The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั .
อานนท์ !  ความรู้สึกได้เกิดข้ึนแก่เราว่า  เพราะว่าโทษใน
วิตกธรรม เป็นสิ่งที่เรายังมองไม่เห็น ยังไม่ได้นำ�มาทำ�การ
คดิ นกึ ใหม้ าก และทงั้ อานสิ งสแ์ หง่ อวติ กธรรม เรากย็ งั ไมเ่ คย
ไดร้ บั เลย ยังไม่เคยรรู้ สเลย ; จิตของเราจึงเป็นเช่นนั้น.

อานนท ์!   ความคดิ ไดเ้ กดิ ขนึ้ แกเ่ ราสบื ไปวา่ ถา้ หาก
เราไดเ้ หน็ โทษในวติ ก แลว้ น�ำ มาท�ำ การคดิ นกึ ในขอ้ นน้ั ใหม้ าก
ไดร้ บั อานสิ งสใ์ นอวติ กธรรมแลว้ พงึ เสพในอานสิ งสน์ น้ั อยา่ ง
ทั่วถึงไซร้, ข้อน้ันแหละ จะเป็นฐานะที่จะทำ�ให้จิตของเรา
พงึ แลน่ ไป พงึ เลอ่ื มใส ตง้ั อยไู่ ด้ หลดุ ออกไป ในอวติ กธรรม
โดยที่เห็นอยู่ว่าน่ันสงบ.  อานนท์ !  โดยกาลต่อมาเราได้
ทำ�เช่นน้ันแล้วอย่างทั่วถึง จิตของเราจึงแล่นไป จึงเลื่อมใส
ตงั้ อยไู่ ดห้ ลดุ ออกไป ในอวติ กธรรม (คอื ฌานที่ ๒) นนั้ โดยท่ี
เห็นอยู่ว่าน่ันสงบ.  อานนท์ !  เม่ือเป็นเช่นน้ัน, เราแล
เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึงบรรลุฌานท่ี ๒ เป็นเคร่ือง
ผ่องใสแห่งจิตในภายใน นำ�ให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว
ไม่มวี ติ กวิจาร มีแต่ปตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตส่ มาธแิ ลว้ แลอย.ู่  

129

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อานนท ์!  แมเ้ มอ่ื เราอยดู่ ว้ ยวหิ ารธรรมน้ี การท�ำ ในใจ
ตามอ�ำ นาจแหง่ สญั ญาทเ่ี ปน็ ไปในวติ ก กย็ งั เกดิ แทรกแซงอย.ู่  
ขอ้ นน้ั ยงั เปน็ อาพาธ (ในทางจติ ) แกเ่ รา, เหมอื นผมู้ สี ขุ แลว้ ยงั มี
ทกุ ขเ์ กดิ ขน้ึ ขดั ขวาง เพราะอาพาธ ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั .

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้นึ แก่เราสืบไปว่า เพ่อื
ก�ำ จดั อาพาธขอ้ นน้ั เสยี ถา้ กระไรเรา เพราะความจางไปแหง่ ปตี ิ
พงึ อยอู่ เุ บกขา มสี ตแิ ละสมั ปชญั ญะ และพงึ เสวยสขุ ดว้ ยกาย
บรรลฌุ านท่ี ๓ อนั เปน็ ฌานทพี่ ระอรยิ เจา้ กลา่ ววา่ ผไู้ ดฌ้ านน้ี
เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุขแล้วแลอยู่เถิด ดังนี้.
อานนท์ !  แม้กระน้ันจิตของเราก็ยังไม่แล่นไป ไม่เล่ือมใส
ไมต่ ง้ั อยไู่ ด้ ไมห่ ลดุ ออกไป ในนปิ ปตี กิ ฌาน (คอื ฌานท่ี ๓) นน้ั
ทัง้ ท่เี ราห็นอยวู่ ่านนั่ สงบ.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทที่ �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั .
อานนท ์ !  ความรสู้ กึ ไดเ้ กิดขน้ึ แก่เราว่า เพราะวา่ โทษในปีติ
เปน็ สง่ิ ทเี่ รายงั มองไมเ่ หน็ ยงั ไมไ่ ดน้ �ำ มาท�ำ การคดิ นกึ ใหม้ าก
และทั้งอานิสงส์แห่งนิปปีติกฌาน เรายังไม่เคยได้รับเลย
ยังไม่เคยรรู้ สเลย ; จติ ของเราจึงเปน็ เช่นน้ัน.

130

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

อานนท ์!   ความคดิ ไดเ้ กดิ ขนึ้ แกเ่ ราสบื ไปวา่ ถา้ หาก
เราไดเ้ หน็ โทษในปตี ิ แลว้ น�ำ มาท�ำ การคดิ นกึ ในขอ้ นน้ั ใหม้ าก
ได้รับอานิสงส์ในนิปปีติกฌานแล้ว พึงเสพในอานิสงส์นั้น
อยา่ งทวั่ ถงึ ไซร้, ข้อน้นั แหละ จะเป็นฐานะท่ีจะท�ำ ใหจ้ ติ ของ
เราพงึ แลน่ ไป พงึ เลอ่ื มใส ตง้ั อยไู่ ด้ หลดุ ออกไปในนปิ ปตี กิ ฌาน
โดยท่ีเห็นอยู่ว่าน่ันสงบ.  อานนท์ !  โดยกาลต่อมาเราได้
ทำ�เช่นนั้นแล้วอย่างท่ัวถึง จิตของเราจึงแล่นไป จึงเลื่อมใส
ตั้งอยู่ได้ หลุดออกไป ในนิปปีติกฌาน (คือฌานท่ี ๓) นั้น
โดยที่เห็นอยู่ว่านั่นสงบ.  อานนท์ !   เม่ือเป็นเช่นนั้น,
เราแล เพราะความจางไปแห่งปีติ จึงเกิดอุเบกขา มีสติ
และสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยกาย บรรลุฌานที่ ๓
อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า ผู้ได้ฌานน้ีเป็นผู้อยู่
อเุ บกขา มีสตอิ ยเู่ ปน็ สุขแล้วแลอย.ู่  

อานนท ์!  แมเ้ มอ่ื เราอยดู่ ว้ ยวหิ ารธรรมน้ี การท�ำ ในใจ
ตามอ�ำ นาจแหง่ สญั ญา ทเี่ ปน็ ไปในปตี กิ ย็ งั เกดิ แทรกแซงอย.ู่
ขอ้ นนั้ ยงั เปน็ อาพาธ (ในทางจติ ) แกเ่ รา, เหมอื นผมู้ สี ขุ แลว้ ยงั
มที ุกข์เกิดขึ้นขดั ขวาง เพราะอาพาธ ฉนั ใดก็ฉนั นน้ั .

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า เพ่ือ
กำ�จัดอาพาธข้อน้ันเสีย ถ้ากระไรเรา เพราะละสุขและทุกข์

131

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เสียได้  เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัส
ในกาลกอ่ น พงึ บรรลฌุ านท่ี ๔ อนั ไมม่ ที กุ ขแ์ ละสขุ มแี ตค่ วาม
ทส่ี ตเิ ปน็ ธรรมชาตบิ รสิ ทุ ธเ์ิ พราะอเุ บกขา แลว้ แลอยเู่ ถดิ ดงั น.้ี
อานนท์ !  แม้กระน้ันจิตของเราก็ยังไม่แล่นไป ไม่เล่ือมใส
ไมต่ งั้ อยู่ได้ ไม่หลดุ ออกไป ในอทุกขมสขุ (คอื ฌานที่ ๔) นนั้
ทั้งทเ่ี ราเหน็ อยูว่ ่านั่นสงบ.

อานนท์ !   ความรู้สึกได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั . 
อานนท์ !  ความรู้สึกได้เกิดแก่เราว่า เพราะว่าโทษใน
อุเปกขาสุข เป็นส่ิงที่เรายังมองไม่เห็น ยังไม่ได้นำ�มา
ทำ�การคิดนึกให้มาก และทั้งอานิสงส์แห่งอทุกขมสุข
เราก็ยังไม่เคยได้รับเลย ยังไม่เคยรู้รสเลย ; จิตของเราจึง
เปน็ เช่นนน้ั .

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
ถา้ หากเราไดเ้ หน็ โทษในอเุ ปกขาสขุ แลว้ น�ำ มาท�ำ การคดิ นกึ
ในข้อน้ันให้มาก ได้รับอานิสงส์ในอทุกขมสุขแล้ว พึงเสพ
ในอานิสงส์นั้นอย่างทั่วถึงไซร้, ข้อนั้นแหละ จะเป็นฐานะ
ท่ีจะทำ�ให้จิตของเราพึงแล่นไป พึงเลื่อมใส ตั้งอยู่ได้หลุด
ออกไป ในอทกุ ขมสขุ โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นนั่ สงบ.  อานนท ์ !  

132

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : “ตถาคต”

โดยกาลต่อมา เราได้ทำ�เช่นนั้นแล้วอย่างทั่วถึง จิตของเรา
จึงแล่นไป จงึ เลอ่ื มใส ตง้ั อยไู่ ด้ หลดุ ออกไป ในอทุกขมสุข
(คอื ฌานท่ี ๔) นน้ั โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.  อานนท ์! เมอ่ื เปน็
เชน่ นน้ั , เราแล เพราะละสขุ และทกุ ขเ์ สยี ได้ เพราะความดบั
หายไปแหง่ โสมนสั และโทมนสั ในกาลกอ่ น จงึ บรรลฌุ านท่ี ๔
อนั ไมท่ กุ ขไ์ มส่ ขุ มแี ตค่ วามทส่ี ตเิ ปน็ ธรรมชาตบิ รสิ ทุ ธเ์ิ พราะ
อเุ บกขา แลว้ แลอย.ู่

อานนท์ !   แม้เมื่อเราอยู่ด้วยวิหารธรรมนี้ การทำ�
ในใจตามอำ�นาจแห่งสัญญาท่ีเป็นไปในอุเบกขา ก็ยังเกิด
แทรกแซงอย.ู่   ขอ้ นน้ั ยงั เปน็ การอาพาธ (ในทางจติ ) แกเ่ รา,
เหมือนผู้มีสุข แล้วยังมีทุกข์เกิดข้ึนขัดขวาง เพราะอาพาธ
ฉนั ใดกฉ็ ันนนั้ .

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า เพื่อ
ก�ำ จดั อาพาธขอ้ นนั้ เสยี ถา้ กระไรเรา เพราะผา่ นพน้ รปู สญั ญา
(ความก�ำ หนดหมายในรปู ) โดยประการทง้ั ปวงได,้ เพราะความ
ตง้ั อยไู่ มไ่ ดแ้ หง่ ปฏฆิ สญั ญา (ความก�ำ หนดหมายอารมณท์ ก่ี ระทบใจ),
เพราะไม่ได้ทำ�ในใจซึ่งความกำ�หนดหมายในภาวะต่างๆ
(นานัตตสัญญา) พึงบรรลุอากาสานัญจายตนะ อันมีการ
ทำ�ในใจว่า “อากาศไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่เถิด ดังน้ี. 

133

พุทธวจน - หมวดธรรม

อานนท์ !  แม้กระน้ันจิตของเราก็ยังไม่แล่นไป ไม่เล่ือมใส
ไมต่ ง้ั อยไู่ ด้ ไมห่ ลดุ ออกไป ในอากาสานญั จายตนะนนั้ ทง้ั ท่ี
เราเห็นอยู่ว่าน่นั สงบ.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั . 
อานนท์ !  ความรู้สึกได้เกิดขึ้นแก่เราว่า เพราะว่าโทษใน
รปู ทงั้ หลาย เปน็ สง่ิ ทเ่ี รายงั มองไมเ่ หน็ ยงั ไมไ่ ดน้ �ำ มาท�ำ การ
คิดนึกให้มาก และทั้งอานิสงส์แห่งอากาสานัญจายตนะ
เราก็ยังไม่เคยได้รับเลย ยังไม่เคยรู้รสเลย ; จิตของเราจึง
เป็นเชน่ น้ัน.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
ถา้ หากเราไดเ้ หน็ โทษในรปู ทง้ั หลาย แลว้ น�ำ มาท�ำ การคดิ นกึ
ในข้อน้ันให้มาก ได้รับอานิสงส์ในอากาสานัญจายตนะแล้ว
พึงเสพในอานิสงส์น้ันอย่างท่ัวถึงไซร้, ข้อน้ันแหละ จะเป็น
ฐานะท่ีจะทำ�ให้จิตของเราพึงแล่นไป พึงเล่ือมใส ตั้งอยู่ได้
หลดุ ออกไป ในอากาสานญั จายตนะ โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.
อานนท์ !  โดยกาลต่อมา เราได้ทำ�เช่นนั้นแล้วอย่างท่ัวถึง
จิตของเราจึงแล่นไป จึงเลื่อมใส ต้ังอยู่ได้ หลุดออกไป
ในอากาสานัญจายตนะน้ัน  โดยท่ีเห็นอยู่ว่าน่ันสงบ.

134

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

อานนท์ !  เม่ือเป็นเช่นนั้น เราแล เพราะผ่านพ้นรูปสัญญา
โดยประการทั้งปวงเสียได้ เพราะความตั้งอยู่ไม่ได้แห่ง
ปฏิฆสัญญา เพราะไมไ่ ด้ท�ำ ในใจซ่ึงนานตั ตสัญญา จงึ บรรลุ
อากาสานญั จายตนะ อนั มกี ารท�ำ ในใจวา่ “อากาศไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ ”
แลว้ แลอยู่.

อานนท์ !   แม้เม่ือเราอยู่ด้วยวิหารธรรมนี้ การทำ�
ในใจตามอ�ำ นาจแหง่ สญั ญาทเี่ ปน็ ไปในรปู ทง้ั หลาย กย็ งั เกดิ
แทรกแซงอย.ู่   ขอ้ นนั้ ยงั เปน็ การอาพาธ (ในทางจติ ) แกเ่ รา,
เหมือนผู้มีสุข แล้วยังมีทุกข์เกิดข้ึนขัดขวาง เพราะอาพาธ
ฉนั ใดก็ฉันนน้ั .

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราว่า เพื่อกำ�จัด
อาพาธข้อน้ันเสีย ถ้ากระไรเรา เพราะผ่านพ้นอากาสา-
นัญจายตนะโดยประการทั้งปวงเสียแล้ว พึงบรรลุวิญญา-
ณัญจายตนะ อันมีการทำ�ในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่ส้ินสุด”
แล้วแลอยู่เถิด ดังน้ี.  อานนท์ !  แม้กระน้ันจิตของเรา
ก็ยังไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ต้ังอยู่ได้ ไม่หลุดออกไป
ในวิญญาณญั จายตนะน้นั ทง้ั ทีเ่ ราเหน็ อยู่วา่ นั่นสงบ.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั .

135

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อานนท์ !  ความรู้สึกได้เกิดข้ึนแก่เราว่า เพราะว่าโทษใน
อากาสานญั จายตนะ เปน็ สง่ิ ทเี่ รายงั มองไมเ่ หน็ ยงั ไมไ่ ดน้ �ำ มา
ท�ำ การคดิ นกึ ใหม้ าก และทง้ั อานสิ งสแ์ หง่ วญิ ญาณญั จายตนะ
เราก็ยังไม่เคยได้รับเลย ยังไม่เคยรู้รสเลย ; จิตของเราจึง
เป็นเช่นน้ัน.

อานนท ์!   ความคดิ ไดเ้ กดิ ขน้ึ แกเ่ ราสบื ไปวา่ ถา้ หาก
เราไดเ้ หน็ โทษในอากาสานญั จายตนะ แลว้ น�ำ มาท�ำ การคดิ นกึ
ในข้อน้ันให้มาก ได้รับอานิสงส์ในวิญญาณัญจายตนะแล้ว
พึงเสพในอานิสงส์นั้นอย่างท่ัวถึงไซร้, ข้อนั้นแหละ จะเป็น
ฐานะท่ีจะทำ�ให้จิตของเราพึงแล่นไป พึงเลื่อมใส ต้ังอยู่ได้
หลุดออกไป ในวิญญาณญั จายตนะโดยท่ีเหน็ อย่วู า่ นน่ั สงบ.
อานนท์ !  โดยกาลต่อมา เราได้ทำ�เช่นนั้นแล้วอย่างท่ัวถึง
จิตของเราจึงแล่นไป จึงเล่ือมใส ต้ังอยู่ได้ หลุดออกไป
ในวญิ ญาณญั จายตนะนน้ั โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.  อานนท ์! 
เราแล ผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะโดยประการท้ังปวง
เสียแล้ว จึงบรรลุวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำ�ในใจว่า
“วญิ ญาณไมม่ ีทส่ี นิ้ สดุ ” แลว้ แลอยู่.

อานนท์ !   แม้เม่ือเราอยู่ด้วยวิหารธรรมน้ี การทำ�
ในใจตามอ�ำ นาจ แหง่ สญั ญาทเ่ี ปน็ ไปในอากาสานญั จายตนะ

136

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

กย็ งั เกดิ แทรกแซงอย.ู่   ขอ้ นน้ั ยงั เปน็ การอาพาธ (ในทางจติ )
แก่เรา, เหมือนผู้มีสุข แล้วยังมีทุกข์เกิดขึ้นขัดขวาง เพราะ
อาพาธฉนั ใดกฉ็ นั นัน้ .

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า
เพ่ือกำ�จัดอาพาธข้อน้ันเสีย ถ้ากระไรเรา เพราะผ่านพ้น
วิญญาณัญจายตนะโดยประการท้ังปวงเสียแล้ว พึงบรรลุ
อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำ�ในใจว่า “อะไรๆ ไม่มี”
แล้วแลอยู่เถิด ดังนี้.  อานนท์ !   แม้กระน้ันจิตของเรา
ก็ยังไม่แล่นไป  ไม่เลื่อมใส  ไม่ตั้งอยู่ได้  ไม่หลุดออกไป
ในอากญิ จัญญายตนะนัน้ ทงั้ ทเ่ี ราเห็นอยูว่ ่านั่นสงบ.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทที่ �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นนั้ . 
อานนท์ !  ความรู้สึกได้เกิดขึ้นแก่เราว่า เพราะว่าโทษใน
วญิ ญาณญั จายตนะ เปน็ สง่ิ ทเี่ รายงั มองไมเ่ หน็ ยงั ไมไ่ ดน้ �ำ มา
ท�ำ การคดิ นกึ ใหม้ าก และทง้ั อานสิ งสแ์ หง่ อากญิ จญั ญายตนะ
เราก็ยังไม่เคยได้รับเลย ยังไม่เคยรู้รสเลย ; จิตของเราจึง
เปน็ เชน่ นั้น.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เรา สืบไปว่า
ถ้าหากเราได้เห็นโทษในวิญญาณัญจายตนะ แล้วนำ�มา

137

พุทธวจน - หมวดธรรม

ทำ�การคิดนึกในข้อน้ันให้มาก ได้รับอานิสงส์ในอากิญ-
จัญญายตนะแล้ว พึงเสพในอานิสงส์น้ันอย่างทั่วถึงไซร้,
ข้อนั้นแหละ จะเป็นฐานะท่ีจะทำ�ให้จิตของเราพึงแล่นไป
พึงเลื่อมใส ต้ังอยู่ได้ หลุดออกไป ในอากิญจัญญายตนะ
โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.  อานนท ์ !  โดยกาลตอ่ มา เราได้
ทำ�เช่นนั้นแล้วอย่างทั่วถึง จิตของเราจึงแล่นไป จึงเลื่อมใส
ตั้งอยู่ได้ หลุดออกไป ในอากิญจัญญายตนะน้ัน โดยที่เห็น
อยวู่ า่ นน่ั สงบ.  อานนท ์! เราแล ผา่ นพน้ วญิ ญาณญั จายตนะ
โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงบรรลุอากิญจัญญายตนะ
อนั มกี ารทำ�ในใจว่า “อะไรๆ ไม่มี” แลว้ แลอย.ู่

อานนท์ !   แม้เมื่อเราอยู่ด้วยวิหารธรรมน้ี การทำ�
ในใจตามอำ�นาจแห่งสัญญาท่ีเป็นไปในวิญญาณัญจายตนะ
กย็ งั เกดิ แทรกแซงอย.ู่   ขอ้ นน้ั ยงั เปน็ การอาพาธ (ในทางจติ )
แกเ่ รา, เหมอื นผมู้ สี ขุ แลว้ ยงั มที กุ ขเ์ กดิ ขน้ึ ขดั ขวาง เพราะอาพาธ
ฉนั ใดกฉ็ นั น้ัน.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
เพ่ือกำ�จัดอาพาธข้อนั้นเสีย ถ้ากระไรเรา เพราะผ่านพ้น
อากิญจัญญายตนะโดยประการทั้งปวงเสียแล้ว พึงบรรลุ
เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ แลว้ แลอยเู่ ถดิ ดงั น.ี้   อานนท ์ !  
แม้กระนนั้ จติ ของเรากย็ งั ไมแ่ ลน่ ไป ไม่เล่อื มใส ไมต่ ัง้ อยไู่ ด้

138

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ไม่หลุดออกไป ในเนวสัญญานาสัญญายตนะนั้น ท้ังท่ีเรา
เห็นอยวู่ า่ นัน่ สงบ.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั .
อานนท์ !  ความรู้สึกได้เกิดข้ึนแก่เราว่า เพราะว่าโทษใน
อากญิ จญั ญายตนะ เปน็ สง่ิ ทเี่ รายงั มองไมเ่ หน็ ยงั ไมไ่ ดน้ �ำ มา
ทำ�การคิดนึกให้มาก และทั้งอานิสงส์แห่งเนวสัญญา-
นาสัญญายตนะ เราก็ยงั ไมเ่ คยได้รบั เลย ยังไม่เคยร้รู สเลย ;
จติ ของเราจึงเปน็ เชน่ น้ัน.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
ถ้าหากเราได้เห็นโทษในอากิญจัญญายตนะ แล้วนำ�มา
ท�ำ การคดิ นกึ ในขอ้ นน้ั ใหม้ าก ไดร้ บั อานสิ งสใ์ นเนวสญั ญา-
นาสัญญายตนะแล้ว พึงเสพในอานิสงส์น้ันอย่างท่ัวถึงไซร้,
ข้อนั้นแหละ จะเป็นฐานะที่จะทำ�ให้จิตของเราพึงแล่นไป
พงึ เลอ่ื มใส ตง้ั อยไู่ ด้ หลดุ ออกไป ในเนวสญั ญานาสญั ญายตนะ
โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.  อานนท ์! โดยกาลตอ่ มา เราไดท้ �ำ
เชน่ นน้ั แลว้ อยา่ งทว่ั ถงึ จติ ของเราจงึ แลน่ ไป จงึ เลอ่ื มใส ตง้ั อยไู่ ด้
หลดุ ออกไป ในเนวสญั ญานาสญั ญายตนะนน้ั โดยทเี่ หน็ อยู่
วา่ นนั่ สงบ.  อานนท ์ !  เราแล ผา่ นพน้ อากญิ จญั ญายตนะ
โดยประการทง้ั ปวงเสยี แลว้ จงึ บรรลเุ นวสญั ญานาสญั ญายตนะ
แลว้ แลอย.ู่

139

พุทธวจน - หมวดธรรม

อานนท์ !   แม้เม่ือเราอยู่ด้วยวิหารธรรมน้ี การทำ�
ในใจตามอำ�นาจแห่งสัญญาที่เป็นไปในอากิญจัญญายตนะ
กย็ งั เกดิ แทรกแซงอย.ู่   ขอ้ นน้ั ยงั เปน็ การอาพาธ (ในทางจติ )
แก่เรา, เหมือนผู้มีสุข แล้วยังมีทุกข์เกิดข้ึนขัดขวาง เพราะ
อาพาธ ฉันใดก็ฉันน้ัน.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
เพอื่ ก�ำ จดั อาพาธขอ้ นน้ั เสยี ถา้ กระไรเรา ผา่ นพน้ เนวสญั ญา-
นาสัญญายตนะโดยประการท้ังปวงเสียแล้ว  พึงบรรลุ
สัญญาเวทยิตนิโรธ แลว้ แลอย่เู ถิด ดังนี.้   อานนท ์ !   แม้
กระน้ันจิตของเราก็ยังไม่แล่นไป ไม่เล่ือมใส ไม่ต้ังอยู่ได้
ไม่หลุดออกไป ในสัญญาเวทยิตนิโรธน้ัน ทั้งที่เราเห็นอยู่
ว่าน่นั สงบ.

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดข้ึนแก่เราสืบไปว่า
อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหจ้ ติ ของเราเปน็ เชน่ นน้ั .
อานนท์ !  ความรู้สึกได้เกิดข้ึนแก่เราว่า เพราะว่าโทษใน
เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ เปน็ สง่ิ ทเี่ รายงั มองไมเ่ หน็ ยงั ไมไ่ ด้
นำ�มาทำ�การคิดนึกให้มาก และทั้งอานิสงส์แห่งสัญญา-
เวทยิตนิโรธ เราก็ยังไม่เคยได้รับเลย ยังไม่เคยรู้รสเลย ;
จติ ของเราจึงเป็นเชน่ นัน้ .

140

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : “ตถาคต”

อานนท์ !   ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราสืบไปว่า
ถ้าหากเราได้เห็นโทษในเนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วนำ�
มาทำ�การคิดนึกในข้อน้ันให้มาก ได้รับอานิสงส์ในสัญญา-
เวทยิตนิโรธแล้ว พึงเสพในอานิสงส์น้ันอย่างทั่วถึงไซร้,
ข้อนั้นแหละ จะเป็นฐานะท่ีจะทำ�ให้จิตของเราพึงแล่นไป
พึงเลื่อมใส ต้ังอยู่ได้ หลุดออกไป ในสัญญาเวทยิตนิโรธ
โดยทเ่ี หน็ อยวู่ า่ นน่ั สงบ.  อานนท ์ !  โดยกาลตอ่ มา เราได้
ทำ�เช่นนั้นแล้วอย่างท่ัวถึง จิตของเราจึงแล่นไป จึงเล่ือมใส
ตั้งอยู่ได้ หลุดออกไปในสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น โดยท่ีเห็น
อยู่ว่าน่ันสงบ.  อานนท์ !  เราแล ผ่านพ้นเนวสัญญา-
นาสญั ญายตนะโดยประการทง้ั ปวงเสยี แลว้ จงึ บรรลสุ ญั ญา-
เวทยิตนโิ รธ แลว้ แลอยู่ (ไมม่ อี าพาธอะไรๆ อกี ต่อไป).  อนึ่ง
อาสวะทง้ั หลาย ไดถ้ งึ ความสน้ิ ไปรอบ เพราะเราเหน็ (อรยิ สจั จส์ )่ี
ได้ด้วยปัญญา.

141

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงก�ำหนดสมาธนิ มิ ิต ก่อนตรัสรู้ 52
-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๓๐๒/๔๕๒.

อนุรุทธะทั้งหลาย !   นิมิตน้ันแหละ เธอพึงแทง
ตลอดเถิด. แม้เราเม่ือครัง้ กอ่ นแตก่ ารตรัสรู้ ยงั ไม่ได้ตรสั รู้
ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ยู่ กจ็ �ำ แสงสวา่ งและการเหน็ รปู ทง้ั หลายได.้  
ตอ่ มาไมน่ าน แสงสวา่ งและการเหน็ รปู ของเรานน้ั ๆ ไดห้ ายไป. 
เกดิ ความสงสยั แกเ่ ราวา่ อะไรเปน็ เหตุ อะไรเปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ให้
แสงสวา่ งและการเหน็ รปู นน้ั หายไป ?  อนรุ ทุ ธะทงั้ หลาย !  
เมื่อคิดอยู่ ก็เกิดความรู้ (ดงั ต่อไปนี)้ วา่ : -

วิจิกจิ ฉา (ความลงั เล) แล เกดิ ขึน้ แก่เราแล้ว, สมาธิ
ของเราเคลื่อนแล้ว ก็เพราะมีวิจิกิจฉาเป็นต้นเหตุ.  ครั้น
สมาธิเคล่ือนแล้ว แสงสว่างและการเห็นรูปย่อมหายไป. 
เราจักกระทำ�โดยประการที่วิจิกิจฉา จะไม่บังเกิดขึ้นแก่เรา
ได้อกี … (มคี ำ�ระหวา่ งนเ้ี หมอื นท่อนตน้ ไมม่ ีผิด ทกุ ตอน ตงั้ แตค่ ำ�วา่

ต่อมาไม่นาน จนถึงคำ�ว่า เกดิ ความรู้ (ดังตอ่ ไปนี้) ว่า :-)

อมนสกิ าร (ความไมท่ �ำ ไวใ้ นใจ คอื ไม่ใส่ใจ) แล เกดิ ข้นึ
แก่เราแล้ว, สมาธิของเราเคล่ือนแล้ว ก็เพราะมีอมนสิการ
เป็นต้นเหตุ.  คร้ันสมาธิเคลื่อนแล้ว แสงสว่างและการ
เหน็ รปู ยอ่ มหายไป.  เราจกั กระท�ำ โดยประการทวี่ จิ กิ จิ ฉา
และอมนสกิ าร จะไมเ่ กดิ ขึ้นแกเ่ ราไดอ้ กี .

142

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

ถนี มทิ ธะ (ความเคลม้ิ และงว่ งงนุ ) แล เกดิ ขน้ึ แกเ่ ราแลว้ ,
สมาธิของเราเคล่ือนแล้ว เพราะมีถีนมิทธะเป็นต้นเหตุ. 
ครนั้ สมาธเิ คลอ่ื นแลว้ แสงสวา่ งและการเหน็ รปู ยอ่ มหายไป. 
เราจกั กระท�ำ โดยประการทว่ี จิ กิ จิ ฉา, อมนสกิ าร, และถนี มทิ ธะ
จะไม่บังเกดิ ขึ้นแกเ่ ราไดอ้ กี .

ฉมั ภติ ตั ตะ (ความสะดงุ้ หวาดเสยี ว) แล เกดิ ขน้ึ แกเ่ ราแลว้ ,
สมาธิของเราเคลื่อนแล้ว เพราะมีฉัมภิตัตตะเป็นต้นเหตุ. 
ครน้ั สมาธเิ คลอื่ นแลว้ แสงสวา่ งและการเหน็ รปู ยอ่ มหายไป. 
เหมือนบุรุษเดินทางไกล เกิดผู้มุ่งหมายเอาชีวิตข้ึนทั้งสอง
ขา้ งทาง ความหวาดเสยี วยอ่ มเกดิ แกเ่ ขา เพราะขอ้ นน้ั เปน็ เหตุ
ฉะนน้ั .  เราจกั กระทำ�โดยประการที่วิจกิ ิจฉา, อมนสิการ,
ถีนมิทธะ, และฉัมภติ ตั ตะ จะไม่เกดิ แก่เราได้อีก.

อพุ พลิ ะ (ความตน่ื เตน้ ) แล เกดิ ขนึ้ แกเ่ ราแลว้ , สมาธิ
ของเราเคลอ่ื นแลว้ เพราะมอี พุ พลิ ะนนั้ เปน็ ตน้ เหต.ุ   เมอ่ื
สมาธิเคล่ือนแล้ว แสงสว่างและการเห็นรูปย่อมหายไป.
เหมอื นบรุ ษุ แสวงหาอยซู่ ง่ึ ขมุ ทรพั ยข์ มุ เดยี ว เขาพบพรอ้ มกนั
คราวเดียวตั้งห้าขุม ความตื่นเต้นเกิดขึ้นเพราะการพบน้ัน
เป็นเหตุ ฉะน้ัน.  เราจักกระทำ�โดยประการที่วิจิกิจฉา,
อมนสิการ, ถีนมิทธะ, ฉัมภิตัตตะและอุพพิละ จะไม่เกิด
แก่เราไดอ้ ีก.

143

พุทธวจน - หมวดธรรม

ทุฏฐลุ ละ (ความคะนองหยาบ) แล เกิดขน้ึ แก่เราแลว้ ,
สมาธิของเราเคล่ือนแล้ว เพราะมีทุฏฐุลละน้ันเป็นต้นเหตุ.
เมอ่ื สมาธเิ คลอ่ื นแลว้ แสงสวา่ งและการเหน็ รปู ยอ่ มหายไป.
เราจักกระท�ำ โดยประการทว่ี จิ ิกจิ ฉา, อมนสิการ, ถนี มทิ ธะ,
ฉัมภติ ตั ตะ, อพุ พลิ ะ, และทุฏฐลุ ละ จะไมเ่ กิดแกเ่ ราไดอ้ กี .

อัจจารัทธวิริยะ (ความเพียรท่ีปรารภจัดจนเกินไป) แล
เกดิ ขนึ้ แกเ่ ราแลว้ , สมาธขิ องเราเคลอื่ นแลว้ เพราะมอี จั จา-
รัทธวิริยะนั้นเป็นต้นเหตุ. เมื่อสมาธิเคล่ือนแล้ว แสงสว่าง
และการเห็นรูปย่อมหายไป.  เปรียบเหมือนบุรุษจับ
นกกระจาบดว้ ยมอื ทงั้ สองหนกั เกนิ ไป นกนนั้ ยอ่ มตายในมอื
ฉะนน้ั .  เราจักกระท�ำ โดยประการทว่ี ิจิกิจฉา, อมนสกิ าร,
ถนี มทิ ธะ, ฉมั ภติ ตั ตะ, อพุ พลิ ะ, ทฏุ ฐลุ ละ, และอจั จารทั ธวริ ยิ ะ
จะไม่เกิดแก่เราได้อีก.

อติลีนวิรยิ ะ (ความเพียรทย่ี อ่ หยอ่ นเกินไป) แล เกิดขึน้
แก่เราแล้ว, สมาธิของเราเคลื่อนแล้ว เพราะมีอติลีนวิริยะ
นนั้ เปน็ ตน้ เหต.ุ   เมอื่ สมาธเิ คลอื่ นแลว้ แสงสวา่ งและการ
เห็นรูปย่อมหายไป.  เปรียบเหมือนบุรุษจับนกกระจาบ
หลวมมือเกินไป นกหลุดข้ึนจากมือบินหนีเสียได้ ฉะน้ัน. 
เราจักกระท�ำ โดยประการทว่ี ิจกิ จิ ฉา, อมนสิการ, ถีนมิทธะ,

144

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : “ตถาคต”

ฉมั ภติ ตั ตะ, อพุ พลิ ะ, ทฏุ ฐลุ ละ, อจั จารทั ธวริ ยิ ะ, และอตลิ นี วริ ยิ ะ
จะไม่เกดิ แก่เราได้อีก.

อภชิ ัปปา (ความกระสันอยาก) แล เกิดขึ้นแกเ่ ราแลว้ ,
สมาธิของเราเคล่ือนแล้ว เพราะมีอภิชัปปาเป็นต้นเหตุ. 
เมอ่ื สมาธเิ คลอ่ื นแลว้ แสงสวา่ งและการเหน็ รปู ยอ่ มหายไป. 
เราจกั กระทำ�โดยประการที่วิจิกิจฉา, อมนสกิ าร, ถีนมทิ ธะ,
ฉมั ภติ ตั ตะ, อพุ พลิ ะ, ทฏุ ฐลุ ละ, อจั จารทั ธวริ ยิ ะ, อตลิ นี วริ ยิ ะ
และอภชิ ปั ปาจะไม่เกดิ ขนึ้ แก่เราได้อีก.

นานตั ตสญั ญา (ความใส่ใจไปในสงิ่ ตา่ งๆ) แล เกิดขึน้
แกเ่ ราแลว้ , สมาธขิ องเราเคลอ่ื นแลว้ เพราะมนี านตั ตสญั ญา
นนั้ เปน็ ตน้ เหต.ุ เมอ่ื สมาธเิ คลอื่ นแลว้ แสงสวา่ งและการเหน็
รูปย่อมหายไป.  เราจักกระทำ�โดยประการท่ี วิจิกิจฉา,
อมนสิการ, ถีนมิทธะ, ฉัมภิตัตตะ, อุพพิละ, ทุฏฐุลละ,
อจั จารทั ธวริ ยิ ะ, อตลิ นี วริ ยิ ะ, อภชิ ปั ปา, และนานตั ตสญั ญา
จะไม่เกดิ แก่เราไดอ้ กี .

รูปานัง อตินิชฌายิตัตตะ (ความเพ่งต่อรูปท้ังหลาย
จนเกนิ ไป) แล เกิดขึ้นแก่เราแล้ว, สมาธิของเราเคล่ือนแล้ว
เพราะมอี ตนิ ชิ ฌายติ ตั ตะเปน็ ตน้ เหต.ุ เมอื่ สมาธเิ คลอ่ื นแลว้
แสงสว่างและการเห็นรูปย่อมหายไป.  เราจักกระทำ�โดย

145

พุทธวจน - หมวดธรรม

ประการที่วิจิกิจฉา, อมนสิการ, ถีนมิทธะ, ฉัมภิตัตตะ,
อพุ พลิ ะ, ทฏุ ฐลุ ละ, อจั จารทั ธวริ ยิ ะ, อตลิ นี วริ ยิ ะ, อภชิ ปั ปา,
นานตั ตสญั ญา, และรปู านงั อตนิ ชิ ฌายติ ตั ตะ จะไมเ่ กดิ แกเ่ รา
ไดอ้ ีก.

อนุรุทธะท้ังหลาย !   เรารู้แจ้งชัดวิจิกิจฉา (เป็นต้น
เหล่านั้น) ว่าเป็นอุปกิเลสแห่งจิตแล้ว จึงละแล้วซ่ึงวิจิกิจฉา
(เป็นตน้ เหลา่ น้ัน) อันเปน็ อปุ กเิ ลส แหง่ จติ เสีย.

อนรุ ทุ ธะทง้ั หลาย !   เรานน้ั เมอ่ื ไมป่ ระมาท มเี พยี ร
มีตนสง่ ไปอยยู่ ่อมจ�ำ แสงสว่างได้ แต่ไม่เหน็ รปู (หรอื ) ย่อม
เหน็ รปู แตจ่ ำ�แสงสว่างไม่ได้ เป็นดังนท้ี งั้ คืนบ้าง ท้งั วันบ้าง
ท้ังคืนและทั้งวันบ้าง.  ความสงสัยเกิดแก่เราว่าอะไร
เปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั ทเ่ี ราจ�ำ แสงสวา่ งได้ แตไ่ มเ่ หน็ รปู (หรอื )
เห็นรูป แต่จำ�แสงสว่างไม่ได้ ท้ังคืนบ้าง ทั้งวันบ้าง ทั้งคืน
และท้งั วันบ้าง ?

อนรุ ทุ ธะทง้ั หลาย !   ความรไู้ ดเ้ กดิ แกเ่ ราวา่ สมยั ใด
เราไมท่ �ำ รปู นมิ ติ ไวใ้ นใจ แตท่ �ำ โอภาสนมิ ติ ไวใ้ นใจ สมยั นน้ั
เราย่อมจำ�แสงสว่างได้ แต่ไม่เห็นรูป.  สมัยใดเราไม่ทำ�
โอภาสนมิ ติ ไวใ้ นใจ แตท่ �ำ รปู นมิ ติ ไวใ้ นใจ, สมยั นน้ั เรายอ่ ม
เหน็ รปู แตจ่ �ำ แสงสวา่ งไมไ่ ด้ ตลอดทง้ั คนื บา้ ง ตลอดทง้ั วนั บา้ ง
ตลอดทง้ั คนื และท้ังวันบ้าง.

146

เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

อนุรุทธะทั้งหลาย !   เราเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียร
มีตนส่งไปอยู่  ย่อมจำ�แสงสว่างได้นิดเดียว  เห็นรูป
กน็ ดิ เดยี วบา้ ง, จ�ำ แสงสวา่ งมากไมม่ ปี ระมาณ เหน็ รปู กม็ าก
ไมม่ ปี ระมาณบ้าง เป็นดังน้ที ั้งคนื บา้ ง ทง้ั วันบ้าง ท้ังคนื และ
ท้ังวันบ้าง.  ความสงสัยเกิดแก่เราว่า อะไรเป็นเหตุ
เปน็ ปจั จยั ทเ่ี ราจ�ำ แสงสวา่ งไดน้ ดิ เดยี ว เหน็ รปู กน็ ดิ เดยี วบา้ ง,
จ�ำ แสงสวา่ งไดม้ ากไมม่ ปี ระมาณ เหน็ รปู กม็ ากไมม่ ปี ระมาณ
ตลอดทง้ั คนื บา้ ง ตลอดทง้ั วนั บา้ ง ตลอดทง้ั คนื และทง้ั วนั บา้ ง.

อนรุ ทุ ธะทงั้ หลาย !   ความรไู้ ดเ้ กดิ แกเ่ ราวา่ สมยั ใด
สมาธิของเราน้อย สมัยนั้นจักขุก็มีน้อย, ด้วยจักขุอันน้อย
เราจึงจำ�แสงสว่างได้น้อย เห็นรูปก็น้อย.  สมัยใดสมาธิ
ของเรามากไม่มีประมาณ  สมัยนั้นจักขุของเราก็มากไม่มี
ประมาณ, ด้วยจักขุอันมากไม่มีประมาณน้ัน เราจึงจำ�
แสงสวา่ งไดม้ ากไมม่ ปี ระมาณ เหน็ รปู ไดม้ ากไมม่ ปี ระมาณ,
ตลอดคนื บ้าง ตลอดวันบ้าง ตลอดทง้ั คืนและท้ังวันบา้ ง.

อนุรุทธะทั้งหลาย !   ในกาลที่เรารู้แจ้งว่า (ธรรมมี)
วจิ กิ จิ ฉา (เปน็ ตน้ เหลา่ นน้ั ) เปน็ อปุ กเิ ลสแหง่ จติ แลว้ และละมนั
เสยี ไดแ้ ลว้ กาลนนั้ ยอ่ มเกดิ ความรสู้ กึ ขน้ึ แกเ่ ราวา่ “อปุ กเิ ลส
แหง่ จติ ของเราเหลา่ ใด อปุ กเิ ลสนนั้ ๆ เราละไดแ้ ลว้ , เดยี๋ วน้ี
เราเจรญิ แล้วซึ่งสมาธโิ ดยวธิ ีสามอยา่ ง.”

147

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อนุรุทธะท้ังหลาย !   เราเจริญแล้ว ซึ่งสมาธิอันมี
วิตกวิจาร, ซึ่งสมาธิอันไม่มีวิตก แต่มีวิจารพอประมาณ,
ซ่ึงสมาธิอันไม่มีวิตกไม่มีวิจาร, ซ่ึงสมาธิอันมีปีติ, ซ่ึงสมาธิ
อันหาปีติมิได้,  ซึ่งสมาธิอันเป็นไปกับด้วยความยินดี,
และสมาธอิ นั เปน็ ไปกบั ดว้ ยอเุ บกขา.  อนรุ ทุ ธะทงั้ หลาย !  
กาลใดสมาธอิ นั มวี ติ กมวี จิ าร (เปน็ ตน้ เหลา่ นนั้ ทงั้ ๗ อยา่ ง) เปน็
ธรรมชาตอิ นั เราเจรญิ แลว้ , กาลนน้ั ญาณเปน็ เครอ่ื งรเู้ ครอ่ื งเหน็
เกิดขึ้นแล้วแก่เราว่า “วิมุตติของเราไม่กลับกำ�เริบ, ชาตินี้
เป็นชาติสดุ ท้าย, บัดนี้ภพเปน็ ท่ีเกดิ ใหมไ่ มม่ ีอกี ” ดงั น้.ี

148

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

วิหารธรรมทที่ รงอยู่มากทสี่ ดุ 53
กอ่ นตรัสรู้

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๓๙๙, ๔๐๑/๑๓๒๔, ๑๓๒๙.

ภิกษุทั้งหลาย !   ความหวั่นไหวโยกโคลงของกาย
หรือความหวั่นไหวโยกโคลงของจิตก็ตาม ย่อมมีข้ึนไม่ได้
ด้วยอำ�นาจแห่งการเจริญทำ�ให้มาก ซึ่งสมาธิใด สมาธิน้ัน
ภกิ ษยุ อ่ มจะไดโ้ ดยไมห่ นกั ใจ ไดโ้ ดยไมย่ าก โดยไมล่ �ำ บากเลย.

ภิกษุท้ังหลาย !   ความหว่ันไหวโยกโคลงของกาย
หรือความหว่ันไหวโยกโคลงของจิตก็ตาม ย่อมมีขึ้นไม่ได้
ด้วยอำ�นาจแหง่ การเจรญิ ทำ�ใหม้ ากซงึ่ สมาธไิ หนกันเลา่  ?

ภิกษุทั้งหลาย !   ความหวั่นไหวโยกโคลงของกาย
หรือความหว่ันไหวโยกโคลงของจิตก็ตาม ย่อมมีขึ้นไม่ได้
ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่ การเจรญิ ท�ำ ใหม้ ากซง่ึ อานาปานสตสิ มาธ.ิ

ภิกษุท้ังหลาย !   เมื่อบุคคลเจริญทำ�ให้มากซึ่ง
อานาปานสติสมาธิอยู่อย่างไรเล่า ความหว่ันไหวโยกโคลง
ของกาย หรือความหวั่นไหวโยกโคลงของจิตก็ตามย่อมมี
ขึ้นไมไ่ ด ้ ?

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ภกิ ษใุ นกรณนี ี้ ไปสปู่ า่ หรอื โคนไม้
หรือเรือนว่างก็ตาม แล้วนั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบ ตั้งกายตรง
ด�ำ รงสตเิ ฉพาะหนา้ .  ภกิ ษนุ น้ั หายใจเขา้ กม็ สี ติ หายใจออก
กม็ สี ต.ิ

149

พุทธวจน - หมวดธรรม

เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว, เมื่อ
หายใจออกยาว ก็รูช้ ดั วา่ เราหายใจออกยาว.

เมื่อหายใจเข้าส้ัน ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้น, เม่ือ
หายใจออกสั้น กร็ ู้ชัดว่าเราหายใจออกสัน้ .

เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราจกั เปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม
เฉพาะซึ่งกายทงั้ ปวง หายใจเข้า”, ว่า “เราจักเปน็ ผู้รู้พรอ้ ม
เฉพาะซงึ่ กายทั้งปวง หายใจออก”.

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้ทำ�
กายสังขารให้สงบรำ�งับ หายใจเข้า”, ว่า “เราจักเป็นผู้ทำ�
กายสังขารให้สงบรำ�งบั หายใจออก”.

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้รู้สึก
พรอ้ มเฉพาะซงึ่ ปตี ิ หายใจเขา้ ”, วา่ “เราจกั เปน็ ผรู้ สู้ กึ พรอ้ ม
เฉพาะซ่งึ ปตี ิ หายใจออก”.

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้รู้สึก
พรอ้ มเฉพาะซง่ึ สขุ หายใจเขา้ ”, วา่ “เราจกั เปน็ ผรู้ สู้ กึ พรอ้ ม
เฉพาะซึ่งสุข หายใจออก”.

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้รู้สึก
พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า”, ว่า “เราจักเป็นผู้
รสู้ กึ พรอ้ มเฉพาะซึ่งจติ ตสงั ขาร หายใจออก”.

150

เปิดธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้ทำ�
จิตตสังขารให้สงบรำ�งับ หายใจเข้า”, ว่า “เราจักเป็นผู้ทำ�
จติ ตสังขารให้สงบรำ�งบั หายใจออก”.

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้รู้สึก
พรอ้ มเฉพาะซง่ึ จติ หายใจเขา้ ”, วา่ “เราจกั เปน็ ผรู้ สู้ กึ พรอ้ ม
เฉพาะซึ่งจติ หายใจออก”.

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้ทำ�จิต
ใหป้ ราโมทยบ์ ันเทงิ หายใจเข้า”, ว่า “เราจกั เป็นผูท้ ำ�จิตให้
ปราโมทย์บันเทงิ หายใจออก”.

เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราจักเป็นผู้ดำ�รง
จติ ใหต้ ง้ั มน่ั หายใจเขา้ ”, วา่ “เราจกั เปน็ ผดู้ �ำ รงจติ ใหต้ ง้ั มน่ั
หายใจออก”.

เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราจกั เปน็ ผทู้ �ำ จติ ให้
ปลดปลอ่ ย หายใจเขา้ ”, วา่ “เราจกั เปน็ ผทู้ �ำ จติ ใหป้ ลดปลอ่ ย
หายใจออก”.

เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราจกั เปน็ ผมู้ องเหน็
ความไม่เที่ยง หายใจเข้า”, ว่า “เราจักเป็นผู้มองเห็น
ความไม่เทย่ี ง หายใจออก”.

151

พุทธวจน - หมวดธรรม

เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราจกั เปน็ ผมู้ องเหน็
ความจางคลาย หายใจเข้า”,  ว่า “เราจักเป็นผู้มองเห็น
ความจางคลาย หายใจออก”.

เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราจกั เปน็ ผมู้ องเหน็
ความดับสนิท หายใจเข้า”,  ว่า “เราจักเป็นผู้มองเห็น
ความดับสนทิ หายใจออก”.

เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราจกั เปน็ ผมู้ องเหน็
ความสลัดคืน หายใจเขา้ ”, วา่ “เราจกั เปน็ ผู้มองเห็นความ
สลดั คนื หายใจออก”. ดังน้ี.

ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อบุคคลเจริญ ทำ�ให้มากซึ่ง
อานาปานสติสมาธิอยู่อย่างน้ีแล ความหว่ันไหวโยกโคลง
แห่งกาย หรือความหว่ันไหวโยกโคลงแห่งจิตก็ตามย่อมมี
ขึ้นไมไ่ ด้…

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  แมเ้ ราเองกเ็ หมอื นกนั ในกาลกอ่ น
แต่การตรัสรู้ ยังไม่ได้ตรัสร้ยู ังเป็นโพธิสัตว์อยู่ ย่อมอย่ดู ้วย
วหิ ารธรรม คอื อานาปานสตสิ มาธนิ เ้ี ปน็ สว่ นมาก เมอ่ื เราอยดู่ ว้ ย
วหิ ารธรรมนเ้ี ปน็ สว่ นมาก กายกไ็ มล่ �ำ บาก ตากไ็ มล่ �ำ บาก และ
จติ ของเรากห็ ลดุ พน้ จากอาสวะ เพราะไมม่ อี ปุ าทาน.

152

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เพราะฉะนน้ั ในเรอ่ื งน้ี ถา้ ภกิ ษหุ วงั วา่
กายของเรากอ็ ยา่ ล�ำ บาก ตาของเรากอ็ ยา่ ล�ำ บาก และจติ ของเรา
ก็จงหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่มีอุปาทานเถิด ดังนี้แล้ว ;
ภกิ ษนุ นั้ จงทำ�ในใจ ในอานาปานสติสมาธนิ ้ี ใหเ้ ปน็ อยา่ งดี.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ในเรอ่ื งน้ี ถา้ ภกิ ษหุ วงั วา่ ความครนุ่ คดิ
อนั เกย่ี วขอ้ งไปทางเหยา้ เรอื นของเรา จงหายไปอยา่ งหมดสนิ้
ดังนี้แล้ว ;  ภิกษุน้ันจงทำ�ในใจ ในอานาปานสติสมาธิน้ี
ใหเ้ ปน็ อย่างด.ี

ภิกษุทั้งหลาย !   ในเรื่องนี้ ถ้าภิกษุหวังว่า เราพึง
เปน็ ผอู้ ยดู่ ว้ ยความรสู้ กึ วา่ ปฏกิ ลู ตอ่ สงิ่ ทไี่ มป่ ฏกิ ลู ดงั นแี้ ลว้  ;
ภกิ ษนุ ้ันจงทำ�ในใจ ในอานาปานสตสิ มาธนิ ี้ ให้เป็นอย่างดี.

ภิกษุท้ังหลาย !   ในเร่ืองน้ี ถ้าภิกษุหวังว่า เราพึง
เปน็ ผอู้ ยดู่ ว้ ยความรสู้ กึ วา่ ไมป่ ฏกิ ลู ตอ่ สง่ิ ทป่ี ฏกิ ลู ดงั นแี้ ลว้  ;
ภกิ ษนุ ั้นจงทำ�ในใจ ในอานาปานสตสิ มาธินี้ ให้เปน็ อย่างด.ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในเรอ่ื งน้ี ถา้ ภกิ ษหุ วงั วา่ เราพงึ เปน็
ผอู้ ย่ดู ว้ ยความรู้สึกว่าปฏิกลู ท้ังต่อส่ิงทีไ่ ม่ปฏกิ ลู และต่อสิง่
ทปี่ ฏกิ ลู ดงั นแ้ี ลว้  ; ภกิ ษนุ นั้ จงท�ำ ในใจ ในอานาปานสตสิ มาธนิ ี้
ใหเ้ ปน็ อยา่ งดี.

153

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในเรอ่ื งน้ี ถา้ ภกิ ษหุ วงั วา่ เราพงึ เปน็
ผ้อู ย่ดู ้วยความร้สู ึกว่าไม่ปฏิกูล ท้งั ต่อส่งิ ท่ปี ฏิกูล และต่อส่งิ
ทไ่ี มป่ ฏกิ ลู ดงั นแ้ี ลว้  ; ภกิ ษนุ น้ั จงท�ำ ในใจ ในอานาปานสตสิ มาธนิ ้ี
ใหเ้ ปน็ อยา่ งด.ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในเรอ่ื งน้ี ถา้ ภกิ ษหุ วงั วา่ เราพงึ เปน็
ผู้ไม่ใส่ใจเสียเลย ท้ังต่อส่ิงท่ีไม่ปฏิกูล  และต่อส่ิงท่ีปฏิกูล
ท้ังสองอย่าง แล้วเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะเถิด
ดงั นแ้ี ลว้  ; ภกิ ษนุ น้ั จงท�ำ ในใจ ในอานาปานสตสิ มาธนิ ้ี ใหเ้ ปน็
อยา่ งด.ี

(ตอ่ แตน่ ้ี ไดต้ รสั ท�ำ นองนเ้ี รอื่ ยไปจนถงึ ความหวงั จะได้ ปฐมฌาน
ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ
อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ และสัญญาเวทยิตนิโรธ
จนกระท่งั ความดับเย็นแหง่ เวทนา เพราะความไมเ่ พลดิ เพลินในเวทนานนั้
เป็นที่สุด โดยผู้ต้องการพึงทำ�ในใจ ซ่ึงอานาปานสติสมาธิน้ีให้เป็นอย่างดี
และสามารถศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมได้จาก พุทธวจน-หมวดธรรม
ฉบบั ท่ี ๖ อานาปานสติ -ผรู้ วบรวม).

154

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงคดิ ค้นเร่ืองเบญจขนั ธ์ 54
กอ่ นตรสั รู้

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๓๔/๕๙.

ภิกษุทั้งหลาย !   คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรา
ยังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ ความสงสัยได้เกิดขึ้น
แก่เราว่า อะไรหนอ เป็นรสอร่อยของรูป, อะไรเป็นโทษ
ของรปู , อะไรเปน็ อบุ ายเครอ่ื งพน้ ไปไดจ้ ากรปู  ? อะไรหนอเปน็
รสอรอ่ ยของเวทนา … สญั ญา … สงั ขาร … วญิ ญาณ, อะไร
เปน็ โทษของเวทนา … สญั ญา … สงั ขาร … วญิ ญาณ, อะไร
เป็นอุบายเครื่องพ้นไปได้จากเวทนา … สัญญา … สังขาร
… วญิ ญาณ ?

ภิกษุทั้งหลาย !   ความรู้ข้อน้ีได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
สขุ โสมนสั ใดๆ ทอ่ี าศยั รปู แลว้ เกดิ ขนึ้ สขุ และโสมนสั นน้ั แล
เป็นรสอรอ่ ยของรูป ;  รูปไม่เท่ียง เป็นทกุ ขท์ รมาน มกี าร
แปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด อาการน้ันเป็นโทษ
ของรูป ;  การนำ�ออกเสียได้ ซึ่งความกำ�หนัดด้วยอำ�นาจ
ความพอใจ การละความกำ�หนัดด้วยอำ�นาจความพอใจ
ในรปู เสียได้ นนั้ เป็นอบุ ายเครือ่ งออกไปพ้นจากรปู ได้.

(ในเวทนา... สญั ญา... สังขาร... และวิญญาณ กม็ ีนัยเดยี วกัน).

155

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ตลอดเวลาเพยี งไร ทเี่ รายงั ไมร่ จู้ กั
รสอรอ่ ยของอปุ าทานขนั ธท์ งั้ หา้ วา่ เปน็ รสอรอ่ ย ไมร่ จู้ กั โทษ
วา่ เปน็ โทษ ไมร่ จู้ กั อบุ ายเครอ่ื งออกวา่ เปน็ อบุ ายเครอ่ื งออก
ตามทเี่ ปน็ จรงิ , ตลอดเวลาเพยี งนน้ั เรายงั ไมร่ สู้ กึ วา่ ไดต้ รสั รู้
พรอ้ มเฉพาะซง่ึ อนตุ ตรสมั มาสมั โพธญิ าณ ในโลกนพี้ รอ้ มทง้ั
เทวดา มาร พรหม หมู่สตั วพ์ ร้อมท้งั สมณพราหมณ์ เทวดา
พร้อมทง้ั มนุษย.์

ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือใดแล เรารู้จักรสอร่อยของ
อปุ าทานขนั ธท์ งั้ หา้ วา่ เปน็ รสอรอ่ ย รจู้ กั โทษวา่ เปน็ โทษ รจู้ กั
อุบายเคร่ืองออกว่าเป็นอุบายเคร่ืองออก ตามท่ีเป็นจริง,
เมอ่ื นั้น เราก็รสู้ กึ ว่าได้ตรสั รู้พร้อมเฉพาะซ่งึ อนตุ ตรสมั มา-
สัมโพธิญาณ ในโลกพร้อมทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์
พรอ้ มทง้ั สมณพราหมณ์ เทวดาพรอ้ มทง้ั มนษุ ย.์   กแ็ หละ
ญาณทสั สนะเครอื่ งรเู้ คร่ืองเหน็ เกิดขึน้ แล้วแกเ่ ราวา่ ความ
หลดุ พน้ ของเราไมก่ ลบั ก�ำ เรบิ , ชาตนิ เ้ี ปน็ ชาตสิ ดุ ทา้ ย, บดั นี้
ภพเปน็ ที่เกิดใหม่ มไิ ดม้ ีอีก, ดังนี้.

[นอกจากการคิดค้นเร่ืองเบญจขันธ์นี้แล้ว ยังมีการคิดค้น
อีก ๓ เร่ือง ด้วยวิธีการท่ีบรรยายไว้เป็นคำ�พูดอย่างเดียวกันกับเร่ืองน้ี
ทกุ ระเบยี บอกั ษร คอื คดิ คน้ เรอ่ื งธาตสุ ่ี (-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๒๐๓/๔๐๔),
เรอ่ื งอายตนะภายในหก (-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๘/๑๓), และเรอ่ื งอายตนะ
ภายนอกหก (-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๙/๑๔). -ผแู้ ปล]

156

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงคิดค้นเรือ่ งเวทนาโดยละเอยี ด 55
ก่อนตรสั รู้

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๒๘๙/๔๓๙-๔๔๐.

ภิกษุทั้งหลาย !   ครั้งก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรายัง
ไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่, ความสงสัยได้เกิดขึ้น
แก่เราว่า อะไรหนอเป็นเวทนา ?  อะไรเป็นความเกิดข้ึน
พร้อมแห่งเวทนา ?  อะไรเป็นปฏิปทาให้ถึงความเกิดข้ึน
พรอ้ มแหง่ เวทนา ?  อะไรเปน็ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา ?
อะไรเป็นปฏิปทาให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ? 
อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ?  อะไรเป็นโทษของเวทนา
อะไรเป็นอบุ ายเครอ่ื งพน้ ไปได้จากเวทนา ?

ภิกษุท้ังหลาย !   ความรู้ข้อนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
เวทนา ๓ อยา่ งเหลา่ น้ี คอื สขุ เวทนา ทกุ ขเวทนา อทกุ ขม-
สุขเวทนา, เหล่านี้เรียกว่า เวทนา ;  ความเกิดข้ึนพร้อม
แห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความเกิดขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ ;
ตัณหาเป็นปฏิปทาให้ถึงความเกิดข้ึนพร้อมแห่งเวทนา ;
ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื
แห่งผัสสะ ;  มรรคอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปด
ประการนเ้ี อง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา,
ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ นี้ คอื ความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ ง  ความด�ำ รทิ ถ่ี กู ตอ้ ง

157

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

การพดู จาทถ่ี กู ตอ้ ง  การท�ำ การงานทถ่ี กู ตอ้ ง  การเลยี้ งชวี ติ
ที่ถูกต้อง  ความพากเพียรที่ถูกต้อง  ความรำ�ลึกท่ีถูกต้อง
ความตงั้ ใจมน่ั คงทถี่ กู ตอ้ ง ;  สขุ โสมนสั ใดๆ ทอ่ี าศยั เวทนา
แลว้ เกดิ ขน้ึ , สขุ และโสมนสั นนั้ แล เปน็ รสอรอ่ ยของเวทนา ;
เวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ดว้ ยอาการใด, อาการนนั้ เปน็ โทษของเวทนา ;  การน�ำ ออก
เสยี ได้ซ่ึงความกำ�หนดั ด้วยอ�ำ นาจความพอใจ การละความ
กำ�หนัดด้วยอำ�นาจความพอใจ ในเวทนาเสียได้ นั้นเป็น
อุบายเครอ่ื งออกไปพน้ จากเวทนาได้ ดงั น.ี้

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   จกั ษุ ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสวา่ ง
ไดเ้ กดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ รา ในธรรมทง้ั หลายทไี่ มเ่ คยฟงั มาแตก่ อ่ น
ว่า “เหล่าน้ี คือเวทนาท้ังหลาย” ; … “น้ี คือความเกิดข้ึน
พร้อมแห่งเวทนา” ; … “น้ี คือปฏิปทาให้ถึงความเกิด
ข้ึนพร้อมแห่งเวทนา” ; … “น้ี คือความดับไม่เหลือแห่ง
เวทนา” ; … “นี้ คือปฏิปทาให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง
เวทนา” ; … “น้ี คือรสอร่อยของเวทนา” ; … “น้ี คือโทษ
ของเวทนา” ; … “น้ี คอื อบุ ายเครอื่ งออกไปพน้ จากเวทนา” ;
ดงั น้ี.

158

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงเทยี่ วแสวงหาเพ่ือความตรสั รู้ 56
-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๓๓๓/๕๔๔.

ภิกษุท้ังหลาย !   เราได้เที่ยวไปแล้วเพ่ือแสวงหา
รสอรอ่ ย (คอื เครอ่ื งลอ่ ใจสตั ว)์ ของโลก.  เราไดพ้ บรสอรอ่ ย
ของโลกนั้นแล้ว.  รสอร่อยในโลกมีประมาณเท่าใด,
เราเห็นมันอยา่ งดีด้วยปัญญาของเราเท่านั้น.

ภิกษุทั้งหลาย !   เราได้เที่ยวไปแล้วเพื่อแสวงหา
(ใหพ้ บ) โทษ (คอื ความรา้ ยกาจ) ของโลก.  เราไดพ้ บโทษของ
โลกน้ันแล้ว.  โทษในโลกมีเท่าใด, เราเห็นมันอย่างดี
ดว้ ยปัญญาของเราเทา่ นัน้ .

ภิกษุทั้งหลาย !   เราได้เที่ยวไปแล้วเพ่ือแสวงหา
อุบายเครื่องออกจากโลกของโลก.  เราได้พบอุบาย
เครื่องออกจากโลกน้ันแล้ว.  อุบายเคร่ืองออกจากโลก
มีอยเู่ ทา่ ใด, เราเหน็ มันอย่างดดี ้วยปญั ญาของเรา เท่านน้ั .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ตลอดเวลาเพยี งไร ทเี่ รายงั ไมร่ เู้ ทา่
รสอร่อยของโลกว่าเป็นรสอร่อย (เครื่องล่อใจสัตว์), ไม่รู้จัก
โทษของโลกโดยความเป็นโทษ, ไม่รู้จักอุบายเคร่ืองออก

159

พุทธวจน - หมวดธรรม

ว่าเป็นอุบายเครื่องออก ตามที่เป็นจริง, ตลอดเวลาเพียง
น้ันแหละ เรายังไม่รู้สึกว่าเป็นผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะ ซ่ึง
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในโลก พร้อมท้ังเทวดา มาร
พรหม ในหมู่สตั วพ์ ร้อมทงั้ สมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทง้ั
มนษุ ย์.

ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อใดแล เราได้รู้ยิ่งซึ่งรสอร่อย
ของโลกว่าเป็นรสอร่อย, รู้โทษของโลกโดยความเป็นโทษ,
รู้อุบายเครื่องออกของโลก ว่าเป็นอุบายเคร่ืองออก ตามที่
เป็นจริง, เมื่อน้ันแหละ เรารู้สึกว่าเป็นผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะ
ซง่ึ อนตุ ตรสมั มาสมั โพธญิ าณ ในโลกพรอ้ มทง้ั เทวดา มาร พรหม
หมสู่ ตั วพ์ รอ้ มทง้ั สมณพราหมณ์ เทวดาพรอ้ มทง้ั มนษุ ย.์  

ก็แหละญาณทัสสนะเคร่ืองรู้เครื่องเห็นเกิดข้ึน
แก่เราว่า ความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำ�เริบ, ชาติน้ีเป็น
ชาตสิ ุดทา้ ย, บัดนภ้ี พเป็นท่เี กิดใหม่ไมม่ อี ีก, ดงั น้ี.

160

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงแสวงหาเนือ่ งด้วยเบญจขนั ธ์ 57
ก่อนตรัสรู้

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๓๖/๖๑.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เราไดเ้ ทย่ี วแสวงหาแลว้ ซง่ึ รสอรอ่ ย
ของรปู , เราไดพ้ บรสอรอ่ ยของรปู นน้ั แลว้ , รสอรอ่ ยของรปู
มปี ระมาณเทา่ ใด เราเหน็ มนั แลว้ เปน็ อยา่ งดี ดว้ ยปญั ญาของเรา
มปี ระมาณเทา่ นน้ั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เราไดเ้ ทย่ี วแสวงหาใหพ้ บโทษของรปู ,
เราไดพ้ บโทษของรปู นน้ั แลว้ .  โทษของรปู มปี ระมาณเทา่ ใด
เราเหน็ มนั แลว้ เปน็ อยา่ งดดี ว้ ยปญั ญาของเราเทา่ นน้ั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เราไดเ้ ทย่ี วแสวงหาแลว้ ซง่ึ อบุ ายเปน็
เครอ่ื งออกจากรปู , เราไดพ้ บอบุ ายเครอ่ื งออกจากรปู นน้ั แลว้ . 
อบุ ายเครอ่ื งออกจากรปู มปี ระมาณเทา่ ใด เราเหน็ มนั แลว้ เปน็
อยา่ งดี ดว้ ยปญั ญาของเราเทา่ นน้ั .

(ในเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็มีนัยอย่างเดียวกัน.
และตอนท้ายก็มีว่า ยังไม่พบรสอร่อย-โทษ-อุบายเครื่องออกของรูป
เป็นต้นเพียงใด ยังไม่ชื่อว่าได้ตรัสรู้เพียงน้ัน, ต่อเมื่อทรงพบแล้วจึงได้
ช่ือวา่ ตรัสรแู้ ละมีชาติสน้ิ แลว้ ภพใหม่ไม่มอี ีกตอ่ ไป เหมอื นกนั ทุกๆ สิง่
ทพ่ี ระองคท์ รงคน้ ซึง่ ยังมีอีก ๓ อยา่ ง คือ เร่อื ง ธาตุ ๔, เรื่องอายตนะ
ภายใน ๖, และ อายตนะภายนอก ๖ ; เหน็ วา่ อาการเหมอื นกนั หมดตา่ ง
กนั แต่เพียงชือ่ จึงไมน่ ำ�มาใส่ไว้ในทีน่ ีด้ ว้ ย -ผแู้ ปล).

161

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงคน้ ลูกโซ่แห่งทุกข์ กอ่ นตรัสรู้ 58
-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๑/๒๖.

ภิกษุท้ังหลาย !   คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เม่ือเรายัง
ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ย,ู่ ไดเ้ กดิ ความรสู้ กึ อนั นข้ี นึ้ วา่
“สัตว์โลกนี้หนอ ถึงทั่วแล้วซ่ึงความยากเข็ญ ย่อมเกิด แก่
ตาย จุติ และบังเกิดอีก, ก็เมื่อสัตว์โลกไม่รู้จักอุบายเครื่อง
ออกไปพน้ จากทกุ ข์ คอื ชรามรณะแลว้ การออกจากทกุ ข์ คอื
ชรามรณะนี้ จักปรากฏข้ึนได้อย่างไร”.  ภิกษุทั้งหลาย !  
ความฉงนน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า  “เมื่ออะไรมีอยู่หนอ
ชรามรณะ จึงไดม้ ี : ชรามรณะมีเพราะปัจจัยอะไรหนอ”.

ภิกษุท้ังหลาย !   ได้เกิดความรู้แจ้งอย่างย่ิงด้วย
ปัญญา, เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคาย, แก่เราว่า “เพราะ
ชาติ น่เี องมีอยู่ ชรามรณะจึงไดม้ ี : ชรามรณะมี เพราะชาติ
เปน็ ปัจจยั  ;

เพราะ ภพ นเ่ี องมอี ยู่ ชาตจิ งึ ไดม้ ี : ชาตมิ ี เพราะภพ
เป็นปัจจยั  ;

เพราะ อุปาทาน น่ีเองมีอยู่ ภพจึงได้มี  :  ภพมี
เพราะอปุ าทานเป็นปัจจัย ;

162

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

เพราะ ตณั หา นเ่ี องมอี ยู่ อปุ าทานจงึ ไดม้ ี : อปุ าทานมี
เพราะตณั หาเป็นปจั จยั  ;

เพราะ เวทนา นี่เองมีอยู่ ตัณหาจงึ ได้มี : ตัณหามี
เพราะเวทนาเป็นปจั จัย ;

เพราะ ผัสสะ น่ีเองมีอยู่ เวทนาจึงได้มี : เวทนามี
เพราะผสั สะเป็นปัจจยั  ;

เพราะ สฬายตนะ นเี่ องมอี ยู่ ผสั สะจงึ ไดม้ ี : ผสั สะมี
เพราะสฬายตนะเปน็ ปจั จยั  ;

เพราะ นามรูป นี่เองมีอยู่ สฬายตนะจึงได้มี :
สฬายตนะมี เพราะนามรปู เปน็ ปัจจัย ;

เพราะ วญิ ญาณ นเ่ี องมอี ยู่ นามรปู จงึ ไดม้ ี : นามรปู มี
เพราะวญิ ญาณเปน็ ปจั จยั  ;

เพราะ สงั ขาร นเี่ องมอี ยู่ วญิ ญาณจงึ ไดม้ ี : วญิ ญาณมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย ;

เพราะ อวิชชา นี่เองมีอยู่ สังขารทั้งหลายจึงได้มี :
สงั ขารทง้ั หลายมี เพราะอวชิ ชาเป็นปจั จยั  ;” ดังน้ี :

เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิดสังขารทั้งหลาย ;
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงเกิดวิญญาณ ; เพราะวิญญาณ
เป็นปัจจัย จึงเกิดนามรูป ; เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงเกิด

163

พุทธวจน - หมวดธรรม

สฬายตนะ ; เพราะสฬายตนะเปน็ ปจั จยั จงึ เกดิ ผสั สะ ; เพราะ
ผัสสะเป็นปัจจัย จึงเกิดเวทนา ; เพราะเวทนาเป็นปัจจัย
จึงเกิดตัณหา ; เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงเกิดอุปาทาน ;
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงเกิดภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย
จงึ เกดิ ชาต ิ; เพราะชาตเิ ปน็ ปจั จยั จงึ มชี รามรณะโสกปรเิ ทว
ทุกขโทมนัสอุปายาสท้ังหลาย : ความเกิดข้ึนพร้อมแห่ง
กองทุกขท์ ัง้ สนิ้ ยอ่ มมีไดด้ ้วยอาการอยา่ งน้.ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ดวงตา ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสวา่ ง
ในส่ิงท่ีเราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน ได้เกิดข้ึนแล้วแก่เราว่า
ความเกิดขึ้นพร้อม !   ความเกิดข้ึนพร้อม !  ย่อมมีด้วย
อาการอย่างน.้ี

ภิกษุทั้งหลาย !   ความฉงนได้มีแก่เราอีกว่า “เม่ือ
อะไรไมม่ ีหนอ ชรามรณะ จึงไมม่ ี : เพราะอะไรดับไปหนอ
ชรามรณะจงึ ดบั ไป”.

ภิกษุทั้งหลาย !   เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคาย,
ไดเ้ กดิ ความรแู้ จง้ อยา่ งยงิ่ ดว้ ยปญั ญา, แกเ่ ราวา่ “เพราะชาติ
น่เี องไมม่ ี ชรามรณะจึงไม่มี : ชรามรณะดับเพราะชาติดับ ;

เพราะ ภพ น่เี องไม่มี ชาติจึงไมม่ ี : ชาตดิ บั เพราะ
ภพดบั  ;

164

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

เพราะ อุปาทาน น่ีเองไม่มี ภพจึงไม่มี : ภพดับ
เพราะอุปาทานดบั  ;

เพราะ ตณั หา นเี่ องไมม่ ี อปุ าทานจงึ ไมม่ ี : อปุ าทานดบั
เพราะตณั หาดบั  ;

เพราะ เวทนา นี่เองไม่มี ตัณหาจงึ ไม่มี : ตัณหาดับ
เพราะเวทนาดบั  ;

เพราะ ผสั สะ น่ีเองไมม่ ี เวทนาจึงไม่มี : เวทนาดับ
เพราะผสั สะดบั  ;

เพราะ สฬายตนะ นเี่ องไมม่ ี ผสั สะจงึ ไมม่ ี : ผสั สะดบั
เพราะสฬายตนะดบั  ;

เพราะ นามรูป นี่เองไม่มี สฬายตนะจึงไม่มี :
สฬายตนะดบั เพราะนามรูปดับ ;

เพราะ วญิ ญาณ นเี่ องไมม่ ี นามรปู จงึ ไมม่ ี : นามรปู ดบั
เพราะวิญญาณดบั  ;

เพราะ สงั ขาร นเี่ องไมม่ ี วญิ ญาณจงึ ไมม่ ี : วญิ ญาณดบั
เพราะสังขารดบั  ;

เพราะ อวิชชา น่ีเองไม่มี สังขารทั้งหลายจึงไม่มี :
สงั ขารดบั เพราะอวิชชาดบั  ;” ดงั น้ี :

165

พุทธวจน - หมวดธรรม

เพราะอวิชชาดับ สังขารจึงดับ ; เพราะสังขารดับ
วิญญาณจึงดับ ; เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ ; เพราะ
นามรปู ดบั สฬายตนะจงึ ดบั  ; เพราะสฬายตนะดบั ผสั สะจงึ ดบั  ;
เพราะผสั สะดบั เวทนาจงึ ดบั  ; เพราะเวทนาดบั ตณั หาจงึ ดบั  ;
เพราะตณั หาดบั อปุ าทานจงึ ดบั  ; เพราะอปุ าทานดบั ภพจงึ ดบั  ;
เพราะภพดบั ชาตจิ งึ ดบั  ; เพราะชาตดิ บั ชรามรณะ โสกปรเิ ทว
ทุกขโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับ : ความดับไม่เหลือ
แหง่ กองทุกข์ท้ังสิ้น ยอ่ มมีไดด้ ว้ ยอาการอยา่ งนี้.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ดวงตา ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสวา่ ง
ในสิ่งท่ีเราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน ได้เกิดข้ึนแล้วแก่เราว่า
ความดบั ไมเ่ หลอื  !   ความดบั ไมเ่ หลอื  !   ยอ่ มมดี ว้ ยอาการ
อย่างน.้ี

166

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

ทรงคน้ ลกู โซแ่ ห่งทุกข์ ก่อนตรสั รู้ 59
(อีกนยั หน่ึง)

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๒๖/๒๕๐.

ภิกษุทั้งหลาย !   คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายัง
ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ย,ู่ ไดเ้ กดิ ความรสู้ กึ อนั นข้ี นึ้ วา่
“สตั วโ์ ลกนห้ี นอ ถงึ แลว้ ซงึ่ ความยากเขญ็ ยอ่ มเกดิ ยอ่ มแก่
ยอ่ มตาย ยอ่ มจตุ ิ และยอ่ มอบุ ตั ,ิ กเ็ มอ่ื สตั วโ์ ลกไมร่ จู้ กั อบุ าย
เครื่องออกไปพ้นจากทกุ ข์ คอื ชรามรณะแลว้ การออกจาก
ทกุ ข์ คอื ชรามรณะนี้ จกั ปรากฏขึน้ ได้อยา่ งไร.”

ภิกษุทั้งหลาย !   ความฉงนน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า
“เมอ่ื อะไรมีอย่หู นอ ชรามรณะจึงได้มี : เพราะมีอะไรเปน็
ปัจจยั หนอ จงึ มชี รามรณะ” ดังนี้.

ภิกษุท้ังหลาย !   ได้เกิดความรู้แจ้งอย่างยิ่งด้วย
ปัญญา เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคาย, แก่เราว่า “เพราะ
ชาติ นนั่ แล มอี ยู่ ชรามรณะ จงึ ไดม้ ี : เพราะมชี าตเิ ปน็ ปจั จยั
จึงมีชรามรณะ” ดงั น้.ี

167

พุทธวจน - หมวดธรรม

…1เพราะ ภพ นนั่ แล มอี ยู่ ชาติ จงึ ไดม้ ี : เพราะมี
ภพเปน็ ปจั จัย จึงมชี าติ” ดังน.ี้

…เพราะ อปุ าทาน นน่ั แล มอี ยู่ ภพ จงึ ไดม้ ี : เพราะมี
อปุ าทานเป็นปัจจยั จึงมีภพ” ดังนี้.

…เพราะ ตัณหา นั่นแล มีอยู่ อุปาทาน จึงได้มี :
เพราะมตี ัณหาเป็นปจั จยั จึงมอี ปุ าทาน” ดังน้ี.

…เพราะ เวทนา นนั่ แล มอี ยู่ ตณั หา จงึ ไดม้ ี : เพราะมี
เวทนาเปน็ ปัจจยั จงึ มีตัณหา” ดงั น้.ี

…เพราะ ผสั สะ นน่ั แล มอี ยู่ เวทนา จงึ ไดม้ ี : เพราะมี
ผัสสะเปน็ ปจั จัย จึงมีเวทนา” ดงั น.ี้

…เพราะ สฬายตนะ น่ันแล มีอยู่ ผัสสะ จึงได้มี :
เพราะมสี ฬายตนะเป็นปจั จยั จึงมผี สั สะ” ดงั นี้.

…เพราะ นามรูป นน่ั แล มีอยู่ สฬายตนะ จึงไดม้ ี :
เพราะมนี ามรปู เปน็ ปจั จัย จงึ มีสฬายตนะ” ดังนี.้

…เพราะ วิญญาณ น่ันแล มีอยู่ นามรูป จึงได้มี :
เพราะมีวิญญาณเป็นปจั จัย จงึ มีนามรูป” ดงั น.ี้

1. ขอ้ ความตามทลี่ ะ … ไวน้ นั้ หมายความวา่ ไดม้ คี วามฉงนเกดิ ขนึ้ ทกุ ๆ ตอน แลว้
ทรงท�ำในใจโดยแยบคาย จนความรแู้ จง้ เกดิ ขนึ้ ทกุ ๆ ตอน เปน็ ล�ำดบั ไปจนถงึ ทสี่ ดุ
ทงั้ ฝา่ ยสมทุ ยวารและนโิ รธวาร ; ในทน่ี ล้ี ะไวโ้ ดยนยั ทผ่ี อู้ า่ นอาจจะเขา้ ใจเอาเองได ้;
คอื เปน็ การตดั ความร�ำคาญในการอา่ น. -ผแู้ ปล

168

เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุท้ังหลาย !   ความฉงนนี้ได้เกิดข้ึนแก่เราว่า
“เม่ืออะไรมีอยู่หนอ วิญญาณจึงได้มี : เพราะมีอะไร
เปน็ ปัจจัย จึงมวี ิญญาณ” ดังนี.้

ภิกษุทั้งหลาย !   ความรู้แจ้งอย่างย่ิงด้วยปัญญา
เพราะการท�ำ ในใจโดยแยบคาย ไดเ้ กดิ ขนึ้ แกเ่ ราวา่ “เพราะ
นามรูป นั่นแล มีอยู่ วิญญาณ จึงได้มี : เพราะมีนามรูป
เป็นปัจจัย จงึ มวี ิญญาณ” ดังนี.้

ภิกษุทั้งหลาย !   ความรู้แจ้งน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า
“วญิ ญาณน้ี ยอ่ มเวยี นกลบั จากนามรปู : ยอ่ มไมเ่ ลยไปอน่ื  ;
ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ สัตว์โลกนี้ พึงเกิดบ้าง พึงแก่บ้าง
พึงตายบ้าง พึงจุติบ้าง พึงอุบัติบ้าง : ข้อน้ีได้แก่การท่ี
เพราะมนี ามรูปเปน็ ปัจจัย จงึ มีวิญญาณ ;  เพราะมีวญิ ญาณ
เป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ;  เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมี
สฬายตนะ เพราะมสี ฬายตนะเปน็ ปจั จยั จงึ มผี สั สะ ;  เพราะมี
ผสั สะเปน็ ปจั จยั จงึ มเี วทนา ;  เพราะมเี วทนาเปน็ ปจั จยั จงึ มี
ตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;  เพราะมี
อปุ าทานเปน็ ปจั จยั จงึ มภี พ ;  เพราะมภี พเปน็ ปจั จยั จงึ มชี าต ิ;
เพราะมชี าตเิ ปน็ ปจั จยั , ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะทกุ ขะโทมนสั
อปุ ายาสทั้งหลาย จงึ เกดิ ขึ้นครบถ้วน : ความเกดิ ข้นึ พรอ้ ม
แหง่ กองทกุ ข์ท้ังสิ้นนี้ ย่อมมีดว้ ยอาการอยา่ งนี”้ .

169

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ดวงตาเกดิ ขน้ึ แลว้ ญาณเกดิ ขน้ึ แลว้
ปัญญาเกิดข้ึนแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างเกิดข้ึน
แล้ว แก่เรา ในธรรมทั้งหลายท่ีเราไม่เคยฟังมาแต่ก่อนว่า
“ความเกิดข้ึนพร้อม (สมุทัย) !   ความเกิดข้ึนพร้อม
(สมทุ ัย) !” ดังนี.้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ความฉงนนไ้ี ดเ้ กดิ ขน้ึ แกเ่ ราตอ่ ไป
วา่ “เม่ืออะไรไม่มีหนอชรามรณะ จงึ ไมม่ ี : เพราะความดบั
แห่งอะไร จงึ มคี วามดบั แห่งชรามรณะ” ดงั น.ี้

ภิกษุท้ังหลาย !   ความรู้แจ้งอย่างย่ิงด้วยปัญญา
เพราะการท�ำ ในใจโดยแยบคาย ไดเ้ กดิ ขนึ้ แกเ่ ราวา่ “เพราะ
ชาติ นน่ั แล ไมม่ ี ชรามรณะ จงึ ไมม่ ี : เพราะความดบั แหง่ ชาติ
จึงมคี วามดบั แหง่ ชรามรณะ” ดังนี้.

…เพราะ ภพ นน่ั แล ไมม่ ี ชาติ จงึ ไมม่ ี : เพราะความดบั
แห่งภพ จึงมีความดับแหง่ ชาติ” ดงั นี.้

…เพราะ อปุ าทาน นนั่ แล ไมม่ ี ภพ จงึ ไมม่ ี : เพราะ
ความดับแหง่ อุปาทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ” ดังน.้ี

…เพราะ ตัณหา นั่นแล ไม่มี อุปาทาน จึงไม่มี :
เพราะความดบั แหง่ ตณั หา จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน” ดงั น.้ี

…เพราะ เวทนา นนั่ แล ไมม่ ี ตณั หา จงึ ไมม่ ี : เพราะ
ความดับแหง่ เวทนา จึงมีความดับแหง่ ตณั หา” ดังน.้ี

170

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

…เพราะ ผสั สะ นนั่ แล ไมม่ ี เวทนา จงึ ไมม่ ี : เพราะ
ความดบั แหง่ ผสั สะ จึงมคี วามดับแหง่ เวทนา” ดังน.้ี

…เพราะ สฬายตนะ นั่นแล ไม่มี ผัสสะ จึงไม่มี :
เพราะความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ”
ดังนี้.

…เพราะ นามรปู นัน่ แล ไม่มี สฬายตนะ จึงไม่มี :
เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ”
ดงั น.้ี

…เพราะ วิญญาณ นั่นแล ไม่มี นามรูป จึงไม่มี :
เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป”
ดังน.ี้

ภิกษุท้ังหลาย !   ความฉงนน้ีได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
“เมอื่ อะไรไมม่ หี นอ วญิ ญาณจงึ ไมม่ ี : เพราะความดบั แหง่
อะไร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ” ดงั นี.้

ภิกษุทั้งหลาย !   ความรู้แจ้งอย่างยิ่งด้วยปัญญา
เพราะการท�ำ ในใจโดยแยบคาย ไดเ้ กดิ ขนึ้ แกเ่ ราวา่ “เพราะ
นามรปู นนั่ แล ไมม่ ี วญิ ญาณ จงึ ไมม่ ี : เพราะความดบั แหง่
นามรูป จงึ มคี วามดบั แห่งวิญญาณ” ดงั น้.ี

171

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย !   ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
“หนทางเพ่อื การตรสั ร้นู ้ี อนั เราได้ถงึ ทบั แลว้ แล : ได้แก่
สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับ
แหง่ วญิ ญาณ ;  เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จงึ มคี วามดบั
แห่งนามรูป ;  เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับ
แห่งสฬายตนะ ;  เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมี
ความดับแห่งผัสสะ ;  เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมี
ความดับแห่งเวทนา ;  เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมี
ความดับแห่งตัณหา ;  เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมี
ความดบั แหง่ อปุ าทาน ;  เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มี
ความดบั แหง่ ภพ ;  เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั
แห่งชาติ ;  เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับส้ิน :
ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ งั้ สนิ้ นี้ ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน”้ี .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ดวงตาเกดิ ขน้ึ แลว้ ญาณเกดิ ขน้ึ แลว้
ปัญญาเกิดข้ึนแล้ว วิชชาเกิดข้ึนแล้ว แสงสว่างเกิดขึ้น
แล้ว แก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อนว่า
“ความดบั ไมเ่ หลอื (นโิ รธ) ! ความดบั ไมเ่ หลอื (นโิ รธ) !”
ดงั น้.ี

172

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงอธษิ ฐานความเพยี ร ก่อนตรัสรู้ 60
-บาลี ทกุ . อ.ํ ๒๐/๖๔/๒๕๑.

ภิกษุทั้งหลาย !   เราได้รู้ถึงธรรมสองอย่าง คือ
ความไม่รู้จักพอ ในกุศลธรรมทั้งหลาย  และความเป็น
ผู้ไม่ถอยหลัง ในการตั้งความเพียร.  เราตั้งความเพียร
คือความไม่ถอยหลังว่า  “หนัง เอ็น กระดูก จักเหลืออยู่
เนอ้ื และเลอื ดในสรรี ะ จกั เหอื ดแหง้ ไปกต็ ามที เมอ่ื ยงั ไมล่ ถุ งึ
ประโยชนอ์ นั บคุ คลจะลไุ ดด้ ว้ ยก�ำ ลงั ของบรุ ษุ ดว้ ยความเพยี ร
ของบรุ ษุ ดว้ ยความบากบนั่ ของบรุ ษุ แลว้ จกั หยดุ ความเพยี ร
น้ันเสยี เป็นไมม่ เี ลย” ดงั น.ี้

ภิกษุทั้งหลาย !   เรานั้นได้บรรลุความตรัสรู้เพราะ
ความไม่ประมาท ได้บรรลุโยคักเขมธรรมอันไม่มีอื่นย่ิงไป
กวา่ เพราะความไม่ประมาทแล้ว.

(ในบาลี มหา. ว.ิ ๔/๔๒/๓๕, -บาลี สคา. ส.ํ ๑๕/๑๕๓/๔๒๕. 
ก็ได้ตรัสว่าพระองค์ได้บรรลุแล้ว ทำ�ให้แจ้งแล้ว ซึ่งวิมุตติอันไม่มีไม่มี
วิมุตติอื่นย่ิงกว่า (อนุตฺตรา วิมุตฺติ)  ด้วยการทำ�ในใจโดยแยบคาย
ดว้ ยความเพียรอันชอบโดยแยบคาย -ผู้แปล).

173

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : “ตถาคต”

อาการแหง่ การตรัสรู้ 61

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๕๗/๕๐๕.1

ราชกมุ าร !   ครน้ั เรากลนื กนิ อาหารหยาบ ท�ำ กายให้
มกี �ำ ลงั ไดแ้ ลว้ , เพราะสงดั จากกามและอกศุ ลธรรมทง้ั หลาย
จงึ บรรลฌุ านท่ี ๑  มวี ติ กวจิ าร มปี ตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตว่ เิ วก
แลว้ แลอย.ู่   เพราะสงบวติ กวจิ ารเสยี ได้ จงึ บรรลฌุ านท่ี ๒ 
เป็นเคร่ืองผ่องใสในภายใน เป็นท่ีเกิดสมาธิแห่งใจ ไม่มี
วิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. 
เพราะความจางไปแหง่ ปตี ิ ยอ่ มอยอู่ เุ บกขา มสี ตสิ มั ปชญั ญะ
เสวยสขุ ดว้ ยกาย จงึ บรรลฌุ านท่ี ๓ อนั เปน็ ฌานทพ่ี ระอรยิ เจา้
กลา่ ววา่ ผไู้ ดฌ้ านน้ี เปน็ ผอู้ ยอู่ เุ บกขา มสี ตอิ ยเู่ ปน็ สขุ , แลว้ แลอย.ู่  
และเพราะละสขุ และทกุ ขเ์ สยี ได้ เพราะความดบั หายไปแหง่
โสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน จึงได้บรรลุฌานท่ี ๔  อัน
ไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความท่สี ติเป็นธรรมชาติบริสุทธ์ิ เพราะ
อเุ บกขาแลว้ แลอย.ู่

เรานั้น คร้ันเม่ือจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใสไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน

1. ยังพบใน สคารวสูตร -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๘๕/๗๕๔, มหาสัจจกสูตร -บาลี
มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๒๗, ซ่ึงตอนน้ี ปาสราสิสูตร ไม่มี, ต่อไปใน สคารวสูตรและ
มหาสจั จกสตู ร กไ็ มม่ .ี -ผ้แู ปล

174

เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ถงึ ความไมห่ วน่ั ไหวตง้ั อยเู่ ชน่ นแ้ี ลว้ ไดน้ อ้ มจติ ไปเฉพาะตอ่
บุพเพนิวาสานุสสติญาณ.  เราน้ันระลึกถึงขันธ์ที่เคยอยู่
อาศยั ในภพกอ่ นไดห้ ลายประการ คอื ระลกึ ไดช้ าตหิ นง่ึ บา้ ง
สองชาติ สามชาติ สี่ชาติ ห้าชาติบ้าง,  สิบชาติ ย่ีสิบชาติ
สามสิบชาติ สี่สิบชาติ ห้าสิบชาติบ้าง,  ร้อยชาติ พันชาติ
แสนชาติบ้าง,  ตลอดหลายสังวัฏฏกัปป์ หลายวิวัฏฏกัปป์
หลายสังวัฏฏกัปป์และวิวัฏฏกัปป์บ้าง,  ว่าเม่ือเราอยู่ใน
ภพโนน้ มชี อื่ อยา่ งนน้ั มโี คตร มวี รรณะ มอี าหารอยา่ งนน้ั ๆ,
เสวยสขุ และทกุ ขเ์ ชน่ นนั้ ๆ มอี ายสุ ดุ ลงเทา่ นนั้  ;  ครน้ั จตุ จิ าก
ภพนั้นแล้ว ได้เกิดในภพโน้น มีช่ือ โคตร วรรณะ อาหาร
อย่างนั้นๆ,  ได้เสวยสุขและทุกข์เช่นน้ันๆ มีอายุสุดลง
เทา่ นน้ั  ;  ครน้ั จตุ จิ ากภพนนั้ ๆ แลว้ มาเกดิ ในภพน.ี้   เรานน้ั
ระลึกถึงขันธ์ท่ีเคยอยู่อาศัยในภพก่อนได้หลายประการ
พรอ้ มท้งั อาการและลักษณะ ดงั น.ี้

ราชกุมาร !   นเี่ ปน็ วิชชาท่ี ๑ ที่เราได้บรรลแุ ล้วใน
ยามแรกแห่งราตรี.  อวิชชาถูกทำ�ลายแล้ว วิชชาเกิดขึ้น
แล้ว, ความมืดถูกทำ�ลายแล้ว ความสว่างเกิดขึ้นแทนแล้ว,
เชน่ เดียวกบั ที่เกดิ แก่ผ้ไู ม่ประมาท มีเพยี รเผาบาป มตี นส่ง
ไปแลว้ แลอย่,ู โดยควร.

175

พุทธวจน - หมวดธรรม

เราน้ัน ครั้นเม่ือจิตต้ังมั่นบริสุทธ์ิผ่องใสไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน
ถงึ ความไมห่ วน่ั ไหวตง้ั อยเู่ ชน่ นแ้ี ลว้ ไดน้ อ้ มจติ ไปเฉพาะตอ่
จตุ ปู ปาตญาณ.  เรามจี กั ขทุ พิ ย์ บรสิ ทุ ธก์ิ วา่ จกั ขขุ องสามญั
มนษุ ย,์   ยอ่ มแลเหน็ สตั วท์ ง้ั หลายจตุ อิ ยู่ บงั เกดิ อย,ู่ เลวทราม
ประณีต,  มีวรรณะดี มีวรรณะเลว,  มีทุกข์ มีสุข.  เรา
รู้แจ้งชัด หมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า “ผู้เจริญท้ังหลาย !  
สัตว์เหล่าน้ีหนอ ประกอบกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
พูดติเตียนพระอริยเจ้าทั้งหลาย เป็นมิจฉาทิฏฐิ ประกอบ
การงานดว้ ยอ�ำ นาจ มจิ ฉาทฏิ ฐ,ิ   เบอ้ื งหนา้ แตก่ ายแตกตายไป
ย่อมพากันเข้าสู่อบายทุคติวินิบาตนรก.  ท่านผู้เจริญ
ทงั้ หลาย !  สว่ นสตั วเ์ หลา่ นห้ี นอ ประกอบกายสจุ รติ วจสี จุ รติ
มโนสจุ รติ ไมต่ เิ ตยี นพระอรยิ เจา้ ,  เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ ประกอบ
การงานดว้ ยอ�ำ นาจสมั มาทฏิ ฐ,ิ   เบอ้ื งหนา้ แตก่ ายแตกตายไป
ยอ่ มพากนั เขา้ สสู่ คุ ตโิ ลกสวรรค”์ .  เรามจี กั ขทุ พิ ยบ์ รสิ ทุ ธ์ิ
ล่วงจกั ขุสามญั มนุษย์ เหน็ เหลา่ สตั วผ์ จู้ ุตอิ ยู่ บังเกดิ อยู่ เลว
ประณีต มีวรรณะดี วรรณะทราม มีทุกข์ มีสุข.  รู้ชัด
หม่สู ตั วผ์ ู้เขา้ ถึงตามกรรมไดฉ้ ะน้.ี

176

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ราชกุมาร !   น้เี ป็นวิชชาท่ี ๒ ท่เี ราได้บรรลุแล้วใน
ยามกลางแหง่ ราตร.ี   อวชิ ชาถกู ท�ำ ลายแลว้ วชิ ชาเกดิ ขน้ึ แลว้ ,
ความมดื ถกู ท�ำ ลายแลว้ ความสวา่ งเกดิ ขน้ึ แทนแลว้ ,  เชน่ เดยี ว
กบั ทเ่ี กดิ แกผ่ ไู้ มป่ ระมาท มเี พยี รเผาบาป มตี นสง่ ไปแลว้ แลอย,ู่
โดยควร.

เรานั้น ครั้นจิตต้ังม่ันบริสุทธ์ิผ่องใสไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน
ถึงความไม่หว่ันไหวตั้งอยู่เช่นน้ีแล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ
อาสวักขยญาณ,  เราย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “น่ีทุกข์, 
นี่เหตุแห่งทุกข์, น่ีความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี่ทางให้ถึง
ความดบั ไมม่ เี หลอื แหง่ ทกุ ข ์; และเหลา่ นเี้ ปน็ อาสวะทงั้ หลาย,
นเี้ หตแุ หง่ อาสวะทงั้ หลาย, นค้ี วามดบั ไมม่ เี หลอื แหง่ อาสวะ
ท้ังหลาย,  น้ีเป็นทางให้ถึงความดับไม่มีเหลือแห่งอาสวะ
ทงั้ หลาย”.  เมอ่ื เรารอู้ ยอู่ ยา่ งน้ี เหน็ อยอู่ ยา่ งนี้ จติ กพ็ น้ จาก
กามาสวะ ภวาสวะ และอวชิ ชาสวะ.  ครน้ั จติ พน้ วเิ ศษแลว้
ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า จิตพ้นแล้ว.  เรารู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว
พรหมจรรย์จบแล้ว กิจที่ต้องทำ�ได้ทำ�สำ�เร็จแล้ว กิจอ่ืนที่
จะต้องทำ�เพือ่ ความ (หลดุ พน้ ) เปน็ อย่างนี้ มไิ ดม้ ีอกี .

177

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ราชกมุ าร !   น่เี ปน็ วิชชาท่ี ๓ ทเี่ ราได้บรรลุแล้วใน
ยามปลายแหง่ ราตร.ี   อวชิ ชาถกู ท�ำ ลายแลว้ วชิ ชาเกดิ ขน้ึ แลว้ ,
ความมดื ถกู ท�ำ ลายแลว้ ความสวา่ งเกดิ ขนึ้ แทนแลว้ , เชน่ เดยี ว
กบั ทเ่ี กดิ แกผ่ ไู้ มป่ ระมาท มเี พยี รเผาบาป มตี นสง่ ไปแลว้ แลอย,ู่
โดยควร.

178


Click to View FlipBook Version