีถ้อยคำ�
มีความเห็นว่า “ความบริสุทธ์ิมีได้ เพราะการอุบัติ (บังเกิด)”.
สารีบุตร !  ก็การบังเกิดที่เราไม่เคยบังเกิดมาแล้วแต่หลัง
ตลอดกาลยืดยาวนานน้ัน หาได้ไม่ง่ายเลย เว้นเสียแต่การ
บงั เกดิ ในหมเู่ ทพชนั้ สทุ ธาวาส.  สารบี ตุ ร !  ถา้ เราบงั เกดิ
ในหมเู่ ทพชนั้ สทุ ธาวาส, กจ็ ะไมพ่ งึ มาสโู่ ลกนไี้ ดเ้ ลย, (ยอ่ ม
ปรินิพพานในภพนนั้ ).

367

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

สารีบุตร !   สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีถ้อยคำ�
มีความเห็นว่า “ความบริสุทธิ์มีได้ เพราะภพเป็นที่อยู่อาศัย”.
สารีบุตร !  ก็ภพที่เราไม่เคยอยู่อาศัยมาแล้วแต่หลัง ตลอด
กาลยดื ยาวนานนน้ั หาไดไ้ มง่ า่ ยเลย เวน้ เสยี แตก่ ารอยอู่ าศยั
ในหมู่เทพช้ันสุทธาวาส.  สารีบุตร !   ถ้าเราอยู่อาศัย
ในหมู่เทพชั้นสุทธาวาส , ก็จะไม่พึงมาสู่โลกน้ีได้เลย,
(ยอ่ มปรินพิ พานในภพนน้ั ).

368

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

ตลอดสงั สารวัฏเคยบูชายัญญ์ 152
และบ�ำเรอไฟแลว้ อย่างมาก

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๖๓/๑๙๐.

สารีบุตร !   สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีถ้อยคำ�
มีความเห็นว่า “ความบริสุทธิ์มีได้ เพราะการบูชายัญญ์”. 
สารีบุตร !  ก็ยัญญ์ที่เรายังไม่เคยบูชามาแล้วแต่หลัง
ตลอดการท่องเที่ยวอันยืดยาวนาน เป็นกษัตริย์บ้าง เป็น
กษตั รยิ ผ์ ูไ้ ดม้ รุ ธาภเิ ษกบา้ ง เปน็ พราหมณม์ หาศาลบา้ งนัน้ ,
หาได้ไม่ง่ายเลย.

สารีบุตร !   สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีถ้อยคำ�
มีความเห็นว่า “ความบริสุทธิ์มีได้ เพราะการบำ�เรอไฟ”. 
สารีบุตร !  ก็ไฟที่เรายังไม่เคยบูชามาแล้วแต่หลัง
ตลอดการท่องเที่ยวอันยืดยาวนาน เป็นกษัตริย์บ้าง เป็น
กษตั รยิ ผ์ ูไ้ ดม้ รุ ธาภเิ ษกบา้ ง เปน็ พราหมณม์ หาศาลบา้ งนัน้ ,
หาได้ไม่ง่ายเลย.

369

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : “ตถาคต”

เคยบังเกิดเปน็ มหาพรหม สักกะ 153
-บาลี อติ วิ .ุ ข.ุ ๒๕/๒๔๐/๒๐๐.

ภิกษุท้ังหลาย !   แต่ชาติที่แล้วมาแต่อดีต ตถาคต
ได้เคยเจริญเมตตาภาวนาตลอด ๗ ปี จึงไม่เคยมาบังเกิด
ในโลกมนุษย์นี้ ตลอด ๗ สังวัฏฏกัปป์ และวิวัฏฏกัปป์. 
ในระหว่างกาลอันเป็นสังวัฏฏกัปป์น้ัน เราได้บังเกิดใน
อาภสั สระ.  ในระหวา่ งกาลอนั เปน็ ววิ ฏั ฏกปั ปน์ นั้ เรากไ็ ด้
อย่พู รหมวิมานอันว่างเปลา่ แล้ว.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในกัปป์น้ัน เราได้เคยเป็นพรหม
ไดเ้ คยเปน็ มหาพรหมผยู้ ง่ิ ใหญ่ ไมม่ ใี ครครอบง�ำ ได้ เปน็ ผเู้ หน็
สง่ิ ทง้ั ปวงโดยเดด็ ขาด เปน็ ผมู้ อี �ำ นาจสงู สดุ .

ภิกษุทั้งหลาย !   เราได้เคยเป็นสักกะ ผู้เป็นจอม
แหง่ เทวดา นบั ได้ ๓๖ ครงั้ .  เราไดเ้ คยเปน็ ราชาจกั รพรรดิ
ผู้ประกอบด้วยธรรม เป็นพระราชาโดยธรรม มีแว่นแคว้น
จดมหาสมุทรทั้งส่ีเป็นที่สุด เป็นผู้ชนะแล้วอย่างดี มีชนบท
อนั บรบิ รู ณป์ ระกอบดว้ ยแกว้ เจด็ ประการ นบั ดว้ ยรอ้ ยๆ ครงั้ ,
ทำ�ไมจะตอ้ งกล่าวถงึ ความเปน็ ราชาตามธรรมดาดว้ ย.

370

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุท้ังหลาย !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
ผลวิบากแห่งกรรมอะไรของเราหนอ ท่ีทำ�ให้เราเป็นผู้มี
ฤทธิ์มากถึงอยา่ งนี้ มอี านภุ าพมากถงึ อย่างน้ี ในครัง้ น้นั ๆ.

ภิกษุทั้งหลาย !   ความรู้สึกได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
ผลวิบากแห่งกรรม ๓ อย่างนี้แล ท่ีทำ�ให้เรามีฤทธิ์มาก
ถงึ อยา่ งน้ี มอี านภุ าพมากถงึ อยา่ งน,้ี วบิ ากแหง่ กรรม ๓ อยา่ ง
ในคร้งั น้นั คือ ผลวิบากแห่ง ทาน การให้ ๑,  แห่ง ทมะ
การบีบบังคับใจ ๑,  แห่ง สัญญมะ การสำ�รวมระวัง ๑, 
ดงั น.้ี

371

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

เคยบังเกิดเป็นพระเจา้ จกั รพรรดิ 154
พระนามวา่ มฆเทวะ

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๑๕/๔๕๓.

อานนท์ !   ความคิดอาจมีแก่เธอว่า ‘ผู้อ่ืนต่างหาก
ที่เป็นพระเจ้ามฆเทวราชในสมัยโน้น’.  อานนท์ !  เธอไม่
ควรเห็นเช่นน้ัน, เราน่ีเองได้เป็น พระเจ้ามฆเทวราชแล้ว
ในสมยั นั้น. …

อานนท ์!  เรอ่ื งดกึ ด�ำ บรรพท์ เ่ี มอื งมถิ ลิ าน้ี มพี ระราชา
นามว่า พระเจ้ามฆเทวะ  เป็นธรรมราชาผู้ต้ังอยู่ในธรรม
ประพฤตริ าชธรรม ในพราหมณแ์ ละคหบดี ทง้ั ในเมอื งหลวง
และชนบท, ย่อมเข้าอยู่อุโบสถในวันที่ ๑๔ หรือ ๑๕ และ
วันท่ี ๘ แห่งปักษ์.  พระเจ้ามฆเทวะน้ัน เรียกช่างกัลบก
มาแล้วส่ังว่า ‘เพื่อน !  ท่านเห็นผมหงอกเกิดข้ึนที่ศีรษะเรา
เมอื่ ใดกจ็ งบอกเรานัน้ ’.

อานนท ์!  ลว่ งมานบั ดว้ ยปเี ปน็ อนั มาก ชา่ งกลั บกนน้ั
ไดเ้ หน็ ผมหงอกแลว้ กราบทลู ใหท้ รงทราบ. พระเจา้ มฆเทวะ
รับสั่งให้ถอนหงอกด้วยแหนบ แล้ววางใส่ฝ่าพระหัตถ์ให้
ทอดพระเนตร  ครนั้ ทอดพระเนตรเหน็ แลว้ พระราชทาน
บ้านส่วยเป็นบำ�เหน็จแก่ช่างกัลบกน้ัน.  รับส่ังให้หา
พระราชบุตรองค์ใหญ่มาเฝ้า แล้วตรัสว่า ‘แน่ะพ่อกุมาร !  

372

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

เทวทตู ปรากฏแกเ่ ราแลว้ : หงอกเกดิ บนศรี ษะแลว้ .  กาม
อนั เปน็ วสิ ยั ของมนษุ ย์ เราไดบ้ รโิ ภคเสรจ็ แลว้ เดยี๋ วนถี้ งึ สมยั
อันควรเพื่อการแสวงกามอันเป็นทิพย์สืบไป.  มาเถอะ
พอ่ ผกู้ มุ าร !  เจา้ จงครองต�ำ แหนง่ พระราชาน.้ี   สว่ นเราจะ
ปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้าย้อมฝาด ออกบวชจากเรือน
ไม่เก่ียวข้องด้วยเรือนไป.  อน่ึง ถ้าเจ้าเห็นหงอกเกิด
ขึ้นท่ีศีรษะของเจ้าเม่ือใด, เมื่อนั้นจงประทานบ้านส่วย
เป็นบำ�เหน็จแก่ช่างกัลบก แล้วช้ีแจงมอบหมายตำ�แหน่ง
พระราชาแกร่ าชบตุ รองคใ์ หญใ่ หด้ ,ี แลว้ จงปลงผมและหนวด
ครองผา้ ยอ้ มฝาด ออกบวชจากเรอื น ไมเ่ กยี่ วขอ้ งดว้ ยเรอื น
ไปเถิด.  เจ้าจงประพฤติตามกัลยาณวัตรอันนี้ ตามท่ีเรา
ได้บัญญัติไว้แล้ว,  เจ้าอย่าเป็นบุรุษคนสุดท้ายของเรา.
กลั ยาณวัตรอันน้ี ขาดตอนลงในยุคของผใู้ ด ผนู้ นั้ ชอื่ วา่ เป็น
คนสุดท้าย แห่งบุรุษทั้งหลาย ผู้ประพฤติตามกัลยาณวัตร
ของเรา.  แน่ะพ่อผู้กุมาร !  เราขอกล่าวถึงวัตรนั้นกะเจ้า
ในบดั นี้ อยา่ งนี้วา่ เจ้าจงประพฤติตามกลั ยาณวัตรน้ี ตามที่
เราได้บัญญัติไว้แล้ว ขอเจ้าจงอย่าเป็นบุรุษคนสุดท้ายของ
เราเลย’.

อานนท์ !   ครั้นพระเจ้ามฆเทวะ ประทานบ้านส่วย
แก่ช่างกัลบก มอบหมายรัชชสมบัติแก่พระราชบุตรองค์

373

พุทธวจน - หมวดธรรม

ใหญเ่ ปน็ อยา่ งดแี ลว้ กป็ ลงผมและหนวด ครองผา้ ยอ้ มฝาด
บวชแลว้ จากเรอื น ไมเ่ กยี่ วขอ้ งดว้ ยเรอื น ในปา่ มฆเทวมั พวนั
นเ้ี อง.  เธอผบู้ วชแลว้ นน้ั แผค่ วามรสู้ กึ ดว้ ยจติ อนั ประกอบ
ดว้ ยเมตตา ไปยังทศิ ท่หี น่งึ , และทศิ ท่สี อง ท่ีสาม ทส่ี ่ี โดย
อาการอย่างเดียวกัน.  ด้วยเหตุน้ี เป็นอันว่าเธอมีจิต
ประกอบดว้ ยเมตตาอยา่ งไพบลู ยเ์ ยย่ี มยอด หาทเ่ี ปรยี บมไิ ด้
ปราศจากเวรและพยาบาท แผ่ไปทั่วโลกทั้งปวง เพราะ
แผ่ท่ัวไปทั้งในเบ้ืองบนเบ้ืองล่าง และเบื้องขวางโดยรอบ. 
เธอน้ัน มีจิตประกอบด้วยกรุณา … มุทิตา … อุเบกขา …
แผไ่ ปทง่ั โลกทง้ั ปวง เพราะแผท่ ว่ั ไปทงั้ ในเบอื้ งบน เบอื้ งลา่ ง
และเบื้องขวางโดยรอบ แล้วแลอยู่แล้ว.  …เธอบวชแล้ว
ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ในป่ามฆเทวัมพวันนี้เอง.  ครั้น
ทำ�พรหมวิหารธรรมท้ังส่ีให้เจริญแล้ว  ก็เข้าถึงพรหมโลก
ภายหลังจากการตาย เพราะการท�ำ ลายแห่งกาย…

อานนท์ !   เราแล ได้เป็นพระเจ้ามฆเทวะแล้ว
ในสมัยนั้น.  อนุชนที่เกิดในภายหลัง ได้ประพฤติตาม
กัลยาณวัตร ที่เราต้ังไว้แล้ว แต่ว่า กัลยาณวัตรนั้นจะเป็น
ไปพร้อมเพื่อความหน่าย ความคลายกำ�หนัด ความดับ
สนิท ความสงบ ความรู้ย่ิง ความรู้พร้อม และนิพพาน
ก็หาไม่ ; เปน็ ไปเพียงเพอ่ื เขา้ ถึงพรหมโลกเท่านัน้ .

(สามารถอ่านเพ่ิมเติมเกีย่ วกบั กัลยาณวตั รในอกี รปู แบบหนง่ึ
ได้จากหนา้ ๒๙๘ ของหนงั สือเล่มน้.ี )

374

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

เคยบงั เกดิ เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ 155
พระนามว่ามหาสทุ ัศน์

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๒๒๕/๑๘๕, -บาลี จรยิ า. ข.ุ ๓๓/๕๕๔/๔.

ในกาลใด, เราเปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ในนครชอื่ กสุ าวดี
มีนามว่า มหาสุทัศน์ผู้เป็นจักรพรรดิมีกำ�ลังมาก.  ใน
กาลนั้น เราจัดให้มีการป่าวร้องในที่ทั่วไป วันละสามคร้ัง.
‘ใครปรารถนาอะไร ใครประสงค์ส่ิงใด ใครควรได้ทรัพย์
เช่นไร, ใครหิว ใครกระวนกระวาย, ใครต้องการมาลา
ใครต้องการเคร่ืองลูบทา.  ผ้าย้อมแล้วด้วยสีต่างๆ กัน
ใครไร้ผ้าจงนุ่งห่ม.  ใครจะเดินทางจงเอาร่มไป, เอารอง
เท้างามๆ นมิ่ ๆ ไป’.

เราให้ป่าวร้องเช่นนี้ ท้ังเช้าและเย็นทุกๆ แห่ง.
ทรัพย์ท่ีเตรียมไว้สำ�หรับยาจก ไม่ใช่สิบแห่ง หรือร้อยแห่ง
แตต่ ง้ั หลายรอ้ ยแหง่ .  จะเปน็ กลางวนั หรอื กลางคนื กต็ าม
ถา้ ยาจกมาเมือ่ ใด เปน็ ไดส้ ิง่ ของตามท่ีเขาปรารถนาเต็มมือ
กลับไปเสมอ.  เราให้ทานอันใหญ่หลวงเช่นนี้ จนตลอด
ชวี ิต และใช่วา่ จะให้ทานดว้ ยทรพั ย์ส่วนทเ่ี ราเกลียดไมช่ อบ
ก็หาไม่ การสะสมทรัพย์จะมีในเราก็หาไม่.

375

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ผู้ป่วยกระสับกระส่าย ใคร่จะพ้นไปจากโรค
ให้ขวญั ขา้ วแก่หมอจนเปน็ ทีพ่ อใจแล้ว ย่อมหายจากโรคได้
ฉันใด เราก็ฉันนั้น เรามุ่งแต่จะทำ�ให้เต็มเป่ียม, ให้ทาน
แก่ยาจก ก็เพ่ือทำ�ใจท่ียังพร่องอยู่ให้เต็ม, ไม่อาลัยทรัพย์
ไม่เกาะเกี่ยวในทรัพย์ ก็เพ่ือการลุถึงโดยลำ�ดับ ซ่ึงปัญญา
อนั เปน็ เครอื่ งร้พู ร้อม.

อานนท์ !   ความคิดอาจมีแก่เธอว่า ‘ผู้อ่ืนต่างหาก
ที่เป็นพระเจ้ามหาสุทัศน์ในสมัยโน้น’.  อานนท์ !  เธอไม่
ควรเห็นเช่นน้ัน, เรานี่เองเป็นพระเจ้ามหาสุทัศน์แล้วใน
สมัยน้ัน.  นครจำ�นวนแปดหม่ืนส่ีพัน มีราชธานีกุสาวดี
เป็นประมุข เหล่านั้นของเรา.  ปราสาทจำ�นวนแปดหมื่น
สี่พัน มีปราสาทชื่อธรรมปราสาทเป็นประมุข เหล่านั้นเป็น
ของเรา.  เรือนยอดจำ�นวนแปดหม่ืนสี่พัน มีเรือนยอด
ชื่อมหาวิยูหะเป็นประมุข เหล่าน้ันเป็นของเรา.  บัลลังก์
จำ�นวนแปดหม่ืนสี่พัน ทำ�ด้วยทอง ทำ�ด้วยเงิน ทำ�ด้วยงา
ทำ�ด้วยแก้วลาย ลาดด้วยขนเจียม ลาดด้วยสักหลาด …
เหล่านั้นเป็นของเรา.  ช้างจำ�นวนแปดหม่ืนสี่พัน ประดับ
ด้วยเครื่องทอง … มีพญาช้างตระกูลอุโบสถเป็นประมุข
เหล่านั้นเป็นของเรา.  ม้าจำ�นวนแปดหมื่นส่ีพัน ประดับ

376

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ดว้ ยเครอ่ื งทอง … มพี ญามา้ ตระกลู วลาหกเปน็ ประมขุ เหลา่ นน้ั
เป็นของเรา.  รถจำ�นวนแปดหมื่นสี่พัน หุ้มบุด้วยหนัง
ราชสหี ห์ นงั เสอื โครง่ … มเี วชยนั ตรถเปน็ ประมขุ เหลา่ นน้ั เปน็
ของเรา.   มณแี ปดหม่นื ส่ีพัน มีแกว้ มณีรัตนะเป็นประมขุ
เหล่านั้นเป็นของเรา.  หญิงแปดหมื่นส่ีพัน มีนางสุภัททา
เทวีเป็นประมุข เหล่าน้ันเป็นของเรา.  คหบดีแปดหมื่น
ส่ีพันมีคหปติรัตนะเป็นประมุข เหล่าน้ันเป็นของเรา. 
กษัตริย์แปดหมื่นส่ีพัน ผู้คอยแวดล้อมประดับเกียรติ
มีปริณายกรตั นะเป็นประมุข เหลา่ นน้ั เป็นของเรา.  โคนม
แปดหมน่ื สพ่ี นั ก�ำ ลงั มนี มไหลรดู รองได้ เหลา่ นน้ั เปน็ ของเรา. 
ผา้ แปดหมนื่ สพ่ี นั โกฏิ คอื ผา้ ปา่ นอนั ละเอยี ดออ่ น ผา้ ฝา้ ยอนั
ละเอยี ดออ่ น … เหลา่ นนั้ เปน็ ของเรา.  ถาดตกแตง่ อาหาร
แปดหมื่นส่ีพัน อันคนเชิญเครื่องเชิญทั้งเช้าและเย็น เหล่า
นน้ั เป็นของเรา.

(ข้อความต่อไปจากน้ี มีการกล่าวระบุสิ่งเลิศเพียงส่ิงเดียว
ตวั เดียว หลงั เดยี ว นครเดยี ว … ถาดเดยี ว ที่ทรงบรโิ ภคใช้สอยอยเู่ ปน็
ประจำ� ในบรรดาแต่ละส่ิงซ่ึงมีอยู่เป็นจำ�นวนถึงแปดหม่ืนสี่พัน.
รายละเอียดมีอยู่มากเกินไปจึงไม่ยกมาใส่ไว้ในท่ีน้ี ตามตัวอักษรที่มีอยู่
-ผู้แปล).

377

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อานนท ์ !  จงดเู ถดิ , สงิ่ ทง้ั หลายเหลา่ นนั้ ทง้ั หมด
ได้ล่วงไปแล้ว  ดับหายไปแล้ว  แปรปรวนไปสิ้นแล้ว. 
อานนท ์ ! สงั ขารทง้ั หลาย เปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง เชน่ นเ้ี อง เปน็
ของไมย่ ่งั ยืน เชน่ นเ้ี อง เปน็ ของไมม่ ีเจา้ ของ อยา่ งนเี้ อง.

อานนท ์ !  เพยี งเทา่ นี้ กพ็ อแลว้ , พอเพอื่ จะหนา่ ย
ในสงั ขารทงั้ หลาย, พอเพอ่ื คลายก�ำ หนดั , พอเพอ่ื หลดุ พน้
ดังนี้.  อานนท์ ! เรารู้ที่ท่ีเป็นหลุมฝังเรา, เขาฝังสรีระ
ของเราไว้ ณ ที่น้ี,  การทอดท้ิงร่างเหนือแผ่นดินครั้งน้ี
เป็นคร้ังที่ ๗ ของเรา  ในชาติท่ีเป็นพระราชาช้ัน
จกั รพรรดิ.

378


Click to View FlipBook Version