The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงมีธรรมสหี นาททีท่ �ำเทวโลกให้ 86
สน่ั สะเทือน

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๔๒/๓๓.

ภิกษุท้ังหลาย !   พญาสัตว์ช่ือสีหะ ออกจากถ้ำ�
ท่ีอาศัยในเวลาเย็น เหยียดกายแล้ว เหลียวดูทิศทั้งสี่
โดยรอบ บนั ลอื สหี นาทสามครง้ั แลว้ กเ็ ทยี่ วไปเพอ่ื หาอาหาร. 
บรรดาสัตว์เดรัจฉานเหล่าใดท่ีได้ยินสีหนาท สัตว์เหล่านั้น
ก็สะดุ้งกลัว เหี่ยวแห้งใจ,  พวกที่อาศัยโพรงก็เข้าโพรง
ทอ่ี าศยั น�ำ้ กล็ งน�้ำ พวกอยปู่ า่ กเ็ ขา้ ปา่ ฝงู นกกโ็ ผขนึ้ สอู่ ากาศ,
เหลา่ ชา้ งของพระราชาในหมบู่ า้ น นคิ มและเมอื งหลวง ทเ่ี ขา
ผูกล่ามไว้ด้วยเชือกอันเหนียว ก็พากันกลัว กระชากเชือก
ใหข้ าด แลว้ ถา่ ยมตู รและกรสี พลาง แลน่ หนไี ปพลาง ขา้ งโนน้
และข้างนี้.  ภิกษุท้ังหลาย !   พญาสัตว์ช่ือสีหะ เป็นสัตว์
มฤี ทธม์ิ าก มศี กั ดม์ิ าก มอี านภุ าพมากกวา่ บรรดาสตั วเ์ ดรจั ฉาน
ดว้ ยอาการอยา่ งนแ้ี ล.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั : ในกาลใดตถาคต
อุบัติขึ้นในโลก เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบโดยตนเอง
สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ไปดี รู้แจ้งโลก เป็นผู้ฝึกบุรุษ
ที่พอฝึกได้ไม่มีใครย่ิงไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์

229

พุทธวจน - หมวดธรรม

เป็นผู้ปลุกสัตว์ให้ตื่น เป็นผู้จำ�แนกธรรม.  ตถาคตน้ัน
แสดงธรรมว่า สักกายะ (คือทุกข์) เป็นเช่นนี้ เหตุให้เกิด
สกั กายะเปน็ เชน่ นี้ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สกั กายะเปน็ เชน่ นี้
ทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสักกายะเป็นเช่นนี้.1 
พวกเทพเหลา่ ใด เปน็ ผมู้ อี ายยุ นื นาน มวี รรณะ มากไปดว้ ย
ความสขุ ด�ำ รงอยนู่ มนานมาแลว้ ในวมิ านชน้ั สงู , พวกเทพนน้ั ๆ
โดยมาก ได้ฟังธรรมเทศนาของตถาคตแล้ว ก็สะดุ้งกลัว
เหยี่ วแหง้ ใจ ส�ำ นกึ ไดว้ า่ “ทา่ นผเู้ จรญิ เอย๋  !  พวกเราเมอื่ เปน็
ผไู้ มเ่ ทย่ี ง กม็ าส�ำ คญั วา่ เปน็ ผเู้ ทย่ี ง เมอ่ื ไมย่ งั่ ยนื กม็ าส�ำ คญั วา่
ยงั่ ยนื เมอื่ ไมม่ นั่ คง กม็ าส�ำ คญั วา่ เราเปน็ ผมู้ นั่ คง.  พวกเรา
ทั้งหลายเป็นผู้ไม่เที่ยง ไม่ย่ังยืน ไม่มั่นคง และถึงทั่วแล้ว
ซึ่งสกั กายะ คอื ความทกุ ข์” ดังน.้ี

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ตถาคตเปน็ ผมู้ ฤี ทธม์ิ าก ศกั ดม์ิ าก
อานุภาพมาก กว่าสัตว์โลก พร้อมทั้งเทวโลก ด้วยอาการ
อยา่ งนแี้ ล.

1. ในบาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๑๐๓/๑๕๕. ทรงแสดงลกั ษณะ, สมทุ ยั , อตั ถงั คมะ แหง่ เบญจขนั ธ์
แทนเรอื่ งสกั กายะ ๔ ประการ ดงั ทกี่ ลา่ วขา้ งบนน,้ี โดยขอ้ ความทเี่ หมอื นกนั . -ผแู้ ปล

230

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงมีธรรมสีหนาทอย่างองอาจ 87
-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๒๑๙/๒๗๒.

กัสสปะ !   น้ีเป็นเร่ืองท่ีอาจมีได้เป็นได้ คือ เหล่า
ปริพพาชกผู้เป็นเดียรถีย์เหล่าอื่นจะพึงกล่าวว่า “พระสมณ-

โคดม บันลือสีหนาทก็จริงแล แต่บันลือในที่ว่างเปล่า หาใช่บันลือ

ในท่ามกลางบริษัทไม่” ดังน้ี.  ส่วนท่านอย่าพึงกล่าวเช่นนั้น
แต่พงึ กล่าว (ตามที่เป็นจรงิ ) อย่างนวี้ ่า “พระสมณโคดมย่อม
บนั ลือสหี นาทในท่ามกลางบรษิ ัทท้ังหลาย หาใชบ่ ันลอื ในที่
ว่างเปล่าไม่”.

กัสสปะ !   นีก้ ็เปน็ เร่ืองทอ่ี าจมไี ดเ้ ปน็ ได้ คือ เหล่า
ปริพพาชกผู้เป็นเดียรถีย์เหล่าอ่ืนจะพึงกล่าวว่า “พระสมณ-

โคดม บันลือสีหนาทในท่ามกลางบริษัทก็จริง แต่หาได้บันลืออย่าง

องอาจไม”่ ดงั น.้ี   สว่ นทา่ นอยา่ พงึ กลา่ วเชน่ นน้ั แตพ่ งึ กลา่ ว
(ตามทเ่ี ปน็ จรงิ ) อยา่ งนวี้ า่ “พระสมณโคดมยอ่ มบนั ลอื สหี นาท
ในทา่ มกลางบรษิ ทั และบนั ลอื อยา่ งองอาจดว้ ย”.

กสั สปะ !   น้กี ็เปน็ เรื่องท่ีอาจมไี ด้เป็นได้ คอื เหลา่
ปริพพาชกผู้เป็นเดียรถีย์เหล่าอ่ืนจะพึงกล่าวว่า “พระสมณ-

โคดม บันลือสีหนาทในท่ามกลางบริษัทอย่างองอาจก็จริงแล แต่ว่าหา
ได้มีใครถามปัญหาอะไรกะเธอ (ในท่ีนั้น) ไม่, และถึงจะถูกถาม เธอก็
หาพยากรณไ์ ดไ้ ม,่   และถงึ จะพยากรณก์ ไ็ มท่ �ำ ความชอบใจใหแ้ กผ่ ฟู้ งั ได,้  

231

พทุ ธวจน - หมวดธรรม
และถึงจะทำ�ความชอบใจให้แก่ผู้ฟังได้ เขาก็ไม่สำ�คัญถ้อยคำ�น้ันๆ ว่า
เป็นส่ิงควรฟัง, และถึงจะสำ�คัญว่าเป็นสิ่งควรฟัง ก็ไม่เล่ือมใส,  และ
ถึงจะเลื่อมใส ก็ไม่แสดงอาการของผู้เล่ือมใส,  และถึงจะแสดงอาการ
ของผเู้ ลอื่ มใส กไ็ มป่ ฏบิ ตั ติ ามค�ำ สอนนน้ั , และถงึ จะปฏบิ ตั ติ ามค�ำ สอนนนั้

ก็ไม่ปฏิบัติอย่างอิ่มอกอิ่มใจ” ดังนี้.  ส่วนท่านอย่าพึงกล่าว
เชน่ นน้ั แตพ่ งึ กลา่ วอยา่ งนว้ี า่ “พระสมณโคดมบนั ลอื สหี นาท
ท่ามกลางบริษัทอย่างแกล้วกล้า มีผู้ถามปัญหา,  ถูกถาม
แล้วก็พยากรณ์,  ด้วยการพยากรณ์ ย่อมทำ�จิตของผู้ฟัง
ใหช้ อบใจ,  ผฟู้ งั ยอ่ มส�ำ คญั ถอ้ ยค�ำ นนั้ ๆ วา่ เปน็ สง่ิ ควรฟงั , 
ฟังแล้วก็เลื่อมใส,  เล่ือมใสแล้วก็แสดงอาการของ
ผเู้ ลอื่ มใส,  และปฏบิ ตั ติ ามค�ำ สอนนน้ั ,  ปฏบิ ตั แิ ลว้ กเ็ ปน็
ผู้อ่มิ อกอ่มิ ใจได”้ ดงั น.ี้

กัสสปะ !   ครั้งหนึ่ง เราอยู่ที่ภูเขาคิชฌกูฏ ใกล้
กรงุ ราชคฤห.์   ปรพิ พาชกผเู้ ปน็ สพรหมจารขี องทา่ นคนหนง่ึ
ช่อื ว่า นิโค๎รธะ ได้ถามปญั หาเรือ่ งการเกยี ดกันบาปอยา่ งยง่ิ
กะเรา ณ ทน่ี น้ั .  เราไดพ้ ยากรณแ์ กเ่ ขา.  ในการพยากรณน์ น้ั
เขาไดร้ บั ความพอใจยง่ิ กวา่ ประมาณ (คอื ยง่ิ กวา่ ทเ่ี ขาคาดไวก้ อ่ น).

232

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

ทรงสอนเช่นเดยี วกบั 88
พระพุทธเจ้าทงั้ ปวง
-บาลี ม. ม. ๑๓/๒/๒.

กนั ทรกะ !   บรรดาพระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ท่ี
ได้มีแล้วในกาลยืดยาวส่วนอดีต, พระผู้มีพระภาคเจ้าเหล่า
น้ัน ล้วนแต่ได้สอนให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบแล้ว มีอย่างนี้
เป็นอย่างยิ่ง คือเหมือนอย่างที่เราสอนให้แก่ภิกษุสงฆ์ใน
บดั นี้ ปฏิบตั ชิ อบอยู่.

กนั ทรกะ !   บรรดาพระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ที่
จกั มมี าในกาลยดื ยาวสว่ นอนาคต, พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เหลา่
นั้น ก็ล้วนแต่จักได้สอนให้ภิกษุสงฆ์ปฏิบัติชอบ มีอย่างนี้
เป็นอย่างยิ่ง คือเหมือนอย่างท่ีเราสอนให้ภิกษุสงฆ์ในบัดน้ี
ปฏบิ ตั ิชอบอยู.่

กนั ทรกะ !   เหลา่ ภกิ ษผุ เู้ ปน็ อรหนั ต์ สนิ้ อาสวะ จบ
พรหมจรรย์ หมดกิจควรทำ� ปลงภาระลงได้ ผู้มีประโยชน์
ของตัวเองอันตามบรรลุได้แล้ว มีสัญโญชน์ในภพส้ินรอบ
แล้ว พ้นวิเศษแล้วเพราะรู้ทั่วถึงโดยชอบ มีอยู่ในภิกษุสงฆ์
หมนู่  ้ี; และเหลา่ ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เสขะ (คอื พระโสดา สกทิ าคา อนาคา)
ผู้มีศีลทุกเม่ือ มีวัตรทุกเม่ือ มีปัญญา มีชีวิตอยู่ด้วยปัญญา
เครื่องรักษาตน ก็มอี ยูใ่ นภิกษสุ งฆ์หมู่น้ี.

233

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงบรหิ ารสงฆ์ จ�ำนวนร้อย 89

-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๘๓/๔๘.

ภิกษุท้ังหลาย !   เมื่อมนุษย์ท้ังหลายมีอายุ (ยืดยาว
ออกถึง) แปดหม่ืนปี, พระผู้มีพระภาคนามว่า เมตเตยยะ
จกั บงั เกดิ ขนึ้ ในโลก เปน็ พระอรหนั ตต์ รสั รชู้ อบเอง สมบรู ณ์
ดว้ ยวชิ ชาและจรณะ ดำ�เนนิ ไปดี รแู้ จ้งโลก เปน็ ผฝู้ ึกบุรษุ ท่ี
ควรฝึก ไม่มีใครย่ิงไปกว่า เป็นผู้เบิกบาน จำ�แนกธรรมส่ัง
สอนสัตว,์ เชน่ เดียวกับเราในบดั น้ี.

พระผู้มีพระภาคเจ้าเมตเตยยะน้ัน จักทำ�ให้แจ้ง
ซง่ึ โลกน้ี พรอ้ มทง้ั เทวโลก มารโลก พรหมโลก หมสู่ ตั วพ์ รอ้ มทง้ั
สมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยพระปัญญา
อนั ยง่ิ เอง แลว้ ประกาศใหผ้ อู้ น่ื รดู้ ว้ ย, เชน่ เดยี วกบั เราในบดั น.้ี

พระผู้มีพระภาคเจ้าเมตเตยยะนั้น จักแสดงธรรม
ไพเราะในเบ้ืองต้น ท่ามกลาง เบ้ืองปลาย, จักประกาศ
พรหมจรรย์ พรอ้ มทง้ั อรรถะพยญั ชนะ บรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณส์ น้ิ เชงิ ,
เชน่ เดยี วกบั เราในบดั น.้ี

พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เมตเตยยะนน้ั จกั บรหิ ารภกิ ษสุ งฆ์
จำ�นวนพันเป็นอเนก (หลายพัน),  เช่นเดียวกับเราในบัดน้ี
บรหิ ารภกิ ษสุ งฆจ์ �ำ นวนรอ้ ยเปน็ อเนก (คอื หลายรอ้ ย) อย.ู่

234

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ค�ำของพระองค์ 90
ตรงเปน็ อันเดยี วกันหมด
-บาลี อติ วิ .ุ ข.ุ ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.

ภิกษุท้ังหลาย !   นับต้ังแต่ราตรี ท่ีตถาคตได้ตรัสรู้
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ จนกระท่ังถึงราตรี ท่ีตถาคต
ปรนิ พิ พาน ดว้ ยอนปุ าทเิ สสนพิ พานธาต,ุ ตลอดเวลาระหวา่ งนน้ั
ตถาคตได้กล่าวสอน พร่ำ�สอน แสดงออก ซึ่งถ้อยคำ�ใด
ถอ้ ยค�ำ เหลา่ นน้ั ทง้ั หมด ยอ่ มเขา้ กนั ไดโ้ ดยประการเดยี วทง้ั สน้ิ
ไม่แย้งกันเป็นประการอื่นเลย.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ตถาคตกลา่ วอยา่ งใด ท�ำ อยา่ งนน้ั ,
ท�ำ อยา่ งใด กลา่ วอยา่ งนน้ั .

235

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

หลักทท่ี รงใชใ้ นการตรสั (๖ อยา่ ง) 91
-บาลี ม. ม. ๑๓/๙๑/๙๔.

ราชกุมาร !  
(๑) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด  อันไม่จริง  ไม่แท้
ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ และไมเ่ ปน็ ทร่ี กั ทพี่ งึ ใจของผอู้ น่ื
ตถาคตย่อมไม่กลา่ ววาจานั้น.
(๒) ตถาคตรู้ชัดซ่ึงวาจาใด  อันจริง อันแท้ แต่
ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ และไมเ่ ปน็ ทร่ี กั ทพ่ี งึ ใจของผอู้ นื่
ตถาคตย่อมไม่กล่าววาจานั้น.
(๓) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด  อันจริง  อันแท้
อนั ประกอบดว้ ยประโยชน์ แตไ่ มเ่ ปน็ ทรี่ กั ทพี่ งึ ใจของผอู้ น่ื
ตถาคตย่อมเลือกใหเ้ หมาะกาลเพอ่ื กล่าววาจานัน้ .
(๔) ตถาคตรู้ชัดซ่ึงวาจาใด อันไม่จริง ไม่แท้
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ แต่เป็นที่รักที่พึงใจของผู้อ่ืน
ตถาคตย่อมไมก่ ล่าววาจานนั้ .
(๕) ตถาคตรู้ชัดซ่ึงวาจาใด อันจริง อันแท้ แต่
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ แม้เป็นที่รักที่พึงใจของผู้อ่ืน
ตถาคตย่อมไม่กล่าววาจานน้ั .

236

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

(๖) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด  อันจริง  อันแท้
อันประกอบด้วยประโยชน์ และเป็นที่รักท่ีพึงใจของผู้อื่น
ตถาคตยอ่ มเปน็ ผูร้ ูจ้ กั กาละทีเ่ หมาะสมเพือ่ กลา่ ววาจานัน้ .

ข้อน้ีเพราะเหตุไรเล่า ราชกุมาร !   เพราะตถาคต
มคี วามเอ็นดใู นสตั วท์ งั้ หลาย.

237

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงมีการกล่าวทไี่ ม่ขดั แยง้ กับ 92
บัณฑิตชนในโลก

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๑๖๙/๒๓๙.

ภิกษุท้ังหลาย !   เราย่อมไม่กล่าวขัดแย้ง (วิวาท)
กะโลก แต่โลกต่างหาก ย่อมกล่าวขัดแย้งต่อเรา.  ภิกษุ
ทงั้ หลาย !   ผเู้ ปน็ ธรรมวาที ยอ่ มไมก่ ลา่ วขดั แยง้ กะใครๆ
ในโลก.  ภิกษุท้ังหลาย !   ส่ิงใดท่ีบัณฑิตในโลก สมมติ
(รเู้ หมือนๆ กนั ) ว่าไมม่ ี แม้เราก็กล่าวส่งิ นนั้ วา่ ไมม่ .ี   ภกิ ษุ
ท้ังหลาย !   ส่ิงใดที่บัณฑิตในโลกสมมติว่ามี แม้เราก็กล่าว
สง่ิ นั้นวา่ ม.ี

ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   อะไรเล่า ท่บี ณั ฑติ ในโลกสมมติ
วา่ ไมม่ ี และเราก็กล่าววา่ ไมม่  ี ?

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  รปู ทเ่ี ทยี่ ง ทย่ี ง่ั ยนื ทเ่ี ทยี่ งแท้ ทไี่ มม่ ี
การแปรปรวนเปน็ ธรรมดา บณั ฑติ ในโลกสมมตวิ า่ ไมม่ ี แมเ้ รา
ก็กล่าวว่าไม่มี.  (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ

ก็ตรัสไว้โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปท่ีกล่าวแล้ว). 

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ขอ้ นแ้ี ล ทบ่ี ณั ฑติ ในโลกสมมตวิ า่ ไมม่ ี และเรา
กก็ ลา่ ววา่ ไมม่ .ี

238

เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุท้ังหลาย !   อะไรเลา่ ท่ีบณั ฑติ ในโลกสมมติ
วา่ มี และเราก็กล่าวว่ามี.

ภิกษุท้ังหลาย !   รูป ท่ีไม่เท่ียง เป็นทุกข์ มีการ
แปรปรวน เป็นธรรมดาบัณฑิตในโลกสมมติว่ามี แม้เราก็
กล่าววา่ มี. (ในกรณแี หง่ เวทนา สัญญา สงั ขาร และวญิ ญาณ ก็ตรัสไว้
โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่กล่าวแล้ว).  ภิกษุ
ทั้งหลาย !   ข้อนี้แล ท่ีบัณฑิตในโลก สมมติว่ามี และเราก็
กลา่ ววา่ มี, ดังนี.้

[ในบาลี โปฏฐปาทสูตร สี.ที. ๙/๒๔๘/๓๑๒, มีตรัสว่า
พระองค์ (ตถาคต) กท็ รงกลา่ วด้วยถ้อยคำ�หรือว่าภาษาที่ชาวโลกกล่าว,
แต่ไม่ทรงยึดถือเหมือนอย่างท่ีชาวโลกกล่าวนั้น.  ใน ทีฆนขสูตร
-บาลี ม.ม. ๑๓/๒๖๘/๒๗๓, มีตรัสว่า ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว
ย่อมไมก่ ล่าวคำ�ประจบกับใครๆ ไม่กล่าวค�ำ ขัดแย้งใครๆ และโวหารใด
ท่ีเขากล่าวกันอยู่ในโลก ภิกษุน้ันก็กล่าวด้วยโวหารน้ัน แต่ไม่ยึดมั่น
ถอื มน่ั ความหมายใดๆ อยา่ งชาวโลก ; ค�ำ วา่ “ภกิ ษ”ุ ในค�ำ ตรสั นน้ั เลง็ ถงึ
พระองคเ์ องกไ็ ด้ เพราะพระองคก์ ร็ วมอยใู่ นค�ำ วา่ พระอรหนั ตด์ ว้ ย ซง่ึ เปน็
พระอรหันต์ประเภทสัมมาสัมพุทธะ, เป็นอันว่าพระองค์ มีหลัก
ในการตรัสดังนั้น. -ผูแ้ ปล]

239

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงสอนเฉพาะแตเ่ รอ่ื งทกุ ข์ 93
กบั ความดบั สนิทของทกุ ข์

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๒๗๘/๒๘๖.

ภิกษุท้ังหลาย !   ท้ังท่ีเรามีถ้อยคำ�อย่างน้ี มีการ
กล่าวอย่างนี้ สมณะและพราหมณ์บางพวก ยังกล่าวตู่เรา
ดว้ ยค�ำ เท็จเปล่าๆ ปลีๆ้ ไมม่ ีจรงิ เป็นจรงิ วา่ “พระสมณโคดม

ซ่ึงเป็นคนจูงคนให้เดินผิดทางไปสู่ความฉิบหาย ; ย่อมบัญญัติลัทธิ

ความสูญเปล่า ความวินาศ ความไม่มี ของสัตว์ คน ตัวตนเราเขา

ขึ้นส่งั สอน” ดงั น้ี.
ภิกษุท้ังหลาย !   สมณะและพราหมณ์บางพวก

เหลา่ นน้ั กลา่ วตเู่ ราดว้ ยค�ำ เทจ็ เปลา่ ๆ ปลๆ้ี ไมม่ จี รงิ เปน็ จรงิ
โดยประการทเ่ี รามไิ ดก้ ลา่ ว หรอื จะกลา่ วอยา่ งนนั้ กห็ ามไิ ด.้

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ในกาลกอ่ นกต็ าม ในบดั นก้ี ต็ าม
เราบญั ญตั ขิ น้ึ สอนแตเ่ รอื่ งความทกุ ข์ และความดบั สนทิ
ไม่มเี หลอื ของความทกุ ข์ เทา่ นน้ั .

ภิกษุท้ังหลาย !   ในการกล่าวแต่เร่ืองความทุกข์
และความดบั สนทิ ของความทกุ ข์ เชน่ น้ี แมจ้ ะมใี ครมาดา่ วา่

240

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

ถากถาง กระทบกระเทยี บ เสียดสี ตถาคตก็ไมม่ ีความโกรธ
แค้นขนุ่ เคอื งเดอื ดรอ้ นใจเพราะเหตนุ ัน้ แต่ประการใด.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในเรอ่ื งเดยี วกนั นนั้ เอง แมจ้ ะมใี คร
มาสักการะเคารพสรรเสริญบูชา, ตถาคต ก็ไม่มีความรู้สึก
เพลิดเพลินช่ืนชม หรือเคล้ิมใจไปตาม.  ถ้ามีใครมา
สกั การะเคารพสรรเสรญิ บชู า ตถาคตยอ่ มมคี วามคดิ อยา่ งนว้ี า่
ก่อนหน้าน้ีเรามีความรู้สึกตัวทั่วถึงอย่างไร บัดน้ีเราก็ต้อง
ท�ำ ความรสู้ กึ ตัวทวั่ ถงึ อยา่ งนน้ั , ดังน.ี้

241

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

สิ่งท่ตี รสั รแู้ ตไ่ ม่ทรงน�ำมาสอน 94
มีมากกวา่ ทท่ี รงน�ำมาสอนมากนัก

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๔๘/๑๗๑๒.

ภิกษุท้ังหลาย !   เธอทั้งหลายเข้าใจว่าอย่างไร :
ใบไม้สีสปาที่เรากำ�ข้ึนหน่อยหนึ่งนี้มาก หรือว่าใบไม้สีสปา
ทีย่ ังอยู่บนตน้ เหล่านั้นมาก.

“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ใบไม้ท่ีพระผู้มีพระภาคทรงกำ�ข้ึน
หน่อยหนึ่งน้ันเป็นของน้อย ส่วนใบไม้ท่ียังอยู่บนต้นสีสปาเหล่าน้ันย่อม
มีมาก.”

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั ธรรมะสว่ นทเี่ รารยู้ ง่ิ
ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ แลว้ ไมก่ ลา่ วสอนนน้ั มมี ากกวา่ สว่ นทน่ี �ำ มา
กลา่ วสอน.  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เหตไุ รเลา่ เราจงึ ไมก่ ลา่ วสอน
ธรรมะสว่ นนน้ั ๆ ?  ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  เพราะเหตวุ า่ ธรรมะ
ส่วนน้ันๆ ไม่ประกอบอยู่ด้วยประโยชน์ ท่ีเป็นเง่ือนต้น
แห่งพรหมจรรย์, ไม่เป็นไปเพ่ือความหน่าย ไม่เป็นไป
เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั ไมเ่ ปน็ ไปเพอื่ ความดบั ไมเ่ ปน็ ไป
เพอ่ื ความสงบ ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความรยู้ ง่ิ ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความ
รพู้ รอ้ ม ไมเ่ ปน็ ไปเพอื่ นพิ พาน, ฉะนน้ั เราจงึ ไมก่ ลา่ วสอน.

242

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : “ตถาคต”

ภิกษุทั้งหลาย !   ธรรมะอะไรเล่า เป็นธรรมะท่ีเรา
กล่าวสอน ?  ภิกษุทั้งหลาย !  ธรรมะที่เรากล่าวสอน คือ
ขอ้ ทวี่ า่ ความทกุ ข์ เปน็ อยา่ งนๆ้ี , เหตเุ ปน็ ทเ่ี กดิ ของความทกุ ข์
เป็นอย่างน้ีๆ, ความดับสนิทของความทุกข์ เป็นอย่างน้ีๆ,
ขอ้ ปฎบิ ตั เิ พอื่ ถงึ ความดบั สนทิ ของความทกุ ข์ เปน็ อยา่ งนๆี้ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเหตไุ รเลา่ ธรรมสว่ นนเี้ ราจงึ
นำ�มากล่าวสอน ? ภิกษุท้ังหลาย !   เพราะว่าธรรมะส่วนนี้
ประกอบอยู่ด้วยประโยชน์ เป็นเงื่อนต้นแห่งพรหมจรรย์
เป็นไปเพื่อความหน่าย เป็นไปเพื่อความคลายกำ�หนัด
เป็นไปเพ่ือความดับ เป็นไปเพ่ือความสงบ เป็นไปเพื่อ
ความรยู้ ิ่ง เป็นไปเพ่อื ความร้พู รอ้ ม เปน็ ไปเพื่อนพิ พาน,
เพราะเหตุน้นั แล เราจึงนำ�มากลา่ วสอน.

243

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงยืนยันเอง และทรงใหส้ าวก 95
ยนื ยนั วา่ มีสมณะในธรรมวนิ ยั น้ี

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๒๓/๒๔๑.

ภิกษุทั้งหลาย !   สมณะมีในธรรมวินัยน้ี โดยแท้.
สมณะที่สอง ก็มีในธรรมวินัยน้ี.  สมณะท่ีสาม ก็มีใน
ธรรมวินัยนี้.  สมณะท่ีส่ี ก็มีในธรรมวินัยน้ี.  ลัทธิอ่ืนก็
วา่ งจากสมณะของลทั ธอิ น่ื .  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เธอทงั้ หลาย
จงบนั ลอื สหี นาทโดยชอบอยา่ งน้เี ถิด.

ภิกษุทั้งหลาย !   สมณะ (ที่หน่ึง) เป็นอย่างไรเล่า ?
ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เพราะสน้ิ สญั โญชนส์ าม
ย่อมเปน็ โสดาบนั (คอื แรกถึงกระแสแห่งนิพพาน) มอี นั ไม่กลับ
ตกตำ่�เป็นธรรมดา เป็นผู้เท่ียงแท้ต่อการตรัสรู้ ในวันหน้า.
น้แี ลสมณะ (ท่ีหนงึ่ ).

ภิกษุท้ังหลาย !   สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ?
ภิกษุท้ังหลาย !  ภิกษุในธรรมวินัยน้ี เพราะสัญโญชน์สาม
อย่างกส็ น้ิ ไป ราคะ โทสะ โมหะ กเ็ บาบางน้อยลง ยอ่ มเป็น
สกทาคามี, มาสู่โลกน้ีอีกคราวเดียวเท่าน้ัน ก็ทำ�ที่สุดแห่ง
ทกุ ขไ์ ด.้   นแี้ ลสมณะที่สอง.

244

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

ภิกษุท้ังหลาย !   สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ?
ภิกษุท้ังหลาย !  ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะส้ินสัญโญชน์
ในเบอื้ งตำ่� ๕ อย่าง ยอ่ มเปน็ โอปปาตกิ ะ มีการปรนิ ิพพาน
ในภพนน้ั ๆ ไมเ่ วยี นกลบั จากโลกนน้ั ๆ เปน็ ธรรมดา.  นแ้ี ล
สมณะทสี่ าม.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   สมณะทส่ี ่ี เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษุ
ทั้งหลาย !  ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ทำ�ให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ
ปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ เพราะสิ้นอาสวะด้วยปัญญา
อันย่ิงเองในชาติเป็นปัจจุบันน้ี เข้าถึงแล้วแลอยู่.  นี้แล
สมณะทสี่ ี่.

ภิกษุทั้งหลาย !   สมณะมีในธรรมวินัยน้ีโดยแท้.
สมณะทสี่ อง กม็ ใี นธรรมวนิ ยั น.ี้   สมณะทสี่ าม กม็ ใี นธรรม-
วินัยนี้.  สมณะที่สี่ก็มีในธรรมวินัยนี้.  ลัทธิอื่นก็ว่างจาก
สมณะของลทั ธิอื่น.

ภิกษุท้ังหลาย !   เธอทั้งหลายจงบันลือสีหนาท
โดยชอบอยา่ งน้ี.

245

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ส่วนทส่ี าวกเขม้ งวดกว่าพระองค์ 96
-บาลี ม. ม. ๑๓/๓๑๘/๓๒๔.

อุทายิ !   สาวกของเรา ฉันอาหารเพียงโกสะหน่ึง
บา้ ง (โกสะ - ขนั จอกขนาดเลก็ ) ครงึ่ โกสะบา้ ง เทา่ ผลมะตมู บา้ ง
เทา่ ครง่ึ ผลมะตมู บา้ ง กม็ อี ย.ู่   สว่ นเรา, อทุ าย ิ !  บางคราว
ฉนั เต็มบาตรเสมอขอบปากบ้าง ยง่ิ ขนึ้ ไปกว่าบา้ ง…

อุทายิ !   สาวกของเรา ถือผ้าบังสุกุล ทรงจีวรเศร้า
หมอง.  เธอเหล่าน้ัน เก็บผสมผ้าชายขาด จากป่าช้าบ้าง
จากกองขยะบา้ ง จากทเ่ี ขาทง้ิ ตามตลาดบา้ ง ท�ำ เปน็ ผา้ สงั ฆาฏิ
(ผ้าคลุมนอก) แล้วทรงไว้ ก็มีอยู่.  ส่วนเราเอง, อุทายิ ! 
บางคราว กค็ รองจวี ร ทพ่ี วกคหบดถี วาย มเี นอ้ื นมิ่ ละเอยี ด…

อทุ าย ิ!  สาวกของเรา ถอื บณิ ฑบาตเปน็ วตั ร เทยี่ วไป
ตามลำ�ดับเป็นวัตร ยินดีแต่ในภัตต์อันมีอยู่เพ่ือภิกษุตาม
ธรรมดา,  เมื่อเที่ยวไปตามระวางเรือน แม้มีผู้เช้ือเชิญ
ดว้ ยอาสนะ (ฉนั บนเรอื น) กไ็ มย่ นิ ดรี บั , กม็ อี ย.ู่   สว่ นเราเอง,
อทุ าย ิ !  ในบางคราว ฉนั ขา้ วสกุ แหง่ ขา้ วสาลไี มด่ �ำ เลย มแี กง
และกับเป็นอนั มาก…

246

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

อุทายิ !   สาวกของเรา ถืออยู่โคนไม้เป็นวัตร, อยู่
กลางแจง้ เปน็ วตั รกม็ อี ย.ู่ เธอเหลา่ นนั้ ไมเ่ ขา้ สทู่ มี่ งุ ทบี่ งั เลย
ต้งั ๘ เดอื น (ในปีหน่งึ ), ก็มอี ย.ู่ สว่ นเราเอง, อุทาย ิ !   บาง
คราวอยู่อาศัยในเรือนมียอด อันเขาฉาบทาท้ังขึ้นและลง
ไม่มีรูรั่วให้ลมผ่าน มีล่ิมสลักอันขัดแล้ว มีหน้าต่างอันปิด
สนทิ แลว้ …

อุทายิ !   สาวกของเราผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ถือเอาป่า
ชัฏเป็นเสนาสนะอันสงัด, เธอเหล่านั้น มาสู่ท่ามกลางสงฆ์
ทุกก่งึ เดือน เพ่อื ฟังปาติโมกขเ์ ทา่ นัน้ , ก็มีอย.ู่ ส่วนเราเอง,
อุทายิ !   ในบางคราว อยู่เกล่ือนกล่นด้วยหมู่ภิกษุ ภิกษุณี
อุบาสก อบุ าสกิ า พระราชา อำ�มาตย์ของพระราชา เดยี รถีย์
และสาวกของเดียรถีย…์

อทุ าย ิ !   ถา้ สาวกของเรา จะสกั การะ เคารพ นบั ถอื
บชู าเรา แลว้ เขา้ มาอาศยั เราอยู่ เพราะคดิ วา่ พระสมณโคดม
เปน็ ผฉู้ นั อาหารนอ้ ย (เปน็ ตน้ ) แลว้ ไซร,้ อทุ าย ิ !   สาวกของ
เรา เหลา่ ทม่ี อี าหารเพยี งโกสะหนงึ่ (เปน็ ตน้ ) กจ็ ะไมส่ กั การะ
เคารพ นับถือ บูชาเราแล้ว อาศยั เราอยู่เพราะเหตนุ ้ี…

247

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

เหตุที่ท�ำให้มผี ู้มาเป็นสาวก 97
ของพระองค์

-บาลี ม. ม. ๑๓/๓๒๑/๓๒๙.

อทุ าย ิ!  มเี หตหุ า้ อยา่ ง ทท่ี �ำ ใหส้ าวก สกั การะ เคารพ
นบั ถอื บชู าแลว้ มาอยอู่ าศยั เรา.  หา้ อยา่ งอะไรบา้ ง ?

อทุ าย ิ !   สาวกของเราพอใจเรา ในเพราะอธิศลี วา่
พระสมณโคดม ประกอบด้วยศีลขันธ์อย่างย่ิง, … นี่เป็น
ข้อที่ ๑.

อุทายิ !   สาวกของเราพอใจเรา ในเพราะปัญญา
เครอ่ื งรู้ เครอ่ื งเหน็ อนั กา้ วไปไดแ้ ลว้ อยา่ งยง่ิ วา่ พระสมณ-
โคดม เมอ่ื พระองคร์ อู้ ยจู่ รงิ ๆ จงึ จะกลา่ ววา่ ‘เราร’ู้ , เมอ่ื พระองค์
เหน็ อยจู่ รงิ ๆ จงึ จะกลา่ ววา่ ‘เราเหน็ ’, พระสมณโคดมแสดง
ธรรมเพอ่ื ความรยู้ งิ่ ไมใ่ ชเ่ พอ่ื ความไมร่ ยู้ งิ่ , พระสมณโคดม
แสดงธรรมมีเหตุผล ไม่ใช่ไม่มีเหตุผล, พระสมณโคดม
แสดงธรรมประกอบด้วยปาฏิหาริย์ ไม่ใช่ไม่ประกอบด้วย
ปาฏหิ ารยิ ์, … นเี่ ป็นข้อท่ี ๒.

อทุ าย ิ!  สาวกของเราพอใจเรา ในเพราะอธปิ ญั ญาวา่
พระสมณโคดมประกอบดว้ ยปญั ญาขนั ธอ์ ยา่ งยง่ิ .  และขอ้ ท่ี

248

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

จะมวี า่ พระองคจ์ กั ไมเ่ หน็ แนวส�ำ หรบั ค�ำ ตรสั ตอ่ ไปขา้ งหนา้ ,
หรอื พระองคจ์ กั ไมอ่ าจขม่ ใหร้ าบคาบโดยถกู ตอ้ ง ซงึ่ วาจาอนั
เปน็ ขา้ ศกึ นน้ั ไมเ่ ปน็ ฐานะทจ่ี ะมขี น้ึ ไดเ้ ลย, … นเ่ี ปน็ ขอ้ ท่ี ๓.

อทุ าย ิ!  สาวกของเรา ถกู ความทกุ ขใ์ ด หยง่ั เอา หรอื
ครอบง�ำ เอาแลว้ ยอ่ มเขา้ ไปถามเราถงึ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ
คือทุกข์, ถึงความจริงอันประเสริฐ คือเหตุให้เกิดทุกข์,
ถงึ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดบั ทกุ ขเ์ สยี ได้ และความจรงิ
อันประเสริฐ คือหนทางให้ถึงความดับทุกข์น้ัน.  เราถูก
ถามแล้ว ก็พยากรณ์ให้แก่พวกเธอ ทำ�จิตของพวกเธอให้
ชมุ่ ชน่ื ดว้ ยการพยากรณป์ ญั หาให,้ … นเ่ี ปน็ ขอ้ ท่ี ๔.

อุทายิ !   ข้อปฏิบัติเป็นส่ิงท่ีเราบอกแล้วแก่สาวก
ท้ังหลาย สาวกทั้งหลายของเราปฏิบัติตามแล้ว ย่อมทำ�
สติปัฏฐานทั้งส่ีให้เจริญได้, คือภิกษุในศาสนาน้ีเป็นผู้มี
ปรกตติ ามเหน็ กายในกาย, มปี รกตติ ามเหน็ เวทนาในเวทนา
ทง้ั หลาย, มปี รกตติ ามเหน็ จติ ในจติ , มปี รกตติ ามเหน็ ธรรม
ในธรรมทง้ั หลาย มเี พยี รเผาบาป มคี วามรตู้ วั ทว่ั พรอ้ ม มสี ติ
น�ำ ออกเสยี ซง่ึ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลก (คอื ความยนิ ดยี นิ รา้ ย),

249

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เพราะการปฏิบัติเช่นนั้น สาวกของเราเป็นอันมากได้บรรลุ
แล้วซึ่ง อภิญญาโวสานบารมี (คืออรหัตตผล)  แล้วแลอยู่. 

(ตอนนต้ี รสั ยดื ยาวจนตลอดโพธปิ กั ขยิ ธรรม สมาบตั ิ และวชิ ชาแปดดว้ ย

แต่จะไม่ยกมาใส่ไว้ เพราะเกินต้องการไป -ผู้แปล), … น่ีเป็น
ขอ้ ท่ี ๕.

อุทายิ !   เหตุห้าอย่างน้ีแล ท่ีทำ�ให้สาวกของเรา
สกั การะ เคารพนับถือ บูชาแลว้ อาศัยเราอย.ู่

(หาใชเ่ พราะพระองคเ์ ปน็ ผฉู้ นั อาหารนอ้ ย มธี ดุ งคต์ า่ งๆ เปน็ ตน้
ดงั กลา่ วแลว้ ในหวั ขอ้ วา่ “สว่ นทส่ี าวก เขม้ งวดกวา่ พระองค”์ ขา้ งตน้ นน้ั ไม่
-ผแู้ ปล).

250

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

ประโยชน์ทมี่ ุ่งหมายของพรหมจรรย์ 98
.-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๓๗๓/๓๕๒.

ภิกษุทั้งหลาย !   พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีลาภสักการะ
และเสยี งสรรเสรญิ เปน็ อานสิ งส,์ พรหมจรรยน์ ี้ มใิ ชม่ คี วาม
ถึงพร้อมแห่งศีลเป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้มิใช่มีความ
ถงึ พรอ้ มแหง่ สมาธเิ ปน็ อานสิ งส,์ พรหมจรรยน์ ้ี มใิ ชม่ คี วาม
ถงึ พร้อม แห่งญาณทสั สนะเป็นอานสิ งส์.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  กเ็ จโตวมิ ตุ ตอิ นั ไมก่ �ำ เรบิ อนั ใด มอี ย,ู่
พรหมจรรย์น้ีมีเจโตวิมุตตินั้นนั่นแหละ เป็นประโยชน์ที่
มงุ่ หมาย.  เจโตวมิ ตุ ตนิ น่ั แหละ เปน็ แกน่ สาร เปน็ ผลสดุ ทา้ ย
ของพรหมจรรย.์

251

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ทรงเสพเสนาสนะปา่ เรื่อยไป 99
เพอื่ ให้เป็นตวั อย่าง

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๑/๕๑.

พราหมณ์ !   ท่านอาจมีความเห็นอย่างน้ีก็ได้ว่า
“ขณะนพ้ี ระสมณโคดมยงั มรี าคะ ยงั มโี ทสะ ยงั มโี มหะ เปน็ แน,่
เพราะฉะนน้ั จงึ ไดเ้ สพเสนาสนะปา่ อนั เงยี บสงดั ” ดงั น.้ี

พราหมณเ์ อย !   ทา่ นไมพ่ งึ มคี วามเหน็ อยา่ งนน้ั เลย. 
พราหมณ์ !  เรามองเห็นอยู่ซ่ึงประโยชน์ ๒ ประการ  จึง
เสพเสนาสนะป่าอันเงียบสงัด, คือเพ่ือความอยู่เป็นสุข
ทันตาเห็นแก่เราเองอย่างหน่ึง และอีกอย่างหนึ่ง เพ่ือ
อนเุ คราะหแ์ กผ่ ทู้ ตี่ ามมาภายหลงั   (จะมกี �ำ ลงั ใจปฏบิ ตั ใิ นการ
เสพเสนาสนะป่าอันเงียบสงัด) ดังน้ี.

252

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงฉันวนั ละหนเดยี ว 100

-บาลี ม. ม. ๑๓/๑๖๓/๑๖๐.

ภิกษุท้ังหลาย !   เราย่อมฉันโภชนะแต่ในท่ีนั่ง
แหง่ เดยี ว (คอื ฉนั หนเดยี ว ลกุ ขนึ้ แลว้ ไมฉ่ นั อกี ในวนั นน้ั ).  ภกิ ษุ
ทั้งหลาย !  เมื่อเราฉันโภชนะแต่ในท่ีน่ังแห่งเดียวอยู่ ย่อม
รู้สึกว่าเป็นผู้มีอาพาธน้อย มีทุกข์น้อย มีความเบากาย
กระปร้กี ระเปร่า มกี ำ�ลงั และมีความผาสุกดว้ ย.

ภิกษุทั้งหลาย !   มาเถิด แม้พวกเธอท้ังหลาย ก็จง
ฉนั โภชนะแตใ่ นทนี่ งั่ แหง่ เดยี ว.  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  พวกเธอ
ทั้งหลาย เมื่อฉันอยู่ซ่ึงโภชนะแต่ในที่นั่งแห่งเดียว จักรู้สึก
ความที่เป็นผู้มีอาพาธน้อย มีทุกข์น้อย มีความเบากาย
กะปร้ีกะเปรา่ มีก�ำ ลงั และมีความผาสกุ ดว้ ยแล.

253

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงมกี ารประทม อยา่ งตถาคต 101
-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๓๑/๒๔๖.

ภิกษุท้ังหลาย !   การนอนมีส่ีอย่าง คือ การนอน
อยา่ งเปรต, การนอนอยา่ งคนบรโิ ภคกาม, การนอนอยา่ งสหี ะ,
การนอนอยา่ งตถาคต.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  การนอนอยา่ งเปรต เปน็ อยา่ งไรเลา่  ?
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  โดยมาก พวกเปรตยอ่ มนอนหงาย นเ่ี รยี กวา่
การนอนอยา่ งเปรต.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   การนอนอยา่ งคนบรโิ ภคกาม เปน็
อยา่ งไรเลา่  ?  ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  โดยมาก คนบรโิ ภคกามยอ่ ม
นอนตะแคงโดยข้างเบ้ืองซ้าย น่ีเรียกว่า การนอนอย่างคน
บรโิ ภคกาม.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  การนอนอยา่ งสหี ะ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ?
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  สหี ะเปน็ พญาสตั ว์ ยอ่ มส�ำ เรจ็ การนอนโดย
ข้างเบื้องขวา เท้าเหลื่อมเท้า สอดหางไว้ที่ระหว่างแห่งขา. 
สีหะนั้นครั้นต่ืนขึ้น ย่อมชะเง้อกายตอนหน้าข้ึนสังเกตกาย
ตอนท้าย ถ้าเห็นความดิ้นเคล่ือนท่ีของกาย (ในขณะหลับ)
ยอ่ มมคี วามเสยี ใจ เพราะขอ้ นน้ั .  ถา้ ไมเ่ หน็ ยอ่ มมคี วามดใี จ. 
นเ่ี รยี กวา่ การนอนอยา่ งสหี ะ.

254

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  การนอนอยา่ งตถาคต เปน็ อยา่ งไรเลา่  ?
ภิกษุท้ังหลาย !  การนอนอย่างตถาคตคือ ภิกษุในศาสนานี้
เพราะสงัดแล้วจากกามท้ังหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรม
ท้ังหลาย, ย่อมเข้าถึงฌานท่ี ๑ ซึ่งมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.  เพราะวิตกวิจารรำ�งับไป
เธอเข้าถึงฌานท่ี ๒ อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน
สามารถใหส้ มาธผิ ดุ ขน้ึ เปน็ ธรรมเอก ไมม่ วี ติ กวจิ าร มแี ตป่ ตี ิ
และสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.  เพราะปีติจางหายไป
เธอเปน็ ผเู้ พง่ เฉยอยไู่ ด้ มสี ติ มคี วามรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม และได้
เสวยสขุ ดว้ ยกาย เขา้ ถงึ ฌานที่ ๓ อนั เปน็ ฌานทพี่ ระอรยิ เจา้
ทงั้ หลาย กลา่ วสรรเสรญิ ผไู้ ดบ้ รรลวุ า่ “เปน็ ผเู้ ฉยอยไู่ ดม้ สี ติ
อยู่เป็นสุข” แล้วแลอยู่.  เพราะละสุขและทุกข์เสียได้
เพราะความดับหายไป แห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน
เธอเขา้ ถงึ ฌานท่ี ๔ อนั ไมท่ กุ ขแ์ ละไมส่ ขุ มแี ตส่ ตอิ นั บรสิ ทุ ธิ์
เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่.  น่ีเรียกว่า การนอนอย่าง
ตถาคต.

255

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

วหิ ารธรรมทท่ี รงอยมู่ ากตลอดพรรษา 102
-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๑๒/๑๓๖๔.

ภิกษุทั้งหลาย !   ถ้าพวกปริพาชกเดียรถีย์ลัทธิอื่น
จะพงึ ถามเธอทง้ั หลาย อยา่ งนว้ี า่   “ทา่ นผมู้ อี าย ุ! พระสมณโคดม
ทรงอยู่จ�ำ พรรษาส่วนมาก ด้วยวหิ ารธรรมไหนเล่า ?” ดังน้.ี

ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อพวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว
พงึ ตอบแกพ่ วกปรพิ าชกเดยี รถยี ล์ ทั ธอิ นื่ เหลา่ นน้ั อยา่ งนวี้ า่
“ทา่ นผมู้ อี าย ุ !  พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงอยตู่ ลอดพรรษา
กาลเป็นอันมาก ด้วยวิหารธรรมคือ อานาปานสติสมาธิ
แล” ดงั น.้ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ในกรณนี ้ี เราเปน็ ผมู้ สี ติ หายใจเขา้ ,
มสี ตหิ ายใจออก ; เมอ่ื หายใจเขา้ ยาว กร็ ชู้ ดั วา่ เราหายใจเขา้ ยาว,
เมอ่ื หายใจออกยาว กร็ ู้ชดั วา่ เราหายใจออกยาว ; เมอ่ื หายใจ
เข้าสัน้ ก็รู้ชดั วา่ เราหายใจเขา้ ส้นั , เมื่อหายใจออกส้ัน ก็รชู้ ดั
ว่าเราหายใจออกส้ัน ;… (แต่นี้ได้ตรัสไว้อย่างเดียวกัน ซึ่งเหมือน
ในหน้า ๑๕๐–๑๕๒) …เราจักเป็นผู้มองเห็นความสลัดคืน
หายใจออก.

ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือใครผู้ใดจะกล่าวส่ิงใดให้
ถกู ตอ้ งชอบธรรม วา่ เปน็ อรยิ วหิ ารกด็ ี วา่ เปน็ พรหมวหิ ารกด็ ี

256

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

วา่ เปน็ ตถาคตวหิ ารกด็ ี เขาพงึ กลา่ วอานาปานสตสิ มาธนิ แ้ี หละ
วา่ เปน็ อรยิ วิหาร วา่ เป็นพรหมวิหาร วา่ เป็นตถาคตวิหาร.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ภกิ ษเุ หลา่ ใดยงั เปน็ เสขะ ยงั ไมล่ ถุ งึ
ธรรมที่ต้องประสงค์แห่งใจ ปรารถนาอยู่ซึ่งโยคเขมธรรม
อนั ไมม่ อี ะไรยง่ิ กวา่  ; ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั เมอ่ื เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้
ซงึ่ อานาปานสตสิ มาธิ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะ
ทัง้ หลาย.

สว่ นภกิ ษทุ ง้ั หลายเหลา่ ใด เปน็ อรหนั ต์ สนิ้ อาสวะแลว้
มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้ว มีส่ิงที่ต้องทำ�อันตนทำ�เสร็จแล้ว
มภี าระอนั ปลงลงแลว้ มปี ระโยชนต์ นอนั ลถุ งึ แลว้ มสี ญั โญชน์
ในภพทง้ั หลายสน้ิ รอบแลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้ เพราะรโู้ ดยชอบ ;
ภกิ ษทุ ง้ั หลายเหลา่ นน้ั เมอ่ื เจรญิ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ซง่ึ อานาปาน-
สติสมาธิ ย่อมเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมน้ีด้วย เพ่ือความ
สมบรู ณ์แหง่ สตสิ ัมปชัญญะด้วย.

ภิกษุทั้งหลาย !   ฉะนั้น เมื่อใครจะกล่าวส่ิงใดให้
ถูกต้องชอบธรรม ว่าเป็นอริยวิหารก็ดี ว่าเป็นพรหมวิหาร
กด็ ี ว่าเปน็ ตถาคตวิหารก็ดี เขาพงึ กล่าว อานาปานสติสมาธิ
นแ้ี หละ วา่ เปน็ อรยิ วหิ าร วา่ เปน็ พรหมวหิ าร วา่ เปน็ ตถาคตวหิ าร
ดงั น.้ี

257

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : “ตถาคต”

สิ่งทใี่ ครๆ ไมอ่ าจทว้ งตงิ ได้ 103

-บาลี สตตฺ ก. อ.ํ ๒๓/๘๔/๕๕.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ตถาคตเปน็ ผทู้ ใ่ี ครๆ ไมอ่ าจทว้ งตงิ
ไดด้ ว้ ยธรรม ๓ อย่างคือ :-

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ตถาคตมธี รรมอนั ตนกลา่ วไวด้ แี ลว้ ,
ในธรรมนน้ั ๆ ตถาคตไมม่ องเหน็ วแ่ี ววชอ่ งทางทจ่ี ะมวี า่ สมณะ
หรอื พราหมณ,์ เทพ, มาร, พรหม, หรอื ใครๆ ในโลก จกั ทว้ งตงิ
เราไดด้ ว้ ยทง้ั เหตผุ ลวา่ “ทา่ นไมใ่ ชเ่ ปน็ ผมู้ ธี รรม อนั ตนกลา่ ว
ไวด้ แี ลว้ เพราะเหตเุ ชน่ นๆ้ี ” ดงั น.้ี

ภิกษุท้ังหลาย !   ปฏิปทาเครื่องทำ�ผู้ปฏิบัติให้ถึง
พระนพิ พาน เปน็ สง่ิ ทเ่ี ราบญั ญตั ไิ วด้ แี ลว้ แกส่ าวกทง้ั หลาย,
โดยอาการที่สาวกทั้งหลายของเราปฏิบัติแล้ว ย่อมกระทำ�
ให้แจ้งซ่ึงเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ เพราะ
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ได้ด้วยปัญญาอันย่ิงเอง
ในธรรมอันตนเห็นแล้วน่ีเอง เข้าถึงวิมุตตินั้นแล้วแลอยู่. 
ในปฏิปทานั้นๆ ตถาคตไม่มองเห็นวี่แววช่องทางที่จะมีว่า
สมณะหรอื พราหมณ,์ เทพ, มาร, พรหม, หรอื ใครๆ ในโลก
จกั ทว้ งตงิ เราไดด้ ว้ ยทง้ั เหตผุ ลวา่ “ปฏปิ ทาเครอื่ งท�ำ ผปู้ ฏบิ ตั ิ

258

เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : “ตถาคต”

ให้ถึงพระนิพพาน เป็นสิ่งที่ท่านบัญญัติไว้ดีแล้ว แก่สาวก
ทั้งหลาย, โดยอาการท่ีสาวกทั้งหลายของเราปฏิบัติแล้ว
ยอ่ มกระท�ำ ใหแ้ จง้ ซงึ่ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั ไมม่ อี าสวะ
เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะทง้ั หลาย ไดด้ ว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เอง
ในธรรมอันตนเห็นแล้วนี่เอง เข้าถึงวิมุตตินั้นแล้วแลอยู่
ก็หาไม่” ดงั นี้.

ภิกษุท้ังหลาย !   สาวกบริษัทของเรา นับด้วยร้อย
เป็นอเนก ที่ได้ทำ�ให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ …
ในข้อน้ัน เราไม่มองเห็นว่ีแววช่องทางท่ีจะมีว่า สมณะหรือ
พราหมณ,์ เทพ, มาร, พรหม, หรอื ใครๆ ในโลกจกั ทว้ งตงิ
เราไดด้ ว้ ยทงั้ เหตผุ ลวา่ “สาวกบรษิ ทั ของทา่ น มนี บั ดว้ ยรอ้ ย
เปน็ อเนกก็หามิได้ ทีไ่ ด้ทำ�ใหแ้ จง้ เจโตวิมตุ ติ ปัญญาวิมุตติ
…” ดงั นี.้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เมอ่ื เรามองไมเ่ หน็ วแ่ี ววชอ่ งทางนน้ั ๆ
กเ็ ปน็ ผถู้ งึ ความเกษมถงึ ความไมก่ ลวั ถงึ ความเปน็ ผกู้ ลา้ หาญ
อยไู่ ด.้   นแ้ี ล เปน็ สง่ิ ทใ่ี ครไมอ่ าจทว้ งตงิ ตถาคตได้ ๓ อยา่ ง.

259

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

ทรงมวี ธิ ี “รกุ ” ข้าศึกให้แพภ้ ยั ตัว 104
-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๓๘/๕๐๔.

(เร่ืองในชั้นแรกมีอยู่ว่า ปริพพาชกช่ือสรภะ เคยบวชอยู่ใน
ธรรมวินัยนี้ แล้วละท้ิงไปบวชเป็นปริพพาชก เท่ียวร้องประกาศอยู่ว่า
ตนรถู้ งึ ธรรมวนิ ยั ของพวกสมณสากยบตุ รทวั่ ถงึ แลว้ ไมเ่ หน็ ดอี ะไรจงึ หลกี
มาเสยี .  ครนั้ ความนี้ทราบถงึ พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ได้เสด็จไปสู่อาราม
ของปริพพาชกพวกนั้น และสนทนากันในกลางท่ีประชุมปริพพาชก. 
ทรงถามเฉพาะสรภะปรพิ พาชก ใหบ้ รรยายออกไปวา่ ธรรมวนิ ยั ของพวก
สมณสากยบุตรนั้นเปน็ อย่างไร). ตรัสว่า

สรภะ !   ได้ยินวา่ ท่านกล่าวดังนีจ้ ริงหรือวา่ “ธรรม
ของพวกสมณสากยบุตรน้ัน เรารู้ทั่วถึงแล้ว เพราะรู้ทั่วถึง
นนั่ เอง จงึ หลกี มาเสยี จากธรรมวนิ ยั นน้ั ” ดงั น.ี้   (ไมม่ คี �ำ ตอบ,

จงึ ตรสั ถามเปน็ ครงั้ ทีส่ อง)

สรภะ !   ทา่ นจงพดู ไปเถดิ วา่ ทา่ นรทู้ ว่ั ถงึ ธรรมของ
พวกสมณสากยบตุ รอยา่ งไร.  ถา้ ทา่ นพดู ไมค่ รบถว้ น เราจะ
ช่วยพูดเติมให้ครบถ้วน.  ถ้าคำ�ของท่านครบถ้วนถูกต้อง
ดีแล้ว เราจักอนุโมทนา.  (น่ิงไม่มีคำ�ตอบอีก จึงตรัสถามเป็น

คร้งั ท่ีสาม)

สรภะ !   ท่านจงพูดเถิด.  ธรรมวินัยของพวก
สมณสากยบตุ รนน้ั เราเปน็ ผบู้ ญั ญตั เิ อง เรายอ่ มรดู้ .ี   ถา้ ทา่ น

260

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

พดู ไมบ่ รบิ รู ณ์ เราจะชว่ ยพดู เตมิ ใหบ้ รบิ รู ณ,์ ถา้ ทา่ นพดู ไดบ้ รบิ รู ณ์
เรากจ็ กั อนโุ มทนา.  (นง่ิ ไมม่ คี �ำ ตอบ, ในทส่ี ดุ พวกปรพิ พาชกดว้ ยกนั

ช่วยกันรุมขอร้องให้สรภะปริพพาชกพูด.  สรภะก็ยังคงน่ิงตามเดิม.
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงึ ตรัสขอ้ ความน)้ี

ปริพพาชกทั้งหลาย !   ถ้าผู้ใดกล่าวหาเราว่า “ท่าน

อวดว่าท่านเป็นสัมมาสัมพุทธะ แต่ธรรมเหล่าน้ัน ท่านยังไม่รู้เลย”

ดังน้ี.  เราก็จักซักไซ้สอบถามไล่เลียงเขาให้เป็นอย่างดี
(ถึงข้อธรรมที่เขาว่าเราไม่รู้ แต่เขารู้).  เขานั้น ครั้นถูกเรา
ซักไซ้สอบถามไล่เลียงเป็นอย่างดีแล้ว ย่อมหมดหนทาง
ย่อมเป็นอย่างอื่นไม่ได้ นอกจากจะตกอยู่ในฐานะลำ�บาก
๓ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือตอบถลากไถลนอกลนู่ อก
ทางบา้ ง, แสดงความขนุ่ เคอื งโกรธแคน้ นอ้ ยอกนอ้ ยใจออก
มาใหป้ รากฏบา้ ง, หรอื ตอ้ งนง่ิ อนั้ หมดเสยี ง เกอ้ เขนิ คอตก
ก้มหน้า ซบเซา ไม่มีคำ�พูดหลุดออกมาได้ เหมือนอย่าง
สรภะปรพิ พาชกนีบ้ ้าง.

ปริพพาชกท้ังหลาย !   ถ้าผู้ใดกล่าวหาเราว่า

“ท่านอวดว่าท่านสิ้นอาสวะ.  แต่อาสวะเหล่าน้ีๆ ของท่านยังมีอยู่”

ดังน้ี.  เราก็จักซักไซ้สอบถามไล่เลียงเขาให้เป็นอย่างดี
(ถงึ อาสวะทเ่ี ขาวา่ ยงั ไมส่ น้ิ ).  เขานนั้ ครนั้ ถกู เราซกั ไซส้ อบถาม
ไล่เลียงเป็นอย่างดีแล้ว ย่อมหมดหนทาง ย่อมเป็นอย่าง

261

พุทธวจน - หมวดธรรม

อ่ืนไม่ได้นอกจากจะตกอยู่ในฐานะลำ�บาก ๓ ประการ
อย่างใดอย่างหน่ึง คือตอบถลากไถลนอกลู่นอกทางบ้าง,
แสดงความขุ่นเคือง โกรธแค้น น้อยอกน้อยใจ ออกมาให้
ปรากฏบ้าง, หรือต้องน่ิงอ้ัน หมดเสียง เก้อเขิน คอตก
ก้มหน้า ซบเซา ไม่มีคำ�พูดหลุดออกมาได้ เหมือนอย่าง
สรภะปริพพาชกนี้บา้ ง.

ปริพพาชกท้ังหลาย !   ถ้าผู้ใดกล่าวหาเราว่า “ท่าน

แสดงธรรมเพอื่ ประโยชนอ์ นั ใด ประโยชนอ์ นั นนั้ ไมเ่ ปน็ ทางสน้ิ ทกุ ขโ์ ดย

ชอบแก่บุคคลผู้ประพฤติตาม” ดังน้ี.  เราก็จักซักไซ้สอบถาม
ไล่เลียงเขาให้เป็นอย่างดี (ถึงประโยชน์ที่เขาว่าจะเป็นทางส้ินทุกข์
โดยชอบแก่บุคคลผู้ประพฤติตาม).  เขานั้น ครั้นถูกเราซักไซ้
สอบถามไลเ่ ลยี งเปน็ อยา่ งดแี ลว้ ยอ่ มหมดหนทาง ยอ่ มเปน็
อยา่ งอนื่ ไมไ่ ด้ นอกจากจะตกอยใู่ นฐานะล�ำ บาก ๓ ประการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง คือตอบถลากไถลนอกลู่นอกทางบ้าง,
แสดงความขุ่นเคือง โกรธแค้น น้อยอกน้อยใจ ออกมาให้
ปรากฏบ้าง, หรือต้องนิ่งอั้น หมดเสียง เก้อเขิน คอตก
ก้มหน้า ซบเซา ไม่มีคำ�พูดหลุดออกมาได้ เหมือนอย่าง
สรภะปรพิ พาชกน้ีบา้ ง ดงั นี้.

262

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : “ตถาคต”

ทรงข่มสจั จกนิครนถ์ 105

-บาลี ม. ม. ๑๒/๔๒๕-๔๓๒/๓๙๖-๓๙๙.

สัจจกนิครนถ์ ได้ทูลพระผู้มีพระภาคดังน้ีว่า “ท่านพระโคดม
แนะน�ำ พวกสาวกอยา่ งไร และค�ำ สง่ั สอนของทา่ นพระโคดมมสี ว่ นอยา่ งไร
ทีเ่ ป็นไปมากในพวกสาวก ?”.

อัคคิเวสสนะ !   เราแนะนำ�สาวกท้ังหลายอย่างนี้
และคำ�ส่ังสอนของเรามีส่วนอย่างน้ี ที่เป็นไปมากในสาวก
ทง้ั หลายวา่ รปู ไมเ่ ทย่ี ง เวทนาไมเ่ ทยี่ ง สญั ญาไมเ่ ทย่ี ง สงั ขาร
ทง้ั หลายไมเ่ ทยี่ ง วญิ ญาณไมเ่ ทยี่ ง รปู ไมใ่ ชต่ น เวทนาไมใ่ ชต่ น
สัญญาไม่ใช่ตน สังขารท้ังหลายไม่ใช่ตน วิญญาณไม่ใช่ตน
สงั ขารทง้ั หลายทง้ั ปวงไมใ่ ชต่ น ธรรมทง้ั หลายทง้ั ปวงไมใ่ ชต่ น
ดังน.ี้

อัคคิเวสสนะ !   เราแนะนำ�สาวกทั้งหลายอย่างนี้
และคำ�สั่งสอนของเรามีส่วนอย่างน้ี ที่เป็นไปมากในสาวก
ทง้ั หลาย.

ทา่ นพระโคดม !   ขออปุ มาจงแจ่มแจ้งแกข่ ้าพเจ้า.

อคั คเิ วสสนะอปุ มานน้ั จงแจม่ แจง้ แกท่ า่ นเถดิ .

ทา่ นพระโคดม เหมอื นพชื พนั ธไุ์ มเ้ หลา่ ใดเหลา่ หนงึ่ ทถ่ี งึ ความ
เจรญิ งอกงามไพบลู ย์ พชื พนั ธเุ์ หลา่ นน้ั ทงั้ หมด ตอ้ งอาศยั แผน่ ดนิ ตง้ั อยู่
ในแผน่ ดนิ จงึ ถงึ ความเจรญิ งอกงามไพบลู ยไ์ ด้ หรอื เหมอื นการงานอยา่ งใด

263

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อย่างหนึ่ง ท่ีต้องทำ�ด้วยกำ�ลัง อันบุคคลทำ�อยู่ การงานเหล่านั้นทั้งหมด
บุคคลต้องอาศัยแผ่นดิน ต้องต้ังอยู่บนแผ่นดินจึงทำ�กันได้ ฉันใด
บรุ ษุ บคุ คลน้ี มรี ปู เปน็ ตน มเี วทนาเปน็ ตน มสี ญั ญาเปน็ ตน มสี งั ขารเปน็ ตน
มวี ญิ ญาณเปน็ ตน ตอ้ งตง้ั อยใู่ นรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ จงึ ได้
ประสบผลบญุ ผลบาป ฉนั นน้ั .

อัคคิเวสสนะ !   ข้อนั้นท่านกล่าวอย่างนี้ว่า รูปเป็น
ตนของเรา เวทนาเป็นตนของเรา สัญญาเป็นตนของเรา
สงั ขารท้ังหลายเป็นตนของเรา วญิ ญาณเป็นตนของเราดงั น้ี
มใิ ช่หรอื .

ทา่ นพระโคดม !   ขา้ พเจา้ กลา่ วอยา่ งนนั้ ประชมุ ชนเปน็ อนั มาก
ก็กล่าวอยา่ งนั้น.

อคั คเิ วสสนะ !   ประชมุ ชนเปน็ อนั มากนน้ั จกั ท�ำ อะไร
แกท่ า่ น อคั คเิ วสสนะ!  เชญิ ทา่ นยนื ยนั ถอ้ ยค�ำ ของทา่ นเถดิ .

ท่านพระโคดม !   เปน็ ความจรงิ ข้าพเจ้ากล่าวอยา่ งนี้ รปู เปน็
ตนของเรา เวทนาเป็นตนของเรา สญั ญาเป็นตนของเรา สังขารท้งั หลาย
เป็นตนของเรา วญิ ญาณเปน็ ตนของเราดงั นี้.

อัคคิเวสสนะ !   ถ้าอย่างน้ัน เราจักสอบถามท่าน
ในข้อนี้แหละ ท่านเห็นควรอย่างไร ท่านพึงแก้ไขอย่างน้ัน
อัคคเิ วสสนะ !  ทา่ นจะสำ�คัญความข้อน้นั วา่ อย่างไร อำ�นาจ
ของพระราชามหากษตั รยิ ์ ผไู้ ดม้ รุ ธาภเิ ษกแลว้ เชน่ พระเจา้
ปเสนทิโกศล หรือพระเจ้าอชาตศัตรูเวเทหิบุตรแห่งมคธ

264

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

อาจฆา่ คนทค่ี วรฆา่ รบิ ทรพั ยค์ นทค่ี วรรบิ ทรพั ย์ เนรเทศคนท่ี
ควรเนรเทศ พงึ ใหเ้ ปน็ ไปไดใ้ นพระราชอาณาเขตของพระองค์
มใิ ชห่ รอื .

ท่านพระโคดม !   อำ�นาจของพระราชามหากษัตริย์ ผู้ได้
มรุ ธาภเิ ษกแลว้ เชน่ พระเจา้ ปเสนทโิ กศล หรอื พระเจา้ อชาตศตั รเู วเทหบิ ตุ ร
แหง่ มคธ อาจฆา่ คนทค่ี วรฆา่ รบิ ทรพั ยค์ นทค่ี วรรบิ ทรพั ย์ เนรเทศคนทค่ี วร
เนรเทศ พงึ ใหเ้ ปน็ ไปไดใ้ นพระราชอาณาเขตของพระองค์ แมแ้ ตอ่ �ำ นาจ
ของหมคู่ ณะเหลา่ น้ี คอื วชั ชี มลั ละ อาจฆา่ คนทค่ี วรฆา่ รบิ ทรพั ยค์ นทค่ี วร
ริบทรัพย์ เนรเทศคนท่คี วรเนรเทศ ยังเป็นไปได้ในแว่นแคว้นของตนๆ
เหตไุ รเลา่ อ�ำ นาจเชน่ นน้ั ของพระราชามหากษตั รยิ ์ ผไู้ ดม้ รุ ธาภเิ ษกแลว้ เชน่
พระเจา้ ปเสนทโิ กศล หรอื พระเจา้ อชาตศตั รเู วเทหบิ ตุ รแหง่ มคธ จะใหเ้ ปน็
ไปไมไ่ ด้ อ�ำ นาจเชน่ นน้ั ของพระราชามหากษตั รยิ ์ ผไู้ ดม้ รุ ธาภเิ ษกแลว้ นน้ั
ตอ้ งใหเ้ ปน็ ไปไดด้ ว้ ย ควรจะเปน็ ไปไดด้ ว้ ย.

อคั คเิ วสสนะ !   ทา่ นจะส�ำ คญั ความขอ้ นน้ั วา่ อยา่ งไร
ข้อท่ีท่านกล่าวว่า รูปเป็นตนของเรา อำ�นาจของท่านเป็น
ไปในรูปน้ันว่า รูปของเราจงเป็นอย่างนั้นเถิด อย่าได้เป็น
อย่างนเ้ี ลย ดังนหี้ รอื  ?

ลำ�ดับนั้น สัจจนิครนถ์ได้นิ่งเสีย พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถาม
อีกเป็นครัง้ ที่ ๒ สจั จกนคิ รนถก์ ็ยังคงน่ิงอกี พระผู้มพี ระภาคจงึ ไดต้ รัส
กะสจั จกนิครนถต์ ่อไปว่า:-

อัคคิเวสสนะ !   กาลบัดน้ี ท่านจงแก้ ไม่ใช่การที่
ท่านควรนิ่ง อัคคิเวสสนะ !  ผู้ใดอันตถาคตถามปัญหาที่

265

พุทธวจน - หมวดธรรม

ชอบแก่เหตุแล้วถึงสามคร้ัง มิได้แก้ศีรษะของผู้น้ันจะแตก
เป็นเจ็ดเสย่ี งในทเ่ี ชน่ นน้ั .

พระโคดมผเู้ จรญิ  !   ขอจงทรงถามเถดิ ขา้ พเจา้ จกั แก้ ณ บดั น.ี้

อคั คเิ วสสนะ !   ทา่ นจะส�ำ คญั ความขอ้ นน้ั วา่ อยา่ งไร
ทา่ นกลา่ วอยา่ งนวี้ า่ รปู เปน็ ตนของเรา ดงั น ี้ อ�ำ นาจของทา่ น
เป็นไปในรูปนั้นว่า รูปของเราจงเป็นอย่างน้ันเถิด อย่าได้
เป็นอย่างนี้เลย ดังนีห้ รือ.

ขอ้ นเ้ี ป็นไปไม่ได้เลย พระโคดมผู้เจรญิ  !  

อัคคิเวสสนะ !   ท่านจงทำ�ไว้ในใจเถิด ครั้นทำ�ไว้
ในใจแลว้ จงึ กลา่ วแก้ เพราะค�ำ หลงั กบั ค�ำ กอ่ น หรอื ค�ำ กอ่ น
กับคำ�หลังของท่านไม่ต่อกัน อัคคิเวสสนะ !  ท่านจะสำ�คัญ
ความข้อนั้นว่าอย่างไร ท่านกล่าวอย่างน้ีว่า เวทนาเป็นตน
ของเรา สญั ญาเปน็ ตนของเรา สงั ขารทง้ั หลายเปน็ ตนของเรา
วิญญาณเป็นตนของเรา ดังนี้ อำ�นาจของท่านเป็นไปใน
เวทนา ในสัญญา ในสังขารท้ังหลาย และในวิญญาณว่า
เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย และวญิ ญาณของเรา จงเป็น
อย่างน้นั เถดิ อย่าได้เป็นอยา่ งนี้เลย ดงั นหี้ รือ.

ข้อนเ้ี ปน็ ไปไม่ไดเ้ ลย พระโคดมผู้เจริญ !  

อัคคิเวสสนะ !   ท่านจงทำ�ในใจเถิด คร้ันทำ�ไว้
ในใจแลว้ จงึ กลา่ วแก้ เพราะค�ำ หลงั กบั ค�ำ กอ่ น หรอื ค�ำ กอ่ น
กับคำ�หลังของท่านไม่ต่อกัน อัคคิเวสสนะ !  ท่านจะสำ�คัญ

266

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

ความข้อนั้นว่าอย่างไร รูป เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย
และวิญญาณ เทย่ี งหรอื ไม่เทีย่ ง.

ไมเ่ ทยี่ ง พระโคดมผู้เจรญิ  !  

กส็ ่งิ ใดไม่เทย่ี ง สง่ิ นัน้ เปน็ ทุกขห์ รอื เป็นสุขเลา่ .

สง่ิ นัน้ เป็นทุกข์ พระโคดมผเู้ จรญิ  !  

ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็น
ธรรมดา ควรหรอื จะตามเหน็ สง่ิ นน้ั วา่ นน่ั ของเรา นน่ั เปน็ เรา
นัน่ เปน็ ตนของเรา (เอต มม เอโสหมสฺมิ เอโส เม อตตฺ าต)ิ .

ข้อนน้ั ไมค่ วรเลย พระโคดมผเู้ จรญิ  !  

อคั คเิ วสสนะ !   ทา่ นจะส�ำ คญั ความขอ้ นน้ั วา่ อยา่ งไร
ผู้ใดติดทุกข์ เข้าถึงทุกข์อยู่แล้ว กลำ้�กลืนทุกข์แล้ว ยังตาม
เห็นทุกข์ว่า น่ันของเรา น่ันเป็นเรา นั่นเป็นตนของเราดังน้ี
ผู้น้ันกำ�หนดรู้ทุกข์ได้เอง หรือจะทำ�ทุกข์ให้สิ้นไปได้แล้ว
จงึ อยู่ มบี ้างหรือ ?

จะพงึ มีได้เพราะเหตไุ ร ข้อนีม้ ีไม่ไดเ้ ลย พระโคดมผเู้ จริญ !  

อคั คเิ วสสนะ !   ทา่ นจะส�ำ คญั ความขอ้ นน้ั วา่ อยา่ งไร
เม่ือเป็นอย่างนี้ ท่านติดทุกข์ เข้าถึงทุกข์อยู่แล้ว กลำ้�กลืน
ทกุ ขแ์ ลว้ ยงั ตามเหน็ ทกุ ขว์ า่ นนั่ ของเรา นน่ั เปน็ เรา นน่ั เปน็
ตนของเรา ดังน้ี มใิ ชห่ รือ.

ไฉนจะไมถ่ กู พระเจา้ ขา้ ขอ้ นต้ี อ้ งเปน็ อยา่ งนน้ั พระโคดมผเู้ จรญิ  !  

267

พุทธวจน - หมวดธรรม

อคั คเิ วสสนะ !   เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ มคี วามตอ้ งการ
แก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้ แสวงหาแก่นไม้อยู่ ถือเอาผ่ึงที่คม
เขา้ ไปสปู่ า่ เขาเหน็ ตน้ กลว้ ยใหญต่ น้ หนงึ่ ในปา่ นนั้ มตี น้ ตรง
ยงั ก�ำ ลงั รนุ่ ไมค่ ด เขาจงึ ตดั ตน้ กลว้ ยนนั้ ทโี่ คนตน้ แลว้ ตดั ยอด
ริดใบออก เขาไม่พบแม้แต่กระพ้ี แล้วจะพบแก่นได้แต่
ทไี่ หน แมฉ้ นั ใด.  อคั คเิ วสสนะ !  ทา่ นอนั เราซกั ไซไ้ ลเ่ ลยี ง
สอบสวน ในถอ้ ยค�ำ ของตนเอง กเ็ ปลา่ วา่ ง แพไ้ ปเอง ทา่ นได้
กล่าววาจาน้ีในท่ีประชุมชน ในเมืองเวสาลีว่า เราไม่เห็น
สมณะหรือพราหมณ์ที่เป็นเจ้าหมู่ เจ้าคณะ เป็นคณาจารย์
แม้ที่ปฏิญญาตนว่า เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทป่ี รารภโตต้ อบวาทะกบั เราจะไมพ่ งึ ประหมา่ ไมส่ ะทกสะทา้ น
ไมห่ วน่ั ไหว ไมม่ เี หงอ่ื ไหลจากรกั แร้ แมแ้ ตค่ นเดยี วเลย หากเรา
ปรารภโต้ตอบวาทะกะเสาท่ีไม่มีเจตนา แม้เสาน้ันปรารภ
โตต้ อบวาทะกบั เรา กต็ อ้ งประหมา่ สะทกสะทา้ น หวน่ั ไหว
จะป่วยกล่าวไปไยถึงมนุษย์เล่า ดังน้ี.  อัคคิเวสสนะ ! 
หยาดเหงอื่ ของทา่ นบางหยาด หยดจากหนา้ ผากลงยงั ผา้ หม่
แล้วตกทพี่ นื้ สว่ นเหงื่อในกายของเราในเด๋ยี วน้ีไมม่ ีเลย.

พระผู้มีพระภาคทรงเปิดพระกายในบริษัทนั้น เม่ือพระผู้มี
พระภาคตรสั อยา่ งน้ีแล้ว สจั จกนคิ รนถ์น่ังนง่ิ องึ้ เกอ้ เขิน คอตก ก้มหนา้
ซบเซา หมดปฏิภาณ.

268

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

เหตใุ หท้ รงบัญญตั ิวินยั 106

-บาลี มหาว.ิ ว.ิ ๑/๑๕/๘.

สารีบุตร !   เธอจงรอก่อน, ตถาคตเอง จักเป็นผู้รู้
เวลาทค่ี วรบัญญัติวินัย.

สารีบุตร !   ศาสดาย่อมไม่บัญญัติสิกขาบท แสดง
ข้ึนซึ่งปาติโมกข์แก่สาวกท้ังหลาย ตลอดเวลาที่ยังไม่มี
อาสวฐานยิ ธรรม1 เกิดข้นึ ในหมู่สงฆ.์

สารีบุตร !   เมื่อใด อาสวฐานิยธรรมบางเหล่า
ปรากฏข้ึนในหมู่สงฆ์ เม่ือนั้นศาสดาย่อมบัญญัติสิกขาบท
แสดงปาติโมกข์แก่สาวกทั้งหลาย เพ่ือกำ�จัดเสียซ่ึง
อาสวฐานยิ ธรรมเหลา่ นนั้ .

สารบี ตุ ร !   อาสวฐานยิ ธรรม จะยงั ไมป่ รากฏขนึ้ ใน
หมสู่ งฆ์ ตลอดเวลาทหี่ มสู่ งฆย์ งั ไมใ่ หญโ่ ต เพราะตงั้ มานาน. 
สารบี ตุ ร ! เมอ่ื ใด สงฆเ์ ปน็ หมใู่ หญโ่ ต เพราะตง้ั มานาน เมอ่ื นน้ั
อาสวฐานยิ ธรรมบางเหลา่ ยอ่ มปรากฏขน้ึ ในหมสู่ งฆ,์ เมอ่ื นน้ั
ศาสดายอ่ มบญั ญตั สิ กิ ขาบทแสดงปาตโิ มกขแ์ กส่ าวกทง้ั หลาย
เพอ่ื ก�ำ จดั เสยี ซง่ึ อาสวฐานยิ ธรรมเหลา่ นน้ั .

1. อาสวฐานิยธรรม คือความเสื่อมเสีย,  หรือการกระท�ำอันเป็นท่ีต้ังแห่งความ
เสอื่ มเสยี . -ผแู้ ปล
269

พุทธวจน - หมวดธรรม

สารบี ตุ ร !   อาสวฐานยิ ธรรม จะยงั ไมป่ รากฏขน้ึ ใน
หมสู่ งฆ์ ตลอดเวลาทห่ี มสู่ งฆย์ งั ไมใ่ หญโ่ ต เพราะแผไ่ ปเตม็ ท.่ี  
สารีบุตร !   เม่ือใด สงฆ์เป็นหมู่ใหญ่โต เพราะแผ่ไป
เต็มท่ี เม่อื น้นั อาสวฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏข้นึ ใน
หมสู่ งฆ,์ เมอ่ื นน้ั ศาสดายอ่ มบญั ญตั สิ กิ ขาบทแสดงปาตโิ มกข์
แกส่ าวกทง้ั หลาย เพอ่ื ก�ำ จดั เสยี ซง่ึ อาสวฐานยิ ธรรมเหลา่ นน้ั .

สารีบุตร !   อาสวฐานิยธรรมจะยังไม่ปรากฏขึ้น
ในหมู่สงฆ์ ตลอดเวลาที่หมู่สงฆ์ยังไม่ใหญ่โต เพราะเจริญ
ด้วยลาภ.  สารีบุตร !  เม่อื ใด สงฆ์เป็นหม่ใู หญ่โต เพราะ
เจรญิ ดว้ ยลาภ เมอ่ื นน้ั อาสวฐานยิ ธรรมบางเหลา่ ยอ่ มปรากฏ
ข้ึนในหมู่สงฆ์, เม่ือน้ัน ศาสดาย่อมบัญญัติสิกขาบทแสดง
ปาตโิ มกขแ์ กส่ าวกทง้ั หลาย เพอ่ื ก�ำ จดั เสยี ซง่ึ อาสวฐานยิ ธรรม
เหลา่ นน้ั .

สารีบุตร !   ก็สงฆ์หมู่น้ี ยังประกอบด้วยคุณอันสูง
ไม่มีความตำ่�ทราม ไม่มีจุดดำ� ยังบริสุทธ์ิ ขาวผ่อง ต้ังม่ัน
อยู่ในสาระ.

สารบี ตุ ร เอย !  ในบรรดาภกิ ษหุ า้ รอ้ ยรปู เหลา่ น้ี รปู ท่ี
ล้าหลังเขาท่ีสุด ก็ยังเป็นโสดาบัน เท่ียงแท้ต่อการตรัสรู้
มีอันไมต่ กต�ำ่ เปน็ ธรรมดา, ดงั น้ี.

270

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

เหตุทีท่ �ำให้เกิดการแสดงปาตโิ มกข์ 107
-บาลี มหา. ว.ิ ๔/๒๐๓/๑๔๙.

ภิกษุทั้งหลาย !   ท่ีนี่เอง ปริวิตกแห่งใจได้เกิดขึ้น
แก่เรา เมื่ออยู่ในท่ีสงัดว่า “ถ้าไฉน เราจะอนุญาตสิกขาบท
ทงั้ หลายทไ่ี ดบ้ ญั ญตั ิ ใหเ้ ปน็ ปาตโิ มกขทุ เทสแกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลาย
เหล่าน้ัน.  ปาติโมกขุทเทสน้ัน จักเป็นอุโบสถกรรมของ
ภิกษุท้ังหลายเหลา่ นัน้ ” ดังน.ี้

ภิกษุทั้งหลาย !   เราอนุญาตเพื่อแสดงขึ้นซึ่ง
ปาติโมกข์.

271

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : “ตถาคต”

เหตทุ ่ีไมท่ �ำอโุ บสถกบั สาวกอกี ตอ่ ไป 108
-บาลี อ.ุ ข.ุ ๒๕/๑๕๒/๑๑๖.

มีภิกษุอลัชชีปนอย่ใู นหม่สู งฆ์ท่กี ำ�ลังจะทำ�อุโบสถ.  พระผ้มู ี
พระภาคเจ้าไม่ทรงทำ�อุโบสถ, จนพระโมคคัลลานะค้นตัวภิกษุรูปน้นั ได้
บงั คบั ดว้ ยอาญาแหง่ สงฆ์ ใหอ้ อกไปถงึ สามครง้ั กไ็ มย่ อมออก จนตอ้ งดงึ
แขนออกไปแลว้ กราบทลู พระผมู้ พี ระภาคเจา้ วา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  ! 
บคุ คลนน้ั ขา้ พระองคน์ �ำ ตวั ออกไปแลว้ .  บรษิ ทั บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว้ .  ขอพระผมู้ ี
พระภาคเจา้ ทรงแสดงปาตโิ มกข์ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายเถดิ ” ดงั น.้ี

น่าอัศจรรย์, โมคคัลลานะ !   ไม่เคยมีเลย,
โมคคลั ลานะ ! โมฆบรุ ษุ นน้ั ถงึ กบั ตอ้ งฉดุ แขนจงึ ยอมออกไป.

ภิกษุทั้งหลาย !   บัดน้ี จำ�เดิมแต่น้ีไปเราไม่ทำ�
อุโบสถ, ไม่แสดงปาติโมกข์.  ภิกษุท้ังหลาย !  จำ�เดิมแต่
บัดนี้ไป พวกท่านทั้งหลายด้วยกันจงทำ�อุโบสถ, จงแสดง
ปาติโมกข์.

ภิกษุทั้งหลาย !   ไม่ใช่โอกาสไม่ใช่ฐานะเลย
ที่ตถาคตจะพึงทำ�อุโบสถจะพึงแสดงปาติโมกข์ ในบริษัท
ท่ีไม่บริสุทธ์ิ.

272

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : “ตถาคต”

เมอ่ื หมสู่ ตั วเ์ ลวลง สิกขาบทมมี าก 109
ผู้ต้งั อย่ใู นอรหัตผลมนี อ้ ย

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๒๖๓/๒๓๑.

คร้ังหน่ึง ท่านพระมหากัสสปะได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   อะไรหนอเป็นเหตุ เป็นปัจจัย ให้เม่ือก่อน
สิกขาบทมีน้อย และภิกษุตั้งอยู่ในอรหัตผลมีมาก และอะไรเป็นเหตุ
เปน็ ปจั จัย ให้บดั นสี้ กิ ขาบทมมี าก และภิกษตุ งั้ อย่ใู นอรหัตผลมีน้อย ?

กสั สปะ !   ขอ้ นนั้ เปน็ อยา่ งน้ี คอื เมอื่ หมสู่ ตั วเ์ ลวลง
พระสทั ธรรมก�ำ ลงั อนั ตรธานไป สกิ ขาบทจงึ มมี ากขนึ้ ภกิ ษทุ ่ี
ตงั้ อยใู่ นอรหตั ผลจงึ มนี อ้ ย.  สทั ธรรมปฏริ ปู ยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ
ในโลกตราบใด ตราบน้ันพระสัทธรรมก็ยังไม่อันตรธานไป
และสทั ธรรมปฏริ ปู เกดิ ขนึ้ ในโลกเมอ่ื ใด เมอื่ นนั้ พระสทั ธรรม
จึงอันตรธานไป.  ทองเทียมยังไม่เกิดข้ึนในโลกตราบใด
ตราบนน้ั ทองค�ำ ธรรมชาตกิ ย็ งั ไมห่ ายไป และเมอ่ื ทองเทยี ม
เกิดข้นึ ทองคำ�ธรรมชาติจงึ หายไป ฉันใด.  พระสัทธรรม
กฉ็ นั นน้ั สทั ธรรมปฏริ ปู ยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ ในโลกตราบใด ตราบนน้ั
พระสัทธรรมก็ยังไม่อันตรธานไป  เมื่อสัทธรรมปฏิรูป
เกดิ ขน้ึ เมอื่ ใด เมื่อนั้นพระสทั ธรรมจึงอันตรธานไป.

273

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : “ตถาคต”

ความวิวาทท่ีเปน็ ไปเพ่ือความทุกข์ 110
แก่เทวดาและมนษุ ยท์ ัง้ หลาย

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๕๑/๕๔.

ทา่ นพระอานนทท์ ลู วา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   ธรรมเหลา่ ใด
อนั พระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงแลว้ แกพ่ วกขา้ พระองคท์ ง้ั หลาย ดว้ ยความรยู้ ง่ิ
คือ สติปัฏฐาน ๔  สัมมัปปธาน ๔  อิทธิบาท ๔  อินทรีย์ ๕  พละ ๕ 
โพชฌงค์ ๗  อริยมรรคมีองค์ ๘  ข้าพระองค์ยังไม่เห็นภิกษุแม้สองรูป
มีวาทะต่างกันในธรรมเหล่าน้ี  ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ !  มีโอกาสได้แล
ทบ่ี คุ คลทง้ั หลายผอู้ าศยั พระผมู้ พี ระภาคอยนู่ น้ั พอสมยั ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาค
ล่วงลับไป จะพึงก่อวิวาทให้เกิดในสงฆ์ได้ เพราะเหตุอาชีวะอันย่ิงหรือ
ปาตโิ มกขอ์ นั ยง่ิ ความววิ าทนน้ั มแี ตเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความไมเ่ กอ้ื กลู แกม่ หาชน
ไมใ่ ชค่ วามสขุ แกม่ หาชน ไมใ่ ชป่ ระโยชนข์ องมหาชน เพอ่ื ความไมเ่ กอ้ื กลู
เพอ่ื ความทกุ ขแ์ กเ่ ทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย.

อานนท ์ !   ความววิ าททเ่ี กดิ เพราะเหตอุ าชวี ะอนั ยง่ิ
หรือปาติโมกข์อันย่ิงน้ันเล็กน้อย ส่วนความวิวาทอันเกิด
ในสงฆ์ ท่เี กิดเพราะเหตุมรรคหรือปฏิปทา ความวิวาทน้นั
มแี ตเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความไมเ่ กอ้ื กลู แกม่ หาชน ไมใ่ ชค่ วามสขุ
ของมหาชน ไมใ่ ชป่ ระโยชนข์ องมหาชน เพอ่ื ความไมเ่ กอ้ื กลู
เพอ่ื ความทกุ ขแ์ กเ่ ทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย.

274





การปรินพิ พาน

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

ทรงมคี วามชราทางกายภาพ 111
เหมือนคนทวั่ ไป

มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๘๗/๙๖๓.

ลำ�ดับนั้น พระอานนท์ผู้มีอายุ ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค
ถงึ ทป่ี ระทบั ถวายอภวิ าทแลว้ บบี นวดทว่ั พระกายของพระผมู้ พี ระภาคอยู่
พลางกล่าวถ้อยคำ�น้ีว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ข้อน้ีน่าอัศจรรย์ ;
ข้อนี้ไม่เคยมีมาก่อน.  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   บัดน้ี ฉวีวรรณของ
พระผมู้ พี ระภาคไมบ่ รสิ ทุ ธผิ์ ดุ ผอ่ งเหมอื นแตก่ อ่ น และพระกายกเ็ หย่ี วยน่
หย่อนยาน มีพระองค์ค้อมไปข้างหน้า อินทรีย์ท้ังหลาย ก็เปล่ียนเป็น
อยา่ งอนื่ ไปหมด ทง้ั พระจักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ”.

อานนท์ !   นัน่ ตอ้ งเป็นอย่างน้นั  ; คือ ความชรามี
(ซอ่ น) อยใู่ นความหนมุ่ , ความเจบ็ ไขม้ ี (ซอ่ น) อยใู่ นความ
ไม่มีโรค, ความตายมี (ซ่อน) อยู่ในชีวิต ; ฉวีวรรณจึงไม่
บริสุทธผ์ิ ดุ ผอ่ งเสยี แลว้ และกายก็เห่ียวยน่ หย่อนยาน มตี วั
คอ้ มไปขา้ งหนา้ อนิ ทรยี ท์ ง้ั หลายกเ็ ปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื ไปหมด
ทง้ั ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ดงั น.้ี

พระผูม้ ีพระภาค ครัน้ ตรัสคำ�น้แี ลว้ ไดต้ รสั ข้อความน้อี กี วา่

โธ่เอ๋ย !   ความแก่อันช่ัวช้าเอ๋ย !  อันทำ�ความ
น่าเกลียดเอ๋ย ! กายที่น่าพอใจ บัดนี้ก็ถูกความแก่ยำ่�ยี
หมดแล้ว.  แม้ใครจะมีชีวิตอยู่ตั้งร้อยปี ทุกคนก็ยังมี
ความตายเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.  ความตายไม่ยกเว้น
ใหแ้ ก่ใครๆ มันย่ำ�ยีหมดทกุ คน.

278


Click to View FlipBook Version