The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2020-04-15 21:24:04

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

พระอัครสาวก ๓ องค์ คือซ้ายขวาเป็นพระโมคคัลลานะพระสารีบุตร
วดั นม้ี ีพเิ ศษตรงกลางมีพระอานนท์พทุ ธอปุ ฏั ฐาก

เบอ้ื งหลงั เปน็ จติ รกรรมเขาพระสเุ มรุ และไลจ่ ากดา้ นทศิ ตะวนั ตก
เฉยี งเหนือเป็นภาพวาดทศชาติ เรยี งล�ำดับ แตข่ า้ พเจ้าดไู ดไ้ ม่เต็มตานกั
มีกรอบกระจกพุทธประวัติสวยงามมาก ที่วัดพระเชตุพนฯ มีแบบนี้
แต่อยู่สูงไปหน่อย ดูได้ไม่ถนัดตา ส่วนที่วัดระฆังกรอบภาพก�ำลังงาม
พอตา แต่ท่ีดูได้ไม่ถนัดตา เพราะเขามีพิธีภายใน ผู้คนก็มาก ได้เรียน
ถามว่า ฝมี อื ใครวาด ใชพ่ ระอาจารย์นาครเึ ปลา่ ?

ทา่ นเจา้ คณุ ประจวบ คนบา้ นลาวอ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
บอกวา่ ฝมี อื พระอาจารยน์ าคอยทู่ ตี่ ำ� หนกั แดงทเ่ี ดยี ว สว่ นทภ่ี ายในโบสถน์ ี้
ท่านดูแลอย่างดีย่ิง แต่คนวาดจ�ำชื่อไม่ได้จะช่ือหลวงวิจิตร ข้าพเจ้า
บอกยิ้มๆ ว่าคงไมใ่ ชห่ ลวงวิจติ รวาทการเป็นแน่เพราะเปน็ นกั ประพนั ธ์
แต่อาจจะชอื่ พระพิจติ รอะไรสักอย่าง คงไปค้นช่ือในภายหลงั ไดไ้ มย่ าก

เพราะคนุ้ เคยกนั กบั ทา่ น เคยพดู คยุ กนั มากอ่ น เมอ่ื อาทติ ยก์ อ่ น
ก็ยังน่ังคุยท่ีวัดปราสาททอง ในวันพระราชทานเพลิงศพพระอาจารย์
สุนทร สุขเถื่อน (๒๔๕๘-๒๕๕๙) ซ่ึงในวันนั้นข้าพเจ้าจ�ำชื่อเจ้าภาพ
ท่ีแผ่นกระดานได้คนหน่ึงช่ือ “นางเล็ก สุขเถื่อน” ว่าจะสอบถามว่า
เป็นใคร? พอดีไม่ได้เจอญาติพ่ีน้องของพระอาจารย์สุนทรเลยไม่ได้
สอบถามใคร

เข้าไปศาลาหน้าพระอุโบสถ ไปกราบไหว้รูปหล่อ สมเด็จ
พระพฒุ าจารย์ (ม.จ.ทัด เสนีวงศ์) ซึง่ เคยเดนิ ทางไปจงั หวัดสพุ รรณบุรี
ในสมัย ร.๕ และ สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ม.ร.ว.เจรญิ อิศรางกรู )
สว่ นตรงกลางคอื รูปหลอ่ ของสมเด็จโต (๒๓๓๑-๒๔๑๕)

ไดพ้ บกบั ทา่ นเจา้ คณุ พระโสภณกาญจนาภรณ์ (ทอมสนั ต์ ป.ธ.๔)
วัดไชยชุมพลชนะสงคราม เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี คุยกันได้

อนุทนิ ประจ�ำวัน 49

๒-๓ ค�ำ ก็บอกลา ต่างคนต่างรีบกลับ ท่านบอกว่าจะไปประชุมท่ีวัด
พระแทน่ ดงรงั

พอดีติดต่อกับครูรัชนีกร เนตรอนงค์ (เกิดปีจอ ๒๕๐๑)
หลานของพระอาจารย์สุนทร สุขเถ่ือนได้ ก็สอบถามข้อมูลไป แต่ยัง
ไม่จุใจ วันนท้ี ี่วดั ราชบุรณะมีการแจกทุนการศกึ ษาแก่นักเรียนประจ�ำปี
โรงเรียนวัดพังม่วงเป็นสมาชิกถาวร น�ำเด็กนักเรียนมารับทุนทุกปี
ได้เจอครูแอ๊ว วังกรานต์ ครูจินตนา และครูอีกท่านหน่ึงนามสกุล
“กล้าหาญ” คนบ้านกล้วย จึงเขียนโน้ตฝากไป ให้ไปหาข้อมูลว่า
“พระอาจารยส์ นุ ทร สขุ เถอ่ื น อายุ ๑๐๐ กวา่ ปี ลกู พอ่ ฮ้ี แมเ่ ปา๋ สขุ เถอื่ น
มีน้องชายชือ่ นายเล็ก สขุ เถือ่ น อย่ทู ีห่ ้วยผี วา่ บ้านอยเู่ ลยวดั หว้ ยเจริญ
หนอ่ ยหนง่ึ ทางไปอกี วดั หนง่ึ ทา่ นบวชพระทว่ี ดั พงั มว่ ง ในราวปี ๒๔๗๘-
๙ หลวงพ่อสม วัดดอนบุปผารามเป็นพระอุปชั ฌาย์ มพี ระอาจารยท์ อง
เจ้าอาวาสวัดพังม่วง และพระมหาผล ภัททิโย ป.ธ.๖ (พระภัทรมุนี)
เป็นคู่สวด อยากทราบว่า นายเล็กแต่งกับใคร มีลูกชื่ออะไรบ้าง และ
อยากรวู้ า่ ปยู่ า่ ตายายของนายเลก็ ชอ่ื อะไร” ฝากใหค้ รโู รงเรยี นวดั พงั มว่ ง
เป็นการบา้ นไว้

หลังจากเสร็จพิธีมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนเรียบร้อยแล้ว
บา่ ย ๒ โมงเศษ ออกเดนิ ทางอกี ครง้ั ไปเยย่ี มทา่ นเจา้ คณุ พระราชคณุ าธาร
(ถาวร นาคะอนนั ต์) วดั พระเชตพุ นฯ ท่รี พ.ธนบรุ ี คร้งั แรกไปเยีย่ มเม่อื
๑๐ ม.ิ ย. คร้ังนี้ไปเยีย่ มเปน็ ครั้งที่ ๒ มองจากอาคาร ๔ เห็นวัดละครทำ�
ท�ำใหอ้ ยากส�ำรวจชมุ ชนวงั หลงั ....

เข้าไปวัดวิเศษการ (วัดหม่ืนรัก) ด้านเหนือวัดเป็นคูเมืองเก่า
มีอีกช่ือหนึ่งว่า “คลองบ้านขม้ิน” วัดน้ีเคยเป็นถิ่นพ�ำนักของพระเมธี
วรคณาจารย์ (เจ้าคุณพาว เมธโิ ก ป.ธ.๙ รปู แรกของจงั หวดั สพุ รรณบุร)ี

50 อนุทินประจำ� วนั

เป็นวดั ที่ชาวสพุ รรณ โดยเฉพาะชาวบางปลาม้า เข้ามาอยู่อาศยั ในอดีต
พระมหาอน้ ป.ธ.๖ ก็เปน็ ศษิ ย์ในส�ำนกั วัดนี้

ส�ำรวจ ๓ วัด คือ “วัดสีหไกรสร มีศาลาสมเด็จโต และรอย
พระพุทธบาท, เสียดายที่วัดละครท�ำ ก�ำแพงโบสถ์ใส่กุญแจล็อกไว้
มองดูโบสถ์และนึกถึงเจดีย์นอน ที่สมเด็จโตมาสร้างไว้ ซ่ึงถูกร้ือไป
ในภายหลงั วดั ละครทำ� เคยมพี ระอาจารยส์ งิ หเ์ ปน็ เจา้ อาวาส หลวงพอ่ สงิ ห์
เป็นคู่สวดของพระมหาเก็บ (พระวิบูลเมธาจารย์) ท่ีเคยมาพ�ำนักวัดนี้
ระยะหนงึ่ สมยั ก่อนหาวดั อยยู่ าก ตอ้ งมาอาศัยอยู่วัดเลก็ ๆ กอ่ นจะผัน
เข้าสวู่ ัดใหญ่ๆ เช่นวดั พระเชตุพนฯ

สมเดจ็ ปา๋ เคยเดนิ ทางมาเยย่ี มวดั ละครทำ� บอ่ ย บรรยายไวว้ า่ เปน็
ไร่สวนสมัยก่อน ผู้คนไม่ค่อยมี, ได้เข้าไปส�ำรวจวัดดงมูลเหล็กเป็น
คร้ังแรกในชีวิต เป็นวัดท่ีหลวงพ่อใหญ่ (พระธรรมมหาวีรานุวัตร)
(๒๔๖๙-๒๕๕๓) สมัยเป็นเด็กก่อนบวชเป็นสามเณร เคยมาอยู่อาศัย
เรยี นหนงั สอื ทโ่ี รงเรยี นวดั ดงมลู เหลก็ มาอยกู่ บั อาจารยจ์ นั ทร์ ทศั นพยคั ฆ,์
หลวงตาจันทร์ มาจ�ำพรรษาท่ีวัดสองพี่น้อง และมามรณภาพที่นี่
มภี าพยนตร์ที่นายรังสี ทัศนพยัคฆม์ าฉายให้ดู

ทำ� ไมจงึ อยากสำ� รวจชมุ ชนวงั หลงั เพราะนกึ ถงึ คำ� พดู ทชี่ าวทา้ ย
บ้านบอกว่า ยายพราม คนวังหลัง แถววัดละครท�ำ มีข้าทาสรับใช้
ใส่บาตรพระ ๓ วัด คือวัดละครท�ำ วัดดงมูลเหล็ก และอีกวัดหน่ึง...
ข้าพเจ้าจึงอยากรู้ว่าอีกวัดหน่ึงชื่อวัดอะไร ที่อยู่ในรัศมีใกล้เคียง
กอ่ นจะฟนั ธงวา่ คงเปน็ วดั ใดวดั หนงึ่ คอื วดั วเิ ศษการ วดั ระฆงั โฆสติ าราม
หรือวัดอัมพวา แต่ในสมัยก่อนแถวนี้เป็นเรือกสวนไร่นาเกือบท้ังนั้น
ไมม่ ีตกึ รามบ้านชอ่ งเชน่ นี้

อนทุ ินประจ�ำวัน 51

ยายพรามเปน็ ใคร.... เปน็ ยา่ ของนายขวญั ชยั ภมรพล อดตี ส.ส.
จังหวัดสุพรรณบุรี อดีตนายกเทศมนตรีเมอื งสุพรรณบรุ ี

นายขวัญชัย เป็นลูกของขุนภูดาษ (อ�่ำ ภมรพล) ทนายความ
กบั ยายผนั ภมรพล (เกดิ ๒๔๐๘), ยายผนั มพี ส่ี าวชอื่ ยายเผอ่ื น ศรที องเกดิ
(เกดิ ๒๔๐๖ ถงึ แกก่ รรม ๒๕๑๒ อายุ ๑๐๖ ป)ี ทง้ั ยายเผอื่ นและยายผนั
เปน็ ลกู ของยายพรามกับขนุ บ�ำรงุ รักษา, ขนุ บำ� รุงรกั ษา (อ�ำ่ ) ตอ่ มาชอ่ื
หลวงบ�ำรุงรักษา (อ�่ำ)

ยายพรามเป็นลูกของนายนดุ กับอำ� แดงเอ่ยี ม
ขุนบำ� รุงรักษา (อ�่ำ) เป็นลกู ของนายทองกับอำ� แดงเป่ยี ม
ยายเผอ่ื น ศรที องเกดิ (เกดิ ๒๔๐๖) เปน็ คนโต ดงั นนั้ ยายพราม
คนวังหลัง ต้องเกิดในราวปี ๒๓๘๕ (ราวๆ ยุคสุนทรภู่ไปสุพรรณ)
ขุนบ�ำรุงฯ เป็นคนรุ่นราวคราวเดียวกัน ส่วนพ่อแม่ของทั้งสองฝ่าย
คอื พวกนายนดุ -อำ� แดงเอยี่ ม, นายทอง-อำ� แดงเปย่ี ม คาดวา่ เกดิ ในราวๆ
ปี ๒๓๖๐
บรรพบุรุษท่ีสืบได้ เป็นรุ่นลูกรุ่นหลานของสมเด็จโต วัดระฆัง
โฆสิตาราม (เกิด ๒๓๓๑)

52 อนุทินประจ�ำวนั

อนุทนิ ประจำ� วนั

(๕๐๘ โคลงยวนพ่าย)

ยว น พ ่ า ย โ ค ล ง ดั้ น ฉ บั บ แ ป ล แ ล ะ ค ว า ม เ รี ย ง เ ร่ื อ ง ย ว น พ ่ า ย
ฉบับพระอุบาฬีคุณูปมาจารย์ (ปาน ประโยค ๗) จัดพิมพ ์
ในงานชาตกาล ๑๐๐ ปีของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (กมล กมโล
ประโยค ๓) เมอ่ื ปี ๒๕๕๐

พระอุบาฬีฯ (ปาน) เป็นอธิบดีสงฆ์วัดพระเชตุพนฯ องค์ที่ ๗
สว่ นพระอบุ าลฯี (กมล) (เขยี นตา่ งกนั ระหวา่ ง ฬ กบั ล รกั ษาของเดมิ ไว)้
เป็นอธิบดีสงฆ์ องค์ท่ี ๑๒ ปัจจุบันนี้นับเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนฯ
ชื่อ พระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ป.ธ.๙) เป็นอธิบดีสงฆ์ องค์ท่ี ๑๕
ท่านอยู่คณะ ก.๑๕ ที่ปรึกษาเจ้าคณะ ภาค ๑๕ เกี่ยวกับเลข ๑๕
เปน็ มงคล

ส่วนพระอุบาลีฯ (กมล) อธิบดีสงฆ์ องค์ท่ี ๑๒ อดีตเจ้าคณะ
ภาค ๑๒ เกีย่ วกบั เลข ๑๒ เป็นหลกั

อธบิ ดีสงฆ์วัดพระเชตพุ นฯ กอ่ นยคุ สมยั พระอุบาลีฯ (กมล) คอื
สมเด็จป๋า หรือสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
องค์ท่ี ๑๗ (ปนุ่ ปณุ ฺณสิรมิ หาเถร) เปน็ อธบิ ดีสงฆ์ รปู ที่ ๑๑

ขออธิบายค�ำว่า “ยวน” ก่อน นักปราชญ์อธิบายว่า มาจาก
ค�ำว่า “โยนก” คือกลุ่มชนหน่ึงในทางเชียงใหม่ เชียงแสน ทางเหนือ
นั่นแหละ นกึ ถงึ คำ� ว่า “โยนกนคร” ไวก้ ็แลว้ กัน วันดีคนื ดี ก ทา้ ยค�ำ

อนทุ ินประจำ� วนั 53

หายไป เหลอื คำ� วา่ “โยน” จะเรยี กวา่ พวกโยนกด็ กู ะไรอยู่ ทา่ นเลยเอา
สระโอ เปน็ สระอุ แลว้ เอา อุ เป็น อว คงเคยไดย้ นิ สูตรคณู ว่า เอา อุ
เปน็ โอ เอา โอ เป็น อว (ทำ� ไมตอ้ งอธบิ ายเอาอุเป็นโอ เอาโอเปน็ อว
จะบอกว่า เอาสระโอข้างหนา้ เป็น อว ตรงกลาง จะไม่งา่ ยกว่าหรือ?)
จาก “โยน” มาเป็น “ยุน” และจาก “ยุน” มาเปน็ “ยวน”

การออกเสียงพอดีไปตรงกับ “ญวน” ที่เป็นชนอีกชาติหน่ึง
หมายถึงชนชาวเวียดนาม บางคนว่าเป็นศัพท์ดูหม่ินเหยียดหยาม
มีหนังสือเล่มหน่ึงช่ือ “พงศาวดารญวน” เป็นหลักฐาน ยืนยันว่า
มีชนกลุ่มน้ี อีกช่ือหนึ่งคืออานาม หรืออนัม ดังท่ีมาเป็นนิกายของ
พระญวนเรียกว่า อนัมนกิ ายในปจั จบุ นั มแี ห่งเดียวในโลกน้ี

แต่ตามหลกั ภาษา การอ่านออกเสียงระหว่าง ญ กบั ย แตกตา่ ง
กัน เช่น ญ ต้องออกเสียงออกจมูก เดี๋ยวนี้ออกเสียงเหมือนกันหมด
ที่จรงิ หย ญ ย ออกเสียงตา่ งกันทางภาษาศาสตร์ คนไม่รูภ้ าษาศาสตร์
อย่ามาเถียงเลย ถ้าจะเถียงให้เถียงว่า ท ทหารอดทน กับ ธ ธง
ออกเสียงต่างกันไหม? ค ควาย กับ ฆ ระฆัง เขาก็ออกเสียงต่างกัน
เรอ่ื งการออกเสยี งนต้ี อ้ งยกใหช้ นชาวเขมรหรอื ขอม กมั พชู า ทอ่ี อกเสยี ง
อักษรตัว ร ชดั และออกเสียง โฆสะ กบั อโฆสะ ชดั เจน

ยวนพ่าย ก็คือพวกคนทางเหนือพ่ายแพ้ในการศึกสงคราม
ถ้าใช้ค�ำว่า “แพ้” อย่างเดียว โบราณบอกว่า “ชนะ” ในค�ำว่า
“แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร” ค�ำโบราณที่หมายถึงแพ้คือ “พ่าย”
คือพ่ายแพน้ ัน่ เอง

เอาล่ะ พอให้รู้ว่าหนังสือเล่มนี้ว่าด้วยเรื่องอะไร อยากรู้เรื่อง
ก็ไปหาอ่านเอง แต่ท่ีจะเขียนในวันน้ี คือ ประวัติเกี่ยวกับอธิบดีสงฆ์
วดั โพธ์ิ

54 อนุทนิ ประจ�ำวนั

เดิมสงวนลิขสิทธ์ิค�ำว่า “อธิบดีสงฆ์” ใช้ส�ำหรับวัดมหาธาตุฯ
ทา่ พระจนั ทรว์ ดั เดยี ว ตอ้ งเปน็ วดั ทเี่ ปน็ แหลง่ ความรคู้ อื เปน็ วทิ ยาลยั ดว้ ย
พอดวี ดั มหาธาตฯุ ไมไ่ ดไ้ ปจดลขิ สทิ ธไิ์ ว้ จะมาโมเมวา่ เปน็ ของวดั ตนเอง
วดั เดียวกไ็ ม่ได้ วดั พระเชตุพนฯ ในฐานะเป็นมหาวิทยาลัยแหล่งความรู้
สรรพวิทยาต่างๆ มีจารึก มีความทรงจ�ำของโลก มีหลักฐานว่าเจดีย์
พระพนรตั นน์ น้ั ทา่ นใชค้ �ำว่า “อธิบด”ี เชน่ กัน เรียกวา่ ใชม้ าตัง้ แตอ่ ดีต
อธิบดสี งฆว์ ดั พระเชตพุ นฯ องค์ท่ี ๑ แล้ว ดงั นั้น จงึ ใชค้ ำ� ว่า อธิบดีสงฆ์
วัดพระเชตุพนฯ ได้เช่นกัน มิใช่เป็นการประดิษฐ์ถ้อยค�ำแข่งขันกัน
และมหี ลกั ฐานประกอบพอฟังไดใ้ นราชการ

อธิบดีสงฆ์ก็คือเจ้าอาวาสน่ันเอง พูดอยู่ได้ตั้งนาน ทุกวัด
ล้วนมีเจ้าอาวาสท้ังน้ัน ที่ไม่มีเพราะยังไม่แต่งต้ังอย่างเป็นทางการ
หรอื องคป์ ระกอบยงั ไมค่ รบถว้ น แตท่ า่ นมงุ่ หมายเอาวดั ใหญๆ่ ชนดิ เอกอุ
ที่เป็นแหล่งสรรพวทิ ยาการตา่ งๆ จึงใชค้ �ำว่า อธบิ ดสี งฆไ์ ด้

เขา้ เร่อื งสักที ขอเกริน่ น�ำถงึ ทา่ นพระอบุ าฬีฯ (ปาน) (๒๓๗๑ -
๒๔๔๗ อายุ ๗๗ ปี) เดิมสังกัดอยู่วัดราชบุรณะฯ เป็นเปรียญ
ในรชั กาลท่ี ๓ ตามประวตั จิ ะเขยี นวา่ “พระเทพมนุ ี (ปาน) เปน็ เปรยี ญ
อยวู่ ดั ราชบรุ ณะฯ” สอบไดป้ ระโยค ๓ (๒๓๘๘) อปุ สมบทเมอ่ื ปี ๒๓๙๒
มีสมเด็จพระสังฆราช นาค วัดราชบุรณะฯ เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านมี
สมณศกั ด์ติ ามล�ำดับ และเคยไปอยู่วัดมหรรณพาราม บั้นปลายไปเป็น
อธบิ ดสี งฆว์ ดั พระเชตพุ นฯ ตอนมรณภาพนนั้ “มเี งนิ แคห่ กสลงึ เทา่ นน้ั ”

เห็นไหมว่า วัดราชบุรณะฯ จะเขียนเป็น วัดราชบูรณะฯ ก็ได้
เคยเจริญรุ่งเรืองมาก่อน มีสมเด็จพระสังฆราชมิใช่พระองค์เดียว
เพราะยังมีสมเด็จพระสังฆราช มี อีกพระองค์หน่ึง และเคยเป็น
แหล่งสรรพวิทยาการมาก่อน ขนาดสุนทรภู่ยังเคยมาอยู่จ�ำพรรษา

อนทุ ินประจ�ำวนั 55

ก่อนจะย้ายนิวาสสถานไปอยู่วัดเทพธิดาราม และบริบทวรรคบน
ยังบอกว่า เป็นวัดท่ีมีพระเคร่งพระธรรมวินัย แต่เป็นพระสายจับเงิน
เพราะปรากฏในบันทึกว่า “ตอนมรณภาพมีเงินแค่หกสลงึ เอง”

กาลเวลาผ่านไป จากปี ๒๔๔๗ มีอธิบดีสงฆ์วัดพระเชตุพนฯ
จนถงึ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (กมล กมโล ประโยค ๓) (๒๔๕๐-๒๕๒๑)
เกดิ ในตระกลู “เครือรัตน์” ตรงกบั วนั จันทรท์ ี่ ๘ ก.ค. ๒๔๕๐ ปีมะแม
ณ บ้านบางแก้ว หมู่ ๒ ต.โพธิ์สระ อ.เมือง จ.อ่างทอง เป็นบุตรของ
นายบว๊ ย นางหนุ่ เครอื รตั น,์ มพี น่ี อ้ งดว้ ยกนั ๓ รปู /คน คอื (๑) นายทอง
เครอื รตั น์ (๒) พระอุบาลฯี (กมล) (๓) เดก็ หญิง (ถงึ แกก่ รรมแตย่ งั เยาว์)

สมณศักด์ิ พระครูปลัดสุวฒั นโพธิคณุ ฐานานกุ รมในพระอบุ าลี
คุณูปมาจารย์ (เผ่ือน) (๒๔๘๓), พระครูปลัดสัมพิพัฒนสุตาจารย์
ฐานานกุ รมในสมเดจ็ พระวนั รตั (เผอ่ื น) (๒๔๘๘), พระวเิ ชยี รธรรมคณุ าธาร
(๒๔๙๐), พระราชาคณะชนั้ ราชในราชทนิ นามเดมิ (๒๔๙๔), พระเทพสธุ ี
(๒๕๐๔), พระธรรมเสนานี (๒๕๐๙), พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (๒๕๑๖)

งานปกครอง รองเจ้าคณะภาค ๑๒ (๒๕๐๗), เจา้ คณะภาค ๑๒
(๒๕๐๘-๒๕๒๐), อธบิ ดีสงฆว์ ัดพระเชตุพนฯ องคท์ ่ี ๑๒ (๒๕๑๖)

งานสาธารณูปการ เป็นผู้อ�ำนวยการในการบูรณะปฏิสังขรณ์
เสนาสนะและถาวรวัตถุ พร้อมทงั้ ปูชนียวัตถุ (๒๔๘๔-๒๕๑๖)

พระราชธรรมสุนทร (ทองใบ) เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๒
ได้ท�ำงานรับใช้สนองงานคณะสงฆ์เป็นเวลากว่า ๒๐ ปี ได้เขียนถึง
หลวงพ่อพระอุบาลคี ณุ ปู มาจารย์ (กมล กมโล ประโยค ๓) ว่าทำ� งาน
ในด้านการก่อสร้างมาเป็นเวลานานราว ๖๐ ปีเศษ ว่า “คณะศิษย ์
ได้ทราบมาว่าเม่ือเข้ามารับงานในด้านก่อสร้าง สมัยเม่ือสมเด็จ
พระสงั ฆราช (ป๋า) นนั้ ทางวัดมเี งนิ อยู่เพยี ง ๖๐ บาท จะท�ำอะไร

56 อนทุ นิ ประจ�ำวัน

ก็ท�ำไม่ได้ เจดีย์รายรอบท่ัวๆ ไปก็ทรุดโทรม ลานวัดทั่วๆ ไปใน
เขตพทุ ธาวาสก็รกรงุ รงั ...”

จึงด�ำริว่า จะขอเก็บเงินค่าผ่านประตูจากชาวต่างประเทศ
ทเี่ ดนิ ทางมาเทยี่ วชมวดั พระเดชพระคณุ กไ็ ปกราบเรยี นทา่ นเจา้ ประคณุ
สมเด็จพระสังฆราช (ปา๋ ) สมยั เมื่อเปน็ สมเด็จพระวนั รัต, สมเดจ็ ฯ (ป๋า)
ก็เห็นดีดว้ ย พระเดชพระคุณกเ็ ริ่มด�ำเนินการเก็บคา่ ผา่ นประตูครงั้ แรก
คนละ ๓.๐๐, ๕.๐๐, ๑๐.๐๐ บาทเรือ่ ยมา...

อนุทินประจำ� วัน 57



อนุทินประจำ� วัน

(๕๐๙ จากท่วี า่ การอำ� เภอบางใหญ่
ถึงวัดเขาพระฯ อู่ทอง)

ท่ีวา่ การอำ� เภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบรุ ี เดิมไมใ่ ชอ่ ยูท่ เี่ ทศบาล
ตำ� บลบางเสาธง สถานทตี่ รงนเ้ี ปน็ ทใ่ี หม่ เกา่ วา่ ตงั้ อยแู่ ถววดั คงคา
วา่ ยงั มที ว่ี า่ การไปรษณยี โ์ ทรเลขเปน็ หลกั ฐานอยู่ แตข่ า้ พเจา้ ไมเ่ คยไปดู
อยากมาดูท่ีว่าการอ�ำเภอบางใหญ่ จากการสอบถามบ้านพี่สาวของ
พระมหาอดุ ม อรรถศาสตร์ศรี ป.ธ.๖ วดั พระเชตุพนฯ ว่ายา้ ยจากบา้ น
ลาดบัวหลวงมาอยู่ที่บางใหญ่ซิตี้ในราวปี ๒๕๔๐ ท่ีว่าการอ�ำเภอ
บางใหญ่มีแล้ว และมีหน่วยงานราชการต่างๆ เข้ามาอยู่ก่อนแล้ว
สภาพถนนสมัยนั้นยงั เปน็ ๒ เลน รถวง่ิ สวนไปมา และบอกวา่ ถึงยุค
นายบรรหาร ศลิ ปอาชา นายกรฐั มนตรี คนท่ี ๒๑ สภาพถนนก็เปลีย่ น
ไปแล้ว

ขา้ พเจา้ บอกวา่ สภาพถนนบางบวั ทองวงิ่ เขา้ เสน้ อำ� เภอสองพนี่ อ้ ง
นา่ จะใช้การไดแ้ ลว้ ชว่ งยคุ ฉลอง ๒๐๐ ปีกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ และในราวปี
๒๕๓๑ มีรถว่ิงเส้นบางบวั ทอง-สพุ รรณบรุ ีไดแ้ ลว้ เพราะมีคมนาคมถงึ
วัดป่าเลไลยก์ ถงึ จะเป็นเส้นทางขรุๆ ขระๆ ก็ตาม

มาเป็นหัวหน้าสวดมนต์ฉันเพลท่ีบ้านพ่ีสาวพระมหาอุดม
นับได้เป็นปีที่ ๔ ท่านท�ำบุญอุทิศให้ชวดดี อรรถศาสตร์ศรี, ก๋งปี-
ย่าทองสุข แซ่ลี้ (ต่อมา ก๋งปี แซ่ลี้ เปลี่ยนมาใช้นามสกุลของทวดดี

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 59

อรรถศาสตรศ์ รี), พ่อสมจิตร-แมส่ งั วาลย์ อรรถศาสตร์ศรีแล้ว, ยังทำ� ให้
ครอู าจารยท์ ที่ า่ นเคารพนบั ถอื เชน่ พระครไู พโรจนส์ งั ฆาราม คนเพชรบรุ ,ี
พระครูอดุ มสังวร (พระมหาอุดม พฒุ เกดิ พนั ธุ)์ คนพงั ม่วง ศรีประจันต์
เปน็ ต้น

ทอ้ งของแมส่ งั วาลย์ เหลือนา้ อยู่คนหน่งึ ทบ่ี า้ นมีรูปบรรพบุรษุ
ตง้ั และแขวนไว้ มกี ง๋ ปี แซล่ ,้ี ยา่ ทองสขุ อรรถศาสตรศ์ ร,ี ยายเพย้ี น ยนิ ดพี ธิ
ส่วนรูปภาพของตาเปล่ง ยินดีพิธไม่มี ซึ่งล้วนเป็นคนลาดบัวหลวง
เส้นทางค่อนไปทางบางบาลเกอื บทง้ั นนั้ ท่านเล่าวา่ ก๋งไปซอื้ ที่ ๑๐ ไร่
ท่ีคลองขลุง จังหวัดก�ำแพงเพชร แม่สังวาลย์ อายุแค่ ๕๒ ปีเอง
กลบั ไปเยยี่ มบา้ นแลว้ เสยี ชวี ติ ทน่ี น่ั หลงั จากไปดมู หรสพกลบั มานอนตาย
ทีบ่ า้ นไปเฉยๆ ชวี ติ คนไมแ่ น่นอนจริงๆ

ยังพูดคุยกันว่า คนบ้านเราที่ว่าดุแล้ว ไปเจอคนทางคลองขลุง
ก�ำแพงเพชร คนทางนน้ั ดุกว่าบ้านเรา เพราะขา้ พเจา้ เคยไปมาเม่ือราว
ปี ๒๕๒๐ จ�ำได้ว่าข้ามแม่น้�ำปิงไปท่ีงานศพของบ้านหนึ่ง ในงานศพ
เจา้ ภาพยงั ถอื ปนื ลกู ซอง บอกวา่ เผอ่ื มฝี า่ ยตรงขา้ มเขา้ มารบกวน เรยี กวา่
ในงานตายกย็ งั พรอ้ มทจี่ ะตายได้ ขา้ พเจา้ จงึ บอกวา่ คนก�ำแพงเพชรดกุ วา่
หรอื มสี ภาพสงั คมท่ดี ุกว่าถนิ่ ฐานบา้ นเกดิ ของข้าพเจา้

เมอ่ื วานนี้ ได้คยุ กบั นักศึกษาหญิงคนหน่งึ ทต่ี กึ กวี เหวยี นระวี
ชอ่ื สปนั งา ปยิ กาญจน์ อายุ ๒๑ ปี คนอำ� เภอเมอื ง สรุ าษฎรธ์ านี เปน็ ไกด์
ภาษาอังกฤษ บอกว่าเรียนหัดพูดกับลูกพี่ลูกน้องต้ังแต่อายุ ๑๐ ขวบ
ปจั จุบันเป็นนกั ศึกษานานาชาติที่นครปฐม บอกว่า เธอมเี ชอื้ จีน แต่ไม่รู้
วา่ แซอ่ ะไร แตผ่ วิ คลำ้� ขา้ พเจา้ บอกวา่ สงสยั จะเปน็ จนี ฮกเกยี้ นมากกวา่
เพราะคนทางใตส้ ว่ นใหญจ่ ะเปน็ ฮกเกย้ี น เธอบอกวา่ นามสกลุ พระราชทาน
จงึ อยากรวู้ า่ มตี น้ เคา้ มาอยา่ งไร ทองสพุ รรณ กบั ทองสรุ าษฎรจ์ ะตา่ งกนั
อยา่ งไร

60 อนทุ นิ ประจำ� วัน

ไปคน้ มาพบนามสกลุ หนงึ่ ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั ของเธอวา่ “ปยิ ะกาญจนะ
มหาดเลก็ ยนิ่ กรมชาวท่ี บดิ าชอ่ื หลวงโกศลพพิ ธิ (เปยี ) ปชู่ อ่ื ขนุ โกศล
สุวรรณพิพิธ (ทอง)” อยู่ใกล้ๆ กับนามสกุลนี้คือ “ปิณฑะสิริ”
ซึ่งในสุพรรณมีใช้นามสกุลนี้ แต่อาจจะเพี้ยนออกไปนิดหน่อย คัมภีร์
บอกว่า “ปิณฑะสิริ รองอ�ำมาตย์ต่าน ปลัดขวา อ�ำเภอบางปลา
(ปจั จุบนั อ�ำเภอบางเลน กอ่ นโน้นๆๆๆ อำ� เภอบางไผ่นาถ) จงั หวดั
นครปฐม ปชู่ ่อื พุ่ม ทวดช่อื นม่ิ ”

ระหว่างฉันเพลกับพระวัดโพธ์ิ ข้าพเจ้าพยายามสอบถาม
และจดจ�ำช่ือพระสงฆ์ ๑๔ รูปที่เดินทางไปสู่ส�ำนักวาติกันกับสมเด็จ
พระวนั รตั (ป๋า) ผู้แทนคณะสงฆจ์ ากประเทศไทย เมื่อเดอื นพฤษภาคม-
มถิ ุนายน ๒๕๑๕ ว่ามีใครบ้าง โดยเฉพาะจากวัดโพธิ์ ทชี่ อื่ ตกหลน่ ไป
จากวนั กอ่ นทพ่ี ระมหาอดุ มจดใหม้ า คอื พระครสู นุ ทรโฆสติ (พระครแู จม่ )
ซ่ึงวงสนทนาบอกว่า เป็นพระครูอยู่ต้ังนานไม่เป็นไร เป็นเจ้าคุณท่ี
พระศีลจารพิพัฒน์ (แจ่ม) ได้ไม่เท่าไรก็มรณภาพลง เป็นอีกผู้หน่ึง
ท่ีเดนิ ทางไปส่สู ำ� นกั นิกสันและวาตกิ ันด้วย

ยงั สอบถามถงึ ทา่ นเจ้าคณุ พระราชประสิทธิวิมล (เจริญ เหมโก
นามสกุล “สมรูป”) เดิมเป็นพระอุดรคณารักษ์ (เจริญ) คนบางเค็ม
อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี เพราะข้าพเจ้าจ�ำได้ว่า เคยมีคนเล่าให้ฟังว่า
เคยมาเป็นสามเณรอยู่วัดลานคา บางปลาม้า สุพรรณบุรีระยะหนึ่ง
ต่อมาญาติพ่ีน้องย้ายไปอยู่ อ.บางระก�ำ จ.พิษณุโลก เพราะท่าน
เดินทางไปเย่ียม จึงก�ำลังสอบประวัติท่านเจ้าคุณเจริญ หาหนังสือ
งานศพดู เพราะสงสัยว่าเก่ียวข้องกับสุพรรณบุรี สันนิษฐานว่าจะเป็น
ไทยทรงดำ� คอื เปน็ โซง่ นนั่ เอง ยงิ่ เปน็ คนบางเคม็ บา้ นเดยี วกบั อาจารยห์ วนั่
อู่บางเค็ม อาจารยข์ องข้าพเจ้าด้วย

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 61

จาก อ.บางใหญ่ จ.นนทบรุ ี ตรงไปวดั เขาพระศรสี รรเพชญาราม
อ�ำเภออู่ทอง ในงานพระราชทานเพลิงศพพระครูวรบรรพตพิทักษ์
(หลวงพอ่ ผุด หรอื หลวงพ่อไพรัตน์ เขมจาโร นามสกลุ “ล่านาลาว”)
(๒๔๗๒-๒๕๖๑ อายุ ๘๙ ปี) เข้าเส้นทางถนนวินยานุโยค (หลวงพ่อ
บุญ รักนอ้ ย) เข้าไปห่มดองรดั อกท่ีมณฑปหลวงพ่อพระครสู ทั ธานสุ ารี
(หลวงพ่อเปี้ยน ชาววังไพร วัดจรเข้สามพัน) และพระครูวินยานุโยค
(หลวงพอ่ บญุ รกั นอ้ ย วดั ยางยแ่ี ส) ขา้ พเจา้ สอบถามวา่ หลวงพอ่ เปย้ี น
มาเกี่ยวข้องอย่างไร ส่วนหลวงพ่อบุญทราบว่ามาสร้างถนนเข้า
วดั เขาพระฯ แห่งน้ี

ผสู้ ดั ทดั กรณเี ปน็ ญาตโิ ยมทนี่ ง่ั อยแู่ ถวนนั้ บอกวา่ หลวงพอ่ เปย้ี น
มาเป็นเจ้าอาวาสหรือรักษาการเจ้าอาวาสพักหนึ่ง และหลวงพ่อบุญ
ก็มา ดังน้ัน จึงมีรูปหล่อของหลวงพ่อท้ังสอง ส่วนหลวงพ่อผุดท่ีเพิ่ง
มรณภาพนน้ั มาทหี ลัง

ขึ้นไปดูศาลเจ้าจักรนารายณ์ นึกว่าสมัยก่อนศาสนาพราหมณ์
เข้ามาเจริญที่แถบเขาพระน้ีก่อน จึงมีพระนารายณ์ หลักฐานทาง
โบราณคดีเก่าอยู่ที่น่ี ที่เพดานปากศาลเจ้าเขียนช่ือศาลและวันเดือน
ท่ีว่า ๑๙.๗.๒๕๑๗ นั่นคือโรงศาลเจ้าสร้างเมื่อวันท่ี ๑๙ กรกฎาคม
พ.ศ.๒๕๑๗ เดมิ ศาลจะอยตู่ รงนห้ี รอื ทไ่ี หน ขา้ พเจา้ ไมท่ ราบ แตท่ อี่ ยาก
ทราบคอื “ตน้ แจง” วา่ มีกตี่ ้น ทเี่ บื้องหนา้ ศาลเจา้ ๑ ตน้ มีโยมบอกวา่
ที่หน้ากุฏหิ ลวงพอ่ ผดุ มอี ีกหน่งึ ต้น

ข้าพเจ้าถามหาต้นแจง เพราะทราบมาว่า หลวงตากบ
(มรณภาพในราว ๒๕๒๐ ที่วัดสองพ่ีน้อง) เคยมาอยู่ท่ีใต้ต้นแจง
ขนาดขุนสุพรรณธานี (เวียน วัฏฏานนท์) มาไล่ให้ออกจากท่ี ก็ยังฝืน
ค�ำสั่งนายอ�ำเภอได้ หลวงตากบเป็นเพื่อนสหายธรรมกับหลวงพ่อเก็บ

62 อนทุ ินประจ�ำวัน

(พระวิบูลเมธาจารย์) อย่างไรไม่รู้ และน่าจะรู้จักกับหลวงตาด�ำ
สุนทรวิภาต ยงั มีต้นแจงอีกต้นทแี่ ถววดั ช่องลมโน้น

พยายามจะเข้าภายในกฏุ ิสุนทรวภิ าต ทเี่ ป็นทรงไทยสองหลังคู่
หนา้ กฏุ เิ ขยี นวา่ “กฏุ สิ นุ ทรวภิ าต พระดำ� สนุ ทฺ โร สรา้ งอทุ ศิ ใหน้ ายธงชยั
สนุ ทรวภิ าต ๒๕๔๑” หลวงตาดำ� หรอื พระดำ� รปู นี้ ชอ่ื จรงิ คอื พระประชดั
สนุ ทรวภิ าต เป็นพีน่ ้องกับนายธงชยั สุนทรวิภาต, นายธงชยั คงเสียชีวติ
ก่อน และบ้านหลังนี้น่าจะเก่ียวข้องกับบ้านลูกหลานนายอ�ำเภอชิต
สนุ ทรวิภาตเป็นแน่ ขา้ พเจ้าคดิ ไป...

เดินดูรายชื่อเจ้าภาพกุฏิเสนาสนะบ้าง ดูหรีดงานศพนี้บ้าง
พบช่อื เช่น “ดวงแข ลา่ นาลาว, เสมอ ล่านาลาว” นามสกุลเดยี วกบั
หลวงพ่อผุด ล่านาลาว เป็นลูกหลานของนายเผือด นางกุ ล่านาลาว
น่ันเอง, พบชื่อ “นางยุพิน วัฏฏานนท์” ตระกูล “ว่องไวพาณิชย์”
หรีดของก�ำนันเสนีย์ (ก�ำนันอู๋)-นางสมพร บริสุทธิ์, นพดล มาตรศรี,
ผู้ใหญ่วิรัตน์-นางอ�ำพร นาคสัมพันธุ์ บ้านปากเกว่า, พ.อ.ประเสริฐ-
นางลลิตา หมวดเชียงคะ เปน็ ตน้

ได้พบกับอาจารย์สมปอง พ่ึงบุญ ณ อยุธยา (อายุ ๘๑ ปี),
นางสมนกึ พงึ่ บญุ ณ อยธุ ยา (อายุ ๘๐ ป)ี และนางมด สดี า (อายุ ๙๐ ป,ี
คนไผ่ขาด ว่าเดิมเป็น แซ่คู) ซึ่งวันก่อนข้าพเจ้าก็ถามหาเพราะไม่เจอ
ในวนั กอ่ นโน้น มาเจอจงึ ถามวา่ “นันทิยา พ่งึ บญุ ณ อยุธยา” เป็นลกู
ใคร ซ่ึงได้รับค�ำตอบว่า เป็นลูกสาวของอาจารย์อนันต์-นางจงจิต
พงึ่ บญุ ณ อยุธยา ทำ� งานบริษัทประกันอะไรพวกน้ี

ข้าพเจ้าเพ่ิงมาร่วมพิธีงานศพเป็นครั้งแรกท่ีวัดเขาพระฯ
มพี ระธรรมพทุ ธมิ งคล (๒๔๗๗-ปจั จบุ นั ) หรอื หลวงพอ่ เลก็ เปน็ ประธาน
ฝา่ ยสงฆ์ ซง่ึ ขา้ พเจา้ ไดส้ อบถามวา่ ตน้ แจงหลวงตากบพกั อยเู่ ปน็ ตน้ ไหน

อนุทนิ ประจำ� วนั 63

หลวงพอ่ เลก็ บอกวา่ ทป่ี ากทางใหญเ่ ขา้ ถนนวนิ ยานโุ ยค เขาโคน่ ทง้ิ ไปแลว้ ,
หลวงพ่อเล็กขณะเป็นสามเณรสอิ้ง อาสน์สถิตย์ บวชหางนาคที่
วัดช่องลม และในพรรษาแรกมาจ�ำพรรษาและสอบนักธรรมชั้นตรี
ได้ท่ีวัดเขาพระ เป็นเจ้าภาพเมรุราคา ๑ แสน ๒ หมื่นบาท เป็น
เมรุหัวเวียง อยุธยา มีความผูกพันกับวัดเขาพระฯ มาเป็นเวลากว่า
๖๐ ปี

พระเทพมหาเจติยาจารย์ (ชัยวัฒน์ ป.ธ.๙) วัดพระปฐมเจดีย์
เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม บอกว่า ตอนนั้นอยู่ที่วัดปราสาททอง
เป็นสามเณรเคยมาพักและปฏิบัติธรรมท่ีวัดเขาพระแห่งน้ีในราว
ปี ๒๕๐๐-๑ ขณะยงั เปน็ สามเณรขวญั เมอื ง ซงึ่ รกรากเปน็ คนหนองสทงิ
อทู่ อง บอกวา่ สมยั ก่อนไมม่ ีสภาพอยา่ งนี้ เป็นปา่ ไมค่ ่อยมีบา้ นคนอยู่
มีหลวงตาช่วงที่จ�ำได้ และมีโยมประยูรอีกคนหน่ึง สมัยเป็นสามเณร
ทา่ นท่องเที่ยวไปตามปา่ เขาเหลา่ น้ี

ฝ่ายบ้านเมืองมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด นายพิภพ บุญธรรม
เปน็ ประธาน เหน็ กำ� นนั วริ ชั วฒั นไกร อายคุ ง ๘๐ กวา่ ปแี ลว้ มารว่ มงาน
ไวอ้ าลยั หลวงพอ่ ผดุ ล่านาลาว ส่งดวงวญิ ญาณข้ึนสู่สรวงสวรรค์

64 อนุทนิ ประจำ� วัน

อนทุ ินประจำ� วนั

(๕๑๐ ถงึ แค่วัดชโี พน ยงั ไม่ถึงลาดนำ้� เค็ม)

เจา้ ประคณุ พระธรรมปญั ญาบดี (พีร์ สชุ าโต ป.ธ.๕ /ผ่องสุภาพ
นามสกุลของย่า “น้อยถนอม”) (เกดิ ปมี ะเมยี ๒๔๗๓) อธิบดีสงฆ์
วดั มหาธาตฯุ รกรากเปน็ คนไผล่ อ้ ม วดั แค อ.ผกั ไห่ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
ในความเข้าใจของข้าพเจ้า ว่าท่านเจ้าประคุณเป็นคนลาดน�้ำเค็ม
ต.ไผ่ล้อม อ.ผกั ไห่ ท่ีอยู่แถววดั ฤาชัย อ.ผักไห)่

วา่ เจ้าคุณลาดน�ำ้ เค็ม มอี ยา่ งน้อย ๗ รูป คอื
(๑) พระธรรมวโรดม (โชติ ป.ธ.๘) วดั พระปฐมเจดยี ์
(๒) พระโพธิวงศาจารย์ (แผ้ว ป.ธ.๓) วัดอ่างทอง เจ้าคณะ
จงั หวดั อ่างทอง
(๓) พระวิสุทธาธิบดี (สง่า ปภสฺสโร/พระมหาแช/สง่า
เรยี นมนัศ ป.ธ.๘) วดั พระเชตุพนฯ
(๔) พระอมรเมธาจารย์ (ไคล ป.ธ.๙) วัดสทุ ศั นเทพวราราม
(๕) พระเทพเมธี (ปลื้ม เพ่งเขม้น ป.ธ.๕) วัดมหาธาตุฯ,
หลวงพอ่ พีร์เรยี กวา่ “หลวงอา” เพราะแมข่ องเจ้าคุณปลม้ื เปน็ น้องสาว
ของปู่ทา่ น)
(๖) พระวบิ ลู เมธาจารย์ (อมุ่ พวงประดู่ ป.ธ.๓) วดั ปราสาททอง
(-๔ ม.ค.๒๔๘๒)
(๗) พระธรรมปัญญาบดี (พีร์ สุชาโต ป.ธ.๕) อธิบดีสงฆ์
วัดมหาธาตฯุ ผบู้ อกขา้ พเจ้า

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 65

นับเป็นเวลานานที่ได้ยิน “คลองลาดชะโด” และวัดชีโพน
เพราะเจา้ คุณอ่มุ (พระวบิ ลู เมธาจารย)์ ประโยค ๓ เคยอยวู่ ดั ชโี พนมา
ก่อน จึงอยากไปหารกรากว่ามีรูปภาพหรือประวัติอะไรเพิ่มเติมใหม่
เคยบอกให้พระรูปหนึ่งคนบางปลาม้าแต่มีญาติอยู่แถวนั้นไปสืบ
นามสกลุ เจา้ คณุ อมุ่ มาไดช้ อ่ื นามสกลุ “พวงประด”ู่ เปน็ ลกู ชายคนเดยี ว
คนอน่ื เปน็ หญิงหมด

ขา้ พเจา้ ยังไม่เคยไปวัดฤาชัย และวดั แคก็ยังไม่เคยไป วัดชโี พน
เป็นเป้าหมายแรกที่อยากไปดูก่อน เคยผ่านไปครั้งหรือสองครั้ง
จำ� ไมไ่ ด้ชดั ว่าอยตู่ รงไหน

เม่ืออินทรีย์แก่กล้า และกาลเวลา จังหวะของชีวิตมาถึง
จึงอยากเข้าไปชมวัดชีโพน ต.ผักไห่ให้เต็มตา จากปากทางถนน
เส้นป่าโมก-โคกโคเฒ่า เล้ียวเข้าไปอีก ๕ กม. พอข้ามสะพานคลอง
ลาดชะโด กเ็ ลยี้ วไปทางด้านแมน่ ำ้� นอ้ ย เขา้ ทางเส้นทางหลงั วดั ทอ่ี ยู่ทศิ
ตะวันตก ตามสูตรโบราณคือวัดสมัยก่อนหันหน้าไปทางแม่น�้ำ ต่อมา
หน้าวัดกลายเป็นหลังวัด หลังวัดกลายเป็นหน้าวัด ดังนั้น จึงเห็น
ความไม่เจริญทางด้านหลังวัดที่เป็นปากทางเข้าไป เส้นทางเล็กๆ
รถวิ่งไปได้

วัดชีโพน ทางด้านทิศใต้ต้ังอยู่ชิดติดกับสุเหร่าช่ือว่ามัสยิด
ยะมาอะตลุ้ มสุ ลมิ ทางดา้ นเหนอื เปน็ คลองลาดชะโด และทศิ ตะวนั ออก
คอื แมน่ �ำ้ น้อย

เข้าทางหลังวัด เดินดูท่ีหลังโบสถ์เก่า รูปทรงสวยงามก่อน
เห็นอัฐิท่ีบรรจุที่ก�ำแพงโบสถ์แรกสุด เป็นตระกูล “ธูปประสิทธ์ิ”
หวนคิดถึงศึกษาธิการอ�ำเภอสองพ่ีน้องในสมัยอ�ำเภอเก่าท่ีปากคอก
ช่ือนายไสว ธปู ประสทิ ธ์ิ ทม่ี าเป็นเขยคนสองพ่ีนอ้ ง แสดงถึงการตดิ ต่อ

66 อนุทนิ ประจำ� วัน

และเก่ียวพนั กนั ไมม่ ากกน็ อ้ ย
อาคารโรงเรียนสามัคคีนฤมิตร ขนาดใหญ่และรูปทรงสวยงาม

ปล่อยทิ้งร้างตามกาลเวลา ด้านฝั่งตรงข้ามแม่น�้ำน้อย มองเห็นวัดตึก
คชหิรัญ ในอดีตเคยมีเจ้าคณะอ�ำเภอผักไห่อยู่วัดนี้ ยังไม่เคยเข้าไปชม
แต่วัดท่ีเข้ามาชมในวันนี้เป็นวัดเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ในอดีต ที่มีนามปรากฏชื่อ พระราชปัญญามุนี (พระมหารัตน์ ป.ธ.๗)
ศษิ ยเ์ กา่ วดั มหาธาตฯุ ทา่ พระจนั ทร์ ซงึ่ ไมม่ ชี อ่ื ปรากฏอยใู่ นบญั ชรี ายชอื่
ทีข่ า้ พเจา้ มีโพยอยใู่ นมอื ว่าเปน็ เจา้ คณุ ลาดนำ�้ เคม็

เดิมช่ือพระมหารัตน์ กัณหะยูวะ ป.ธ.๗ เป็นพระร่วมสมัย
หรือจะเป็นศิษย์ในเจ้าคุณอุ่ม ประโยค ๓ (พระวิบูลเมธาจารย์)
อดีตเจา้ คณะจังหวดั สุพรรณบรุ รี ปู แรกที่มาจากอยธุ ยา อดตี เจา้ อาวาส
วัดปราสาททอง, พระมหารัตน์ได้รบั พระราชทานสมณศักดิเ์ ปน็ เจา้ คณุ
พระอรรถทัสสีสุทธิพงษ์ และสมณศักดิ์สุดท้ายคือ พระราชปัญญามุนี
วัดชโี พน นามสกลุ ของท่านเปน็ นามสกุลพระราชทานวา่ “กัณหะยูวะ”
แปลวา่ “นายข�ำนอ้ ย” (ขา้ พเจา้ แปลเอง ถูกครึง่ หน่งึ เพราะนึกวา่ ยวู ะ
คือ ยุวะ) แต่เม่ือเปิดคัมภีร์ตรวจทานดู ปรากฏว่า “กัณหะยูวะ
Kanhayu^va ขุนทิพบรรณาการ (ลด) ประจ�ำแผนกราโชประโภค
กระทรวงวงั ทวดช่อื หลวงญาณสทิ ธ์ิ (ขำ� ) ปู่ช่ือขนุ ช�ำนาญนาเวศ (อยู่)
23/12/17- มาจากช่ือ “พ่อข�ำ ปู่อยู่ (ยูวะ แปลว่า อยู่)”, ข้าพเจ้า
พบเชื้อสายบรรพบุรุษของท่าน แต่เดินตามหานามสกุล “พวงประดู่”
ไม่เจอ คงต้องไปหาท่ีวัดทางลาดน�้ำเค็มเสียแล้ว เพราะวัดนี้เป็นทาง
คลองลาดชะโด แตข่ า้ พเจา้ เคยไดร้ บั คำ� ยนื ยนั มาวา่ เจา้ คณุ อมุ่ พวงประดู่
เคยมาจ�ำพรรษาที่วัดชีโพน เดินท่ัววัดไม่เจอพระหรือโยมสักคน
ทีจ่ ะสอบถามขอ้ มูล

อนทุ ินประจำ� วัน 67

ศาลาท่าน�้ำเป็นศาลา “ประเสริฐ บุญสม” ถัดขึ้นเป็น
หมู่เสนาสนะ มีกุฏิฺพระราชปัญญามุนี ปิดห้ามบุคคลภายนอกเข้า
ดูแล้ว ภายในกุฏิน้ีน่าจะส�ำคัญไม่น้อย เดินดูศาลาน้อยที่มีรูปภาพ
ในหลวงรัชกาลตา่ งๆ มขี ้อความวา่ “ท่ีระลึกในงานผา้ ปา่ สหะพันธุ์วนั
ปยิ มหาราชานสุ รณ์ ของอำ� เภอผกั ไห่ พ.ศ.๒๔๙๘” อำ� เภอเสนาใหญค่ อื
อำ� เภอเสนาปัจจุบัน, อำ� เภอเสนากลางคืออ�ำเภอผกั ไห่ในปัจจุบนั ส่วน
อำ� เภอเสนานอ้ ยคืออ�ำเภอลาดบวั หลวง ตดิ กับอำ� เภอสองพนี่ อ้ ง ทาง
บา้ นของขา้ พเจา้

พบรูปภาพเจ้าคุณรัตน์ กัณหะยูวะ ใต้ภาพมีค�ำบรรยายว่า
“ท่ีระลึกทูลเกล้าฯ ถวายพระบรมธาตุ และพระพุทธรูปแด่พระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระราชนิ ี ของพระอรรถทสั สสี ทุ ธพิ งศ์
๒๘ กนั ยายน ๒๔๙๘”

ที่หน้ากุฏิด้านทิศตะวันตกหลังหน่ึง มีรูปภาพหลายภาพ เป็น
ภาพ “ท่ีระลึกในคณะประชุมพระคณาธิการตรวจประโยคธรรมและ
ธรรมศึกษาช้ันตรี-โท ประจ�ำปี ๒๕๐๑ ณ วัดชีโพน ๖-๗ มกราคม
๒๕๐๒” เป็นภาพอภินันทนาการจากร้านวัฒนศิลป อ.ผักไห่ ซ่ึงแกะ
รายชื่อบางส่วนมามีช่ือพระครูปลัดส�ำรวย น.ธ.เอก เลขานุการ
เจ้าคณะจังหวัด (ผู้ช่วย) ส่วนเจ้าคุณมีหลายรูป พระพุทธญาณมุนี
วดั สุทศั น์, พระสุวรรณวมิ ลศีล วัดสวุ รรณดาราราม, พระราชปัญญามนุ ี
วัดชีโพน ศึกษาธิการจังหวัด, พระโบราณคณิสสร วัดพนัญเชิง,
พระพจนโกศล วดั มณฑป, พระญาณไตรโลก วดั ชมุ พลฯ, พระสธุ วี รคณุ
วัดสุวรรณดาราราม, พระเขมเทพาจารย์ วัดหัวเวียง และท่ีอ่ืนเป็น
พระครูในเขตปกครองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

68 อนุทนิ ประจำ� วนั

มีภาพโรงเรียนวัดพนัญเชิง (ไตรรัตนนายก) ที่เสียหาย
เศษหนง่ึ ในสามสว่ น, ปา้ ยสรา้ งไว้ ร.ศ.๑๓๐ (พ.ศ.๒๔๕๔) ไม่แนใ่ จว่า
หมายถึงอะไร? และภาพพระนวกะเป็นอนุสรณ์พรรษาปี ๒๕๑๐,
๒๕๑๒ เปน็ ต้น

ท่ีน่าสนใจมากภาพหน่ึงคือภาพวันท่ี ๙ สิงหาคม ๒๔๗๑
เพราะข้าพเจ้าพยายามอ่านอักษรที่ภาพ อ่านได้ลางๆ มีตัวอักษรว่า
พระมหาอุ่ม และอ่านป้ายข้างหลังได้ว่าปี ๒๔๗๑ น่ันคือพระวิบูล
เมธาจารย์ ยงั เปน็ พระมหาอมุ่ อยนู่ ัน่ เอง

สรปุ วา่ ขา้ พเจา้ ถงึ แคล่ าดชะโด ยงั ไปไมถ่ งึ ลาดนำ้� เคม็ ใกลเ้ ขา้ มา
อกี นิดหนึง่ กระชดิ เขา้ ไปอีกหน่อย พอรูว้ ่าเสน้ ทางคลองลาดชะโดทล่ี ง
มาบรรจบกับแม่น้�ำน้อยเป็นอย่างไร ในระยะเส้นทางเรือและรถยนต์
เสน้ ตรงราว ๒๕ กม.

อนทุ นิ ประจำ� วนั 69



อนุทินประจ�ำวนั

(๕๑๑ เทพนี างงามเทศบาลอ�ำเภอสองพนี่ อ้ ง
คนตำ� บลบางเลน ทีล่ าลบั จากไป)

เมอ่ื ปที แี่ ลว้ วนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ทำ� บญุ อายวุ ฒั นมงคล
๘๔ ปี เป็นวันที่ดูท่าทางมีความสุขมากท่ีสุดวันหนึ่ง พิธีจัดที่
บา้ นชวู งษว์ ชิ ช หนองพนั กง อ.เมอื ง จ.สพุ รรณบรุ ี ขา้ พเจา้ ไปรว่ มพธิ ี
เจรญิ พระพทุ ธมนต์ฉนั เพลในวันนั้น

หลังจากนั้นก็พบท่ีน่ันท่ีน่ีบ้าง แต่ประปรายเต็มที เพราะดูจะ
ผลัดกันอาพาธ ไม่มหาชูคือท่านอดีตศึกษาฯ ชูพงศ์ ชูวงษ์วิชช ป่วย
กเ็ ป็นฝา่ ยยายพิมพาปว่ ย สลบั กนั ก็ตดิ ตามดูอาการมาตลอด

จ�ำได้ว่าเมื่อคุณประภาจิต เนลสัน (หรือท่ีเรียกว่า เอ้ือย)
มาคราวก่อน พบโดยบงั เอิญ ขณะเดินมาจากบา้ นขนุ ชา้ ง รถก�ำลงั เลยี้ ว
จะออกจากเขตสังฆาวาสออกไป ได้หยุดพูดคุยกัน ๒-๓ ค�ำ แต่จ�ำได้
แมน่ วา่ เอื้อยถวายปจั จยั มา ๑ พนั บาท ในการพบกันครัง้ หลงั สุด

ไปเยี่ยมยายพิมพา ที่โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช เมื่อวันท่ี
๓๐ หรอื ๓๑ พฤษภาคม หลงั วนั วสิ าขบชู า เมอ่ื ทราบวา่ กนิ อะไรกอ็ ยาก
จะอวกออกมา แวว่ ๆ ว่าติดเชือ้ อะไรแล้ว แตก่ เ็ หน็ ยังหวั ร่อคยุ ได้

ถัดมาอีก ๑๐ กว่าวัน เม่ือวันท่ี ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๑
ท่านพระครูศรีอรรถศาสก์ ชวนไปเย่ียมที่บ้านหนองพันกง บอกว่า
อยากจะมาตายท่ีบ้าน ก็ยังไม่อยากเช่ือ ย่ิงมาเจอหน้ากัน เห็นว่าซูบ

อนุทนิ ประจ�ำวัน 71

ผอมลง สอบถามว่า น้�ำหนักลดไป ๑๔ กิโลกรัม แต่ก็ยังคุยหัวร่อได้
ยังบอกว่า เม่ือวันก่อนยายเงาะ ออมสิน (บุญทอง) อายุ ๗๕ ปี
ลูกตาปิ๋ว-ยายปิ่น บุญทอง เสียชีวิตและเผาไปแล้ว ที่วัดบวรศิริธรรม
อาตมาไม่ได้ไปเหมือนกัน แต่ฝากปัจจัยและผ้าไตรไปร่วมท�ำบุญ
เพราะวนั นนั้ ตดิ งาน

ยงั บน่ วา่ “ยายเงาะตายแลว้ เหรอ อายนุ อ้ ยกวา่ โยมตงั้ หลายป”ี
มาเยี่ยมคนป่วย ไมค่ วรคยุ เร่ืองเศร้า จงึ หันไปคยุ กบั มหาชู สอบถามวา่
แม่ต่นุ งามขำ� (สขุ รักษ์) เป็นพี่น้องกบั ใครบา้ ง?

มหาชูก็ไล่ชื่อได้ไม่หมด ๘-๙ คน เป็นผู้หญิงเกือบทั้งนั้น
มีน้องชายของแม่ตุ่นคนเดียวชือ่ ตาไข่ สขุ รักษ์ อยู่ทางยา่ นศรปี ระจันต์
แม่น้�ำนั่น แต่ก็ขาดการติดต่อ ส่วนผู้หญิงท่ีเป็นพ่ีน้องกับแม่มีป้าเล็ก
(จะเรียกว่า ย่าเล็ก) พี่สาวแม่ตุ่น เป็นแม่ของเมืองมนต์ สมบัติเจริญ
ขา้ พเจา้ กย็ ังพดู วา่ ชอื่ เล็กแต่เป็นคนโต แปลกดี และไลเ่ รยี งชือ่ อ่นื มีนา้
เหนย่ี ง (ยา่ เหนย่ี ง) เปน็ แมข่ องนพพร เมอื งสพุ รรณ กค็ ยุ กนั ไปลกั ษณะน้ี
ในขณะเดียวกันนั้นพระครูศรีอรรถศาสก์ ยังได้พูดกับโยมพิมพาและ
อัดเทปบนั ทึกไว้ เพราะเหมือนจะทราบว่า อายคุ งอย่ไู ด้ไม่นาน

เมือ่ วันท่ี ๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๖๑ วนั พระราชทานเพลิงศพพระครู
วรบรรพตพิทกั ษ์ (๒๔๗๓-๒๕๖๑) ทวี่ ัดเขาพระ อทู่ อง ยังนึกว่าจะไป
หาดไี หม? แตเ่ ยน็ มากแลว้ และเมอ่ื วาน ไอเ้ ออ้ื ยยงั สง่ วดี ทิ ศั นถ์ วายเครอื่ ง
ลายครามใหห้ ลวงพ่อเล็ก (พระธรรมพุทธมิ งคล) ท่ีบา้ นหนองพนั กง ยัง
ไดย้ ินเสียงหลวงพ่อสวดมนตก์ บั พระมหาแมวทไี่ ปเยี่ยมดว้ ยกนั

พอเดินทางกลับถงึ วัดราชบุรณะ ไม่ก่นี าที มีขา่ วแจ้งมาแล้ววา่
ยายพมิ พา ชวู งษว์ ชิ ชเสยี ชวี ติ เมอ่ื กอ่ นทมุ่ หนงึ่ ขา่ วยนื ยนั มาจากหลายสาย
มพี ิธรี ดนำ้� ศพในวนั ท่ี ๒๕ มถิ นุ ายน เวลา ๑๖.๐๐ น.

72 อนทุ ินประจำ� วัน

เสรจ็ งานทวี่ งั นอ้ ย อยธุ ยาแลว้ บา่ ยจงึ เดนิ ทางตรงไปวดั อนิ ทรเ์ กษม
(วดั หนองหนิ ) วดั ของหลวงพอ่ แยม้ (พระครอู นิ ทเขมากร) ตอนทล่ี กู ชาย
ทร่ี กั ชื่อนายเอก เสียชวี ิต จมนำ�้ ตายกเ็ ผาวัดน้ี และวดั นี้เคยมาสบื ความ
เร่ืองประวัติหลวงพ่อหงส์ อดีตเจ้าอาวาสวัดภคินีนาถ เห็นปากทาง
เขยี นว่า ไปสวนสกั ทางน้กี ไ็ ดอ้ กี ๑๐ กม.

ทกั ทายคนบา้ นใกลแ้ ละคนบา้ นไกล ถามตาโฮม ทองเชอ้ื ลกู ชาย
ของผ้ใู หญ่ล้อม ทองเชื้อวา่ พอ่ มี ๒ เมยี ใชไ่ หม ชือ่ ย่าสาดคนหน่ึง และ
สงสัยว่าย่าท่ีเป็นแม่ของตาโทน ทองเชื้อเป็นคนหลวงพระบางหรือไร
เพราะฟังมาไม่ถนัด, ตาโฮมบอกว่า เมียน้อยของพ่อผู้ใหญ่ล้อม
ช่ือนางวอง คนดอนมะนาว เป็นแม่ตาโทน ส่วนคนท่ีว่ามาจาก
หลวงพระบางชอื่ ยายพดั ทเี่ ปน็ พีส่ ะใภข้ องตาพศิ คชเดช, ยายพัดแตง่
กับตาซัด คชเดช ว่าเคยไปหลวงพระบาง ไปรบอะไรก็ไม่รู้ ยายพัด
เปน็ ลูกตดิ มา มาต้ังแต่แบเบาะ พูดภาษาหลวงพระบางไมไ่ ด้ มาพูดโซง่
ได้ทบี่ ้านเรานี่

หายสงสัยเร่ืองยายพัด เชื้อสายหลวงพระบาง ก็มาถึง
หลวงตาพร้า มัง่ มี โยมบิดาของพระเทพปริยตั วิ งศ์ (เจ้าคุณพาย มัง่ มี)
(เกดิ ๓ ก.ค.๒๔๗๘) วดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ บา้ ง, เมอ่ื พบนางประไพ ปน่ิ ทอง
กส็ อบถามทนั ทวี า่ เปน็ ญาตกิ ันไหม นางประไพบอกว่าเปน็ ญาติกันทาง
“ปิน่ ทอง” นามสกุลคนโซ่งท้ังน้ัน และว่าหลวงตาพรา้ ม่งั มเี ป็นคนเล็ก
สดุ ในสายตระกูล “มั่งมี” สายน้ี

เสร็จจากเร่ืองตระกูล “ม่ังมี” ก็สอบถามนางประไพ ปิ่นทอง
อีกว่า เป็นญาติอย่างไรกับยายพิมพา ชูวงศ์วิชช (คชเดช) ลูกตาพิศ-
ยายคัว้ ะ คชเดช?

อนทุ ินประจำ� วัน 73

นางประไพ ปน่ิ ทอง บอกวา่ เปน็ ญาตทิ างยา่ ของพพี่ มิ พาชอ่ื อะไร
ไมร่ ู้? ขา้ พเจ้าบอกว่า ชอื่ ย่าเฉลยี ว คชเดช (แสงอรณุ ) เมียป่เู ฝ้า คชเดช
เปน็ พวกนามสกุล “แสงอรุณ” ซึง่ เขาสบื ตระกูลแลว้ วา่ เปน็ “สงิ เรอื ง”
มาใช้ “แสงอรุณ”

นางประไพบอกว่า ใช้นามสกุลต่างกันแล้ว ฉันเป็นรุ่นท่ี ๕
ที่ ๖ แลว้ มาจากเพชรบรุ ี จากหนองเลากอ่ น ที่จำ� ไดม้ ี ๗ คนพน่ี ้องกัน
มาจากหนองเลามาอยู่หนองปรง ท่ีฉันจ�ำได้มีชื่อตาหอนและตาแหน
อยู่หนองปรง ใช้นามสกุลว่า “ล้วนเมือง” และตาม่ัง ที่ไปอยู่ราชบุรี
ก็ใช้นามสกุลน้ีด้วย, ส่วนตาอาจกับตาเอ้ือม ไปอยู่เขาย้อย เพชรบุรี
ใช้นามสกุล “อาจเอื้อม”, ตาเซือกับตามี มาอยู่สุพรรณบุรี ตาเชือ
อยดู่ อนมะนาว และตามมี าอยบู่ างหมนั เจอถามวา่ มาจากไหนถา้ มาจาก
แหลง่ ก�ำเนิดเดียวกันน้ี ถอื วา่ เป็นญาตกิ ัน

นางประไพเป็นสาย “ปิ่นทอง-ล้วนเมือง” ลูกตาเล็ก-ยายทอง
ปิ่นทอง, ตาเล็ก ปิ่นทอง เป็นลูกของตาป้อม-ยายอ้ัว ปิ่นทอง,
สว่ นยายอัว้ เป็นลูกผหู้ ญงิ ของตามั่ง ลว้ นเมอื ง

นางพิมพา ชูวงษ์วิชช (เกิดปีระกา วันจันทร์ ๑๒ มิถุนายน
๒๔๗๖ ท่ีบ้านไผ่ช้างแล่น (ไผ่ซ้างแล่น (ลาว) หมายถึงลาดมะขาม,
ดอนลาว, โคกลอย) ต�ำบลบางเลน อำ� เภอสองพนี่ ้อง ถึงแก่กรรมปีจอ
วันอาทิตย์ที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ ณ บ้านหนองพันกง อ�ำเภอ
เมืองสุพรรณบุรี อดีตเทพีนางงามประจ�ำเทศบาลเมืองสองพี่น้อง
ในราวปี ๒๕๐๐

จบบทบาทของตนเองบนเวทีโลกอย่างสวยงาม และอย่าง
บรบิ รู ณ์ เหลือไว้แต่ความทรงจ�ำ

74 อนทุ นิ ประจำ� วัน

ตอนเดนิ ทางกลบั เขา้ กรงุ เทพมหานคร ไดป้ รกึ ษากบั ทา่ นพระครู
สุทธิกิจวิธาน (สะอาด แสงอรุณ) ว่าให้ไปค้นหาลายแทงตระกูล
“แสงอรณุ ” ทคี่ น้ พบเมอ่ื ปี ๒๕๕๙ บอกวา่ ถงึ เวลาไดร้ บั การเผยแพรแ่ ลว้
เพราะเปน็ เอกสารเบือ้ งต้นทส่ี บื สายโยงใยจากเพชรบรุ ี ถงึ จงั หวัดตา่ งๆ
เช่น สพุ รรณบรุ ี พิษณโุ ลก นครปฐม ราชบรุ ี เปน็ ต้น

อนุทนิ ประจำ� วนั 75



อนุทินประจำ� วนั

(๕๑๒ ยา่ นหัวเจรญิ กรงุ )

เคยสอบถามว่า ร้านฉายานรสิงห์อยทู่ ี่ไหน ในถนนเจริญกรุง มผี รู้ ู้
ระบุว่า อยู่เย้ืองกับศาลาเฉลิมกรุง ท่ีหัวถนนตีทอง ย่านแถวน ้ี
กำ� ลงั มสี ถานรี ถไฟใตด้ นิ ลกึ ๓๐ เมตร (ตกึ ๑๐ ชน้ั ) จดุ ศนู ยก์ ลาง
ของแฟชน่ั สมัยก่อน สถานีสามยอดก็ผุดข้ึนใช้งานสถาปัตย์ย้อนยุค
สมัย ร.๖

ตรงสี่แยกพาหุรัด หัวมุมตึกดิโอลด์สยาม เคยมีตราครุฑใหญ่
ช่ือร้านรตั นมาลา เปน็ สญั ลกั ษณ์ รถรางวง่ิ เสน้ นี้ ไปทางสีแ่ ยกบา้ นหม้อ
ภาพเกา่ ๆ ของคนย่านสามยอด ย่านบา้ นหม้อ

วันสุนทรภู่ ๒๖ มิถุนายน ตรงกับวันประสูติของสมเด็จ
พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี ๒๐ วัดราชบพิธ
(ประสูติปีเถาะ ๒๔๗๐) ที่ราชบุรี ข้าพเจ้าต้ังใจไปร่วมพิธีเจริญ
พระพุทธมนตถ์ วายเปน็ มุทติ าสักการะ

ได้เข้าไปน่ังเจริญพระพุทธมนต์ ต่อเบ้ืองพระพักตร์พระพุทธ
อังคีรส และพระพุทธนิรันตราย และต่อเบื้องพระพักตร์สังฆนายก
ประมุขสงฆ์ ทท่ี รงด�ำรง สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก

เสรจ็ จากพธิ แี ลว้ เดนิ ทอดนอ่ งปลอ่ ยอารมณ์ ภายในวดั ราชบพธิ
นึกถึงสามเณรชิต หรือนายชิต บุรทัต ที่เคยบวชอยู่ในวัดแห่งน้ี
ค้นดู เป็นนามสกุลพระราชทานให้แก่นายชิต ลูกมหาชู ปู่ช่ือป้อม

อนทุ นิ ประจำ� วัน 77

คำ� ว่า บรุ ะ แปลว่า ค่าย, ปอ้ ม และนึกถงึ ค�ำว่า “ทัต” แปลวา่ อะไร?
ภาษาบาลีแปลทัตว่า ให้, แต่ใครให้ และให้แก่ใคร ให้แก่นายชิต
หลานปู่ปอ้ ม มหาชหู ายไปไหน? ยังสงสยั

ก่อนจะหลงทิศทาง เปิดคัมภีร์ดูก่อนว่า “๓๐๖๕ บุรทัต
Puradat นายชิต ผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไทย ปู่ช่ือป้อม”
แปลกในใบพระราชทานนามสกลุ ไมม่ ชี ื่อพอ่ มหาชปู รากฏอยูจ่ ริงๆ

คงไมม่ ใี ครไม่รู้จกั หนังสือที่นายชิต บุรทตั ประพันธ์ช่อื สามัคคี
เภทค�ำฉันท์ ถือว่าเป็นสุดยอดประเภทฉันท์, เกร็ดประวัติบอกว่า
เคยไปอยู่วัดบวรนิเวศ และเคยมาเป็นครูอาศัยกับญาติท่ีโพธิ์พระยา
ศรปี ระจนั ต์ เกยี่ วขอ้ งกบั ญาตโิ ยมคนวดั วรจนั ทร์ และเกยี่ วกบั นามสกลุ
“จูฑะวิภาต” ซึง่ ขา้ พเจา้ แปลว่า “แจม่ น้อย”

นึกถงึ สามเณรชิต บรุ ทตั แลว้ ยังนึกถึงมหาปนุ่ จินดาอินทร์ ป.
๖ ชาวสองพ่ีน้อง ท่ีมาบวชอยวู่ ัดน้ี เป็นกรรมการช�ำระพระคัมภรี ข์ อง
มหามกุฏราชวิทยาลัย (ค�ำบอกเล่าว่าไว้อย่างนั้น) เดิมมหาปุ่นอยู่วัด
ปากน�้ำมาก่อน แล้วย้ายมาเข้าสังกัดวัดราชบพิธ อยู่กับสมเด็จพระ
สงั ฆราชเจ้า ต่อมาลาสิกขาออกไป ประกอบอาชพี หลายอย่าง

เข้าไปกราบไหว้พระภายในพระวิหาร แล้วไปชมอนุสาวรีย์
พระอัฐิของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวง
ชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (ปีมะแม ๑๖ ธ.ค.๒๔๐๒
ส้ินพระชนม์ ๒๕ ส.ค.๒๔๘๐) พระราชทานเพลิงพระศพ ณ เมรุ
สุสานหลวง วัดเทพศิรนิ ทราวาส ๒๑ ก.พ.๒๔๘๑

78 อนุทินประจำ� วัน

อนุทนิ ประจ�ำวัน

(๕๑๓ สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต, พุก, ศร.ี ..)
ณ วดั ไรข่ งิ )

วันเกดิ ทา่ นเจา้ คณุ พระเทพศาสนาภบิ าล (แยม้ อนิ ทรก์ รงุ เกา่ ป.ธ.๓)
เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ตรงกับวันท่ี
๒๗ มิถนุ ายน ๒๔๙๘ ปีมะแม ปีน้ตี รงกับวนั ข้นึ ๑๕ ค่�ำ เดือน ๘
(ปีอธิกมาส) ปฏิบัติตามโครงการ “ผู้ว่าพาเข้าวัด ประชารัฐร่วมใจ
รักษาศีล ๕” มีพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี ๖๓ ปี พระเทพศาสนาภิบาล
เพอ่ื สมทบทนุ สรา้ งหลงั คาคลมุ ลานอเนกประสงค์ โรงเรยี นวดั ไรข่ งิ วทิ ยา
ณ วนั พุธ ท่ี ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๑

วัดไร่ขิงยุคท่านเป็นเจ้าอาวาส น�ำพระสงฆ์ลงปาติโมกข์
แตเ่ ชา้ ตรใู่ นวนั นี้ สมยั หลวงพอ่ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (ปญั ญา ป.ธ.๖)
เป็นประเพณีเก่า แต่มาเปล่ียนในยุคเจ้าอาวาสรูปใหม่ เหมือนท่ี
วดั ไชยชมุ พลชนะสงคราม เวลาเทย่ี งวนั หลงั ฉนั เพลปบ๊ัุ กต็ รี ะฆงั ลงโบสถ์
ฟงั พระปาตโิ มกข์ป้บั ทีเดียว ไม่รอให้บ่ายคลอ้ ยหรือเวลาเยน็

นงั่ ฉันเช้ากบั พระเดชพระคุณพระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ป.ธ.๗)
เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคา และเจา้ คณะภาค ๗ ประธานโครงการศีลหา้
จึงปุจฉาวิสัชนาถึงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ศรี ประโยค ๘) ซ่ึงมีสุสาน
ฝังศพเป็นอัตลักษณ์พิเศษแห่งเดียวในโลกที่ด้านโรงเรียนวัดปทุมคงคา
ป้ายเปน็ ภาษาจีน จึงตรวจดวงชาตะวา่ เกิด ๒๓๕๗ มรณภาพปี ๒๔๓๗

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 79

อายุ ๘๑ ป,ี วา่ สมเดจ็ ฯ ศรี สง่ ตรงมาจากวดั บวรนเิ วศ มาอยวู่ ดั เกาะ
ก่อน แล้วเข้ามาเป็นเจ้าอาวาสวัดปทุมคงคา นั่นคือเกมการเมืองวัด
สังกัดธรรมยุตในยุคก่อนเข้ามาปกครองวัดฝ่ายมหานิกาย แต่ว่า
พระวัดปทุมคงคาก็หนักแน่นในนิกายของตน รักษาอัตลักษณ์ของตน
รอดพน้ มาได้

นอกจากมีสุสานฝังศพเป็นหลักฐาน แสดงว่าสมเด็จฯ ศรี
มเี ชอื้ สายคนจีน แต่จะแซ่อะไร ยังไม่ได้สืบ เป็นเจ้าคุณคร้ังแรกต้ังแต่
ปี ๒๓๙๔ และเข้ามาปกครองวัดปทุมคงคาก่ีปี ข้าพเจ้าไม่ทราบ
แต่มามรณภาพและฝังที่วัดปทุมคงคา ข้อน้ีแน่ชัด แต่จะมีพิธีกงเต็ก
ด้วยหรอื เปล่าไม่ทราบ

จึงถกกันว่าสมณศกั ดิ์ช่อื “สมเดจ็ พระพฒุ าจารย”์ เร่ิมจากไหน
มใี ครบา้ ง รปู แรกวา่ อยวู่ ดั บางหวา้ นอ้ ย (วดั อมรนิ ทราราม) หลงั รพ.ศริ ริ าช,
รปู ที่ ๕ คอื สมเด็จฯ โต วดั ระฆงั โฆสิตาราม, รูปที่ ๖ คอื สมเด็จฯ พกุ
วัดศาลาปูน อยุธยา ท่ีมีรูปเป็นบุรพาจารย์รูปหน่ึงที่วัดไร่ขิงแห่งนี้,
รูปท่ี ๗ คอื สมเดจ็ ฯ ศรี วดั ปทมุ คงคา และยังมหี มอ่ มเจ้าทดั วดั ระฆัง

ปัจจบุ ันนบั เป็นรูปท่ี ๒๒ คอื สมเด็จฯ สนิท ป.ธ.๙ วัดไตรมิตร
วทิ ยาราม เจ้าคณะใหญห่ นตะวนั ออก

พระเดชพระคุณพระพรหมเสนาบดี (พิม ป.ธ.๗ นามสกุล
บญุ รตั นาภรณ์ คนบ้านแพ้ว แต่ไปโตท่ีสุราษฎร์ธานี) บอกว่า สมเด็จ
พระพุฒาจารย์ (ศรี) ๘ ประโยค แต่ได้รับการเลื่อนเป็น ๙ ประโยค
เพราะความรู้สูงได้รับการรับรอง และระบุว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์
ช่ือนี้ ที่เป็นประโยค ๙ จริงๆ มีแค่ ๒ รูป คือสมเด็จพระพุฒาจารย์
(เกยี่ ว อุปเสโณ ป.ธ.๙) วดั สระเกศ และอีกรปู หน่งึ คือรูปปัจจบุ ันทเี่ ป็น
เจา้ คณะใหญ่ หนตะวนั ออก แตถ่ า้ นบั สมเดจ็ ฯ (ศร)ี ทไ่ี ดร้ บั การยกยอ่ ง

80 อนทุ นิ ประจำ� วนั

ในด้านความรกู้ ็ตอ้ งนับเป็น ๓ รปู จากจำ� นวน ๒๒ รูป
บนเส้นทางเดินทางกลับเข้ากรุงเทพมหานคร ข้าพเจ้าแวะ

ไปเย่ียมโยมโสภา เลียบทวี อีกชื่อหน่ึงท่ีเรียกคือยายซ้ิม ท่ีแถวหน้า
วัดท่าพูด ต�ำบลไร่ขิง เพ่ือสอบถามถึงประวัติระฆังวัดใหม่พิบูลย์ผล
ว่าใครเป็นเจ้าภาพสร้าง สร้างในราวปีใด ใครเป็นเจ้าอาวาส ได้ความ
ชดั ว่า จา่ แหยม สมใจเพง็ คนโพธิ์พระยา เป็นคนสรา้ ง พรอ้ มกับภรรยา
ชื่อยายเผือด คนลาดพลี ดังน้ัน จึงมีช่ือท่ีอุทิศให้บรรพบุรุษ
พ่อของจ่าแหยมชื่อนายล้น สมใจเพ็ง ไล่เรียงว่าตาล้นเป็นพี่น้อง
กับใครบ้าง เพ่ือสาวไปถึงหลวงพ่อพร้ิง เตียบฉายพันธุ์ ได้แต่
ไลพ่ นี่ อ้ งท้องเดียวกันมี (๑) ยายไปล่ สมใจเพง็ เป็นสาวโสดอย่ทู ี่บ้าน
แถวโพธิ์พระยา เสียชีวิตไปก่อนจ่าแหยม (๒) นายลบ สมใจเพ็ง
ยา้ ยไปอยทู่ างอทู่ อง (๓) ส.ต.อ. แหยม สมใจเพง็ เสยี ชวี ติ อายุ ๘๐ กวา่ ปี

อนุทินประจำ� วัน 81



อนุทินประจ�ำวัน

(๕๑๔ คัมภรี ์-ลายแทง สิงเรือง สิงลอ...)

เอกสารแจกเป็นธรรมบรรณาการ ที่ระลึกในงานฌาปนกิจศพ
คณุ แมพ่ มิ พา ชวู งษว์ ชิ ช (คชเดช) (๑๒ ม.ิ ย.๒๔๗๖ - ๒๔ ม.ิ ย.๒๕๖๑)
ณ วัดอินทร์เกษม (วัดหนองหิน) ต�ำบลตล่ิงชัน อ�ำเภอเมือง
จังหวัดสุพรรณบุรี

มีค�ำโปรยว่า สาแหรกตระกูล “สิงเรือง” ก่อนจะมาเป็น
“แสงอรณุ -คชเดช-อาจเออื้ ม-ล้วนเมือง-ทองเชือ้ -ปนิ่ ทอง ฯลฯ เปน็ ต้น
จดั ทำ� และรวบรวมครง้ั แรก โดยพระครสู วุ รรณภราดร (ทองพลู คชเดช)
(เกิดปชี วด ๒๔๖๗) ลูกพอ่ พศิ -แม่คว้ั ะ คชเดช, ป่เู ฝ้า-ย่าเฉลียว คชเดช
(แสงอรุณ) คนไผ่ช้างแล่น (ลาว) หรือบ้านลาดมะขาม-บ้านโคกลอย
ต�ำบลบางเลน อำ� เภอสองพนี่ ้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี

ข้อมูลแก้ไขเพิ่มเติม โปรดติดต่อ พระครูสุทธิกิจวิธาน
(สะอาด แสงอรุณ) วัดแกว้ ฟา้ ฯ เกียกกาย เขตดุสิต กรงุ เทพฯ

เอกสารชุดนี้ ได้รับความเอ้ือเฟื้อมาจากอาจารย์บุญธรรม
อาจเอื้อม ในปี ๒๕๕๙ มีโครงการจัดทำ� เปน็ เอกสารสมบูรณ์ตอ่ ไป

ต้นฉบับเดิมเป็นกระดาษยาว และเป็นฉบับพิมพ์ดีด ซึ่งยัง
ไม่เคยเห็น ท่านพระครูฯ สะอาดบอกว่า เดิมยาวกว่านี้ เพราะจ�ำได้
ในฐานะผู้ติดตามค้นหาสาแหรก เมื่อทราบข่าวว่ามีต้นฉบับท่ีอาจารย์
บญุ ธรรม อาจเอื้อม กด็ นั้ ดน้ ไปหาและได้ฉบบั ดังท่เี ห็นนี้มา

อนุทนิ ประจำ� วนั 83

มีร่องรอยของการแก้ไขเพิ่มเติม หากเพ่งพินิจพิเคราะห์ให้ดี
เชน่ ในเอกสารหนา้ แรกเขยี นวา่ “ประวตั ชิ าตภิ มู สิ บื เนอ่ื งมาจากนายลนั้
มีภรรยา ๓ คน” ชื่อนางวัง (ไม่มีบุตร), นางเฝือ (มีบุตร ๖ คน),
นางเมยี ง (มบี ตุ ร ๒ คน) รวมลกู ของนายลน้ั สงิ เรอื ง มบี ตุ รธดิ ารวม ๘ คน

เกอื บสอดคลอ้ งตรง ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ตก์ บั คำ� สมั ภาษณน์ างประไพ
ปิ่นทอง ต้นสายนามสกุล “ล้วนเมือง” บอกกล่าวว่ามีพี่น้อง ๗ คน
ชื่อตาแหน-ตาแหน อยู่หนองปรง ใช้นามสกุล “ล้วนเมือง”, ตามั่ง
ทไ่ี ปอยู่ด�ำเนนิ สะดวก สายของนางประไพกใ็ ช้ “ลว้ นเมอื ง”,

ในข้อ ๑.๔ นางเหลียว (ย่าเฉลียว) สิงเรือง หรือแสงอรุณ
อยู่ไผ่ช้างแล่น มีบุตร ๕ คน ชื่อนายซัด (+นางพัด), นายพัด,
นายพศิ (+นางควั้ ะ, +นางอิน), นายทิศ, นางสี

ข้าพเจ้าได้พบเจอลูกสาวของนายมั่น คชเดช ช่ือโยพิน
จุลศรี คชเดช (เกดิ ปี ๒๕๐๕) มาจากชลบุรี บอกวา่ เป็นลูกของพ่อมั่น
คชเดชกบั แม่ทองสขุ คนบางหมัน, ป่เู ป็นพ่ชี ายของปู่พศิ คชเดช ช่ือวา่
ปู่ซัด คชเดชแต่งกับย่าพัด คนมาจากหลวงพระบาง มาอยู่ไผ่ช้างแล่น
จึงให้คัมภีร์สาแหรก ให้ไปแก้ไขเพ่ิมเติม ท้ังนี้คิดว่ายังมีข้อขาดตก
บกพรอ่ งอยพู่ อสมควร

แม้แต่สายนายพิศ คชเดช (+ย่าค้ัวะ,+ย่าอิน) รายช่ือลูกของ
ยา่ อนิ ๒ คนชอื่ นางเลยี ง บญุ สงู เพชร (ยายเผะ) และนายแล สระทองเศยี ร
ขาดหายไป สว่ นรายชอ่ื ลกู ของนางควั้ ะ ๙ คนนน้ั เพอื่ ความสมบรู ณข์ อง
เอกสาร ควรใส่นามสกุลให้ชัดและถ้าใส่ปีเกิดลงไปและชื่อสามีภรรยา
ด้วย จะวเิ ศษมากย่ิงข้ึน เชน่ นางแวน่ ลอคำ� , นางทองสนิ แสงอรณุ ,
นายแทน (เกิดราว ๒๔๖๓), นางไพฑูรย์ (+ผู้ใหญ่บุญ ทองเช้ือ)
(เกดิ ปจี อ ๒๔๖๕ ทง้ั สองคน), พระทองพลู คชเดช (พระครสู วุ รรณภราดร)

84 อนทุ ินประจ�ำวนั

(เกิดปีชวด ๒๔๖๗), นายคัมภีร์ คชเดช, นางก�ำแพง คชเดช, นางพมิ พา
ชวู งษ์วิชช (เกดิ ปรี ะกา ๒๔๗๖) (+ศกึ ษาฯชูพงศ์ ชูวงษว์ ชิ ช), นางวันทา
คุม้ ตะสิน

ในคัมภีร์มีที่เขียนผิด เช่น นายไพฑูรย์ ทองเช้ือ ท่ีถูกต้อง
คือ “นางไพฑูรย์” ซ่ึงปัจจุบันยังมีชีวิตอยู่ อายุ ๙๗ ปี, พระทองพลู
เขียนผิด ท่ีถูกเป็น “ทองพูล หรือพระครูสุวรรณภราดร” และ
ชอ่ื นายคำ� ดี ขา้ พเจา้ ไดย้ นิ วา่ ชอื่ นายคมั ภรี ์ อยา่ งนต้ี อ้ งเชก็ สายลกู หลาน
จะบอกได้ตรงและถกู ต้อง แต่สว่ นใหญ่การจดตามเสียง “ด”ี กับ “พี”
เสียงใกล้กัน ตรงน้ีล่ะ ที่สามารถฟันธงได้ว่า เมื่อผู้จัดท�ำคนแรกคือ
พระอาจารย์ทองพูล คชเดช ท�ำไมท่านจะยอมให้มีข้อผิดพลาด หรือ
เสมียนจะพิมพ์ผิด หรือในการจัดพิมพ์ลอกต่อมาพิมพ์พลาด จึงอยาก
ให้มีการช�ำระเพอื่ เปน็ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรต์ อ่ ไป

หน้าถัดไป (หนา้ ๒) มบี ัญชรี ายชอื่ ๑.๕ นายทราย มบี ตุ ร ๗ คน
ซ่ึงมีรายละเอียดของนางตอม ท่ีไปอยู่ อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี
อย่างค่อนข้างละเอียดมาก ดังน้ัน ผู้จัดท�ำต้องมีความใกล้ชิดกับ
สายอ�ำเภอพนุ พิน

หน้าท่ี ๓ ข้อ ๑.๘ ชื่อนายเสย แสงอรุณ อยู่ดอนมะนาว
มบี ุตร ๘ คน คนแรกช่ือนายคง แสงอรุณ คนท้ายชื่อนายแว่น แสงอรุณ
สายนนี้ า่ จะตรวจสอบใหช้ ดั เจนได้ เพราะเปน็ สายตรงของทา่ นพระครฯู
สะอาด ลกู พอ่ ไสย ปคู่ ง ทวดเสย บา้ นดอนมะนาว

เม่ือข้าพเจ้าเดินทางมาถึงวัดอินทร์เกษม (วัดหนองหิน)
ตำ� บลตลง่ิ ชนั อ�ำเภอเมอื ง จากปากทางเขา้ วดั สามารถเขา้ ไปสวนสักได้
จึงอยากดูสภาพบ้านเรือน ด้านเหนือวัดหนองหินไป ชาวบ้านเรียกว่า
บา้ นระฆงั ทองบา้ ง หนองระฆงั บา้ ง และบา้ นดอนระฆงั บา้ ง ชอ่ื ดอนระฆงั

อนทุ นิ ประจำ� วัน 85

เป็นชื่อคู่กับโคกเผาข้าวหรือดอนเผาข้าว ในศึกสงครามสยามพม่า
เมือ่ ราว ๔๐๐ ปี จะเปน็ ระฆังเดียวกันรึเปล่า ยังไม่ทราบชัด ท่ที ราบชัด
คือย่านน้ีเป็นย่านท่ีขุดเจอลูกปัดทวารวดีในยุคลูกปัดเฟื่องฟู เข้าไปได้
สกั ครงึ่ ทาง มองเหน็ ยอดเจดยี ส์ งู ๆ เมอื่ มองจากทอ้ งทงุ่ นาไปไกลลบิ โนน้
สอบถามภายหลังว่าเป็นเจดีย์สร้างใหม่ของวัดสมอลม ว่างๆ คงต้อง
เขา้ ไปดู

ขนึ้ ไปบนศาลาการเปรยี ญวดั หนองหนิ ไดพ้ ดู คยุ กบั นายประเสรฐิ
ทองเชอื้ (เกดิ ปฉี ลู ๒๔๙๒) (ไดย้ นิ แวว่ ๆ วา่ เปลย่ี นชอื่ เปน็ ธนกจิ ทองเชอื้ )
รุ่นเดียวกับพี่ทองพูล สุดชะวา บอกว่า เป็นบุตรคนโตของแม่ไพฑูรย์
และพ่อผู้ใหญ่บุญ ทองเชื้อ เกิดปีฉลูปีเดียวกันกับพี่ทองพูล, ข้าพเจ้า
ยงั บอกวา่ เมอ่ื ๒ วนั กอ่ นคยุ กบั นอ้ งสาวชอื่ จริ นนั ท์ ทองเชอ้ื (เกดิ ๒๕๐๘)
ห่างกันถึง ๑๖ ปี นายประเสริฐบอกว่าที่จริงมีพี่สาวคนโตอีกคนหนึ่ง
แตเ่ สยี ชวี ติ ไปตอนอายุ ๑ ขวบ ชอ่ื ด.ญ.สมจติ ทองเชอ้ื สรปุ วา่ นางไพฑรู ย์
กับผใู้ หญส่ มบุญ ทองเชอื้ มบี ุตรธิดาทง้ั หมด ๘-๙ คน

ได้พบ พ.อ.อ.ธงชัย บุญสูงเพชร (เกิด ๒๔๘๖) บอกว่าแม่ชื่อ
แม่เผะหรือแม่เลียง แม่มีน้องชายช่ือน้าแล สระทองเศียร บ้านเกิด
อยู่ที่วัดกลางบ้านดอน แต่ข้ึนไปอยู่ล�ำปาง เม่ือซักถามว่ายายชื่ออะไร
บอกได้ไม่ชัดเจนว่าต้องไปถามนายอ�ำเภอโกมล บุญสูงเพชรโน้น
สว่ นตาชอ่ื ตาพศิ คชเดช แตย่ ายไมย่ อมใหใ้ ชน้ ามสกลุ ของตาพศิ คชเดช
จึงไปใชน้ ามสกุลเดิมของตนคือ “บุญสูงเพชร” บรรพบรุ ุษมาจากเมือง
เพชรเหมอื นกนั

ต่อมาเม่ือพบกับนายอ�ำเภอโกมล บุญสูงเพชร (เกิด ๒๔๘๙)
ว่าเกษียณอายุช้า เพราะพ่ีชายช่ือพี่สุรินทร์ บุญสูงเพชร เคยบวชอยู่
วัดสุวรรณภูมิไปแจ้งเกิดช้า ๒-๓ ปี เกิดท่ีบ้านดอน เป็นนายอ�ำเภอ

86 อนทุ ินประจ�ำวัน

ส่องดาว สกลนคร (๒๕๓๕-๒๕๓๙), นายอ�ำเภอโพนพิสัย หนองคาย
(๒๕๓๙-๒๕๔๑), นายอ�ำเภอพังโคน สกลนคร (๒๕๔๑-๒๕๔๔),
นายอำ� เภอเพญ็ อดุ รธานี (๒๕๔๔-๒๕๔๙), และนายอำ� เภอเมอื งหนองคาย
(๒๕๔๙-๒๕๕๑) ข้าพเจ้าถามว่าไปเท่ียวประเทศลาว ตอนอยู่แถวนั้น
ประทบั ใจชอบเมอื งไหนมากทสี่ ดุ นายอำ� เภอโกมลกลบั บอกขา้ พเจา้ วา่
“ผมชอบไปเมอื งแถน ประเทศเวียดนามมากท่ีสุด”

อนทุ ินประจำ� วัน 87



อนุทินประจ�ำวนั

(๕๑๕ ฌาปนกจิ ศพคุณนายพิมพา ณ วัดหนองหนิ )

ประวตั คิ ณุ แมพ่ มิ พา ชวู งษว์ ชิ ช (๑๒ ม.ิ ย.๒๔๗๖-๒๔ ม.ิ ย.๒๕๖๑
อายุ ๘๕ ปี)
คณุ แมพ่ มิ พา ชวู งษว์ ชิ ช (คณุ นายพมิ พา) เกดิ ทบ่ี า้ นลาดมะขาม
หมู่ ๖ ต�ำบลบางเลน อำ� เภอสองพีน่ ้อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เม่อื วันจนั ทร์
ท่ี ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๖ ปีระกา เป็นบุตรคนท่ี ๘ ของ
คณุ ตาพิศ คุณยายค้ัวะ คชเดช

มีพ่ีน้องร่วมอุทรเดียวกัน ๙ คน คือ (๑) นางแว่น ลอค�ำ
(๒) นางทองสนิ แสงอรณุ (๓) นายแทน คชเดช (๔) นางไพฑรู ย์ ทองเชอ้ื
(เกดิ ๒๔๖๕) (ยงั มชี วี ติ อยู)่ (๕) พระครสู วุ รรณภราดร (หลวงลงุ ทองพูล
คชเดช) (เกิด ๒๔๖๗) (๖) นายคมั ภีร์ คชเดช (๗) นางก�ำแพง คชเดช
(๘) คุณแมพ่ ิมพา ชวู งษ์วิชช ผูว้ ายชนม์ (๙) นางวันทา คมุ้ ตะสนิ

มพี สี่ าวและพช่ี ายตา่ งมารดา ๒ คน คอื (๑) นางเลยี ง บญุ สงู เพชร
(๒) นายแล สระทองเศียร

คณุ แมพ่ มิ พา ชวู งษว์ ชิ ช สำ� เรจ็ การศกึ ษาชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
เป็นรุ่นแรก จากโรงเรียนวัดใหม่พิบูลย์ผล ช่วยคุณตาคุณยายอาชีพ
ท�ำนาและค้าขาย จนเม่อื ถงึ วยั อนั สมควร ในปี ๒๕๑๒ ไดแ้ ต่งงานกบั
นายชพู งศ์ ชูวงษว์ ิชช อดตี ศกึ ษาธกิ ารอำ� เภอและครู มบี ตุ รธดิ า ๒ คน
คอื

อนทุ ินประจำ� วัน 89

๑. นางประภาจติ ชูวงษ์วิชช เนลสัน สมรสกับ ศาสตราจารย์
นายแพทย์ สกอ็ ตต์ เนลสัน อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางดา้ นมะเรง็ กระดกู
ของโลก ประจ�ำโรงพยาบาลและมหาวิทยาลัยยูซีแอลเอ (UCLA)
มหาวิทยาลยั แคลฟิ อรเ์ นยี ลอสแองเจลสิ (University of California,
Los Angeles)

๒. นายเอกวิทย์ ชวู งษว์ ิชช อดีตปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบล
ตล่งิ ชัน และเจ้าหนา้ ท่ีศาลปกครองกลาง

คุณแม่พิมพา ชูวงษ์วิชช ท�ำหน้าที่เป็นสมาชิกเหล่ากาชาด
จังหวัดสุพรรณบุรี และได้รับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ชั้น ร.ภ.ท. และ
เหรยี ญกาชาดสัมมนาคุณชัน้ ๒

เมื่อปี ๒๕๖๐ คุณแมพ่ ิมพา ชูวงษว์ ชิ ช เร่มิ ป่วยเป็นโรคไตระยะ
สุดท้าย เข้ารับการรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไดร้ บั การใหเ้ ลอื ดหลายครงั้ และเขา้ ออกโรงพยาบาล
เป็นเวลาติดต่อกันถึง ๓ เดือน อาการไม่ดีข้ึนและได้ทรุดหนักในช่วง
เดอื นมิถุนายน ๒๕๖๑ ได้ประคองชวี ิตอยูร่ อคอยให้ลกู เออื้ ยไดก้ ลับมา
ดูใจคุณแม่ท่ีบ้านชูวงษ์วิชช หนองพันกง รอจนได้เห็นหน้าสามีและ
ลูกสาวสุดที่รักพร้อมหน้าพร้อมตาได้เพียง ๔ วัน ก่อนที่คุณแม่พิมพา
ไดส้ นิ้ ลมหายใจจากไป ในเวลา ๑๘.๔๕ น. ของวนั อาทติ ย์ ท่ี ๒๔ มถิ นุ ายน
พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ สิรอิ ายุ ๘๕ ปี

เม่ือทราบข่าวถึงแก่กรรม ทีแรกก็นึกว่าคงจะเผาวันเสาร์-
วนั อาทิตย์ แต่ก็โล่งอก เมอ่ื ยนื ยนั ว่าเผาวนั พฤหัสบดที ี่ ๒๘ ม.ิ ย.๒๕๖๑
เวลา ๑๖.๐๐ น. ณ วดั อินทรเ์ กษม (วัดหนองหนิ ) ต.ตลิ่งชนั อ.เมือง
จ.สุพรรณบุรี วันแรกยังไม่ยืนยันว่าจะเป็นพิธีพระราชทานเพลิงศพ
หรือไม่ ต่อมาจึงยืนยันว่าไม่ขอพระราชทาน แต่จะมีพิธีท่ีจัดให้
สมเกยี รตทิ สี่ ดุ มตี งั้ ขบวนแถวยนื รบั โดยลกู หลาน เปน็ พธิ ผี สมประสาน

90 อนุทนิ ประจ�ำวัน

ระหวา่ งประเพณีไทยทรงดำ� กับประเพณไี ทยพทุ ธอย่างกลมกลืน
คุณนายพิมพา เกิดในตระกูลไทยทรงด�ำ พ่อแม่เป็นโซ่งท่ี

เคลอ่ื นตวั อพยพมาจากหนองเลา หนองปรง เพชรบุรี บิดาช่ือพ่อพิศ
ลูกของปู่เฝ้า คชเดช กับย่าเฉลียว คชเดช (แสงอรุณ) ซ่ึงตระกูล
“แสงอรุณ” มาจาก สิงเรือง เป็นหน่ึงในตระกูลใหญ่ๆ ท่ีเมืองแถน
และทมี่ าจากเมืองแถน ประเทศเวยี ดนามปจั จบุ นั คณุ นายเปน็ คนรนุ่ ที่ ๕
กลา่ วคือ นายล้นั สิงเรือง ร่นุ ท่ี ๑, ทวดอ่วม สงิ เรือง รุน่ ที่ ๒, ยา่ เฉลียว
คชเดช (แสงอรุณ) (+ป่เู ฝ้า คชเดช) รุ่นที่ ๓, พอ่ พศิ -แมค่ ั้วะ คชเดช
ร่นุ ที่ ๔, คณุ นายพมิ พา จัดเปน็ รุน่ ที่ ๕

เพราะมคี มั ภรี ส์ งิ เรอื งอยใู่ นมอื เพยี งสอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ บา้ ง
และถามวา่ เปน็ สายไหนบา้ ง เปน็ เรอื่ งเกา่ เลา่ ใหม่ และไดข้ อ้ มลู เพมิ่ เตมิ
เกี่ยวกับสายตระกูลคนลาดตาล ต�ำบลดอนมะสัง โดยเฉพาะตระกูล
“งามข�ำ” ของพ่อฉุน งามข�ำ และตระกลู “สขุ รักษ์” ของแม่ตุ่น งามข�ำ
(สุขรักษ์) เม่ือได้พบปะกับนางทองชุบ น้องสาวคนหน่ึงของมหาชูพงศ์
ชูวงษ์วิชช และได้สอบถามช่ือพี่น้องของเมืองมนต์ สมบัติเจริญ
(นายจรูญ สุขรกั ษ์) และนพพร เมืองสุพรรณ (นายมานพ อ่ิมทองนุช)
วา่ มีใครบา้ ง ในวนั ฌาปนกจิ ศพ ไดเ้ ห็นนพพร เมืองสพุ รรณ มารว่ มพิธี
ได้เดินไปถามว่าอายุเท่าไร อยู่ที่ไหน? ซ่ึงนพพรเป็นโรคพาร์กินสัน
คนนงั่ ขา้ งๆ บอกวา่ อายุ ๖๙ ปี และพกั อยูท่ ีบ่ า้ นแถวสามโก้

ได้พบมหาเฉลิม สุวรรณคณารักษ์ ครูสอนดนตรีโรงเรียนสตรี
วดั ระฆงั ทแ่ี ตง่ กลอนไวอ้ าลยั , มหาเฉลมิ อายุ ๗๘ ปี เรอื นบา้ นตดิ ชายคา
กบั บา้ นพอ่ ฉนุ -แมต่ นุ่ งามขำ� (สขุ รกั ษ)์ ซงึ่ ขา้ พเจา้ ไดพ้ บปะเปน็ ครงั้ แรก
เดมิ ไดย้ นิ แตช่ อ่ื เสยี งวา่ เปน็ คนลายมอื สวย แผน่ ปา้ ยบรจิ าคทสี่ วุ รรณภมู ิ
วิทยาลัยท้ังชั้นบนและช้ันล่าง นั่นคือฝีมือเขียนป้ายของมหาเฉลิม
ผมู้ ากดว้ ยความสามารถคนหนึ่ง ศษิ ย์หลวงพ่อโต๊ะ วัดสองเขตสามัคคี

อนทุ นิ ประจำ� วัน 91

ได้น่ังคุยกับผู้ใหญ่เขียน โดยค�ำดี (เกิด ๒๔๗๓) มีลูก ๗ คน
คนบ้านดอน อ.อู่ทอง ข้าพเจ้าเรียกมาถามว่าเป็นญาติอย่างไรกับ
ปลัดพลายงาม โดยค�ำดี ศิษย์เก่าวัดสองพ่ีน้องและอดีตเจ้าอาวาส
วัดก�ำแพงบางจาก เขตภาษีเจริญ ผู้ใหญ่เขียนบอกว่าเป็นลูกพ่ีลูกน้อง
กบั ปลดั พลายงาม เสยี ไปนานแลว้ และบอกวา่ ๓ ปพู่ นี่ อ้ งกนั คอื ปทู่ รพั ย์
โดยค�ำดี, ปู่เอิบ โดยค�ำดี และปู่กว้าง โดยค�ำดี ซ่ึงตนเป็นสายหลังน้ี
และวา่ ปขู่ องพลายงามเปน็ พขี่ องปกู่ วา้ งปขู่ องตน พนี่ อ้ งพลายงาม ๕ คน
แต่ตายหมดแลว้

ได้สอบถามว่า สมเด็จพระวันรัต (ป๋า) วัดพระเชตุพน เคยมา
วัดดอนมะเกลือไหม? ผู้ใหญ่เขยี นบอกว่า เคยมาเพราะเณรโพธ์ิ แซ่อึ้ง
เคยบวชและเป็นทหาร นิมนตส์ มเดจ็ วดั พระเชตพุ นมาวัดดอนมะเกลือ

นายอ�ำเภอโกมล บุญสูงเพชร อธิบายที่มาของนามสกุลตนว่า
บรรพบุรุษชื่อ ทวดบุญ เป็นสิงลอ ในกลุ่มชนชาติไทยทรงด�ำมีชนชั้น
๔ วรรณะ คือ สงิ ลอ เป็นผู้ปกครองเป็นพวกเจ้า, สิงเรอื ง เปน็ พวกหมอ
เป็นปุโรหิต ทำ� หน้าทีเ่ หมอื นพวกพราหมณ์, สิงอะไรต่างๆ เช่น ป่ินทอง
เปน็ ชนช้นั ราษฎรทว่ั ไป และลา่ งสุดเรยี กว่า ขา้ หรอื เป็นไพร่ ที่เปน็ ทาส
นั่นเอง ดังนัน้ ตนเองเปน็ เช้ือสายผปู้ กครอง เปน็ “สงิ ลอ” สว่ น “เพชร”
คำ� ทา้ ยนนั้ เมอื่ กอ่ นยงั ไมม่ นี ามสกลุ ไทยทรงดำ� อพยพเขา้ มาอยสู่ พุ รรณ
จากเพชรบรุ ี ตง้ั แตส่ มยั ยงั ไมม่ นี ามสกลุ เขา้ มาในสมยั ร.๕ แลว้ นามสกลุ
เกดิ ในสมยั ร.๖ จะใชแ้ ค่ “บญุ เพชร” ก็กะไรอยู่ เลยเติมคำ� ตรงกลางวา่
“สงู ” ซึ่งสูงหมายถึง “ลอ” นัน่ เอง จงึ ได้นามสกุล “บญุ สงู เพชร” มา

นามสกุลมีค�ำลงท้ายว่า “เพชร” ของคนสุพรรณ ยังยืนยันว่า
เคลอ่ื นตวั โยกยา้ ยมาจาก “เพชรบรุ ี” เม่ือร้อยกว่าปี ในสมัย ร.๕

หลากหลายชาตพิ นั ธใุ์ นงานคณุ นายพิมพา ชูวงษว์ ชิ ช

92 อนุทินประจำ� วัน

อนทุ ินประจ�ำวัน

(๕๑๖ วัดประดูใ่ นทรงธรรม ทา่ พระ)

มีหมอมาตรวจสุขภาพถึงวัดที่อยู่อาศัย ผลการตรวจบอกว่า
มวลกระดูก พบโรคกระดกู พรุนเล็กนอ้ ย มีความเสี่ยงต่อภาวะ
กระดูกหัก ควรได้รับยาเสริมมวลกระดูก หมอเขาบอกอย่างนั้น
ท่ีจริงเร่ืองโรคภัยเขาจะไม่บอก ฝ่ายตรงข้ามจะทราบจุดอ่อน
แตอ่ ยากบนั ทกึ ไวเ้ พอื่ เปน็ หลกั ฐานวา่ ไดท้ ราบวา่ กระดกู พรนุ เลก็ นอ้ ย
เวลาเดินเหนิ จะไดร้ ะมัดระวังยิ่งข้นึ

ทบทวนส่ิงต่างๆ ที่ผ่านมา ว่าจะเก็บตกงานศพคุณนายพิมพา
ชูวงษ์วิชช (๑๒ มิ.ย.๒๔๗๖-๒๔ มิ.ย.๒๕๖๑ อายุ ๘๕ ปี) เช่น
ในใบทะเบยี นบา้ นเขยี นวา่ เกดิ ๑๒ มนี าคม ๒๔๗๖ ไมใ่ ชเ่ ดอื นมถิ นุ ายน,
ได้สอบถามคุณเอื้อย-ประภาจิต ชูวงษ์วิชช เนลสันแล้ว คุณเอ้ือยว่า
ราชการจดผดิ ปที แี่ ลว้ ยงั ท�ำบญุ อายุ ๘๔ ปเี ลย ทำ� บญุ วนั ที่ ๑๒ มถิ นุ ายน
๒๕๖๐ เจ้าคุณก็รับนิมนต์ไปงานด้วยนะค่ะ ก็จนปัญญาว่าหลักฐาน
ของราชการบางอยา่ งก็สูเ้ หตุผลและบนั ทกึ ภมู ิปัญญาชาวบา้ นไม่ได้

มีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เช่น ช่ือท่ีมหาบุญชู หรือมหาชูพงศ์
ชูวงษ์วชิ ช ต้งั ชื่อใหช้ าวไผช่ า้ งแลน่ อย่างนอ้ ย ๓ ช่อื คอื “รจุ ริ า-ประภา
จิต-จิตรา” คนแรกเดิมช่ือแดง ทองเชื้อ ช่ือจริงว่า “ค�ำย้อย” แต่ชื่อ
ออกไปทางเหนอื มหาชจู งึ เปลยี่ นใหมใ่ หเ้ ปน็ รจุ ริ า เคยตดิ ตามไปอยกู่ บั
คณุ ยา่ คณุ นายพมิ พาทต่ี ลาดบางสาม เปน็ ตน้ ปจั จบุ นั สามเี ปน็ นายตำ� รวจ

อนุทนิ ประจำ� วนั 93

อยู่กาญจนบุรี ช่ือว่า “รุจิรา กังสภัทรกุล”, คนต่อมาที่ต้ังชื่อให้ลูก
ทั้งสองของคุณนายพิมพาคือลูกเอื้อย ต้ังช่ือว่า “ประภาจิต” และ
นอ้ งชายต้งั ชอ่ื วา่ “เอกวทิ ย”์ ชื่อจะสอดคลอ้ งกนั

อกี คนทมี่ ชี ่ือเสียง แต่ไปอยูท่ างยโุ รปขณะนี้ช่ือ “จิตรา คชเดช”
เจา้ ของวาทะทต่ี อ่ ว่านายกฯ อภิสิทธิ์ เวชชาชวี ะ ว่า “ดีแต่พูด”

มหาเฉลิม สุวรรณคณารักษ์ เดิมชื่อ “นายเฉลิม กอแก้ว”
คนลาดตาล บ้านชายคาติดกันกับบ้านมหาชูพงศ์ ชูวงษ์วิชช เรียกแม่
ของมหาชวู ่า “นา้ ตุ่น งามข�ำ” สอบถามว่าเปน็ ญาติกันไหม? วา่ ไม่ใช่
ญาติ แต่นางทองชุบ น้องสาวมหาชูบอกว่า เป็นญาตทิ างแม่ ปัจจบุ นั น้ี
ลกู ของพ่อฉุน-แม่ตนุ่ งามขำ� เหลืออยู่ ๓ ช คือ “ชู - ชุบ - ชาติ” ชบุ คอื
นางทองชบุ ทก่ี ลา่ วอา้ งถงึ และชาติ คือปลดั สชุ าติ งามข�ำ ที่ได้ภรรยา
คนเพชรบุรี ไปอยทู่ างโน้น

พ่ีสมาน สุดโต บอกว่าเสียดายไม่ทราบวันเผาศพของคุณนาย
พมิ พาเลย เพราะมหาชูเคยสอนบาลีชน้ั ประโยค ๔ ตง้ั ใจจะไป นึกวา่
จะเผาวนั เสาร์วันอาทติ ยเ์ สยี อีก

เป็นหลากหลายเรอื่ งหลายราว....
วันน้ี สหภูมิสงฆ์กรุงเทพฯ - สุพรรณบุรี ร่วมกันเป็นเจ้าภาพ
บ�ำเพ็ญกศุ ลศพพระสมุห์ เชวง ญาณวีโร อายุ ๗๔ ปี อดีตเจ้าอาวาส
วัดประดู่ในทรงธรรม และวันนี้เช่นกันที่ได้ทราบข่าวการสูญเสีย
การมรณภาพของพระราชสุธี (บุญส่ง ป.ธ.๙ ปี ๒๕๒๓) (๑๑ เม.ย.
๒๔๘๒-๒๙ มิ.ย. ๒๕๖๑ อายุ ๗๙ ปี) เจ้าอาวาสวัดโพธินิมิตรสถิต
มหาสีมาราม ตลาดพลู เขตธนบุรี รกรากคนโป่งแดง อ�ำเภอสามชุก
นามสกุล “สว่างศรี” ซึ่งท่านบอกว่า เดิมเป็นแซ่ตั้ง เป็นญาติกับ
หลวงพ่อถิร พ่ึงเจริญ แต่ไม่รู้ว่าเป็นญาติกันอย่างไร แต่แซ่เดียวกัน

94 อนทุ นิ ประจ�ำวัน

ว่าใครมาอยู่สามชุกก็นามสกุล “สว่างศรี” ทั้งน้ัน ทางวัดโพธินิมิตรฯ
ก�ำหนดพระราชทานถวายน�้ำหลวงสรงศพในวันอาทติ ย์ที่ ๑ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ ศาลา ๘๐ ปีหลวงพอ่ โพฯ

เมอื่ ไปรว่ มบำ� เพญ็ กศุ ลทวี่ ดั ประดใู่ นฯ ไดย้ นิ พระพธิ กี รประกาศ
รายชอ่ื อดตี เจา้ อาวาสวดั ประดใู่ นทรงธรรมวา่ มหี ลวงปโู่ ตะ๊ มารกั ษาการ
เจา้ อาวาสกอ่ น นบั เปน็ อดตี เจ้าอาวาสรูปที่ ๑, พระครนู ิพทั ธวหิ ารการ
(พระมหาจอ้ ย หรือพระมหานิพนธ์ พงึ่ แย้ม คนเดิมบาง) เป็นเจา้ อาวาส
รูปท่ี ๒, พระอาจารย์สุคนธ์ ยโสธโร รกรากเป็นชาวสองพี่น้อง
เปน็ เจา้ อาวาสรปู ที่ ๓, พระธรรมธรอมั พร คนสมทุ รสาคร เปน็ เจา้ อาวาส
รูปที่ ๔ รูปน้ีมีความคุ้นเคยกับชาวสุพรรณบุรีมาก เช่น พระอาจารย์
ฉลวย ศรอี ำ่� ดี วัดปญั จมิตรชลิตาราม อ.อูท่ อง กเ็ ปน็ เพอ่ื นซ้กี นั เป็นตน้

พระสมุห์ เชวง ญาณวีโร นับเป็นเจ้าอาวาสรูปท่ี ๕ และรูป
ปจั จบุ นั ผรู้ กั ษาการแทนเจา้ อาวาส ซง่ึ คงไดร้ บั การแตง่ ตงั้ เปน็ เจา้ อาวาส
รูปตอ่ ไปช่ือ พระปลดั ชยั วัฒน์ ชยวฑฒฺ โน คนพืน้ ท่ี

ในรายช่ือข้างบนนั้น ปรากฏว่ามีชาติภูมิเป็นชาวสุพรรณบุรี
ถึง ๓ รูป คือพระครูนิพัทธวิหารการ และพระสมุห์ เชวง เป็นชาว
เดิมบางนางบวช ส่วนพระอาจารย์สคุ นธ์ ยโสธโร เปน็ ชาวสองพี่น้อง

ข้าพเจ้าหวังจะทราบช่ือนามสกุลของพระอาจารย์สุคนธ์
ท่ีว่าเป็นคนสองพี่น้อง ว่านามสกุลอะไร พยายามถามหารูปภาพ
ก็ไมม่ ีปรากฏให้เหน็ เจอหนา้ ใครกส็ อบถามวา่ เป็นคนที่ไหน

ไปถามครวู รรณ บญุ ประเสรฐิ (เกดิ ปมี ะเสง็ ๒๕๐๙) ทเ่ี ปน็ เลขา
นุการของผอ.โรงเรียนวัดประดู่ในทรงธรรมพอดี เธอบอกว่า รกราก
เปน็ คนสองพนี่ อ้ ง จงึ สอบถามปยู่ า่ ตายาย ไดค้ วามวา่ ตาเปน็ คนบา้ นกมุ่
ยายเป็นคนอยธุ ยา ยายอายุ ๙๓ ปี ยังมีชีวติ อยู่ ตาช่ือตาบุญมา เคยเค้า

อนุทนิ ประจำ� วัน 95

เปน็ พนี่ ้องกับนายสนั่น เคยเค้า และยายสำ� ราญ เคยเคา้ บา้ นอย่สู ี่แยก
นางพมิ สว่ นปชู่ ื่อผใู้ หญ่แผน บุญประเสริฐ คนบางพลับ เลยถอื โอกาส
ล�ำดับญาติกัน ครูวรรณถามก่อนจะจากกันว่า จะเรียกท่านว่าอะไร?
ก็บอกว่า เห็นทางบา้ นก่มุ เขาเรียกหลวงน้าบ้าง หลวงอาบา้ ง

น่ันก็เปน็ เหตบุ งั เอิญ... เดินดูซอยวัดประดใู่ น ดปู ้ายรา้ นขายยา
๒ รา้ น เพราะไดย้ นิ แวว่ ๆ มาวา่ เคยมรี า้ นขายยาชอ่ื ชวนชม หรอื ชว้ นชม
แต่ข้าพเจ้าไม่รู้ว่าอยู่ตรงไหน และจะอยู่หรือเปล่า เพราะตาช้วน
นามสกลุ “อาจหาญ” เป็นคนบ้านไผช่ ้างแลน่ หรือทองประดิษฐ์ ท่ีมา
ต้งั รา้ นขายยาอยูแ่ ถบน้ี

เดินร�ำลึกความหลัง ครั้งเป็นสามเณรเคยมาพักอาศัยช่ัวคราว
เช่นเดียวกับพระมหาชูพงษ์ ชูวงษ์วิชช ชื่อเดิมนามสกุลเดิมว่า
พระมหาบุญชู งามข�ำ เคยมาพักอาศัยอยู่วัดน้ี ขณะด�ำรงต�ำแหน่ง
เป็นเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ในสมัยหลวงพ่อเปลื้อง
วัดสุวรรณภูมิ เป็นเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี น่ันเป็นการย้อนยุค
วัดประดู่ในราวปี ๒๕๑๐ ส่วนข้าพเจ้าเคยเข้าไปพักอาศัยวัดประดู่ใน
ในราวปี ๒๕๑๖ หลังจากหาวัดอยู่อาศัยไม่ได้จริงๆ ก็บ่ายหน้ากลับ
วดั สองพน่ี อ้ ง ไปศกึ ษาเลา่ เรยี นเพมิ่ อกี ปหี นง่ึ จนสอบไดน้ กั ธรรมชน้ั เอก
และประโยค ๑-๒ ได้ในส�ำนักเรียนคณะจังหวัดสุพรรณบุรี สังกัด
วัดสองพ่ีน้อง ในปี ๒๕๑๗ จึงเข้ามาอยู่วัดเพลง แขวงปากคลอง
เขตภาษเี จรญิ และกย็ งั เดนิ ไปเดนิ มาผา่ นเขา้ ซอยวดั ประดใู่ นเปน็ ประจำ�
ไม่ซอยน้ีก็ซอยวัดนวลนรดิศ ผ่านประตูน�้ำคลองภาษีเจริญ ไปกลับ
วัดเพลงเปน็ ประจำ� อีกหลายปตี ่อมา

96 อนุทนิ ประจ�ำวนั

อนทุ ินประจำ� วนั

(๕๑๗ สงิ คโปรร์ �ำลึก)

ข้าพเจา้ พยายามแกะรอ่ งรอยสมเดจ็ พระวนั รตั (ปา๋ ) วดั พระเชตพุ นฯ
ต่อมาสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
องค์ที่ ๑๗ ในประเทศสิงคโปร์

อยา่ งนอ้ ยหลกั ฐานชอ่ื วดั ปา่ เลไลยก์ ทถี่ นนเดนิ บโี ดก (Bedok Walk)
เป็นหลักฐานชิ้นหนึ่ง ป้ายวัดเขียนว่า found 1963 ก่อต้ังในปี
ค.ศ.๑๙๖๓ ตรงกับ พ.ศ.๒๕๐๖ และข้าพเจ้าได้สอบถามท่านเจ้าคุณ
พระเทพสทิ ธิวิเทศ (สุจินต์ ป.ธ.๖, พธ.บ.รนุ่ ที่ ๙ เป็นรุ่นท่ที ่านบอกเอง
วา่ ทา่ นเปน็ รนุ่ ท่ี ๙ รนุ่ หน่งึ โหลคอื ๑๒ รูป ที่สกึ ไป ๗ คน เหลือเปน็
พระ ๕ รูป ผู้มีสมณศักดิ์สูงสุดคือ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(ป.อ. ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน), เจ้าคุณสุจินต์เกิด ๑๔ พ.ค.๒๔๗๑
ปมี ะโรง อายุ ๙๐ ปบี ริบูรณ์ไปเมอื่ ๖ อาทติ ย์ทแ่ี ลว้ ) ได้รบั การแต่งตงั้
ให้เป็นเจ้าอาวาสวัดอนันทเมตยาราม ต้ังแต่วันท่ี ๑๕ ก.ค.๒๕๑๖
จากสมเดจ็ พระวนั รัต (ทรัพย์ ป.ธ.๖) วัดสงั เวชวิศยาราม

ว่าใครตั้งช่ือวัดป่าเลไลยก์ เจ้าคุณสุจินต์บอกว่า สมเด็จป๋า
วดั พระเชตุพนฯ เป็นผู้ต้ังช่ือให้ และเคยมาวางศลิ าฤกษ์ท่ีวัดปา่ เลไลยก์
และเดินทางมาเยี่ยมวัดอนันทเมตยารามก่อนท่ีได้รับการสถาปนา
ข้ึนเป็นสมเด็จพระสังฆราช ๒-๓ ปี มาก่อนท่ีท่านเจ้าคุณจะข้ึนเป็น
เจา้ อาวาส มากอ่ นท่ีเจา้ คณุ จะมาอยสู่ ิงคโปร์

อนุทินประจำ� วนั 97

ข้าพเจ้ายังถามไปอีกว่า วัดอนนั ทเมตยาราม คำ� ว่า “อนันทะ-
Ananda” คืออะไร? วัดน้ีเดิมเรียกว่าวัดไทยถนนสีลัต (Silat Road)
จนถนนไฮเวย์อะไรต่างๆ ตัดผ่านไปมา มีช่ือว่าวัดอนันทเมตยาราม
(Anandametayaram) ข้าพเจ้าบอกวา่ อนนั ทะ นา่ จะเปน็ “อนันตะ”
แปลว่า “ไมส่ ิ้นสุด” บอกกับ “เมตตา” แปลว่า ความรกั ไม่มขี อบเขต
สงสยั หลวงพอ่ หงส์เป็นผ้ตู ้งั ชื่อวัดรไึ ง?

เจ้าคุณสุจินต์บอกวา่ เดิมช่ือวัดอานันทะไมตรี มาเปลีย่ นช่อื ว่า
วัดอนันทเมตยาราม ในสมัยพระมหาสมควร อดีตเจ้าอาวาสรูปก่อน
เป็นเจ้าอาวาส เมอื่ ท่านมาอยเู่ รียกเป็นวัดอนนั ทเมตยารามแล้ว ดังนน้ั
ในเอกสารของวดั เก่าๆ จะพบเขียนเปน็ วัดอานนั ทเมตยารามบา้ ง

สรปุ วา่ ชอื่ วดั มาจากคำ� วา่ “พระอานนท”์ แตจ่ ะแปลวา่ รกั นริ นั ดร์
ก็ไดเ้ ช่นกัน คำ� นมี้ ี ๒ ความหมาย

วัดอนันทเมตยารามมีอายุ ๑๐๐ ปี เพิ่งฉลองไปสดๆ ร้อนๆ
เม่ือเดือนพฤษภาคมก่อนวิสาขบูชา ๒ อาทิตย์ ซ่ึงข้าพเจ้าก็เดินทาง
มารว่ มพธิ ฉี ลองในฐานะพระธรรมทตู มานงั่ รถไฟเทยี่ วไปมาในสงิ คโปร์
เป็นครั้งแรกเม่ือ ๖ อาทิตย์ที่ผ่านมา นับว่าเป็นช่วงการเดินทางมา
สิงคโปร์ท่ีใกล้กันมากที่สุด ห่างกันเพียง ๖ อาทิตย์ ครั้งล่าสุดช่วง
๑๒-๑๕ พฤษาภาคม ๒๕๖๑ และครัง้ นี้ ๓๐ มิ.ย. - ๒ ก.ค. ๒๕๖๑

ข้าพเจ้าเดินทางมาสิงคโปร์ครั้งแรกในชีวิตเมื่อราวปี ๒๕๓๖
และเดินทางครั้งที่สองเมื่อปี ๒๕๔๗ นับห่างกันมากท่ีสุด ๑๑ ปี,
และสถิติที่มาใกล้มากที่สุดคือจาก ๑๕ พ.ค.-๓๐ มิ.ย.๒๕๖๑ คราวน้ี
ได้เห็นความเปล่ียนแปลงอะไรต่างๆ ในสิงคโปร์มากมาย

ในขณะที่หลวงพ่อหงส์ (พระธรรมรัตนบัณฑิต) พระไทย
เชอ้ื สายเขมร คนทางจงั หวดั สรุ นิ ทร์ มาเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทสี่ งิ คโปร์
ได้ ๑๐๐ ปีพอดี ข้าพเจ้าก็พยายามแกะร่องรอยเกร็ดประวัติชีวิต

98 อนุทินประจ�ำวนั


Click to View FlipBook Version