The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tup library, 2022-06-22 01:27:59

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน ตถาคต

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : “ตถาคต”

เคยบงั เกดิ เปน็ พราหมณป์ โุ รหติ 156
สอนการบชู ายัญญ์

-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๑๗๑/๒๐๕.

พราหมณ ์ !   ในสมยั นน้ั เราเปน็ พราหมณผ์ ปู้ โุ รหติ
ผสู้ ัง่ งานบูชายัญญ์ ของพระเจา้ มหาวชิ ิตราช.

พราหมณ์ !   เร่ืองมีแล้วในกาลก่อน.  พระเจ้า
มหาวิชิตราช เป็นราชาผู้มั่งค่ัง มีทรัพย์สมบัติมาก มีทอง
และเงินเหลือเฟือ มีอุปกรณ์ของทรัพย์เหลือเฟือ มีทรัพย์
และข้าวเปลือกเหลือเฟือ มียุ้งฉางเต็มล้น.  วันหน่ึง
ประทบั อยู่ ณ ทส่ี งดั เกดิ พระด�ำ รวิ า่ ‘เราไดเ้ สวยมนษุ ยสมบตั ิ
อนั วบิ ลู ครอบครองปฐพมี ณฑลอนั ใหญย่ งิ่ ถา้ กระไรเราควร
บูชามหายัญญ์ อันจะเป็นประโยชน์เก้ือกูล และความสุข
แก่เราส้ินกาลนาน’ รับส่ังให้หาพราหมณ์ปุโรหิตมาบอก
พระด�ำ รนิ แี้ ลว้ ขอใหบ้ อกสอนวธิ กี ารบชู ายัญญ.์

พราหมณ์ !   ปุโรหิตได้ทูลสนองพระดำ�รัสนั้นว่า
‘แว่นแคว้นของพระองค์ยังมีเสี้ยนหนามหลักตอ การปล้น
ฆา่ ในหมบู่ า้ นกย็ งั ปรากฏ การปลน้ ฆา่ ในจงั หวดั กย็ งั ปรากฏ.
การปลน้ ฆา่ ในนครกย็ งั ปรากฏ การแยง่ ชงิ ตามระยะหนทาง

379

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ก็ยังปรากฏ.  และถ้าพระองค์จะให้เลิกเก็บส่วย ในขณะ
ที่แว่นแคว้นเป็นไปด้วยเส้ียนหนามหลักตอเช่นน้ี ก็จะได้
ชื่อว่าทำ�กิจไม่ควรทำ�.  อีกประการหน่ึง พระองค์อาจมี
พระด�ำ รวิ า่ เราจกั ถอนหลกั ตอ คอื โจรผรู้ า้ ยเสยี ไดด้ ว้ ยการ
ประหาร การจองจำ� การริบ การประจาน หรือการเนรเทศ
ดงั นี้ ขอ้ น้ี กไ็ มช่ อื่ วา่ เปน็ การก�ำ จดั ไดร้ าบคาบดว้ ยดี เพราะผู้
ทย่ี งั เหลอื จากการถกู ประหารกย็ งั มี ชนพวกนจี้ ะเบยี ดเบยี น
ชนบทของพระองค์ในภายหลัง.  แต่ว่ามีอุบายที่จะถอน
หลกั ตอเหลา่ นน้ั ใหร้ าบคาบดว้ ยดไี ด้ คอื ชนเหลา่ ใดบากบน่ั
เลยี้ งโคเพอ่ื กสกิ รรม พระองคจ์ งประทานพชื พนั ธข์ุ า้ วแกช่ น
เหลา่ นน้ั .  ชนเหลา่ ใดบากบน่ั ในวาณชิ ยกรรม พระองคจ์ ง
ประทานเงินเพ่ิมให้ชนเหล่าน้ัน. ชนเหล่าใดเป็นข้าราชการ
ขอพระองค์จงประทานเบ้ียเล้ียงแก่ชนพวกน้ัน.  มนุษย์
เหลา่ น้นั ตา่ งจะขวนขวายในการงานของตน ไม่เบยี นเบยี น
แว่นแคว้นของพระองค์ และพระคลังหลวงก็จะเพิ่มพูน
มากมาย.  แว่นแควน้ จะตัง้ อยู่ดว้ ยความเกษม ปราศจาก
เส้ียนหนามหลักตอ.  พวกมนุษย์จะร่าเริงบันเทิง นอนชู
บตุ รใหเ้ ต้นฟ้อนอยูบ่ นอก แมจ้ กั ไมป่ ิดประตูเรอื น ในเวลา
ค่ำ�คนื กเ็ ป็นอยู่ได้’…

380

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

…พราหมณ์ !   คร้ันชนบทน้ันสงบจากเส้ียนหนาม
หลกั ตอแลว้ ปโุ รหติ จงึ กราบทลู วธิ แี หง่ มหายญั ญ์ (อนั ประกอบ

ดว้ ยบรกิ ขารสบิ หก คอื ไดร้ บั ความยนิ ยอมเหน็ พอ้ งจากกษตั รยิ เ์ มอื งออก
จากอมาตยบริษทั จากพราหมณ์มหาศาล และจากคหบดีมหาศาล นจี้ ัด
เปน็ บรกิ ขารส,ี่ พระเจา้ มหาวชิ ติ ประกอบดว้ ยองคคณุ ๘ มพี ระชาตอิ นั ดี
มีพระรูปสง่างามเป็นต้น น้ีเป็นบริกขารอีกแปด ; และปุโรหิตประกอบ
ด้วยองคคุณ ๔ มีความเป็นผู้มีชาติบริสุทธิ์ และจบเวทเป็นต้น น่ีเป็น
บริกขารอีกส่ี รวมเป็นสิบหก ; และกราบทูลประการสามแห่งยัญญ์ คือ
ผู้บูชาต้องไม่เกิดวิปฏิสารด้วยความตระหนี่ ท้ังในขณะจะบูชา บูชาอยู่
และบชู าเสรจ็ แลว้  ; แลว้ กราบทลู เหตไุ มค่ วรวปิ ฏสิ าร เพราะปฏคิ าหกผมู้ า
รบั ทาน ๑๐ จ�ำ พวก เชน่ เปน็ คนท�ำ ปาณาตบิ าต อทนิ นาทาน … เปน็ ตน้ ,

เพ่อื ไม่ใหเ้ กิดเสยี พระทยั ว่าคนเลวๆ มารบั ทาน.) …
พราหมณ์ !   ในการบูชายัญญ์น้ัน โค แพะ แกะ

ไก่ สุกร ไม่ได้ถูกฆ่า สัตว์อื่นๆ ก็ไม่ต้องได้รับความวิบัติ
พลัดพราก ต้นไม้ก็ไม่ถูกตัดมาเพื่อหลักยัญญ์, เชื้อเพลิงก็
ไมถ่ กู เกย่ี วตดั มา เพอื่ การเบยี ดเบยี นสตั วใ์ ดใหล้ �ำ บาก พวกท่ี
เป็นทาส เป็นคนใช้ และกรรมกร ก็ไม่ต้องถูกคุกคามด้วย
อาชญา และความกลัว, ไม่ต้องร้องไห้น้ำ�ตานองหน้าพลาง
ท�ำ การงานพลาง.  ใครปรารถนาจะท�ำ กท็ �ำ , ไมป่ รารถนาก็
ไมต่ อ้ งท�ำ , ปรารถนาท�ำ สง่ิ ใด กท็ �ำ เฉพาะสงิ่ นน้ั ไมป่ รารถนา

381

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ทำ�สิ่งใด ก็ไม่ต้องทำ�ส่ิงน้ัน. ยัญญ์น้ัน สำ�เร็จไปแล้วด้วย
เนยใส น�ำ้ มัน เนยข้น นมสม้ นำ�้ ผง้ึ น้ำ�ออ้ ย. …

พราหมณ์ !   เรารู้ชัดเจนอยู่ ซึ่งหมู่ชนเหล่าน้ันๆ
ผบู้ ชู ายญั ญอ์ ยา่ งนแ้ี ลว้ ภายหลงั แตก่ ารตาย เพราะกายแตก
ย่อมบังเกิด ณ สคุ ตโิ ลกสวรรค.์   พราหมณ ์ !  ในสมัยนัน้
เราเป็นพราหมณ์ผู้ปุโรหิต ผู้ส่ังงานบูชายัญญ์ของพระเจ้า
มหาวิชติ ราชนัน้ .

382

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : “ตถาคต”

เคยบงั เกดิ เปน็ พราหมณ์ ชอ่ื เวลามะ 157
-บาลี นวก. อ.ํ ๒๓/๔๐๕/๒๒๔.

คหบด ี !   เรอื่ งเคยมมี าแลว้ มีพราหมณ์ชื่อเวลามะ
พราหมณ์ผู้น้ันได้ให้ทานเป็นมหาทานอย่างน้ี คือ ได้ให้
ถาดทองเตม็ ดว้ ยรปู ยิ ะ ๘๔,๐๐๐ ถาด  ถาดรปู ยิ ะเตม็ ดว้ ย
ทอง ๘๔,๐๐๐ ถาด  ถาดส�ำ รดิ เตม็ ดว้ ยเงนิ ๘๔,๐๐๐ ถาด
ให้ช้าง ๘๔,๐๐๐ เชือก มีเครื่องประดับล้วนเป็นทอง มีธง
ทองคลุมด้วยข่ายทอง  ให้รถ ๘๔,๐๐๐ คัน หุ้มด้วยหนัง
ราชสีห์ หนังเสือโคร่ง หนังเสือเหลือง ผ้ากัมพลเหลือง มี
เครื่องประดับล้วนเป็นทอง มีธงทอง คลุมด้วยข่ายทอง
ใหแ้ มโ่ คนม ๘๔,๐๐๐ ตวั มนี �ำ้ นมไหลสะดวก ใชภ้ าชนะเงนิ
รองน�้ำ นม  ใหห้ ญงิ สาว ๘๔,๐๐๐ คน ประดบั ดว้ ยแกว้ มณี
และแกว้ กณุ ฑล  ใหบ้ ลั ลงั ก์ ๘๔,๐๐๐ ที่ ลาดดว้ ยผา้ โกเชาว์
ลาดด้วยขนแกะสีขาว เคร่ืองลาดมีสัณฐานเป็นช่อดอกไม้
มเี ครอ่ื งลาดอยา่ งดที �ำ ดว้ ยหนงั ชะมด มเี ครอ่ื งลาดเพดาน มี
หมอนขา้ งแดงทง้ั สอง  ใหผ้ า้ ๘๔,๐๐๐ โกฏิ เปน็ ผา้ เปลอื กไม้
ผ้าแพร ผ้าฝ้าย เนื้อละเอียด จะป่วยการกล่าวไปไยถึงข้าว
น�ำ้ ของเคย้ี ว ของบรโิ ภค เครอ่ื งลบู ไล้ ทนี่ อน ทใ่ี หด้ จุ ไหลไป
เหมอื นแมน่ �ำ้ .

383

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

คหบด ี !   ทา่ นพงึ มคี วามคดิ อยา่ งนว้ี า่ สมยั นน้ั ผอู้ นื่
เปน็ เวลามพราหมณผ์ ทู้ ใ่ี หท้ านเปน็ มหาทานนน้ั .  คหบด ี !  
แต่ทา่ นไมค่ วรเห็นอย่างน้ี สมยั น้นั เราเป็นเวลามพราหมณ์
เราได้ให้ทานนั้นเป็นมหาทาน ก็ในทานน้ัน ไม่มีใครเป็น
ทกั ขเิ ณยยบุคคล ใครๆ ไม่ช�ำ ระทักขณิ านน้ั ใหห้ มดจด.

คหบดี !   ทานที่บุคคลถวายให้ผู้ถึงพร้อมด้วย
ทฏิ ฐิ (โสดาบนั ) ผเู้ ดยี วบรโิ ภค  มผี ลมากกวา่ ทานทเี่ วลาม-
พราหมณ์ใหแ้ ล้ว.

ทานทบี่ คุ คลถวายใหพ้ ระสกทาคามผี เู้ ดยี วบรโิ ภค
มีผลมากกว่า ทานท่ีบุคคลถวายให้ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ
๑๐๐ ท่านบรโิ ภค.

ทานที่บุคคลถวายให้พระอนาคามีผู้เดียวบริโภค
มผี ลมากกวา่ ทานทบ่ี คุ คลถวายใหพ้ ระสกทาคามี ๑๐๐ ทา่ น
บรโิ ภค.

ทานที่บุคคลถวายให้พระอรหันต์ผู้เดียวบริโภค
มผี ลมากกวา่ ทานทบี่ คุ คลถวายใหพ้ ระอนาคามี ๑๐๐ ทา่ น
บริโภค.

384

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : “ตถาคต”

ทานท่บี ุคคลถวายให้พระปัจเจกพุทธเจ้ารูปเดียว
บรโิ ภค มผี ลมากกวา่ ทานทบ่ี คุ คลถวายใหพ้ ระอรหนั ต์ ๑๐๐
รปู บรโิ ภค.

ทานท่บี ุคคลถวายให้พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
บรโิ ภค มผี ลมากกวา่ ทานทบ่ี คุ คลถวายใหพ้ ระปจั เจกพทุ ธเจา้
๑๐๐ รปู บรโิ ภค.

ทานที่บุคคลถวายให้ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็น
ประมุขบริโภค มีผลมากกว่า ทานท่ีบุคคลถวายให้พระ
อรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจ้าบริโภค.

การทบ่ี คุ คลสรา้ งวหิ ารถวายสงฆผ์ มู้ าจากทศิ ทงั้  ๔
มีผลมากกว่าทาน  ท่ีบุคคลถวายให้ภิกษุสงฆ์มี
พระพุทธเจา้ เป็นประมุขบริโภค.

การทบ่ี คุ คลมจี ติ เลอ่ื มใสถงึ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม
และพระสงฆ์เป็นสรณะ มผี ลมากกวา่ ทานทบี่ ุคคลสร้าง
วหิ ารถวายสงฆ์ อนั มาจากทศิ ทัง้ ๔.

การที่บุคคลมีจิตเล่ือมใสสมาทานสิกขาบท  คือ
งดเวน้ จากปาณาตบิ าต ... จากการดม่ื น�ำ้ เมา คอื สรุ าและเมรยั
อันเป็นท่ีตั้งแห่งความประมาท มีผลมากกว่าการที่บุคคล
มีจิตเลื่อมใสถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์
เป็นสรณะ.

385

พุทธวจน - หมวดธรรม

การทบี่ คุ คลเจรญิ เมตตาจติ โดยทส่ี ดุ แมเ้ พยี งเวลา
สูดดมของหอม มีผลมากกว่า การที่บุคคลมีจิตเล่ือมใส
สมาทานสิกขาบท คอื งดเว้นจากปาณาติบาต ...

และการท่ีบุคคลเจริญอนิจจสัญญาแม้เพียงเวลา
ลัดนิ้วมือ  มีผลมากกว่า  การท่ีบุคคลเจริญเมตตาจิต
โดยที่สดุ แม้เพียงเวลาสดู ดมของหอม.

386

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : “ตถาคต”

เคยบงั เกดิ เปน็ ชา่ งท�ำรถ 158

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๔๐/๔๕๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เรอ่ื งเคยมมี าแลว้ มพี ระราชาทรง
พระนามว่าปเจตนะ ครั้งน้ัน พระเจ้าปเจตนะได้รับสั่งกะ
นายช่างรถว่า “นายช่างรถผู้สหาย !  แต่น้ีไปอีก ๖ เดือน
เราจักทำ�สงคราม  ท่านสามารถจะทำ�ล้อรถคู่ใหม่ให้เรา
ได้ไหม ?”.

นายชา่ งรถไดก้ ราบทลู รบั รองตอ่ พระเจา้ ปเจตนะวา่
“ขอเดชะ ข้าพระองค์สามารถจะทำ�ถวายได้ พระเจ้าข้า !” 
ครง้ั นน้ั แล นายช่างรถได้ทำ�ล้อสำ�เร็จข้างหนึ่งโดยใช้เวลา ๖
เดอื น หยอ่ น ๖ ราตรี.

คร้ังน้ันแล พระเจ้าปเจตนะตรัสเรียกนายช่างรถมา
ถามว่า “นายช่างรถผู้สหาย !  แต่นี้ไปอีก ๖ วัน เราจักทำ�
สงคราม ลอ้ รถคู่ใหม่ส�ำ เรจ็ แลว้ หรอื  ?”.

นายช่างรถกราบทูลว่า “ขอเดชะ โดย ๖ เดือน
หย่อนอยู่อีก ๖ ราตรีนี้แล ล้อได้เสร็จไปแล้วข้างหนึ่ง
พระเจา้ ข้า !”.

387

พุทธวจน - หมวดธรรม

พระเจ้าปเจตนะตรัสถามว่า “นายช่างรถผู้สหาย ! 
อีก ๖ วันนี้ ท่านสามารถจะทำ�ล้อข้างท่ีสองให้เสร็จได้
หรือไม่”

นายชา่ งรถไดก้ ราบทลู รบั รองตอ่ พระเจา้ ปเจตนะวา่
“ขอเดชะ ขา้ พระองคส์ ามารถจะท�ำ ใหเ้ สรจ็ ได้ พระเจา้ ขา้  !”.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ครงั้ นนั้ แล นายชา่ งรถไดท้ �ำ ลอ้ ขา้ ง
ทส่ี องเสรจ็ โดย ๖ วนั แลว้ น�ำ เอาลอ้ คใู่ หมเ่ ขา้ ไปเฝา้ พระเจา้
ปเจตนะถึงท่ีประทับ กราบทูลว่า “ขอเดชะ ล้อคู่ใหม่ของ
พระองคน์ ้สี �ำ เร็จแล้ว พระเจ้าขา้  !”.

พระเจ้าปเจตนะรับสั่งถามว่า “นายช่างรถผู้สหาย ! 
ลอ้ ของท่านขา้ งท่ีเสรจ็ โดย ๖ เดอื น หยอ่ น ๖ ราตรี กบั อกี
ขา้ งหนง่ึ เสรจ็ โดย ๖ วนั น้ี เหตอุ ะไรเปน็ เครอื่ งท�ำ ใหแ้ ตกตา่ ง
กันเราจะเห็นความแตกต่างของมันได้อยา่ งไร ?”.

นายชา่ งรถกราบทลู วา่ “ขอเดชะ ความแตกตา่ งของ
มนั มอี ยู่ ขอพระองค์ จงทอดพระเนตรความแตกตา่ งกนั ของ
มันเถดิ พระเจ้าข้า !”.

ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   ลำ�ดับน้ันแล นายช่างรถยงั ล้อขา้ ง
ทีเ่ สรจ็ โดย ๖ วนั ใหห้ มุนไป ล้อนัน้ เมอ่ื นายชา่ งรถหมนุ ไป
มันก็หมุนไปได้เท่าท่ีนายช่างรถหมุนไป แล้วหมุนเวียนล้ม

388

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : “ตถาคต”

ลงบนพนื้ ดนิ .  นายชา่ งรถไดย้ งั ลอ้ ขา้ งทเี่ สรจ็ โดย ๖ เดอื น
หยอ่ นอยู่ ๖ ราตรใี หห้ มนุ ไป ลอ้ นนั้ เมอื่ นายชา่ งรถหมนุ ไป
มนั กห็ มนุ ไปไดเ้ ทา่ ทน่ี ายชา่ งรถหมนุ ไป แลว้ ไดต้ ง้ั อยเู่ หมอื น
อยใู่ นเพลาฉะนั้น.

พระเจ้าปเจตนะตรัสถามว่า “นายช่างรถผู้สหาย ! 
อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้ล้อข้างที่เสร็จโดย ๖ วันน้ี
เมื่อถูกท่านหมุนไปแล้ว มันจึงหมุนไปเพียงเท่าที่ท่านหมุน
ไปได้ แล้วหมุนเวียนล้มลงบนพ้ืนดิน และก็อะไรหนอเป็น
เหตุเป็นปัจจัย ให้ล้อข้างที่เสร็จโดย ๖ เดือน หย่อนอยู่ ๖
ราตรีน้ี เมื่อทา่ นหมุนไป มนั จงึ หมุนไปไดเ้ ทา่ ที่ทา่ นหมุนไป
แล้วไดต้ ้ังอยเู่ หมือนกบั อยู่ในเพลาฉะน้นั ”.

นายช่างรถกราบทูลว่า “ขอเดชะ กงก็ดี กำ�ก็ดี ดุม
ก็ดี ของล้อข้างท่ีเสร็จแล้วโดย ๖ วันนี้ มันคดโค้ง มีโทษ
มีรสฝาด  เพราะกงก็ดี กำ�ก็ดี ดุมก็ดี คดโค้ง มีโทษ
มีรสฝาด เพราะฉะนั้น เม่ือข้าพระองค์หมุนไป มันจึงหมุน
ไปไดเ้ ทา่ ทข่ี า้ พระองคห์ มนุ ไป แลว้ หมนุ เวยี นลม้ บนพน้ื ดนิ . 
ขอเดชะ ส่วนกงก็ดี กำ�ก็ดี ดมุ ก็ดี ของลอ้ ข้างทีเ่ สรจ็ โดย ๖
เดือน หย่อนอยู่อีก ๖ ราตรีน้ี ไม่คดโค้ง หมดโทษ ไม่มี
รสฝาด เพราะฉะน้นั เม่อื ข้าพระองค์หมนุ ไป มนั จึงหมุนไป

389

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ได้เท่าท่ีข้าพระองค์หมุนไป แล้วได้ตั้งอยู่เหมือนกับอยู่ใน
เพลาฉะนน้ั ”.

ภิกษุทั้งหลาย !   ก็ท่านท้ังหลายจะพึงคิดอย่างน้ีว่า
สมยั นน้ั คนอนื่ ไดเ้ ปน็ นายชา่ งรถ แตข่ อ้ นไี้ มค่ วรเหน็ ดงั นนั้ . 
สมยั นน้ั เราไดเ้ ปน็ นายชา่ งรถ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คราวนน้ั เราเปน็
คนฉลาดในความคดโค้งแห่งไม้ ในโทษแห่งไม้ ในรสฝาด
แห่งไม้.

ภิกษุทั้งหลาย !   แต่บัดนี้เราเป็นอรหันตสัมมา-
สัมพุทธะ ฉลาดในความคดโกงแห่งกาย ในโทษแห่งกาย
ในรสฝาดแห่งกาย  ฉลาดในความคดโกงแหง่ วาจา ในโทษ
แหง่ วาจา ในรสฝาดแหง่ วาจา  ฉลาดในความคดโกงแหง่ ใจ
ในโทษแห่งใจ ในรสฝาดแหง่ ใจ.

ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดรูปหน่ึง
ไม่ละความคดโกงแห่งกาย โทษแห่งกาย รสฝาดแห่งกาย 
ไมล่ ะความคดโกงแหง่ วาจา โทษแหง่ วาจา รสฝาดแหง่ วาจา 
ไมล่ ะความคดโกงแหง่ ใจ โทษแหง่ ใจ รสฝาดแหง่ ใจ  เขาได้
พลัดตกไปจากธรรมวินัยนี้  เหมือนกับล้อข้างที่เสร็จโดย
๖ วนั ฉะน้นั .

390

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : “ตถาคต”

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   สว่ นภกิ ษหุ รอื ภกิ ษณุ รี ปู ใดรปู หนง่ึ
ละความคดโกงแห่งกาย  โทษแห่งกาย  รสฝาดแห่งกาย
ละความคดโกงแหง่ วาจา  โทษแหง่ วาจา  รสฝาดแห่งวาจา 
ละความคดโกงแห่งใจ โทษแห่งใจ รสฝาดแห่งใจได้
เขายอ่ มด�ำ รงมัน่ อยใู่ นธรรมวินัยนี้ เหมอื นกับลอ้ ข้างท่ีเสรจ็
โดย ๖ เดอื น หยอ่ นอยู่ ๖ ราตรี ฉะน้นั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เพราะเหตนุ น้ั ในเรอ่ื งน้ี เธอทง้ั หลาย
พงึ ศกึ ษาอยา่ งนวี้ า่ เราทงั้ หลายจกั ละความคดโกงแหง่ กาย
โทษแห่งกาย รสฝาดแห่งกาย จักละความคดโกงแห่ง
วาจา โทษแหง่ วาจา รสฝาดแหง่ วาจา จกั ละความคดโกง
แหง่ ใจ โทษแหง่ ใจ รสฝาดแหง่ ใจ.  ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  เธอ
ท้งั หลายพึงศกึ ษาอยา่ งนแี้ ล.

391

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : “ตถาคต”

บรุ พกรรมของการไดล้ กั ษณะมหาบรุ ษุ 159
-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๕๙-๑๙๓/๑๓๐-๑๗๑.

…ภิกษุท้ังหลาย !   พวกฤาษีภายนอก จำ�มนต์มหา
ปรุ สิ ลกั ขณะไดก้ จ็ รงิ แตห่ ารไู้ มว่ า่ การทม่ี หาบรุ ษุ ไดล้ กั ขณะ
อนั นๆ้ี เพราะทำ�กรรมเช่นน้ๆี :

(ก) ภิกษุท้ังหลาย !   เมื่อตถาคตเกิดเป็นมนุษย์
ในชาตกิ อ่ น ในภพทอี่ ยอู่ าศยั กอ่ น ไดเ้ ป็นผบู้ ากบั่นในกุศล
ถอื มน่ั ในกายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ , ในการบรจิ าคทาน
การสมาทานศีล การรักษาอุโบสถ การปฏิบัติมารดา บิดา
การปฏิบัติสมณพราหมณ์  การอ่อนน้อมต่อผู้เจริญใน
ตระกลู และในอธกิ ศุ ลธรรมอน่ื .  เพราะไดก้ ระท�ำ ไดส้ รา้ งสม
ได้พอกพูน ได้ม่ัวสุมกรรมน้ันๆ ไว้, ภายหลังแต่การตาย
เพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์.  ตถาคตนั้น
ถือเอาย่ิงกว่าในเทพเหล่าอ่ืนโดย ฐานะ ๑๐ คือ อายุทิพย์
วรรณะทพิ ย์ สขุ ทพิ ย์ ยศทพิ ย์ อธบิ ดที พิ ย์ รปู ทพิ ย์ เสยี งทพิ ย์
กลิ่นทิพย์ รสทิพย์ สัมผัสทิพย์ ; คร้ันจุติจากภพนั้นมาสู่
ความเป็นมนุษย์อย่างน้ี จึงได้มหาปุริสลักขณะข้อน้ีคือ
มฝี า่ เทา้ เสมอ จดลงกเ็ สมอ ยกขนึ้ กเ็ สมอ ฝา่ เทา้ ถกู ตอ้ งพน้ื
พรอ้ มกนั … (ลกั ขณะท่ี ๑), ยอ่ มเปน็ ผไู้ มห่ วาดหวนั่ ตอ่ ขา้ ศกึ

392

เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : “ตถาคต”

ทงั้ ภายในและภายนอก คอื ราคะ โทสะ โมหะ กต็ าม สมณะ
พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆ ก็ตาม ในโลก
ทีเ่ ปน็ ศตั รู.

(ข) ภิกษุท้งั หลาย !   เม่อื ตถาคตเกิดเป็นมนุษย์ใน
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผนู้ �ำ สขุ มาใหแ้ กม่ หาชน เปน็ ผบู้ รรเทาภยั
คือ ความสะด้งุ หวาดเสียว จัดการค้มุ ครองรักษาโดยธรรม
ไดถ้ วายทานมเี ครอ่ื งบรวิ าร.  เพราะไดก้ ระท�ำ … กรรมนน้ั ๆ
ไว้ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ
ขอ้ นค้ี อื ภายใตฝ้ า่ เทา้ มจี กั รทง้ั หลายเกดิ ขน้ึ มซี ต่ี ง้ั พนั พรอ้ ม
ดว้ ยกงและดมุ บรบิ รู ณด์ ว้ ยอาการทง้ั ปวง มรี ะยะอนั จดั ไวด้ ว้ ย
ดี … (ลกั ขณะท่ี ๒), ยอ่ มเปน็ ผมู้ บี รวิ ารมาก : ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี
อบุ าสก อบุ าสกิ า เทวดา มนษุ ย์ อสรู นาค คนธรรพ์ ยอ่ มเปน็
บรวิ ารของตถาคต.

(ค) ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือตถาคตเกิดเป็นมนุษย์
ในชาติก่อน … ได้เป็นผู้เว้นจากปาณาติบาต วางแล้วซ่ึง
ศาสตราและอาชญา มีความละอาย เอน็ ดู กรณุ าเก้ือกูลแก่
สัตว์มีชีวิตท้ังปวง.  เพราะ … กรรมน้ันๆ … ครั้นมาสู่
ความเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะทงั้ ๓ ขอ้ นค้ี อื
มีส้นยาว มีข้อน้ิวยาว มีกายตรงดุจกายพรหม … (ลักขณะ
ที่ ๓, ๔, ๑๕), ย่อมเป็นผู้มีชนมายุยืนยาวตลอดกาลนาน ;

393

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

สมณะหรือพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม ก็ตาม หรอื ใครๆ
ทเี่ ปน็ ศตั รู ไม่สามารถปลงชวี ิตตถาคตเสยี ในระหว่างได.้

(ฆ) ภิกษทุ ั้งหลาย !   เมื่อตถาคตเกิดเป็นมนษุ ยใ์ น
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผใู้ หท้ านของควรเคย้ี ว ควรบรโิ ภค ควรลมิ้
ควรจิบ ควรดมื่ มรี สอันประณีต. เพราะ … กรรมนัน้ ๆ …
ครนั้ มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งนแี้ ลว้ จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ
ข้อนค้ี ือ มีเน้ือนูนหนาในท่ี ๗ แหง่ คือ ทมี่ อื ท้งั สอง ที่เท้า
ทง้ั สอง ทบ่ี า่ ทง้ั สอง และทค่ี อ … (ลกั ขณะท่ี ๑๖), ยอ่ มไดข้ อง
ควรเคย้ี ว ควรบรโิ ภค ควรลม้ิ ควรจบิ ควรดม่ื อนั มรี สประณตี .

(ง) ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อตถาคตเกิดเป็นมนุษย์ใน
ชาตกิ อ่ น … ไดส้ งเคราะหผ์ อู้ นื่ ดว้ ย สงั คหวตั ถทุ งั้ ส่ี คอื การให้
ส่ิงของ วาจาที่ไพเราะ การประพฤติประโยชน์ผู้อื่น และ
ความมีตนเสมอกัน.  เพราะ … กรรมนั้นๆ … ครั้นมาสู่
ความเป็นมนุษย์อย่างน้ีแล้ว จึงได้มหาปุริสลักขณะ ๒ ข้อ
น้ีคือ มีมือและเท้าอ่อนนุ่ม, มีลายฝ่ามือฝ่าเท้าดุจตาข่าย
… (ลักขณะท่ี ๕, ๖), ย่อมเป็นผู้สงเคราะห์บริษัท คือ ภิกษุ
ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า เทวดา มนษุ ย์ อสรู นาค คนธรรพ์
ย่อมได้รับความสงเคราะหจ์ ากตถาคต.

(จ) ภิกษุท้ังหลาย !   เมื่อตถาคตเกิดเป็นมนุษย์ใน
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผกู้ ลา่ ววาจาประกอบดว้ ยอรรถดว้ ยธรรม

394

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : “ตถาคต”

แนะนำ�ชนเป็นอันมาก เป็นผู้นำ�ประโยชน์สุขมาให้แก่ชน
ทง้ั หลาย ตนเองกเ็ ปน็ ผบู้ ชู าธรรม.  เพราะ … กรรมนนั้ ๆ
… คร้ันมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างน้ี จึงได้มหาปุริสลักขณะ
๒ ข้อนี้คือ มีข้อเท้าอยู่สูง, มีปลายขนช้อนข้ึน … (ลักขณะ
ท่ี ๗, ๑๔), ยอ่ มเปน็ ผเู้ ลศิ ประเสรฐิ เยย่ี มสงู กวา่ สตั วท์ ง้ั หลาย.

(ฉ) ภิกษทุ ง้ั หลาย !   เมอื่ ตถาคตเกิดเป็นมนุษยใ์ น
ชาติก่อน … ได้เป็นผู้บอกศิลปะ วิทยา ข้อประพฤติ และ
ลทั ธกิ รรม ดว้ ยความเคารพ ดว้ ยหวงั วา่ สตั วเ์ หลา่ นนั้ พงึ รไู้ ด้
รวดเร็ว พงึ ปฏบิ ตั ไิ ด้รวดเร็ว ไม่พงึ เศร้าหมองสน้ิ กาลนาน.
เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครนั้ มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งน้ี จงึ
ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะขอ้ นค้ี อื มแี ขง้ ดงั แขง้ เนอื้ ทราย (ลกั ขณะ
ที่ ๘), ยอ่ มไดว้ ตั ถอุ นั ควรแกส่ มณะ เปน็ องคแ์ หง่ สมณะเปน็
เครอ่ื งอปุ โภคแกส่ มณะ โดยเรว็ .

(ช) ภกิ ษุทง้ั หลาย !   เมอื่ ตถาคตเกดิ เป็นมนษุ ย์ใน
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผเู้ ขา้ ไปหาสมณพราหมณ์ แลว้ สอบถาม
ว่า ‘ท่านผู้เจริญ !  อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล อะไร
มโี ทษ อะไรไมม่ โี ทษ อะไรควรเสพ อะไรไมค่ วรเสพ ท�ำ อะไร
ไมม่ ปี ระโยชน์ เป็นทุกข์ไปนาน ทำ�อะไรมปี ระโยชน์ เป็นสุข
ไปนาน’.  เพราะ … กรรมนั้นๆ … ครั้นมาสู่ความเป็น
มนุษย์อย่างนี้ จึงได้มหาปุริสลักขณะข้อน้ีคือ มีผิวละเอียด

395

พุทธวจน - หมวดธรรม

ออ่ น ธุลไี ม่ติดอย่ไู ด้ … (ลกั ขณะท่ี ๑๒), ยอ่ มเปน็ ผ้มู ีปัญญา
ใหญ่ มปี ญั ญาหนาแนน่ มปี ญั ญาเครอื่ งปลมื้ ใจ ปญั ญาแลน่
ปญั ญาแหลม ปญั ญาแทงตลอด, ไม่มสี ัตว์อ่ืนเสมอ หรือย่ิง
ไปกว่า.

(ซ) ภิกษทุ ัง้ หลาย !   เมื่อตถาคตเกดิ เป็นมนษุ ยใ์ น
ชาติก่อน … ได้เป็นผู้ไม่มักโกรธ ไม่มากไปด้วยความแค้น
แม้ชนเป็นอันมาก ว่ากล่าวเอา ก็ไม่เอาใจใส่ ไม่โกรธ ไม่
พยาบาท ไม่คุมแค้น ไม่แสดงความโกรธ ความร้ายกาจ
ความเสยี ใจใหป้ รากฏ.  ทง้ั เปน็ ผใู้ หท้ านผา้ เปลอื กไม้ ผา้ ดา้ ย
ผา้ ไหม ผา้ ขนสตั ว์ ส�ำ หรบั ลาดและนุ่งหม่ อันมเี นอ้ื ละเอยี ด
ออ่ น.  เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์
อย่างนี้ จึงได้มหาปุริสลักขณะข้อน้ีคือ มีกายดุจทอง มีผิว
ดจุ ทอง … (ลกั ขณะท่ี ๑๑), ยอ่ มเปน็ ผไู้ ดผ้ า้ เปลอื กไม้ ผา้ ดา้ ย
ผ้าไหม ผ้าขนสตั ว์ ส�ำ หรบั ลาดและหม่ มีเนอื้ ละเอยี ดอ่อน.

(ฌ) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผสู้ มานญาตมิ ติ ร สหายชาวเกลอ ผเู้ หนิ หา่ ง
แยกกนั ไปนาน, ไดส้ มานไมตรมี ารดากบั บตุ ร บตุ รกบั มารดา
บดิ ากบั บตุ ร บตุ รกบั บดิ า พน่ี อ้ งชายกบั พน่ี อ้ งหญงิ พนี่ อ้ งหญงิ
กับพี่น้องชาย, คร้ันทำ�ความสามัคคีแล้ว พลอยชื่นชม
ยนิ ดดี ว้ ย.  เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์

396

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : “ตถาคต”

อยา่ งน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะขอ้ นค้ี อื มคี ยุ หฐาน (อวยั วะทล่ี บั )
ซอ่ นอยใู่ นฝกั … (ลกั ขณะท่ี ๑๐), ยอ่ มเปน็ ผมู้ บี ตุ ร (สาวก) มาก
มบี ตุ รกลา้ หาญ มแี ววแหง่ คนกลา้ อนั เสนาแหง่ บคุ คลอน่ื จะ
ย�ำ่ ยมี ิไดห้ ลายพนั .

(ญ) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอื่ ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผสู้ งั เกตชน้ั เชงิ ของมหาชน รไู้ ดส้ ม�่ำ เสมอ
รู้ได้เอง รู้จักบุรุษธรรมดา และบุรุษพิเศษว่าผู้นี้ ควรแก่
ส่ิงน้ีๆ, ได้เป็นผู้ทำ�ประโยชน์อย่างวิเศษในชนชั้นน้ันๆ. 
เพราะ … กรรมน้ันๆ … คร้ันมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างนี้
จึงได้มหาปุริสลักขณะ ๒ ข้อนี้คือ มีทรวดทรงดุจต้นไทร,
ยืนตรงไม่ย่อกาย ลูบถึงเข่าได้ด้วยมือทั้งสอง … (ลักขณะ
ท่ี ๑๙, ๙), ย่อมมั่งคั่งมีทรัพย์มาก มีโภคะมาก.  ทรัพย์
ของตถาคตเหลา่ นคี้ อื ทรพั ยค์ อื ศรทั ธา ทรพั ยค์ อื ศลี ทรพั ย์
คอื หริ ิ ทรพั ยค์ อื โอตตปั ปะ ทรพั ยค์ อื การศกึ ษา (สตุ ะ) ทรพั ย์
คอื จาคะ ทรัพย์คอื ปญั ญา.

(ฎ) ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เมอื่ ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น
ชาติก่อน … ได้เปน็ ผู้ใคร่ต่อประโยชน์ ใคร่ต่อความเกื้อกูล
ใคร่ต่อความผาสุข ใคร่ต่อความเกษมจากโยคะแก่ชนเป็น
อนั มาก วา่ ‘ไฉนชนเหลา่ นพ้ี งึ เปน็ ผเู้ จรญิ ดว้ ยศรทั ธา ดว้ ยศลี
ด้วยการศึกษา ดว้ ยความรู้ ด้วยการเผ่อื แผ่ ด้วยธรรม ดว้ ย

397

พุทธวจน - หมวดธรรม

ปญั ญา ดว้ ยทรพั ยแ์ ละขา้ วเปลอื ก ดว้ ยนาและสวน ดว้ ยสตั ว์
สองเท้าสี่เท้า ด้วยบุตรภรรยา ด้วยทาสกรรมกร และบุรุษ
ด้วยญาติมิตรและพวกพ้อง’.  เพราะ … กรรมน้ันๆ …
ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งนี้ จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ๓ ขอ้
น้ีคือ มีก่ึงกายเบ้ืองหน้าดุจสีหะ, มีหลังเต็ม, มีคอกลม …
(ลักขณะท่ี ๑๗, ๑๘, ๒๐), ย่อมเป็นผู้ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
คอื ไมเ่ สอ่ื มจากศรทั ธา ศลี สตุ ะ จาคะ ปญั ญา, ไมเ่ สอ่ื มจาก
สมบตั ทิ ้ังปวง.

(ฏ) ภกิ ษุทั้งหลาย !   เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ย์ใน
ชาติก่อน … ได้เป็นผู้ไม่เบียดเบียนสัตว์ท้ังหลาย ด้วย
ฝ่ามือก็ตาม ก้อนดินก็ตาม ท่อนไม้ก็ตาม ศาสตราก็ตาม. 
เพราะ … กรรมนั้นๆ … ครั้นมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างน้ี
จึงได้มหาปุริสลักขณะข้อนี้คือ มีประสาทรับรสอันเลิศ
มีปลายข้ึนเบื้องบน เกิดแล้วท่ีคอ รับรสโดยสม่ำ�เสมอ …
(ลกั ขณะท่ี ๒๑), ยอ่ มเปน็ ผมู้ อี าพาธนอ้ ย มโี รคนอ้ ย มคี วาม
ร้อนแห่งกายเป็น วิบากอันสมำ่�เสมอ ไม่เย็นเกินร้อนเกิน
พอควรแกค่ วามเพียร.

(ฐ) ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือตถาคตเกิดเป็นมนุษย์ใน
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผไู้ มถ่ ลงึ ตา ไมค่ อ้ นควกั ไมจ่ อ้ งลบั หลงั ,
เป็นผู้แช่มชื่นมองดูตรงๆ มองดูผู้อ่ืนด้วยสายตาอันแสดง

398

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : “ตถาคต”

ความรัก.  เพราะ … กรรมน้ันๆ … ครั้นมาสู่ความเป็น
มนุษย์อย่างน้ี จึงได้มหาปุริสลักขณะ ๒ ข้อน้ีคือ มีตาเขียว
สนิท ; มีตาดุจตาโค … (ลักขณะที่ ๒๙, ๓๐), ย่อมเป็นท่ี
ต้องตาของชนหมู่มาก เป็นท่ีรักใคร่พอใจของภิกษุ ภิกษุณี
อุบาสก อบุ าสกิ า เทวดา มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ.์

(ฑ) ภิกษุทัง้ หลาย !   เมอ่ื ตถาคตเกดิ เป็นมนุษยใ์ น
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ หวั หนา้ ของชนเปน็ อนั มาก ในกศุ ลธรรม
ทั้งหลาย ได้เป็นประธานของชนเป็นอันมาก ในกายสุจริต
วจีสุจริต มโนสุจริต, ในการจำ�แนกทาน การสมาทานศีล
การรกั ษาอโุ บสถ การประพฤตเิ กอื้ กลู ในมารดาบดิ า สมณ-
พราหมณ์, การนอบน้อมต่อผู้เจริญในตระกูล ในอธิกุศล
ธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง.  เพราะ … กรรมนั้นๆ … คร้ัน
มาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างนี้ จึงได้มหาปุริสลักขณะข้อน้ีคือ
มีศีรษะรับกับกรอบหน้า … (ลักขณะท่ี ๓๒), ย่อมเป็นผู้ที่
มหาชนประพฤติตาม คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
เทวดา มนุษย์ อสรู นาค คนธรรพ์ ประพฤติตาม.

(ฒ) ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น
ชาตกิ อ่ น…ไดเ้ ปน็ ผลู้ ะเวน้ จากมสุ าวาท พดู ค�ำ จรงิ หลงั่ ค�ำ สจั จ์
เทยี่ งแท้ ซอื่ ตรง ไมห่ ลอกลวงโลก.  เพราะ … กรรมนนั้ ๆ
… คร้ันมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างนี้แล้ว จึงได้มหาปุริส-

399

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ลกั ขณะ ๒ ข้อน้คี ือ มขี นขมุ ละเส้น, มีอุณาโลมหว่างควิ้ ขาว
อ่อนดุจสำ�ลี, … (ลักขณะท่ี ๑๓, ๓๑), ย่อมเป็นผู้ท่ีมหาชน
เป็นไปใกล้ชิด คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เทวดา
มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ์ ใกลช้ ดิ .

(ณ) ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือตถาคตเกิดเป็นมนุษย์
ในชาติก่อน … ได้เป็นผู้ละเว้นวาจาส่อเสียด (คือคำ�ยุให้
แตกกนั ), คอื ไม่ฟังจากข้างนีแ้ ลว้ ไปบอกขา้ งโน้นเพอ่ื ทำ�ลาย
ชนพวกนี้, ไม่ฟังจากข้างโน้นแล้วมาบอกข้างนี้ เพ่ือท�ำ ลาย
ชนพวกโนน้ , เปน็ ผสู้ มานพวกแตกกนั แลว้ และสง่ เสรมิ พวก
ทพี่ รอ้ มเพรยี งกนั  ; เปน็ ผยู้ นิ ดใี นการพรอ้ มเพรยี ง เพลนิ ใน
การพรอ้ มเพรยี ง กลา่ วแตว่ าจาทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความพรอ้ มเพรยี ง. 
เพราะ … กรรมนนั้ ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งนแี้ ลว้
จงึ ได้มหาปุรสิ ลกั ขณะ ๒ อยา่ งนคี้ ือ มีฟนั ครบ ๔๐ ซี่ มฟี นั
สนทิ ไม่ห่างกัน … (ลกั ขณะที่ ๒๓, ๒๕), ย่อมเป็นผูม้ ีบรษิ ทั
ไมก่ ระจดั กระจาย คอื ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า เทวดา
มนษุ ย์ อสรู นาค คนธรรพ์ เปน็ บรษิ ทั ไมก่ ระจดั กระจาย.

(ด) ภิกษทุ ั้งหลาย !   เมอื่ ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ย์ใน
ชาติก่อน … ได้เป็นผู้ละเว้นการกล่าวคำ�หยาบ, กล่าวแต่
วาจาท่ีไม่มีโทษ เป็นสุขแก่หู เป็นท่ีต้ังแห่งความรักซึมซาบ
ถึงใจ เป็นคำ�พูดของชาวเมือง เป็นท่ีพอใจและชอบใจของ

400

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : “ตถาคต”

ชนเปน็ อนั มาก.  เพราะ … กรรมน้นั ๆ … คร้นั มาสู่ความ
เป็นมนุษยอ์ ยา่ งน้ี ยอ่ มได้มหาปุริสลกั ขณะ๒ ข้อนค้ี อื มีล้นิ
อนั เพียงพอ, มเี สยี งเหมอื นพรหม พดู เหมือนนกการวิก …
(ลกั ขณะท่ี ๒๗, ๒๘), ยอ่ มเปน็ ผมู้ วี าจาทผี่ อู้ น่ื เออ้ื เฟอ้ื เชอ่ื ฟงั
คือ ภกิ ษุ ภิกษณุ ี อุบาสก อุบาสิกา เทวดา มนุษย์ อสรู นาค
คนธรรพ์ เอ้ือเฟื้อเชอ่ื ฟงั .

(ต) ภิกษุทัง้ หลาย !   เม่ือตถาคตเกิดเป็นมนษุ ยใ์ น
ชาติก่อน … ได้เป็นผู้ละเว้นการพูดเพ้อเจ้อ, เป็นผู้กล่าว
ควรแก่เวลา กล่าวคำ�จริง กล่าวเป็นธรรม กล่าวมีอรรถ
กล่าวเป็นวินัย กล่าวมีท่ีต้ัง มีหลักฐาน มีที่สุด ประกอบ
ด้วยประโยชน.์   เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครั้นมาส่คู วาม
เป็นมนุษย์อย่างนี้แล้ว ย่อมได้มหาปุริสลักขณะข้อน้ีคือ
มีคางดุจคางราชสีห์ … (ลักขณะท่ี ๒๒), ย่อมเป็นผู้ที่ศัตรู
ท้ังภายในและภายนอกกำ�จัดไม่ได้ : ศัตรูคือ ราคะ โทสะ
โมหะ หรอื สมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรอื ใครๆ
ในโลก กำ�จัดไม่ได.้

(ถ) ภกิ ษุท้งั หลาย !   เมอื่ ตถาคตเกิดเป็นมนุษย์ใน
ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผลู้ ะมจิ ฉาชพี มกี ารเลย้ี งชพี ชอบ เวน้ จาก
การฉอ้ โกงดว้ ยตาชง่ั ดว้ ยของปลอม ดว้ ยเครอื่ งตวงเครอ่ื งวดั
จากการโกงการลวง เวน้ จากการตดั การฆา่ การผกู มดั การรว่ ม

401

พุทธวจน - หมวดธรรม

ท�ำ รา้ ย การปลน้ การกรรโชก. เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครนั้
มาสู่ความเปน็ มนุษย์อย่างน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลักขณะ ๒ ขอ้ น้ี
คือ มีฟันอันเรียบเสมอ, มีเขี้ยวขาวงาม … (ลักขณะท่ี ๒๔,
๒๖), ย่อมเป็นผมู้ ีบริวารเป็นคนสะอาด คือ มภี กิ ษุ ภกิ ษุณี
อุบาสก อุบาสิกา เทวดา มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ์ เป็น
บรวิ ารอันสะอาด.

402

ขอนอบนอ้ มแด่

ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ

พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้

(สาวกตถาคต)
คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง
(กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)

มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์

มูลนิธิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ งึ่ ชดั เจน และมั่นคงในพุทธวจน

เรม่ิ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนง่ึ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก
ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทเี่ นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์
ทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอื้ ความและ
พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทต่ี รงตาม
พุทธบญั ญตั ิตามท่ี ทรงรบั ส่งั แกพ่ ระอรหันต์ ๖๐ รปู แรกที่ปาอสิ ิปตนมฤคทายวัน
ในการประกาศพระสัทธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภี่ กิ ษใุ นครง้ั พทุ ธกาลใชเ้ ปน็
มาตรฐานเดยี ว

หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง
ความชดั เจน ต่อความพร่าเลอื นสับสน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ทม่ี ีอยู่ในสงั คมชาวพทุ ธ
ซง่ึ ท้งั หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตเุ ดียวคือ การไมใ่ ช้คา� ของพระพุทธเจา้ เป็นตัวต้งั ต้น
ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น

ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วน่ั ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา
ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง”
และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน
เพื่อความตั้งมนั่ แหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเป็นหน่ึงเดยี วของชาวพุทธ

เมอื่ กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเี่ คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ
คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม
ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ
ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั
มากขึ้นเรอ่ื ยๆ เกิดเป็น “กระแสพทุ ธวจน” ซง่ึ เปน็ พลงั เงียบท่กี �าลงั จะกลายเป็น
คลนื่ ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครง้ั พทุ ธกาล

ด้วยการขยายตวั ของกระแสพทุ ธวจนน้ี ส่อื ธรรมที่เปน็ พุทธวจน ไม่ว่า
จะเป็นหนังสือ หรือซีดี ซ่ึงแจกฟรีแก่ญาติโยมเร่ิมมีไม่พอเพียงในการแจก ทั้งน้ี
เพราะจ�านวนของผู้ท่ีสนใจเห็นความส�าคัญของพุทธวจน ได้ขยายตัวมากขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ประกอบกับว่าท่านพระอาจารย์คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เคร่งครัดในข้อวัตร
ปฏิบัติท่ีพระศาสดาบัญญัติไว้ อันเป็นธรรมวินัยท่ีออกจากพระโอษฐ์ของตถาคต
โดยตรง การเผยแผ่พุทธวจนที่ผ่านมา จึงเป็นไปในลักษณะสันโดษตามมีตามได้
เมือ่ มีโยมมาปวารณาเป็นเจา้ ภาพในการจดั พิมพ์ ไดม้ าจ�านวนเท่าไหร่ ก็ทยอยแจก
ไปตามทมี่ เี ทา่ นน้ั เมอ่ื มมี า กแ็ จกไป เมอื่ หมด กค็ อื หมด

เนอ่ื งจากวา่ หนา้ ทใ่ี นการดา� รงพระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มน่ั สบื ไป ไมไ่ ดผ้ กู จา� กดั
อย่แู ตเ่ พยี งพทุ ธสาวกในฐานะของสงฆ์เทา่ นนั้ ฆราวาสกลมุ่ หนึ่งซึ่งเห็นความส�าคญั
ของพทุ ธวจน จงึ รวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยขยายผลในสงิ่ ทที่ า่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล
ทา� อยแู่ ลว้ นน่ั คอื การนา� พทุ ธวจนมาเผยแพรโ่ ฆษณา โดยพจิ ารณาตดั สนิ ใจจดทะเบยี น
จัดตัง้ เปน็ มลู นธิ อิ ย่างถูกตอ้ งตามกฏหมาย เพือ่ ใหก้ ารด�าเนนิ การตา่ งๆ ทง้ั หมด
อยใู่ นรปู แบบทโี่ ปรง่ ใส เปดิ เผย และเปดิ กวา้ งตอ่ สาธารณชนชาวพทุ ธทวั่ ไป

สา� หรับผู้ท่ีเหน็ ความสา� คัญของพุทธวจน และมคี วามประสงค์ทจี่ ะด�ารง
พระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มนั่ ดว้ ยวธิ ขี องพระพทุ ธเจา้ สามารถสนบั สนนุ การดา� เนนิ การตรงนไ้ี ด้
ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ น่ันคอื เขา้ มาใส่ใจศึกษาพทุ ธวจน และนา� ไปใช้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง
เม่ือรู้ประจักษ์ เห็นได้ด้วยตนแล้ว ว่ามรรควิธีท่ีได้จากการท�าความเข้าใจ โดย
ใช้ค�าของพระพุทธเจ้าเป็นตัวต้ังต้นน้ัน น�าไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ในหลักธรรม
อันสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล และเช่ือมโยงเป็นหน่ึงเดียว กระทั่งได้ผลตามจริง
ทา� ใหเ้ กดิ มีจติ ศรทั ธา ในการช่วยเผยแพรข่ ยายส่ือพทุ ธวจน เพียงเท่านี้ คุณก็คอื
หนง่ึ หนว่ ยในขบวน “พทุ ธโฆษณ”์ แลว้

น่คี อื เจตนารมณ์ของมูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ นน่ั คอื เปน็ มลู นิธิแหง่ มหาชน
ชาวพทุ ธ ซง่ึ ชดั เจน และมน่ั คงในพทุ ธวจน

ผูท้ ีส่ นใจรับสือ่ ธรรมทเี่ ปน็ พุทธวจน เพอ่ื ไปใชศ้ กึ ษาส่วนตัว
หรือน�าไปแจกเปน็ ธรรมทาน แกพ่ ่อแมพ่ ีน่ ้อง ญาติ หรือเพื่อน

สามารถมารบั ไดฟ้ รี ที่วดั นาปาพง
หรือตามที่พระอาจารย์คกึ ฤทธ์ไิ ด้รบั นมิ นต์ไปแสดงธรรมนอกสถานที่

สา� หรบั รายละเอยี ดกจิ ธรรมต่างๆ ภายใตเ้ ครอื ข่ายพุทธวจนโดยวัดนาปาพง คน้ หา
ขอ้ มลู ไดจ้ าก

www.buddhakos.org หรือ www.watnapp.com

หากมคี วามจ�านงทจ่ี ะรับไปแจกเปน็ ธรรมทานในจา� นวนหลายสิบชดุ
ขอความกรุณาแจง้ ความจ�านงไดท้ ี่

มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์
ประสานงานและเผยแผ่ : เลขที่ ๒๙/๓ หมูท่ ่ี ๗

ถนนเลียบคลอง ๑๐ ฝ่ังตะวันออก
ตา� บลบึงทองหลาง อา� เภอลา� ลูกกา จงั หวัดปทุมธานี ๑๒๑๕๐
โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔, ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑

โทรสาร ๐ ๒๑๕๙ ๐๕๒๖
เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org อเี มล์ : [email protected]

สนบั สนนุ การเผยแผ่พุทธวจนไดท้ ี่
ชอื่ บญั ชี “มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ”์ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขา คลอง ๑๐ (ธญั บรุ )ี

ประเภท บัญชีออมทรัพย์ เลขทีบ่ ัญชี ๓๑๘-๒-๔๗๔๖๑-๐
วธิ ีการโอนเงนิ จากต่างประเทศ

ย่นื แบบฟอร์ม คา� ขอโอนได้ท่ี ธนาคารไทยพาณชิ ย์
Account name: “Buddhakos Foundation”

SWIFT CODE : SICOTHBK
Branch Number : 318

Siam Commercial Bank PCL, Khlong 10(Thanyaburi) Branch,
33/14 Mu 4 Chuchat Road, Bung Sanun Sub District,
Thanyaburi District, Pathum Thani 12110, Thailand
Saving Account Number : 318-2-47461-0

ขอกราบขอบพระคุณแด่

พระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล และคณะสงฆว์ ดั นาปา่ พง
ท่กี รณุ าให้ค�าปรกึ ษาในการจดั ทา� หนังสือเลม่ น้ี

ติดตามการเผยแผ่พระธรรมคา� สอนตามหลกั พทุ ธวจน

โดย พระอาจารยค์ ึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล ไดท้ ่ี

เวบ็ ไซต์

• http://www.watnapp.com : หนงั สอื และสื่อธรรมะ บนอินเทอร์เนต็
• http://media.watnapahpong.org : ศูนยบ์ ริการมลั ตมิ เี ดียวัดนาปา พง
• http://www.buddha-net.com : เครือขา่ ยพุทธวจน
• http://etipitaka.com : โปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพุทธวจน
• http://www.watnapahpong.com : เว็บไซตว์ ัดนาปา พง
• http://www.buddhakos.org : มลู นิธิพุทธโฆษณ์
• http://www.buddhawajanafund.org : มูลนธิ ิพทุ ธวจน

ดาวนโ์ หลดโปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพทุ ธวจน (E-Tipitaka)

ส�าหรบั คอมพวิ เตอร์
• ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows, Macintosh, Linux

http://etipitaka.com/download หรอื รบั แผน่ โปรแกรมได้ทว่ี ดั นาปาพง
ส�าหรับโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทแ่ี ละแทบ็ เลต็
• ระบบปฏิบตั กิ าร Android

ดาวน์โหลดได้ท่ี Play Store โดยพิมพค์ �าวา่ พทุ ธวจน หรอื e-tipitaka
• ระบบปฏบิ ัตกิ าร iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod)

ดาวน์โหลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พุทธวจน หรอื e-tipitaka

ดาวนโ์ หลดโปรแกรมพุทธวจน (Buddhawajana)

เฉพาะโทรศัพทเ์ คลือ่ นทีแ่ ละแทบ็ เล็ต
• ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android

ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี Google Play Store โดยพิมพ์คา� วา่ พุทธวจน หรอื buddhawajana
• ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod)

ดาวน์โหลดได้ท่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พทุ ธวจน หรอื buddhawajana

ดาวน์โหลดโปรแกรมวทิ ยวุ ดั นาป่าพง (Watnapahpong Radio)

เฉพาะโทรศพั ทเ์ คลื่อนทีแ่ ละแท็บเลต็
• ระบบปฏิบัติการ Android

ดาวน์โหลดได้ท่ี Google Play Store โดยพิมพ์ค�าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวดั นาปาพง
• ระบบปฏิบตั ิการ iOS (สา� หรับ iPad, iPhone, iPod)

ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พค์ �าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวัดนาปาพง

วทิ ยุ

• คล่ืน ส.ว.พ. FM ๙๑.๐ MHz ทุกวนั พระ เวลา ๑๗.๔๐ น.

บรรณานกุ รม

พระไตรปฎิ กฉบับสยามรัฐ
พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบบั หลวง
หนงั สอื ธรรมโฆษณ์ ชุดจากพระโอษฐ์

(ผลงานแปลพทุ ธวจน โดยทา่ นพุทธทาสภิกขุในนามกองตา� ราคณะธรรมทาน)

รว่ มสนับสนุนการจดั ท�าโดย

คณะงานธัมมะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมัครพทุ ธวจน-หมวดธรรม),
คณะศิษยว์ ัดนาปาพง, มูลนิธิพุทธวจน,

พุทธวจนสถาบันภาคกลาง, พุทธวจนสถาบันภาคเหนือ,
พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออก,

พุทธวจนสถาบันภาคใต้, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันตก,
กลุ่มศิษย์ตถาคต, กลุ่มสมณะศากยะปุตติยะ,
กลุ่มชวนม่วนธรรม, กลุ่มละนันทิ,

กลุ่มพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินบริษัทการบินไทย,
กลุ่มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่,

ชมรมพุทธวจนอุดรธานี,
บจก. สยามคูโบต้า คอร์ปอเรช่ัน, บจก. สยามรักษ์,
บจก. เซเว่นสเต็ปส์, บจก. ห้างพระจันทร์โอสถ,

สถานกายภาพบ�าบัด คิดดีคลินิค,
บจก. ดีเทลส์ โปรดักส์

ลงสะพานคลอง ๑๐ ไปยูเทิร์นแรกมา แผนท่ีวัดนาป่าพง
แล้วเล้ียวซ้ายก่อนข้ึนสะพาน

แนวทิวสน
วัดนาป่าพง

โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑,
๐๘ ๔๐๙๖ ๘๔๓๐,
๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๔,
๐๘ ๖๕๕๒ ๒๔๕๙

ลงสะพานคลอง ๑๐
เล้ียวซ้ายคอสะพาน

๑๐ พระสตู รของความสา� คญั

ทชี่ าวพทุ ธตอ้ งศกึ ษา
แตค่ า� สอนจากพระพทุ ธเจา้
เทา่ นน้ั

ผา่ นมา ๒,๕๐๐ กวา่ ปี
คา� สอนทางพระพทุ ธศาสนาเกดิ ความหลากหลายมากขน้ึ
มสี า� นกั ตา่ งๆ มากมาย ซง่ึ แตล่ ะหมคู่ ณะกม็ คี วามเหน็ ของตน
หามาตรฐานไมไ่ ด้ แมจ้ ะกลา่ วในเรอ่ื งเดยี วกนั
ทง้ั นไ้ี มใ่ ชเ่ พราะคา� สอนของพระพทุ ธเจา้ ไมส่ มบรู ณ์
แลว้ เราควรเชอ่ื และปฏบิ ตั ติ ามใคร ?
ลองพจิ ารณาหาคา� ตอบงา่ ยๆ ไดจ้ าก ๑๐ พระสตู ร
ซง่ึ พระตถาคตทรงเตอื นเอาไว้
แลว้ ตรสั บอกวธิ ปี อ้ งกนั และแกไ้ ขเหตเุ สอ่ื มแหง่ ธรรมเหลา่ น.ี้
ขอเชญิ มาตอบตวั เองกนั เถอะวา่ ถงึ เวลาแลว้ หรอื ยงั ?
ทพ่ี ทุ ธบรษิ ทั จะมมี าตรฐานเพยี งหนงึ่ เดยี ว คอื “พทุ ธวจน” ธรรมวนิ ยั
จากองคพ์ ระสงั ฆบดิ าอนั วญิ ญชู นพงึ ปฏบิ ตั แิ ละรตู้ ามไดเ้ ฉพาะตน ดงั น.ี้
๑. พระองคท์ รงสามารถกา� หนดสมาธ ิ เมอ่ื จะพดู ทกุ ถอ้ ยคา� จงึ ไมผ่ ดิ พลาด

-บาลี มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐.

อคั คเิ วสนะ ! เรานน้ั หรอื จา� เดมิ แตเ่ รมิ่ แสดง กระทง่ั คา� สดุ ทา้ ยแหง่
การกลา่ วเรอ่ื งนนั้ ๆ ยอ่ มตงั้ ไวซ้ งึ่ จติ ในสมาธนิ มิ ติ อนั เปน็ ภายในโดยแท ้
ใหจ้ ติ ดา� รงอย ู่ ใหจ้ ติ ตง้ั มน่ั อย ู่ กระทา� ใหม้ จี ติ เปน็ เอก ดงั เชน่ ทค่ี นทง้ั หลาย
เคยไดย้ นิ วา่ เรากระทา� อยเู่ ปน็ ประจา� ดงั น.้ี

๒. แตล่ ะคา� พดู เปน็ อกาลโิ ก คอื ถกู ตอ้ งตรงจรงิ ไมจ่ า� กดั กาลเวลา

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑.

ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอทงั้ หลายเปน็ ผทู้ เี่ รานา� ไปแลว้ ดว้ ยธรรมน้ี
อนั เปน็ ธรรมทบ่ี คุ คลจะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนทฺ ฏิ โิ ก) เปน็ ธรรมให้
ผลไมจ่ า� กดั กาล (อกาลโิ ก) เปน็ ธรรมทคี่ วรเรยี กกนั มาด ู (เอหปิ สสฺ โิ ก)
ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว (โอปนยิโก) อันวิญญูชนจะพึงรู้ได้เฉพาะตน
(ปจจฺ ตตฺ � เวทติ พโฺ พ วญิ ญฺ หู )ิ .

๓. คา� พดู ทพ่ี ดู มาทง้ั หมดนบั แตว่ นั ตรสั รนู้ น้ั สอดรบั ไมข่ ดั แยง้ กนั

-บาลี อิติว.ุ ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.

ภิกษุท้ังหลาย ! นับต้ังแต่ราตรี ที่ตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมา-
สัมโพธิญาณ จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสส
นิพพานธาตุ ตลอดเวลาระหว่างนั้น ตถาคตได้กล่าวสอน พร่�าสอน
แสดงออก ซง่ึ ถอ้ ยคา� ใด ถอ้ ยคา� เหลา่ นนั้ ทงั้ หมด ยอ่ มเขา้ กนั ไดโ้ ดย
ประการเดยี วทงั้ สนิ้ ไมแ่ ยง้ กนั เปน็ ประการอน่ื เลย.

อ๔. ทรงบอกเหตแุ หง่ ความอนั ตรธานของคา� สอนเปรยี บดว้ ยกลองศกึ
-บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓.
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! เรอ่ื งนเี้ คยมมี าแลว้ กลองศกึ ของกษตั รยิ พ์ วกทสารหะ
เรยี กวา่ อานกะ มอี ยู่ เมอื่ กลองอานกะน้ี มแี ผลแตกหรอื ลิ พวกกษตั รยิ ์
ทสารหะไดห้ าเนอื้ ไมอ้ น่ื ทา� เปน็ ลมิ่ เสรมิ ลงในรอยแตกของกลองนนั้ (ทกุ
คราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เม่ือเชื่อมปะเข้าหลายคร้ังหลายคราวเช่นนั้น
นานเขา้ กถ็ งึ สมยั หนง่ึ ซง่ึ เนอื้ ไมเ้ ดมิ ของตวั กลองหมดสนิ้ ไป เหลอื อยแู่ ต่
เนอื้ ไมท้ ที่ า� เสรมิ เขา้ ใหมเ่ ทา่ นน้ั .
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ ในกาลยดื ยาวฝา่ ยอนาคต จกั มภี กิ ษุ
ทงั้ หลาย สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซง้ึ
เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั

มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ด้วยดี จกั ไมเ่ งี่ยหฟู งั จกั ไมต่ ั้งจิตเพอ่ื จะรู้ท่ัวถงึ
และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใดที่
นกั กวแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย
มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอ่ื มผี นู้ า�
สุตตันตะท่ีนักกวีแต่งข้ึนใหม่เหล่านั้นมากล่าวอยู่ เธอจักฟังด้วยดี จัก
เงย่ี หฟู งั จกั ตงั้ จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั สา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทตี่ นควรศกึ ษา
เลา่ เรยี นไป.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ความอนั ตรธานของสตุ ตนั ตะเหลา่ นนั้ ทเี่ ปน็ คา� ของ
ตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชน้ั โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ย
เรอื่ งสญุ ญตา จกั มไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งนี้ แล.

๕.ทรงกา� ชับให้ศกึ ษาปฏิบัติเฉพาะจากคา� ของพระองคเ์ ท่านน้ั
อย่าฟังคนอื่น

-บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๙๑-๙๒/๒๙๒.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษบุ รษิ ทั ในกรณนี ้ี สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วี
แตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มี
พยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า�
สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมต่ งั้ จติ เพอ่ื
จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็
ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา
เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี ยอ่ มเงยี่ หฟู งั
ยอ่ มตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ ว่ั ถงึ และยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น
จงึ พากนั เลา่ เรยี น ไตถ่ าม ทวนถามแกก่ นั และกนั อยวู่ า่ “ขอ้ นเี้ ปน็ อยา่ งไร
มคี วามหมายกน่ี ยั ” ดงั น้ี ดว้ ยการทา� ดงั นี้ เธอยอ่ มเปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ ไวไ้ ด้
ธรรมทยี่ งั ไมป่ รากฏ เธอกท็ า� ใหป้ รากฏได้ ความสงสยั ในธรรมหลายประการ
ทนี่ า่ สงสยั เธอกบ็ รรเทาลงได.้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! บรษิ ทั ชอ่ื อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า
เปน็ อยา่ งไรเลา่ ?

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ ง้ั หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ
ทงั้ หลาย อนั เปน็ ตถาคตภาษติ (ตถาคตภาสติ า) อนั ลกึ ซง้ึ (คมภฺ รี า) มี
อรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา) เป็นโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบด้วย
เรอ่ื งสญุ ญตา (สญุ ญฺ ตปฏสิ ย� ตุ ตฺ า) อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี
ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควร
ศกึ ษาเลา่ เรยี น.

สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภท
กาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว
เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นมี้ ากลา่ วอยู่

พวกเธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี เงย่ี หฟู งั ตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และสา� คญั ไป
วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมอนั กวแี ตง่ ใหม่
นัน้ แล้ว ก็ไม่สอบถามซงึ่ กันและกัน ไมท่ า� ใหเ้ ปิดเผยแจม่ แจ้งออกมาวา่
ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นน้ั เปดิ เผย
สง่ิ ทย่ี งั ไมเ่ ปดิ เผยไมไ่ ด้ ไมห่ งายของทค่ี วา�่ อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ ไมบ่ รรเทา
ความสงสยั ในธรรมทงั้ หลายอนั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้
ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย! บรษิ ทั ชอื่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า
เปน็ อยา่ งไรเลา่ ?

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ งั้ หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ
ทง้ั หลาย ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษร
สละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก
อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอ่ื จะ
รทู้ วั่ ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ น สตุ ตนั ตะ
เหลา่ ใด อนั เปน็ ตถาคตภาษติ อนั ลกึ ซง้ึ มอี รรถอนั ลกึ ซง้ึ เปน็ โลกตุ ตระ
ประกอบดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ น ี้ มากลา่ วอย ู่ พวก

เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยด ี ยอ่ มเงย่ี หฟู งั ยอ่ มเขา้ ไปตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และ
ยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทคี่ วรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมทเ่ี ปน็
ตถาคตภาษติ นน้ั แลว้ กส็ อบถามซง่ึ กนั และกนั ทา� ใหเ้ ปดิ เผยแจม่ แจง้ ออก
มาวา่ ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถะเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นนั้
เปดิ เผยสง่ิ ทยี่ งั ไมเ่ ปดิ เผยได้ หงายของทคี่ วา่� อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ บรรเทา
ความสงสยั ในธรรมทง้ั หลายอนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้
ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เหลา่ นแี้ ลบรษิ ทั ๒ จา� พวกนน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !
บรษิ ทั ทเี่ ลศิ ในบรรดาบรษิ ทั ทง้ั สองพวกนนั้ คอื บรษิ ทั ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า
ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า (บรษิ ทั ทอ่ี าศยั การสอบสวนทบทวนกนั เอาเอง
เปน็ เครอื่ งนา� ไป ไมอ่ าศยั ความเชอ่ื จากบคุ คลภายนอกเปน็ เครอ่ื งนา� ไป) แล.

๖. ทรงหา้ มบัญญัติเพ่ิมหรือตดั ทอนสงิ่ ท่บี ัญญัตไิ ว้

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๙๐/๗๐.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษทุ งั้ หลาย จกั ไมบ่ ญั ญตั สิ งิ่ ทไี่ มเ่ คยบญั ญตั ิ จกั
ไมเ่ พกิ ถอนสงิ่ ทบ่ี ญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ จกั สมาทานศกึ ษาในสกิ ขาบททบี่ ญั ญตั ไิ ว้
แลว้ อยา่ งเครง่ ครดั อยเู่ พยี งใด ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้
ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนนั้ .

๗. ส�านึกเสมอว่าตนเองเปน็ เพียงผู้เดินตามพระองคเ์ ท่านนั้
ถงึ แม้จะเปน็ อรหันตผ์ ู้เลศิ ทางปัญญากต็ าม

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๒/๑๒๖.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ไดท้ า� มรรคทยี่ งั
ไมเ่ กดิ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ใี ครรใู้ หม้ คี นรู้ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ี
ใครกลา่ วใหเ้ ปน็ มรรคทก่ี ลา่ วกนั แลว้ ตถาคตเปน็ ผรู้ มู้ รรค (มคคฺ ญญฺ )ู เปน็
ผรู้ แู้ จง้ มรรค (มคคฺ วทิ )ู เปน็ ผฉู้ ลาดในมรรค (มคคฺ โกวโิ ท). ภิกษุทั้งหลาย !
สว่ นสาวกทงั้ หลายในกาลน ้ี เปน็ ผเู้ ดนิ ตามมรรค (มคคฺ านคุ า) เปน็ ผตู้ ามมา
ในภายหลงั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! นแ้ี ล เปน็ ความผดิ แผกแตกตา่ งกนั เปน็ ความมงุ่ หมาย
ทแ่ี ตกตา่ งกนั เปน็ เครอื่ งกระทา� ใหแ้ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งตถาคตผอู้ รหนั ต-
สัมมาสมั พุทธะ กบั ภิกษผุ ้ปู ัญญาวมิ ตุ ต.ิ

๘. ตรัสไวว้ า่ ให้ทรงจ�าบทพยัญชนะและค�าอธิบายอยา่ งถูกตอ้ ง
พร้อมขยนั ถา่ ยทอดบอกสอนกันตอ่ ไป

-บาลี จตุกกฺ . อ.ํ ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.

ภิกษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น ้ี เลา่ เรยี นสตู รอนั ถอื กนั
มาถกู ดว้ ยบทพยญั ชนะทใี่ ชก้ นั ถกู ความหมายแหง่ บทพยญั ชนะทใ่ี ชก้ นั
กถ็ กู ยอ่ มมนี ยั อนั ถกู ตอ้ งเชน่ นน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นเี่ ปน็ มลู กรณที หี่ นงึ่
ซงึ่ ทา� ใหพ้ ระสทั ธรรมตงั้ อยไู่ ดไ้ มเ่ ลอะเลอื นจนเสอ่ื มสญู ไป...

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พวกภกิ ษเุ หลา่ ใด เปน็ พหสุ ตู คลอ่ งแคลว่ ในหลกั
พระพทุ ธวจน ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า (แมบ่ ท) พวกภกิ ษเุ หลา่ นนั้
เอาใจใส ่ บอกสอน เนอ้ื ความแหง่ สตู รทงั้ หลายแกค่ นอน่ื ๆ เมอื่ ทา่ นเหลา่ นน้ั
ลว่ งลบั ไป สตู รทง้ั หลาย กไ็ มข่ าดผเู้ ปน็ มลู ราก (อาจารย)์ มที อ่ี าศยั สบื กนั ไป.
ภิกษุท้ังหลาย ! น่ีเป็น มูลกรณีท่ีสาม ซ่ึงท�าให้พระสัทธรรมต้ังอยู่ได้
ไมเ่ ลอะเลอื นจนเสอ่ื มสญู ไป...

*** ในที่นี้ยกมา ๒ นัย จาก ๔ นัย ของมูลเหตุส่ีประการ ที่ท�าให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้
ไม่เลอะเลือนจนเส่ือมสูญไป

๙. ทรงบอกวิธีแกไ้ ขความผิดเพ้ยี นในคา� สอน

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖.

๑. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ผมู้ อี ายุ ! ขา้ พเจา้
ไดส้ ดบั รบั มาเฉพาะพระพกั ตรพ์ ระผมู้ พี ระภาควา่ “นเ้ี ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั
นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”...

๒. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอ่ื โนน้ มี
สงฆอ์ ยพู่ รอ้ มดว้ ยพระเถระ พรอ้ มดว้ ยปาโมกข์ ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะ
หนา้ สงฆน์ นั้ วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”...

๓. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นกี้ ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอื่ โนน้ มี
ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยจู่ า� นวนมาก เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั
ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระเหลา่ นน้ั วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม
นเี้ ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”...

๔. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอ่ื โนน้ มี
ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยรู่ ปู หนง่ึ เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั
ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระรปู นน้ั วา่ “นเ้ี ปน็ ธรรม
นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเ้ี ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”...

เธอทง้ั หลายยงั ไมพ่ งึ ชนื่ ชม ยงั ไมพ่ งึ คดั คา้ นคา� กลา่ วของผนู้ น้ั พงึ เรยี น
บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั ใหด้ ี แลว้ พงึ สอบสวนลงในพระสตู ร เทยี บเคยี ง
ดใู นวนิ ยั

ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ไม่ได้ เทียบเข้าใน
วินัยก็ไม่ได้ พึงลงสันนิษฐานว่า “น้ีมิใช่พระด�ารัสของพระผู้มีพระภาค
พระองคน์ นั้ แนน่ อน และภกิ ษนุ รี้ บั มาผดิ ” เธอทงั้ หลาย พงึ ทง้ิ คา� นนั้ เสยี

ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นนั้ สอบลงในสตู รกไ็ ด ้ เทยี บเขา้ ในวนิ ยั
กไ็ ด ้ พงึ ลงสนั นษิ ฐานวา่ “นเ้ี ปน็ พระดา� รสั ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ นั้
แนน่ อน และภกิ ษนุ นั้ รบั มาดว้ ยด”ี เธอทงั้ หลาย พงึ จา� มหาปเทส... นไี้ ว.้

๑๐. ทรงตรสั แกพ่ ระอานนท ์
ให้ใชธ้ รรมวนิ ยั ท่ีตรสั ไวเ้ ป็นศาสดาแทนตอ่ ไป

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๗๘/๑๔๑.
-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๑๗/๗๔๐.

อานนท์ ! ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างน้ีว่า ‘ธรรมวินัยของ
พวกเรามีพระศาสดาล่วงลับไปเสียแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา’ ดังนี้.
อานนท์ ! พวกเธออยา่ คิดอย่างนนั้ . อานนท์ ! ธรรมก็ดี วนิ ัยก็ดี ทเ่ี รา
แสดงแล้ว บญั ญัติแลว้ แก่พวกเธอท้ังหลาย ธรรมวนิ ัยน้ัน จกั เป็น
ศาสดาของพวกเธอทง้ั หลาย โดยกาลลว่ งไปแหง่ เรา.

อานนท์ ! ในกาลบดั นกี้ ด็ ี ในกาลลว่ งไปแหง่ เรากด็ ี ใครกต็ าม จกั
ตอ้ งมตี นเปน็ ประทปี มตี นเปน็ สรณะ ไมเ่ อาสงิ่ อน่ื เปน็ สรณะ มธี รรมเปน็
ประทปี มธี รรมเปน็ สรณะ ไมเ่ อาส่งิ อืน่ เป็นสรณะ เปน็ อย.ู่ อานนท ์ !
ภิกษพุ วกใด เปน็ ผ้ใู ครใ่ นสกิ ขา ภิกษพุ วกน้ัน จกั เปน็ ผอู้ ยู่ในสถานะ
อนั เลิศทส่ี ดุ แล.

อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรน้ี มีในยุคแห่งบุรุษใด
บุรุษน้ันชื่อว่า เป็นบรุ ุษคนสดุ ทา้ ยแห่งบรุ ษุ ท้ังหลาย... เราขอกลา่ วยา้� กะ
เธอว่า... เธอท้งั หลายอยา่ เปน็ บรุ ุษคนสุดท้ายของเราเลย.

เธอทั้งหลายอยา่ เปน็
บุรษุ คนสดุ ท้าย
ของเราเลย

-บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.



พุทธวจน-หมวดธรรม

19

พทุ ธวจน-ปฎ ก

วิทยุวัดนาปาพง

• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๗ รชั กาลท ่ี ๙

พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕

๑) หลกั ฐานสมยั พทุ ธกาล

การใช้ พุทธวจน ที่มีความหมายถึงคำาสอนของ
พระพทุ ธเจา้ มมี าตงั้ แตใ่ นสมยั พทุ ธกาล ดงั ปรากฏหลกั ฐาน
ในพระวินัยปิฎก ว่าพระศาสดาให้เรียนพุทธวจน
(ภาพท่ี ๑.๑ และภาพท่ี ๑.๒)

ภาพท ่ี ๑.๑ ค�ำ อธบิ �ยภ�พ : ขอ้ ความสว่ นหนง่ึ จากพระไตรปฎิ ก ฉบบั ร.ศ. ๑๑๒
(จปร.อกั ษรสยาม) หนา้ ๖๔ ซง่ึ พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบบั หลวง พ.ศ. ๒๕๒๕
เลม่ ท่ี ๗ พระวนิ ยั ปฎิ ก จลุ วรรค ภาค ๒ หนา้ ๔๕ ไดแ้ ปลเปน็ ภาษาไทยไวด้ งั น้ี

[๑๘๐] ... ดูกรภกิ ษทุ ้ังหลาย ภกิ ษุไมพ่ งึ ยกพทุ ธวจนะข้ึนโดยภาษา
สันสกฤต รูปใดยกข้ึน ต้องอาบัติทุกกฏ. ดูกรภิกษุท้ังหลาย เร�อนุญ�ตให้ 
เล�่ เรยี นพุทธวจนะตามภาษาเดิม.

ทม่ี า :
พระไตรปฎิ ก ฉบบั ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) พระวนิ ยปฏิ ก
จลุ ล์ วคั ค์ เลม่ ๒ หนา้ ๖๔

ภาพท ่ี ๑.๒

คำ�อธบิ �ยภ�พ :
คาำ แปลเปน็ ภาษาไทย
ของภาพท่ี ๑.๑ จาก
หนังสือ สารานุกรม
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า
ประมวลจาก
พระนิพนธ์ สมเด็จ
พ ร ะ ม ห า ส ม ณ เ จ้ า
กรมพระยาวชริ ญาณ-
วโรรส

ทม่ี า :
หนังสือ สารานกุ รมพระพุทธศาสนา ประมวลจากพระนพิ นธ์
สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส หนา้ ๖๙๖

• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙

พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗

๒) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๑

พุทธวจนะ มีปรากฏในหนังสือพงษาวดาร
กรงุ ศรอี ยธุ ยา ภาษามคธ แล คาำ แปล ซง่ึ แตง่ เปน็ ภาษามคธ
เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตเิ มอ่ื สงั คายนาในรชั กาลท ่ี ๑ เปน็ หนงั สอื
๗ ผูก ต้นฉบบั มีอย่ใู นวัดพระแก้ว กรงุ พนมเปญ ประเทศ
กมั พชู า แปลเปน็ ภาษาไทยโดยพระยาพจนสนุ ทร คาำ นาำ ของ
หนงั สอื เลม่ นี้ เปน็ พระนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ
กรมพระยาดาำ รงราชานภุ าพ (ภาพที่ ๒.๑ และภาพที่ ๒.๒)

ภาพท ่ี ๒.๑

ค�ำ อธิบ�ยภ�พ : ขอ้ ความส่วนหน่ึงจากหนังสือ พงษาวดาร
กรงุ ศรอี ยุธยา ภาษามคธ แล คำาแปล หนา้ ๑

ภาพท ่ี ๒.๒

คำ�อธิบ�ยภ�พ : ข้อความส่วนหนึ่ง
จากหนงั สอื พงษาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ภาษามคธ
แล คาำ แปล หนา้ ๒

ทม่ี า :
หนังสือ พงษาวดารกรงุ ศรีอยุธยา ภาษามคธ แล คาำ แปล

• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙

พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗

๓) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๔

พทุ ธวจน มปี รากฏในหนงั สอื พระคาถาสรรเสรญิ
พระธรรมวนิ ยั พระราชนพิ นธใ์ นรชั กาลท ่ี ๔ (ภาพท่ี ๓.๑)
และปรากฏในหนังสือ ประชุมพระราชนิพนธ์ภาษาบาลี
ในรชั กาลท ่ี ๔ ภาค ๒ (ภาพท่ี ๓.๒ และภาพท่ี ๓.๓)

ภาพท ่ี ๓.๑
ทม่ี า :
หนงั สอื พระคาถาสรรเสรญิ พระธรรมวนิ ยั พระราชนพิ นธ์ ในรชั กาลท่ี ๔
ทรงแปลเปน็ ภาษาไทยโดย สมเดจ็ พระสงั ฆราช วดั ราชประดษิ ฐ หนา้ ๒๕

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
รชั กาลท่ี ๔

ภาพท ่ี ๓.๒ ภาพท ่ี ๓.๓

ทม่ี า :
หนงั สอื ประชมุ พระราชนพิ นธภ์ าษาบาลี ในรชั กาลท่ี ๔ ภาค ๒
หนา้ ๑๘๐ และหนา้ ๑๘๓

• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙

พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗

๔) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๕

พทุ ธวจน มปี รากฏในหนงั สอื พระราชวจิ ารณ ์ เทยี บ
ลทั ธพิ ระพทุ ธศาสนาหนิ ยานกบั มหายาน พระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์ (ภาพท่ี ๔.๑),
ปรากฏในหนังสือ พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีไปมากับ สมเด็จ
พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส (ภาพท่ี ๔.๒
และภาพท่ี ๔.๓) และปรากฏในหนังสือ พระราชดำารัส
ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ต้ังแต่
พ.ศ. ๒๔๑๗ ถึง พ.ศ. ๒๔๕๓) จัดทำาโดย มูลนิธิสมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดา (ภาพที่ ๔.๔)

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้
รชั กาลท่ี ๕ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส

ภาพท ่ี ๔.๑
ทม่ี า :  
หนงั สอื พระราชวจิ ารณ์ เทยี บลทั ธพิ ระพทุ ธศาสนาหนิ ยานกบั มหายาน
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์ หนา้ ๑๘

ภาพท ่ี ๔.๒ ภาพท ่ี ๔.๓

ทม่ี า : 
หนงั สอื พระราชหตั ถเลขา พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมไี ปมากบั
สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส หนา้ ๑๐๒ และ ๑๐๙


Click to View FlipBook Version