The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2020-04-15 21:24:04

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

หลวงพ่อหงส์เช่นกัน โบสถ์หลังเก่าของวัดอนันทเมตยาราม เป็นฝีมือ
หลวงพ่อหงสส์ รา้ งในสมัยของท่าน

โบสถ์หลังใหม่วัดอนันทเมตยาราม หน้าบันด้านหน้าเป็นรูป
พระพุทธเจ้าปางมารวิชัย และด้านหลังเป็นปางป่าเลไลยก์ มีลิงและ
ชา้ งอปุ ฏั ฐาก พรอ้ มคนั ทวยอะไรตา่ งๆ ยกเวน้ เสาโบสถส์ มยั หลวงพอ่ หงส์
มีใบสีมาปักบอกสร้างหรือบูรณะและผูกพัทธสีมาปี ๒๕๒๙ ใบสีมา
ด้านหนา้ มีช่อื จอมพลถนอม กติ ติขจร เป็นเจา้ ภาพ เพราะในช่วงหน่ึง
ในชีวิตของท่านท่ีถูกขับไล่ในฐานะเป็นทรราชย์ได้บวชเป็นสามเณร
อาศยั ผา้ กาสาวพสั ตรเ์ ดนิ ทางเขา้ ประเทศไทย ณ โบสถห์ ลงั น้ี มหี ลวงพอ่
วัดเกตุมเป็นพระอุปัชฌาย์ และไปเข้าพิธีอุปสมบท ณ วัดบวรนิเวศฯ
มีเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๑๙ (เจริญ ป.ธ.๙) เป็น
พระอปุ ชั ฌาย์ นั่นคือขอ้ มูลประวตั ิศาสตรท์ ฝ่ี ากรอยจารกึ ไว้

ขา้ พเจา้ ไปยนื มองดใู บสมี าทมี่ ชี อื่ คณุ หญงิ พนู สขุ ประธานราษฎรน์ กิ ร
เปน็ เจ้าภาพ และสอบถามเจ้าคณุ สจุ ินตว์ า่ เป็นปา้ ของพ่ีอด๊ี (ฐานสิ รา
ประธานราษฎรน์ กิ ร) เจา้ คณุ ไปรจู้ กั คนุ้ เคยไดอ้ ยา่ งไร? ทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั วา่
สมยั สงคราม คณุ หญงิ ไปหลบภยั ทว่ี ดั อปุ ชั ฌายข์ องทา่ นชอื่ พระครจู นั ทภริ ตั
คุณหญิงพูนสุขมีความคุ้นเคยกับอุปัชฌาย์ของท่าน จึงเป็นเหตุให้
ทา่ นเจา้ คณุ คนุ้ เคยกบั คณุ หญงิ ทเี่ คยถวายใหใ้ ชร้ ถวอลโล่ ใชเ้ สยี ๒๐ กวา่ ปี
จนรถจะพังแหล่ไม่พังแหล่ ท่านเล่าด้วยสีหน้ายิ้มแย้มและมีความสุข
เมื่อนกึ ถงึ ครอบครวั “ประธานราษฎรน์ ิกร” ที่ทา่ นมคี วามคนุ้ เคย

เมอ่ื ถามวา่ หลวงพอ่ ทำ� ไมอายยุ นื ถงึ ๙๐ ปไี ดอ้ ยา่ งไร ทา่ นเจา้ คณุ
บอกเคล็ดลับอยู่ใหเ้ ป็นสขุ วา่ ไมฉ่ นั น้ำ� เย็น ฉนั กล้วยนำ้� วา้ วา่ กลว้ ยยาว
ยงั ทำ� ใหม้ แี กส๊ ในทอ้ งได้ แตท่ า่ นชอบฉนั กลว้ ยน้�ำวา้ และ ๔ ขอ้ ปฏบิ ตั วิ า่
Good Mood, Good Food, Good Excercise, No Angry-- อารมณด์ ,ี
อาหารดี, ออกก�ำลังกายและฝึกสมาธ,ิ ไมโ่ กรธ นนั่ คือเคลด็ ลบั ของทา่ น

อนุทินประจำ� วนั 99

ทีท่ ำ� ใหย้ ังบอกยังสอนธรรมแก่ประชาชนได้มาจนทุกวนั น้ี
วัดป่าเลไลยก์ ประเทศสิงคโปร์ ต้ังอยู่ใกล้กับสนามบินชางกี

(Changi International Airport) ทป่ี จั จบุ นั มถี งึ ๔ ทา่ สถานอี ากาศยาน
(4 Terminals) มีรถไฟรถบัสบริการภายในว่ิงระหว่างท่าสถานี
อากาศยาน

ระยะทางระหวา่ งวดั ปา่ เลไลยกก์ บั สนามบนิ ชางกใี นรศั มไี มเ่ กนิ
๑๐ นาที ในเส้นทางตรง สถานีรถไฟจากสนามบินมาถึงวัดเพียงแค่
๒ สถานี มสี ถานรี ถไฟเอ็กซโป (Expo Station) อยู่ตรงกลาง

ข้าพเจ้ามาเย่ียมวัดป่าเลไลยก์ สิงคโปร์เป็นคร้ังที่ ๒ ในชีวิต
ของวันท่ี ๒ ก.ค.๒๕๖๑, หนแรกมากับท่านเจ้าคุณพระราชปริยัติมุนี
(เทียบ ป.ธ.๙) วัดพระเชตุพนฯ เม่ือหลายปีมาแล้ว คงจะราวๆ
๖-๗ ปกี อ่ น เคยคดิ ว่าจะไปเยีย่ มอีกสกั ที ยิ่งทราบว่าเมอ่ื วนั ที่ ๑ ก.ค.
๒๕๖๑ มีพิธีผูกพัทธสีมา มีพระพรหมมุนี (สุชิน) เลขานุการสมเด็จ
พระสังฆราช วดั ราชบพธิ มาเป็นประธาน ท�ำให้คดิ ว่า “ไปดโู บสถใ์ หม่
วัดปา่ เลไลยกส์ กั หน่อย” ก่อนกลับประเทศไทย

จากรถไฟ MRT เส้นสีเขียว (ตะวันออก คือสนามบินชางกี
และดา้ นตะวนั ตกคอื สถานี Taus) จากดา้ นตะวนั ตก ขา้ พเจา้ ออกเดนิ ทาง
จากสถานี Jurong Bird Station ผา่ นทงั้ สถานี Outram Park ทีต่ ้งั อยู่
ใกล้วดั อนันทเมตยาราม และยงั ลงเทยี่ วชม Raffles Place นิดหนอ่ ย
ก่อนบ่ายหน้าไปชมวัดป่าเลไลยก์ และไปส้ินสุดที่สนามบินชางกี
ก่อนเดินทางกลับถึงประเทศไทยโดยปลอดภัย ในขณะท่ีข่าวกระพือ
โหมพัดท่ัวประเทศไทยว่า พบเด็กทีมหมูป่า ๑๓ คน ท่ีหลงติดอยู่ใน
ถ�้ำหลวง (ที่เนินนมสาว ห่างจากอ่าวพัทยา ๒๐๐-๔๐๐ เมตร)
อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายแล้ว หลังจากตามค้นหารวม ๙ วัน
คนไทยไดเ้ ฮและมีความสุขกนั ถว้ นหน้า

100 อนทุ นิ ประจ�ำวัน

อนทุ นิ ประจ�ำวนั

(๕๑๘ “รอ นคร city” ทีส่ งิ คโปร์)

ในย่านสถานีรถไฟ MRT- Bras Basah Station แวดล้อมด้วย
โบสถค์ รสิ ตต์ า่ งๆ แสดงวา่ เปน็ ยา่ นทช่ี าวยโุ รปตงั้ ถน่ิ ฐานบา้ นชอ่ ง
มาก่อน เชน่ ท่ี SAM (Singapore Art Museum) มหี น้าบันโบสถ์
เขียนว่า St. Joseph founded 1852 ตรงกับปี พ.ศ. ๒๓๙๕
ลองบวกลบดูก็เป็นเวลาถึง ๑๖๖ ปีมาแล้ว คงจ�ำกันได้ว่า ร.๕ เลือก
สิงคโปร์เป็นประเทศแรกที่เสด็จมา ดังมีช้างต้ังอยู่เป็นอนุสาวรีย์
การเสด็จตา่ งประเทศครงั้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๑๔ นั่นคอื ๑๔๗ ปนี บั แต่
กาลล่วงมา ท่ีมีชาวสยามไปเหยียบย�่ำเมอื งลอดช่องสิงคโปร์

บริเวณเดียวกัน มีโบสถ์คริสต์ชื่อ St. Peter and St. Paul
ข้าพเจ้าเคยเข้าไปภายในโบสถ์ในวันอาทิตย์ที่ ๑ ก.ค. ๒๕๖๑ ท่ีเขา้ ไป
เพื่อไปศึกษาและดูกิจกรรมว่าเขาท�ำอะไรกัน ได้ฟังค�ำสอนที่ไม่เข้าใจ
เทา่ ไร แต่ทเ่ี ข้าใจมีคำ� เดียวท่เี ขาลงค�ำวา่ อาเมน เหมือนกับท่ีพระเทศน์
หรอื พดู อะไร ชาวบ้านและชาววดั กร็ ับค�ำว่า “สาธ”ุ ฉะน้ัน

ระหวา่ งถนนควนี (Queen Road) กบั ถนนวอเตอรล์ ู (Waterloo
Road) ชว่ งใกลถ้ นนบราส เบซาห์ (Bras Basah Road) ทม่ี มี หาวทิ ยาลยั
SMU (Singapore Management University) มีภาพศลิ ปะท่ีกำ� แพง
ขา้ พเจา้ สอบถามคนทท่ี ำ� มาหากนิ อยแู่ ถวนน้ั วา่ ใครวาด ซง่ึ เขากต็ อบไมไ่ ด้
ข้าพเจ้าเพ่งมอง และดูลายเซ็นที่ท้ิงไว้ เขียนชื่อเป็นไทยว่า ก้อง บ้าง

อนทุ ินประจำ� วนั 101

และอะไรต่างๆ สรุปว่าคนไทยวาดแน่ กว่าจะแกะอ่านอักษรศิลปะ
ออกมาได้ เป็นค�ำผสมระหว่างอักษรไทยและอักษรอังกฤษผสมกัน
อยา่ งกลมกลนื คนทอ้ งถนิ่ ชาวสงิ คโปรก์ ค็ งอา่ นลำ� บาก คนไทยกค็ งอา่ น
ไม่ถนัดแน่ เพ่งมองหลายครั้ง มองด้านตรงและด้านข้างๆ ว่า กว่าจะ
อา่ นอกั ษรได้ว่า “รอนคร city” คนอน่ื ๆ อาจจะอ่านตา่ งจากขา้ พเจา้
แต่ข้าพเจ้าอ่านได้เช่นนั้น และยังไม่ทราบความหมายท่ีเขาต้องการ
ส่ือถึง แตใ่ นความคดิ ของขา้ พเจ้า คงมีใครมารอคอยอยู่แถวๆ นี้เป็นแน่

รอคอยวา่ จะหวนกลบั มาเยอื นถน่ิ นอ้ี กี ทหี นง่ึ รอคอยความสำ� เรจ็
รอคอยอะไรต่ออะไรต่างๆ รวมท้ังรออนุทินประจ�ำวัน ว่าข้าพเจ้า
ไปสงิ คโปรจ์ ะเขยี นเรอื่ งอะไร สรปุ วา่ “รอ” และ “นคร city” จะหมายถงึ
ประเทศสิงคโปร์และประเทศไทย หรือจะท้ั่งสองประเทศให้ไปช่วย
คิดต่อ

ประเทศเล็กๆ ทีม่ ีพลเมอื งแค่ ๕.๕ ลา้ นคน มคี นไทยทรี่ ัฐบาล
สงิ คโปรจ์ ดไวว้ า่ มรี าว ๖ หมน่ื คน พนื้ ทเ่ี ลก็ ชอื่ สงิ คโปร์ แตเ่ ปน็ ประเทศที่
(๑) clean city สะอาด (๒) ปลอดภยั (safety) (๓)..... ในขณะท่ีนัง่ รถ
จากสนามบินชางกีมาได้สักระยะหนึ่ง คนขับรถช้ีให้ดูเกาะกลางถนน
ของเสน้ ทางสองเลน บอกวา่ ถนนเสน้ นใ้ี กลท้ ะเล รฐั บาลสำ� รองเสน้ ทาง
ถนนสายนี้เป็นรันเวย์ฉุกเฉิน ถ้าสนามบินชางกีติดขัดเครื่องบิน
ไมส่ ามารถลงได้ เสน้ ถนนสายนจ้ี ะเคลยี รน์ ำ� ตน้ ไมเ้ กาะกลางออกทนั ทที นั ใด
และให้เคร่ืองบินลงจอดบินเป็นรันเวย์ฉุกเฉินได้ทันที น่ันคือแผนการ
ท่ีรัฐบาลเขาวางไว้ มีแผนฉุกเฉินรองรับหากเกิดเหตุการณ์สงคราม
หรือกอ่ การรา้ ยเกิดข้นึ

จติ รกรรมฝาผนังภายในโบสถ์วัดอนันทเมตยาราม เปน็ ภาพชดุ
พทุ ธประวตั ชิ ดุ คลาสสกิ ๓๒ ภาพ ไลเ่ รยี งภาพจากดา้ นหนา้ โบสถภ์ าพบน

102 อนุทนิ ประจำ� วัน

และภาพล่างเรียงล�ำดับ เวียนซ้าย แต่ภาพด้านหน้าพระประธาน
พระพทุ ธชนิ ราชคอื ภาพมารวชิ ยั ขา้ พเจา้ ไปยนื ดเู หน็ มภี าพรถถงั ยงิ จรวด
ใส่พระพุทธเจ้า และมีลูกศรอะไรต่างๆ ถึงในสมัยพุทธกาล รถถัง
และจรวดจะยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ แตก่ แ็ สดงถงึ จนิ ตนาการของศลิ ปนิ ทตี่ อ้ งการ
สือ่ อะไรไว้

ด้านหลงั พระประธานพระพทุ ธชินราช เป็นภาพ Marina Bay
ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนใหม่ในประเทศสิงคโปร์ เพราะเมื่อ ๒๕ ปีที่แล้ว
พื้นท่ีเหล่าน้ีเป็นน้�ำ เขาถมทะเลปลูกเมือง ท�ำเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ที่จิตรกรรมก็มีภาพแสดงบ้านเมืองยุคท่ีเขาเกิดทันเห็นและประทับใจ
สิ่งท่ีข้าพเจ้าชอบมากท่ีสุด เป็นภาพรอยพระพุทธบาทคู่ท่ีสวยงาม
และคลาสสิกมาก เปน็ รอยพระพทุ ธบาททีแ่ สดง ๑๐๘ มงคลประการ
เช่น เขา ทวปี หงส์ จระเข้ นก เป็นต้น

ข้าพเจ้าค้นหา signature ว่าใครเป็นช่างภาพศิลปินชุดน้ี
เพราะเพ่ิงวาดเสร็จเมื่อปลายปี ๒๕๖๐ ใช้เวลาวาดราว ๒ ปีเต็ม
เป็นสองคนสามีภรรยาชาวไทย ท่ีทิ้งลายเซ็นว่า Wasana Srisang
ที่ขา้ พเจา้ ทราบชอื่ จากลายเซ็นทท่ี ้ิงไว้วา่ วาสนา ศรสี งั ข์

ในวัดฝ่ายเถรวาทที่ข้าพเจ้าเดินทางไปสิงคโปร์คร้ังน้ี ได้พบ
รอยพระพุทธบาทมงคล ๑๐๘ ประการ ท่ีฝ่าพระบาทพระพุทธเจ้า
ทวี่ ดั ศรลี งั กา (Lankaramaya temple) ทภ่ี ายในโบสถว์ ดั อนนั ทเมตยาราม
และทเี่ จดยี ว์ ดั ป่าเลไลยก์ เขตบโี ดก ใกลส้ นามบินชางกี

สง่ิ ทสี่ งิ คโปร์ ประเทศทไ่ี มม่ ที รพั ยากรธรรมชาติ ตอ้ งพงึ่ พาสนิ คา้
จากประเทศอน่ื ๆ แตเ่ ขามที รพั ยากรมนษุ ยท์ ม่ี คี ณุ ภาพทสี่ ามารถแขง่ ขนั
กับคนทั้งโลกได้ และมกี ารพฒั นาท่ตี อ่ เน่ือง

อนุทนิ ประจ�ำวัน 103

ท่ีวัดพระเขี้ยวแก้ว กลางไชน่าทาวน์ ตึก ๔-๕ ช้ัน ช้ันล่าง
เป็นภัตตาคาร ช้ันหนึ่งเป็นท่ีตั้งพระศรีอริยเมตไตรยที่สวยงาม
ใครมาสิงคโปร์ไม่มาวัดจีนแห่งนี้ ถือว่ามาไม่ถึง เหมือนกับไม่มายืน
ถา่ ยรปู กบั สงิ โตนำ้� ถอื วา่ มาไมถ่ งึ สิงคโปร์ฉะน้นั

ขา้ พเจ้าไมไ่ ด้เขา้ ไปชมห้องนิทรรศการพุทธประวตั ิราวสกั ๒ ปี
ท่ีผ่านมา แต่ขึ้นไปคราวนี้ ได้เห็นพัฒนาการ เขาน�ำไอทีมาตั้งแสดง
บอกเร่ืองราวพระพุทธรูปและศิลปะทางพระพุทธศาสนาแต่ละชิ้น
นับว่าน�ำเอาดิจิตอลมาช่วยงานศิลปะและช่วยให้พิพิธภัณฑ์มีชีวิตชีวา
ขึ้นมาก

เช่นเดียวกัน ที่พิพิธภัณฑ์อารยธรรมอาเซียน ยังมีนิทรรศการ
ท่ียืมมาจากประเทศฝร่ังเศสเปิดให้ชมถึง ๒๒ ก.ค.๒๕๖๑ นี้ ก่อนจะ
สง่ คนื ให้ประเทศตน้ ทางต่อไป เป็นศลิ ปะทางโบราณดคี ชดุ “องั กอร์”
ทข่ี ้นึ ชอื่ ลือชา

นั่นคือเมืองสิงโตน้�ำ ที่ข้าพเจ้าไปเยือนมา.... ทั้งเย่ียมวัดไทย
วัดแขก วัดมหานิกาย วัดธรรมยุต ข้ึนรถไฟ เดินเหยียบย�่ำชม
เมืองลอดช่อง ท่ีมีคนไทยน�ำลอดช่องสิงคโปร์ไปขาย แต่ข้าพเจ้า
ยังไม่ไดช้ ิมว่ารสชาติเปน็ อยา่ งไร

104 อนทุ ินประจำ� วนั

อนทุ ินประจ�ำวนั

(๕๑๙ ดอนระฆัง และโคกเผาข้าว)

วรชาติ มีชูบทได้สรุปเส้นทางเสด็จเสือป่า ของ ร. ๖ ไว้ว่า
“เส้นทางเสด็จจากสนามจันทร์ วันท่ี ๑ จากสนามจันทร์ไป
บางกระทุ่ม ไปก�ำแพงแสน วันท่ี ๓ จากก�ำแพงแสนไปหนองตัดสาก
ไปบ้านบอ่ สพุ รรณ วันท่ี ๔ บ้านบอ่ สพุ รรณไปตะพงั กรุ ไปดอนมะขาม
วันที่ ๕ ดอนมะขามไปจรเข้สามพัน ไปเมืองอู่ทอง วันที่ ๗ อู่ทองไป
ห้วยข้าม ไปบ้านโข้ง วันท่ี ๘ บ้านโข้งไปดอนระฆังไปดอนพระเจดีย์
วันท่ี ๙ ดอนพระเจดีย์ไปหนองกะติ** (หมายเหตุของข้าพเจ้า ว่า
หนองกุฏิ คือวัดโสภาวนาราม)** ไปบ้านโข้ง วันที่ ๑๑ บ้านโข้งไป
ห้วยด้วน อทู่ อง และจรเขส้ ามพนั วนั ท่ี ๑๒ จรเข้สามพันไปลาดบัวขาว
ไปวังไซ วันท่ี ๑๓ วงั ไซไปบ้านทวน วันที่ ๑๔ บ้านทวนไปหนองขาว
ไปกาญจนบรุ ี”

ประเด็นต้ังไวน้ านแล้ว วา่ ดอนระฆังและโคกเผาขา้ วอยู่ที่ไหน?
ถึงจะเหนื่อย เพราะเพ่ิงเดินทางกลับมาจากสิงคโปร์เมื่อคืน
วนั ที่ ๒ ก.ค.เมอื่ วานน้ี ตงั้ นาฬกิ าปลกุ เพอ่ื ไปทำ� งานทวี่ งั นอ้ ย เคลยี รง์ าน
อะไรต่างๆ ก่อน เพราะงานที่ค่ังค้างเป็นอากูล เป็นมลทินแก่ชีวิต
อย่างยงิ่
ได้ทราบข่าวพระราชสุธี (บุญส่ง ฐานงฺกโร ป.ธ.๙) เจ้าอาวาส
วัดโพธินิมิตรฯ อายุ ๗๙ ปี มรณภาพท่ีโรงพยาบาลสงฆ์ เนื่องจาก

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 105

เดินทางไปต่างประเทศ ไม่ได้ไปร่วมพิธีถวายน้�ำสรงศพ ในฐานะที่
ชอบพอกันและเป็นสมาชิกสหภูมิสงฆ์กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี อีกท้ัง
คนุ้ เคยกันดี ยังจ�ำสำ� นวนของทา่ นไดว้ า่ “ยอดจรงิ ๆ” บา้ ง “สดุ ยอด”
บ้าง...

วันน้ี หลังกลับจากวังน้อยมาแล้ว อดใจอยู่ไม่ได้ ต้องไปกราบ
ศพเจ้าคุณบุญส่ง ป.ธ.๙ ดีกว่า ไปทันฟังพระเทศน์เริ่มเทศน์ก�ำลัง
อารัมภบท นักเทศน์จากส�ำนักสาลิกาป้อนเหย่ือ ฟังแล้วไพเราะจับใจ
ผเู้ ทศน์ เจา้ คณุ บญุ มา - พระเทพปฏภิ าณมนุ ี (บญุ มา ปญุ ญาคโม ป.ธ.๘)
วดั ประยรุ วงศาวาส เคยรว่ มเรยี นหนงั สอื กนั มา ฟงั เสยี งครงั้ แรกยงั จำ� ไมไ่ ด้
ต้องเห็นตัว ท่านเทศน์เร่ืองนายช่างแก้วกับนกกะเรียนในธรรมบท
ทีข่ า้ พเจ้าเคยแปลมา แต่มาฟงั สำ� นวนใหม่ของทา่ น ชา่ งจับใจจรงิ ๆ

น่ังอยู่ข้างพระสมุห์ไสว ชุ่มทอง วัย ๗๔ ปี ท่านบอกว่าเกิดปี
เดียวกับเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ส่วนข้าพเจ้าเรียนท่านว่าเมื่อ
วนั พฤหัสบดีที่ ๒๘ ม.ิ ย.๒๕๖๑ ไปรว่ มพิธีงานเผาศพทวี่ ัดอนิ ทร์เกษม
(วดั หนองหนิ ) ต.ตลงิ่ ชนั อ.เมอื ง จ.สพุ รรณบรุ ี และไดพ้ บกบั นายสมศกั ด์ิ
โกลากลุ , พระสมหุ ไ์ สว ทำ� ทา่ นกึ อยคู่ รหู่ นงึ่ แลว้ พดู วา่ เปน็ ลกู ของพส่ี าย
ข้าพเจ้าก็บอกว่าที่วัดหนองหินมีชื่อนามสกุล “โกลากุล” เช่นยายติ่ง
นายเคลิม้ โกลากลุ , ทา่ นว่ายายตง่ิ โกลากลุ เปน็ คนเล้ียงดูนายสมศักดิ์
โกลากลุ ลูกของพส่ี ายมา

ไดส้ นทนาธรรมกนั เรอ่ื งเจา้ คณุ พระสาธศุ ลี สงั วร (เผอ่ื น อคุ คฺ เสโน
ประโยค ๕) (ปมี ะโรง ๒๔๒๓-ปจี อ ๒๔๖๕ อายุ ๔๓ ป)ี คนปากคลองงเู หลอื ม
ซ่งึ ท่านพระสมุห์ไสว ชุ่มทองเลา่ ว่า เจ้าคุณเผอ่ื นคนุ้ เคยกนั มากกับ ร.๖
ตงั้ แตเ่ ปน็ สามเณร รนุ่ ราวคราวเดียวกัน มาคุยดว้ ยบอ่ ย หลวงพ่อเผอ่ื น
ไดด้ เี พราะเกง่ ภาษาขอม เทศนไ์ ดไ้ พเราะ รอู้ กั ษรขอมดี ถกู ตะปทู มิ่ ตาย

106 อนุทนิ ประจ�ำวนั

อายุไม่มาก พวกหม่อมเจ้าและเชื้อพระราชวงศ์ต่างพูดชมกันว่า
เจ้าคุณไม่เคยว่าใครเลย สมกับช่ือสมณศักด์ิว่า “สาธุ” และเล่าเกร็ด
ไวว้ ่า ไม่เคยไดย้ นิ คำ� พดู ทีไ่ หนมาก่อนเลย ท่ี ร.๖ ตรัสตงั้ แตย่ ังไมไ่ ดข้ ้นึ
ครองราชยว์ า่ “ท่านจงรกั ษาเรา เราจะมอบความเปน็ ใหญใ่ ห้ท่าน”

เจา้ คุณพระสาธุศลี สงั วร (เผ่อื น) เปน็ ลกู ของย่าแม้น (ในหนังสือ
เขียนว่า แมน ไม่ถูกต้อง ชื่อที่ถูกต้องคือ “นางแม้น”) พ่อเป็นคนจีน
ชอื่ อะไรจำ� ไมไ่ ด้ (ชอื่ เจก๊ บญุ ) และวา่ ยา่ แมน้ เปน็ นอ้ งสาวของหลวงพอ่ ปอ
ชุ่มทอง เจา้ อาวาสวดั พระพเิ รนทร์ วรจกั ร และพ่ีนอ้ งกับปอู่ ยุ ชมุ่ ทอง
(+ยา่ บญุ ) ปขู่ องทา่ น เปน็ คนบา้ นบงึ , สว่ นพอ่ ของเจา้ คณุ เผอ่ื นเปน็ คนจนี ,
สว่ นหลวงพอ่ หงษ์ วงษท์ อง วดั ภคนิ นี าถ เปน็ นอ้ งชายของยา่ บญุ ชมุ่ ทอง
(วงษท์ อง) ท่มี าแต่งกับปอู่ ุย และมีญาตแิ ถววดั เกาะ ศรีประจันตแ์ ยะ,
มี ๒ “ปอ” คอื หลวงพอ่ ปอ วดั พระพเิ รนทร์ วรจกั รรปู หนงึ่ หลวงพอ่ ปอ
สนทิ กับหลวงพอ่ อ้วน และฉายาเดยี วกันวา่ “ธมฺมกถโิ ก”

เมือ่ คุยถึง ร.๖ ข้าพเจา้ บอกวา่ ไปดบู า้ นระฆงั มา เสน้ ปากทาง
ว่ิงเข้าไปวัดสมอลม มีป้ายบอกว่า “บ้านระฆัง” พระสมุห์ไสวบอกว่า
บ้านระฆังอยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของวัดอินทร์เกษม เรียกว่า
ดอนระฆงั บา้ ง สว่ นใหญจ่ ะเรยี กวา่ บา้ นระฆงั หา่ งจากวดั ไปครง่ึ กโิ ลเมตร
ร.๖ เคยมาตง้ั พลับพลาตรงน้ี เรียกวา่ “หนองพลับพลา” หลวงพอ่ แย้ม
วงษท์ อง เจ้าอาวาสวัดอินทรเ์ กษม เคยเป็นทหาร ร.๖ ไดเ้ ลา่ ให้ฟงั วา่
จากจดุ พลบั พลาบา้ นระฆงั น้ี พระองคเ์ สดจ็ ไปดดู อนเจดยี แ์ ลว้ เสดจ็ กลบั
ไปกาญจน์

เม่ือทราบว่าบ้านระฆังอยู่แถวไหนแล้ว แต่เม่ือตรวจเช็ก
เส้นทางเสด็จไม่มีพูดถึงพลับพลา หรือท่านจะจ�ำสับสนระหว่าง
บ้านพลับพลาไชยท่ีอู่ทอง กับหนองพลับพลาแห่งนี้ ซ่ึงไม่ใช่ประเด็น

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 107

สำ� คญั สำ� หรบั ขา้ พเจา้ , ขา้ พเจา้ ไดป้ รารภตอ่ วา่ บา้ นระฆงั หรอื ดอนระฆงั
ปรากฏช่ือในสงครามสยามพม่ายุทธ์ แต่ไม่รู้ว่า “โคกเผาข้าวหรือ
ดอนเผาขา้ ว” อยทู่ ไ่ี หน? ขา้ พเจา้ เคยถามกำ� นนั อำ� นวย ฉมิ พนั ธ์ กช็ ไี้ มถ่ กู
บอกวา่ เคยไดย้ ินชอ่ื แตไ่ มร่ วู้ า่ อยูท่ ไี่ หน

พระสมุห์ไสว บอกว่า พ่อคุณรอด สามทอง เคยบอกว่า
โคกเผาข้าวอยู่ที่ดอนเจดีย์ แถวอนุสรณ์ตรงนั้นแหละ พ่อคุณรอด
เคยไปมา เดิมเรียกว่า “ทุ่งเผาข้าว เผาอิฐ” เขาเผาอิฐไปท�ำเจดีย์กัน
มีเจดีย์ท่ีมีพระทองค�ำด้วย มีต้นตะคองปกคลุมอยู่ที่น่ัน โยมพ่อ
คณุ รอด สามทอง (นามสกลุ “สามทอง” เปน็ คนเชอ้ื สายเขมร) เลา่ เรอื่ ง
ใหฟ้ งั อกี วา่ เดมิ ดอนเจดยี ไ์ มไ่ ดช้ อ่ื หนองสาหรา่ ย แตช่ อื่ วา่ “หนองไสไ้ หล”
รบกันจนเลือดอาบและไส้ไหลออกมา ต่อมาเรียกเพ้ียนเป็น “หนอง
สาหรา่ ย” เคยเปน็ สนามรบ ซง่ึ ตาถกึ ทา่ นจำ� นามสกลุ ไมไ่ ด้ คนตะวนั ตก
วัดอินทรเ์ กษม เคยเลา่ ให้ฟังเรอ่ื งนี้

นอกจากนี้ ขา้ พเจา้ กส็ อบถามวา่ หลวงพอ่ ฑรู ย์ หรอื พระโพธวิ รคณุ
หรือพระโพธิสังวรเถร ท่ีเรียกกันว่าหลวงพ่อโพ หรือเจ้าคุณโพ
(๓๑ ก.ค. ๒๔๕๓ - ๒๕ พ.ค. ๒๕๓๕ อายุ ๘๒ ป)ี แซ่อะไร ก่อนมาใช้
นามสกลุ ?

พระสมุห์ไสว ชุ่มทอง วยั ๗๔ ปี ทำ� ทา่ นกึ อยู่นาน แต่นกึ ไมอ่ อก
แต่บอกวา่ เตย่ี ทา่ นเป็นจีนนอกชอ่ื ตาเกยี มากับยายไม้พแ่ี ละยายม่วย
น้อง, ตาเกียมาได้กับยายฉัตร คนเขมร แต่ผมจ�ำแซ่เดิมท่านไม่ได้
จำ� ไดแ้ ต่นามสกลุ ว่า “รตั นวราภรณ์” แต่คนเก่าๆ จะเรยี กเจ้าคณุ โพวา่
พระสมุหฮ์ ง หรอื พระกมิ ฮง เจา้ อาวาสวดั โพธินิมติ ร

จากดอนระฆัง ถึงโคกเผาข้าว ขอ้ มลู ภูมิศาสตร์ จากค�ำบอกเล่า
จากรนุ่ สรู่ นุ่ บนั ทกึ ไวเ้ ปน็ เบาะแสไวใ้ นการคน้ หาคำ� ตอบตอ่ ไป บา้ นระฆงั

108 อนุทินประจำ� วัน

ชดั เจนแลว้ วา่ อยทู่ ไ่ี หน ทา่ นคดิ วา่ บา้ นระฆงั ทป่ี กั ปา้ ยทางหลวงปจั จบุ นั
คือบ้านระฆงั หรือดอนระฆงั ในอดตี ไหม?

บ้านระฆังที่แท้จริงอยู่ที่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ
วัดอินทร์เกษม แต่ป้ายปักอยู่ท่ีแถวทิศตะวันตกเฉียงใต้ของวัด เร่ืองนี้
ชาวบา้ นทอ้ งถน่ิ เขาใหค้ ำ� ตอบไดว้ า่ มกี ารยา้ ยงบประมาณพฒั นาชนบท
กนั อยา่ งไร...

อนทุ นิ ประจำ� วัน 109



อนุทินประจ�ำวัน

(๕๒๐ โรงละครแห่งแรก โรงหนังแหง่ แรก
ที่สถานสี ามยอด)

หลงั จากทำ� บญุ เพมิ่ มลู นธิ ทิ โ่ี รงพยาบาลสงฆแ์ ลว้ ชวี ติ อยา่ ประมาท
อาจตายได้ในวันนี้หรือพรุ่งน้ี มีโอกาสท�ำความดีได้ ก็ท�ำไป
แมจ้ ะเพยี งเลก็ ๆ นอ้ ยๆ เพราะใหญม่ าจากนอ้ ย, ดปู า้ ยชอ่ื นายประยงค์
นางเล็ก ตั้งตรงจิตร ท่ีอาคารภายในโรงพยาบาลสงฆ์ ที่มีโรงเรียน
อำ� นวยศลิ ปต์ ง้ั อยฝู่ ง่ั ตรงขา้ มถนน โรงเรยี นนเ้ี คยอยทู่ ปี่ ากคลองตลาด
มาก่อน ก่อนที่จะยา้ ยมาหลังกบฏแมนฮัตตนั

ฉันเพลที่วัดพระพิเรนทร์ และสนทนาธรรม ขา่ วภายในวงการ
คณะสงฆ์ เช่น ต้ังกรรมการมหาเถรสมาคมแล้วรึยัง ใครลาสิกขาบ้าง
ข้าพเจ้าบอกว่าเจ้าคณุ แป๊ะ (พระมหาศาสนมนุ ี) วัดปากน�้ำ บางคนก็วา่
ลาสกิ ขาทนี่ นทบรุ บี า้ ง บางคนกบ็ อกวา่ ทอ่ี ดุ รธานบี า้ ง กฟ็ งั ๆ มาอยา่ งนนั้
บางคนก็วา่ กอ่ นวสิ าขบูชา บางคนก็ยืนยนั วา่ หลังวสิ าขบชู า

มีเสียงแทรกมาว่า เจ้าคุณไพศาล - พระศรีสุธรรมมุนี
(ไพศาล ประโยค ๘) วัดเทพลลี า ไดล้ าสกิ ขาไปแลว้ เม่ือ ๓-๔ วนั ก่อน
ซ่ึงขา้ พเจ้าเพงิ่ ทราบในวนั นี้ และเพ่ิงทราบวา่ การเสนอแต่งตง้ั เจ้าคณะ
กรุงเทพมหานคร และการแต่งต้ังกรรมการมหาเถรสมาคมแทน
รปู เก่าท่พี น้ สภาพไป ยงั ไม่มีภายใน ณ วันนี้ เป็นต้น

อนทุ ินประจ�ำวัน 111

พักสักครู่ สงบจิตและอารมณ์ก่อนที่วงการคณะสงฆ์จะถูก
เซ็ทซีโร (set Zero) ให้เป็นศูนย์ก่อน หลังจากน้ันปล่อยทอดอารมณ์
เดินไปดูเรือนจ�ำพิเศษกรุงเทพมหานคร (๒๔๓๓) เป็นเรือนจ�ำท่ี
คุณหญิงพูนศุข พนมยงค์ เคยเดินเข้ามาแล้ว ยังจ�ำภาพวีรสตรีเหล็ก
ที่ไม่ขอรับเกียรตใิ ดๆ

พพิ ธิ ภณั ฑร์ าชทณั ฑ์(correctionsMuseum)ปา้ ยกรงุ เทพมหานคร
ให้ข้อมูลว่า “เป็นสถานที่จัดแสดงประวัติความเป็นมาของกิจการ
ราชทัณฑ์ ให้เห็นถึงวิวัฒนาการของการลงทัณฑ์ต้ังแต่สมัยโบราณ
จนถึงสมัยปัจจุบัน ได้จัดตั้งข้ึนเป็นคร้ังแรก โดยพันเอก ขุนศรีศรากร
(ชะลอ ศรีศรากร) อธิบดีกรมราชทัณฑ์ในขณะนั้นให้รวบรวมวัตถุ
เก่ียวกับการลงโทษ และวัตถุโบราณที่พบภายในบริเวณเรือนจ�ำต่างๆ
ท่ัวประเทศมาจดั แสดง ณ เรือนจ�ำบางขวาง ต่อมาได้ยา้ ยมาจัดแสดง
ณ อาคารฝกึ อบรมข้าราชการราชทัณฑ์ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๕................”

เปา้ หมายทข่ี า้ พเจา้ เดนิ มาแถวน้ี ๑. มาดตู น้ โพธทิ์ มี่ ศี าลพระภมู ิ
วา่ เป็นโรงละครเกา่ และ ๒.มาดูสถานสี ามยอด ทยี่ ังไมเ่ สรจ็ เรียบรอ้ ยดี
การตกแต่งภายนอกยังไม่เสร็จดี แต่มองจากภายนอกผ่านไปผ่านมา
สวยงามดี เป็นสถานรี ถไฟใต้ดนิ ๑ ใน ๔ สถานใี ต้ดนิ

ทตี่ น้ โพธ์ิ มศี าลเจา้ สวยงาม สมกบั ฐานะอนั เปน็ โรงละครเกา่ แก่
คิดว่าจะเป็นโรงละครปรีดาลัยรึเปล่า? เคยได้ฟังมาว่าต้ังอยู่ถนน
เจรญิ กรงุ ใกลค้ ลองโอง่ อา่ ง โชคดพี บปา้ ยทส่ี รา้ งเมอื่ วาระครบรอบ ๑๐๐ ปี
มขี อ้ ความว่า

“ที่เกิดภาพยนตร์ในสยาม” และข้อความต่อไปว่า “ณ ที่นี้
เมอื่ ครง้ั สมยั รชั กาลที่ ๕ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เคยเปน็ ทต่ี งั้ ของโรงละคร
มงคลบรษิ ทั หรอื ทชี่ าวกรงุ เทพฯ มกั จะเรยี กวา่ โรงละครหมอ่ มเจา้ อลงั การ

112 อนทุ ินประจ�ำวัน

เป็นโรงละคร ซ่ึงเปิดเมื่อปี ร.ศ.๑๑๕ (พ.ศ.๒๔๓๙) โรงละครน้ีเอง
เมอื่ แรกมภี าพยนตรม์ าฉายในสยาม ไดเ้ ปน็ ทจี่ ดั ฉายภาพยนตร์ เกบ็ คา่ ดู
จากสาธารณชนชาวสยามเปน็ ครงั้ แรก เมอ่ื วนั พฤหสั บดที ่ี ๑๐ มถิ นุ ายน
ร.ศ.๑๑๖ (พ.ศ.๒๔๔๐) คอื เป็นจดุ กำ� เนิดภาพยนตรใ์ นประเทศไทย”

วรรคสุดท้ายว่า “ในวาระท่ีภาพยนตร์ก�ำเนิดมาครบ ๑๐๐ ปี
ในประเทศไทย เม่ือปี พ.ศ.๒๕๔๐ มูลนิธิหนังไทยในพระอุปถัมภ์ของ
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ และผู้รักภาพยนตร์
ในประเทศไทยรว่ มกนั สละเงนิ สรา้ งหลกั จารกึ นี้ โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ
จากกรุงเทพมหานครติดต้ัง ณ ท่ีน้ี เพื่อเป็นอนุสรณ์หลักหมายท่ีหน่ึง
แหง่ ประวตั ิศาสตรภ์ าพยนตร์ในประเทศไทย”

หลงั จากทราบทเี่ กดิ โรงหนงั ไทยแหง่ แรกแลว้ เดนิ ไปดดู า้ นหนา้
สถานรี ถไฟ เขาเขียนว่า “สถานสี ามยอด” นกึ ย้อนดู หากเปรยี บเทียบ
กับสถานีรถไฟในสิงคโปร์ คงเปรียบกันไม่ได้ โดยเฉพาะด้านความ
ปลอดภัย และอากาศโลง่ หายใจสบาย สว่ นของประเทศไทย ในปีหน้า
จะลงนง่ั รถไฟใตด้ ินดสู กั ครา

เมื่อเช้านี้ พ่ีถวิล จิ๋วเชื้อพันธุ์ ไลน์ส่งภาพ “หมอนิพนธ์
ตนศิริราช” งานมุทิตาจิตในวาระเกษียณอายุราชการ ๖๕ ปี และ
วนั คลา้ ยวนั เกดิ (๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙) ของ ศ.นพ.นพิ นธ์ พวงวรนิ ทร์
ราชบัณฑิต มาให้พร้อมกับหลักฐานจากหนังสือบันทึกสมเด็จป๋า
ยืนยันว่าหมอนิพนธ์เป็นหลานของสมเด็จฯ ป๋า ซ่ึงข้าพเจ้าก็พอทราบ
มากอ่ นบา้ ง พถ่ี วลิ บอกวา่ อยากใหล้ งเพมิ่ ในหนงั สอื งานมลู นธิ สิ มเดจ็ ฯ ปา๋
ซ่ึงข้าพเจ้าก็แจ้งว่า ปีนี้หนังสือเราส่งต้นฉบับเร็ว และเขาถ่ายแพลท
เรียบร้อยแล้ว ในปีน้ีไม่ทันแน่ ขอพิจารณาในปีหน้าก็แล้วกัน และ
ปรารภกันว่า เดิมก็คิดว่า น่าจะตีพิมพ์หนังสือบันทึกสมเด็จฯ ป๋า

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 113

ในปตี อ่ ไป เพอื่ จะไดช้ ว่ ยกนั ทำ� ฟตุ โนต้ เพม่ิ เตมิ เพราะยงั มคี นทร่ี เู้ รอ่ื งเกา่ ๆ
สมัยสมเด็จฯ ป๋าอยู่ แต่คงต้องคุยกันในวงท่ีประชุมกรรมการใหญ่
วา่ จะเห็นดีเห็นชอบด้วยไหม

ข้าพเจ้าไปวัดพระเชตุพนฯ คณะ ต.๓๔ และเห็นหนังสือ
“สู่ส�ำนักนิกสัน” ท่ีพิมพ์เสร็จและส่งเรียบร้อยแล้ว นั่นคือหนังสือ
วันงานมูลนิธิสมเด็จพระสังฆราชป๋า ปีที่ ๕ ท่ีจะจัดขึ้นในวันที่ ๒๑
กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑

114 อนทุ นิ ประจำ� วัน

อนทุ นิ ประจำ� วัน

(๕๒๑ วัดโพธนิ มิ ติ รฯ ถนนเทอดไท ตลาดพล)ู

ข้าพเจา้ มาวดั โพธนิ มิ ติ รฯ คราวใด จะไปยนื ดรู ปู ภาพและทบี่ รรจุ
อัฐิของพระจรูญ ชุตินฺธโร นามสกุล ภมรพล วิทยฐานะ
จบประโยคครูพิเศษมูล ในปี ๒๔๘๗ ต�ำแหน่งครูใหญ่โรงเรียน
วัดพชิ ัยญาติ ดวงชาตะของท่านท่ีส่วนใหญจ่ ะเรียกว่า หลวงตาจรญู
ภมรพล (๒๙ มิ.ย.๒๔๕๗-๒๓ ธ.ค.๒๕๔๖ อายุ ๘๙ ปี)

ไปฟังเทศน์คืนท่ี ๒ ในการบ�ำเพ็ญกุศลศพถวาย พระราชสุธี
(บุญส่ง สวา่ งศรี ป.ธ.๙ ฉายา ฐานังกโร สทั ธิวหิ ารกิ ศษิ ยเ์ อกของหลวง
พ่อกร่ิง หํโส) (๑๒ เม.ย.๒๔๘๒-๓๐ มิ.ย.๒๕๖๑ อายุ ๗๙ ปี)
องค์ธรรมกถึกช่ือ พระธรรมเจดีย์ (สมคิด ป.ธ.๙) แสดงธรรมหัวข้อ
ในตโิ รกุฑฑสตู ร อทาสิ เม อกาสิ เมฯ บรรยายธรรมว่า “ถงึ ไม่ใชช่ าติ
ไมใ่ ชเ่ ชอื้ หากมคี วามเออื้ เฟอ้ื กเ็ หมอื นเนอ้ื อาตมา” คอื เปน็ สายเลอื ดตวั เดยี ว
“แต่ถึงเป็นชาติเป็นเช้ือ หากไม่มีความเอื้อเฟื้อก็เหมือนเนื้อในป่า”
เนื้อในป่ามันก็กระโดดโลดเต้นไปในป่า ถึงจะเป็นสายเลือดโลหิต
เดยี วกนั แตห่ ากขาดความเออื้ อาทรและไมม่ กี ารใหต้ อ่ กนั คดิ แตจ่ ะเอา
เปรยี บตอ่ กนั แลว้ กเ็ หมอื นคนละเผา่ คนละพวก ญาตกิ เ็ หมอื นไมใ่ ชญ่ าติ

ได้ยินพิธีกรพูดชื่อวัดว่า “วัดโพ-ธิ-นิ-มิตร” ข้าพเจ้าบอกแก่ผู้
อยู่ใกล้เคียงว่า ข้าพเจ้าเคยมาวัดนี้เม่ือ ๔๐ กว่าปีก่อน เขาเรียกว่า
วัดโพ-นิ-มิต ไม่มี “ธิ” เพราะช่ือวัดมาจาก พ่อโพ แม่มิ ของสมเด็จ

อนุทนิ ประจำ� วัน 115

พระวันรัตน (แดง) เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวราราม ที่เรียกกันว่า
“สมเดจ็ ฯ แดง” ไปดสู ถานรี ถไฟกไ็ ด้ เขาเขยี นวา่ “สถานวี ดั โพธน์ิ มิ ติ ร”
มกี ารนั ตข์ า้ งบน แตเ่ หน็ หลายคนออกเสยี งตามกนั หนั ไปถามครโู รงเรยี น
วัดโพธนิ มิ ิตรคนหน่ึง ถามเธอว่า “ชื่อโรงเรยี นอ่านออกเสยี งว่าอะไร?”
เธอก็บอกวา่ อ่านมคี �ำวา่ “ธิ” อย่ดู ว้ ย

เมื่อไม่รู้จะสอบถามใครดี ตัดสินใจเข้าไปกราบท่านเจ้าคุณ
พระธรรมสทิ ธนิ ายก (เฉลมิ ป.ธ.๕, พธ.บ., เกดิ ปรี ะกา ๒๔๗๖ อายุ ๘๕-๖ป)ี
ทปี่ รกึ ษาเจา้ คณะกรงุ เทพมหานคร เจา้ อาวาสวดั จนั ทาราม วดั ใกลบ้ า้ น
เรือนเคียงกัน ซึ่งวัดอยู่ ถนนเทอดไท ตลาดพลูเรียกว่า “วัดกลาง”
ว่าออกเสียงวัดโพธินิมิตรนี้ว่าอย่างไร พระเดชพระคุณก็ตอบชัดถ้อย
ชัดค�ำว่า มีเสียง “ธิ” อยู่ด้วย ข้าพเจ้าจนปัญญา ต้องว่าไปตามกัน
ไม่มีใครผิดหรอก

เม่ือกอ่ นจะไปฟงั เทศน์ฟงั ธรรม ขา้ พเจ้าเดินส�ำรวจพระอโุ บสถ
หลงั งาม และไปดูต้นโพธิ์ ท่ีรัชกาลท่ี ๕ พระราชทานมา มีจารกึ ปรากฏ
อยู่ชัดเจน ข้าพเจ้าคิดว่าพระองค์คงทรงพระประสงค์ยกย่องพระพุทธ
ศาสนานัยหน่ึง และอีกนัยหน่ึง ยกย่องถึงนายโพ ที่เป็นโยมบิดาของ
สมเด็จฯ แดง ท่ีพระองค์ทรงยกย่องนับถือมากว่าเป็นเอกอุชินสาวก
รูปหน่ึง ดูลูกศิษย์ของสมเด็จฯ แดงที่ประสบผลส�ำเร็จในชีวิตและ
หนา้ ทกี่ ารงาน เชน่ ทคี่ รองเพศสมณะมเี จา้ พระคณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราชแพ
วัดสุทัศน์ ฝ่ายฆราวาสที่ลาพรตออกไป เช่น มหาอ�ำมาตย์นายก
เจา้ พระยายมราช (ป้นั สขุ ุม) เปน็ ต้น

เดนิ ขา้ มคลองสำ� เหร่ ทส่ี ง่ กลน่ิ เหมน็ คงุ้ รบกวนนาสกิ สภาพชวี ติ
ของชมุ ชนและของวดั ทตี่ อ้ งอยกู่ บั สภาพแวดลอ้ มเชน่ นอี้ กี นานแสนนาน
ไมเ่ รยี กวา่ คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี ตราบใดทภ่ี าคสว่ นรฐั ไมเ่ ขา้ ไปจดั การดำ� เนนิ การ

116 อนุทินประจ�ำวนั

ขา้ พเจ้าตรงเขา้ ไปคณะ ๕-๖-๗ เดินผ่านคณะ ๔ จ�ำได้วา่ เป็นคณะของ
อาจารยบ์ ุญเลิศ คนท่ีไหนไม่ทราบ แต่เข้าไปทก่ี ฏุ พิ ระสมุห์ไสว ชุ่มทอง
วัย ๗๔ ปี พร้อมกับถวายหนังสืองานออกเมรุวัดอรุณราชวราราม
ท่ีมีประวัติพระสาธุศีลสังวร (เผื่อน ป.ธ.๕) (ปีมะโรง ๒๔๒๓-๒๔๖๕)
อยู่ ๒ หนา้ และมีรปู ภาพเล็กๆ ขนาด ๕ นว้ิ พอให้รู้จกั รูปร่างหนา้ ตา
ว่าเป็นอย่างไร ไดน้ ง่ั คยุ กันสกั ครหู่ นงึ่

พระสมุห์ไสว เล่าว่า ลูกของปู่อุย-ย่าบุญ ชุ่มทอง (วงษ์ทอง)
มีแค่ ๒ คนคือป้าไท แต่งกับลุงโต แหนพันธุ์ และพ่อสวน ชุ่มทอง
โยมบิดาของท่าน และพูดถึงพี่น้องฝ่ายย่าบุญว่ามีพี่น้องหลายคนจ�ำได้
ไม่หมด มีย่าต๊บน้องย่าบุญคนหน่ึงเป็นสาวโสด และว่าหลวงพ่อหงส์
วงษท์ อง วดั ภคนิ นี าถเปน็ นอ้ งชายของยา่ บญุ มลี กู หลานแยะ เชน่ หลวง
พ่อนาค วงษ์ทอง วัดปลายน้�ำ ก็ใช่เป็นญาติกัน และทางวัดเกาะ
ศรีประจันต์กม็ ีแยะ

ข้าพเจ้าพูดวา่ พระเทพคณุ าธาร (หลวงพอ่ ปู่ขุน่ เล็กสมบรู ณ์)
ไปบวชพระที่วดั เกาะ สมัยน้ันวัดใหมโ่ รงหีบคงยังไม่มโี บสถ์กระมงั

ทา่ นพระสมุห์ไสวเล่าตอ่ ไปว่า ไอ้สง่าลกู หลานปขู่ นุ่ พอ่ มันตาย
แมม่ ันก็เปน็ ญาติพน่ี ้องกบั ทางบ้านท่าน และวา่ หลวงพอ่ ปอ ธัมมกถโิ ก
นามสกลุ “ชมุ่ ทอง” เจา้ อาวาสวดั พระพเิ รนทร์ ฉายาเดยี วกบั หลวงพอ่ อว้ น
ธัมมกถโิ ก และยังมอี ีก “ปอ” หน่งึ วดั ประชุมชน เปน็ ญาติทางย่าบุญ
จำ� นามสกลุ ทา่ นไมไ่ ด้ (นามสกลุ “ศรสี มั พนั ธ”์ุ ) สว่ นหลวงพอ่ หงส์ วงษท์ อง
ก็ใช่มีคนท่ีบ้านมาอยู่อาศัยกันแยะ, หลวงพ่อนาค วงษ์ทอง ดูจะบวช
พร้อมกบั หลวงพ่อเจรญิ วดั หนองนา, หลวงพอ่ โพ (พระโพธิสงั วรเถร)
เจา้ อาวาสวดั โพธนิ มิ ติ ร สมยั เปน็ สามเณรอยวู่ ดั ใหมส่ วุ รรณภมู ิ ไปรบั บาตร
ทบี่ ้านหลวงตาจรูญ ภมรพล ท่ีโยมพ่อโยมแมข่ องหลวงตาจรญู ใสบ่ าตร

อนุทนิ ประจำ� วัน 117

เปน็ ประจำ� บา้ นอยเู่ หนือวัดใหม่ หลวงตาจรูญจึงยา้ ยตดิ ตามมาอยกู่ บั
หลวงพอ่ โพ และร่วมกนั ซือ้ ท่ีดินหนึ่งไรส่ ามงาน ในทตี่ รงคณะ ๔-๕-๖
ฟากนี้ ในปี ๒๕๐๔ หลวงตาจรูญเปน็ เจา้ คณะ ๔ ก่อนจะยา้ ยไปอยหู่ ลงั
พระอุโบสถฟากโนน้ แลว้ จึงไปอยู่คณะ ๓ จนมรณภาพ

ข้าพเจ้าสมัยเป็นสามเณรในปี ๒๕๑๗-๘ เข้ามาอยู่ในกรุงเทพ
มหานครใหม่ๆ พ�ำนักท่ีวัดเพลง แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ
เป็นวัดในสวนเลยวัดนาคปรกเข้าไป มีเพื่อนร่วมส�ำนักเดียวกันท่ี
วัดโพธินิมิตรหลายรูป มีครั้งหน่ึงในวันหยุดเรียนบาลี เดินบิณฑบาต
มาถึงวัดโพธินิมิตร ตลาดพลู และพักค้างแรมที่วัดนี้ วันรุ่งข้ึนก็เดิน
บิณฑบาตกลับวัดเพลงเฉย แต่หลวงตาที่วัดเพลง ท่ีเห็นข้าพเจ้า
ออกเดินไปบิณฑบาตในยามเช้า ต่างพูดซุบซิบๆ แล้วเสียงซุบซิบ
กก็ ลายเปน็ เอะอะเสยี งดงั ขนึ้ เปน็ ใจความวา่ “สงสยั ถกู รถชนตายทไี่ หน
เสยี แล้ว ไมก่ ลับมาวัด ให้ใครไปดซู ิ”

คณะที่ข้าพเจ้ามาพักบ่อยมากที่สุด คือ คณะ ๖ มาพักกับ
สามเณรสุบิน ผอ่ งแผว้ หรอื เณรเขยี ด คนบางบอน จึงอยากไปดูกฏุ วิ า่
เปลยี่ นแปลงไปอยา่ งไร จำ� ไดว้ า่ หนา้ หอ้ งของสามเณรเขยี ดเปน็ หอ้ งของ
พระรูปหน่งึ คนทางภาคอสี าน ทชี่ อบดูมวยเปน็ ชวี ิตจติ ใจ จ�ำไมไ่ ดจ้ รงิ ๆ
กุฏิเสนาสนะท่ีเคยไปกินไปนอนครั้งเม่ือ ๔๐ ปีก่อน พระสมุห์ไสว
บอกวา่ กฏุ ินเี้ ปน็ กฏุ ทิ ีม่ หากริช เปรมรัตน์ ป.ธ.๕ หลานหลวงพอ่ เจรญิ
วัดหนองนาเคยอยู่

กฏุ ขิ องพระมหากอ้ น ป.ธ.๕ ทค่ี ณะ ๕ หวั หนา้ ของพวกสามเณร
คนบางบอน ก็เปล่ียนแปลงไปหมด และแถวกุฏิท่ีพระสมุห์ไสวอยู่นี้
ขา้ พเจา้ จำ� ไดว้ า่ เปน็ กฏุ ิ ๒ ชน้ั ทสี่ ามเณรประเทอื ง สามเณรหนมุ่ เปน็ ตน้
เคยอยอู่ าศยั ... ความจำ� พรา่ มวั ไปหมด ตอ้ งสอบถามมหาสบุ นิ บญุ มาแยม้

118 อนทุ ินประจ�ำวนั

ศิษย์เอกมหาก้อนสึกไปท�ำงานส�ำนักพุทธ เกษียณอายุไปอยู่แถว
จังหวัดกาญจนบรุ ใี นขณะน้ี

ข้อมลู ทพี่ ระสมุห์ไสว ชมุ่ ทอง ให้เกีย่ วกบั หลวงตาจรญู ภมรพล
มีหลายเรื่องท่ีข้าพเจ้าไม่เคยรับรู้รับทราบมาก่อนเลย เพราะข้าพเจ้า
ในสมัยเป็นสามเณรน้ันไม่เคยไปมาหาสู่กับหลวงตามาก่อน ด้วยความ
เกรงกลวั หรืออะไรไม่ทราบ... พระสมหุ ์ไสวเลา่ ว่า ในปี ๒๕๑๔ ทางวัด
โพธินิมิตรโดยหลวงพ่อโพให้พระภิกษุจรูญเจรจาซ้ือท่ีจากหม่อมถวิล
เนอ้ื ที่ ๓ งาน คอื เขตพน้ื ทขี่ องคณะ ๓ ในปจั จบุ นั หลวงตาจรญู หลงั จาก
เปน็ เจา้ คณะ ๔ แลว้ ยา้ ยไปอยูห่ ลงั พระอุโบสถพักหนึง่ ก่อนจะไปดำ� รง
ต�ำแหน่งเป็นเจ้าคณะ ๓ จนถึงวัยชราภาพ ต�ำแหน่งเจ้าคณะ ๓
เปลย่ี นมอื มาไดแ้ กพ่ ระมหาบญุ สง่ ป.ธ.๙ (พระราชสธุ )ี และในปี ๒๕๑๗
พระภิกษุจรูญยังได้เจรจาซื้อที่ดินเพ่ิมอีก ๓ งานให้วัด ใช้เป็นสถานที่
จอดรถดา้ นหลังฌาปนสถานในปัจจุบนั

ข้าพเจ้าเดินดูกุฏิเสนาสนะในคณะ ๘ ท่ีเป็นกุฏิพ�ำนักของ
พระครูศรีกัลยาณคุณ (วิชิต ป.ธ.๖) วัดหนองหลวง เจ้าคณะอ�ำเภอ
หนองหญา้ ไซ ท่ีเพง่ิ มรณภาพไป และกฏุ ทิ ี่พระครูฯ วิเชยี ร ชาวเขาดิน
เจ้าอาวาสวัดสกุณปักษี เคยอยู่ (มรณภาพไปเช่นกัน) และเข้าไป
ภายในคณะ ๓ พบพระรูปหน่ึงชี้ให้ดูกุฏิของหลวงตาจรูญ ภมรพล
นึกถึงคำ� พูดของเจ้าคุณพระราชสุธี (บุญสง่ ป.ธ.๙) ทพี่ ูดเป็นค�ำกลอน
ต่อกัน แต่ข้าพเจ้าจ�ำได้กระท่อนกระแท่น ท�ำนองว่า “หลวงตาจรูญ
คนขยัน ปดั กวาดวดั ท้งั วนั ควนั โขมง”

แว่วเสียงพระสมุห์ไสวบอกว่า หลวงพ่อโพเชื่อถือค�ำพูด
หลวงตาจรูญมาก เพราะท่านเป็นครูใหญ่ และยกเหตุผลอะไรขึ้นมา
ลว้ นเปน็ เรอ่ื งตอ้ งฟงั คา้ นไมไ่ ด้ และบอกวา่ เคยเปน็ ครใู หญโ่ รงเรยี นนดี้ ว้ ย
เคยพดู ว่า “กระเบ้ืองร้อนแตกเอง”

อนทุ นิ ประจำ� วัน 119

พระท่ีคณะ ๓ รูปหน่ึง พูดต่อหน้าข้าพเจ้าว่า ท่านสนิทกับ
หลวงตาจรูญมาก หลวงตาเล่าให้ฟังว่าลูกชายคนเดียวของท่านถูก
ฆ่าตายที่ก�ำแพงแสน ท่านเศรา้ โศกเสยี ใจมาก ขา้ พเจ้าจ�ำไดว้ า่ ลูกชาย
ของท่านชอื่ นายเจรญิ ภมรพล คงอย่ใู นวัยราว ๓๐ บวกเม่อื ถกู ฆา่ ตาย
สว่ นหลวงตาจรญู ภมรพลไดค้ รองตนมาถงึ อายุ ๘๙ ปี มรณภาพในปลาย
เดอื นธนั วาคม พ.ศ.๒๕๔๖

120 อนุทินประจำ� วัน

อนุทินประจ�ำวนั

(๕๒๒ พระศาสนโศภน - เดมิ ช่อื แปลก
แรกช่ือจา่ มาชอื่ แจ่ม)

พระครูธรรมธรไพฑูรย์ อนุภทฺโท นามสกุล “จันทร์เรือง”
(เกิดปีกุน ๒๕๑๔) เจา้ อาวาสวดั ดงอู่ทอง ต.หนองมะค่าโมง
อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี มาถวายฎีกางานปิดทองผูกพัทธสีมา
ฝังลูกนิมิตวัดดงอทู่ อง ในปลายปีนี้ จงึ นั่งคยุ กันถึงบรรพบุรุษ

ท่านเป็นลูกคนที่ ๖ ในพ่ีน้อง ๗ คน ของพ่อชด จันทร์เรือง
(๒๔๗๓-๒๕๒๔ อายุ ๕๑ ปี) คอื กำ� พรา้ โยมพ่อตงั้ แตอ่ ายไุ ด้ ๑๐ ขวบ
แม่เป็นคนดงตาล หลานของผู้ใหญ่โหนะ หรือ โสนะ พันธจิตต์
แมเ่ ป็นนอ้ งสาวของผู้ใหญ่ ซงึ่ เป็นลูกของตาสาย พนั ธจติ ต์

ท่ีข้าพเจ้าสนใจคือช่ือปู่ย่าของท่านว่าชื่ออะไร ท่านก็บอกว่า
รกรากคนศรีส�ำราญ ทราบแต่ว่าชื่อปู่เช่ือม-ย่ามาก จันทร์เรือง มีลูก
ท่ีท่านทราบชื่อ ๒ คนคือพ่อชด และอาเหม่ง จันทร์เรือง ซ่ึงข้าพเจ้า
เคยเหน็ ชอื่ พระเหมง่ จนั ทรเ์ รอื ง เจา้ ภาพสรา้ งหรอื ซอ่ มกฏุ วิ ดั ศรสี ำ� ราญ
รายชื่ออยู่ใกล้กับนางเนี่ยม จันทร์เรือง (ชาวกรุงเก่า), นอกจากนี้
ท่านบอกว่า ให้ไปถามครูนิศา จันทร์เรือง ครูโรงเรียนวัดดงตาล
ต.บางพลับ อ.สองพ่ีน้อง ซ่ึงข้าพเจ้าบอกว่า ข้าพเจ้ารู้จักกับพวกลูก
ของครูสรรค์ จันทร์เรือง ค่อนข้างดี แต่อยากจะทราบให้แน่ชัดว่า
เปน็ “จนั ทร์เรือง” สายไหน

อนุทินประจ�ำวัน 121

ท่านเจ้าคุณพระราชปริยัติมุนี (เทียบ ป.ธ.๙) วัดพระเชตุพน
ถวายหนงั สือมาเลม่ หนงึ่ ที่จรงิ ทา่ นมีเล่มเดียว ขา้ พเจา้ ไปแค่นจึงได้มา
ชื่อหนังสือ ๑๕๐ ปี วัดมกุฏกษัตริยาราม ซ่ึงเป็นวัดท่ีสร้างเสร็จในปี
พ.ศ.๒๔๑๑ ดังข้อความท่ีว่า “ครั้นถึง พ.ศ.๒๔๑๐ พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั จึงเสดจ็ พระราชดำ� เนินทรงวางศิลาฤกษ์ และ
ทรงเรง่ รดั การกอ่ สรา้ งเสนาสนะใหเ้ สรจ็ กอ่ นเขา้ พรรษา ใน พ.ศ. ๒๔๑๑”

ค�ำสรุปมวี ่า “ดว้ ยเหตุนใ้ี นปี พ.ศ.๒๕๖๑ วดั มกฏุ กษตั รยิ าราม
จึงมีอายุครบ ๑๕๐ ป”ี

เปิดพลิกดูประวัติวัด ในยุคพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)
(๑๘ พ.ค.๒๔๑๘ - ๒๕ พ.ย.๒๔๘๘ อายุ ๗๐ ปี ๕ เดือน ๗ วัน)
เจ้าอาวาสรูปท่ี ๔ ระหว่าง พ.ศ.๒๔๖๒-๒๔๘๘, บุตรของนายพ่วง
มหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับนางเอี่ยม
บา้ นเดมิ อยทู่ ี่บ้านตำ� หนัก อ.เมือง จ.เพชรบรุ ี

เปิดดูแค่ในหน้าท่ี ๑๕๓ พบข้อความที่น่าสนใจที่เก่ียวพันกับ
จังหวัดสุพรรณบุรี

ขอ้ ความนน้ั วา่ “แมบ้ า้ นเดมิ ของพระศาสนโศภน (แจม่ จตตฺ สลโฺ ล)
จะอยู่ที่เพชรบุรี แต่บรรพชนเป็นชาวสุพรรณบุรี ดังท่ีท่านได้เล่าว่า
บดิ าของทา่ นเปน็ ชาวสพุ รรณบรุ ี ปชู่ อ่ื ขาว เปน็ นอ้ งชายปขู่ องเจา้ พระยา
ยมราช (ป้นั สขุ ุม) มีทวดเดียวกนั เป็นตระกลู กรมการเมอื งสบื กนั มา”

และว่า “เดิมพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) มีนามเดิม
ตามล�ำดับหลายช่ือ คือ ตอนแรกเรียกกันว่า “จ่า” เพราะชอบเล่น
เปน็ จา่ เพ่ือน จา่ ฝงู ตอ่ มาได้ชอื่ วา่ “แปลก” เพราะชอบท�ำอะไรแปลก
และเมอ่ื บวชเปน็ สามเณร ไดช้ ื่อว่า “แจ่ม”

122 อนทุ ินประจ�ำวัน

วรรคสดุ ทา้ ยของหนา้ ๑๕๓ วา่ “สว่ นนามสกลุ ของพระศาสนโศภน
(แจม่ จตฺตสลฺโล) คือ “ถาวรบุตร” เนอื่ งจากเม่อื พระประสานพนั ธกุ จิ
(จอน) น้องชายของท่านขอพระราชทานนามสกุล ได้น�ำชื่อตา (คง)
มาใชเ้ ปน็ ชอ่ื ปู่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ พระราชทาน
นามสกลุ ว่า “ถาวรบุตร” ซึ่งมาจากชื่อของตา (คง) นนั่ เอง”

มาดูนามสกุลพระราชทานกันก่อน ว่าให้ไว้อย่างไร ---”
ถาวรบุตต์ Tha^varaputta ขนุ ประสารพนั ธกุ ิจ (จอน) ผ้ชู ่วยเกษตร์
มณฑลพิศณโุ ลก ทวดชือ่ พระอนิ ทราธลิ าล (คง) 19/12/15”

ในเอกสารของวดั ฉลอง ๑๕๐ ปี เขยี นเปน็ พระประสานพนั ธกุ จิ
(จอน) สว่ นในทำ� เนยี บขอพระราชทานนามสกลุ เขยี นเป็น ขนุ ประสาร
พันธุกิจ (จอน) และบอกต�ำแหน่งว่า ผู้ช่วยเกษตร์มณฑลพิศณุโลก
สว่ นช่ือตาคง มชี ่อื วา่ พระอนิ ทราธิลาล (คง)

ท่านเจ้าคุณฯ แจ่ม บอกว่า น้องชายผู้ขอรับพระราชทาน
นามสกุลชื่อนายจอน ที่เป็นขุนและคุณหลวง-คุณพระประสารพันธุกิจ
ท่านน้ี น�ำเอาช่ือตาของท่าน คือชื่อพ่อคุณ หรือพ่อของแม่เอ่ียม
ไปแจง้ ขอ จึงไดน้ ามสกลุ วา่ ถาวรบุตร แปลวา่ “บุตรของตาคง” ไมไ่ ด้
น�ำชอื่ ป่ขู าวทีเ่ ปน็ พ่นี อ้ งกับปู่ของเจ้าพระยายมราช (ปนั้ สขุ ุม) ไปแจง้

ดังในประวัติของท่านมหาอ�ำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช
(ปั้น สขุ ุม) น้ัน เราทา่ นทง้ั หลายคงทราบกันบา้ งแลว้ ท่านเปน็ บุตรของ
พอ่ กลน่ั แมน่ ำ�้ ผงึ้ ซง่ึ กไ็ ปตนั อยแู่ คน่ น้ั ไมร่ วู้ า่ พอ่ ของพอ่ กลนั่ หรอื ปขู่ อง
ท่านเจา้ พระยาฯ ปนั้ สุขุมชื่ออะไร ถา้ ข้าพเจ้าจะบอกว่า ชื่อนายเรอื น
หรอื นายเรอื ง ซึ่งชอื่ ทถ่ี กู ตอ้ ง ข้าพเจ้าวา่ เป็นช่ือนายเรือง

ขา้ พเจา้ เช่อื ว่า นายขาว ปขู่ องท่านเจา้ คุณฯ แจ่ม กบั นายเรอื ง
ป่ขู องพระยายมราช (ปนั้ สขุ มุ ) เป็นพี่น้องกนั

อนุทินประจ�ำวนั 123

ในหนังสือที่ระลึกเล่มหนึ่ง ข้าพเจ้าจ�ำไม่ได้แล้วว่าเล่มไหน
แต่ได้จดข้อความท่อนหน่ึง ว่า “กัณฑ์ที่ ๒๔ ปกิรณกถา พระครูวิริย
สุนทร จังหวัดสุพรรณบุรี แสดงในการบ�ำเพ็ญกุศลสัตตมวารท่ี ๒๔
ของพระศาสนโสภณ (จตตฺ สลโฺ ล แจม่ ) ซง่ึ เปน็ ญาตขิ องเจา้ พระยายมราช
วันที่ ๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๔๗๔” หนังสอื ทีร่ ะลึกฯ หนา้ ๓๓๙) ว่าจะ
เปิดเล่มนี้ตรวจทานเช็กดูอีกทีหนึ่ง ว่าจดมาผิดหรือเปล่า แต่บังเอิญ
แหล่งข้อมูลอยู่ไกลมือ แต่ข้อความนี้ แสดงว่า ทางฝา่ ยสุพรรณบุรีเอง
ไดย้ อมรบั วา่ ทา่ นเจ้าคณุ ฯ แจม่ มีเชอ้ื สายทางสพุ รรณบุรี

ที่ข้าพเจ้าจ�ำได้มั่นคง คือในหนังสือท�ำเนียบเจ้าคุณสุพรรณบุรี
สมัยก่อนๆ (ก่อนเท่าไหน คงก่อน ๒๕๒๐ ก็แล้วกัน) จะมีชื่อ
พระศาสนโศภน หรือ พระศาสนโสภณ (แจ่ม จตฺตสลฺโล) อยู่ด้วย
เคยสอบถามว่าทำ� ไมจงึ มาปรากฏอยู่ ท้ังๆ ทเ่ี ป็นชาวเพชรบรุ ี ผสู้ นั ทดั
กรณีบอกวา่ ท่านเจา้ คณุ ฯ แจ่ม มาตามหาญาติท่สี พุ รรณบ่อยๆ

ข้าพเจ้าไม่ทราบว่า ท่านพบญาติชาวสุพรรณคนอื่นๆ อีก
หรือไม่? แต่ว่าท่านเจ้าคุณฯ แจ่ม สนิทกันมากกับมหาอ�ำมาตย์นายก
เจา้ พระยายมราช (ปั้น สขุ มุ )

124 อนทุ ินประจ�ำวนั

อนทุ นิ ประจ�ำวนั

(๕๒๓ สวนนกจรู ่ง สิงคโปร์ - Jurong Bird Park)

ความจำ� เปน็ อนจิ จงั สมกบั พระพทุ ธพจนท์ สี่ อนเราทา่ นวา่ สญฺ า
อนิจฺจา ความจ�ำได้หมายรู้เป็นส่ิงไม่เที่ยง, ข้าพเจ้าจ�ำผิดว่า
เมอื่ ราวปี ๒๕๓๖ ครงั้ แรกทม่ี าเทยี่ วสงิ คโปร์ มาพกั ทวี่ ดั อนนั ทเมตยาราม
บูกิตมิร่าห์ มีกุฏิลักษณะห้องแถว ร้ือออกไปหมดแล้ว ดูจะพักอยู ่
๒-๓ วันทวี่ ดั และจ�ำไดแ้ ม่นยำ� คือได้ฉนั อาหารบนโต๊ะกลมทห่ี มนุ ได้

สถานท่ีท่องเท่ียวที่ข้าพเจ้าเลือกไป นอกจากไปเท่ียวในเมือง
สิงคโปร์, ไม่ได้ไป Sentosa แต่เลือกไปที่สวนอะไรสักอย่างหนึ่ง
แต่ก็จ�ำไม่ได้ว่าเป็นท่ีไหน คิดว่าน่าจะเป็นสวนนกจูร่งที่เป็นสวนมีนก
และมีช่อื เสียงติดอันดับเหมือนกบั โตรองกา้ ซู (Toranga Zoo) ทซ่ี ิดนีย์
ประเทศออสเตรเลีย

จึงขวนขวายไปถึงสวนนกจนได้ ในบ่ายของวันจันทร์ที่ ๒
กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑ กอ่ นเดนิ ทางกลบั ประเทศไทยในยาม ๒ ท่มุ ครึง่
หลังจากฉันเพลที่วัดอนันทเมตยารามเสร็จแล้ว ข้าพเจ้าขอแยกจาก
คณะท่ีจะไปเยี่ยมวัดจีนแห่งหน่ึงและไปมุสตาฟ่าที่แถว Little India
ซึ่งข้าพเจ้าเคยไปมาแล้ว

ไปชมสวนนกเงือก นกล่า นกสีสวยๆ ต่างๆ ชอบใจ Wings
of Asia ปกี นกเอเชยี ดนู กไก่ฟา้ อะไรต่างๆ โปรแกรมสดุ ท้ายก็ดูโชว์นก
ทีใ่ ช้เวลาราว ๑ ชม. ทโี่ ชว์นี้ จนถงึ เวลา ๑๖.๐๐ น. ตอ้ งรบี ออกจาก
สวนนกจรู ง่ มฝี นโปรยปรายลงมานดิ หนอ่ ย มงุ่ หนา้ สสู่ ถานรี ถไฟจรู ง่ ปารก์

อนุทนิ ประจำ� วนั 125

นั่งรถไฟสีเขียวจากทิศตะวันตก มุ่งสู่ทิศตะวันออก ถึงกระน้ันค�ำนวณ
เวลาแลว้ ยงั พอมเี วลาไปเทยี่ ว Raffles Place สถานตี รงกลางทขี่ า้ พเจา้
ไม่เคยไปดูมาก่อน เรียกว่าแวบเท่ียวกลางเมืองสิงคโปร์นิดหนึ่งก็ยังดี
ก่อนจะไปเท่ียวชมวัดป่าเลไลยก์ และเข้าสู่สนามบินชางกีเป็นรายการ
สดุ ทา้ ย

มานงั่ นกึ ๆ ดู สวนนกจรู ง่ เปน็ สวนทข่ี า้ พเจา้ ไมเ่ คยมากอ่ นในชวี ติ
นี่เปน็ ครง้ั แรก

ท�ำไมข้าพเจ้าอยากไปเย่ียมวัดป่าเลไลยก์ เพราะช่ือตรงกับ
วัดป่าที่สุพรรณบุรีอย่างหน่ึง ข้าพเจ้าสนใจการพัฒนาเปล่ียนแปลง
ท่ีวัดเพ่ิงมีพิธีผูกพัทธสีมาเม่ือวันที่ ๑ ก.ค. น้ีอีกอย่างหนึ่ง ไปศึกษา
ดูการเปลี่ยนแปลง ไปเปน็ ครัง้ ท่ี ๒ ห่างจากครงั้ แรกราว ๖-๗ ปี

ขา้ พเจา้ มาตามร่องรอยการเยอื นของสมเด็จพระสงั ฆราช (ป๋า)
วัดพระเชตุพน ท่ีพระองค์เขียนในบันทึกว่า มาสิงคโปร์ครั้งแรก
เม่ือปี ๒๔๙๙ มีวัดไทยวัดเดียวชื่อวัดอานันทเมตยาราม (ชื่อเดียวกับ
วดั อนนั ทเมตยาราม เขียนต่างกนั ระหว่าง อนันท กับ อานันท) และ
ระบุวา่ มสี �ำนักสงฆ์อีก ๗ วดั

ครั้งแรกของพระองค์เป็นปี ๒๔๙๙ ไม่ได้ทิ้งร่องรอยให้ศึกษา
มากนกั แต่ในครง้ั ท่ี ๒ เมื่อปี ๒๕๐๙ พระองค์มาเย่ียมวัดไทยอีก

ดังบันทึกของพระองค์ว่า “ได้ไปเยี่ยมส�ำนักสงฆ์ต่างๆ ใน
ประเทศสิงคโปร์ พักวัดอานันทเมตยาราม เมื่อมาสิงคโปร์คร้ังแรก
พ.ศ.๒๔๙๙ มีวัดไทยวัดเดียว คือวัดอานันทเมตยาราม ที่ไปคราวน้ี
มีส�ำนักสงฆ์เพ่ิมขึ้นเป็น ๗ ส�ำนัก เข้าใจว่าคงจะเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต
กลบั กรงุ เทพฯ วันท่ี ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๐๙”

ในหนังสือบันทึก (พิมพ์ ๒๕๕๑) หน้า ๙๔ มีข้อความว่า

126 อนทุ ินประจำ� วนั

“วนั ที่ ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๐๙ เดินทางไปประเทศมาเลเซียและสงิ คโปร์
ไปต้ังเจ้าอาวาสวัดเชตวันที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยน�ำพระปกาสิต
พุทธศาสน์ เจ้าคณะจังหวัดชุมพรไปจ�ำพรรษาท่ีวัดน้ันเพ่ือเผยแพร่
พระพทุ ธศาสนา และได้ไปสงิ คโปร์ เพ่อื เย่ียมพระภกิ ษุไทยในประเทศ
สงิ คโปรด์ ว้ ย พกั อยู่ทีส่ งิ คโปร์ ๔ วัน กลับโดยเครอื่ งบินไทยอนิ เตอร์

ที่สิงคโปร์เม่ือไปคร้ังแรก พ.ศ. ๒๔๙๙ มีวัดไทยอยู่วัดเดียว
อีกแห่งหน่ึงมีลักษณะเป็นศาลเจ้ามีพระภิกษุเพียงรูปเดียว มาคราวนี้
มวี ดั เกดิ ขนึ้ อกี ๔-๕ วดั เขาเรยี กวา่ วดั กนั ความจรงิ กเ็ ปน็ เพยี งสำ� นกั สงฆ์
เชน่ วดั ป่าเลไลย์ วัดกาญจนาราม เปน็ ต้น มพี ระภกิ ษเุ พยี ง ๒-๓ รูป”

ข้าพเจ้าก�ำลังตามร่องรอยน้ัน และในหนังสือ พสล. (W.F.B.
Review) ฉบับปี ๒๕๑๕ เป็นภาษาอังกฤษทั้งเล่ม ให้ร่องรอยว่า
พระองค์เป็นพระอุปัชฌาย์บวชสามเณรชาวมาเลเซียท่ีวัดสระเกศ
วัดภูเขาทอง ซ่ึงเป็นสามเณรที่พระองค์ได้บวชให้เมื่อวันที่ ๑๐
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓

พระองค์ขณะเป็นสมเด็จพระวันรัต ท่ีเดินทางไปสิงคโปร์
ครงั้ สดุ ทา้ ยคอื ปี ๒๕๑๓ นบั รวมทง้ั หมดได้ ๓ ครงั้ คอื ปี ๒๔๙๙, ๒๕๐๙,
และ ๒๕๑๓ หรอื จะมคี รง้ั ท่ี ๔ ซง่ึ ในหนงั สอื บนั ทกึ ทจ่ี ดั พมิ พใ์ หมใ่ หข้ อ้ มลู
สบั สน หรอื ขา้ พเจา้ สับสนเอง ข้าพเจ้ากำ� ลังตามหาข้อมลู เพื่อกระชับ
ความรู้ของข้าพเจ้าเก่ียวกับการเยือนสิงคโปร์ของพระองค์ เหมือนกับ
การกระชบั พระราชอำ� นาจในการปกครองคณะสงฆ์ ทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ ใหม่
ใน พ.ร.บ.คณะสงฆ์ ๒๕๐๕ (ฉบับเผด็จการ) ที่จะมีผลกระทบต่อ
คณะสงฆท์ ้ังประเทศ

สวนนกใหธ้ รรมชาตอิ ยา่ งแทจ้ รงิ ทจ่ี ะสงบจติ สงบใจ ผอ่ นคลาย
อารมณ์ และค้นหาความรู้ตอ่ ไป.

อนุทินประจ�ำวนั 127



อนุทนิ ประจำ� วัน

(๕๒๔ ต�ำบลบางเลน-ทงุ่ คอก-ตน้ ตาล)

หลังจากเย่ียมศพนายประยูร บูชา (๒๔๘๖-๓ ก.ค.๒๕๖๑
อายุ ๗๖ ปี) ลูกของนายย้ิม-นางไร บูชา วัดใหม่พิบูลย์ผล
ตำ� บลบางเลน อำ� เภอสองพนี่ อ้ งแลว้ ขา้ พเจา้ เดนิ ทางไปเยย่ี มวดั ทงุ่ เขน็
ต�ำบลทุ่งคอก ซ่ึงทราบขา่ วว่าไฟไหม้กุฏเิ สนาสนะเสียหายไป ๓ หลัง
รวม ๘ หอ้ ง

หลังจากมอบส่ิงของเล็กๆ น้อยๆ ให้เจ้าอาวาสวัดทุ่งเข็น
ซ่ึงเป็นชุมชนมอญอายุ ๑๐๐ กว่าปี อพยพโยกย้ายมาจากบ้านดอน
กระเบอ้ื ง อำ� เภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี ปจั จุบันมีประชากรนบั เป็น
เรือนพัน จากจุดเร่ิมต้นเม่ือ ๑๐๐ ปีท่ีแล้ว สมัยก่อนเขาเรียกว่า
“ทุ่งไอ้เข็น” มีความพยายามจะเปลี่ยนชื่อเป็นวัดทุ่งเจริญบ้าง
แต่จะเรียกว่าไม่ส�ำเร็จหรือก็ไม่เชิง เพราะมีหมู่บ้านชื่อบ้านทุ่งเจริญ
เป็นหลักฐาน แต่ช่ือวัดน้ันยังชื่อว่า วัดทุ่งเข็น ต�ำบลทางบ้านเมือง
เปน็ ทุ่งคอก ส่วนทางคณะสงฆ์เปน็ ตำ� บลศรสี �ำราญ

ได้มองดูแผนที่ชุมชนมอญแห่งนี้ เห็นคลองสองพ่ีน้อง ท�ำให้
รู้เพ่มิ ขน้ึ มาวา่ นอกจากคลองสองพ่นี อ้ งทข่ี ้าพเจา้ คนุ้ เคย ตน้ คลองหรอื
ปลายคลองอยทู่ บ่ี างสาม ผ่านวดั ทองประดษิ ฐ์ วดั สองพ่ีนอ้ ง วดั ดงตาล
วดั ทา่ จดั .... ผา่ นใกลๆ้ วดั ทา่ ไชย ไปถงึ จรเขส้ ามพนั หรอื ไปถงึ ยางยแ่ี สได้
นอกจากนย้ี งั มเี สน้ คลองสองพน่ี อ้ งทผ่ี า่ นขา้ งวดั ทงุ่ เขน็ ไปถงึ สระยายโสม
เปน็ เส้นทางลำ� เลยี งสินคา้ ไม้จากปา่ ลงสคู่ ลองสองพีน่ ้องทบี่ างล่เี ลก็

อนุทินประจ�ำวนั 129

ถงึ ไฟจะลดั วงจรไหมก้ ฏุ ทิ รงไทยหลงั งามไป ๓ หลงั คู่ เจา้ อาวาส
ก็ยงั ย้ิมได้ กำ� ลงั ใจดี ท่านบอกว่า เพียงมาเยย่ี มเห็นหนา้ กด็ ใี จมากแล้ว
และเลา่ วา่ เมอ่ื วันกอ่ นนี้ หลวงพอ่ พวน (เจา้ คุณพวน) วัดบงึ ลาดสวาย
อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ก็มาเยี่ยมและถวายเงินช่วยเหลือมา
๕ หมนื่ บาท หลวงพอ่ พวนบอกวา่ กำ� ลงั กอ่ สรา้ งทวี่ ดั อยู่ เอาไปแคน่ กี้ อ่ น
เป็นน�้ำใจจากวดั มอญท่ีช่วยเหลอื มอญดว้ ยกัน

นอกจากน้ี ก็ทราบว่ามีหน่วยงานหรือประชาชนทยอยมา
ช่วยเหลือตามก�ำลังศรัทธา ข้าพเจ้าตัดสินใจถูกท่ีมาเยี่ยมและดูวัด
ในวันน้ี ไดพ้ บมหาไสว ใจซื่อ และยืนคยุ ถึงชมุ ชนตา่ งๆ รอบวัดแหง่ นี้
แลว้ เดนิ ไปดกู ฏุ ทิ ไ่ี ฟไหม้ รวมทงั้ ไปดเู สน้ ทางคลอง พอเหน็ กร็ อ้ งบอกวา่
คลองใหญ่น่ี ท่านเจ้าอาวาสบอกว่าเฉพาะตรงข้างวัดน้ี ขุดกว้างใหญ่
ดังท่เี ห็น สว่ นทอี่ ่นื ใหญพ่ อประมาณ เป็นเส้นทางเดินเรือขนถ่ายสินคา้
จากป่าลงไปตลาดบางล่ีได้

เป้าหมายปลายทางของวันศุกร์ท่ี ๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑
จริงๆ คือชุมนุมศิษย์สองพ่ีน้องร่วมกันเป็นเจ้าภาพบ�ำเพ็ญกุศลศพ
นายชยั วตั ร ฉนั ทดลิ ก (๒๕ ก.ย.๒๔๗๔-๓๐ ม.ิ ย.๒๕๖๑ อายุ ๘๗ ป)ี
ณ วัดสองพ่ีน้อง เมื่อปีท่ีแล้วศิษย์สองพี่น้องที่มาท�ำวัตรประจ�ำปี
พร้อมหลวงพ่อพระธรรมพุทธิมงคล อดีตเจ้าอาวาสวัดสองพี่น้อง
ปัจจุบันเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์ ได้เดินทางไปเยี่ยมที่โรงพยาบาล
สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ่ี ๑๗ หรอื โรงพยาบาลสองพนี่ อ้ ง ปนี มี้ าเยยี่ มศพ
หลังจากไมไ่ ด้พบกันเป็นเวลา ๑ ปเี ตม็

สว่ นใหญจ่ ะรจู้ กั กนั ในนามวา่ “ตาใช”้ ลกู เขยยายเนยี ร เรอื งรงั ษี
เคยนกึ สงสัยวา่ ชยั วัตร มาเปน็ “ใช”้ ไดอ้ ยา่ งไร?

ได้เจอลูกน้�ำ จ�ำได้ว่าพบกันครั้งแรกปีท่ีแล้ว ดูจะเป็นคนเดียว

130 อนุทินประจำ� วัน

ทรี่ จู้ กั ในคำ่� คนื นี้ นอกจากกลมุ่ ชมุ นมุ ศษิ ยส์ องพน่ี อ้ งทเี่ ดนิ ทางมารว่ มงาน
มมี หาจำ� เนยี ร กำ� ลงั เสอื , ดร.บญุ รอด บญุ เกดิ มาจากมหาวทิ ยาลยั บรู พา
ชลบุรี ฝ่ายสงฆ์หลวงพ่อพระธรรมพุทธิมงคลเป็นประธาน เจ้าคุณมี
เจ้าคุณพระราชปริยัติมุนี (เทียบ ป.ธ.๙) วัดพระเชตุพน และข้าพเจ้า
นอกจากน้ีมีพระมหาบ้าง พระครูบ้าง อีกรูปหน่ึงลงจากเครื่องบิน
เดินทางมาถึงบางบัวทอง ว่าฝนตกหนักจึงกลับวัดปากน�้ำเลย คือ
ท่านเจ้าคุณพระราชวิสุทธิเวที (นิกร ป.ธ.๙) เพราะรูปน้ีล่ะ ทีแรก
มีการเสนอวา่ จะมาเปน็ เจา้ ภาพคนื วันที่ ๕ ดไี หม ทา่ นบอกว่า ถา้ วันที่
๕ ยังตรวจงานราชการอยู่ทางเหนือ มาไม่ทัน จะมาทันในวันที่ ๖
ดังนั้น จึงเป็นมติเพ่ือความพร้อมเพรียงกันว่าร่วมเป็นเจ้าภาพคืนวันท่ี
๖ ก.ค.

ได้มีโอกาสพูดคุยกับนายบัญชา ฉันทดิลก (เกิด ๒๕๐๒)
ลูกชายคนโตของผู้วายชนม์ ได้แสดงหลักฐานว่า เม่ือปี ๒๔๙๖
หลังพ่อใช้บวชพระที่วัดทองประดิษฐ์แล้ว “พ่อเต็กใช้ แซ่ฉ่ัว”
ขอนามสกุล “ฉันทดิลก” ใช้ และมีสลักหลังว่าให้ใช้นามสกุลนี้ได้อีก
๔-๕ คน คือนอ้ งชายช่อื “เต็กชนุ้ ” ซึ่งเป็นลูกของอาโกม่วง แซโ่ งว้ กับ
เตีย่ ส่ยุ จั้ว แซฉ่ ั่ว นอกจากนั้นระบุช่ือเต็กฮ้วั , เตก็ ย,ู้ อรพรรณ สายแสง,
และนายสระแกว้

ฉันทดิลก น�ำเอาอักษร ฉ มาตัวหนง่ึ สว่ นชือ่ เดิมว่า “เต็กใช”้
เปลี่ยนเปน็ “ชัยวัตร”

นายชัยวัตร ฉันทดิลก หรือตาใช้ เคยด�ำรงต�ำแหน่งเป็นนายก
เทศมนตรี ๒ สมยั จากปี ๒๕๒๓-๒๕๓๑ มผี ลงานคอื ถมดินทำ� ตลาด
บางล่ีจากสองชั้นท่ีเรียกว่าตลาดสองฤดู เหลือเป็นตลาดบางลี่ปัจจุบัน
อกี ผลงานหนง่ึ ทขี่ า้ พเจา้ เพงิ่ รู้ คอื การเปน็ ประธานลกู เสอื อำ� เภอสองพนี่ อ้ ง

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 131

และได้เข้าเฝา้ ในหลวง ร.๙ ทีอ่ นสุ รณด์ อนเจดีย์ ซงึ่ พระองคซ์ ักถามวา่
มาจากไหน หลังจากบอกเส้นทางว่าอย่างไรแล้ว ในหลวงตรัสว่าเป็น
เสน้ ทางออ้ ม ใหต้ ดั ถนนเปน็ เสน้ ทางตรง ตาใชจ้ งึ ไปบอกทา่ นผวู้ า่ จรนิ ทร์
กาญจโนมัย แล้วตัดถนนเส้นบางลี่-หลังวัดป่า เป็นเส้นตรง ท�ำให้
สะดวกสบายขน้ึ แยะ และไดไ้ ปหาหลวงพอ่ เจอื วดั ดงตาล (พระครพู ศิ าล
วรกจิ -เจอื ศรเี ฟอ่ื งฟงุ้ ) ใหช้ ว่ ยบอกชาวบา้ นใหย้ นิ ยอมตดั ถนนเขา้ ทที่ าง
ของตน เพ่อื ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนสาธารณะท่ัวไป

ต่อไป ใครเดินทางเส้นเข้าตัวเมืองจังหวัดและบางล่ีสายน้ี
คงจะนกึ ถึงวา่ นายชัยวตั ร ฉนั ทดลิ ก หรอื นายกฯ ใช้ เป็นผู้มสี ว่ นสำ� คญั
มากท่สี ดุ

สง่ิ ทพ่ี ระภกิ ษสุ ามเณรจดจำ� ตาใชไ้ ดด้ ี เพราะตลอดเวลากวา่ ๓๐ ปี
(จากปี ๒๕๑๖-๗ ถึง ๒๕๓๘) ตาใช้และมวลสมาชิกตลาดบางล่ี
ได้มาถวายข้าวต้มทุกวันพระ ท่ีวัดสองพ่ีน้องตลอด และอีกสิ่งหนึ่ง
ทจี่ ำ� กนั ได้ดีคือ ตาใช้มีรถเมล์ว่ิงกรุงเทพฯ บางลี่ ได้สั่งไว้ว่า พระเณร
ข้ึนรถไม่ต้องเก็บตังค์ นับว่าได้ถวายความสะดวกสบายแก่พระเณร
ทขี่ ้าพเจ้าก็เปน็ ผ้หู นง่ึ ท่เี คยใชบ้ ริการนัง่ รถเมล์ฟรขี องนายกฯ ใชท้ า่ นนี้

รกรากพ้ืนเพของนายกฯ ใช้ เกิดท่ีรางกระทุ่ม ต�ำบลต้นตาล
อำ� เภอสองพนี่ อ้ ง แถววดั ทองประดษิ ฐ์ ตำ� บลบางเลน ซง่ึ มที งั้ บางกระทมุ่
และรางกระทุ่ม บางกระทุ่มอยู่ในเขตตำ� บลบางเลน ส่วนรางกระทุ่ม
เป็นล�ำรางท่ีอยู่ในเขตต�ำบลบางเลนท่ีแบ่งเขตระหว่างเทศบาล
ตำ� บลสองพนี่ อ้ งกับต�ำบลบางเลน ตรงสะพานสามต�ำบล และล�ำรางนี้
อยใู่ นเขตต�ำบลต้นตาลคอื ฝ่ังเดยี วกับวดั สองพ่นี ้องด้วย เพราะมีลำ� ราง
ทง้ั สองดา้ น

132 อนทุ ินประจ�ำวนั

บรรพบรุ ษุ ฝา่ ยเตย่ี “แซฉ่ วั่ ” นน้ั เทา่ ทส่ี อบถามดู มี ๓ คนพน่ี อ้ ง
คนโตว่ายังนึกช่ือไม่ออก คนที่สองคือ “สุ่ยจ้ัว แซ่ฉ่ัว” ที่เป็นเต่ียของ
ตาใช้ และ คนทสี่ ามชื่อ สยุ่ ต๋ี แซ่ฉว่ั

เตยี่ สยุ่ จ้วั แซฉ่ ่ัว (พ่ี) แต่งกับอมี่ ่วง แซ่โง้ว (พ่)ี
เต่ยี สุ่ยตี๋ แซ่ฉ่ัว (นอ้ ง) แตง่ กับอีท่ องสขุ แซ่โงว้ (น้อง)
นั่นคือ พ่ีได้พี่ น้องได้น้อง ระหว่างสองตระกูล “แซ่ฉ่ัว คือ
ฉันทดิลก กับ แซโ่ ง้ว คือ ไทยสวสั ด์ิ, ดวงจินดา”
ข้าพเจ้าสนใจตระกูล “แซ่โง้ว” เพราะรู้จักยายเบ้ด อาจหาญ
(+ตาชุ่ม อาจหาญ) คนไผช่ า้ งแลน่ , ยายเบ้ดคนไผช่ ้างแล่น เป็นพ่ีสาว
คนโต เปน็ ลกู หัวปี ของอากงเฮยี ง แซโ่ ง้ว คนจนี นอก กับอามา่ เทยี บ
คนไทย วัดตาก้อง นครปฐม
อากงเฮียง-อาม่าเทยี บ แซ่โงว้ มีบุตรธดิ ารวม ๙ คน (ชาย ๔
หญงิ ๕) เรยี งลำ� ดบั คอื (๑) นางเบด้ (+นายชมุ่ อาจหาญ) (๒) นายไจบ้ นุ้
ดวงจนิ ดา (๓) นายฮงบญุ ไทยสวสั ดิ์ (๔) นางมว่ งแตง่ กบั นายสยุ่ จว้ั แซฉ่ วั่
(๕) นางทองสุข แต่งกับนายสุ่ยตี๋ แซ่ฉั่ว (๖) นายเช็งเอ็ง ไทยสวัสด์ิ
(๗) นางมาก ไปอยู่ปราจีนบุรี แต่งกับ “โตอนันต์” (๘) อ่ีเล็ก หรือ
นางสมจติ แตง่ กบั “มหาเจรญิ ” (๙) นายบู๊ ไทยสวสั ด์ิ หรอื นายประสทิ ธ์ิ
ไทยสวสั ดิ์ เปน็ คนเดียวกัน
นั่นคือบรรพบุรุษที่พบกันระหว่าง แซ่ฉ่ัว และ แซ่โง้ว และ
เชอ้ื สายจีนนอก “แตจ้ ิ๋ว” กับอามา่ เทยี บ ทว่ี า่ เป็นคนไทย คนวัดตาก้อง
อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ท่ีอพยพเข้ามาอยู่เขตต�ำบลบางเลน
ตำ� บลต้นตาล และตลาดบางลี่ และที่กระจายไปอย่ตู ามท่ตี า่ งๆ

อนทุ ินประจำ� วนั 133



อนทุ นิ ประจำ� วนั

(๕๒๕ คณุ ยา่ จอ้ ย โตงาม อายุ ๑๐๘ ป)ี

ในวันพระราชทานเพลิงศพ นายกฯ ใช้ (นายชยั วตั ร ฉนั ทดลิ ก)
(๒๔๗๔-๒๕๖๑) เม่ือวันเสาร์ ท่ี ๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑
ณ วัดสองพ่ีน้องน้ัน ข้าพเจ้าเดินทางไปถึงวัดสองพ่ีน้องราว
บา่ ย ๒ โมง มองเหน็ ความเปล่ียนแปลง เช่น แทน่ ท่ีตักบาตรยา้ ยไป
อยู่ที่หน้ากุฏิเจ้าอาวาสพระปริยัติวรคุณ (สมชาย ป.ธ.๖) ส่วนอาคาร
ท่ีนายหุ่น โมงเย็น และครอบครัวเป็นเจ้าภาพสร้างยังต้ังอยู่ที่เดิม,
ทา่ นผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสบอกวา่ จะยา้ ยแทน่ ทต่ี กั บาตรไปทดี่ า้ นทศิ ตะวนั ออก
ของศาลาการเปรียญ

เมอ่ื มาถงึ ศาลาการเปรยี ญ กย็ นื คยุ กบั นายสระแกว้ ฉนั ทดลิ กบา้ ง
และ ร.ต.ด�ำรงค์ ไทยสวสั ดิ์ และคนอนื่ ๆ สาระทค่ี ยุ กนั คอื ไลเ่ รยี งลำ� ดับ
ลกู ๆ ของ อากงเฮยี ง-อามา่ เทยี บ แซโ่ งว้ ซงึ่ มบี ตุ รธดิ า ๙ คน (หญงิ ๕ ชาย ๔)
ซึ่งนายสระแก้วได้โชว์รูปภาพหนึ่งเป็นผู้หญิง ๕ คน ว่ามีเกือบครบ
ขาดเฉพาะคนหวั ปคี อื นางเบด้ อาจหาญ ทไี่ ปอยไู่ ผช่ า้ งแลน่ และบอกวา่
รูปผู้หญิงคนหน่งึ ในภาพเป็นคนอนื่ ทีเ่ ปน็ เพอ่ื นสนิทกนั

ข้าพเจ้ามองหาครูเย่ือ นุชศิริ อายุเกือบ ๙๗-๙๘ ปีท่ัวทั้งงาน
แต่เน่ืองจากคนมาก ไม่ได้พบตัว จึงไม่รู้ว่ามาร่วมงานนี้หรือไม่มา
ถ้ามาก็ต้องนับว่าเป็นผู้อายุมากท่ีสุด ข้าพเจ้าเดินเข้าไปภายในศาลา
เม่ือพระแสดงพระธรรมเทศนาจบลง มองเห็นนายเบ้ียว อมรไตรภพ

อนทุ นิ ประจำ� วนั 135

(เดมิ แซล่ มิ้ และแมน่ ามสกลุ “บชู า”) (เกดิ ราวปรี ะกา ๒๔๗๖) ซง่ึ เกดิ ที่
ลาดพลี ตำ� บลบางเลน อำ� เภอสองพนี่ อ้ ง ยา้ ยจากลาดพลมี าอยบู่ า้ นใหญ่
สองพี่น้อง คิดว่าจะเข้าไปทักทาย แต่ก็ไม่ได้เข้าไปทัก ได้ยินพิธีกร
ประกาศวา่ เปน็ เพอื่ นสนิทคนหนงึ่ ของนายชัยวตั ร ฉันทดิลก ผู้วายชนม์

ขณะจูงศพเดินเวียนซ้ายเมรุวัดสองพี่น้อง ข้าพเจ้าเดินไปดู
รายช่ือเจ้าภาพสร้างศาลาการเปรียญวัดสองพี่น้อง ท่ีสร้างเสร็จ
ในราวปี ๒๕๒๓-๔ เห็นรายช่อื เจ้าภาพแรกที่เร่มิ ทางดา้ นพระประธาน
ภายในศาลาชอ่ื “นายกยุ้ ฮวง นางเซย้ี ะฮวย แซต่ ง้ั ” กส็ อบถามวา่ เปน็ ใคร?
ไดย้ นิ เสียงตอบวา่ “เจ้าของโรงสีเกา่ ทตี่ รงสะพานข้ามคลองสองพี่น้อง
ตรงหน้าเทศบาลเมืองสองพี่น้อง ปัจจุบันรื้อไปหมดแล้ว” ข้าพเจ้า
นึกว่าแถวนั้นเคยมีโรงสีของนายพริ้ง ผิวงาม ซ่ึงกลุ่มน้ีเกี่ยวข้องกับ
ตระกูล “รัตนพล” บ้านติดกันกับบ้านยายจ�ำเนียร เรืองรังษี แม่ยาย
ของนายชัยวตั ร ฉันทดิลก

ลกู ๆ ของนายชยั วตั ร-นางชดิ เชอื้ ฉนั ทดลิ ก (เรอื งรงั ษ)ี สว่ นใหญ่
เกดิ ทบี่ า้ นยายจำ� เนยี ร สามชี อ่ื นายไล้ เรอื งรงั ษี (+ปา้ เทศ, +ยายจ�ำเนยี ร)
ข้างๆ บ้านเลือดสุพรรณ ซึ่งตระกูล “เรืองรังษี” นี้มาจาก “แซ่เตียว
หรือแซ่เตีย” เป็นเขยสองพนี่ ้อง เพราะมาจากนครชัยศรโี น้น, นายไล้
มีภรรยาสองคน ได้ทง้ั พ่แี ละนอ้ ง ชื่อปา้ เทศและยายจ�ำเนียร ซ่ึงทงั้ สอง
คนเป็นบุตรีของนางพลับ ใจสมานมิตร์, นางพลับแต่งงานกับนายดี
ใจสมานมิตร์ และปรากฏชื่อ “นางพลับ ใจสมานมิตร์” ที่โบสถ์
วัดสองพี่น้อง ในจารึกท่ีบริจาคสร้างโบสถ์วัดสองพี่น้องในปี ๒๔๗๖
บรจิ าคถงึ ๒๐๐ บาทในยุคนัน้

136 อนุทินประจ�ำวัน

ดงั น้ัน เป็นตระกูลสัมมาทฐิ ิ ทีอ่ ปุ ถมั ภว์ ดั สองพี่น้องเร่ือยมา
ข้าพเจ้าสอบถามเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน ต�ำบลเนินพระปรางค์
อ�ำเภอสองพ่ีน้อง ว่า “บ้านดอน” อยู่ท่ีไหน? เพราะเคยเห็นประวัติ
นางเชง็ พวงวรนิ ทร์ แมข่ อง ศ.นพ.นพิ นธ์ พวงวรนิ ทร์ (เกดิ ปเี ถาะ ๒๔๙๔)
วา่ เปน็ คนบา้ นดอน เดมิ ขา้ พเจา้ หลงคดิ ไปวา่ บา้ นดอนอยแู่ ถวหลงั ตำ� บล
ทงุ่ คอกโนน้ โดยเฉพาะเปน็ คนแถวตำ� บลบา้ นดอน อำ� เภออทู่ อง แถวๆ นน้ั
คนยา่ นแมน่ ำ้� เรยี กยา่ นขา้ งบนแถววดั หลวงพอ่ โหนง่ วา่ “ดอน”
ดงั นนั้ บา้ นดอนจงึ หมายถงึ ดอนเนนิ พระปรางค์ ดอนหวายสอ ดอนโพธอ์ิ น้
อะไรประมาณน้ี สรปุ วา่ นางเชง็ พวงวรินทร์ เป็นคนบา้ นดอน แถววัด
คลองมะดันแห่งนี้ เป็นพี่น้องกับนายใช้ ต้ังสกุล ดังนั้น ข้าพเจ้าคิดว่า
บรรพบรุ ษุ พอ่ แมข่ องยายเชง็ พวงวรนิ ทร์ เปน็ “แซต่ งั้ ” เมอื่ มาเจอชอื่ จารกึ
“นายก้ยุ ฮวง แซต่ ้งั ” จึงสอบถามไป เพ่ือความกระจา่ งชัด
ได้สอบถามเจ้าอาวาสวัดอัมพวันต่ออีกว่า ที่เดิมช่ือวัดใหม่
อมั พวนั ตอ่ มาคำ� วา่ “ใหม”่ หายไปอยา่ งไรไมท่ ราบ และตอนไหนกไ็ มร่ ู้
เหมอื นกนั ทท่ี ราบคอื สมยั ยคุ สรา้ งวดั ยงั เปน็ สำ� นกั สงฆน์ นั้ มพี ระรปู หนง่ึ
ในตระกลู “อนิ ทรบ์ ำ� รงุ ” เคยไปรกั ษาการเจา้ อาวาสหรอื จะเปน็ เจา้ อาวาส
สำ� นกั สงฆร์ นุ่ แรกๆ แตเ่ ขาไมน่ บั กนั อาจจะเพราะไมท่ ราบประวตั ชิ ดั เจน
จนมาถงึ หลวงพอ่ แสง เดมิ อยวู่ ดั สองพี่น้อง รกรากคนโกรกกรากไปอยู่
วัดใหมอ่ มั พวัน หลวงพอ่ แสงท่านชอบเดินธุดงคไ์ ปเรอื่ ย เช่นเคยไปอยู่
วัดดอนกลาง (วัดใหม่นพรัตน์) ก็เคยไป ท่ีเห็นหลักฐานชัดเจนหน่อย
คือเป็นผู้สร้างโบสถ์ไม้ไว้ท่ีวัดทะเลบก อ.ก�ำแพงแสน จ.นครปฐม
โบสถ์ไม้หลังนี้ถูกรื้อไปแล้ว ถ้าสอบถามชาวบ้าน ยังพอเล่าเร่ืองราว
ของโบสถไ์ มห้ ลวงพอ่ แสงได้

อนุทนิ ประจ�ำวัน 137

เม่ือหลวงพ่อแสงเดินธุดงค์ไปไหนไม่ทราบ แต่คงจะกลับบ้าน
ไปแถววัดโกรกกราก ชาวบ้านแถวบ้านป่านาดอนวัดใหม่อัมพวัน
จึงไปอ้อนวอนขอตัวหลวงพ่อโหน่ง โตงาม (๒๔๐๘-๒๔๗๗) มาเป็น
เจ้าอาวาสรูปที่ ๒ ทีแรกหลวงพ่อโหน่งก็ไม่อยากมา แต่ขัดค�ำสั่ง
คณะสงฆไ์ มไ่ ด้ และปกตหิ ลวงพอ่ โหนง่ ทา่ นชอบปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน
เป็นพระชอบปฏิบัติอยู่ด้วย เมื่อให้ไปก็ต้องจากบ้านเกิดเมืองนอน
กไ็ ป โยมมารดาชือ่ ย่าจ้อย ได้ติดตามไปอยู่ท่ีบา้ นคลองมะดนั ดว้ ย

หลวงพอ่ โหนง่ เกดิ ในตระกลู “โตงาม” ทที่ า้ ยบา้ น ซงึ่ เขาเรยี กวา่
“บา้ นเหนอื ” เปน็ บุตรคนท่ี ๔ ของพ่อโต-แม่จอ้ ย โตงาม ทโ่ี บสถ์เกา่
วัดอัมพวันมีรูปภาพวาดท่ีเสาโบสถ์ด้านนอกโบสถ์ เป็นรูปภาพชุด
นรกสวรรค์บ้าง เร่ืองพระมาลัย สอนเรื่องท�ำดีได้ดี ท�ำช่ัวได้ชั่ว
มีภาพหนึ่งที่ข้าพเจ้าเคยไปดูเป็นภาพหลวงพ่อโหน่ง น่ังประสานมือ
เข้าด้วยกัน ก�ำลังปฏิบัติกรรมฐาน และที่ด้านล่างมีรูปภาพวาดเป็น
ผู้หญิงแต่งชุดขาวปฏิบัติธรรมเช่นกัน มีอักษรเขียนว่า “แม่จ้อย”
จงึ ทราบวา่ เปน็ รปู ภาพวาดของโยมมารดาหลวงพอ่ โหนง่ เคยสอบถามวา่
มีภาพวาดของนายโต โยมบิดาของท่านบ้างไหม ปรากฏว่าไม่มี
จงึ สนั นษิ ฐานวา่ นายโตทเี่ ปน็ ทม่ี าของนามสกลุ วา่ “โตงาม” คงจะเสยี ชวี ติ
ไปก่อน

เม่ือคุยกับเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน ซ่ึงเป็นพระครูสัญญาบัตร
ช่ือเดิมว่า “วงเดือน” ท่านบอกว่า ท่ีกุฏิของท่านมีรูปภาพจริงๆ ของ
ย่าจอ้ ย อายุ ๑๐๐ ปเี ศษ ขา้ พเจ้าจงึ ประสงค์ไปดู

ปรากฏว่าไปเยี่ยมกุฏิเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน ได้ผลเกินคาด
นอกจากได้เห็นหลักฐานท่ีข้าพเจ้าเคยเห็นมาก่อน เป็นรูปภาพ
หลวงพ่อแสง มีคำ� บรรยายใต้ภาพวา่ “ทา่ นอาจารย์แสง ผใู้ หก้ ำ� เหนิด

138 อนทุ ินประจ�ำวัน

วดั ใหม่อมั พวัน ต.เนินพระปรางค์ อ.สองพน่ี อ้ ง จ.สุพรรณบรุ ี สร้างเมือ่
พ.ศ.๒๔๒๖ อภินันทนาการจากท่านพระครูอุภัยภาดารักษ์ (จ่าง)
เจ้าอาวาสวัดสองพีน่ ้อง”

ยังได้รูปภาพต้นฉบับท่ีใช้เป็นภาพวาด ของคุณย่าจ้อย โตงาม
ทเ่ี ปน็ สองคนพนี่ อ้ งกบั คณุ ยา่ คง จนิ ดาอนิ ทร์ (สามชี อื่ ปขู่ ำ� จนิ ดาอนิ ทร)์
ได้หลักฐานเพ่ิมเติมคือค�ำบรรยายใต้ภาพท่ีมีอักษรเก่าเขียนว่า
“รูปแม่จ้อย โยมหลวงพ่อโหน่ง อายุร้อยปีเศษ เกิดท่ี ต.สองพี่น้อง
บา้ นตน้ ตาล เปน็ ผ.ู้ .............อยบู่ า้ นคลองมะดนั ” เสยี ดายทพ่ี ยายามอา่ น
แตอ่ า่ นได้ไม่หมด ถา้ ใครอา่ นไดค้ รบถ้วน ชว่ ยบอกเป็นวิทยาทานดว้ ย

ยังพบรูปภาพหลวงพ่อโหน่ง โตงาม (๒๔๐๘-๒๔๗๗)
ท่ีใต้รูปภาพเขียนว่า “พระอุปัชฌาย์โหน่ง (ฉายา อินฺทสุวณฺโณ)
วดั ใหมอ่ มั พวนั ถา่ ยเมอ่ื อายุ ๖๙ ปี ตรงกบั วนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๗
เดือน ๘ ข้ึน..... ให้ไว้แก่ศิษยานุศิษย์ เพื่อไว้เป็นที่ระฤก และกระท�ำ
สกั การะบชู า ขอขา้ พเจ้าไดร้ ับความสขุ ทกุ กริ ยิ า”

แต่อักษรใหม่ท่ีเขียนทับอักษรเก่า ระบุไว้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่า
“แมจ่ อ้ ย อายุ ๑๐๘ ป”ี จงึ มาคิดคำ� นวณดเู ลน่ ๆ วา่ คุณยา่ จ้อย โตงาม
คนต้นตาล ทา้ ยบ้านผู้นี้ คงเกดิ ในราวปี ๒๓๘๓ สมยั ร.๓ คำ� นวณจาก
ชว่ งปเี กดิ ของหลวงพอ่ โหนง่ บตุ รคนที่ ๔ ซงึ่ เกดิ ปี ๒๔๐๘ วา่ “โยมแมจ่ อ้ ย
ในปี ๒๔๐๘ น้นั น่าจะมีอายุราว ๒๕ ปี” คือแตง่ งานในราวอายุ ๒๐ ปี
ถ้าการออกเรือนในสมัยน้ัน อายุ ๑๗ ปีก็อาจเป็นได้เช่นกัน ดังนั้น
บวกลบไวส้ กั ๕ ปี เผอื่ เหลอื เผอ่ื ขาด แตข่ อตวั เลขปโี ยมคณุ ยา่ จอ้ ย โตงาม
ว่าเกดิ ปี ๒๔๘๓ ไว้ก่อน

รูปภาพของคุณย่าจ้อย โตงาม บอกว่า อายุ ๑๐๘ ปี ดังน้ัน
เสยี ชวี ติ ในราวปี ๒๔๙๑ ภายหลงั จากหลวงพอ่ โหนง่ มรณภาพแลว้ ๑๔ ปี

อนุทนิ ประจำ� วัน 139

คิดเล่นๆ ดวู า่ ชมุ ชนคนท้ายบ้าน คนตน้ ตาล ที่อยฝู่ ง่ั ตรงข้ามกบั
ตวั อำ� เภอเก่าสองพีน่ ้อง ที่ปากคอกนนั้ นับอายุชาตกาลของคณุ ย่าจอ้ ย
โตงามเปน็ หลกั เกณฑก์ ารนบั อายขุ องหมบู่ า้ นตน้ ตาล มาจนถงึ ปี ๒๕๖๑
นี้ นับได้ ๑๗๘ ปี คนรุ่นพ่อรุ่นแม่ของคุณย่าจ้อย โตงาม ต้องมีอายุ
ในราว ๒๐๐ ปี

สรุปว่า คนต้นตาล คนท้ายบ้าน มีอายุมาอย่างน้อย ๒๐๐ ปี
เทา่ ทสี่ บื ประวตั ไิ ด้ โดยใชห้ ลกั ฐานรปู ภาพคณุ ยา่ จอ้ ย โตงาม เปน็ เกณฑ์

บทความที่เนื่องด้วยอนุทินในวันน้ี มีเพิ่มเติม ซ่ึงเขียนไว้เมื่อปี
๒๕๖๐ ทีล่ งิ กข์ า้ งล่างน้ี

https://www.facebook.com/pphamonphon/
posts/1780948675254353

140 อนุทนิ ประจ�ำวนั

อนทุ ินประจำ� วนั

(๕๒๖ รถเมล์บางล-่ี กรุงเทพฯ)

นายกฯ ใช้ (นายชยั วตั ร ฉันทดิลก) (๒๕ ก.ย.๒๔๗๔ - ๓๐ ม.ิ ย.
๒๕๖๑ อายุ ๘๗ ปี) มคี ณุ ูปการต่อการคมนาคมในเขตอ�ำเภอ
สองพน่ี อ้ ง ดงั ในหนงั สอื ทแ่ี จกในงานพระราชทานเพลงิ ศพ ไดเ้ ลา่ เรอ่ื ง
ที่มีส่วนในการช่วยให้เกิดเส้นทางสายตรง สายบางลี่-หลังวัดป่า
ระยะทางราว ๓๐ กม.หลงั จากไดเ้ ขา้ เฝา้ ในหลวงทอ่ี นสุ รณด์ อนเจดยี ์
ใน พ.ศ. ๒๕๒๐ ในยคุ ผวู้ า่ จรนิ ทร์ กาญจโนมยั ทเ่ี กดิ เสน้ ทางคมนาคม
เชอื่ มตอ่ ระหว่างตัวเมอื งสพุ รรณบรุ กี ับอำ� เภอสองพ่ีนอ้ ง

อ�ำเภอสองพ่ีน้อง มีตลาดบางลี่เป็นศูนย์กลาง สมัยก่อนโน้น
ช่ืออำ� เภอบางล่ี ลดฐานะลงเป็นต�ำบลบางล่ี และปจั จบุ นั เหลอื รอ่ งรอย
แคต่ ลาดบางลี่ ทว่ี า่ การอำ� เภอบางลอี่ ยทู่ ไ่ี หน ยงั ชชี้ ดั ไมไ่ ด้ แตส่ นั นษิ ฐาน
ว่าอยู่ตามล�ำคลองสองพี่น้อง ตั้งแต่เขตราวต�ำบลหัวโพธ์ิ ย่านบ้าน
กระบอก ต�ำบลบางพลับ บางลี่เล็ก ไผ่หมู่ บ้านบางใหญ่ (บ้านเดิม
ของปลดั พิน จันทรเ์ รอื ง) จนถึงต�ำบลตน้ ตาล จรดเขตตำ� บลบางเลน

สมยั กอ่ นใชบ้ า้ นนายอำ� เภอ เปน็ ทวี่ า่ การอำ� เภอ ยงั ไมม่ อี อฟฟศิ
เช่นปัจจุบัน

มาทราบว่าทีต่ ัง้ ท่ีวา่ การอ�ำเภอสองพี่น้อง เมอื่ นายอำ� เภอเอี่ยม
สถาปติ านนท์ (หลวงเทพบรุ ,ี หลวงอภุ ัยภาติกเขต, พระยาอุภยั ภาติก
เขต) เปน็ คนแรกทส่ี รา้ งทว่ี า่ การอำ� เภอ หา่ งจากบา้ นของนายอำ� เภอราว
๕๐๐ เมตร บา้ นหลงั น้ีปจั จุบนั ก็รื้อไปแลว้ เหลอื แต่บ่อนำ�้ เปน็ หลักฐาน

อนุทินประจำ� วนั 141

วา่ อยแู่ ถวน้ี และทวี่ า่ การอำ� เภอสองพนี่ อ้ ง ชาวบา้ นเรยี กวา่ “อำ� เภอเกา่ ”
บา้ ง อำ� เภอท่ี “ปากคอก” บา้ ง ปจั จบุ นั เหลอื เสาอฐิ เปน็ หลกั หมดุ หมาย
ให้ทราบได้ เอาง่ายๆ ว่าอยู่ใกล้กับโรงเรียนอ�ำนวยวิทย์ก็แล้วกัน
หา่ งกนั ราว ๒๐๐ เมตรได้

อำ� เภอเกา่ เป็นท่ีว่าการอำ� เภอสองพน่ี ้อง จนถึง ๒๕๐๗ จนยา้ ย
ท่ีว่าการมาที่หน้าวัดโพธิ์อ้น เน่ืองจากหนีน้�ำ ที่ฤดูหนึ่งเป็นฤดูแล้ง
อกี ฤดหู นง่ึ เปน็ ฤดนู ำ้� เมอื่ การคมนาคมเปลย่ี นทศิ ทางจากการใชเ้ รอื ทางนำ�้
มาเป็นใช้รถยนต์ทางบก ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของบ้านเมือง
กเ็ ปล่ยี นตามไป

ตลาดบางลเ่ี คยเปน็ ตลาดสองฤดู กเ็ ปลย่ี นเปน็ ฤดเู ดยี ว นายกฯ ใช้
(นายชัยวัตร ฉันทดิลก) ได้ถมดินกลายเป็นช้ันเดียวในปี ๒๕๒๗
สมัยดำ� รงตำ� แหนง่ เป็นนายกเทศมนตรเี ทศบาลเมืองสองพน่ี ้อง

ไฟฟา้ -ประปายงั อยแู่ ถวหนา้ เทศบาลในทล่ี มุ่ แตก่ ารพฒั นาการ
ของตลาดบางล่ี เรม่ิ มที ท่ี ำ� การไปรษณยี โ์ ทรเลข ซงึ่ เดมิ กว็ า่ อยใู่ นเทศบาล
แต่ในราวปี ๒๕๐๐ ได้ย้ายมาอยู่หัวถนน ดังจะเหน็ มที ่ที ำ� การไปรษณยี ์
โทรเลข - ทีท่ ำ� การสหกรณ์ - ธนาคารออมสิน สาขาสองพนี่ ้อง รัฐบาล
เปน็ ประกัน

รถเมลเ์ บอรแ์ รกเบอร์ ๑ เปน็ ของนายสมบุญ หรอื นายสมบูรณ์
สถาปิตานนท์ เจ้าของโรงแรมสุขสมบูรณ์ท่ีปัจจุบันร้ือหายไปแล้ว
นายสมบญุ เปน็ เจา้ ของรถเบอรห์ นง่ึ นายชยั วตั ร ฉนั ทดลิ กวงิ่ รถเบอร์ ๒
และเบอรอ์ ะไรตา่ งๆ วง่ิ ระหวา่ งกรงุ เทพฯ-บางลี่ ในยคุ ทม่ี ถี นนมาลยั แมน
เกิดขน้ึ และเส้นทางจากหนองวัลย์เปรยี งกำ� ลงั พัฒนาเขา้ สู่ตลาดบางลี่

ในยุคแรกๆ ของการคมนาคม นั่งรถไปก็หัวแดงเป็นฝร่ังไป
ก่อนจะเปน็ ถนนลาดยางเชน่ ปัจจุบนั นี้

142 อนทุ นิ ประจ�ำวัน

อนทุ นิ ประจ�ำวนั

(๕๒๗ สาแหรกมีแก้วน้อย - พวงวรนิ ทร)์

เมอื่ ไดเ้ อกสารงานศพของนางเชง็ พวงวรนิ ทร์ แมข่ อง ศ.นพ.นพิ นธ์
พวงวรินทร์ เช้ือสายคนสองพี่น้อง ข้าพเจ้าหยิบแผ่นสาแหรก
ทค่ี ้นคว้าโดยนายบรรเจดิ สุขเจริญ, นางสงุ่น สขุ เจรญิ ซึง่ จัดท�ำโดย
ร.ต.ต.สุพจน์ สุขเจริญ เม่ือวันท่ี ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ มาดู
แผน่ สาแหรกใส่กรอบพลาสติกไว้อยา่ งดี จึงจำ� ไดว้ ่าวางไวแ้ ถวไหน

นางสงนุ่ สุขเจรญิ หนงึ่ ในผูจ้ ดั ทำ� สาแหรก คอื ท่านนี้
จากแผน่ สาแหรก เบอื้ งตน้ มพี ระรปู สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี ๑๗ (ปุ่น ปุณฺณสิริมหาเถร นามสกุล
“สุขเจริญ”) วัดพระเชตุพน, รูปภาพถัดไปอยู่กลางเป็นรูปภาพของ
พระเทพมงคลมุนี (หลวงพ่อสด จนฺทสโร นามสกุล “มีแก้วน้อย”)
วดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ และรปู ภาพสดุ ทา้ ยเปน็ รปู ภาพหลวงพอ่ หอม เกสโร
นามสกุล “แสงจินดา” วดั สองพ่ีน้อง
เป็นพระอริยสงฆ์ ผู้ประเสริฐ แห่งบ้านย่านคลองสองพี่น้อง
บ้านอยู่ฝั่งตรงข้ามกับวัดสองพี่น้องในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นญาติสาโลหิต
เดยี วกัน
ใต้รูปภาพมีรายชื่อ ๘ คน ชื่อ “นายเกิด, นายสังข์, นายยัง
(พระปลัดยัง เจ้าอาวาสวัดสองพี่น้อง), นายอยู่, นายน้อย, นายสิงห์,
นายสอน, นางหนู”

อนุทนิ ประจำ� วัน 143

นายนอ้ ย คนท่ี ๕ ของพีน่ ้อง ๘ คน มภี รรยา ๒ คนชือ่ นางรวิ้
กบั ภรรยาคนท่ี ๒ ไมท่ ราบชอื่ แตท่ ราบชอ่ื ชน้ั ลกู ๆ มชี อ่ื นายนะ มแี กว้ นอ้ ย
คนหนง่ึ

นายน้อย-นางร้ิว มีแก้วน้อย สันนิษฐานว่า ค�ำว่า “น้อย”
ที่ห้อยท้ายนน้ั เปน็ ชือ่ ของสายท่ีขอจดทะเบยี นนามสกลุ หรอื อยใู่ นช่วง
ทน่ี ามสกลุ เพง่ิ บงั เกดิ บงั คบั ใชใ้ นยคุ แรกๆ ซง่ึ ลกู หลานเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่
เอาคำ� ว่า “นอ้ ย” มาเป็นทรี่ ะลึกสกั ชอื่ หน่ึง เพือ่ เปน็ อนสุ รณใ์ นการให้
ลูกหลานรจู้ กั กันไว้เถิด เม่ือเกิดเปน็ ไทย

นายน้อยกับนางร้ิว มีแก้วน้อย มีบุตรธิดาด้วยกัน ๗ คน คือ
“นางขม ซงึ่ จะกลา่ วตอ่ ไปเฉพาะในสายน,ี้ นางแจม่ , นางฉำ่� , นางแหวด,
นางจนี (+นายตง่ิ แสงจนิ ดา) เปน็ โยมมารดาบดิ าของหลวงพอ่ หอม เกสโร
นามสกลุ แสงจินดาทมี่ ีรปู ภาพอยู่ทา้ ย), นายแก้ว, นางสุดใจ (+นายเงนิ
แซจ่ ิว) เป็นโยมมารดาบดิ าของพระมงคลเทพมนุ ี (สด มแี กว้ น้อย)”

ไลเ่ ฉพาะสายที่ ๑ คอื สายนางขม ซงึ่ เปน็ คณุ ยา่ ของ เจา้ พระคณุ
สมเด็จฯ ปา๋ แตง่ งานกับก๋งฮะ ซึ่งในเอกสารเขยี นวา่ “นายขะ แซเ่ จีย”
จากแซ่เจ่ีย (ใสว่ รรณยกุ ตไ์ ม้เอก ตามที่เขียนและใชใ้ นปจั จุบนั ในสมัย
ก่อนน้ัน) ลูกหลานได้เปลี่ยนเป็นนามสกุลว่า “สุขเจริญ” หากถามว่า
“ใครเป็นผู้ขอจดทะเบียนนามสกุลท่ีเปล่ียนจากแซ่เป็นนามสกุล?”
นายบรรเจิด สุขเจริญบอกว่า น่าจะเป็นก๋งเฮ้ง ซ่ึงในเอกสารชิ้นน้ี
เขียนว่า “นายเห่ง สุขเจริญ” แต่งงานกับนางทิม ซ่ึงเป็นสายของ
นายบรรเจิด สุขเจริญ (ลูกพ่อไหล สุขเจริญ, หลานปู่เห่ง) โดยให้
เหตุผลวา่ “เฮง้ ” แปลว่า “โชคด”ี ดังในค�ำพดู ทวี่ า่ ขอให้เฮง ขอให้เฮง
คอื ขอใหร้ ำ�่ รวยมชี ยั ให้เฮงๆ ขึน้ ไป

144 อนทุ นิ ประจำ� วนั

ลูกของนางขม-ก๋งขะ หรือก๋งฮะ แซ่เจี่ย มี ๖ คน ดังต่อไปน้ี
(๑) นายเห่ง หรอื นายเฮ้ง สขุ เจรญิ (๒) นางมยุ้ พฒุ เจรญิ (โยมมารดา
ของพระวิบูลเมธาจารย์ (หลวงพ่อเก็บ พุฒเจริญ) วัดดอนเจดีย์)
(๓) นางง้วย มีแก้วน้อย สายนี้เดิมใช้นามสกุลของนายน้อย-นางริ้ว
มีแกว้ นอ้ ย (๔) เตยี่ เน่า สขุ เจริญ (+นางวนั ) ซงึ่ เป็นโยมมารดาบดิ าของ
เจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ปา๋ แตใ่ นเอกสารชน้ิ อา้ งองิ นเี้ ขยี นชอ่ื แมก่ อ่ นชอ่ื พอ่
ซึ่งเปน็ การเขียนสลบั กัน (๕) นางเกยี ว ศรที องเกิด (๖) นางแหว้ ยังสืบ
ไมไ่ ดว้ า่ นามสกลุ อะไร มลี กู ๒ คนชอ่ื นายต๋ี และนางรว้ิ ทแี่ ตง่ กบั นามสกลุ
“วรรณศิริ” ซึ่งนางริ้วคนน้ีเป็นลูกผู้น้องของสมเด็จพระสังฆราชป๋า
ดังรูปภาพของพระองค์ที่ถ่ายยังเป็นพระมหาปุ่น เขียนว่า “มอบให้
น้องสาวร้ิว....” เปน็ รปู ภาพทไ่ี ดจ้ ากบา้ นลกู หลานของนางรวิ้ วรรณศริ ิ

เจา้ พระคณุ สมเดจ็ ปา๋ เรยี กนางงว้ ย แมข่ องกำ� นนั ถม มแี กว้ นอ้ ย
วา่ “ปา้ งว้ ย” เปน็ พส่ี าวของเตย่ี เนา่ (ผสู้ นั ทดั กรณใี นสายตระกลู นี้ ยนื ยนั
ว่าชอ่ื “เนา่ ” จรงิ ๆ แต่ในเอกสารราชการเขียนใหด้ ูดีขึ้นเปน็ ชอ่ื “เนา้ ”)
สรุปว่าในทอ้ งของนางขมกบั ก๋งฮะ มีบุตรธดิ า ๖ คน เปน็ ชาย ๒ คน
(ช่อื นายเฮง้ กับนายเน่า) ใชน้ ามสกุล “สุขเจริญ” และเปน็ หญงิ ๔ คน
ซงึ่ ใชน้ ามสกลุ ของบรรรพบรุ ษุ ชนั้ ตน้ บา้ ง ใชน้ ามสกลุ ของสามหี ลงั ออกเรอื น
ไปแล้วบ้าง

ว่าโดยเฉพาะสายของป้าง้วย มีแก้วน้อย แต่งงานกับคนจีน
ชอื่ นายวอน แซ่ซ้ือ ลกู ของก๋งฟุก-นางพวง มีลูกชาย ๓ คนช่ือนายถม,
นายอุน๋ , และนายเลข ใช้นามสกุล “มแี ก้วนอ้ ย” หมด ดงั เห็นหลักฐาน
ชอ่ื ของนายอนู่ หรอื นายอนุ๋ และนายเลข จารกึ ถาวรวตั ถทุ ฐ่ี านอาสนะสงฆ์
วดั สองพ่ีน้อง เปน็ “มแี ก้วนอ้ ย”

อนทุ ินประจำ� วนั 145

ส่วนนายถมนน้ั ต่อมาเปน็ กำ� นนั เนนิ พระปรางค์ เขาเรียกกนั วา่
“กำ� นนั ถม มแี ก้วนอ้ ย” มีหลกั ฐานทวี่ ทิ ยาลัยสุวรรณภมู ิ มีรูปภาพและ
ชอ่ื ชัดเจน เดมิ ในตน้ ปี ๒๕๐๕ ยังใชน้ ามสกลุ “มแี กว้ น้อย” ตอ่ มาได้
เปล่ียนนามสกุลใหมเ่ ป็น “ก�ำนันถม พวงวรินทร์” คำ� ว่า “พวง” นั้น
บางคนก็ค่อนแคะว่าเป็นชื่อของแม่ยายคนหนึ่งที่ทุ่งคอกซ่ึงชื่อว่า
“ยายพวง” แตจ่ ากหลกั ฐานทก่ี ลา่ วมาจะเหน็ ไดว้ า่ กำ� นนั ถม มแี กว้ นอ้ ย
เปน็ หลานชายของกง๋ ฟกุ -ยา่ พวง ดงั นนั้ คำ� วา่ “พวง” มาจากชอื่ ยา่ คนน้ี

ในแผ่นสาแหรกไม่ให้รายชื่อช้ันลูกของก�ำนันถม พวงวรินทร์
แตใ่ ห้รายละเอียดของบตุ รชาย ๒ คน คือนายอุ๋น มแี กว้ นอ้ ย แต่งงาน
กบั นางสารภี มลี กู ชอื่ นายละออ, นางรำ� พงึ และนางสำ� อาง สว่ นนายเลข
มีแก้วนอ้ ย มีลกู ชอ่ื นายคำ� , นายโคก, นางทองหยด

ส่วนรายชื่อลูกของก�ำนันถม พวงวรินทร์ ขาดหายไปเฉยๆ
คงเนื่องจากลูกหลานก�ำนันถมแยกย้ายไปอยู่ท่ีอ่ืนห่างไกลกันบ้าง
และก�ำนันถมมีภรรยาหลายคน จนยากท่ีจะสืบเสาะให้ครบถ้วนบ้าง
แต่ท่ีทราบแน่ๆ ก�ำนันถมกับภรรยาใหญ่ช่ือนางแช่ม มีลูกหลายคน
คนหน่ึงช่ือนายบุญชู พวงวรินทร์ แต่งกับนางเช็ง มีลูกโทนคนเดียว
ชอื่ ศ.นพ.นพิ นธ์ พวงวรนิ ทร์ และนอ้ งชายนายบญุ ชู พวงวรนิ ทรค์ นหนงึ่
ชื่อนายประพัฒน์ พวงวรินทร์ อยู่กรุงเทพฯ เรียนจบเกษตรศาสตร์
ซึง่ ตอนเป็นเดก็ หมอนิพนธเ์ คยไปพกั อาศัยอยูด่ ว้ ย

146 อนทุ นิ ประจ�ำวนั

อนทุ ินประจำ� วัน

(๕๒๘ ป่ทู วดย่าทวด และปขู่ องข้าพเจา้ )

เม่ือไปร่วมงานศพนายประยูร บูชา (๒๔๘๖-๓ ก.ค.๒๕๖๑
อายุ ๗๖ ปี) ท�ำให้ระลึกถึงความหลัง เจอน้องสาวคนเล็ก ของ
ขา้ พเจ้า บอกวา่ ตาประยรู บชู า อายุ ๗๖ ปี สว่ นพ่อตอนเสียชีวติ
อายุ ๖๗ ปี พ่อเกิดปรี ะกา ๒๔๗๖ เสยี ปี ๒๕๔๓ ดว้ ยโรคไตวาย

ไปเยี่ยมศพมา ๒ วัน วันแรกช่วงเช้าก่อนฉันเพล เดิมต้ังใจว่า
ไปฉันเพลข้างหน้า น้องสาวทราบบอกว่าอยู่บ้านนิมนต์ให้มาฉันที่บ้าน
กแ็ ลว้ กนั จงึ เขา้ ไปฉนั เพลทบี่ า้ นหนอ่ ยหนงึ่ กอ่ นจะออกไปเยย่ี มวดั ไฟไหม้
ทว่ี ดั ทงุ่ เขน็ ตำ� บลทงุ่ คอก และไปเยยี่ มวดั ศรสี ำ� ราญ ไปเยย่ี มบา้ นผลศรนี าค
ที่ท้ายบ้าน ก่อนจะมาร่วมพิธีบ�ำเพ็ญกุศลในงานศพของนายชัยวัตร
ฉันทดิลก (๒๕ ก.ย.๒๔๗๔ -๓๐ มิ.ย.๒๕๖๑ อายุ ๘๗ ปี) แลว้ เดินทาง
กลบั วดั ทก่ี รุงเทพฯ

วนั รงุ่ ขน้ึ เขา้ ไปสองพนี่ อ้ งอกี ครงั้ หนง่ึ แวะไปทำ� บญุ ตดิ กณั ฑเ์ ทศน์
หน่อยหนงึ่ และอยพู่ ูดคยุ กบั วงศาคณาญาตลิ าดพลี กอ่ นจะเดินทางไป
รว่ มงานพระราชทานเพลิงศพนายกฯ ชัยวตั รที่วดั สองพ่นี อ้ ง

ปู่ทวดของข้าพเจ้าช่ือนายด�ำ ภมรพล ย่าทวดช่ือนางพุด
นามสกุลเดิม ครุฑใจกลา้ รกรากคนบ้านกมุ่ เกดิ มาข้าพเจ้าไมเ่ คยเห็น
หน้า แม้แต่ปู่ของข้าพเจ้าก็ไม่เคยเห็นหน้าเช่นกัน ส่วนย่านั้นข้าพเจ้า
เคยเห็นหน้าค่าตา ยังจ�ำได้ และย่าก็นับว่าอายุยืนคนหนึ่ง มีใบหูยาว

อนทุ ินประจ�ำวนั 147

ยา่ ชอ่ื ยา่ พวน ภมรพล (๒๔๕๕-๒๔ ก.ย.๒๕๓๒ อายุ ๗๘ ป)ี นามสกลุ เดมิ
สีบัวสด

พอ่ เปน็ บตุ รคนท่ี ๒ ของปชู่ บุ ยา่ พวน ภมรพล (สบี วั สด) มพี ส่ี าว
หนงึ่ คนชอื่ ปา้ ฉาย อาจแยม้ สรวล (๒๔๗๒-๒๕๕๒), มนี อ้ งชายชอ่ื อาชาญ
คนหนึ่งที่ข้าพเจ้าทันเห็น และอาสาวคนเล็กช่ืออาตุ้ม ตอนเสียชีวิต
ขา้ พเจา้ ทนั เหน็ ตอนขา้ พเจา้ อายรุ าวสกั ๗-๘ ขวบได้ อาตมุ้ เสยี เปน็ สาวแก่
ไมม่ ีครอบครัว คงอายรุ าวสัก ๓๐ ปี

ทเ่ี ลา่ ตอ่ ๆ กนั มาวา่ ปชู่ บุ เปน็ หวั หนา้ คมุ ญาตพิ นี่ อ้ งและคนงาน
จากบ้านลาดพลีไปท�ำงานก่อสร้างทางรถไฟให้ญี่ปุ่น เป็นเส้นทางช่วง
แถวทา่ ม่วงคอื ตรงวัดท่าล้อ อ.ทา่ มว่ ง จ.กาญจนบุรี ซง่ึ ในชีวติ ข้าพเจ้า
เคยเดินทางไปกับป้าฉายคร้ังหนึ่ง ไปเยี่ยมถ่ินฐานตรงนี้ แต่ตอนน้ี
ไปไมถ่ ูกแล้ว จ�ำไม่ไดว้ า่ อยู่ตรงไหน และไมร่ ู้จะสอบถามใคร

ปู่ชุบหลังจากกลับมาจากงานรับจ้างสร้างทางรถไฟเส้นทาง
สายมรณะ กลับไปก็เสียชีวิต อายุยังไม่มาก คงเกิน ๓๐ ปีขึ้นไป
เหมอื นกบั อาตมุ้ ของข้าพเจา้ ทเี่ สียชีวิตไป

ป้าฉายเกิดปี ๒๔๗๔ ขา้ พเจ้าคิดว่าปู่ของขา้ พเจ้าน่าจะเกิดราว
ปี ๒๔๕๐ ข้าพเจ้าเป็นหลานปู่หลานย่า อายุเข้าเลขหลักหกแล้ว
บวกพ่อ ๒๕ ปี พวกปู่ ๒๕ ปี และปู่ทวด ๒๕ ปี นบั อายุชาตกาลได้ราว
๑๓๕ ปเี ป็นอยา่ งนอ้ ย บวกลบ ๕-๑๐

ชีวิตของคนไม่ง่ายเช่นน้ัน ยังมีปัจจัยตัวแปรอย่างอื่นในการ
คำ� นวณคดิ อายคุ รา่ วๆ บางคนอายหุ า่ งกนั มาก อยา่ งขา้ พเจา้ เกดิ ๒๕๐๒
น้องสาวคนเลก็ ของข้าพเจา้ เกดิ ๒๕๑๔ ห่างกัน ๑๒ ปนี กั ษัตรพอดี

ในครอบครัวใหญ่ๆ ที่มีลูกมาก จนมีค�ำขวัญว่า “ลูกมาก
จะยากจน” บางทคี นหัวปีกบั คนสุดทอ้ งห่างกนั รว่ ม ๒๐ ปีกม็ ี

148 อนุทนิ ประจ�ำวัน


Click to View FlipBook Version