The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2020-04-15 21:24:04

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

อนุทนิ ประจ�ำวัน

(๕๖๓ จากวดั แจ้ง ถึงท่านำ้� เมอื งนนทบรุ ี)

ทำวัตรเช้าแล้วไปร่วมงานวันแม่ วันไหว้ครู ที่คณะ ๖ วัดอรุณ-
ราชวราราม ซึ่งเป็นคณะที่เดิมพระสาธุศีลสังวร (เจ้าคุณเผื่อน
อุคฺคเสโน ป.ธ.๕) เคยพ�ำนักอยู่ ก่อนจะย้ายไปเป็นเจ้าอาวาส
วัดสุวรรณาราม เขตบางกอกน้อย ปัจจุบันเจ้าคณะ ๖ คือ
พระครูคมั ภีร์ปัญญาวิกรม (กำ� พรา้ โตชาวปา่ มาจากแซ่ลม้ิ บวกแซต่ นั )
คนด�ำเนินสะดวก ราชบรุ ี ซง่ึ คุ้นเคยกัน

เนื่องจากเจ้าอาวาสรูปใหม่ พระเทพเมธี (สมเกียรติ ป.ธ.๙)
เพง่ิ รบั พระบญั ชาเจา้ อาวาสพระอารามหลวงเมือ่ วันที่ ๕ ส.ค. ๒๕๖๑
จงึ มพี ธิ มี อบตราตงั้ เจา้ คณะ ๖ ทล่ี งนามใหม่ แลว้ มพี ธิ เี จรญิ พระพทุ ธมนต์
หวั หนา้ คอื พระราชคณุ าธาร (ถาวร ป.ธ.๗) วดั พระเชตพุ น เจา้ คณะ น.๑
ซ่ึงเป็นคณะที่พระอมรเวที (ปุ่น ป.ธ.๖) (ต่อมา สมเด็จพระสังฆราช
องคท์ ี่ ๑๗) เคยพำ� นกั อยกู่ อ่ นจะยา้ ยไปอยคู่ ณะ น.๑๖ ในยคุ ราวปี ๒๔๙๓

ได้พบคนต�ำบลจันทึก อ.ปากช่อง โคราชชื่อผู้ใหญ่วินัย
อัยรารัตน์ (เกิด ๒๔๙๖) ว่ามีคนสุพรรณไปต้ังรกรากอยู่มากกว่า
๕๐ ปีแล้ว มีวัดบ้านใหม่สุพรรณ เป็นจุดศูนย์กลาง ข้าพเจ้าถามว่า
“โคง้ สพุ รรณ” ทโี่ คราชอยทู่ ไ่ี หน วา่ หา่ งกนั ราว ๓๐ กม. มคี นศรปี ระจนั ต์
ไปอยกู่ นั แยะ

อนทุ ินประจำ� วัน 299

มาคณะ ๖ วัดอรุณคราวใด จะถามหาโยมยอด เลิศนันทกิจ
(ทองสา) (เกิดปชี วด ๒๔๗๙ อายุ ๘๒ ปี) นอ้ งสาวคนเล็กของจ่ามาก
ทองสา ทีแรกนึกว่าคลาดไม่เจอกัน แต่โชคดีที่ได้เจอกัน จึงถามว่า
จากสุพรรณท่ีดอนจันทร์ มาอยู่กรุงเทพฯ ตั้งแต่อายุเท่าไร? โยมยอด
บอกว่า ตั้งแต่อายุ ๒๐ ปี น่ันคือการโยกย้ายถ่ินฐานบ้านช่อง
จากแหล่งหน่งึ มาอีกถน่ิ หน่งึ อยา่ งโยมยอดน้นี ับเปน็ เวลา ๖๒ ปี

เดิมนึกว่าบ่ายน้ีจะเข้าสุพรรณบุรี ไปเยี่ยมศพสักหน่อย
แตเ่ ชก็ ขอ้ มลู แลว้ งดสวดเนอ่ื งในวนั แมแ่ หง่ ชาติ จงึ เปลยี่ นใจไมไ่ ปดกี วา่
ไปทีเดียว คิดถึงถิ่นฐานบ้านช่องของบรรพบุรุษของแม่คือยายเป็น
คนมอญ นนทบุรี เขาว่าอยู่แถวบางกรวย ในชีวิตไม่เคยเหยียบย่าง
ไปเยย่ี มญาตทิ างฝ่ายมารดา ท�ำใหอ้ ยากนง่ั เรอื ดว่ นเจา้ พระยาข้นึ เหนือ
ให้สดุ สายสกั คร้งั หนึง่ ในชวี ิต

ส่วนมากก็น่ังเรือด่วนไปลงท่าเกียกกาย สุดแค่นั้น รู้จัก
สองฟากฝ่ังแมน่ ำ้� เจ้าพระยาแคน่ ้ัน วันนม้ี โี อกาสได้ล่องเรือข้นึ เหนือไป
ถึงบ้านเรือนจะน้อยลง แต่ก็ได้บรรยากาศดี ผ่านวัดตึกไป ท่าเรือ
ก่อนสุดท้ายไปสิ้นสุดที่ท่าน�้ำนนทบุรี มีท่าวัดเขียน เกือบตัดสินใจ
ขึ้นไปสำ� รวจพื้นท่ี เพราะเคยไดย้ ินเรอ่ื งสะใภค้ นสพุ รรณ ที่เป็นลูกสาว
ของนายนรินทร์กลึง คนขวางโลก อยู่แถวน้ี แต่เป็นเวลาค�่ำแล้ว
ตัดสนิ ใจไปสุดปลายทางดกี วา่

ข้ึนท่าน�้ำนนทบุรี มองเห็นศาลาว่าการเมืองนนทบุรีหลังเก่า
ท่ีเป็นไม้ท้ังหลัง สมค�ำเล่าลือจริงๆ ดีที่ตัดสินใจมาดูก่อน อีกหลังหน่ึง
ที่อยากไปดูคือศาลาว่าการเมืองปทุมธานีหลังเก่า ว่าเป็นไม้ท้ังหลัง
เหมือนกัน ได้เดินชมรอบๆ แล้วเดินอ้อมไปด้านหลัง กะจะเข้าวัด
ที่เห็นช่อฟ้าโบสถ์ไรๆ น่ัน แต่เดินเข้าทางด้านหลัง ก็ต้องเลียบเลาะ

300 อนทุ นิ ประจ�ำวัน

มาข้างหน้าอีก หาประตูวัดจนได้ช่ือวัดบางขวาง ป้ายเดียวกับทางเข้า
โรงเรยี นรัตนาธิเบศร์

เปน็ วดั ทม่ี ีหลกั ฐานมนั่ คงดี กฏุ ิเสนาสนะต่างๆ ตง้ั อยู่หลังศาลา
ว่าการเมืองนนทบุรีหลังเก่า ท�ำให้นึกถึง “คุกบางขวาง” และ
“นักโทษประหารที่คุกบางขวาง” ขึ้นมาทันที ได้เดินดูวัดรอบๆ
หนึง่ และสอบถามวา่ อัฐขิ องเจ้าพระยารตั นาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยนั ต)์
บรรจุไว้ที่เจดีย์ตรงไหน อยากไปดูหน่อย พระหนุ่มสองรูปบอกว่า
เคยได้ยินว่าอัฐิอยู่บนโรงเรียนรัตนาธิเบศร์ (ตึกขาว) โน้น ภายในวัด
ไมม่ อี ัฐขิ องท่าน แต่โรงเรียนเขาปิดแลว้

คุ้นเคยกับชื่อเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) ดี
เพราะเดินผ่านศาลรัฐธรรมนูญท่ีติดกับคลองโอ่งอ่างบ่อยๆ
ศาลรัฐธรรมนูญแห่งน้ีคือบ้านของท่านพระยาฯ เคยเห็นภาพท่าน
ในฐานะคนบ้านใกล้เรือนเคียงกัน แต่ไม่รู้ว่าท่านมีชื่อเป็นโรงเรียน
อยู่ที่วัดบางขวางแห่งน้ี ปกติเดินทางผ่านถนนรัตนาธิเบศร์ของท่าน
เป็นประจำ� อยแู่ ลว้

ท่านเป็นอัครมหาเสนาบดีผู้ให้ก�ำเนิดโรงเรียนรัตนาธิเบศร์
เมื่อปี ๒๔๔๓ ตำ� แหน่งราชการใหญโ่ ตเปน็ ถงึ สมหุ กลาโหม มปี ระวตั ิ
เล่าว่า ท่านเดินทางมาทอดกฐินที่วัดบางขวางน้ี ในสมัยหลวงพ่อท้วม
(ตอ่ มา พระครศู ลี าภริ ม) (เกดิ ๒๔๐๓ มรณภาพ ๒๔๙๔) เปน็ เจา้ อาวาส
ซง่ึ กำ� ลงั กอ่ สรา้ งโรงเรยี นกนั ทา่ นเจา้ พระยารตั นาธเิ บศร์ (พมุ่ ศรไี ชยยนั ต)์
ได้บรจิ าคเงิน ๑๐๐ ชัง่ (๘,๐๐๐ บาท) ชว่ ยสร้างโรงเรียนแห่งนีข้ นึ้ มา

ก็เหมาะสมทุกประการที่โรงเรียนท่ีท่านบริจาคถึง ๑๐๐ ช่ัง
ในความอุปถัมภ์ของท่านและพระครูฯ ท้วม จะได้ช่ือมาว่าโรงเรียน
รัตนาธเิ บศร์

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 301

มาถึงท่าน�้ำเมืองนนทบุรี เห็นหอนาฬิกามีไก่ยืนอยู่ข้างบน
สร้างปี ๒๕๐๐ ไม่ต้องบอกก็รู้ว่าท่านจอมพลแปลกเกิดปีไก่ ดีท่ียัง
ไม่บนิ หายไปไหน เป็นอนสุ าวรียท์ ท่ี า่ น�ำ้ เมอื งนนท์แห่งนี้

แตใ่ จของขา้ พเจา้ กลบั ไปนกึ ถงึ เรอื่ งสแ่ี ผน่ ดนิ จำ� ไดว้ า่ แมพ่ ลอย
มาขนึ้ ทา่ นำ้� เมอื งนนท์ แลว้ ไปเยยี่ มลกู ชายทต่ี ดิ คกุ บางขวาง ขอ้ หากบฏ
คอื ปฏวิ ตั ไิ มส่ ำ� เรจ็ ตดิ คกุ เปน็ กบฏ แตส่ ำ� เรจ็ อภยั โทษใหต้ นเอง พน้ มลทนิ
จากโจรก็เป็นพระเอก โลกเราทปี่ ระเทศไทยเป็นอยา่ งน้ี

เจอท่าน�้ำเมืองนนท์ เจอบางขวาง แต่ยังไม่เจอว่าคุกบางขวาง
อย่ทู ่ีไหน? แปลกแต่จรงิ

302 อนุทนิ ประจำ� วนั

อนทุ ินประจ�ำวัน

(๕๖๔ วัดทองประดษิ ฐ์ วดั เล็ก)

วัดทองประดิษฐ์ ต้ังอยู่ที่ต�ำบลบางเลน อ�ำเภอสองพ่ีน้อง จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี อยฝู่ ง่ั คลองสองพนี่ อ้ งดา้ นฝง่ั ทศิ ใตข้ องคลองสองพนี่ อ้ ง
สมัยก่อนในฤดูน้�ำหลาก เส้นทางคมนาคมใช้เรือเพราะติดกับคลอง
สองพี่น้อง ฤดูแล้งมีถนนสายล่างท่ีว่ิงเลาะล�ำคลอง แต่เป็นเส้นตรง
จากตลาดบางลี่ ว่ิงผ่านอ�ำเภอเก่า ปากทางเข้าวัดทองประดิษฐ์ และ
ไปสิ้นสดุ ทโ่ี ป๊ะแพขา้ มฟากไปวัดไผ่โรงววั

ถนนสายล่างขนานกับถนนสายบน คือเส้นที่ดอนกระเบ้ือง
วิ่งตรงไปถงึ หน้าอำ� เภอสองพ่ีน้องปจั จุบนั

ไปเย่ียมวดั ทองประดิษฐ์หลายครั้ง แตท่ ไี่ ปงานประชุมเพลงิ ศพ
จริงๆ จ�ำได้ว่าครั้งแรกเป็นงานศพแม่ของพันโทเพียง น้อยแก้ว
(เกิดปีจอ ๒๕๐๑) ซ่ึงเป็นสหชาติเรียนหนังสือประถมศึกษาร่วมช้ัน
กันที่โรงเรียนวัดใหม่พิบูลย์ผล, เคยไปเย่ียมงานศพหลายคร้ังที่จ�ำได้
ล่าสุดไปเย่ียมศพนางเสนาะ จินดาอินทร์ เดิมนามสกุล โพธิ์ทอง
คู่ชีวิตที่คนทางท้ายบ้านเรียกว่า น้าเฉลียว จินดาอินทร์ (เกิดปีมะเมีย
๒๔๗๓) ลกู คนเล็กสดุ ของนายผล นางกวา จินดาอินทร์ ที่เปน็ โยมบิดา
มารดาของพระธรรมมหาวีรานุวัตร (ฉลอง จินดาอินทร์) (๒๗ ส.ค.
๒๔๖๙ - ๑๓ ก.ย. ๒๕๕๓)

วนั จนั ทรท์ ่ี ๑๓ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๑ มงี านพระราชทานเพลงิ ศพ
(เป็นกรณีพิเศษ) คุณแม่ถนัด อยู่ดี (โพธิ์ทอง) (เกิดปีมะเมีย ๒๔๗๓)

อนุทนิ ประจำ� วัน 303

ถงึ แกก่ รรมตง้ั แตว่ นั อาทติ ยท์ ี่ ๕ ส.ค. สริ อิ ายไุ ด้ ๘๗ ปี ซงึ่ คณุ แมถ่ นดั
มลี ูกๆ รบั ราชการเกอื บทงั้ นั้น จงึ ต้ังใจไปมสี งิ่ ของไปติดกัณฑเ์ ทศน์เพ่ิม
หนอ่ ยหนง่ึ แตจ่ ะไปฉนั เพลแบบไปรเวททที่ า้ ยบา้ น เพอื่ พดู คยุ สอบถาม
ข้อมูลอน่ื ๆ

ในช่วงเช้าก่อนเพล จึงเข้าไป ได้หนังสืองานศพมีประวัติของ
คณุ แมถ่ นัด อยดู่ ี โดยสงั เขป จึงทราบวา่ เปน็ บตุ รคนท่ี ๕ ของคณุ ตาฉ่งิ
คุณยายหว่ัน โพธิ์ทอง (บริสุทธิ์) เกิดเมื่อปีมะเมีย ๒๔๗๓ มีพ่ีน้อง
ท้งั หมด ๗ คน คือ (๑) นายสำ� เนยี ง โพธท์ิ อง (๒) นายถวลิ โพธิ์ทอง
(๓) นางสมหวงั นอ้ ยแกว้ (ไมม่ ลี กู ) (๔) นายสนทิ หรอื นายแบน โพธท์ิ อง
(๒๔๗๑ - ๑๗ ธ.ค. ๒๕๔๔ อายุ ๗๓ ปี), (๕) นางถนัด อย่ดู ี (๒๔๗๓ -
๕ ส.ค. ๒๕๖๑), (๖) กำ� นนั มนู โพธิ์ทอง, (๗) นางเสนาะ จินดาอนิ ทร์

ในท้องของตาฉิ่ง-ยายหวั่น โพธ์ิทอง (บริสุทธ์ิ) นี้ คุณแม่ถนัด
เสียชีวิตเป็นคนสุดท้าย และมีเกร็ดประวัติในวัยเด็ก คุณแม่ถนัด
ต้องใช้ชีวิตอย่างยากล�ำบาก เพราะภัยจากน�้ำบ้าในปี ๒๔๘๕-๖
และภัยจากสงครามมหาเอเชียบูรพา ภัยจากน้�ำบ้าท�ำให้แม่ถนัด
ต้องเป็นลูกก�ำพร้า เพราะพ่อแม่เสียชีวิตในเวลาไล่เล่ียกัน ต้องอยู่กัน
ล�ำพังพ่ีน้อง ๔ คน พี่ชาย ๒ คนโตถูกระดมพลออกรบในสงคราม
พีส่ าวก็ออกเรอื นไปอีก ซ�ำ้ น้อง ๒ คนเล็กยงั ไรเ้ ดียงสานัก คุณแมถ่ นัด
กับพช่ี ายคือลุงสนทิ โพธ์ทิ อง ตอ้ งชว่ ยกันท�ำนา เลีย้ งดูน้องๆ มาอยา่ ง
ยากแค้นแสนเขญ็ แต่กระนนั้ ก็ยงั อดออมซ้อื นาเพ่มิ ข้นึ อกี ๑๒ ไร่

คุณแม่ถนัดได้แต่งงานกับคุณพ่อปรึก อยู่ดี ลูกของปู่เล่ือง
ย่าน่ิม อยู่ดี เม่ือปี ๒๔๙๐ มีบุตรธิดา ๘ คน คือ (๑) ครูปวิน อยู่ดี
ข้าราชการครูบ�ำนาญโรงเรียนบางลี่วิทยา (๒) นางปราณี รอดคง
ประกอบอาชีพรับเหมา (๓) นางปราณีต ไหมเพ็ชร ประกอบอาชีพ

304 อนทุ ินประจำ� วัน

ค้าขาย (๔) นายมนูญ อยู่ดี รับราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ต�ำแหน่งสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี (๕) นางเบญจวรรณ ผ่องศรีใส
รับราชการสำ� นักงานศาลยุตธิ รรม ตำ� แหน่งผ้อู ำ� นวยการส�ำนกั งานศาล
จงั หวดั ทองผาภมู ิ (๖) นายปราศรยั อยดู่ ี รบั ราชการครชู ำ� นาญการพเิ ศษ
โรงเรียนทวธี าภเิ ษก กรุงเทพมหานคร (๗) นายฤทธี อยู่ดี รบั ราชการ
ครชู ำ� นาญการพเิ ศษโรงเรยี นบรรหารแจม่ ใสวทิ ยา ๕ (๘) นายโยธนิ อยดู่ ี
ประกอบอาชีพส่วนตวั จงึ พดู กนั วา่ ลกู ๆ รับราชการเกอื บทงั้ นัน้

ก่อนจากวัดทองประดิษฐ์ไปฉันเพล ทั้งๆ ท่ีเจ้าภาพนิมนต์
ฉันเพลท่ีวัด แต่บอกว่าไปหาข้อมูลอ่ืนๆ ก่อน แต่จะกลับมาฟังเทศน์
ในเวลาบ่ายโมง และสอบถามว่า ท้องของปู่เลื่องย่านิ่ม มีลูกหมวด
อักษร ป เชน่ ปรุง, โปรง่ , ปรึก, ปราชญ์ .... (ไมเ่ รยี งล�ำดบั ) ยงั มชี วี ติ
อยูไ่ หม วา่ ยังมอี าเนอื งอกี คนหนง่ึ ทยี่ งั อยูใ่ นกรุงเทพฯ

ท่ีบ้านผลศรีนาค ท้ายบ้านก็สอบถามเร่ืองโน้นเรื่องนี้
ไดโ้ ยมอว้ น ชดู ี (หมอยาทพิ ย์) ลูกของนายวิโรจน์ หมอยาทพิ ย์ กค็ ุยวา่
ตอนแมจ่ อ้ ย โตงาม อายุ ๑๐๘ ปี คำ� นวณว่าเสียชีวิตในราวปี ๒๔๙๓
โยมมารดาของหลวงพ่อโหน่ง (๒๔๐๘-๒๔๗๗) มีใครไปร่วมงานศพ
ที่วัดอัมพวันบ้าง และคุยกันว่าคนท่ีอายุยืนก็มียายเผื่อน ศรีทองเกิด
อายุ ๑๐๖ ปี เสยี ชีวิตในปี ๒๕๑๒

มาถึงเร่ืองนางงามชนะเลิศการประกวด ก็คุยกันว่านางงาม
ทีช่ นะเลิศที่ ๑ ชอื่ น.ส.พมิ พา คชเดช (ต่อมา คณุ นายพมิ พา ชวู งษ์วชิ ช)
(เกิดปีระกา ๒๔๗๖ ถึงแก่กรรม ๒๔ มิ.ย.๒๕๖๑) เป็นคนบางเลน
ส่วนคนต้นตาลมี ตุ้งหนิงหรืออุไรวรรณ ผลศรีนาค (๒๔๘๑-๒๕๓๘
อายุ ๕๙ ปี) ได้รองชนะเลิศในต่างปีต่างวาระกัน จึงสอบถามว่า
ใครได้ชนะเลิศในปีท่ีตุ้งหนิงเป็นรองปีน้ัน ได้รับค�ำตอบว่าลูกสาวของ

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 305

นายโน รุจิรวัฒน์ ชื่อ น.ส.สมบูรณ์ รุจิรวัฒน์ ชนะเลิศ และยังมี
ผู้เป็นรองคนอื่นๆ เช่น น.ส.ประไพ ซึ่งน่าจะนามสกุล อาจแย้มสรวล
อีกคนหน่ึง

ทจ่ี รงิ คยุ กนั หลายเรอื่ ง ในเวลาเพยี งหนง่ึ ชว่ั โมงเศษ ฉนั เพลเสรจ็
ก็อ�ำลาไปร่วมงาน เพราะเห็นรถก�ำนันสมบัติ เนตรสว่างออกจาก
ท้ายบ้านไปก่อนแล้ว ก่อนไปถึงวัดทองประดิษฐ์ ก็เตรียมการบ้าน
มาว่าจะสอบถามเร่ืองสงสัยบางประการกับพระวิมลภาวนานุสิฐ
(เจ้าคุณประสาท โพธ์ิทอง, เกิดปีมะเส็ง ๒๔๗๒) ว่า ตาฉ่ิง โพธิ์ทอง
ลูกของแม่เทียบน้ัน พ่อชื่ออะไร และเป็นพี่น้องกับปู่ว้อน โพธิ์ทอง
อย่างไร ท่านเจ้าคุณเรียกว่า “อาฉิ่ง” ซ่ึงตรวจสอบแล้วไม่ใช่เป็น
น้องชายของพ่อปุย โพธ์ิทอง แต่เป็นลูกผู้น้อง เรียกว่าเป็นลูกพ่ี
ลูกน้องกัน และจะสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับขุนรจนาเทวธรรม
(นายอ�ำเภอจอน โกมารทัต) โดยเฉพาะเก่ียวกับหมอสนิท โกมารทัต
และดารานักแสดงช่ือปนัดดา โกมารทัต ว่าเป็นญาติกันอย่างไร
และนางงามทเ่ี ปน็ นอ้ งสาวของหมอสนทิ ชอ่ื น.ส.เสนาะ นน้ั เปน็ ลกู ใคร?
เป็นตน้

ไปถึงวัด พระแสดงพระธรรมเทศนาพระวิมลภาวนานุสิฐ
(ประสาท โพธิ์ทอง) มาถึงแล้ว ได้เวลาก็แสดงธรรม ได้ยินชัดเจน
ทเ่ี จา้ คณุ เรยี กวา่ “อาฉง่ิ ” และทา่ นเจา้ คณุ นน้ั เกดิ กอ่ นผวู้ ายชนมห์ นงึ่ ปี
ในปี ๒๔๗๒ มีศักดิ์เป็นพ่ีของนางถนัดท่ีเกิดปี ๒๔๗๓ ในลักษณะ
ลูกพี่ลูกน้องกัน คือบรรพบุรุษช้ันสูงเป็นพี่น้องกัน แต่ชีวิตไม่แน่นอน
สัพเพ สงั ขารา อนจิ จา สังขารไม่เทยี่ ง น้องตายกอ่ นพี่

ขา้ พเจา้ เดนิ ไปดคู ลองสองพน่ี อ้ งทที่ ศิ เหนอื ของวดั ทองประดษิ ฐ์
และมองเห็นชะลอมสานใหญ่ท่ีก�ำลังจะเกิดข้ึน ณ ตรงท่ีเดิมชาวบ้าน

306 อนุทินประจำ� วัน

เรียกว่าวัดเล็ก ซ่ึงต้ังอยู่คนละฝั่งคลอง วัดเล็กอยู่ฝั่งด้านต�ำบลต้นตาล
ส่วนวัดทองประดิษฐ์อยู่ฝั่งต�ำบลบางเลน เดินดูศาลาท่าน�้ำ มีตระกูล
“ธญั ญเจรญิ ” เป็นเจา้ ภาพสร้าง และดศู าลาการเปรยี ญทีห่ น้าบนั เขยี น
วา่ น.ส.ทบั นิรมาณ สร้างอุทศิ ใหบ้ ิดามารดา พ.ศ.๒๕๑๘

เดิมเจดีย์อัฐิต่างๆ อยู่เรียงรายบริเวณรอบโบสถ์ ปัจจุบัน
ยา้ ยไปอยดู่ า้ นตดิ กบั คลองสองพน่ี อ้ งหมด จงึ ตอ้ งเดนิ ไปสำ� รวจดอู กี ครงั้
ด้านทิศตะวนั ตกมเี จดยี อ์ ัฐิของตระกลู รุจิรวัฒน์ ๒ เจดยี ์ มีช่อื นายหลี
นางเป้า แซ่คู ชัดเจน จึงสรุปได้ว่า เป็นพ่อแม่ของนายโน รุจิรวัฒน์
ที่เดิมเป็น แซ่คู และส�ำรวจน่ันนี่ไปพอสมควร มาส้ินสุดท่ีเจดีย์อัฐิ
ดา้ นทศิ ตะวนั ออกของ นายฉำ่� หว้ ยหงษท์ อง ซง่ึ ขา้ พเจา้ ทราบวา่ เปน็ นา้
ของพระครูสุวรรณอโนมคณุ (หลวงพอ่ อำ� นวย เทียมจนั ทร,์ เกดิ ปีระกา
๒๔๘๘)

กอ่ นพระราชทานเพลงิ ศพ มกี ารแสดงโขนสด และโชวต์ รี ะนาด
เอกห้าราง ซึ่งเป็นรุ่นลูกหลานของคุณแม่ถนัด อยู่ดี ท�ำให้นึกถึง
“แหล่งปราชญ์ศิลปิน” ที่เคยได้รับการบอกเล่าว่า ที่แถวน้ีเป็นถ่ินเกิด
ของนายโปร่ง อยดู่ ี ผูข้ ับรอ้ งเพลง “มอญร้องไห้”

ตระกูล “อย่ดู ี” ยงั ไดร้ ักษาสายเลือดศิลปนิ สบื เนื่องมาจากรุ่น
สู่รุ่น สมกับเป็นต�ำนานแห่งท้องทุ่งนาอ�ำเภอสองพี่น้อง ฟังมาว่า
ผู้วายชนม์ชอบดนตรีไทย และชอบดูโขน จึงตามส่งดวงวิญญาณไปสู่
สรวงสวรรค์ดว้ ยอนุทนิ ในวนั น้ี

อนุทินประจ�ำวนั 307



อนุทนิ ประจ�ำวัน

(๕๖๕ แม่เสยี น คุณฑี (ชุ่มเพง็ พนั ธ์)ุ (เพง็ เรือง)

เม่ือทราบข่าวการจากไปของแม่เสียน คุณฑี (๒๐ ธ.ค. ๒๔๘๔ -
๑๐ ส.ค. ๒๕๖๑ อายุ ๗๗ ปี) โยมมารดาของท่านพระครูพิพัฒน์
วุฒิกร (พระมหาสุธี ธีรปัญโญ ป.ธ.๓) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์
วรวิหาร ต.รั้วใหญ่ อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี ก็แสดงความเสียใจกับท่าน
เพราะท่านเป็นพระดีศรีวัดป่ารูปหน่ึง โยมแม่เสียนเองก็เป็นคน
สมั มาทฐิ ิ

ชื่อแม่เสียน คุณฑี ตรงกับแม่เสียนสุพรรณ ท่ีเป็นร้านขาย
ขา้ วแกง จะแปลวา่ อะไร ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดส้ อบถาม จากประวตั คิ ณุ แมเ่ สยี น
เกดิ ณ บา้ นอู่ยา ต.ดอนก�ำยาน อ.เมอื ง จ.สพุ รรณบรุ ี แถวๆ แยกอูย่ า
ประมาณน้ัน เป็นบุตรคนโตของพ่อคุณบุญ กับแม่คุณฉ่ิง ชุ่มเพ็งพันธุ์
มพี น่ี อ้ งรว่ มบดิ ามารดาและตา่ งบดิ ากนั รวม ๙ คน คอื (๑) แมเ่ สยี น คณุ ฑี
(๒) นายจำ� ลอง ขวัญงาม (๓) นายส�ำรวย ขวญั งาม (๔) นางสัมฤทธิ์
สพุ หนั ต์ (๕) นางส�ำลี ขวัญงาม (๖) นางอไุ ร ขวญั งาม (๗) นางบัวลอย
บญุ เกดิ (สามคี นบา้ นระฆงั ) (๘) นางมาลา ขวญั งาม (๙) นางอรณุ อนุ่ กอ

การศึกษาเม่ือเยาว์วัย เพราะบ้านอยู่อู่ยา โรงเรียนที่ใกล้ท่ีสุด
ชื่อโรงเรียนลาดตะนวล แม่เสียนเข้ารับการศึกษาเบ้ืองต้นท่ีโรงเรียนนี้
จนถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒ ครอบครัวได้ย้ายถิ่นฐานไปแถวไผ่ล้อม
ทางเข้าไปส�ำนักตะค่า (วัดผดุงศรัทธาราษฎร์) แม่เสียนจึงไปเข้ารับ
การศึกษาต่อท่ีโรงเรียนเมืองสุพรรณบุรี (รร.หนองพันกง) จนจบ
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 309

เรื่องการโยกย้ายถ่ินฐานนี้ เป็นเรื่องที่น่าศึกษาในการติดตาม
หาเทือกเถาเหล่ากอของญาติพี่น้องเดียวกัน ด้ังเดิมแถวสวนน�้ำ
ยายโหนกนี้ เป็นท่ีด้ังเดิมของบรรพบุรุษ ท่านพระครูพิพัฒน์ฯ เล่าว่า
เป็นท่ีบุกเบิกครั้งแรกของแม่คุณสร้อยกับพ่อคุณแช่ม ชุ่มเพ็งพันธุ์
ที่เป็นพ่อแม่ของแม่คุณฉ่ิง เน่ืองจากว่าพ่อคุณแช่มเอาที่นาไปแลกกับ
นกกระจาบ ทำ� ใหแ้ มค่ ุณโกรธเคืองปล่อยนกกระจาบไป ทำ� ให้เป็นเหตุ
โยกย้ายถ่ินฐานจากจุดน้ี ไปอยู่แถวอู่ยา แล้วก็ย้ายเข้าไปเรื่อยๆ
จนถงึ แถวสำ� นกั ตะค่าในปจั จบุ นั น้ี หากนบั เสน้ ทางของวงศาคณาญาติ
ระยะทางจากแถวหน้าวัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร ไปถึงหนองขามก็ราว
มากกวา่ ๒๐ กม. และปัจจบุ นั ได้ย้ายไปถึงสระกระโจมบ้างแลว้

ชีวิตครอบครัว แม่เสียน (เกิด ๒๔๘๔-๒๕๖๑ อายุ ๗๗ ปี)
ได้สมรสกับพ่อก่ิง คุณฑี (๒๔๘๓-๒๕๔๙ อายุ ๖๖ ปี) ลูกของ
ปู่สิงห์ - ย่าแนน คุณฑี (เพ็งเรือง) มีบุตรธิดาด้วยกัน ๖ คน คือ
(๑) พระครพู พิ ฒั นว์ ฒุ กิ ร (พระมหาสธุ ี ธรี ปญั โฺ ญ ป.ธ.๓) (๒) นายทองฑา
คุณฑี (๓) เสียชีวิตต้ังแต่อายุ ๑ ขวบ (๔) นางวิลาวรรณ คุณฑี
(นางสมคดิ ) (๕) นางศรปี ระภา บญุ เรอื งรอด (+นายอนนั ต์ บญุ เรอื งรอด
ลูกของปู่ตี๋-ย่าห่วง บุญเรืองรอด คนพังม่วง ศรีประจันต์) (มีลูกหญิง
๒ คน คนโตเรยี นสงวนหญงิ ชอื่ น.ส.กนกพร บญุ เรอื งรอด ผอู้ า่ นประวตั )ิ
(๖) เสียชวี ติ ต้งั แตแ่ รกเกิด.

310 อนทุ ินประจำ� วัน

อนุทินประจ�ำวนั

(๕๖๖ ธรรมาภิบาล good governance)

หลังจากร่วมร�ำลึก ๕๐ ปีการจากไปของราชาเพลงลูกทุ่ง สุรพล
สมบัติเจริญ (๒๔๗๓-๑๖ ส.ค.๒๕๖๑ อายุ ๓๘ ปี) ท�ำให้
ทบทวนว่าใน ๕๐ ปีท่ีผ่านมา เราอยู่ท่ีไหน ท�ำอะไร ปรากฏว่ายังอยู่
ในชั้นประถมศึกษา ไม่จบประถมเลย ได้ยินแต่เสียงเล่าลือว่า ไวพจน์
ประชันกับสรุ พล ท่ีเวทีวดั ป่าเลไลยก์

ปรากฏว่าสุรพลชนะ บางคนก็ว่าไปยืมเครื่องเสียงมาจาก
วัดยางยแ่ี ส อ่ทู องบ้าง ก็ว่ากนั ไป

ใชพ้ วงมาลัยเป็นเคร่ืองวัดการประกวดบ้าง
แต่ในมวลมหาชนท่ีมาท้ังรถเมล์และรถไฟนั้น ไม่มีข้าพเจ้า
มาในปีนั้น ถ้าเทียบเคียงกับผู้เกิดสหชาติปีเดียวกัน ยังเรียนหนังสือ
อย่ชู ้นั ป.๒ หรือ ป.๓ อยู่เลย ได้ยนิ แต่เสยี งเล่าต่างๆ นานา
ที่ยังมีชีวิตอยู่คือพ่อไวพจน์ เพชรสุพรรณ (นายพาน สกุลณี)
คนลาวเวยี ง วงั นำ�้ เยน็ ขอ้ ถกเถยี งวา่ ไวพจนช์ าตพิ นั ธอ์ุ ะไร ดจู ะยตุ ลิ งแลว้
แต่ข้าพเจ้ายังไม่ยอมให้จบง่ายๆ เพราะส่งสายเช่นพระอาจารย์อ่อน
ให้ช่วยไปสอบถามข้อมูลว่า พ่อไวพจน์เป็นลูกเต้าเหล่าใคร ถามถึง
ปู่ย่าตายายให้ชัดเจนลงไปเลย ซึ่งพ่อไวพจน์บอกว่าก�ำลังจัดท�ำอยู่
และเคยส่งค�ำถามข้อหนึ่งให้ช่วยถามพ่อไวพจน์ว่า ในการประกวด
แข่งขนั ครัง้ นัน้ ใชเ้ กณฑ์อะไรเป็นการตัดสินแพ้ชนะกัน

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 311

เชน่ เดยี วกบั แมน เนรมติ (นายพยงุ ทองเมอื งหลวง เจา้ ของเพลง
ชวนชม) นามสกุลคนบ้านใกล้เรือนเคียงกับข้าพเจ้า เพราะนามสกุล
“ทองเมืองหลวง” คอื คนบางนอ้ ย-บางหลวง ได้ยนิ ว่า อายุ ๗๗ ปีแล้ว
ขา้ พเจา้ ไดส้ อบถามลกู สาวของแมน เนรมติ วา่ พอ่ เปน็ พน่ี อ้ งกบั ใครบา้ ง
ก่อนจะฟนั ธงวา่ รกรากเป็นคนบ้านใกล้เรือนเคียงกัน เผลอๆ ทางฝา่ ย
แม่ของนายพยุง ทองเมอื งหลวงช่อื ยา่ หมด (+ปู่หมุด ทองเมืองหลวง)
จะเกี่ยวข้องดองเป็นญาติกันเสียอีก ข้อน้ียังมีเวลาสืบสาวราวเร่ืองต่อ
ทเี่ ธอแจง้ มาว่า พอ่ แมน เนรมติ ไปเกิดที่กาญจนบรุ ี แม่เป็นคนบ้านโปง่

กลับมาอยกู่ ับปจั จุบัน ในวนั พธิ รี ับพระบญั ชาอธกิ ารบดรี ปู ใหม่
พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ ป.ธ.๙, ดร.........) (เกิดปีชวด ๒๕๐๓)
วัดปากน้�ำ ภาษีเจริญ เลขานุการแม่กองบาลีสนามหลวง ณ อาคาร
หอประชมุ มวก. ๖๐ พรรษา

ก่อนเริ่มพิธี เมื่อมีโอกาสแม้เพียงน้อยนิด ข้าพเจ้าเข้าไปหา
อาจารย์จ�ำนงค์ ทองประเสริฐ (เกิดปีมะเส็ง ๒๔๗๒) และถามว่า
เป็นงูเล็กใชไ่ หม? และแจ้งขา่ วพระธรรมกติ ติโสภณ (เจ้าคณุ หนู ป.ธ.๘)
(เกิดปเี ถาะ ๑๗ เม.ย.๒๔๗๐- ๑๕ ส.ค.๒๕๖๑ อายุ ๙๑ พรรษา ๗๐)
รองเจ้าอาวาสวัดสระเกศ และรองเจ้าคณะภาค ๒ มรณภาพไปแลว้

อาจารย์จ�ำนงค์ ทองประเสริฐ บอกว่า ไม่มีใครแจ้งข่าว
ให้ทราบเลย และถามว่ารดน้�ำศพเม่ือไร ซ่ึงข้าพเจ้าก็อ้อมแอ้มไปว่า
สงสยั จะรดไปแลว้ กะมง่ั ? พอดวี นั นไี้ ดข้ า่ วใหมม่ าวา่ จะมพี ธิ รี ดนำ�้ หลวง
สรงศพในวนั อาทติ ยท์ ่ี ๑๙ ส.ค.นี้ ที่ศาลาเฉลิมพระเกยี รตฯิ วดั สระเกศ
จงึ ไดแ้ จง้ ไปทางสายใหช้ ว่ ยเรยี นอาจารยจ์ ำ� นงค์ ทองประเสรฐิ ราชบณั ฑติ
ไดร้ ับทราบ

312 อนทุ นิ ประจำ� วนั

เพราะอาจารย์จ�ำนงค์บอกว่า เป็นคนเสาไห้บ้านเดียวกัน แต่
ไม่เป็นญาติทางสายเลือดเดียวกัน แต่มาอยู่กับหลวงน้าช้ัน พร้ิมพงษ์
ด้วยกัน “ผมมาเป็น ด.ช.จ�ำนงค์ ทองประเสริฐเรียนชั้นมัธยม
และสามเณรหนู สุคัมภีระ มาอยู่ด้วยกันกับหลวงน้าหรือหลวงพ่ีชั้น
คนบา้ นเดยี วกนั ”

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.๙, ดร. ศ.....)
อธกิ ารบดมี หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๕ สมยั ๒๐ ปี (๒๕๔๐-๒๕๖๑)
ไดก้ ลา่ วเปดิ ใจและสง่ มอบนโยบายหลกั ธรรมาภบิ าล (good governance)
๖ ประการ มกี ารมสี ว่ นรว่ ม (Participation), ความโปรง่ ใส (Transparency),
มีความรับผิดชอบ (Accountability), หลักนิติธรรม (rule of law),
หลักระบบคุณธรรม (virtue system, not spoiled system),
และท�ำงานให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล (efficiency) ว่าจะเป็น
หลักธรรมน�ำทางให้มหาจุฬาฯ ยืนหยัดและพัฒนาก้าวต่อไป และ
เน้นสรา้ งสามัคคีในหมู่คณะ

วนั เปดิ ใจและใหแ้ นวทางในการอยรู่ ว่ มกนั ในประชาคมเดยี วกนั
ตรงกับวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ ภายหลังวัน ๑๖ ปีแห่งความหลัง

สิบหกปี แห่งความหลัง
ท้งั รักท้ังชังทง้ั หวานและขมขนื่
สิบหกปีเหมอื นสิบหกวัน
รักเอ๋ยชา่ งสนั้ ไม่ย่ังยืน
มหี วานมีชน่ื มีขืน่ มขี ม
ปนี ้ี ไดเ้ หน็ รปู หลอ่ ภรรยาของสรุ พล ชอื่ นางศรนี วล สมบตั เิ จรญิ
(๗ ม.ค.๒๔๘๑ - ๑ มี.ค.๒๕๕๙ อายุ ๘๐ ปี) ได้เคียงคู่กับคู่ชีวิต
ราชาเพลงลูกทงุ่ ชาวสุพรรณบรุ ี

อนุทินประจำ� วนั 313



อนทุ นิ ประจำ� วนั

(๕๖๗ พระราชสธุ ี บุญสง่ สวา่ งศรี ป.ธ.๙)

พระราชสุธี (บุญสง่ สวา่ งศรี ฉายา ฐานังกโร ป.ธ.๙) วดั โพธนิ ิมิตร
สถิตมหาสีมาราม พระราชาคณะ พ.ศ.๒๕๔๒-๒๙ มิถุนายน
๒๕๖๑

พระราชสธุ ี (บญุ สง่ ฐานงั กโร ป.ธ.๙) วดั โพธนิ มิ ติ รสถติ สมี าราม
แขวงบางย่ีเรือ ตลาดพลู เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อปีเถาะ
ตรงกบั วนั ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๒ เปน็ บตุ รของนายปอย นางพลอย
สวา่ งศรี (ซึ่งทา่ นบอกวา่ สว่างศรีของท่าน มาจาก แซต่ ง้ั เปน็ ญาตกิ ับ
หลวงพอ่ ถริ พงึ่ เจรญิ วดั ปา่ เลไลยก)์ ณ บา้ นโปง่ แดง ตำ� บลหนองผกั นาก
อำ� เภอสามชุก จังหวดั สุพรรณบรุ ี

อุปสมบท เม่ือปีกุน ตรงกับวันท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๒
ณ วัดโป่งแดง ต�ำบลหนองผักนาก อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
มีพระครูสุนทรานุกิจ (หลวงพอ่ กริ่ง หํโส นามสกลุ รุง่ ราตรี) วัดสามชกุ
เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูแคล้ว พิมฺพสิริ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระมหาประสิทธ์ิ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ขณะที่บวชพระน้ัน
ท่านสอบได้เป็นเปรียญ ๓ ประโยคแล้ว หลังจากอุปสมบทได้
จ�ำพรรษาแรกที่วัดสุวรรณภูมิพรรษาหนึ่ง แล้วย้ายเข้ามาอยู่
วดั โพธนิ มิ ติ รสถติ มหาสมี าราม แขวงบางยเี่ รอื ตลาดพลู เพอื่ การศกึ ษาตอ่
ตามหลักฐานใบสุทธิลงวันท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๓

อนุทินประจ�ำวนั 315

งานปกครอง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม
(๗ กรกฎาคม ๒๕๓๓), เจา้ อาวาสวดั โพธินมิ ิตรฯ (๒๕๔๓), เจ้าคณะ
แขวงบางย่ีเรอื (๒๕๔๓)

สมณศกั ดิ์ ป.ธ.๙ (๒๕๒๓), พระศรรี ตั นมนุ ี (๒๕๔๒), พระราชสธุ ี
(๒๕๕๑)

มรณภาพ ปจี อ ตรงกับวันที่ ๒๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ สริ อิ ายุ
๗๙ ปี

**
จากหลักฐานใบสุทธิ ได้แกะร่องรอยว่า พระราชสุธี (บุญส่ง
ป.ธ.๙) บรรพชาเป็นสามเณร สอบได้นักธรรมช้ันตรี วัดคลองขอม
(๒๔๙๗) สอบได้นักธรรมชั้นโท วัดสุวรรณภูมิ (๒๔๙๘) ซึ่งเป็นช่วงท่ี
ศึกษานักธรรมและบาลีด้วยกัน จนสอบได้เป็นมหาเปรียญ คือ
เปรยี ญ ๓ ประโยค หรือมากกว่าน้ัน จงึ เดินทางเขา้ กรงุ เทพฯ เคยไป
พักอาศัยอยู่วัดปรินายกระยะหนึ่ง สุดท้ายได้เข้าสังกัดวัดโพธินิมิตร
ในปเี ดียวกับทีบ่ วชพระ ปี ๒๕๐๒
ท่านเป็นพระครูสอนนักธรรมบาลี และเป็นนักเรียนสอบได้
ประโยค ๘ (๒๕๒๑) และประโยค ๙ (๒๕๒๓) จากนั้นเป็นเวลา ๑๐ ปี
ตอ่ มาทไี่ ดร้ บั พระบญั ชาแตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง
ในยุคพระโพธิสังวรเถร (ฑูรย์ อตฺตทีโป) (๒๕๓๓) หลังจากนั้น
เป็นเวลาร่วม ๑๐ ปีต่อมา ได้เป็นเจ้าคุณท่ีพระศรีรัตนมุนี (๒๕๔๒)
อกี ๙ ปตี ่อมาเปน็ พระราชาคณะชน้ั ราชที่พระราชสธุ ี (๒๕๕๑) แลว้ ก็
อาพาธกระเสาะกระเสะมาเรอื่ ย จนมรณภาพลงในวนั ที่ ๒๙ มถิ ุนายน
๒๕๖๑

316 อนทุ ินประจ�ำวนั

วัดโพธินิมิตรฯ มีศาลารับเสด็จ ร.๕ อยู่ด้านทิศตะวันตก
พระอุโบสถมีสีมา ๓ ชั้น ช้ันนอก ช้ันกลาง และช้ันใน เป็นวัดฝ่าย
มหานกิ ายทเี่ ปน็ ชนดิ “มหาสมี าราม” ดงั่ สรอ้ ยลงทา้ ยวา่ สถติ มหาสมี าราม

ที่ภายในศาลาเจา้ ประคุณสมเด็จพระวนั รตั น (แดง สีลวฑฺฒโน)
มีจารึกว่า พระพุทธเจ้าหลวงเสด็จพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จ
พระวันรัตน (แดง) (๕ ก.พ. ร.ศ. ๑๑๙), สมเด็จพระสังฆราช (แพ)
นำ� อฐั มิ าบรรจทุ เี่ จดยี ว์ ดั โพธนิ มิ ติ รสถติ มหาสมี าราม ๑๖ ก.พ. ร.ศ. ๑๑๙

และมีป้ายอดตี เจา้ อาวาสและผ้มู อี ุปการคณุ ต่อวดั ดงั น้ี
(๑) เจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระวันรตั น (แดง)
(๒) พระครูโพธไิ พโรจน์ (หลวงพ่อบาง พุทธฺ สโร)
(๓) พระโพธิสงั วรเถร (ฑรู ย์ อตฺตทโี ป) (๒๔๙๓-๒๕๓๕)
(๔) พระครูศรวี ัฒนวงศ์ (จฬุ า อาภาคโม) (๒๕๓๕-๒๕๔๑)
(๕) พระครโู สภณโพธริ ัต (สงา่ ) (รก.๒๕๔๑-๒๕๔๓)
และ
ป้ายด้านล่างทจ่ี ะต้องจัดทำ� ตอ่ ไปคอื
(๖) พระราชสธุ ี (บญุ สง่ ฐานงกฺ โร ป.ธ.๙) (๒๕๔๓-๒๙ ม.ิ ย.๒๕๖๑)
(๗) พระศรสี ิทธิมุนี (เฉลิมชัย ป.ธ.๙) (รก.๒๕๖๑-ปัจจบุ ัน)

อนทุ นิ ประจำ� วัน 317



อนุทินประจ�ำวนั

(๕๖๘ พระโพธสิ ังวรเถร (ฑรู ย)์
อดตี เจา้ อาวาสวดั โพธินิมิตรฯ)

พระโพธิสังวรเถร (ฑูรย์) วัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม
พระราชาคณะ พ.ศ.๒๕๐๑-๒๕๓๕
พระโพธสิ งั วรเถร (ฑรู ย์ อตั ตทโี ป, นกั ธรรมชน้ั โท) วดั โพธนิ มิ ติ ร
สถิตมหาสีมาราม แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ เกิดปีจอ
ตรงกับวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๕๓ เป็นบุตรของนายเกียรติ
นางฉัตร รัตนวราภรณ์ ณ บ้านต�ำบลตล่ิงชัน อ�ำเภอเมือง จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี

บรรพชา เม่ือปีเถาะ ตรงกับวันท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๐
ณ วดั สวุ รรณภมู ิ มีพระอาจารย์ขวด วดั สุวรรณภมู ิ เปน็ พระอุปัชฌาย์

อุปสมบท เมื่อปมี ะเมยี ตรงกับวันท่ี ๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๓
ณ วัดอนงคาราม มีพระโพธิวงศาจารย์ (นวม) (ต่อมา สมเด็จ-
พระพุฒาจารย์) วัดอนงคาราม เขตคลองสาน เป็นพระอุปัชฌาย์
พระศาสนานุรักษ์ (สาลี อินทโชโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระครมู งคลวจิ ารณ์ (อี อตุ ตโร) เป็นพระอนสุ าวนาจารย์

งานปกครอง กรรมการรกั ษาการตำ� แหนง่ เจา้ อาวาสวดั โพธนิ มิ ติ ร
(๑ ตุลาคม ๒๔๘๖), เจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดโพธินิมิตร
สถิตมหาสีมาราม (๕ ตุลาคม ๒๔๙๓), เจ้าคณะแขวงตลาดพลู
(๑๙ มีนาคม ๒๕๒๒), เจ้าคณะแขวงบางยี่เรือ (๒๕๒๔)

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 319

สมณศกั ดิ์ พระสมหุ ์ ฐานานกุ รมในพระครไู พโรจน์ (บาง) (๒๔๘๐),
พระครูไพโรจน์วุฒิคุณ (๒๔๙๔), พระโพธิวรคุณ (๒๕๐๑), พระโพธิ-
สังวรเถร วิ. (๒๕๑๗)

มรณภาพ เม่ือวนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๕ สริ ิอายุ ๘๒ ปี
พรรษา ๖๒

**
บทพระธรรมเทศนา แสดงโดยพระธรรมราชานวุ ตั ร (หลวงเตย่ี -
กมล โกวิโท ป.ธ.๖) วดั พระเชตุพน ในการบำ� เพ็ญกุศลสัตมวาร วันที่ ๑
มิถุนายน ๒๕๓๕ มีข้อความทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับประวัติดงั น:ี้ -
เจา้ คณุ พระโพธสิ งั วรเถร นามเดมิ “ฑรู ย”์ นามสกลุ “รตั นวราภรณ”์
เกิดเม่ือวนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๓ ตรงกับวันอาทติ ย์ แรม ๘ คำ�่
ปีจอ ณ บ้านหมู่ท่ี ๖ ต�ำบลตลิ่งชัน อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
โยมบิดาช่อื เกียรติ โยมมารดาช่อื ฉัตร
ศึกษาความรู้สามัญจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ณ โรงเรยี นประจ�ำ
จังหวดั สพุ รรณบุรี เม่ืออายุ ๑๕ ปี เมอ่ื ออกจากโรงเรยี นแลว้ ช่วยงาน
โยมบิดามารดาระยะหนึ่ง มีศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงบรรพชา
เป็นสามเณร ณ วัดสุวรรณภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อ
พ.ศ. ๒๔๗๐ อายุ ๑๗ ปี แลว้ เข้ามาศึกษานักธรรมบาลีต่อ ณ ส�ำนัก
วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อวันที่
๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๓ ณ วัดอนงคาราม อ�ำเภอคลองสาน
จงั หวดั ธนบรุ ี พระโพธวิ งศาจารย์ (สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ นวม พทุ ธฺ สโร)
เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
เม่ืออุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ได้เข้าสังกัดจ�ำพรรษา ณ
วัดโพธินิมิตร จึงได้รับสมณศักดิ์เป็นพระสมุห์ ฐานานุกรมในพระครู-

320 อนทุ ินประจ�ำวนั

โพธิไพโรจน์ (หลวงพ่อบาง) เจ้าอาวาสวัดโพธินิมิตร เมื่อพระครู-
โพธิไพโรจน์ (หลวงพ่อบาง) มรณภาพ ทางคณะสงฆ์จึงแต่งต้ังให้
พระสมุห์ฑูรย์ พรรษา ๑๓ เป็นคณะกรรมการรักษาการเจ้าอาวาส
เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๘๖

ขณะที่เป็นคณะกรรมการฯ น้ันก็ท�ำหน้าท่ีเจ้าอาวาส บริหาร
งานวัดเป็นเวลา ๗ ปี จึงได้รับแต่งต้ังเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธินิมิตร
พระอารามหลวง เมือ่ วันท่ี ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๓

เม่อื ไดร้ บั แต่งตัง้ เปน็ เจา้ อาวาสแล้ว กป็ ฏิบัตหิ น้าที่เรม่ิ งานแรก
ก็คือตัดถนนซอยโพธินิมิตร จากถนนใหญ่เข้ามาวัด เพื่อความสะดวก
ในการสญั จรไปมาซงึ่ ปรากฏอยู่ ณ ปจั จุบันน้ี พรอ้ มดว้ ยสาธารณปู โภค
คือ ไฟฟ้า น�้ำประปา งานก่อสร้างซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ได้กระท�ำมา
ตลอดทกุ ปี กล่าวได้วา่ ถาวรวตั ถสุ ถานวดั โพธินมิ ติ รทเ่ี หน็ ในปัจจุบันน้ี
ทงั้ วัด โดยพระโพธสิ ังวรเถรท้ังน้ัน

งานด้านการศึกษาของพระภิกษุสามเณร แต่เดิมพระภิกษุ
สามเณรต่างต้องออกไปศึกษาเล่าเรียนในส�ำนักเรียนวัดต่างๆ
พระโพธสิ งั วรเถรเรมิ่ จดั การศกึ ษาตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๙๔ ระยะแรกทเี่ ปน็
เจ้าอาวาส จนได้รับอนุมัติให้ตั้งเป็นส�ำนักเรียน มีพระภิกษุสามเณร
เปน็ นักธรรมและเปรียญเป็นจำ� นวนมาก

ในส่วนการศึกษาสามัญส�ำหรับเด็ก พระโพธิสังวรเถรได้เป็น
ผู้อบรมนักเรียนโรงเรียนวัดโพธินิมิตรมาต้ังแต่พรรษาแรก โดยท่ีเป็น
ผู้ท่ีมีความฉลาดในการแสดงธรรม มีวาจาไพเราะ แนะน�ำเด็กๆ
ให้มีศรัทธา ต่อมาเมื่อเด็กนักเรียนเพิ่มมากข้ึนก็จัดสร้างอาคารเรียน
ขึน้ ใหม่เปน็ ตึก ๓ ชน้ั อนเุ คราะหก์ ารตา่ งๆ แกโ่ รงเรยี นตลอดมา

อนทุ ินประจ�ำวนั 321

นอกจากทว่ี ดั โพธนิ มิ ติ รแลว้ พระโพธสิ งั วรเถรยงั ไดไ้ ปทำ� นบุ ำ� รงุ
วัดทชี่ าตภิ ูมบิ า้ นเกดิ คอื วัดสกุณปักษี อำ� เภอเมือง จงั หวัดสพุ รรณบุรี
เริ่มแต่ตัดถนนเข้าวัด สร้างอุโบสถ โรงเรียน ฌาปนสถาน เป็นต้น
ท้ังยังอุปถัมภ์ให้วัดสกุณปักษีต้ังโรงเรียนปริยัติธรรมสามัญเพื่อให้
พระภิกษุสามเณรศึกษาเล่าเรียน มีพระภิกษุสามเณรนักเรียนจ�ำนวน
มากเข้าเล่าเรียนศกึ ษา

พระโพธิสังวรเถรเป็นผู้ต้ังมั่นในคุณธรรมอันประเสริฐก็คือ
มีความกตัญญูกตเวที โดยเฉพาะต่อสมเด็จพระวันรัตน (แดง) ซ่ึงเป็น
ผู้สร้างวัดโพธินิมิตร ได้ยกย่องหล่อรูปสร้างศาลาประดิษฐานถือเป็น
ผ้ศู ักดส์ิ ทิ ธ์ิ

โดยท่ีพระโพธิสังวรเถรปฏิบัติหน้าที่ด้วยดี จึงได้รับแต่งตั้งเป็น
พระอุปัชฌาย์วิสามัญในฐานะเป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ต้ังแต่
พ.ศ. ๒๔๙๖ เมือ่ เปน็ เจ้าอาวาสปีแรก พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้รับแตง่ ตัง้ เปน็
เจ้าคณะแขวงตลาดพลู พ.ศ. ๒๕๒๔ เป็นเจ้าคณะแขวงบางยี่เรือ

พระโพธิสังวรเถรได้รับพระราชทานสมณศักด์ิเป็นพระครู-
ไพโรจน์วุฒคิ ุณ แลว้ เลอ่ื นข้นึ เปน็ พระราชาคณะที่ พระโพธวิ รคุณ และ
เลือ่ นเป็นพระราชาคณะวสิ ามญั ฝ่ายวปิ ัสสนาธรุ ะที่ พระโพธสิ งั วรเถร

***
บทพระธรรมเทศนาฉบับสมบูรณ์หาอ่านได้ในหนังสืออนุสรณ์
ร�ำลึกถึงพระธรรมราชานุวัตร (หลวงเตี่ย) ที่จะพิมพ์เผยแผ่ประกาศ
เกยี รตคิ ณุ ในวนั ที่ ๒ กนั ยายน ๒๕๖๑ น้ี (อดใจรออกี ๑๐ วนั ขา้ งหนา้ เอง)
เมอื่ ไปวดั โพธนิ มิ ติ รคราวใด ขา้ พเจา้ มกั สอบถามวา่ หลวงพอ่ ฑรู ย์
ที่คนเรียกว่า หลวงพ่อโพธิ (ออกเสียงว่า โพธิ์) คงเพราะเป็นเจ้าคุณ
คร้งแรกช่ือ พระโพธิวรคุณ และต่อมาเป็นพระโพธิสังวรคุณ แต่ยัง

322 อนทุ ินประจำ� วนั

ไมเ่ หน็ ใครออกเสยี งเรยี กวา่ “หลวงพอ่ โพ-ธ”ิ ไดย้ นิ แต่ “หลวงพอ่ โพธ”ิ์
แซอ่ ะไร กอ่ นจะเปลย่ี นมาเปน็ รตั นวราภรณ์ เพราะบางทเี หน็ ลกู หลาน
บางคนใชเ้ ปน็ “โพธิวราทร” ก็มี

เคยพบปา้ ยจารกึ พส่ี าวของหลวงพอ่ โพธ์ิ ชอื่ “แมไ่ ม้ รตั นวราภรณ์
(๒๔๔๕-๒๕๓๙ อายุ ๙๔ ปี)” ก็ใช้นามสกุลเดียวกัน มีคนบอกว่า
หลวงพ่อฑูรย์ ใช้ โพธิวราทร บ้าง ใช้ รัตนวราภรณ์ บ้าง จึงสงสัย
ตลอดเวลา จนได้มาพบสายตรง เป็นหลานสาวที่เรียกหลวงพอ่ ฑูรย์ว่า
“หลวงพ”ี่ เพราะเป็นลกู พลี่ กู นอ้ งกนั ช่อื อาจารย์ปณต ภูมสิ ุข (เกดิ วนั )
ที่บอกว่า “แซ่ตั้ง” เพราะโยมบิดาท่านเจ้าคุณเป็นจีนนอก เข้ามา
เมืองไทย เต่ียเกียช่ือไทยว่าพ่อเกียรติมีลูกติดมา ๒ คนชื่อนางไม้
กับนางมว่ ย แลว้ เตีย่ เกยี ของท่านมาไดก้ บั นางฉัตร

นนั่ กเ็ ปน็ “แซต่ ง้ั ” ทเ่ี ขา้ มาในประเทศไทย ในยคุ สมยั ร.๕ นเ่ี อง
จงึ สนิ้ สดุ ลงแคน่ น้ั แตน่ างฉตั ร รตั นวราภรณท์ เ่ี รยี กวา่ แมฉ่ ตั ร, ยายฉตั ร,
ยา่ ฉตั ร หรอื ชวดฉตั ร ยงั มปี ระวตั ทิ ต่ี อ้ งสบื สาวตอ่ ไป เพราะหนง่ึ เปน็ คน
ตลิ่งชัน ท่ีเป็นชุมชนหลากหลาย เพราะแม่ฉัตรหรือย่าฉัตร มีพี่น้อง
อีกหลายคน นางฉัตรเปน็ พี่น้องกับใครบา้ ง?

อนุทนิ ประจำ� วนั 323



อนุทนิ ประจำ� วนั

(๕๖๙ ราชาพูก่ ัน สงา่ มะยุระ)

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว มีจิตรกรรมฝาผนัง
เร่ืองรามเกียรต์ิทั้งหมด ๑๗๘ ห้อง มีฝีมือของราชาพู่กันไทย
ชอ่ื วา่ นายสงา่ มะยรุ ะ (๒๔๕๒-๒๕๒๑) เทา่ ทตี่ รวจสอบแลว้ พบ ๔ หอ้ ง
ภาพวาดเขียน

เมอื่ ไปถงึ วดั สปั รสเทศ หวงั ใจวา่ จะไดห้ นงั สอื งานศพสงา่ มะยรุ ะ
แต่สายยังหาหนังสือไม่ได้ ข้าพเจ้าหาข้อมูลท่ัวไปก่อนว่า ขวัญจิต
ศรีประจันต์ (นางเกลียว เสร็จกิจ) พ่อแม่ชื่ออะไร เพราะเดิมทราบ
แต่ว่า แม่เปน็ คนดารา อ�ำเภอบางปลามา้ นามสกุลฝ่ายแม่ “พลู กำ� ลงั
หรือ พูนกำ� ลงั ” แต่ฝา่ ยพ่อเรยี กวา่ เต่ยี องั เป็นคนศรปี ระจันต์ ไม่ทราบ
ว่าแซ่อะไร ผลการซักถามได้ช่ือมาว่า “ตาอัง ยายปลด เสร็จกิจ”
เป็นช่ือพ่อแมข่ องขวญั จติ ศรปี ระจันต์ ซ่งึ ก็ถูกตามโผท่เี คยจดไว้ และ
สิ่งท่ีได้ยินมาด้วยตนเอง จากบทสนทนากับขวัญจิต ที่บอกว่า
นายสงา่ มะยรุ ะ ต้องเรียกวา่ กง๋ แตก่ ไ็ มร่ ูว้ า่ เป็นญาติกันอยา่ งไร น่ันคอื
ร่องรอยวา่ นายสงา่ มีเช้อื สายจนี

มีการบ้านเพิ่มอีก จึงสอบถามข้อมูล ได้แผ่นกระดาษน้อย
ส่งมาให้เขียนว่า “พ่อตาใหม่ แม่ชื่อยายแน่” จึงสอบถามกลับไปว่า
ตาใหม่คือใคร? สายบอกว่า “ชื่อพ่อของสง่ายังไม่ได้ช่ือมา แต่แม่ช่ือ
ยายแน่ ส่วนตาใหม่คือชื่อของ นายสง่า มะยุระ” น่ีก็เป็นความรู้ใหม่
ของขา้ พเจ้า แต่ชอื่ ทตี่ รวจสอบแลว้ ว่า พ่อแมข่ องนายใหมห่ รอื นายสงา่
มะยรุ ะ ช่อื “พ่อเสง็ แมแ่ หน มะยรุ ะ”

อนทุ ินประจ�ำวนั 325

ไดป้ ระสานงานกบั เจา้ อาวาสวดั สปั รสเทศ พระครภู ทั รกติ ตสิ าร
(หลวงพสี่ ม้ ลาภปญั ญา) วา่ ใหช้ ว่ ยไขกญุ แจเปดิ มณฑปใหด้ ภู ายในหนอ่ ย
จึงได้เข้าไปดูภาพวาดของสง่า มะยุระ ท่ีวาดภาพหนุมานแบกป้าย
ผู้บริจาคท�ำบุญไว้ ชื่อแรกเป็นจีน อ่านไม่ได้ ดูเหมือนชื่อต่อไปอ่านว่า
นางเทียม หรือนางเทียบ ต.ห้วยม่วง ๑๐๐ บาท และมีรายต่อมา
อยู่ ต.ท่าพ่ีเล้ียง ๒๐ บาท อ่านได้แค่นั้น และข้อความบรรทัดล่างสุด
เขียนว่า “เป็นผู้เขยี น พ.ศ. ๒๔๖๘”

เสียดายที่ชื่อผู้บริจาคสร้างช�ำรุดอ่านไม่ได้ แต่โชคดียังมีอยู่
เพราะเม่ือปี ๒๕๔๐ หลวงพี่ส้มได้ส่ังให้ช่างวาดลอกรูปภาพไว้
ถึงกระน้ันรายช่ือเจ้าภาพบริจาคไม่ได้คัดลอกมา แต่ส่วนที่คัดลอกมา
นอกจากรปู ภาพวาดของสงา่ มะยรุ ะท่สี มบูรณ์ ท่วี าดไว้เมอ่ื อายุ ๑๗ ปี
ลองคิดดูว่า สง่าเกิดเม่ือวันท่ี ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๒ และในปีท่ี
เขยี นภาพเสรจ็ ปี พ.ศ.๒๔๖๘ คอื อายุ ๑๖ ปเี อง แตน่ บั ในทอ้ งมารดาดว้ ย
จึงเป็นอายุ ๑๗ ปี

ฝีมือของเด็กบ้านนอกศรีประจันต์ ที่อายุ ๑๖-๑๗ ปี
ศิษย์อาจารย์อู๋ ท่ีได้บอกหลวงพ่อหรุ่น สังข์วรรณะ คนท่าระหัด
ทีม่ าครองเปน็ เจา้ อาวาสวัดเสาธงทอง

“เด็กคนน้ี อนาคตไปไกลแน่” อาจารย์อูท๋ ำ� นายทายทัก
หลวงพ่อหร่นุ เคยอยู่ในกรุงเทพฯ ที่วัดสุวรรณาราม (วดั ทอง)
บางกอกน้อย มาก่อน เป็นวัดหน่ึงที่มีจิตรกรรมฝาผนังฝีมือ
ระดบั ปรมาจารย์ จงึ ฝากนายสง่า มะยรุ ะเข้าไปอยวู่ ัดทอง
จากอายุ ๑๗ ปี (๒๔๖๘) ชวี ิตที่อยูใ่ นกรุงเทพฯ นน้ั มผี ลงาน
ของสงา่ มะยรุ ะปรากฏทจี่ ติ รกรรมฝาผนงั เรอ่ื งรามเกยี รต์ิ ทว่ี ดั พระแกว้
ถงึ ๔ ภาพ เขียนขนึ้ ในปี ๒๔๗๒, ๒๔๗๓ และภาพเขียนซ่อมปี ๒๕๑๕

326 อนทุ นิ ประจ�ำวัน

ซง่ึ เปน็ ภาพทเี่ หน็ ฝมี อื วาดเปน็ ภาพสดุ ทา้ ยทรี่ ะเบยี งคดวดั พระแกว้ มรกต
นั่นคือฝีมือของเด็กหนุ่มท่ีฝากไว้เมื่ออายุตอนเข้าไปเป็น

ช่างเขียนภาพเมื่ออายุ ๒๐-๒๑ ปี จากภาพท่ีวาดไว้ภายในมณฑป
วดั สปั รสเทศในปี ๒๔๖๘ ถงึ ปที วี่ าดภาพเสรจ็ ทว่ี ดั พระแกว้ ในปี ๒๔๗๒

ข้าพเจ้าถามเจ้าอาวาสวัดสัปรสเทศ ว่า นายใหม่ หรือ
นายสงา่ มะยรุ ะ เปน็ คนทไ่ี หน ทา่ นบอกวา่ พอ่ ของนายสง่าเปน็ คนแถว
วัดไกเ่ ตย้ี แต่แม่เป็นคนเสาธงทอง และบอกว่าตอนเป็นเด็ก สง่ามาอยู่
กบั แม่ที่แถวเสาธงทอง บ้านใต้ หมู่ ๒ ตำ� บลมดแดง ทบี่ า้ นโยมนามสกุล
“ปรีด์ิเปรม” เม่ือเดือนก่อนข้าพเจ้าได้คุยกับปู่เรืองชัย น้�ำค้าง
คนบ้านกระดาษ แถวย่านเสาธงทอง บอกว่า แม่ของสง่าจะนามสกุล
“น้ำ� ค้าง” ด้วยมงั่ นั่นคอื รอ่ งรอยด้านบรรพบุรุษ

ที่วัดเสาธงทอง มีภาพวาดที่เป็นฝมี ือภาพวาดของสง่า มะยุระ
หรอื ไม่ ขอ้ นขี้ ้าพเจ้าไมแ่ นใ่ จ? ทง้ั ท่ีบางคนบอกว่ามี แตเ่ ท่าทสี่ �ำรวจดู
ไมม่ ี แตม่ ีอาคารโรงเรียนวดั เสาธงทอง ราคา ๕ ลา้ นบาท ท่ีคุณอุไรศรี
มะยุระ ภรรยาของสง่า มาสร้างเป็นอนุสรณ์ไว้ ประกอบพิธีฉลอง
เมื่อราวปี ๒๕๔๕ ยืนยันบ้านบรรพบุรุษฝ่ายแม่ แต่เต่ียจะแซ่อะไร--”
ช่ือเตี่ยเส็ง มะยุระ” และแม่แน่หรือแม่แหน มะยุระ จะเป็นนามสกุล
สายไหน ชวนใหต้ ิดตามตอ่ ไป

“คา่ ของคน อยทู่ ผี่ ลของงาน” เรยี งลำ� ดบั ตามกาลานกุ รมทวี่ าด
เรอ่ื งรามเกียรต์ิท่รี ะเบียงวัดพระแกว้ ดังนี้

(๑) ด้านทิศใต้ หอ้ งที่ ๑๐๔ มปี า้ ยวาดเมืองลงกา ขอ้ ความว่า
หนุมานอาสาลักกล่องดวงใจทศกัณฐ์ จนถึงพระษีโคบุตรพาหนุมาน
ถวายตัว” เขียนภาพปี ๒๔๗๒

อนทุ ินประจ�ำวัน 327

(๒) ด้านทศิ ตะวันออก ห้องที่ ๕๓ ข้อความวา่ “หนุมานอาสา
อมพลบั พลาพระราม และมัยราพณส์ ะกดทัพ” เขยี นภาพปี ๒๔๗๓

(๓) ดา้ นทิศเหนือ หอ้ งสดุ ทา้ ยของเร่อื งรามเกยี รต์ิ หอ้ งท่ี ๑๗๘
นายสง่า มะยุระเขียนวาด ๒๔๗๓, นายสวาท ภมรจนั ทร์ซอ่ มปี ๒๕๑๗
มีข้อความ ว่า “พระพรต พระสัตรุด พระมงกุฎ และพระลบ
กลับจากไกยเกษ เข้าเฝ้าพระรามท่ีอยุธยา พระรามปูนบ�ำเหน็จ
จนทัว่ หนา้ ”

(๔) ด้านทิศตะวันตก นายสง่า มะยุระ เขียนซ่อมปี ๒๕๑๕
หอ้ งท่ี ๑๖๑ มีข้อความว่า “ตอนพระรามปล่อยม้าอุปการ”

328 อนทุ นิ ประจำ� วัน

อนทุ นิ ประจำ� วนั

(๕๗๐ คุง้ วัดตะไกร)

สุนทรภู่เดินทางมาสุพรรณบุรี (๒๓๘๔) บรรยายท่ีหน้าวัดตะไกร
วา่ “เปน็ ค้งุ นำ้� ” สว่ นคลองเรือวัดป่าปรากฏในแผนที่น้ี (๒๔๕๖)
แต่ช่วงระหวา่ ง ๒๓๘๔ กับ ๒๔๕๖ มเี หตกุ ารณ์เกิดขนึ้ มากมาย
ในเมอื งสุพรรณบรุ ี

ขอใช้หนังสือ พระราชหัตถเลขา เร่ืองเสด็จประพาสล�ำน้�ำ
มะขามเฒ่า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า-
เจ้าอยู่หัว (ร.๕) ก่อนการวาดแผนที่แผ่นนี้เพียง ๔ ปี ประกอบเป็น
หลักฐานอ้างอิง เป็นฉบับกรมศิลปากรจัดพิมพ์เผยแพร่ พุทธศักราช
๒๕๖๑ ซ่ึงมีรูปภาพประกอบหลายภาพดี แต่แผนที่ประกอบท่ีลงไว้น้ี
ไมไ่ ดน้ ำ� มาจากเลม่ น้ี มีมิตรสหายสง่ มาให้

ประการแรก ค�ำว่า “คุ้ง” คือส่วนโค้ง คุ้งน�้ำคือ เส้นทางน�้ำ
ไมต่ รง เป็นแม่น้ำ� ทีห่ กั โคง้ เชน่ ตามลำ� น้ำ� เจา้ พระยา ข้าพเจ้าจะคุน้ เคย
กบั คงุ้ นำ�้ ของบางออ้ กบั บางซอ่ื เพราะลอ่ งเรอื ไปมา ทที่ า่ นำ้� เกยี กกายบอ่ ย
ไม่เชื่อก็ลองนั่งเรือด่วนชมบรรยากาศตรงน้ันดู แล้วจะซึบซับค�ำว่า
“คุง้ น�้ำ”

สนุ ทรภู่ บรรยายไว้ว่า
“นอนคา้ งข้างคงุ้ ถัด วดั ตะไกร”
คร้ันรงุ่ มุง่ เดนิ ไพร พรงั่ พร้อม
ไหวพ้ ระป่าเลไลย์ ร่มรน่ื ชืน่ เอย
ริมรอบขอบเข่ือนล้อม สะล่างไมไ้ พรพนม”

อนทุ ินประจำ� วนั 329

ค�ำว่า วัดตะไกร และ วัดตระไกร เป็นวัดเดียวกันในทีนี้
เหมือนวัดป่าเรไร กับวัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร และแม่น�้ำเมืองสุพรรณ
กบั แม่น้ำ� ทา่ จนี เปน็ แม่น้ำ� เดยี วกนั ในบริบทของอนุทินวนั นี้

ฝั่งตรงข้ามกับที่บ้านหลวงศรีมงคล ในแผนที่น้ี เขียนว่า
เดมิ เรยี กวา่ “บา้ นมอญ” คนมอญหายไปไหนไมท่ ราบ เปน็ ยา่ นใตว้ ดั ใหม่
หรือวดั สวุ รรณภมู ิ

ตามประวตั พิ ระศรมี งคล (เจก๊ สนุ ทรวภิ าต) ผขู้ อรบั พระราชทาน
นามสกลุ “สนุ ทรวภิ าต” ตอนเป็นหลวงมหาดไทย (เจ๊ก) ก่อนหน้านั้น
เป็นขนุ มีบรรดาศักดว์ิ า่ ขุนบรรเทาทุกขราษฎร์ (เจก๊ ) ดังน้นั หลวงศรี
มงคลท่มี ีชอื่ อยใู่ ตว้ ดั ตะไกรน้ี กบั พระศรีมงคล (เจก๊ ) เป็นคนละคนกัน

วดั ตระไกร เลขท่ี ๑๑๕ อยใู่ ต้คลองวัดป่าเลไลยก์ ใต้วดั ประตู
สารลงมา ทน่ี า่ สงั เกตประการหนงึ่ ของวดั ตระไกรนี้ ขนาดมโี บราณสถาน
ท่ีเรียกว่า “ก�ำแพงแก้ว” ก�ำกับ มีไผ่ป่า เป็นวัดท่ีมีสภาพดีวัดหนึ่ง
แตป่ จั จุบันเปน็ วดั ร้างไปหมดแล้ว

สมยั กอ่ น คลองวดั ปา่ เลไลยกไ์ มม่ ี เกดิ มขี นึ้ เมอื่ นำ� ทอ่ นซงุ ไปซอ่ ม
พระวหิ ารหลวงพ่อโต เป็นคลองกว้างขนาด ๓ วา หรือ ๖ เมตร

ในสมัย ร.๕ เสด็จสุพรรณ คลองวัดป่าเลไลยก์ มีข้ึนแล้ว
ยังมีอีกคลองหน่ึงท่ีพระองค์ได้ทรงพูดถึงชื่อคลองตลาด ดังพระราช-
หัตถเลขา ลวท. ๒๐ ตุลาคม ๒๔๕๑ หน้า ๔๖ ว่า “เวลาบา่ ยลงเรอื ไป
เข้าคลองตลาด บวงสรวงท่ีศาลเจ้า เงินที่ให้ไว้ก่อนได้ท�ำให้ศาล
เรียบร้อยดีข้ึน แต่เป็นข้างจีนและน�้ำท่วมด้วย กลับมาไปทางคลอง
วัดป่าเลไลย เมื่อคราวก่อนนี้ไปทางถนน คราวน้ีถนนน�้ำท่วม คลองน้ี
เปน็ คลองตดั กลางเมืองไปแตว่ ัดประตูศาล”

330 อนทุ นิ ประจำ� วนั

พระราชหตั ถเลขาเหลา่ น้ี สำ� คญั มากนอ้ ยเพยี งไร นกั ประวตั ศิ าสตร์
และโบราณคดี คงมีตดิ มอื กนั ทกุ คนแล้ว แม้แตค่ �ำวา่ “วดั ประตศู าล”
ปรากฏอยู่ในสารบัญบอกระยะทางย่อสถานท่ีเสด็จประพาส เช่น
หน้า (๒๖) “เวลาเช้า ประทับเรือเล็ก เสด็จทางคลองวัดประตูศาล
ไปออกลำ� นำ้� บา้ นคอย เสดจ็ ประพาสสสี่ ระ เสดจ็ ฯ กลบั เมอื งสพุ รรณบรุ ี
ถึงเวลาเย็น”

วดั ประตูศาล กบั วดั ประตูสาร คือวดั เดยี วกนั
ท่ีอยากจะเพ่ิมเติมคือ วัดตระไกรตรงน้ี มีต�ำนานเล่าว่า
หลวงตาหว่า สุนทรวิภาต พระลูกวัดประตูสาร เคยมาพักอยู่ท่ีกุฏิ
หลังเล็กๆ แถวนี้ ก่อนท่ีวัดจะถูกรุกที่หรือเป็นสภาพวัดร้าง ข้าพเจ้า
อาจจะกลา่ วไดว้ า่ หลวงตาหวา่ เปน็ เจา้ อาวาสหรอื ผรู้ กั ษาการเจา้ อาวาส
วดั ตะไกรเป็นรปู สดุ ท้าย เพราะยังค้นไมเ่ จอรูปอืน่
มเี รอ่ื งทเี่ กยี่ วกบั ตระกลู สนุ ทรวภิ าตและบรู ณะโรจน์ อกี นดิ หนงึ่
คือมีคุณยายพริ้ง สุนทรวิภาต ท่ีจริงต้องเป็นยายพริ้ง วิเชียรโรจน์
หรอื บรู ณะโรจนแ์ ลว้ บา้ นอยหู่ ลงั บา้ นเรอื นไทยหกั มกุ ชอ่ื ขนุ หลี ไทยวงษ์
คือตรงบ้านยายบุญชู เกียวกุล (อายรุ าว ๑๐๐ ปี เสียเมอ่ื ๒ ปีท่แี ล้ว)
ยายบุญชู เกียวกุล เป็นป้าหรือน้าของอาจารย์นวลพรรณ
ย้ิมยวล เคยเล่าให้ข้าพเจ้าฟังว่า ย่าพริ้งของยายบุญชู หลังจาก
ป่เู ปีย่ ม บูรณะโรจน์ เสยี ชวี ิตแล้ว ก็บวชเปน็ แม่ชพี กั อย่ทู ่ขี า้ งวัดตะไกร
หน้าวัดประตูสารฝั่งตะวันตกน้ี แต่ในสมัย ร.๕ เสด็จประพาส
เมอื งสพุ รรณฝง่ั ตะวนั ออกดา้ นน้ี พระองคท์ รงซอ้ื ผา้ ไตรทรี่ า้ นสงั ฆภณั ฑ์
และบอกว่าท่ีชื่อว่า “แพ” เพราะป้าแพเกิดบนแพ ที่แถวหน้าบ้าน
ทนายจินดา บุณยตีรณะ ทีแรกข้าพเจ้าฟังก็นึกแคลงใจอยู่ จนมาเปิด
หนังสือพระราชหัตถเลขาเรื่องเสด็จประพาสล�ำน�้ำมะขามเฒ่า

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 331

เม่อื พ.ศ. ๒๔๕๑ เหน็ ในพระราชหัตถเลขา ฉบับท่ี ๓ ลวท. ๒๒ ตลุ าคม
(หน้า ๖๓) ระบุว่า “เวลาเย็นได้ลงเรือไปซ้ือของตามแพ เพราะ
คดิ จะหากฐนิ ตกทอดสกั วัดหนึ่ง ได้ลงมือหาผ้ามาแตส่ พุ รรณแล้ว”

เห็นพระราชหัตถเลขาตรงนี้ นึกถึงย่าพร้ิง หรือแม่ชีพริ้ง
สุนทรวิภาต บตุ รพอ่ ชนื่ แมท่ อง ขน้ึ มาทันที

332 อนุทนิ ประจำ� วัน

อนทุ ินประจำ� วนั

(๕๗๑ วัดกงจักร พระนาคปรก -
คณุ แมอ่ นงค์ จาดทองคำ� )

วัดกงจักร ต.ร้ัวใหญ่ อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี มีพระนาคปรก
อายุ ๘๐๐ ปี เป็นหลักฐานส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ กงจักร
เป็นอาวุธพิเศษประจ�ำตัวพระนารายณ์ชนิดหนึ่ง แต่ในทางพระพุทธ-
ศาสนาจะเรียกว่า ธรรมจักร เป็นกงล้อใหญ่ๆ ด่ังเช่นที่ค้นพบใน
โบราณสถานอู่ทอง หรือจะไปดูกงล้อธรรมของหลวงพ่อขอม
วัดไผ่โรงวัว อ.สองพ่ีน้อง น่ันเป็นทางพุทธ แต่ทางพราหมณ์หมายถึง
อาวธุ ปลดิ วิญญาณของเหล่ามารร้าย

มาถึงวัดกงจักร ก็ต้องไปเย่ียมชมวิหารนาคปรกก่อน เป็น
วิหารขนาดย่อม รูปร่างก�ำลังเหมาะตา ยังพูดเปรยๆ ให้ชาวบ้าน
ชาววัดกงจกั รได้ยนิ ว่า รกั ษากันไว้ใหด้ ีๆ นะ่

มาร่วมพิธีพระราชทานเพลิงศพ (เป็นกรณีพิเศษ) ของ
คุณแมอ่ นงค์ จาดทองคำ� (ฉายพันธ)์ (๘ ธ.ค.๒๔๘๓ - ๑๙ ส.ค.๒๕๖๑
ปีจอ อายุ ๗๘ ปี) นึกในใจว่า จะสอบถามว่า นายเกษม ฉายพันธ์
นักเลา่ นทิ านช้ันยอดทางวิทยุเปน็ ญาติทางไหน แต่กล็ ืมไปสนทิ

คุณแม่อนงค์ เดิมนามสกุล “ฉายพันธ์” เกิดเมื่อวันท่ี ๘
ธ.ค. ๒๔๘๓ ปีมะโรง ทีบ่ า้ นยายแก้ว ฉายพนั ธ์ (อ�่ำเกิด) ทีบ่ ้านกฎุ ีทอง
ต.รั้วใหญ่ เป็นบุตรคนที่ ๓ ของคุณตาเทียม คุณยายแก้ว ฉายพันธ์,
มพี น่ี ้องรวมทัง้ หมด ๙ คน คอื

อนทุ ินประจำ� วัน 333

(๑) พระครพู ินิตวิหารการ (ส�ำราญ ฉายพันธ)์ ผ้ชู ว่ ยเจ้าอาวาส
วัดราชนัดดาราม (เกิดปีชวด ๒๔๗๙ สอบถามได้ความว่า มรณภาพ
ปี ๒๕๔๐-๑ อายุ ๖๒ ป)ี

(๒) นางสาวส�ำเนียง ฉายพนั ธ์
(๓) คุณแม่อนงค์ จาดทองค�ำ (ผู้วายชนม์)
(๔) นายคนอง ฉายพันธ์
(๕) นางศรนี วล เมฆสทุ ัศน์
(๖) นายมานพ ฉายพนั ธ์
(๗) นายมนัส ฉายพนั ธ์ (ถึงแก่กรรม)
(๘) นายไพบูลย์ ฉายพันธ์ อดีตผูใ้ หญบ่ า้ น (เกดิ ปมี ะโรง ๓ ก.ค.
๒๔๙๕)
(๙) นางลัดดา ตนั เจรญิ
คุณแม่อนงค์ จบการศึกษา ป.๔ อาชีพท�ำนา ต่อมาก็เร่ิม
ท�ำการค้าขายจนถึงปัจจุบัน ได้ท�ำการสมรสกับคุณพ่อประเทือง
จาดทองค�ำ (เกิดปีเดียวกัน อายุ ๗๘ ปี) ซึ่งในวันมงคลสมรสน้ัน
มพี ระทน่ี มิ นตม์ าเจรญิ พระพทุ ธมนต์ หวั สงฆค์ อื หลวงพอ่ เจมิ วดั กฎุ ที อง,
หลวงพอ่ พุด ทย่ี ้ายจากวัดทา่ โขลงมาสังกัดอยู่วัดกฎุ ที อง, หลวงพ่อโบ้ย
วดั มะนาว เปน็ ต้น ขา้ พเจ้าถามวา่ หลวงพ่อเทพ เมฆสทุ ศั น์มาด้วยไหม
ได้รับค�ำตอบวา่ น่ังอยู่ท้ายๆ โน้น ยังเปน็ พระบวชใหมๆ่ อยู่
ครอบครวั แม่อนงค์ พ่อประเทอื ง จาดทองคำ� มบี ุตรธิดา ๔ คน
บุตรคนโตเกิด ๒๕๐๖ ชื่อนายพรชัย คนรองชื่อนายคเชนทร์, และ
บุตรสาว ๒ คนช่ือ น.ส.จนิ ตนา และนางภรณว์ ชริ า เย่ยี มมิ่ง
ได้เดินส�ำรวจกุฏิเสนาสนะ ที่เห็นการเปล่ียนแปลง เม่ือได้
เจา้ อาวาสชอ่ื พระครสู วุ รรณคณุ วฒั น์ (พระครฯู อดู๊ ) เขา้ มาดำ� รงตำ� แหนง่

334 อนุทนิ ประจ�ำวัน

หลงั จากพระครูสงั ฆรกั ษ์สง่า มรณภาพลง ขึ้นไปดกู ุฏิที่หอสวดมนต์เกา่
เหน็ รปู ภาพพระอาจารยบ์ ด ชาวเวยี ง และนายพนิ อนุ่ จติ ต์ (+นางสงั วาล)
รูปร่างเล็กๆ ที่คนบอกว่าเป็นลาวเวียง มาจากเวียงจันทน์ จึงซักถาม
ประวัตวิ า่ นายพนิ เป็นเจ้าภาพใหญส่ รา้ งอโุ บสถวดั กงจกั รในปี ๒๕๑๘

เห็นป้ายสีแดงที่หน้ากุฏิหลังน้ี เป็นค�ำอุทิศให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว
ชอื่ “ตาแดง ยายสี ชาวเวยี ง และ พ่อสขุ แม่พมิ พา มณีนิ” ก็ตีความว่า
แม่พิมพา มณีนิ เป็นบุตรีของตาแดง ยายสี ชาวเวียง และนามสกุล
“ชาวเวยี ง” นเี้ ปน็ นามสกลุ ของหลวงพอ่ บด หลวงพอ่ ปดั หลวงพอ่ แปน้
ท่ีบ่งบอกย่ีห้อแท้ว่าเป็นลาวเวียง กลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่มาอยู่ที่แถบ
วัดกงจักรฝง่ั ตะวันตกน้ี

วัดกงจักร ต้ังอยู่ด้านทิศเหนือของวัดกุฎีทองเพียงหน่อยเดียว
เปน็ ชมุ ชนพช่ี มุ ชนนอ้ งกนั ในนริ าศสพุ รรณของเสมยี นมี เขยี นถงึ กฎุ ที อง
ไวว้ า่

“มาถงึ วดั กฎุ ีทองมองเขมน้
ไม่แลเห็นทองปลั่งอลั่งเหลือง
คำ� นงึ ถงึ แหวนทองอนั รองเรอื ง
ท่ปี ลดเปล้ืองเปลีย่ นกนั เม่อื วันมา
จะท�ำแหวนมณฑปนพเก้า
ใหว้ งเทา่ นิว้ น้องสองหัตถา
ถา้ แมน้ ได้ทองค�ำธรรมดา
จะลงยาฝากนอ้ งสักสองวง”
นิราศว่าไว้อย่างนั้น จากวัดกุฎีทอง ต.ร้ัวใหญ่ (ฝั่งตะวันตก)
เสมยี นมมี งุ่ หน้าเขา้ เขตโคกหมอ้ ต.ทา่ ระหัด (ฝั่งตะวนั ออก) แลว้ ผ่าน
บ้านกล้วย แต่เป็นบ้านกล้วยที่ย่านฝั่งตรงข้ามโรงพยาบาลเจ้าพระยา

อนทุ นิ ประจำ� วัน 335

ยมราช (ปน้ั สุขุม) ยงั .. .ยงั ไมถ่ งึ บ้านกลว้ ย ศรปี ระจันตโ์ นน้ ช่ือมาพ้อง
กนั พอดี

ถดั จากบา้ นกล้วยไป จงึ “ถงึ สพุ รรณพาราเวลาเช้า....”
ฝงั่ ตรงข้ามวัดกงจกั ร คือเขตทา่ ระหดั ท่มี วี ัดวาอารามเรยี งราย
อยูห่ ลายวัด และเป็นชมุ ชนที่มคี วามสำ� คัญทางด้านประวตั ศิ าสตรท์ ้อง
ถ่นิ เมืองสุพรรณบุรี

336 อนุทนิ ประจำ� วนั

อนทุ นิ ประจ�ำวนั

(๕๗๒ แม่นำ�้ สุพรรณสายเก่า
และ สิงเรือง ที่ดอนมะนาว)

เม่ือวันก่อน พูดคุยกับท่านพระครูสังวรวีรวัฒน์ (หลวงพ่อชะโอน)
วัดศรีบัวบาน คนสะพานเจ๊ก ทางไปไผ่โรงโขน ต.เนินพระปรางค์
อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี ถามว่ามีเส้นทางแม่น้�ำล�ำคลองเก่า
ที่ไหลผ่านจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก คือจากด้านทุ่งเข็น
ไปทา่ เสาไหม?

ท่านเล่าให้ฟังว่า “สมัยเป็นเด็ก มีน�้ำบ่ามาจากด้านหลัง
เป็นคล่ืนท่วมบ้านเรือนเลย” และเล่าว่า “ท่ีสะพานเจ๊กเป็นเส้นทาง
น�้ำไหลเก่าท่ีลงไปลาดจระเข้ และไปออกประตูน้�ำคลองมะดันได้
ไปลงคลองสองพีน่ อ้ ง”

ความอยากรู้เส้นทางน้�ำ จึงต้องแวะไปดูนิด เพราะวิชาความรู้
จากในหลวง ร.๕ ท่ีทรงประทานไว้ว่า “จากสี่สระ เขาดิน บางกุ้ง
วัดหน้าพระธาตุ ศาลาราว (ศาลาขาว) สวนแตง กระจนั ยแี่ ส (ยางย่แี ส)
บงุ ทลาย (ย้งุ ทลาย) หางสลาด (หางตลาด) ตอตนั (คลองตนั ) รางกะดี
สระยายโสม สระกะพังลาน (สระพังลาน) ศรีส�ำราญ หวายสอ
ดอนมะนาว ลำ� อา้ ยเสา (ทา่ เสา) หูช้าง (ไผห่ ชู ้าง) กำ� แพงแสน สามแกว้
หว้ ยขวาง หว้ ยพระ ตะก้อง (ตากอ้ ง) อุไทย ดุมหัก ทุ่งนอ้ ย หว้ ยจระเข้
พระปฐมเจดีย์”

อนุทินประจำ� วนั 337

หายสงสัยเส้นทางน�้ำเส้นนี้ ว่ามาจากทุ่งคอก ว่าเริ่มต้นท่ีนั่น
แต่ในสมัยก่อนจะมีเส้นทางจากสระพังลานและสระยายโสมมาเชื่อม
เสน้ น้ีหรือไม่ ยังไมไ่ ดส้ �ำรวจ แต่ยนื ยันไดว้ ่า มีเสน้ จากทุง่ คอกมาทุ่งเข็น
มาออกศรสี ำ� ราญ มาออกสะพานเจก๊ เขา้ คลองมะดนั ลงทงุ่ สองพน่ี อ้ งได้
และยังท�ำการส�ำรวจข้อมูลว่ามีเส้นทางน�้ำเก่าตรงไปท่าเสาที่เป็น
อ่าวน้�ำลึกไปห้วยม่วง แล้วเล้ียวขึ้นไปผ่านหน้าบ้านข้าพเจ้าท่ีเรียกว่า
ไผ่ช้างแล่น ไปออกลาดพลี แล้วออกคลองโรงบางช้าง ได้รีไม่ คิดว่า
มเี สน้ ทเ่ี ชอื่ มถงึ กนั จะเรยี กคลองสง่ นำ้� คลองลอย หรอื คลองอะไรกต็ าม
ท่ีเป็นเส้นทางเก่าโบราณ ตามรายงานฉบับข้างบนนั้น คือ มีเส้นทาง
ไปไผ่หชู ้าง แล้วไปออกกำ� แพงแสน ส่วนทีจ่ ะตรงไปออกทางบางหลวง
ก็มีอกี เช่นกัน เป็นดั่งเส้นขนมจีน ท่ีเช่ือมโยงถึงกันหมด

กอ่ นเขา้ วดั ดอนมะนาว เขา้ ไปเยย่ี มนางแพ ทองเชอ้ื (เกดิ ๒๔๗๒)
อายุ ๘๙ ปี ซ่ึงเป็นโยมมารดาของพระครูบัณฑิตธรรมวิเทศ
(พระมหาสุทิน ทองเช้ือ) นิดหน่ึง, นางแพถูกพยุงร่างกายลุกข้ึนน่ัง
และถามด้วยเสียงแผ่วเบาว่า พระลูกชายมหาสุทินไม่ได้มาด้วยรึ?
ก็ต้องอ้อมแอ้มตอบไปว่า ท่านบอกให้มาเย่ียมแทน น่ันคือชีวิต
ในวัยไม้ใกล้ฝั่ง ที่ยังไม่ทราบว่าพระลูกชายเสียชีวิตไปตั้งแต่ปลายปี
๒๕๖๐ นบั เวลาเปน็ หลายเดือนแลว้

ไดแ้ ต่นกึ สะทอ้ นใจ อนจิ จา วตะ สังขารา
เช่นเดียวกัน ศพนางประทุม แสงอรุณ (เกิดปีวอก ๒๔๙๙
ถึงแกก่ รรมปจี อ ๒๑ ส.ค.๒๕๖๑ อายุ ๖๒ ป)ี เม่ือไดฟ้ งั ชีวประวตั แิ ล้ว
ก็สะท้อนสะเทือนใจเช่นกัน เกิดที่ลาดมะขาม เป็นลูกสาวคนโตของ
พ่อละมูล แม่เฮียง แสงอรุณ (ทองเชื้อ) อายุแค่ ๒ ขวบ แม่เฮียง
ก็เสียชีวิตไป มีน้องสาวคนเล็กท่ีเพ่ิงเกิดมาชื่อน้าบุญมีต้องไปอยู่ที่
ไผ่คอย ต�ำบลสระส่ีมุม ก�ำแพงแสน เรียกว่าไปอยู่กับย่าพันปู่ริด

338 อนทุ ินประจ�ำวนั

สระทองหยอม สว่ นนางประทมุ ไปอยกู่ บั ปลู่ ะมลู แสงอรณุ ทด่ี อนมะนาว
ตรงตามทโ่ี บราณบอกวา่ “ขาดพอ่ เหมอื นถอ่ หกั ขาดแมเ่ หมอื นแพแตก”

ชวี ิตท่ีขาดแม่ผูบ้ ังเกดิ เกล้า ยังด�ำเนินต่อไป เข้าโรงเรียนจนช้นั
ป.๔ ท�ำนา และแต่งงานกับสารวัตรก�ำนันด�ำ แสงอรุณ (ชื่อจริง
นายอุทัย แสงอรุณ) มีธิดาสามใบเถา ก�ำลังเติบใหญ่และมีครอบครัว
แต่นางประทุม นักร้องเพลงสมัครเล่น เสียงไพเราะอ่อนหวานดัง
เสียงระฆังทอง ได้ฝากผลงานด้วยเสียงเพลงที่บันทึกอัดเทปไว้
ก่อนเสียชีวิต ด้วยเพลง “รักพ่ีที่ใจ และ สาวบางช้าง” และได้รับ
การขับร้องต่อ ด้วยน�ำ้เสียงอันไพเราะเช่นกันของนางทะ เหมาเพชร
(เกิด ๒๔๙๔) ด้วยเพลงวมิ านทลาย และ เรียมสะอน้ื

ไล่บรรพบุรุษของยายเฮียง ทองเช้ือ ว่าเป็นลูกของนายเสี่ยง
ทองเชอื้ ลูกของนายทอง ทองเชอื้ ซึง่ นายทองเป็นนอ้ งของผูใ้ หญ่เทียน
ทองเชอ้ื รกรากคนลาดมะขามขนานแท้

ส่วนตาละมูล แสงอรุณ เป็นลูกของผู้ใหญ่นาค แสงอรุณ
กับนางพรหม แสงอรุณ (คชเดช) ลูกของตาซัดพี่ชายคนโตของตาพิด
คชเดชนัน่ เอง

นางประทมุ เกดิ ในตระกลู “สงิ เลอื ง” ทล่ี าดมะขาม ถงึ แกก่ รรม
ที่บ้านอันอบอุ่นที่ดอนมะนาว ได้สืบทอดต�ำนานสิงเลือง สิงลอ
และอีกหลายสิงหลายแซ่ตระกูลจากสิบสองจุไท ที่เทครัวมาจาก
เดยี นเบียนฟู เข้าสู่สยามประเทศ ตั้งหลักแหล่งทเ่ี พชรบุรี ตอ่ มาอพยพ
โยกย้ายมาจากจังหวัดเพชรบุรี สู่ที่ราบลุ่มภาคกลาง ในจังหวัด
สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี และนบั ไดร้ าว ๔๐ จังหวัดท่ัวประเทศไทย

แม่ประทุม แสงอรุณ (๒๔๙๙-๒๕๖๑) ได้ท้ิงร่องรอยอันใหญ่
หลวงให้ลกู หลานได้สบื ทอดเล่าขานตำ� นานสืบตอ่ ไป จากรุน่ สู่รุ่น

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 339



อนทุ นิ ประจำ� วนั

(๕๗๓ วัดบวรนิเวศ - ยายจนั โกมลสิงห์
ญาตสิ นทิ กบั เจา้ คณุ สนธ์ิ มงั่ เรอื น คนนนทบุร)ี

เมื่อเดินทางผ่านหน้าพระอุโบสถวัดบวรนิเวศ ไม่มีผู้คนพลุกพล่าน
มากนัก เหมาะที่จะเข้าไปกราบไหว้พระประธานในพระอุโบสถ
ที่ภายในบรรจุพระบรมสรีรางคารของในหลวง ร.๙ เคยมาครั้งล่าสุด
เมอื่ วนั เดอื นปอี ะไรจำ� ไมไ่ ด้ แตภ่ ายหลงั บรรจพุ ระบรมสรรี างคารไมก่ ว่ี นั
ซงึ่ ยงั จำ� ไดว้ า่ วนั ทม่ี านนั้ เปน็ วนั พระ และผคู้ นลน้ หลาม จนเขา้ ไปภายใน
พระอโุ บสถไม่ได้

หลังจากกราบพระประธานด้วยจิตใจสงบแล้ว ก็ชมจิตรกรรม
ฝาผนงั ภายในพระอโุ บสถ ดูฝีมือวาดภาพแล้ว คดิ ในใจวา่ ไม่น่าจะเปน็
ฝมี อื ของขรวั อนิ โขง่ ศลิ ปนิ คา่ ยวดั ราชบรุ ณะ ซง่ึ แสดงถงึ ประเพณตี า่ งๆ
ภายในพระอุโบสมีเชือกก้ันเขตไว้ จึงดูไม่ได้ตลอดรอบพระอุโบสถ
ภายใน ดูไดเ้ ทา่ ท่มี พี ื้นที่สามารถดไู ด้

หลังจากน้ัน ได้เดินประทักษิณพระอุโบสถ เห็นเจดีย์อัฐิของ
เจ้าอาวาสและผู้ช่วยเจ้าอาวาส จึงหยุดดูดวงชาตะมรณภาพของ
พระญาณวโรดม (สนธิ์ กิจจฺ กาโร ป.ธ.๕ นามสกลุ มัง่ เรือน) (๒๔๔๒-
๒๕๒๗ อายุ ๘๕ ป)ี หวนรำ� ลึกถงึ ประวตั ิยายจนั - ตาชอ้ ย โกมลสิงห์
ซ่ึงเป็นพ่อคุณแมค่ ณุ ของครูพิบลู ย์ รกั พนั ธ์ ทีเ่ คยเล่าประวตั ใิ หฟ้ งั ว่า

“นอ้ งชายของยายจนั โกมลสงิ ห์ ชอื่ ตานาค เปน็ สายเจา้ คณุ สนธ์ิ
อยู่กุฏิ ร.๕ เป็นตึก ๒ ช้ันท่ีวัดบวรนิเวศ เป็นคนบางแพรก เป็น

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 341

ญาติสนิทกับแม่ใหญ่จัน โกมลสิงห์ ส่วน ร.อ.ประลอง บูชา มีบ้าน
อยู่ท่ีบางกะบือ ใกล้วัดจันทร์สโมสร ช่วงยังไม่ข้ามคลองบางกระบือ
เดมิ เปน็ โรงเบยี รเ์ ลก็ ๆ”.

ข้าพเจ้าต้องการจะหานามสกุลของเจ้าคุณสนธิ์มานานแล้ว
เคยไดย้ นิ วา่ มสี มณศกั ดใิ์ นชอื่ พระสาธศุ ลี สงั วรบา้ ง พระเทพญาณกวบี า้ ง
แต่สมณศักด์ิท่ีพระญาณวโรดม เป็นชั้นรองสมเด็จพระราชาคณะ
ฝา่ ยธรรมยตุ ไม่คนุ้ เคยมากนัก จงึ ผา่ นเลยไป จนมาพบหลักฐานชัดเจน
ในวันนีเ้ อง ทำ� ใหท้ ราบวา่ เจา้ คุณสนธิ์ คนบางแพรก นนทบรุ ี เกดิ ใน
นามสกุล “มัง่ เรอื น”

ครูพิบูลย์ รักพันธ์ ยังเล่าว่า เวลาเข้าไปกรุงเทพฯ พ่อบาง
รักพันธ์ก็จะไปวัดพระเชตุพน เข้าไปหาสมเด็จฯ ป๋า ส่วนแม่ปลีก
รักพนั ธ์ (โกมลสิงห)์ จะแยกตวั ไปวัดบวรนิเวศ เพอื่ ไปหาเจ้าคุณสนธิ์

นน่ั เปน็ รอ่ งรอยในการตามสบื สายสมั พนั ธ์ ระหวา่ งคนบางแพรก
นนทบรุ ี กบั คนสองพีน่ ้อง สพุ รรณบุรี

พระญาณวโรดม (เจ้าคุณสนธิ์ กจิ จฺ กาโร) (๒๓ มี.ค.๒๔๔๒-๒๙
ก.ค.๒๕๒๗ อายุ ๘๕ ป)ี เป็นพระผ้ใู หญ่ระดบั รองสมเด็จพระราชาคณะ
ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตรองเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร
อดตี เจา้ คณะภาค ๔-๕-๖-๗ (ธรรมยตุ ) เปน็ บตุ รของนายแสง-นางคลา้ ย
ม่ังเรอื น

ยายจัน โกมลสิงห์ (๒๔๒๒-๒๔๙๓)(+ตาช้อย โกมลสิงห์
(๒๔๑๒-๒๕๐๔) มีลกู ธดิ า คือ

(๑) นางบำ� รุง คุม้ โต (โกมลสงิ ห์) (+ลุงยอด คุ้มโต)
(๒) นางอรุณ บูชา (โกมลสิงห์) มีช่ือเล่นว่า “ป้าหมา”
(+ลงุ ร.อ.ประลอง บูชา ส.ส.ราชบรุ ี)

342 อนุทนิ ประจำ� วัน

(๓) นางพร คงคาหลวง (โกมลสิงห์) (+ลุงอุ้ย คงคาหลวง
คนเจดีย์ยายบ๊วยแถวบางน้อย) มีญาติดองกับพวกบางน้อยด้วย
มีลูกชื่อครูเอื้อน คงคาหลวง โรงเรียนวัดบางสาม ต่อมาย้ายไปเป็น
ครใู หญว่ ดั ทองประดิษฐ์

(๔) แม่ปลกี รักพนั ธ์ (โกมลสงิ ห์) อายุ ๙๓ ปี (+พ่อบาง รกั พันธ์
อายุ ๘๑ ปี)

(๕) น้าโกวทิ โกมลสงิ ห์ ไปตายอย่ทู ่ีวัดหัวกระบอื พระราม ๖
กรงุ เทพฯ ลกู เกือบไม่ไดเ้ รียนเลย มไี ด้เรยี นแค่คนหนง่ึ

ครูพิบลู ย์ รกั พันธ์ ได้บอกว่า “ตาชอ้ ย โกมลสงิ ห์ (+อ�ำแดงจัน)
เป็นญาติสนิทกับก�ำนันสิงห์ โกมลสิงห์ อย่างไรไม่รู้, ไม่มีเชื้อมอญ
แต่มีเชือ้ สายจนี บ้าง”

แม่ปลีก รักพันธ์ (โกมลสิงห์) ลูกของตาช้อยอ�ำแดงจัน
(เสียชีวิตตอนอายุ ๙๓ ปี อายุมากกว่าพ่อบาง เผาท่ีวัดทองประดิษฐ์
ต.บางเลน อ.สองพน่ี อ้ ง มหี ลวงพอ่ พลอย (พระธรรมเจดยี )์ วดั เทพธดิ าราม
มาเป็นประธานในวันประชุมเพลิง) ส่วนพ่อบาง รักพันธ์ อายุ ๘๑
เสียปี ๒๕๓๐ ประชุมเพลิง ณ วัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร ต.ร้ัวใหญ่
อ.เมอื ง จ.สพุ รรณบรุ ี

จากร่องรอยคนนนทบุรี มาถึงที่บางล�ำพู จนถึงย่านอ�ำเภอ
สองพีน่ อ้ ง และลงทา้ ยที่วัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร

อนุทนิ ประจำ� วนั 343



อนทุ นิ ประจำ� วนั

(๕๗๔ ดอนมะนาว เดมิ คือตำ� บลทุ่งคอก)

ตำบลทุ่งคอก กว้างใหญ่ไพศาลมากในอดีต กินพ้ืนท่ีถึงวัดศรี-
เฉลมิ เขต วดั ดอนมะนาว และมาถงึ วดั ใหมน่ พรตั น์ (วดั ดอนกลาง)
ต่อมาแยกต�ำบลเป็นตำ� บลดอนมะนาว ตำ� บลเนนิ พระปรางคบ์ า้ ง

เม่ืออยู่วัดดอนมะนาวนัน้ ครูพิสจู น์ ใจเท่ยี งกุล ลกู ของครูสวัสดิ์
ใจเทีย่ งกุล อดีตครูใหญ่โรงเรยี นวัดใหม่นพรัตน์ เดินทางมาร่วมงานกบั
ผอ.ฐิติพร หงษ์โต ครูใหญ่โรงเรียนบางลี่วิทยา ลูกครูกรอง หงษ์โต
ได้พดู คุยกันวา่ พิกัดตวั อ�ำเภอบางลี่น้่ัน อยทู่ ่ไี หนแน?่ ข้าพเจา้ ก็บอกวา่
น่าจะตามเส้นล�ำคลองมะดันท่ีไหลไปลงชาติภูมิสถานหลวงพ่อสด
ที่ตรงวัดสองพี่น้อง ส่วนด้านทิศตะวันตกน่าจะถึงบ้านกระบอก
ต�ำบลหัวโพธ์ิ นั่นก็เป็นความคิดเห็นส่วนตัว และพูดว่า จากอ�ำเภอ
บางล่ีก็ลดลงเหลือต�ำบลบางลี่ และกลายเป็นตลาดบางล่ีในปัจจุบัน
ฉะนั้น เจอ “ต.บางล่ี” จะหมายถึงอะไร ระหว่างต�ำบลบางลี่ กับ
ตลาดบางล่ี

ครูพิสูจน์ ใจเที่ยงกุลบอกว่า เพราะบางล่ีเปลี่ยนมาเป็น
อ�ำเภอสองพี่น้อง น่าจะกินพื้นท่ีถึงท้ายอ�ำเภอเก่าด้วย ก�ำลังคุยกัน
เพลินๆ เสียงพระครูสทุ ธิกจิ วิธาน (สะอาด แสงอรณุ ) บอกวา่ ไวค้ ุยกัน
วนั อน่ื ถา้ คยุ เร่อื งนีร้ ับรองว่ายาว ไม่จบแน่ จะเร่ิมพิธกี ารแล้ว

ได้เจอพระอาจารย์อุดม ใจหลัก เรียกว่าพระอุปัชฌายะอุดม
เจา้ อาวาสวดั ทงุ่ คอก ขา้ พเจา้ โชวภ์ าพถา่ ยหนงึ่ และถามวา่ ใชห่ ลวงพอ่ แดง

อนทุ ินประจำ� วัน 345

(พระครสู วุ รรณสาธกุ จิ ) ไหม? ทา่ นบอกวา่ “ใช”่ และเลา่ วา่ หลวงพอ่ แดง
(ฉายา แดงไม้ใหญ่) มีวิชาเดินป่า ไปพักที่ใต้ต้นไม้ท่ีไม่มีภยันตราย
และเล่าว่า ตัวท่านนั้นรกรากคนวัดพระแท่น ปู่ย้ายลงมาอยู่ทุ่งคอก
๒ คนพี่น้อง เดิมนามสกุล “กระต่ายทอง” คือปู่พึ่ง กระต่ายทอง
และน้องชายชอื่ ป่ผู ่อง กระต่ายทอง

ปู่พ่ึง กระต่ายทองของพระอาจารย์อุดม มาแต่งกับพ่ีสาว
หลวงพ่อแดง ใจกล้า ช่ือย่าเมื่อ ใจกล้า และมาเปลี่ยนนามสกุลเป็น
“ใจหลัก” ทั้งปู่พ่ึงและปผู่ ่อง และท่านยงั บอกวา่ หลวงพอ่ แดง ใจกลา้
รกรากไม่ใช่คนทุ่งคอก มาจากเขาดิน ย่านท่าเสด็จโน้น มาอย่างไร
ไม่ทราบ แต่ท่ีท่านทราบคือ หลวงพ่อแดง ใจกล้า เพราะย่าของท่าน
นามสกลุ “ใจกลา้ ” มาแตง่ กบั “กระตา่ ยทอง” แลว้ เปลยี่ นมาใช้ “ใจหลกั ”

ข้าพเจ้ายังถามว่า แล้ว “กระต่ายทอง” เป็นอะไรกับครูสน
กระต่ายทอง คนย่านแม่น�้ำอย่างไร? ซึ่งพระอาจารย์อุดม วัดทุ่งคอก
บอกว่า ไม่รู้จักกับพวก “กระต่ายทอง” ในย่านแม่น้ำ�

ในรปู ภาพทโี่ ชวน์ น้ั มพี ระครสู วุ รรณสาธกุ จิ (หลวงพอ่ แดง ใจกลา้ )
วัดทุ่งคอก และประธานน่ังพุทธาภิเษก จ�ำได้ว่าเป็นหลวงพ่อมุ่ย
วดั ดอนไร่ อ.สามชกุ สว่ นทีน่ ่ังหนั หลังให้ จ�ำไม่ได้วา่ ใคร ท่ีจำ� ได้แน่นอน
คอื ดา้ นหลงั คอื หลวงพอ่ เลก็ หรอื หลวงพอ่ สองิ้ (ปจั จบุ นั พระธรรมพทุ ธมงคล
เจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร) และหลวงพ่อส�ำรวล พิทักษ์วงษ์
วัดบ้านโพธิ์ [ส่วนสถานท่ีไม่ทราบว่าเป็นท่ีวัดไหน และวันเดือนปีไหน
ไม่ทราบรายละเอียด แต่ดูรูปภาพแล้ว น่าจะอยู่ในช่วงปี ๒๕๑๕
(บวกลบ ๕)] แก้ไขใหม่เป็น “สถานท่ีคือภายในอุโบสถวัดประสาท-
บุญญาวาส สามเสน ดา้ นหลงั วังสโุ ขทยั ดรู ายชือ่ พระเกจติ ่างๆ วา่ เป็น
ปี ๒๕๐๖ มพี ระสพุ รรณไดร้ บั การนมิ นตม์ านง่ั ปรกอธษิ ฐานจติ หลายรปู

346 อนุทินประจำ� วนั

https://m.facebook.com/media/set/…
ขณะพธิ ปี ระชมุ เพลงิ หลงั จากเปดิ เพลงนำ้� เสยี งของนางประทมุ
แสงอรุณ (๒๔๙๙-๒๕๖๑) ผู้จากไปด้วยเพลง “รักพี่ที่ใจ” และ
“สาวบางช้าง” และขับเสียงเพลงของนางทะ เหมาเพชร (เกิดปีเถาะ
๒๔๙๔) ด้วยเพลง “วิมานทลาย และ เรียมสะอ้ืน” ผู้คนเบาบางลง
ขา้ พเจา้ เดนิ ไปคยุ สอบถามบรรพบรุ ษุ ของนางทะ จงึ ทราบวา่ เปน็ หลาน
ของพ่อเฒ่าเบ้ีย แสงอรุณ เป็นลูกผู้น้องของปู่คง แสงอรุณ (พ่อของ
พ่อไสย-แม่หม่ี แสงอรุณ (สระทองพร้อม) ที่เป็นบิดามารดาของ
ท่านพระครูสุทธิกิจวิธาน และทราบว่า บ้านเดิมอยู่ที่หัวทราย
ดอนมะนาว คอื ดา้ นใตโ้ รงเจลงไป แตไ่ ดโ้ ยกยา้ ยไปอยบู่ า้ นดอนมะเกลอื
อ.อูท่ อง แถวหลงั สระยายโสม และเคยไปอยู่กาญจนบุรี
ป่เู บย้ี แสงอรุณ แตง่ กับยา่ จอม มลี กู หวั ปีช่ือนางฮม ซง่ึ แต่งกบั
คนไทยทรงดำ� เพชรบรุ ี เพราะนามสกลุ “เอง่ เพชร” และมลี กู คอื นางทะ
ท่แี ตง่ กบั สามีนามสกุล “เหมาเพชร”
ข้าพเจ้าพูดชมว่าเสียงไพเราะดี และนางทะก็เล่าชีวิตในวัย
๑๗ ปี ว่าเคยไปอยู่ที่เลาขวัญที่ปัจจุบันเป็นห้วยกะเจา ย้ายไป
ท�ำมาหากินแถวนั้น ว่ามีพวกนักร้องมาแต่งเพลง “เทพีบ้านนา”
เปน็ พวกทหารอยคู่ า่ ยสรุ สหี แ์ ถวนน้ั และถามเธอวา่ ชอ่ื อะไร เธออายวา่
ชื่อ “ทะ” จึงบอกว่าช่ือ “จ�ำปี” ไป หนุ่มเหล่านั้นเป็นพวกศิษย์เก่า
ครูสุรพล สมบตั เิ จรญิ มาตามหาทบ่ี า้ นเธอ ถามหาคนชอื่ จำ� ปี
เธอได้ขับร้องเพลง “เทพีบ้านนา” ให้ข้าพเจ้าฟังอีกเพลงหนึ่ง
เร่ิมต้นด้วย “บ้านป่านาดง พ่ีนึกว่าคงแห้งแล้งกันดาร...” ซึ่งข้าพเจ้า
เคยฟงั มากอ่ น ไดค้ น้ หาขอ้ มลู เพมิ่ วา่ ไพรวลั ย์ ลกู เพชร ขบั รอ้ งเพลงนด้ี ว้ ย
แต่ไม่ใช่ original ได้ค้นเจอต้นฉบับแผ่นเสียงคร่ัง เป็นเสียงร้องของ

อนทุ ินประจำ� วัน 347

“มนต์ไพร ลูกราชบุรี” ส่วนเน้ือร้องแต่งนั้น ต้องเครดิตให้ครูสุรพล
สมบตั เิ จรญิ เปน็ ผแู้ ตง่ แตส่ ายรายงานมาวา่ ผแู้ ตง่ ชอื่ ครวู บิ ลู ย์ ชยั ชติ าทร
(เก่ง กรุงเก่า) (๒๔๘๒-๑๙ ก.ค.๒๕๖๐ อายุ ๗๘ ปี) เป็นนักดนตรี
เป่าแซ็กวงสุรพล เป็นคนคุมวง ซึ่งเป็นคนแต่งไว้หลายเพลง รวมท้ัง
เพลงถวลิ ดอกฟา้ ครูวบิ ลู ย์รกรากคนอยธุ ยา เพ่งิ เสียชวี ิตไปเมือ่ ไมน่ าน
เป็นคนแต่งเพลง “เทพีบ้านนา” หรือจะช่วงนั้น ลิขสิทธ์ิเพลง
ยังไม่ชัดเจนก็ได้ พดู กวา้ งๆ ไว้ เพอ่ื ไมใ่ ห้ขัดแย้งกบั ใคร

วันอาทิตย์ ท่ี ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ (ขึ้น ๑๕ ค่�ำ เดือน ๙)
เปน็ วนั เกดิ ของเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระมหารชั มงั คลาจารย์ (ชว่ ง ป.ธ.๙)
(เกิดปีฉลู ๒๔๖๘ อายุ ๙๓ ปี) และเป็นวันเดินทางกลับหลังจาก
พ�ำนักในต่างประเทศเป็นเวลา ๙๐ วัน ของเจ้าประคุณสมเด็จ
พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ซ่ึงจะเร่ิมอธิษฐานเข้าพรรษา
หลังในวันแรม ๑ ค่�ำ เดือน ๙ ตามหลักพระวินัยบัญญัติ ข้าพเจ้า
ได้พูดคุยกับนายประวิทย์ พูลสวัสด์ิ (เกิดปีเถาะ ๒๔๙๔) คนสวนสัก
ถึงนางประจวบ อารยางกรู ท่เี ปน็ ภรรยาของสรรค์วทิ ยุ หรือนายสรรค์
อารยางกรู พีช่ ายของเจา้ คณุ ป.อ.

นางประจวบ อารยางกูร เสียชีวิตและประกอบพิธีรดน้�ำศพ
ท่ีวัดยาง อ.ศรีประจันต์ เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๑ มีผู้แจ้งว่า
อายุ ๗๔ ปี แตต่ ามประเพณจี นี มีลูกชาย ๓ คน บวกอายุเป็น ๗๗ ปี

นายประวิทย์ พูลสวัสดิ์ เกิดที่สวนสัก อ.ดอนเจดีย์ ท่ีแม่น้�ำ
ท่าคอย บอกว่า ท่ีด้ังเดิมเป็นของปลัดเช้า สุวรรณศร ที่ขายตกทอด
มาถึงมือนายเชาว์ ศิลปโชติ และต่อมาเฮียเชาว์ ก็ขายต่อให้ในราคา
เป็นกันเอง ข้าพเจ้าบอกว่า สงสัยเป็น แซ่เตียว เหมือนกันรึเปล่า?
และสอบถามข้อมูลว่าท่ีประตูหน้าโบสถ์วัดพระพิเรนทร์ วรจักร

348 อนทุ ินประจำ� วัน


Click to View FlipBook Version