The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2020-04-15 21:24:04

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

อนุทิน หลากหลายชีวิต พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙) ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

ปู่ทวดย่าทวดของข้าพเจ้าเป็นผู้มาบุกเบิกทุ่งลาดพลี แขวง
อำ� เภอบา้ นบางเลน มาจากแขวงอำ� เภอบา้ นกมุ่ หา่ งกนั ราว ๑๐ กโิ ลเมตร
จากจดุ กำ� เนดิ บา้ นเกดิ เมอื งนอน มาตงั้ รกรากทลี่ าดพลี มปี ขู่ องขา้ พเจา้
รายเดยี วทีไ่ ปแตง่ งานกบั คนไผ่ช้างแลน่ แล้วอพยพไปอยไู่ ผ่ชา้ งแล่น

พ่ีน้องของปู่ชุบมีหลายคน แต่ปู่ชุบเป็นคนหัวปี คนรองช่ือ
ยา่ เล่ือน แตง่ กับตระกูล “บูชา” และคนท่ี ๓ ช่ือย่าไร แต่งกบั ตระกูล
“บูชา” อีก, มีย่าหลาบ แต่งกับ “ขุนคง” และย่าเล็ก แต่งกับ
“บุญประเสริฐ” เป็นต้น

บา้ นของย่าเลื่อนอยกู่ ลางทุง่ ลาดพลี ขา้ พเจ้ายังไมเ่ คยไปท่ีบา้ น
เคยพบปะลูกๆ ของย่าเล่ือนก็พูดคุยสอบถามกัน ที่พบกันบ่อยคือ
อาสรุ นิ ทร์ นักฆอ้ ง (บูชา) ท่ีเปน็ ลูกของย่าไร (+ตาย้ิม บชู า)

ตายม้ิ ถา้ จะเรยี กใหถ้ กู ขา้ พเจา้ ตอ้ งเรยี กวา่ “ปยู่ ม้ิ ” เปน็ ลกู ของ
เจ๊กกุนกับนางเขียว คนปากคลองบางสาม, อาสุรินทร์บอกว่า เจ๊กกุน
กบั ยา่ เขยี วมลี กู ถึง ๙ คน มีชอ่ื ลงุ หวงั , ลุงหวิง, ลงุ ค่อม, พ่อย้มิ , อาต๋ี
เปน็ ต้น และฝา่ ยป่ทู วดยา่ ทวดของข้าพเจา้ คือ นายด�ำ-นางพดุ ภมรพล
(ครฑุ ใจกล้า) กม็ ีลูกถงึ ๙ คนเชน่ กนั

ดังนน้ั ถา้ นับสายสมั พันธแ์ ค่ ๙ + ๙ เป็น ๑๘ สายกน็ บั ว่าเป็น
ครอบครัวใหญ่มากครอบครัวหนึ่ง

เฉพาะตายมิ้ -ยา่ ไร บชู า มบี ตุ รธดิ าแค่ ๒ คน เปน็ ชายคน หญงิ คน
คนโตคอื นายประยูร บชู า (๒๔๘๖-๒๕๖๑) และนางสรุ ินทร์ นักฆอ้ ง
(บชู า) ทย่ี ังมชี วี ิตอยู่ ท้ังสองคนนต้ี ามศักดข์ิ ้าพเจา้ ต้องเรียกว่า อา

ขา้ พเจ้าถามอาสุรินทร์ นักฆ้องวา่ ตอนย่าไรเสยี ชีวิตอายเุ ท่าไร
และตายปีใด ได้รับค�ำตอบว่า ย่าไร บูชา เสียอายุ ๙๒-๙๓ ปี
เมื่อปี ๒๕๔๔ นั่นคือเป็นคนท่ีเกิดเม่ือ ๒๔๕๒ และปู่ชุบ ภมรพล

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 149

เปน็ คนหัวปี ยา่ เลือ่ นคนรอง และย่าไรเปน็ คนที่ ๓ ดังนน้ั ปู่ชุบต้องเกดิ
ในราวปี ๒๔๔๘-๙ ถ้าขยันเกิดปีละคนที่เรียกว่าหัวปีท้ายปี ปู่ของ
ขา้ พเจา้ กต็ อ้ งเกดิ ในปี ๒๔๕๐ และเสยี ชวี ติ หลงั สงครามมหาเอเชยี บรู พา
แลว้ กน็ า่ จะเปน็ ราวปี ๒๔๘๘ นนั่ คอื เสียชีวติ ในตอนมอี ายุได้ ๓๘ ปี

สำ� หรบั ปชู่ บุ ของขา้ พเจา้ นน้ั ทท่ี ราบมาเปน็ ลกู พล่ี กู นอ้ งกบั ปฉู่ าบ
ภมรพล (๒๔๔๗ - ๒๕๓๑ อายุ ๘๔ ป)ี มภี รรยาชือ่ ยา่ มว่ ย ภมรพล
(เคยเค้า) (เดิม แซ่เล้า) (๒๔๔๗ – ๒๕๓๗ อายุ ๙๐ ปี) มีลูกชาย
ที่มีช่ือเสียงคนหน่ึงคือผู้ใหญ่ขวัญเมือง ภมรพล ผู้ใหญ่บ้านท่ีบ้านกุ่ม
บางตะเคียนแหง่ นี้

ปชู่ วดดำ� ภมรพล ข้าพเจา้ สืบทราบมาวา่ อายุ ๘๐ ปี เสียชวี ติ
ในปี ๒๕๐๑ ค�ำนวณจากตวั เลขน้ี เปน็ บุคคลทีเ่ กดิ ในราวปี ๒๔๒๑

150 อนุทินประจำ� วนั

อนทุ ินประจำ� วัน

(๕๒๙ แผนทีส่ ุพรรณบุรี หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)

น่ังรถผ่านส่ีแยกหลานหลวงที่ตัดกับถนนจักรพรรดิพงษ์ เห็น
ร้านขายยาหมอถนอม บุณยกมล อักษรด้านหน้าเขียนว่า
“สถานทปี่ รงุ ยาไทย” หวนนกึ ถงึ นามสกลุ นท้ี วี่ ดั พระพเิ รนทร์ วรจกั ร
เขยี นเปน็ “บณุ ยะกมล” และ “บณุ ยกมล” ขา้ พเจา้ พยายามเพง่ มอง
ให้รชู้ ดั ว่าเขียนอะไรแน่ ที่ร้านเขียนอยา่ งไร ต้องเป็นนามสกลุ สะกด
แบบนนั้

ไดเ้ หน็ ชอื่ “นายถนอม นางเวยี น บณุ ยกมล สรา้ ง พ.ศ. ๒๔๕๒”
ที่ตู้ใส่พระไตรปิฎก วางอยู่ในมณฑปวัดพระพิเรนทร์ ถกเถียงกันว่า
ปี ๒๔๔๒ หรือ ๒๔๕๒ กันแน่ เพราะสายตาไม่ค่อยดี และอักษรเกา่ แก่
ตอ้ งโทษวา่ เขยี นไมช่ ดั หรอื จะโทษวา่ เราตาไมด่ ี ระหวา่ งโทษคนอนื่ สง่ิ อนื่
กบั โทษตวั เอง

ผลวิทยาศาสตร์พิสูจน์ออกมา หลังจากใช้สีขาวทาบเข้าไป
ว่าเปน็ ปี ๒๔๙๒ ที่ถกเถยี งกันผิดทัง้ คู่

ตระกูล “บุณยกมล” เคยอุปถัมภ์วัดพระพิเรนทร์ วรจักร
มาอย่างน้อยเป็นเวลาเม่ือ ๑๑๐ ปี หรืออาจจะถึง ๑๒๐ ปีก่อน
(แต่จากหลักฐานใหม่ลบเสีย ๕๐ ปี) เพราะนักบิณฑบาตรูปหน่ึงใน
สมัยก่อนบอกว่า สมัยก่อนอดและล�ำบากมาก เดินจากวรจักรมา
บณิ ฑบาตถงึ วัดสระเกศ และมารับบาตรที่บ้านหมอถนอมแถวนี้

อนุทินประจ�ำวนั 151

เมื่อหลายวันก่อน ไปหอจดหมายเหตุแห่งชาติ (National
Archives) ไปเวลาเยน็ จะ ๑๖.๐๐ น. แลว้ จงึ ไดแ้ ตท่ ำ� บตั รหอจดหมายเหตุ
ไว้แค่น้ัน จนมาถึงวันท่ี ๑๐ ก.ค. ๒๕๖๑ คิดอยากจะไปดูแผนท่ี
สุพรรณบุรี โดยเฉพาะอยากดูเส้นทางคลองสองพี่น้อง อยากรู้ว่า
ตอนที่ ร.๕ เสด็จประพาสคลองสองพ่ีน้องนั้น เสด็จไปในล�ำคลอง
สภาพเสน้ ทางเปน็ อย่างไร ยังไมไ่ ดข้ ้อยุตวิ ่าเสด็จไปถึงไหน แวว่ ๆ มาวา่
เสด็จถึงอ�ำเภอบางลี่ โดยเฉพาะท่ีหน้าโรงเรียนแม่พระประจักษ์
เพราะมีรายหนึ่งบอกว่า เคยมีรูปภาพ ร.๕ เขียนว่ามอบให้เต่ียไว้
แต่หารูปภาพนั้นไมเ่ จอ

ยังเถียงกันไม่จบว่า ปลายคลองสองพ่ีน้องอยู่ที่ไหน? อยู่ท่ี
ปากคลองบางสาม หรือทีย่ างยแ่ี ส อู่ทองโนน้ .... และคิดว่า บรรพบรุ ุษ
เราไดโ้ ยกยา้ ยถนิ่ ฐานบา้ นชอ่ งมาเมอ่ื ราว ๑๐๐ กวา่ ปที แ่ี ลว้ สภาพทอ้ งทงุ่
แถวนจี้ ะเป็นเช่นไร จึงอยากไปดูแผนท่ี ศึกษาภมู ิศาสตร์เพม่ิ เติมหน่อย

เมื่อขึ้นไปชั้น ๒ ห้องบุรฉัตร นึกข้ึนได้ว่าเคยเข้ามาห้องน้ี
คร้ังแรกในชีวิตและเป็นคร้ังเดียวเม่ือราว ๑๐ ปีก่อน มาค้นเร่ือง
จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดราชบุรณะ ได้มา ๑๐ กว่าภาพ
ยังส�ำเนาเกบ็ ไว้ในแผ่นซดี ี หลังจากนั้นกไ็ มไ่ ดย้ า่ งกรายมาอีกเลย

เจ้าหน้าที่บอกว่า จะค้นในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ก็ได้ เพราะ
มีบางส่วนท่ีทยอยสแกนเก็บไว้ในเคร่ือง หรือมิฉะน้ันก็ไปค้นในตู้บัตร
ห้องสมุดเหมือนท่ีเคยใช้ในระบบเดิม ข้าพเจ้าแจ้งความประสงค์ว่า
มาค้นแผนท่ีจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าที่พาไปตู้เก็บบัตร แล้วดึง
ล้ินชักบัตรออกมา พร้อมกับแนะน�ำวิธีใช้ เขียนรหัส หัวข้อ ผู้ขอใช้
และลงวนั เดือนปี

152 อนทุ นิ ประจำ� วัน

แผ่นบัตรแรกที่ค้นเจอและหยิบออกมาคือ “ผ” (แผนที่)
ในวงกลมสีแดง อ่านว่า ผจ.กส/๑๐๙๖ มณฑลนครชัยศรี-แผนที่
แสดงการรังวัดบรรจบหมุด รายละเอียดการเดินส�ำรวจ และสอบเขต
โฉนดที่ดินจงั หวัดสพุ รรณ เมษายน ๒๔๗๔

ในแผ่นนี้ดูสารบัญ เป็นแผ่นท่ีจัดท�ำและส�ำรวจช่วงปี ๒๔๗๐-
๒๔๗๑ และรองอำ� มาตยต์ รี พระวจิ ารณ.์ ... ลงวนั เดอื นป.ี .........../๒๔๗๔

แผนท่ี ๒๔๗๔ แสดงการส�ำรวจในเขตอ�ำเภอ ๓ แห่งคือ
อ�ำเภอบางปลาม้า ๓ ต�ำบล, อ�ำเภอจรเข้สามพัน ๙ ต�ำบล และ
อ�ำเภอสองพ่นี อ้ ง ๓ ต�ำบล (บางพลบั , บางสะแก, บา้ นกมุ่ )

แผ่นท่ีแผ่นที่ ๒ ที่ค้นพบ เขียนระหัส “ผ” ในวงกลมสีแดง
ระหัส ผ มท.๒๔ นครไชยศรี, มณฑล แผนท่ีมณฑลนครไชยศรี
แสดงทตี่ ง้ั เมอื งสพุ รรณบรุ ี แสดงบรเิ วณแมน่ ำ้� , ลำ� นำ้� , เขตเมอื ง, อำ� เภอ,
ทางเดินบริเวณภูเขา, ห้วย, หนอง, ส�ำรวจ พ.ศ.๒๔๓๘-๒๔๓๙
เขยี นโดยนายสิน พิมพ์ทีก่ รมทำ� แผนที่ แผนที่ “๕๒ x ๖๘” มาตราสว่ น
๑:๖๔,๐๐๐ รบั มอบจากกระทรวงมหาดไทย

ดูรายละเอียดว่า นายสิน เป็นผู้เขียน ในปี ๑๑๔-๑๑๕ ซึ่ง
ตีความว่าเป็น ร.ศ.๑๑๔-๑๑๕ ตรงกับ พ.ศ.๒๔๓๘-๒๔๓๙ และ
มีคณะนักส�ำรวจอีกหลายคน ท่ีข้าพเจ้าไม่ขอเอ่ยช่ือ หากต้องการ
ขอให้หาชือ่ กันเอง

ดจู งั หวดั สพุ รรณบรุ ี มณฑลนครไชยศรี (สมยั กอ่ นเขยี นนครชยั ศรี
เปน็ “ไชย” ในแผนท่ี ๒๔๗๔ เขยี นเปน็ “ชยั ”) ตง้ั อยตู่ ดิ กบั เขตตวั เมอื ง
ราชบุรี เห็นวัดพระแท่นอยู่ฟากฝั่งเขตเมืองสุพรรณ หลักฐานอย่างนี้
ต้องเก็บไว้เพ่ือไว้อ้างอิงพวกเมืองกาญจน์เวลาเถียงว่า ดอนเจดีย์
อยทู่ ่ไี หน? จะอยู่ทไ่ี หน ในปี ๒๔๕๖ ทีค่ ้นพบที่สพุ รรณบรุ ี กแ็ สดงว่า

อนุทนิ ประจ�ำวัน 153

อยู่ในเขตสุพรรณบุรีอยู่ดี จะมาอ้างโน่นอ้างน่ีไม่ได้ มีแผนที่ของ
มหาดไทยยนื ยันช้ินนี้

ส�ำรวจเส้นทางเน้นแม่น้�ำท่าจีนจากเหนือที่สิงห์บุรี ลงมา
จนสนิ้ สดุ ทบี่ า้ นบางสาม แลว้ สำ� รวจคลองสองพนี่ อ้ ง ทป่ี ากคลองบางสาม
ผ่านวัดสองพี่น้องไปบางพลับ บางบอน ท่าไชย จนถึงยางย่ีแส
ทส่ี งั เกตเหน็ คอื คลองแตกแขนงประจบกนั เปน็ เสน้ ขนมจนี ทต่ี อ่ ถงึ กนั หมด
เชน่ คลองสองพน่ี อ้ งตอ่ กับคลองบ้านคอย เปน็ ตน้

นอกจากน้ี ยังลองค้นบัตรวัดราชบุรณะดู เห็นเอกสารในหอ
จดหมายเหตุอีก ๔-๕ รายการ มีแผนท่ีพิพาทเร่ืองที่ดินกับชาวบ้าน,
แผนทวี่ ดั ราชบรุ ณะ... พอสมควรแกเ่ วลา ขออำ� ลากลบั วดั ถา้ สงสยั อะไร
จะยอ้ นกลับมาดอู กี ที

154 อนทุ นิ ประจำ� วนั

อนุทนิ ประจำ� วนั

(๕๓๐ ไวยาวัจกรวัดสองพ่นี อ้ ง)

หนง่ึ ในไวยาวจั กรวดั สองพีน่ ้อง ช่ือนายมน ผลศรีนาค (๒๐ ต.ค.
๒๔๔๓-๑๓ ก.ค.๒๕๒๔ อายุ ๘๑ ป)ี บตุ รของปู่เกลอ่ื น-ยา่ เขยี น
ผลศรีนาค, ป่เู กลอื่ นคนทา้ ยบา้ น สว่ นย่าเขียน คนนครชยั ศรี พายเรอื
มาคา้ ขายไปๆ มาๆ ระหวา่ งนครชยั ศรกี บั ยา่ นสองพน่ี อ้ ง จนมาเปน็ สะใภ้
สองพีน่ อ้ งไป

ย่าเขียน ผลศรีนาค (ตอนต้งั ศพเผาทวี่ ดั สองพี่น้อง ในปี ๒๔๙๖
เขยี นทโ่ี ลงศพวา่ นางเขยี น ผลสนี าค) เปน็ ญาตกิ บั พระธรรมเจตยิ าจารย์
(หลวงปวู่ งศ์ อายุ ๑๐๒ ป)ี วดั เสนห่ า รกรากคนทางสมั ปทวน นครชยั ศรี
มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเสน่หา ตัวเมืองนครปฐม เป็นพระสาย
ธรรมยตุ ิกนกิ าย

คนทางสองพ่ีน้องเรียกว่า “หลวงน้าวงศ์” ซ่ึงเคยสืบประวัติ
พระธรรมเจติยาจารย์ วัดเสน่หา ว่านามสกุลอะไร ก็ยังสืบไม่ได้
จึงพลอยทำ� ใหไ้ ม่รู้นามสกุลและเชือ้ สายของยา่ เขยี น ผลศรนี าคไปด้วย

ครเู ย่ือ นุชศริ ิ อายุ ๙๗-๘ ปี (ยงั มีชวี ติ อยู่) บอกว่าเคยไปอยกู่ บั
หลวงพ่อวงศ์ ที่วัดสัมปทวน และยงั ติดตามไปอยกู่ บั สุชีพ บญุ ญานุภาพ
(สุชีโว ภิกขุ) ท่ีวัดกันมาตุยารามด้วย ก็บอกว่า ไม่รู้ว่าหลวงพ่อวงศ์
นามสกลุ อะไรเหมอื นกัน ครเู ยื่อเป็นลูกของยา่ ไกรกบั ป่หู ยวก นุชศิริ ถา้
ลองบวกอายขุ องนายมน ผลศรนี าค (เกดิ ๒๔๔๓) จนถงึ วนั นน้ี บั ชาตกาล
ได้ ๑๑๘ ปแี ลว้ นบั จากวนั เสยี ชวี ติ ไปคอื วนั ท่ี ๑๓ ก.ค.๒๕๒๔ นบั ได้ ๓๗ ปี

อนุทินประจ�ำวนั 155

ลองคิดบวกชาตกาลของคนรุ่นปู่เกล่ือน ย่าเขียน ผลศรีนาค
ก็ตอ้ งเปน็ ชาตกาลได้ราว ๑๔๐ ปี

ปู่เกล่ือน ผลศรีนาค (+ย่าเขียน คนนครชัยศรี) ข้าพเจ้า
ได้สอบถามว่า แม่ของย่าเขียนชือ่ อะไร ได้รบั คำ� ตอบว่า ช่อื “ยายนอ้ ย
เป็นแมข่ องย่าเขยี น และยายนอ้ ยเปน็ พน่ี อ้ งกบั หลวงปู่วงษ์ (พระธรรม
เจตยิ าจารย)์ , ยา่ เขยี น ผลศรนี าค เรยี กหลวงพอ่ วงษ์ วดั เสนห่ าวา่ “นา้ ”
และพ่อมน ผลศรีนาค เรยี กวา่ “ตา”, ยา่ เขียน ผลศรนี าค เป็นคนก๊ก
วดั โคกแขกชือ่ ใหมค่ ือประชานารถ? แถวทา่ มอญ และอยู่ฝั่ง “ท่านา”
สรปุ ได้วา่ หลวงปู่วงศ์ เปน็ ญาตกิ นั

ย่าเขียน ผลศรนี าค มรี ปู ร่างหน้าตาดี จากรูปภาพ นง่ั โตะ๊ ถา่ ย
ในห้องภาพ แต่คงไม่ได้ถ่ายท่ีตลาดบางลี่ ดูแล้วจะถ่ายในกรุงเทพฯ
เพราะมีการประดับตกแต่งฉากเป็นอย่างดี เหมือนกับใครไปถ่ายภาพ
ร้านนิติกรฉายา ที่พิพิธภัณฑ์หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า ในนิทรรศการ
เฉลิมฟิล์มกระจก (หมดเขตวันอาทิตย์ท่ี ๒๘ ก.ค. นี้ ทร่ี า้ นถา่ ยภาพ
มบี รกิ ารเฉพาะวนั เสาร-์ อาทติ ย)์ จะทราบวา่ เขามีฉากอยา่ งไร

ปู่เกลือ่ น - ยา่ เขยี น ผลศรนี าค มบี ตุ รธิดา ๗ คน ทไี่ ลเ่ รียงได้ คอื
๑. นางเหว่า คำ� เภา (ผลศรีนาค) (+นายหยน่ั คำ� เภา เป็นคนมา
จากจงั หวดั สพุ รรณ) ทอ้ งนม้ี ลี กู หลายคน เชน่ พป่ี ระยรู , พเี่ สนห่ ,์ พพ่ี ยงุ ,
พพ่ี ยงค.์ นามสกลุ “คำ� เภา” เปน็ เครอื ญาตกิ บั “ไพจติ ต์ (หรอื พลายจติ ต)์ ,
รื่นเจริญ, เฉียบสกุล” เคยดูประวัติของนางคล่ี ไพจิตต์ ก๊กนี้มีช่ือ
นายไชยนนั ท์ ค�ำเภา เปน็ สายท่ีทำ� บญุ อยู่วดั ไชนาวาส
๒. นางไกร นุชศิริ (ผลศรนี าค) (+นายหยวก นุชศิร)ิ เป็นพ่อแม่
ของครเู ยอื่ นุชศริ ิ ปัจจบุ นั อายุ ๙๘ ปี
๓. นายมน ผลศรนี าค (๒๐ ต.ค. ๒๔๔๓ ปีสหชาติกับสมเด็จยา่

156 อนทุ ินประจ�ำวัน

- ๑๓ ก.ค. ๒๕๒๔ อายุ ๘๑ ป)ี (+ นางแป้น วชั พนั ธ์, + นางจำ� เนียร
จนิ ดาอนิ ทร์ (ผลศรนี าค) (๒๔๖๒-๑ ก.ย.๒๕๕๙ อายุ ๙๗ ป)ี

๔. นายสขุ ผลศรีนาค (+ นางรำ� พึง อยูท่ ้ายบา้ น พวกเดยี วกับ
ยายพวน) ไม่มีลูกด้วยกัน รับเอาตุงหนิง (อุไรวรรณ) มาเล้ียงเป็น
บุตรบุญธรรม, อุไรวรรณ ผลศรีนาค เคยประกวดเป็นรองนางงาม
เทศบาลอำ� เภอเมอื งสองพีน่ อ้ ง

๕. นายเมือง ผลศรีนาค (แต่งกับยาย...., และยายเต้า) มีลูก
ช่ือนางฉลวย อยู่อู่ทอง, ช่ือนางสงวน และผู้มีลูกหญิงท่ีชื่อน้าเหรียญ,
และน้าเทียน เป็นต้น, บ้านผลศรีนาคว่า อาเมือง ผลศรีนาค เป็น
นอ้ งชายของพอ่ มน อย่ใู นตลาดอทู่ อง มีลูก ๓ คน พ่อมน ผลศรนี าค
เคยไปซื้อไม้ท่ีอู่ทองเพ่ือน�ำมาปลูกบ้าน น�ำกระดานมาทางรถได้
เมอ่ื กอ่ นโนน้ มเี รอื วง่ิ ไปซอ้ื ถา่ นกนั ทอ่ี ทู่ อง, อาเมอื ง ผลศรนี าค อยอู่ ทู่ อง
แต่งกับคนดอนมะเกลือช่ือยายเต้า (น่าจะเป็นลาวโซ่ง/ไทยทรงด�ำ)
ย้ายเข้าไปอยูใ่ นตลาดอู่ทอง และขาดการตดิ ตอ่

๖. นางบุญมี อาจหาญ (ผลศรีนาค) (+นายช้วน อาจหาญ
คนไผ่ช้างแล่น) ตาช้วนหรือตาชวน อาจหาญเป็นน้องเขยของพ่อมน
ผลศรีนาค เคยมีร้านขายยาที่ซอยวัดประดู่ในทรงธรรม ช่ือร้าน
ชวนชมเภสชั สายนไี้ ม่มีลกู ด้วยกนั รับเอาญาตๆิ มาเปน็ บุตรบญุ ธรรม
กข็ าดการตดิ ตอ่ เชน่ กัน

นายมน ผลศรีนาค เป็นไวยาวัจกรตามป้ายท่ีวัดสองพ่ีน้อง
จดั ท�ำไว้ นับเป็นคนที่ ๒ คนแรกช่อื มหาโหมด แสงจินดา เคยบวชอยู่
วัดพระเชตุพน ท่าเตียน ท่ีเล่ากันว่า สอนบาลีโดยไม่ต้องดูหนังสือ
เพราะจำ� เรอื่ งและจำ� บาลีไดห้ มด คนสมัยก่อนเขาเรียนขนาดท่องจ�ำได้
มหาโหมดเปน็ พ่ีนอ้ งกับพระอาจารย์หอม เกสโร (นามสกลุ แสงจินดา)

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 157

ทเี่ ปน็ วงศาคณาญาตกิ บั พระมงคลเทพมนุ ี (สด จนั ทสโร นามสกลุ มแี กว้
นอ้ ย) และเจา้ พระคุณสมเด็จพระสังฆราช องคท์ ่ี ๑๗ (๓๐ ม.ี ค. ๒๔๓๙
- ๗ ธ.ค.๒๕๑๖ พระชนมายุ ๗๗ พรรษา) วัดพระเชตุพน

วัดสองพ่ีน้อง นับมหาโหมด แสงจินดา เป็นไวยาวัจกรคนท่ี
๑, นายมน ผลศรีนาค (๒๔๔๓-๒๕๒๔) เป็นคนท่ี ๒, นายสังเวียน
จนิ ดาอนิ ทร์ เป็นคนท่ี ๓, ครเู วยี ง สำ� เนยี งลำ้� เปน็ คนท่ี ๔, และคนที่ ๕
ในปจั จบุ นั นชี้ อ่ื ครเู ฉลมิ ขาวประเสรฐิ ภรรยาชอื่ ครกู มลวรรณ ขาวประเสรฐิ
(สวุ รรณเนตร) เปน็ คนนครชยั ศรี เปน็ หลานของนายอ�ำเภอเฉลมิ สวุ รรณเนตร
อดตี นายอ�ำเภอสองพี่น้อง

ในทุกๆ ปี ท่ีบ้านผลศรีนาค จะท�ำบุญอุทิศส่วนบุญส่วนกุศล
ไปใหบ้ รรพบรุ ุษ ซึ่งกำ� หนดวนั เสาร์วนั อาทิตย์เปน็ หลกั ถือความพรอ้ ม
เปน็ ฤกษง์ ามยามดใี นการทำ� บญุ อทุ ศิ ไปให้ “พอ่ มน แมจ่ ำ� เนยี ร ผลศรนี าค”
เปน็ ตน้ รวมทงั้ ปยู่ า่ ตายาย ในราวเดอื นกรกฎาคมของทกุ ปี นมิ นตพ์ ระสงฆ์
มาสวด-เจริญพระพุทธมนต์ ถวายเพลแดส่ ามเณรหมดวัดสองพ่ีน้อง

ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ทอ่ี นทุ นิ ประจำ� วนั https://www.facebook.com/
pphamonphon/posts/1418876901461534

158 อนทุ ินประจำ� วนั

อนทุ นิ ประจ�ำวัน

(๕๓๑ ตามหารอ่ งรอยท่ีวดั พระพิเรนทร์ วรจกั ร)

หลังจากพิสูจน์ตู้ใส่คัมภีร์เจ้าภาพช่ือหมอถนอม นางสังเวียน
บุณยกมล เป็นเจ้าภาพสร้างปี ๒๔๙๒ ไม่ใช่ปี ๒๔๔๒ หรือ
๒๔๕๒ เป็นท่ียอมรับข้อมูลว่าถูกต้อง ยังมีตู้พระไตรปิฎก ที่คุณนาย
กิมเฮง ศรีหงส์ เป็นผู้สร้างไว้ในพระพุทธศาสนา มอบถวายไว้ส�ำหรับ
วัดพระพิเรนทร์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แด่ นายยิ้ม ศรีหงส์ ผู้เป็นสามี
มหี นงั สือทร่ี ะลึกเป็นหลกั ฐานชดั เจน เป็นท่ีนา่ เสียดายวา่ หวั พญานาค
๔ หวั ทีเ่ คยอยขู่ ้างบน สูญหายไป ทางวัดก�ำลงั สร้างใหมข่ น้ึ แทน

เปน็ โอกาสใหส้ ำ� รวจขอ้ มลู วัดพระพเิ รนทร์ วรจกั ร อีกครัง้ หนึ่ง
เช่น ยืนยันข้อมูลว่า รูปภาพหลวงปู่ผิวนั้น ไม่ถูกต้อง ที่ถูกต้อง
คือพระครูธรรมสารรกั ษา (หลวงป่พู รง้ิ ) วัดวรจนั ทร,์ และปีมรณภาพ
ของพระอธกิ ารเหม อดตี เจา้ อาวาสวดั พระพเิ นทร์ (๒๔๓๘-๒๔๕๘) นนั้
กค็ ลาดเคลอ่ื นไป ๑ ปี เพราะพบอัฐิทีเ่ ขยี นบอกวา่ มรณภาพปี ๒๔๕๗

ในยคุ พระอธกิ ารเหมรปู น้ี มพี ระพทุ ธรปู ยนื อมุ้ บาตร ทฐ่ี านจารกึ
ปสี รา้ ง ๒๔๔๒ ชอื่ เจา้ ภาพคอื “แมน่ อ้ ย มารดา กบั เผอ่ื น บตุ ร” ในปนี น้ั
ไม่มีนามสกุลบอกไว้ แต่ทราบว่าบาตรที่อุ้มหายไปในช่วงไหนไม่ทราบ
ได้สร้างบาตรแทนขึ้นมาใหม่เมื่อปี ๒๕๕๖ เจ้าภาพสร้างช่ือพี่สมาน
สุดโต เป็นผู้ริเริ่มออกทุนทรัพย์ให้ก่อน ๒,๐๐๐ บาท และเจ้าอาวาส
รปู ใหม่ผสมเติมให้เต็มตามจำ� นวนท่ชี า่ งเรียก

อนทุ ินประจำ� วนั 159

ดูรูปภาพพระครูสังฆรักษ์ประสม เรืองจรูญ ซ่ึงในช่วงปลาย
ของชีวิตได้เป็นพระครูสัญญาบัตรช่ือพระครูกิตติญาณประยุต
(๒๔๖๓-๒๕๓๑), พระครูฯ ประสมเป็นคนกรงุ เทพฯ แถวๆ วัดสระเกศ
เรียกครูน่ิม โพธิ์เอี่ยมว่า “น้านิ่ม” ครูนิ่มเล่นลิเกเป็นตัวพระตัวนาง
ว่าส่วนใหญ่จะเป็นตัวนาง ใครเคยอยู่วัดพระพิเรนทร์ วรจักร ไม่รู้จัก
ครูน่ิม กน็ ับวา่ แยเ่ ต็มทน

อุโบสถวัดพระพเิ รนทร์ เปน็ โบสถ์เกา่ แตม่ รี อ่ งรอยบูรณะประตู
หน้าต่างใหม่ในปี ๒๕๐๖ เพราะมีช่ือเจ้าภาพติดบันทึกอยู่ เช่น
ท่ีด้านหน้าโบสถ์ มีเจ้าภาพช่ือ นางฟู รักการงาน, นางเทิ้ม พูลสวัสดิ์
และท่ีประตูด้านหลังมีจารึกชื่อ “นางกมลศรี ณ สงขลา อุทิศให้
คณุ ขาว จงจริ ะ”, อกี บานหนง่ึ จารกึ ชอื่ “นายสวน บตุ รดี - นางยพุ นิ บตุ รด,ี
พระครูสงั ฆรกั ษป์ ระสม เรอื งจรูญ” ส่วนหนา้ ตา่ งมีเจ้าภาพโดยตระกลู
“เวยี งเกต”ุ หลายที่ และหนา้ ตา่ งบานหนงึ่ ชอื่ เจา้ ภาพ “นางพรา้ นลิ วชั ระ”

ไปดผู ลงานชนิ้ แรกของทา่ นเจา้ คณุ พระเทพวสิ ทุ ธโิ มลี (อทุ ยั ป.ธ.๙)
อดตี เจา้ อาวาส ทมี่ ตี ำ� แหนง่ เปน็ ถงึ รองเจา้ คณะภาค ๓ เคยดำ� รงตำ� แหนง่
เป็นเจ้าคณะเขตป้อมปราบฯ มาก่อน, ส่ิงก่อสร้างชิ้นแรกชื่อศาลา
ประชาอุทิศ ๑ สร้าง พ.ศ.๒๕๓๕ เคยเป็นท่ีปฏิบัติธรรมของ
สำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมสหศกึ ษามากอ่ น และเคยเปน็ ทพ่ี ำ� นกั ของหลวงปโู่ งน่
คนพจิ ิตร ทที่ า่ นเจ้าคุณอุทยั ให้ความเคารพนับถอื มาก

ศาลานายประยงค์ - นางเล็ก ต้ังตรงจิตร สร้าง พ.ศ.๒๕๐๔
มีจารึก ๒ แผ่น ที่บอกประวัติอย่างดีของถาวรวัตถุท่ีสร้างโดย
ตระกูล “ต้งั ตรงจติ ร” ดังทจี่ ารกึ วา่ ถวายรถเซฟโรเลต็ แบบตรวจการ
๓๐ แรงม้า ๑ คัน ไว้ที่วัดพระพิเรนทร์ วัดน้ีเป็นวัดท่ีมีรถบรรทุกศพ
และเป็นวัดของช่างก่อสร้างเมรุในยุคแรกๆ ที่ชื่อพระเทพคุณาธาร

160 อนทุ ินประจ�ำวัน

(หลวงพ่อปู่ขุ่น เล็กสมบูรณ์ ป.ธ.๕) หรืออีกช่ือหนึ่งท่ีรู้จักกันว่า
“หลวงพอ่ ผล ชินปตุ โฺ ต” อดีตเจา้ อาวาสวดั พระพเิ รนทร์ วรจกั ร และ
อดีตเจา้ คณะภาค ๘

เพิ่งสังเกตเห็นที่ตึกข้างสถานีสามยอด มีป้ายประจานหรือ
ป้ายประท้วง “เสือด�ำ” เขียนว่า “ท�ำร้ายประชาชน” และลงท้ายว่า
“ชว่ ยเหลือที”

ไปดเู จา้ เงาะ ตามหารจนาดกี วา่ จะพบนางรจนาไหม? มคี นไทย
และฝร่งั ยนื มงุ เม่ือเหน็ ไอ้เงาะ บทประพันธ์ของ ร.๒ ก�ำลังไล่นกพิราบ
อยู่ทีเ่ ชงิ สะพานพุทธ เขตพระนคร

อนุทินประจำ� วัน 161



อนทุ ินประจำ� วัน

(๕๓๒ ร.ต.ต.สุพจน์ สุขเจรญิ อายุ ๖๘ ป)ี

ได้ทราบข่าวจากพี่ครูจงกล สมใจ ภรรยาของพ่ีบรรเทา สมใจ
หลานของพ่อแก่เป้ง สุขเจริญ น้องชายสมเด็จพระสังฆราชป๋า
(๓๐ มี.ค.๒๔๓๙ - ๗ ธ.ค.๒๕๑๖ พระชนมายุ ๗๗ พรรษา)
วัดพระเชตพุ น วา่ ร.ต.ต.สพุ จน์ สขุ เจรญิ (ปขี าล ๑๐ ก.ย.๒๔๙๓ -
ปจี อ ๑๐ ก.ค.๒๕๖๑ อายุ ๖๘ ป)ี เสยี ชีวติ ลง

ได้เจอหมวดสุพจน์เม่ือปีท่ีแล้ว ในงานศพลูกชายฝาแฝดช่ือ
นายแกน่ สขุ เจรญิ ทเี่ สยี ชวี ติ ไป ขา้ พเจา้ ไปเยย่ี มศพทบี่ า้ น ยงั จำ� ไดว้ า่
หมวดสุพจน์ได้ถวายแผ่นชีทสาแหรกตระกูล “สุขเจริญ, มีแก้วน้อย,
แสงจนิ ดา” มาให้แผน่ หนึ่ง ใส่กรอบพลาสติกอย่างดี ถึงจะไม่สมบรู ณ์
ที่สุด เพราะต้องอัพเดทอยู่เสมอ แต่เป็นเอกสารชั้นต้นท่ีดีมากท่ีสุด
ชิน้ หนง่ึ

อดใจไม่ไหวต้องไปเย่ียมศพหมวดสุพจน์ท่ีวัดศรีส�ำราญ
หน่อยหน่ึง ก่อนไปถึงก็แวะเย่ียมพ่ีบรรเทา สมใจ (เกิดปีฉลู ๒๔๙๒)
ทีบ่ า้ นหน้าวดั โพธิอ์ น้ พูดคุยกันกอ่ นสกั พกั หนึ่ง จงึ เขา้ ไปวัดศรสี ำ� ราญ
ทราบว่าเจ้าอาวาสไปงานบวชนาค กว่าจะกลบั ก็เป็นเวลาราว ๒ ทุ่ม

เข้าไปในศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพ ข้างเมรุสร้างใหม่ และศาลา
ปฏบิ ตั ธิ รรมเหมอื นจะสรา้ งเสรจ็ แลว้ ตง้ั อยอู่ กี ดา้ นหนงึ่ แตไ่ มไ่ ดเ้ ดนิ ไปดู
พบ “นี” ลูกสาวของพ่อสุพจน์กับแม่สังเวียน สุขเจริญ (บุญมานุช)
จึงถามว่า ให้แม่มาพบหน่อย เพราะจะไม่อยู่ฟังพระสวดตลอด

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 163

กะมาเยย่ี มศพหนอ่ ยหนง่ึ เพราะพรงุ่ นภี้ าคบา่ ยคงไมม่ โี อกาสเขา้ มารว่ ม
พธิ ีฌาปนกจิ ศพ ส่งดวงวิญญาณ จงึ มาเยี่ยมศพในวันน้ี

โยมสงนุ่ สขุ เจรญิ (เกดิ ปรี ะกา ๒๔๘๘) พี่สาวของหมวดสุพจน์
บอกว่าสุพจน์เป็นคนเล็กสุดในครอบครัว คนรองเหนือสุพจน์มาคือ
สภุ ี สขุ เจรญิ (แวว๋ ) และมพี ส่ี าลเ่ี ปน็ คนหวั ปี แตพ่ อ่ ตว่ ย แมห่ นิ สขุ เจรญิ
(โกกลุ ) มีลกู ทัง้ หมด ๖ คน เสียแตเ่ ดก็ ไป ๒ คน คอื คนหวั ปกี ับคนที่ ๓
เหลือกันสี่คนพี่น้อง และบอกว่า สุพจน์ สุขเจริญ เกิดหมอต�ำแยกัน
ทั้งน้ันตามธรรมเนียมนิยมสมัยก่อน จ�ำได้ว่าเกิดเดือนสี่ ไม่ใช่เดือน
กนั ยายน เกดิ ไดป้ เี ดยี ว พอ่ ตว่ ย สขุ เจรญิ กเ็ สยี ชวี ติ ในเดอื นส่ี พ.ศ.๒๔๙๔
ส่วนแม่หนิ สขุ เจรญิ (โกกุล) เสียชีวติ ปี ๒๕๒๖ อายุ ๗๔ ปี

ไดค้ ยุ กนั ถงึ สาแหรกทห่ี มวดสพุ จนจ์ ดั ทำ� ไว้ วา่ ยงั มรี า่ งเปน็ ดนิ สอ
เขยี นท้ิงไว้ ได้บอกให้ทางบ้านเก็บรกั ษาไว้ เพราะวันหนา้ จะขอไปดูว่า
งานก้าวหน้าถึงตรงไหน แล้วมาเสียชีวิต ท่ีทราบว่าหมวดสุพจน์
ป่วยด้วยโรคไตมาเป็นเวลา ๒-๓ ปี ไม่เคยบ่นอะไรเลย พยาบาล
ใหท้ �ำอะไรก็ทำ� ตาม แต่กม็ าถงึ แกก่ รรมดว้ ยหมดอายุขยั

สดุ ทา้ ยไดค้ ยุ ถงึ สาแหรกทท่ี ำ� ไมเ่ สรจ็ มสี ายกำ� นนั ถม มแี กว้ นอ้ ย
ซ่ึงมีเมียนับได้ ๔-๕ คน ว่าเมียใหญ่ชื่อยายแช่ม ลูกของเจ๊กโป๊ว-
ยายยมิ้ แซเ่ ตยี ว คนนครชยั ศรี มลี กู ชอื่ นางชอ้ ง, นายวเิ ชยี ร พวงวรนิ ทร,์
นายบญุ ชู พวงวรนิ ทร์, นางทองพลุ (+ครูอ�ำนวย ศรีรงุ่ เรอื ง), นายจ�ำปี
พวงวรนิ ทร์, นายเลก็ (ชอ่ื เล่น), นางชูศรี ท้องน้ี ใช้ “พวงวรนิ ทร์” หมด

ภรรยาของก�ำนันถมช่ือยายปั่น คนบ้านดอน มีลูกเป็นผู้หญิง
เปน็ พสี่ าวของนางออ้ นคนหนงึ่ , นางออ้ น, นางอวด, นายชา้ ง พวงวรนิ ทร,์
นายแผน พวงวรินทร์

ภรรยาคนท่ี ๓ (ไม่เรียงล�ำดับ) ช่ือยายเหลือ มีลูกใช้นามสกุล
“มีแกว้ น้อย” ลกู ชือ่ พ่บี ิน, พหี่ มาน, พเ่ี ลก็ ... วา่ มีลกู ๕ คน ขา้ พเจ้า

164 อนทุ นิ ประจำ� วัน

ถามว่าท�ำไมไม่ใช้ “พวงวรินทร์” โยมสงุ่นบอกว่า สงสัยเคืองว่า
ชื่อพวง เป็นแมข่ องยายหนม คนทุ่งคอก ไมพ่ อใจ จึงไม่ยอมใช้นามสกลุ
พวงวรินทร์

ภรรยาคนที่ ๔ ช่ือยายหนม ว่ามีลูกอยู่แถวทุ่งคอก มีลูกเป็น
ผูอ้ �ำนวยการโรงเรยี นคนหน่งึ

และยงั มีอกี แต่ไม่มีลกู
ข้อมูลผิดถูกอย่างไร ขออภัยไว้ด้วย แต่โยมสงุ่น สุขเจริญ
บอกว่า จะเขียนรายชื่อให้ในภายหลงั
สงิ่ ท่ีนา่ สนใจมาก คือ สายตระกูลของยายแชม่ เมียใหญ่ เปน็
ลกู พล่ี กู นอ้ งกบั ยายเชอ้ื สายนมี้ าจากนครชยั ศรี เปน็ ตระกลู “แซเ่ ตยี ว”
ได้ยินพระสุนันท์ มีแก้วน้อย (เกิดปีชวด ๒๔๙๑) บอกว่า
สายบางใหญ่ เป็นสายของนายแก้ว ต้นตระกูล “มีแก้วน้อย” ส่วน
ท่านเองเปน็ ลกู ของพอ่ ละออง มแี ก้วน้อย แมเ่ ป็นคนชยั ภูม,ิ พอ่ ละออง
เป็นลูกของปู่ใจ-ย่าอู๊ด มีแก้วน้อย และปู่ใจเป็นลูกของชวดเงิน แซ่จิว
กบั ชวดสดุ ใจ มแี กว้ นอ้ ย ซึ่งเป็นโยมบิดามารดาของพระมงคลเทพมุนี
(หลวงพ่อสด มแี กว้ นอ้ ย) วัดปากน้ำ� ภาษเี จริญ
ร.ต.ต.สุพจน์ สุขเจริญ จากโลกน้ีไป แต่ผลงานโดยเฉพาะ
สาแหรกที่จัดท�ำไว้ยังจะอยู่ต่อไป ถ้าอนุชนช่วยกันสืบปณิธานให้ย่ิงๆ
ขน้ึ ไป
อาลัยแด่ดวงวิญญาณของหมวดสุพจน์ ที่จากไปแต่ร่างกาย
แต่ผลงานยังอยคู่ สู่ งั คมตลอดไป
บทความเกย่ี วกบั อนุทนิ วนั นี้
https://www.facebook.com/pphamonphon/
posts/1609997592349463
.

อนุทนิ ประจำ� วนั 165



อนุทินประจ�ำวนั

(๕๓๔ ชาตกาล ๑๕๖ ปี เจ้าพระยายมราช (ปนั้ สขุ ุม)

วันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๐๕ เปน็ วันเกดิ ของ “ชา้ งปา่ ตน้
คนสุพรรณ” มหาอ�ำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปนั้ สุขมุ )
มกี จิ กรรมจดั งานรำ� ลกึ ทบ่ี า้ นยะมะรชั โช ใกลโ้ รงพยาบาลเจา้ พระยายมราช
อ.เมอื ง จ.สพุ รรณบุรี

กอ่ นไปงานร�ำลกึ ทบ่ี า้ นยะมะรชั โช
ได้หนังสือมาเล่มหน่ึงช่ือ “จดหมายสองพี่น้อง” พิมพ์ในงาน
ปลงศพ วัน สุขเจริญ ณ วัดสองพ่ีน้อง ๓ เมษายน ๒๔๘๔ พิมพ์ท่ี
ร.พ.อกั ษรเจรญิ ทศั น์ เสาชงิ ชา้ กรงุ เทพฯ นายเฮยี งกวงเจา้ ของผจู้ ดั การ
พุทธศักราช ๒๔๘๔ มีชื่อนายประยูร พิศนาคะ คือ ป.พิศนาคะ
(ผแู้ ปลมงั กรหยกคนแรก) ผูพ้ มิ พ์โฆษณา
คำ� โปรยในหนังสือมวี า่
“เม่ือวนั ที่ ๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๓ วัน สุขเจริญ มารดาของ
ข้าพเจ้าถึงแก่กรรม การบ�ำเพ็ญกุศลสัตมวารได้ผ่านไปแล้ว มีผู้ถาม
ขา้ พเจ้าว่า จะพิมพ์หนังสืออะไรแจกในงานศพ แตไ่ ม่ได้ตอบคำ� ถามนัน้
ครั้นกาลล่วงมาถึงเดือนมกราคมศกนี้ ได้มีผู้มาขอหนังสือน้ีอีก
จากต่างจังหวัด แต่ไม่มีให้ เพราะหนังสือนี้หมดมากว่าสองปี เร่ืองนี้
เป็นเหตุให้พิมพ์หนังสือน้ีขึ้นอีกครั้งหนึ่ง แต่เพ่ิมเน้ือเรื่องมากกว่าเก่า
ส่ีเท่าตัว. หนังสือท่ีประกอบในการเขียนจดหมายสองพ่ีน้องน้ี คือ
พระราชพงศาวดารเรารบพมา่ หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา รฐั ธรรมนญู
รัฐนิยม และหนงั สอื เชอื้ ชาติไทย ของหมอ W.C. Dodd

อนทุ นิ ประจำ� วัน 167

เม่ือหนังสือนี้พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.๒๔๘๑ ผู้อ่านหลายคนถาม
ข้าพเจ้าว่า ชีวิตของสองคนพี่น้องน้ีจะเป็นอย่างไรบ้าง อยากทราบว่า
ต่อไปสองพ่ีน้องจะเป็นอย่างไรบ้าง แต่ไม่ได้ตอบค�ำถามน้ัน คิดอยู่ว่า
จะบอกใหท้ ราบในโอกาสอนั ควร ครน้ั ถงึ โอกาสอนั ควรเขา้ กบ็ อกไมไ่ ดอ้ กี
ด้วยเหตผุ ลอย่างไร เมือ่ อา่ นหนงั สือน้ตี ลอดแลว้ จะทราบไดเ้ อง

อนึ่ง หนังสือเรื่องนี้เม่ือพิมพ์ครั้งแรก นายจวน โพธ์ิงาม ป.๙
เม่ือยังอุปสมบทอยู่ ได้ช่วยเหลือให้หนังสือเป็นรูปเรียบร้อยข้ึน และ
ให้แนวความคิดบางประการ บัดนี้เธอถึงแก่กรรมแล้ว จึงขออุทิศกุศล
เพอื่ ความสขุ แก่เธอสมควรแก่คตใิ นปรภพ

เมอ่ื มารดาของขา้ พเจา้ กำ� ลงั ปว่ ย ไดม้ ญี าตมิ ติ รมาชว่ ยพยาบาล
มากคน และมีทา่ นท่ีนับถือมาเยย่ี มมากหลาย เปน็ ความกรุณาอย่างสูง
ท่ไี ดม้ ีแกม่ ารดาของขา้ พเจ้า จึงขอขอบคุณไว้ ณ ท่นี ดี้ ว้ ย

ด้วยอ�ำนาจกุศลทักษิณานุปทาน ขอความสุขจงบังเกิดมีแก่
วนั สุขเจริญ มารดาของข้าพเจ้าสมควรแกค่ ติในสมั ปรายภพ เทอญ ฯ

พระอมรเวที
วัดพระเชตุพน
๒๖ มีนาคม ๒๔๘๔”
ในการพิมพ์หนังสือ “จดหมายสองพี่น้อง” ครั้งแรก จัดพิมพ์
ในปี ๒๔๘๑ เปน็ หนงั สอื แจกในงานศพของอาจารยห์ อม เกสโร นามสกลุ
“แสงจนิ ดา” มรณภาพเมอ่ื เดอื น ๖ แรม ๑๔ คำ�่ พ.ศ.๒๔๘๐ และประชมุ
เพลิงในวันข้ึน ๑๑ ค�่ำ เดือน ๕ พ.ศ. ๒๔๘๑ และเป็นเล่มเล็กๆ
พระองค์เขียนขณะยังเป็นพระมหาปุ่น แต่ในจดหมายสองพี่น้อง
ฉบบั แมว่ นั สุขเจริญ เพ่ิมเนอื้่ หาสเ่ี ทา่ เป็นทนี่ ่าเสียดายว่า ในหนังสือ
แจกงานศพ ไม่มีประวัติของแมว่ นั สุขเจรญิ (-๒๔๘๓) ท�ำใหไ้ มท่ ราบว่า

168 อนทุ ินประจำ� วัน

อายเุ ท่าไร แตส่ มเด็จพระสงั ฆราชปา๋ (๓๐ มี.ค.๒๔๓๙-๗ ธ.ค.๒๕๑๖
พระชนมายุ ๗๗ พรรษา) ถา้ อยมู่ าถงึ ปี ๒๕๖๑ น้ี ชาตกาลนบั ได้ ๑๒๒ ปี
พระองค์เป็นบุตรอันดับที่ ๖ จากรูปภาพของแม่วัน น่าจะอายุราว
๗๐ ปี? สืบเฉพาะประเดน็ น้ี พอลงความเหน็ คร่าวๆ วา่ แมว่ ัน สุขเจริญ
เกิดราวต้นๆ ปี ๒๔๑๐ นับชาตกาลได้ ๑๕๑ ปี รุ่นราวคราวเดียวกับ
เจา้ พระยายมราช (ป้นั สขุ ุม)

ชมุ ชนคนสองพนี่ อ้ งมอี ายมุ ากกวา่ ๒๐๐ ปี ดเู ฉพาะยา่ จอ้ ย โตงาม
อายุ ๑๐๘ ปี โยมมารดาของพระอุปัชฌาย์โหน่ง (๒๔๐๘-๒๔๗๗)
วัดอัมพวัน ซึ่งคนทางสองพ่ีน้องเช่น พ่อแก่ผล จินดาอินทร์ จะเรียก
ดว้ ยความคนุ้ เคยวา่ “ท่านดอน” คำ� นวณอายแุ มจ่ อ้ ย วา่ เกดิ ราวต้นๆ
ปี ๒๓๘๐

นายจวน โพธงิ์ าม ป.๙ คอื ประโยค ๙ เปน็ ชาวสองพน่ี อ้ งคนแรก
ที่สอบได้ประโยค ๙ ในส�ำนักเรียนวัดพระเชตุพน ได้มีส่วนช่วยเหลือ
ด�ำเนินการให้หนังสือจดหมายสองพ่ีน้องส�ำเร็จเรียบร้อยในปี ๒๔๘๑
กอ่ นลาสิกขาไป หลงั จากน้นั ไม่นานก็เสยี ชวี ิตในก่อนปี ๒๔๘๓

ตระกลู “โพธิง์ าม” บางคนกว็ า่ มาจาก “แซล่ ้ี” รกรากเปน็ จนี
นอกมาจากราชบรุ ี แตห่ ลกั ฐานอกี ชน้ิ หนง่ึ ทยี่ งั สบื ไมไ่ ดแ้ นช่ ดั คอื อฐั ขิ อง
เตย่ี งว้ น แซโ่ งว้ และแมเ่ งยี บ แซโ่ งว้ (โพธง์ิ าม) (๒๔๔๖-๑๒ ก.ย.๒๕๓๗)
ซ่ึงยังสืบไม่ได้ว่า แม่เงียบคนน้ีเป็นใคร สายไหน แต่อัฐิบรรจุอยู่ท่ี
พระพรหมเจดยี ว์ ดั สองพนี่ อ้ ง ฝง่ั ดา้ นทศิ เหนอื ตรงขา้ มกบั บา้ นบางใหญ่
ของขุนอาษานริศร (ก�ำนันเจิม จันทรดิลก) ที่เป็นพี่น้องกับปลัดพิน
จนั ทร์เรอื ง

ท้ิงเป็นประเด็นชวนติดตามอนุทินประจ�ำวนั ต่อไป
เช้าวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ที่วัดสองพี่น้อง มีงาน

อนุทินประจำ� วนั 169

อุปสมบทพอ่ นาค ข้าพเจา้ ไมท่ ราบชือ่ แตน่ ามสกลุ “โกกุล” (ว่ามาจาก
แซ่จิว แซ่เดียวกับพ่อเงิน แซ่จิว โยมบิดาของหลวงพ่อสด วัดปากน�้ำ
ภาษเี จรญิ ) ไดย้ นื คยุ กบั หลานชาย อายุ ๔๐ ปี ของหลวงปอู่ นิ ทร์ ผอ่ งแผว้
วดั ใหมเ่ พชรรตั น์ (วดั ขอื่ ชนก) ตำ� บลเนนิ พระปรางค์ (เดมิ ตำ� บลทงุ่ คอก)
ข้าพเจ้าถามวา่ รกรากหลวงปอู่ นิ ทร์ คนย่ีสารหรอื คนที่ไหน หลานบอก
วา่ เปน็ คนไทยมาจากเมืองเพชรบุรี ไมใ่ ชเ่ ปน็ กลุม่ คนลาว และนามสกุล
“ผอ่ งแผว้ ” ว่านอ้ งสาวของหลวงปู่อนิ ทรช์ ือ่ ยา่ บุญ อายุ ๙๐ ปเี สยี ไป
ตนทนั เหน็ ยา่ บญุ และรนุ่ ทอ่ี พยพเขา้ มาอยสู่ พุ รรณบรุ นี น้ั เปน็ รนุ่ พอ่ แม่
ของหลวงปอู่ นิ ทร์ ทม่ี รณภาพอายุ ๙๖ ปี นน่ั คอื รอ่ งรอยของคนเพชรบรุ ี
กลุ่มคนไทยท่ีอพยพเข้ามาอยู่สุพรรณบุรีเม่ือราว ๑๐๐ ปี เหมือนกับ
ชุมชนมอญ จากดอนกระเบ้ือง อ.โพธาราม จ.ราชบุรี ที่เข้ามาอยู่ท่ี
วดั ทงุ่ เขน็ ต�ำบลทุ่งคอก ปัจจุบันเป็นชุมชนเรือนพันคน จากผู้อพยพ
รนุ่ แรกเพยี งไมก่ ี่คน

หลังจากคุยกบั หลานหลวงปูอ่ ินทร์ ผ่องแผว้ แลว้ หันไปเห็นโยม
คนทา้ ยบา้ น จงึ ไปทกั ทายดว้ ย โยมบอกวา่ ทดี่ นิ หนา้ โบสถว์ ดั สองพนี่ อ้ ง
นี้ จนถงึ โรงเรียน เป็นทีบ่ รรพบรุ ษุ ถวายไว้ ชอ่ื ยา่ ม-ี ป่พู ัน หมอยาทพิ ย์
ข้าพเจ้าบอกว่า เห็นแต่ชื่อหมอเทียน หมอยาทิพย์เป็นผู้ถวายท่ีดินไว้
ซึง่ โยมกบ็ อกวา่ ลงุ เทยี น หมอยาทพิ ย์ เป็นพชี่ ายคนโต ถวายท่ดี ินของ
ยา่ มี-ป่พู นั ไว้ในพระพุทธศาสนา

โยมท่วี า่ นชี้ อ่ื โยมธลุ ี หรอื ศุลี สมใจ (คุม้ ทรัพย)์ ลูกของพอ่ หมอ
บุญ-แม่เหลี่ยม คุ้มทรัพย์ (หมอยาทิพย์) และโยมผู้ชายชื่อนายเปี๊ยก
โกกุล ลูกของนายเบ้ียว-นางพรม โกกุล (หมอยาทิพย์) ที่มาร่วมพิธี
อปุ สมบทญาตนิ ามสกลุ “โกกลุ ” ท่ีวดั สองพนี่ อ้ ง

170 อนุทนิ ประจ�ำวัน

ทบ่ี า้ นผลศรนี าค ทำ� บญุ ใหบ้ รรพบรุ ษุ อทุ ศิ ใหน้ ายมน ผลศรนี าค
(เกิดปีสหชาติสมเด็จย่า คือปี ๒๔๔๓) และนางจ�ำเนียร ผลศรีนาค
(จนิ ดาอนิ ทร)์ (๒๔๖๒-๒๕๕๙ อายุ ๙๗ ปี) เปน็ ต้น ถือว่ารวมญาตใิ หญ่
งานท�ำบุญปีนี้ปรากฏว่านิมนต์พระกว่าจะได้ ๙ รูป ก็เป็นวัดท่ี ๑๑
ได้พระจากวัดไผ่ขาด ศรสี �ำราญมา สว่ นพระในบริเวณใกลเ้ คยี งติดงาน
อ่นื ๆ หมด

ฉันเพลเสร็จแล้ว ก็เดินทางไปร่วมงาน ๑๕๖ ปีชาตกาล
มหาอ�ำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ท่ีบ้านยะมะรัชโช
ร่วมฟังเวทีเสวนาทางด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของเมืองสุพรรณบุรี
ขณะฟงั ไปกไ็ ดข้ อ้ คดิ ตา่ งๆ ไดอ้ ยรู่ ว่ มงานเสวนาจนจบรายการ กอ่ นเดนิ
ทางกลบั กแ็ วะไปเย่ียมครูพิบูลย-์ ครูอ�ำไพ รกั พนั ธ์ ท่ีหน้าวดั มเหยงคณ์

ครูพิบูลย์ไม่อยู่ ไปเข้าอุโมงค์เอ็กซเรย์ที่ศิริราชต้ังแต่บ่าย
จงึ นง่ั คุยกบั ครูอ�ำไพ รกั พันธ์ (สังขพ์ ชิ ัย) (เกิดปรี ะกา ๒๔๘๘) ลกู ของ
แม่สังเวียนกับขุนพิชัยชนบท (ก�ำนันเขียน สังข์พิชัย) ที่เป็นลูกของ
ย่าหยา-ปู่สิน สังข์พิชัย ว่าชาตกาลเจ้าพระยายมราช ๑๕๖ ปีแล้ว
ครูอ�ำไพ เปน็ ร่นุ ท่เี ทา่ ไร วา่ นับไดร้ นุ่ ที่ ๓ เอง เกดิ ที่โคกโคเฒา่ ตรงไหน
กไ็ มร่ ู้ แต่บรรจคุ รแู ลว้ ไปอยู่อำ� เภอสองพ่นี อ้ ง ๑๒ ปี (๒๕๐๖-๒๕๑๘)
แต่งงานกับครพู บิ ลู ย์ ปี ๒๕๑๒ ทีบ่ า้ นป้าคำ� ไทยสังข์แถวน้ี ลูกคนแรก
เกิดปี ๒๕๑๓ คุยกันสักพักหนึ่ง ครูพิบูลย์ก็กลับมาจากกรุงเทพฯ
ก็อยู่คุยถามสารทกุ ขส์ ุกดบิ ตามประสาคนทไ่ี มเ่ ห็นกนั นาน

แลว้ กอ็ ำ� ลากลบั เปน็ วนั หนง่ึ จากวดั สองพน่ี อ้ ง ถงึ บา้ นยะมะรชั โช
ซึ่งก่อนจะถึงน้ันก็แวะไปหาคนน้ันคนน้ี ในลักษณะนานๆ หลายวัน
กลับไปเหยียบถิน่ ฐานบา้ นชอ่ งมาตุภมู ปิ ติ ภุ มู ิ แต่งานเสวนาในภาคเช้า
ไมไ่ ดไ้ ปรว่ ม โชคดที เี่ ราอยใู่ นยคุ Globalization ทเ่ี ปน็ Global village

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 171

หม่บู า้ นดจิ ติ อล กส็ ามารถยอ้ นดปู ระวตั ศิ าสตรท์ เี่ วทเี สวนาไดพ้ ดู คยุ กนั
แต่ก็อย่างว่า เหมือนคนดูบอลโลกนั่นแหละ ถ้าดูทางทีวีถ่ายทอดสด
สู้เขา้ ไปอยูใ่ นสนามจริงๆ เหน็ ตัวตนจริงๆ ในสนามไม่ได้

รปู ภาพงานเสวนา เครดิตคุณปญั ชลิต โชติกเสถียร
ภาคเช้าของเวทเี สวนา ดูลงิ ค์ได้ท่ีน่ี
https://www.facebook.com/1962744684036060/vid-
eos/1996047230705805/UzpfSTEwMDAwMDE3NzEyMDkwN-
ToyMjQ4MjA0NjQxODYyMDg1/

172 อนุทินประจำ� วัน

อนุทินประจ�ำวนั

(๕๓๕ โฉนดทด่ี นิ วดั สองพี่น้อง)

รายนามผบู้ รจิ าคทดี่ นิ ถวายวดั สองพีน่ ้อง เทา่ ทต่ี รวจสอบไดจ้ าก
เอกสาร มดี งั นี้
๑. นางผนิ พลายศรโี พธ์ิ
๒. หมอเทียน หมอยาทิพย์** “ท่ีดินของพ่อเทียนท่ีถวาย
วดั สองพนี่ อ้ ง จ�ำนวน ๓ ไรก่ ว่า อยูแ่ นวกฏุ หิ ลวงตาวาด ถึงกำ� แพงวดั
ปัจจุบัน” ข้อมูลบอกกล่าวของครูเรณู ยิ้มประเสริฐ (หมอยาทิพย์)
(เกิดปีมะแม ๑๒ เม.ย.๒๔๙๘)

๓. นางพรม โกกุล (หมอยาทิพย์) ภรรยาของตาเบี้ยว โกกุล
๔. ยายหงมิ พาณชิ ย์
๕. นางแกร อนิ ทรบ์ ำ� รงุ
๖. นายอดู๊ - นางผอ่ ง โตงาม, นายอดู๊ เปน็ พนี่ อ้ งกบั หลวงพอ่ โหนง่
โตงาม (๒๔๐๘-๒๔๗๗) ลกู ของแม่จอ้ ย โตงาม อายุ ๑๐๘ ปี (เกิดราว
ปี ๒๓๘๐)
๗. ครชู ม ประไพวารี
๘. ขนุ อาษานรศิ ร (กำ� นนั เจมิ จนั ทรดลิ ก) พน่ี อ้ งหรอื ลกู พล่ี กู นอ้ ง
กับ (๑) ปลดั พนิ จันทร์เรอื ง, (๒) ก�ำนนั กรีด จันทร์เรือง (๓) นางสาด
จันทรเ์ รือง เปน็ ต้น
๙. นางหลาด เกศแกว้ /เกดแกว้
๑๐. นางถาด ค�ำประเสริฐ

อนทุ ินประจ�ำวัน 173

ที่ดินหน้าพระอุโบสถวัดสองพี่น้องยาวไปถึงดงลานในอดีต คือ
ราวหน้าโรงเรียนพระปริยัติธรรมวิบูลเมธานุสรณ์ปัจจุบันนี้ พื้นท่ีราว
๓ ไร่ เป็นของปพู่ ัน-ยา่ มี หมอยาทิพย์

ขา้ พเจ้าถามครูเรณู ยิม้ ประเสรฐิ (หมอยาทพิ ย)์ (เกิด ๒๔๙๘)
ว่า ย่ามีเดิมนามสกุลอะไร? ส่วนปู่พันคนที่ไหน? ครูเรณูบอกว่า
พ่อหมอเทียน หมอยาทิพย์ ตายอายุ ๙๙ ปี เป็นตระกูลพวกหมอยา
นามสกลุ จงึ นา่ จะมาจากอาชพี หมอยา ทางการจงึ ตง้ั ใหว้ า่ “หมอยาทพิ ย”์
เปน็ คนพ้ืนท่,ี ปู่พันเป็นบตุ รของปทู่ วดจัน-อำ� แดงเทศ

ปู่พัน-ย่ามี มีบุตรธิดา ๕ คน คือ หมอเทียน หมอยาทิพย์
(+นางอาง,+นางน่ิม ไกรทองสุข), นายลา หมอยาทิพย์, นายมาก
หมอยาทพิ ย์ และมผี ู้หญงิ ๒ คนชอื่ นางพรม โกกุล (+นายเบ้ยี ว โกกุล
ซึ่งเป็นพ่ีน้องกับนายปาน โกกุล เป็นต้น) พ่อแม่ของนายเปี๊ยก โกกุล
ทถี่ วายหนงั สอื จดหมายสองพนี่ อ้ งแกข่ า้ พเจา้ และนางเหลยี่ ม คมุ้ ทรพั ย์
พ่อแม่ของ นางศุลี สมใจ (+ครูประจวบ สมใจ คนบ้านกระบอก)
ซ่ึงนางศุลี บอกว่า พ่อหมอบุญเป็นคนท่าข้าม บางตาเถร มาเป็นเขย
ทา้ ยบ้าน ต�ำบลต้นตาล

ขา้ พเจา้ สอบถามวา่ พระมหาทศวร บญุ ถนอมหรอื พระมหาเจยี๊ บ
รองเจ้าคณะอ�ำเภอสองพี่น้อง วัดพรสวรรค์ เป็นพี่น้องกันอย่างไร?
และไดร้ บั คำ� อธบิ ายวา่ ทา่ นเจย๊ี บเปน็ หลาน ปพู่ นั หมอยาทพิ ยเ์ ปน็ ทอ้ ง
เดยี วกันกบั ชวดท่านเจี๊ยบ วา่ เป็นหลานตาจวบ ลกู พี่เจมิ ฤทธเิ์ ดชกลา้
กับยายฉัตร, ตาเจมิ ฤทธ์เิ ดชกล้าเป็นนอ้ งของหลวงพ่อตอ้ ย คนบ้านใน
และตาเจิม ซ่ึงเป็นตาของท่านเจี๊ยบเป็นลูกพี่ลูกน้องกับแม่เหล่ียม
คมุ้ ทรพั ย์ ขา้ พเจา้ ฟงั เขา้ ใจบา้ ง ไมเ่ ขา้ ใจบา้ ง แตส่ รปุ ไดว้ า่ พระมหาทศวร
บญุ ถนอมหรอื พระมหาเจย๊ี บ เปน็ หลานเหลนของนายเจมิ ฤทธเ์ิ ดชกลา้

174 อนทุ ินประจ�ำวัน

ซึ่งเป็นพี่นอ้ งกบั ป่พู ัน-ยา่ มี หมอยาทิพย์ ในชน้ั บรรพบุรษุ ชน้ั สูง
ขณะท่ีคุยกับนางอ�ำนวย ใจสมานมิตร์ (เกิดปีกุน ๒๔๗๘)

เรอื่ งผสู้ มคั ร ส.ส. ๒ คนในอดตี ชอ่ื ครสู วสั ดิ์ จนิ ดาอนิ ทร์ กบั ครทู องหยด
จิตตะวีระ ซึ่งนางอ�ำนวยบอกว่า ยังจ�ำค�ำพูดของยายแสวง ค�ำดี
(จินดาอินทร์) ท่ีพูดว่า “ลงเรือครูสวัสดิ์ กาบัตรครูทองหยด” นั่นคือ
ลงเรือคนท้ายบ้านไปเลือกตั้งท่ีวัด แต่ไปกาบัตรลงเลือกต้ังให้
ครูทองหยด จิตตะวีระ ลูกเขยของยายจ�ำเนียร-ตาไล้ เรืองรังษี
แต่จะเป็นปีไหนท่ีมีการเลือกตั้ง ข้าพเจ้าไม่ทราบปี เป็นเร่ืองมุขปาฐะ
จากคนท้ายบา้ น

ลูกสาวคนหนึ่งของนางอำ� นวย ใจสมานมติ ร์ (เกิดปีกุน ๒๔๗๘)
ลกู แมใ่ หญแ่ นม-พ่อแก่ชิต แสงยนต์ ชื่อไอ้หนุ้ย (เกดิ ๒๕๐๓) จะเรียก
พยาบาลสมปอง โพธงิ์ าม (เกดิ ๒๕๐๒) ว่า “น้าสมปอง” ไมไ่ ด้ ทั้งๆ
ท่ีพยาบาลสมปองเป็นช้ันเดียวกับนางอ�ำนวย ซ่ึงคนบ้านผลศรีนาค
จะเรยี กวา่ “พอี่ ำ� นวย” นน่ั คอื เรอ่ื งจรงิ ในหมบู่ า้ นทมี่ เี ถอื กเถาเหลา่ กอใหญๆ่
เพราะเกดิ อายุไลเ่ ลยี่ กนั

ท่ีบ้านผลศรีนาค เรือนหออายุ ๑๐๐ ปี เรือนที่ต่อเติมใหม่
อายุราว ๗๐ กว่าปี ท่ีนายมน ผลศรีนาค น�ำไม้มาจากอ�ำเภออู่ทอง
มาสร้างเป็นเรือนไทยหลังสวยงาม ส่วนบ้านนางจ�ำปี-นายสายหยุด
โพธ์ิงาม ท่ีอยู่ติดกัน ภายในรวั้ เดยี วกันน้ัน เก่าแกก่ ว่า, ขา้ พเจ้าไปยืนดู
รูปภาพในงานศพย่าเขียน ผลศรีนาค ที่เผาศพท่ีวัดสองพี่น้องในปี
๒๔๙๖ ว่าสภาพวัดสองพ่ีน้องเป็นอย่างไรในยุคก่อน ๒๕๐๐ และ
สอบถามพแี่ ตว้ ผลศรนี าค (จำ� ปา) วา่ ในรปู ภาพนี้ คนนงั่ หนา้ แมจ่ ำ� เนยี ร
ผลศรีนาคคือพ่ีแมว้ (ราตร)ี น้องสาว แล้วพแ่ี ตว้ นั่งอยตู่ รงไหน?

อนุทินประจ�ำวัน 175

หลังจากเพ่งพินิจดูสักครู่หนึ่ง พ่ีแต้วบอกว่า น่ังอยู่ข้างหน้า
ถดั จากนอ้ งสาวท่นี ัง่ หนา้ แมจ่ ำ� เนยี ร แต่นั่งหน้าใครจำ� ไมไ่ ดแ้ ลว้

ครเู ยอื่ นชุ ศริ ิ ผอู้ าวโุ สดา้ นอายสุ งู สดุ ในวนั นมี้ าถงึ กส็ อบถามวา่
อายุเท่าไร ครูเย่ือตอบเสียงดังฟังชัดว่า อายุ ๙๙ ปีแล้ว และพูดว่า
คนอายุลงท้ายดว้ ยเลข ๙ เขาวา่ ไม่ดี มีเลข ๖๙, ๗๙ เป็นต้น ครูเยอื่
อายุอ่อนกว่านางจ�ำเนียร ผลศรีนาค (๒๔๖๒-๒๕๕๙) หนึ่งปี แต่มัก
จะบวกอายุหนึ่งปีอยู่เสมอ เป็นการนับแบบโบราณ คือบวกหนึ่งจาก
วนั เดอื นปเี กดิ ในบัตรประชาชน

ในครอบครัวลูกของพ่อแก่ผล แม่ใหญ่กวา จินดาอินทร์,
นางจ�ำเนียรทีไ่ ด้ยินคนเรียกวา่ ชวดจำ� เนยี ร เปน็ คนที่ ๔ ในครอบครัว,
ในท้องเดียวกันน้ี ผู้ยังมีชีวิตอยู่ช่ือนายเฉลียว จินดาอินทร์ ท่ีบ้าน
เรยี กวา่ “น้าเหลยี ว” เกิดห่างจากชวดเนียร ๑ รอบ (๑๒ ปี) นา้ เหลียว
อยบู่ า้ นตน้ สะตอื ตำ� บลตน้ ตาล ไมไ่ ดม้ ารว่ มงาน มคี นบอกวา่ อายุ ๘๗ ปี
เกิดปีเดยี วกับยายถนดั อยดู่ ี (โพธทิ์ อง) น้องสาวของกำ� นันธนู โพธิท์ อง

ผู้มีอายุมากอีกคนหน่ึง ที่เคยเห็นมาท�ำบุญที่บ้านน้ี แต่เข้า
รกั ษาตวั ทโ่ี รงพยาบาลบางลเ่ี ปน็ เวลา ๒ ปแี ลว้ คอื ยายจำ� เนยี ร กระตา่ ยทอง
(บริสทุ ธ์ิ) อายุ ๙๐ ปี

ได้คุยกับครูเฉลยี ว สพุ รรณ (อุบลรัตน์) (เกิดปีมะเส็ง ๒๔๙๖)
ลูกแม่ปิ่น อุบลรัตน์ (บริสุทธิ์) อายุ ๘๘ ปี บอกว่า แม่ปิ่นสบายดี
แต่ให้อยูบ่ ้าน ไปไหนไม่คอ่ ยไหวแล้วเชน่ กนั

ส�ำรวจความเป็นมาความเป็นไป ของชุมชนอายุ ๒๐๐ ปี
คนตน้ ตาลอกี ครงั้ หนงึ่ เม่ือมาบา้ นผลศรีนาค

176 อนุทินประจำ� วนั

อนุทนิ ประจ�ำวนั

(๕๓๖ นางลม่อม ศรีทองอนิ ทร์ (ฉายอรณุ )
(๒๔๖๖-๒๕๖๑ อายุ ๙๕ ปี)

พ่ีเสนาะ เฑียรทอง ส่งข่าวมาว่าแม่มหาทวี ศรีทองอินทร์
(เกดิ ปีชวด ๒๔๙๑ ตอ่ มาเสียเมอ่ื ๑ ธ.ค.๒๕๖๑ อายุ ๗๐ ปี)
เสยี ชวี ติ และตงั้ ศพทบ่ี า้ นหลงั วดั อาน บางแมห่ มา้ ย เมอ่ื วนั ไปรว่ มงาน
ชาตกาล ๑๕๖ ปี เจ้าพระยายมราช (ปนั้ สขุ ุม) ในวันที่ ๑๕ ก.ค.นัน้
ก็แวะไปเย่ียมศพหน่อยหนึ่ง เพราะไม่แน่ใจว่าจะมาร่วมพิธีเผาใน
วนั องั คารไดห้ รอื เปลา่ เพราะแมก่ องบาลสี นามหลวงสง่ หนงั สอื เชญิ ไป
ตรวจข้อสอบบาลที ีว่ ดั ปากน�ำ้ ภาษีเจรญิ ซึ่งก็ตรวจเสร็จในภาคเช้า

หลังฉันเพลแล้ว ได้เดินทางไปวัดบางแม่หม้าย ระหว่างทาง
ก็แวะวัดรางบัวทอง ต.บ้านกุ่ม อ.สองพี่น้อง เพื่อดูพัฒนาการของวัด
เห็นกุฏิเสนาสนะกระดี่ข้ึน สวยงาม เดินประทักษิณอุโบสถที่หน้าบัน
เขียนวา่ “พระอธกิ ารเทยี น สร้างเม่ือปี ๒๕๑๐” พระอธิการเทยี นรปู นี้
นามสกุล “เทศทอง” และก่อนพระอธิการเทียน มีเจ้าอาวาสช่ือ
พระอธกิ ารเชย ทองประเสริฐ เป็นต้น

กอ่ นจะออกจากวดั ไดส้ อบถามเจา้ อาวาสวา่ ร.๕ เสดจ็ ประพาสตน้
ประทับแรมท่ีจุดไหน? ท่านก็ชี้ไปตรงแถวโบสถ์เก่าที่ซ่อมในปี ๒๕๓๕
เจ้าอาวาสรูปก่อนท่านเคยช้ีให้ข้าพเจ้าดูว่าอยู่ที่ต้นไม้แถวหน้าวัดนั้น
ในย่านบริเวณ ด้านหน้าวัดท่ีหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แถวๆ
ทมี่ ศี าลาทา่ น�ำ้ วดั ตั้งอยู่ อนมุ านเอาวา่ แถวๆ นัน้

อนุทินประจำ� วัน 177

ไปถงึ วดั บางแมห่ มา้ ย รำ� ลกึ ความหลงั วา่ ทบ่ี า้ นมหาทวี ศรที องอนิ ทร์
ท่ีหลังวัดอาน ข้าพเจ้าเคยมาเป็นคร้ังแรกเม่ือปี ๒๕๒๕-๖ ในงาน
อปุ สมบทนายอว้ น (สมัย ศรที องอนิ ทร์) ท่ีเพงิ่ เสยี ชีวิตไปเม่ือราวตน้ ปนี ี้
(เกดิ ปฉี ลู ๒๕๐๔ เสยี ชวี ติ ปจี อ เมษายน ๒๕๖๑) นบั เปน็ เวลา ๓๐ กวา่ ปี
ทไี่ มเ่ คยเหยยี บยา่ งบา้ นหลงั น้ี จวบจนมาถงึ วนั ทนี่ างลมอ่ ม ศรที องอนิ ทร์
เสียชีวติ ในวัย ๙๕ ปี

ประวัติของนางลม่อม ศรีทองอินทร์ เกิดเม่ือวันอาทิตย์ที่
๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๖ ปีกุน ณ ท่ีบ้านช้าง หมู่ที่ ๔ ต.บ้านช้าง
อ.สองพนี่ ้อง จ.สุพรรณบรุ ี เป็นบตุ รคนโตของพ่อใคล-แม่พัก ฉายอรณุ ,
มพี นี่ อ้ ง ๙ คน คอื (๑) แมล่ มอ่ ม ศรที องอนิ ทร์ (ผวู้ ายชนม)์ (๒) นายลมนุ
ฉายอรุณ (๓) น.ส.เติม (๔) น.ส.จ�ำปี (๕) นายจ�ำปา ฉายอรุณ
(๖) นางศริ ิ แจ่มจำ� รัส (๗) นางโผ หมืน่ ประหาร (๘) นางครา้ ว ฉายอรุณ
(๙) นางละมัย ใจรกั ดี

แม่ลม่อมแต่งกับพ่อมนู ศรีทองอินทร์ เมื่อวัยเบญจเพศ
มบี ุตรธดิ า ๖ คน คอื (๑) มหาทวี ศรีทองอนิ ทร์ (เกดิ ปีชวด ๒๔๙๑-๑
ธ.ค. ๒๕๖๑ อายุ ๗๐ ปี) (๒) นายเสมอ ศรีทองอนิ ทร์ (๓) นายมงคล
ศรที องอนิ ทร์ (๔) นายปราโมทย์ ศรที องอนิ ทร์ (๕) นายสมยั ศรที องอนิ ทร์
(นายอว้ น) (เกดิ ปฉี ลู ๒๕๐๔-เม.ย.๒๕๖๑ อายุ ๕๗ ป)ี (๖) นางสมร
นยิ มทอง

ขา้ พเจา้ เรยี กวา่ มหาทวี เพราะเคยบวชและเรยี นหนงั สอื ดว้ ยกนั
สอบได้ประโยค ๙ ในปี ๒๕๒๗ ในนามส�ำนักเรียนวัดราชบุรณะเป็น
รูปแรกของส�ำนักเรียน ท่านไปสอนหนังสือที่วัดลานคา บางปลาม้า
และลาสกิ ขาไปสทู้ างโลก แตง่ งานกบั ครลู านคา นามสกลุ “สวุ รรณฤทธ”์ิ
มธี ิดา ๒ คน คนแรกเพิง่ จบมหาวทิ ยาลัย

178 อนุทินประจำ� วัน

ในฐานะทค่ี นุ้ เคยกนั จงึ สอบถามประวตั เิ ชน่ ตอนสมยั เปน็ พระนน้ั
เปน็ ศิษย์วดั ลานคา เข้ามาอยู่กรงุ เทพฯ มาอยวู่ ัดวิเศษการ แขวงศริ ริ าช
๒ ปี กะวา่ จะถามวา่ อยคู่ ณะไหน แตใ่ นงานยงุ่ ๆ กนั ทงั้ นนั้ จงึ ไมไ่ ดโ้ อกาส
ถามให้ชดั เจน

เคยพดู คยุ กนั เรอ่ื งสาแหรกตระกลู ทา่ นเลา่ วา่ พอ่ มนู ศรที องอนิ ทร์
(๒๔๖๖-๒๕๕๐) เปน็ ลูกของปู่เผือก เดิมนามสกุล “ทองอิน” แต่ขอใช้
นามสกุลร่วมกับก�ำนันน่วม ศรีทองอินทร์ จึงกลายเป็นทุกคนใช้
“ศรีทองอินทร์” เหมือนกันหมด และยังบอกว่า ปู่เผือกเป็นพ่ีน้องกับ
ย่าเปร่ือง เนียมยิ้ม (ศรีทองอินทร์) ท่ีเป็นย่าของมหาส�ำเภา เนียมยิ้ม
ป.ธ.๔ คนลำ� สนนุ่ ต.บา้ นชา้ ง อ.สองพน่ี อ้ ง ศษิ ยว์ ดั สองพนี่ อ้ ง มหาสำ� เภา
เสียชีวิตไปแล้ว แต่ล�ำสนุ่นยังอยู่ และข้าพเจ้าก็สอบถามให้ชัดเจนว่า
ช่ือเดียวกับบางสนุ่นท่ีอยู่หมู่บ้านญวนที่มีโบสถฺ์คริสต์และโรงเรียนแม่
พระประจกั ษ์รเึ ปลา่ ?

นายมงคล ศรที องอนิ ทร์ นอ้ งชายมหาทวบี อกวา่ ภรรยาเปน็ คน
ลาดละว้า ท�ำบุญวัดศพเพลิง และอยู่แถวๆ นั้น ติดกับเขตต�ำบลสาลี
เม่ือขา้ พเจา้ สอบถามวา่ นามสกลุ “สุนทรพงษ”์ เปน็ ของใคร? ว่าเปน็
ของผูใ้ หญ่ประสงคก์ บั ยายกิม่ สุนทรพงษ์ เป็นก๊กใหญ่อยทู่ น่ี ัน่

ก่อนเดินทางกลับจากบางแม่หม้าย ได้แวะไปดูเจดีย์อัฐิของ
ตระกูล “สถาปิตานนท์” ของขุนโภชสาลี (ก�ำนันถม สถาปิตานนท์)
พ่ีชายของพระยาอุภัยภาติกเขต (เอี่ยม สถาปิตานนท์) ซ่ึงข้าพเจ้า
เคยเห็นรูปภาพของขุนโภช, เคยเห็นภาพของหลวงพรหมสุภา
(รอด สถาปติ านนท)์ แตไ่ มเ่ คยเหน็ รปู ภาพของพระยาอภุ ยั ภาตกิ เขตเลย
แปลกแต่จริง... หรือท่านจะไม่ได้ถ่ายรูปไว้ก็ไม่น่าจะใช่ เพียงแต่ยัง
ตามหารูปภาพไมเ่ จอเท่าน้ัน

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 179

อยากจะค้างสพุ รรณสักคนื แต่พอดีมงี านแจง้ ใหม้ าร่วมประชุม
ที่หอประชุมสงฆ์ คณะ น.๑๖ วัดพระเชตุพน ในเวลา ๑๘.๐๐ น.
จึงต้องกลับเข้ากรุงเทพฯ ร่วมประชุมปรึกษาหารือเรื่องงานวันมูลนิธิ
สมเด็จพระสังฆราชป๋า ในวันที่ ๒๑ ก.ค.นี้ กว่าจะเสร็จงานประชุม
ก็เปน็ เวลา ๒๐.๓๐ น.

แต่ข้าพเจ้าไม่ยอมกลับมือเปล่า เพราะได้รูปภาพ “คุณย่าวัน
สุขเจริญ” โยมมารดาของสมเด็จพระสังฆราชป๋า ท่ีด้านหลังเขียนว่า
๒ ก.ค. ๒๔๗๖ นั่นคือรูปภาพในการค�ำนวณอายุว่าย่าวันอายุเท่าไร
เพราะหลงั จากนั้นไม่นาน ในวันท่ี ๕ ต.ค. ๒๔๘๓ คณุ ยา่ วัน สุขเจริญ
ได้เสียชีวิตด้วยสิริอายุเท่าไร ข้าพเจ้ายังไม่รู้ ถ้าใครรู้ช่วยบอกเป็น
วิทยาทานที

180 อนุทนิ ประจำ� วัน

อนุทินประจ�ำวัน

(๕๓๗ เยีย่ มถ่นิ บรรพบุรุษฝา่ ยปทู่ วดย่าทวด ที่บา้ นกมุ่ )

วัดรางบัวทอง เป็นช่ือทางการ แต่ชาวบ้านเรียกกันว่า
วัดบ้านกุ่ม ต.บ้านกุ่ม อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี อยู่ใกล้ชิด
ตดิ มาทางบา้ นบางแมห่ มา้ ย ทขี่ นึ้ กบั อ.บางปลามา้ ชาวบางแมห่ มา้ ย
บอกวา่ มาท�ำนาท่เี ขตสองพ่นี ้อง

สรุปเส้นทางง่ายๆ ว่าเส้นทางเลียบแม่น�้ำสุพรรณ ฝั่งซ้ายคือ
ฝั่งตะวันตกจากสี่แยกดอนกระเบื้องขึ้นไป ผ่านปากคลองบางสาม
ไปราว ๑๐ กม.คลองและวัดบางสะแกอยู่ราวกึ่งกลาง และบ้านกุ่ม
อยู่ระหวา่ งบางสะแกกับบางแม่หมา้ ย

ช่ือบ้านกุ่ม มาอย่างไรไม่ทราบ เดิมอาจจะมีต้นกุ่มน�้ำ กุ่มบก
อยู่มากหรืออย่างไร ไม่ได้สอบถามใคร หรือจะน�ำช่ือหมู่บ้านมาจาก
บ้านด้ังเดิมของบรรพบรุษท่ีย้ายเข้ามาอยู่ ส่วนท่ีชื่อว่าวัดรางบัวทอง
เพราะมีล�ำรางจากด้านเหนือด้านอุโบสถของวัดบ้านกุ่มอ้อมมาทาง
ทศิ ตะวนั ตก มองเหน็ ได้ เมอื่ เดนิ ทางเขา้ วดั รางบวั ทองแหง่ นี้ เปน็ เวง้ิ นำ�้
ในหนังสอื เสดจ็ ประพาสตน้ ร.๕ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ
เขียนว่า “บางบัวทอง” ชื่อไปซ�้ำกับเขตบางบัวทองที่นนทบุรี ซึ่งเป็น
การเขียนเพย้ี นไปหนอ่ ยหนึ่ง จาก “ราง” เป็น “บาง” ช่อื ทถ่ี ูกต้องคือ
“รางบวั ทอง”

อนทุ ินประจำ� วัน 181

ถนิ่ ฐานบา้ นชอ่ งแหง่ น้ี จะแบง่ เปน็ กมุ่ เหนอื กมุ่ ใต้ ใชว้ ดั บา้ นกมุ่
เป็นศนู ย์กลาง บ้านอยู่เหนอื วดั กเ็ ป็นบ้านก่มุ เหนือ อยู่ใตว้ ดั ก็เปน็ บา้ น
กุ่มใต้ บรรพบุรษุ ของข้าพเจ้ามาจากบา้ นก่มุ ใต้

เข้ามาส�ำรวจวัดแห่งน้ี เมื่อราวช่วงงานพระราชทานเพลิงศพ
อดตี เจา้ อาวาสรปู กอ่ น เมอ่ื ราว ๓ ปที แี่ ลว้ เขา้ มาคราวนี้ (ไมน่ บั คราวที่
มาเย่ียมศพ มาถึงปุ๊บขึ้นศาลาปั๊บ ประเภทเซย์ฮัลโหลแล้วกู๊ดบาย
ในคราวเดียวกัน) เห็นความเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง วัดดูดีข้ึนมาก
กฏุ ิเสนาสนะยกกระด่ขี ึน้ สงู ดเู ปน็ ระเบียบเรียบร้อย งดงามดี ดูสะอาด
สะอ้านข้ึนมาก

ข้าพเจ้าชอบไปเดินส�ำรวจดูโบสถ์ และเดินดูอัฐิตามช่องท่ี
บรรจไุ ว้ มคี นทรี่ จู้ กั บา้ ง ไมร่ จู้ กั บา้ ง ไดย้ นิ แตเ่ สยี งเลา่ มาบา้ ง แตส่ ว่ นใหญ่
ราว ๗๕% จะรู้จักว่าตระกูลนั้นเป็นญาติกับตระกูลน้ี ดั้งเดิมมีคน
บอกว่า บ้านกุ่มมีนามสกุลเดิมไม่ก่ีตระกูล เช่น ภมรพล ครุฑใจกล้า
คล้ายจินดา เป็นตน้ ถ้าเหน็ นามสกุลแปลกถิ่น ให้รเู้ ลยวา่ มาจากท่อี ื่น

เห็นชื่อนายเอื้อน โพธ์ิทอง (๒๔๕๙-๒๕๒๗ อายุ ๖๘ ปี)
นายเอ้ือนคนน้ี ข้าพเจ้าทราบว่าแต่งกับอากิ้ม, และข้างใต้มีอัฐิ
“นายสามารถ โพธท์ิ อง (๑๕ พ.ย.๒๔๙๙-๒๔ พ.ย.๒๕๕๕ อายุ ๕๖ ปี)
ซ่ึงข้าพเจ้าสันนิษฐานคงเป็นรุ่นลูกๆ อีกช้ันหน่ึง เม่ือมองดูดวงวันเกิด
วันตาย นายเอ้ือนคนน้ีข้าพเจ้าทราบว่าเป็นลูกคนหน่ึงของนายผัน
นางจอน โพธิ์ทอง คนแถวบางสะแก, นายผัน โพธิ์ทองท่ีปลูกต้นตาล
ไวท้ ่ีวดั รางทอง (วดั สว่างอารมณ)์ เพราะตอนท�ำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษ
วัดรางทองต้องเอ่ยชื่อผู้ถวายท่ีดินให้วัดคือช่ือ “นายผัน โพธ์ิทอง”
ดังน้ัน ต้นสายตระกูล” โพธิ์ทอง” มาจากที่อื่น ก็มีอัฐิบรรจุอยู่ท่ีนี่,
นายผันเป็นพ่อของนายปิ่น โพธ์ิทองๆ พ่อของนายสังเวียน โพธิ์ทอง

182 อนุทินประจำ� วนั

ท่ไี ปแตง่ กับนางสะอาด นามสกลุ “วารรี ัตน”์
มาวันน้ี เพ่ือส�ำรวจตระกูล “ทองประเสริฐ” ให้ชัดๆ หน่อย

มชี อ่ื “นายเลา่ ชุน แซ่ล้มิ -นางสวิง ทองประเสริฐ” ไม่รูว้ ่าเป็นใครและ
สายไหน ถดั ไปมชี ื่อ “ตาเลยี บ ทองประเสริฐ ยายแจง ทองประเสริฐ”
สายนพี้ อทราบบา้ งวา่ ใครเปน็ ใคร และตอ่ มามชี อี่ื “ปา้ ชมุ่ ทองประเสรฐิ ,
พอ่ บุญ ทองประเสรฐิ , แม่บุตร ทองประเสริฐ” เปน็ ตน้

ทเ่ี กยี่ วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั เพราะยา่ ทวดของขา้ พเจา้ อยใู่ นตระกลู นี้
คอื “นายฉออ้ น ครฑุ ใจกลา้ นางเขยี ว ครฑุ ใจกลา้ ” นามสกลุ คนบา้ นกมุ่
พนื้ ที่, และ “นายสี วารรี ัตน์ นางตุ๊ วารรี ตั น”์ นามสกุลคนวดั สังโฆ

สายนก้ี ป็ ระหลาดแท้ ทงิ้ รอ่ งรอยไวน้ ดิ หนงึ่ คอื “พอ่ สมจติ ต์ สขุ งาม,
นางสวิง ใจเที่ยงกุล” ฯลฯ

หน้าบันโบสถ์วัดรางบัวทอง มีจารึกว่า “พระอธิการเทียน
ลทฺธกฺขโณ” คือหลวงพ่อเทียน เทศทอง สร้างไว้เม่ือปี ๒๕๑๐
มีช่ือธนาคารไทยพัฒนา และชาวบ้านกุ่มร่วมสร้างโบสถ์หลังท่ี ๒
ทใ่ี ช้ในปจั จบุ นั น้ี ส่วนโบสถห์ ลังแรกต้ังอย่ดู ้านศาลาท่าน้ำ� ใช้เป็นวิหาร
ไปแลว้ ซ่อมเมือ่ ปี ๒๕๓๕

ธนาคารไทยพัฒนา มาจากสายตระกูล “คุนผลิน” คนท่ีอื่น
ทเ่ี คยมาตั้งโรงสีอยู่แถวน้ี

จารกึ ที่ประตูอุโบสถดา้ นหน้า ๒ บาน สำ� หรับข้าพเจ้าน่าสนใจ
มากที่สุด เพราะมีค�ำจารึกว่า “”นายเพี้ยน-นางลาด ทองประเสริฐ
ผ้บู ริจาคทรัพย์ ๑๐,๐๐๐ บาท อุทศิ ใหพ้ อ่ ชม แมแ่ หน พอ่ อั๋น แม่ช้นื
เตีย่ เลียบ แม่ละมลู ”

ถอดรหัสได้ว่า นายเพ้ียน ทองประเสริฐ (๒๔๔๙-๒๕๔๗)
เปน็ ลูกของป่อู ้ัน-ย่าช้ืน ทองประเสรฐิ

อนุทนิ ประจำ� วนั 183

สว่ นนางลาด ทองประเสรฐิ นามสกลุ อะไร? ตอ้ งถอดระหสั ๒ ชน้ั
เป็นลูกจริงของก๋งเลียบ-ยายละมูล แซ่โซว (ยายมูล นามสกุลเดิม
ศรีจันทร์งาม) และเป็นบุตรบุญธรรมของพ่อชม-แม่แหน, พ่อชมคนน้ี
คือก�ำนันชม คล้ายจินดา ภรรยาช่ือยายแหน คล้ายจินดา ซึ่งไม่มีลูก
แต่รับนางลาดมาเป็นบุตรบุญธรรม และรับนายกร่าง คล้ายจินดา
มาเป็นบุตรบุญธรรม รวมเป็นลูกของก�ำนันชม-ยายแหน คล้ายจินดา
๒ คน เปน็ ชายคน และหญงิ คน

อกี บานประตหู นง่ึ มจี ารกึ ทนี่ า่ สนใจยงิ่ ขนึ้ ไปอกี วา่ “คณุ แมเ่ นอ่ื ง
ทองประเสริฐ ผู้บริจาคทรัพย์ ๒,๕๐๐ บาท อุทิศให้ขุนโภช แม่อ่ิม
ผใู้ หญช่ มุ่ พอ่ กลอ่ ม แมก่ ุ คณุ ยายหงส”์ และ “นายเจรญิ นางเนนิ ยงิ่ เจรญิ
ผู้บรจิ าคทรัพย์ ๒,๕๐๐ บาท อทุ ศิ ให้หลวงท�ำนนุ กิ รราษฎร์ คณุ แมค่ ล่ี
ณ นคร”

ถอดรหัสบานที่ง่ายๆ ก่อนว่า นางเนิน ยิ่งเจริญ (ณ นคร)
แต่งกับนายเจริญ ย่ิงเจริญ, นางเนิน ยิ่งเจริญ เป็นลูกของหลวง
ท�ำนุนิกรราษฎร์ (เพลา ณ นคร) กบั คุณย่าคลี่ ณ นคร (สถาปิตานนท์)
ซงึ่ เป็นลกู ของหลวงพรหมสุภา (บญุ รอด สถาปติ านนท)์ กับยายถมยา
ท่ีมีบรรดาศักด์ิเรียกว่า นางถมพรหมสุภา สายน้ีเป็นสายท่ีมาจาก
ตวั เมอื งสพุ รรณบุรี ที่เรยี กวา่ บา้ นกวย ใตว้ ดั ปราสาททอง

อีกบานหน่ึงที่อยู่คู่กัน เป็นของคนพ้ืนท่ีหรืออย่างไร? ซ่ึงถอด
รหัสไดว้ ่า คณุ แม่เนือ่ ง ทองประเสรฐิ (สถาปติ านนท)์ เปน็ ลูกสาวของ
ขุนโภชสาลี (กำ� นันถม สถาปติ านนท)์ กบั แมอ่ ่ิม สถาปติ านนท์ อทุ ิศให้
พอ่ กำ� นนั ถมและแม่อ่มิ และยงั อุทศิ ใหส้ ามีชือ่ ผู้ใหญ่ชุ่ม ทองประเสรฐิ
ทเี่ ปน็ บุตรของนายกลอ่ ม-นางกุ ทองประเสริฐ (นางกุ เชื้อสายภมรพล)

184 อนุทินประจำ� วนั

ประเด็นทยี่ ังตามหาอยู่ใหช้ ดั เจนคอื “ยายหงส”์ ทค่ี ุณแมเ่ น่อื ง
ทองประเสริฐอุทิศให้น้ันเป็นใคร? หากเป็นยายหงส์ท่ีเป็นภรรยาของ
ขุนเถลิงเดชก�ำจร (จำ� ปี สถาปติ านนท์) (เกดิ ราว ๒๔๒๖-๗) น้องชาย
ของคุณยายคลี่ ณ นคร (เกิดมะโรง ๒๔๒๓-ปีจอ ๒๕๐๑) ปัญหานี้
ก็หมดไป เพราะสามารถมองความสัมพันธ์ต่อเนื่องได้, ขุนเถลิงฯ
ขอนามสกลุ พระราชทานใหมว่ า่ สถาปนวรรธนะ และตอ่ มาขอเปลยี่ นใหม่
เป็น สถาปนวัตน์ ดังน้ัน จึงลงสันนิษฐานว่า คุณยายหงส์คนนี้ คือ
คุณยายหงส์หรือคุณยายกิมหงส์ สถาปนวัตน์ ภรรยาของขุนเถลิงฯ
ที่มีลูก ๒ คน หญิงชื่อนางพรรณี แต่งกับนามสกุล “ไพบูลย์” และ
ชายชื่อนายศรรี ตั น์ สถาปนวตั น์

กลบั มาเยย่ี มบา้ นเกดิ เมอื งนอนของบรรพบรุ ษุ ทำ� ใหต้ อ้ งทบทวน
ความหลัง โดยเฉพาะวงศาคณาญาติใหม่

อนทุ นิ ประจ�ำวนั 185



อนุทนิ ประจ�ำวัน

(๕๓๘ พระอมรเมธาจารย์ (ม่งิ ป.ธ.๙) อายุ ๙๑ ปี)

พระอมรเมธาจารย์ (อ่านว่า พระ-อะ-มะ-ระ-เม-ธา-จาน)
เปน็ สมณศกั ดทิ์ ข่ี น้ึ ตน้ ดว้ ย “อมร (อ-มอน)” แปลวา่ “ไมต่ าย”
แต่ทางพระนิยมอ่านว่า “อะมะระ” ท่ีแปลว่า “เทวดา” ได้น้ัน
มรณภาพได้ สิรอิ ายขุ องทา่ นเจ้าคณุ ม่ิงได้ ๙๑ ปี

เมอื่ ไดย้ นิ วา่ เปน็ คนคลองสาม ปทมุ ธานี ขา้ พเจา้ เขา้ ใจมาตลอด
วา่ เปน็ คนมอญ อกี ทงั้ บางคนกบ็ อกวา่ ทา่ นเจา้ คณุ มง่ิ พดู และพอสวดมอญ
ไดบ้ า้ ง แตเ่ มอื่ ไปรว่ มพธิ บี ำ� เพญ็ กศุ ลศพ ถามคนรอบขา้ ง ชาววดั มหาธาตฯุ
ทา่ พระจนั ทรบ์ อกวา่ เปน็ คนไทยทอี่ ยใู่ นกลมุ่ คนมอญ เรอื่ งเปน็ อยา่ งนนั้ ไป

เม่ือได้ทราบข่าวมรณภาพต้ังแต่วันท่ี ๑๔ ก.ค.๒๕๖๑ ก็ตัง้ ใจวา่
จะไปรว่ มบำ� เพญ็ กศุ ลและไปงานเผาใหไ้ ด้ ถา้ ไมต่ ดิ ขดั อะไร เพราะถอื วา่
เปน็ สหชาติประโยค ๙ ดว้ ยกันประการหนง่ึ พอรูจ้ ักถงึ จะไม่มักคนุ้ มาก
ประการหน่งึ เพราะท่านเปน็ พระพดู นอ้ ย และช่วงวยั ทห่ี ่างไกลกนั มาก
ท่านเจ้าคุณมิ่งมีพรรษายุกาลจัดเป็นช้ันปู่ของข้าพเจ้าก็แทบจะว่าได้
แตป่ ู่ของข้าพเจา้ เกดิ ราวปี ๒๔๕๐ เจา้ คณุ ม่งิ เกิดปีเถาะ ๒๔๗๐

มาดปู ระวัติกนั กอ่ น
พระอมรเมธาจารย์ (มิ่ง ภูริทตฺโต ป.ธ.๙) วัดมหาธาตุฯ
ทา่ พระจนั ทร์ เกดิ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๖ ต.ค.๒๔๗๐ ณ บ้านเลขที่ ๑๙
หมู่ ๔ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เปน็ บตุ รของนายนวล-
นางทรัพย์ อ้นแฉ่ง, มีพี่น้องร่วมอุทรเดียวกัน ๓ คน พ่ีสาวคนโตช่ือ

อนุทนิ ประจำ� วัน 187

นางละมูล สุดสาคร คนรองชื่อนางละม่อม ห้องเถา ยังมีชีวิตอยู่
อายุ ๙๓ ปี, เจา้ คุณมิง่ เป็นคนสดุ ทอ้ ง

เรียนจบชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ (๒๔๘๒) จากโรงเรียนวัดสวสั ดิ์
วารีสีมาราม เขตดุสิต แสดงว่าท่านเจ้าคุณเคยเข้ามาอยู่กรุงเทพฯ
ก่อนแลว้

ท่านเจ้าคุณครั้งยังเป็นพระมหามิ่ง ที่ข้าพเจ้ารู้จักเคยบอกว่า
บวชเป็นสามเณรท่ีบ้านนอกมาก่อน สอบได้นักธรรมช้ันตรีและชั้นโท
(๒๔๘๗-๘๘) จากวัดเกิดการอุดม ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดปทุมธานี
และเม่อื เขา้ มาอยู่กรุงเทพฯ ณ วดั มหาธาตฯุ นน้ั เปน็ ธรรมเนยี มของวัด
ทจ่ี ะมาบวชเปน็ เณรซำ�้ ใหม่ ในประวตั บิ อกวา่ บรรพชา มพี ระพมิ ลธรรม
(ช้อย ฐานทตโฺ ต ป.ธ.๖) วัดมหาธาตุฯ เป็นพระอปุ ชั ฌาย์ เมอื่ วันท่ี ๑๙
ต.ค. ๒๔๘๙ (หลงั ออกพรรษาแล้ว)

อุปสมบท เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๔๙๑ ณ วัดมหาธาตุฯ
มสี มเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) วดั มหาธาตุฯ ครง้ั ด�ำรง
สมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระธรรมไตรโลกาจารย์ เปน็ พระอปุ ชั ฌาย,์ พระเทพเมธี
(ปล้ืม อตุ ฺตโร ป.ธ.๕) ครงั้ ดำ� รงสมณศกั ดิเ์ ปน็ พระนกิ รมมุนี (พระราชา
คณะชนั้ ราช) เปน็ พระกรรมวาจาจารย,์ พระศรสี ธุ รรมมนุ ี (ถริ เขมาภริ โต
ป.ธ.๙) วัดมหาธาตุฯ เป็นพระอนสุ าวนาจารย์

การศกึ ษา สอบได้ ประโยค ๓ (๒๔๙๕), ประโยค ๔ (๒๔๙๗),
ประโยค ๕ และนักธรรมชนั้ เอก (๒๔๙๙) ในส�ำนักเรยี นวัดมหาธาตุฯ
จนถึงประโยค ๙

ที่น่าสนใจยิ่ง เพราะแสดงถึงวิริยอุตสาหะมาก คือช่วงประวัติ
การศกึ ษา สอบไดป้ ระโยค ๖ (๒๕๐๓), ประโยค ๗ (๒๕๐๖), ประโยค ๘
(๒๕๒๑), และประโยค ๙ (๒๕๓๐)

188 อนุทนิ ประจำ� วนั

รวมใชเ้ วลาในการศกึ ษาเฉพาะทส่ี อบช้ันบาลไี ด้จากประโยค ๓
ถึงประโยค ๙ เป็นเวลา ๓๕ ปี (บวกเรียนบาลีไวยากรณ์อีก ๓ ปี
เท่ากับเรยี นบาลี ๓๘ ป)ี

ท่านเจ้าคณุ พระราชปริยัติมนุ ี (เทียบ ป.ธ.๙) (เกดิ ฉลู ๒๕๐๔)
วดั พระเชตุพน บอกวา่ “ท่านเจา้ คุณมิ่ง คุ้นเคยกันมาก สอบได้ประโยค
๖ ตั้งแต่ผมยงั ไม่เกดิ ” และทา่ นเจา้ คณุ พระราชวสิ ุทธโิ มลี (มนู ป.ธ.๙)
วดั มหาธาตุฯ (อายุ ๘๐ ปบี รบิ รู ณ์ ไปหมาดๆ) บอกวา่ ผมใช้เวลาเรียน
๓๐ ปีกว่าจะได้ประโยค ๙ สอบได้ปี ๒๕๒๖ เรียกว่ารุ่นหน่ึงโหล
คือสอบได้ ๑๒ รูป แต่ในปี ๒๕๒๕ ปีฉลองกรุงรัตนโกสินทร์นั้น
เป็นรุ่นเกือบ ๒ โหล คือสอบได้ทั้งหมด ๒๓ รูป ซึ่งไม่เคยมีขึ้นก่อน
ในประวตั กิ ารศกึ ษาบาลสี นามหลวงในประเทศไทย ทง้ั ๆ ทมี่ กี ารพดู กนั วา่
ตั้งเป้าหมายว่าจะร่วมเฉลิมกรุงให้ได้สัก ๒๖ รูป (๒๕ บวก ๑) แต่
สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ป.ธ.๙) วัดจักรวรรดิราชาวาสค้านว่า
“นักเรียนทำ� ไมไ่ ดแ้ ตจ่ ะใหไ้ ด้อยา่ งไร?” ในปีฉลองกรุงนั้น จึงมีผู้สอบได้
ทั้งหมด ๒๓ รูป ทา่ นเลา่ ความหลังและบอกว่า ทา่ นเจ้าคุณมิง่ ใช้เวลา
เรียนมาก มีวิริยอุตสาหะมากที่สุดรูปหน่ึง และยกตัวอย่างอีกรูปหน่ึง
คือพระราชปริยัติดิลก (วิชิต อิสฺสโร ป.ธ.๙) (เกิดปีมะโรง ๒๔๗๑)
วดั ประยุรวงศาวาสว่า เฉพาะประโยค ๙ อยา่ งเดียว ใชเ้ วลา ๒๐ ปพี อดี
จึงสอบได้ในปี ๒๕๒๓ นับเป็นสถิติการศึกษาที่ยาวนานบนถนน
สายการศึกษาพระปริยัตธิ รรมแผนกบาลี

ท่านเจ้าคุณมิ่ง สอบประโยค ๘ ใชเ้ วลา ๑๘ ปี, สอบได้ประโยค
๙ ใช้เวลา ๙ ปี, เฉพาะสองชั้นนี้เป็นเวลา ๒๗ ปีเข้าไปแล้ว, ได้ช่วย
สอนหนงั สอื และปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ตา่ งๆ ภายในวดั ดว้ ยความเรยี บรอ้ ยดงี าม
ไดร้ บั การยกยอ่ งเชดิ ชใู หเ้ ปน็ ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง (๒๕๓๓),

อนทุ นิ ประจ�ำวัน 189

เป็นเจ้าคณะสลัก ๑ (๒๕๔๐), และได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น
พระราชาคณะช้ันสามญั ที่ “พระอมรเมธาจารย์” (๕ ธ.ค.๒๕๕๓)

มรณภาพ เม่อื วนั ศุกร์ ท่ี ๑๔ ก.ค. ๒๕๖๑ เวลา ๐๘.๓๔ น.
ณ โรงพยาบาลสงฆ์ พญาไท ด้วยโรคชรา ประกอบพิธีพระราชทาน
เพลิงศพ ณ วัดสังเวชวิศยาราม ในวันอาทิตย์ท่ี ๒๒ ก.ค.๒๕๖๑
เวลา ๑๗.๐๐ น.

190 อนุทินประจำ� วัน

อนุทินประจ�ำวนั

(๕๓๙ สมณศักดิท์ ี่ “พระอมรเมธาจารย์”)

เมอ่ื เดนิ ทางถงึ วดั มหาธาตฯุ ทา่ พระจนั ทร์ มองดโู รงพมิ พม์ หาจฬุ า
ลงกรณราชวิทยาลัย ท่ีปัจจุบันย้ายส�ำนักงานไปอยู่วังน้อยแล้ว
ต่อไปชีวิตก็มีความผูกพันน้อยลงและค่อยๆ จางหายไป ในอีกไม่รู ้
ก่ีปีข้างหน้า อาจจะมีประเด็นค�ำถามขึ้นมาว่า โรงพิมพ์มหาจุฬาฯ
ทา่ พระจนั ทร์ อยู่ตรงไหน

เฉกเช่นเดียวกัน ที่นั่งเรียนของพระภิกษุสามเณรท่ีเข้าเรียน
มหาจฬุ าฯ ทว่ี ดั มหาธาตุ จะรจู้ กั แตต่ กึ อาคาร ๓ ชน้ั อยา่ งรตั ตญั ญหู นอ่ ย
ก็ร้จู กั ลานอโศก แตก่ ารศึกษาทเี่ ร่ิมที่วดั วงั หนา้ แหง่ นี้ ก่อน พ.ศ.๒๕๐๐
เรียนกันที่ตรงไหน?

ก่อนถึงเวลา ๑๙.๐๐ น. ข้าพเจ้าเดินขึ้นดูตึก ๒ ช้ัน ท่ีเรียน
พระอภิธรรม มีชื่อเรียกต่างๆ นานา มีป้ายบอกช่ือไว้ รวมท้ังเป็น
ส�ำนักงานศิษย์เก่าวัดมหาธาตุฯ อีกด้วย เป็นตึกเก่าที่สมัยก่อนใช้เป็น
ท่ีเรียนของพระเณรที่เข้าศึกษาท่ีมหาจุฬาฯ มหาวิทยาลัยสงฆ์
แหง่ ประเทศไทย ปจั จบุ นั ยา้ ยสำ� นกั งานไปอยทู่ วี่ งั นอ้ ยกนั เกอื บหมดแลว้

เดนิ เขา้ มขุ กลางชน้ั สองทป่ี ระตยู งั เปดิ และมเี จา้ หนา้ ทอี่ ยภู่ ายใน
ขอชมโต๊ะหมู่พม่าหน่อย พระที่ดูแลก็ใจดีเหลือเกิน ได้อธิบายว่า
เป็นโต๊ะพม่าที่ซื้อมาจากพม่า ท่ีย่างกุ้งในราวปี ๒๕๓๐ เรียกว่า
“โต๊ะหมู่ ๓๑ ภูมิ” พร้อมอธิบายองค์ประกอบว่า ใต้ฐานพระพุทธรูป

อนุทนิ ประจำ� วนั 191

ที่เปล่งฉัพพัณณรังษีลงมาเป็นนรกภูมิและอบายภูมิ มีสัตว์ต่างๆ
ตามคติความเช่ือทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ส่วนข้างบนฐานขึ้น
ไปเป็นสวรรค์ ๖ ช้ัน และพรหมโลก ข้าพเจ้าถามว่านับอย่างไรให้ได้
๓๑ ภูมิ ซึ่งท่านก็อธิบายไป ท่ีข้าพเจ้าทราบชัดว่าสองข้างมีพัดที่มีรูป
นกยูงหมายถึงพระอาทิตย์ และขา้ งท่มี กี ระต่ายหมายถึงพระจันทร์

ท่ีด้านหน้าท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุเป็นองค์ประกอบใหม่
ไม่ใช่ของดั้งเดิมท่ีมาพร้อมกับองค์ประกอบ ท่านบอกว่าเครื่องบูชา
เปน็ ภาชนะสำ� หรบั ใสห่ มากพลแู ละขา้ ว รวมทงั้ ราแมะ (เมยี่ ง) เปน็ ของสงู
ท่ีพระมหากษัตริยใ์ ส่ถวายพระพทุ ธเจา้

เม่ือเข้าไปภายในตึกมหาธาตุวิทยาลัย ท่ีส�ำหรับบ�ำเพ็ญกุศล
ศพพระอมรเมธาจารย์ (มิง่ ป.ธ.๙) (๒๔๗๐ ปเี ถาะ - ๑๔ ก.ค.๒๕๖๑
ปีจอ) ข้าพเจ้าเข้าไปกราบประธานในพิธี ที่มีต�ำแหน่งเป็นนายก
สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ และอธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตฯ เจ้าประคุณ
พระธรรมปัญญาบดี (พีร์ สุชาโต ป.ธ.๕) และรายงานว่า ไปเย่ียม
วัดชีโพน อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา นึกว่าเป็นลาดน�้ำเค็ม
แต่กลายเป็นปากคลองของคลองลาดชะโด ที่เป็นล�ำคลองเชื่อมกับ
จังหวดั สพุ รรณบรุ ไี ด้เส้นทางหนงึ่

อธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตุฯ รูปปัจจุบันเป็นคนลาดน�้ำเค็ม วัดแค
อ.ผักไห่ ข้าพเจา้ จงึ สอบถามว่า ลาดน้�ำเคม็ เปน็ ตำ� บลใช่ไหม และพ้นื ท่ี
ตั้งแต่ไหนถงึ ไหน ซงึ่ ไดร้ ับคำ� ตอบว่าตัง้ แต่ใต้วดั โบสถล์ งมาจนถงึ วัดแค
เปน็ เขตลาดนำ้� เคม็ และวา่ สมยั กอ่ นคนบา้ นทา่ นเดนิ ทางไปสพุ รรณบรุ ี
ไดง้ ่ายกว่าไปอยุธยา จงึ เปน็ เหตุใหค้ นผกั ไหเ่ ขา้ มาอยู่สุพรรณกนั มาก

ผู้กล่าวสังเวคกถาในคืนวันพฤหัสบดี ที่ ๑๙ ก.ค. ๒๕๖๑
พธิ กี รกราบอาราธนาพระราชวสิ ทุ ธโิ มลี (มนู ป.ธ.๙) (เกดิ ๒๔ ม.ิ ย.๒๔๘๑)

192 อนทุ นิ ประจ�ำวนั

คนมหาราช อยุธยา ซึ่งคุ้นเคยกันดีกับเจ้าคุณมิ่ง และข้าพเจ้าคุ้นเคย
กันดีกับท่าน เพราะท่านเคยเล่าให้ฟังว่า “หลวงพ่อเชียงหรือพระราช
พฤฒาจารย์ เจ้าอาวาสวัดราชบุรณะนั้น ท่านเรียกว่า “เจ้าคุณแป๊ะ”
มรณภาพในวันที่ ๑๙ ไมใ่ ช่ ๑๘ เมษายน โดยทา่ นอา้ งว่า มพี ยาบาล
โรงพยาบาลเดชา ชื่อปองพัน นาคกัน ยืนยันว่ามรณภาพวันท่ี
๑๙ เมษายน เพราะวนั รุ่งขึ้นคอื วันที่ ๒๐ เมษายน แม่ของนางพยาบาล
ปองพันคนน้ีตาย และเธอต้องลางานจากพยาบาลกลับมาดูแลศพ
ที่บ้าน, พ่อของพยาบาลชื่อนายสุวรรณ นาคกัน ท่านเจ้าคุณมนู
เคยสอนอภิธรรม

ท่านยังเคยให้คติธรรมแก่ข้าพเจ้า ที่พอข้าพเจ้าเจอหน้าท่าน
จะทักว่า “เป็นษี ต้องผอม” ซ่ึงท่านอธิบายว่าผอมเพราะเกิดจาก
การบำ� เพญ็ ธรรม ถา้ อว้ นพจี ะสะสมกเิ ลสขึน้ มา

เจ้าคุณกล่าวสงั เวคกถาและอนุสรณกถาว่า เพราะความคนุ้ เคย
กับผู้มรณภาพไป เคยเขียนค�ำกลอนบอกคุณสมบัติของเจ้าคุณม่ิงไว้
๖ ข้อว่า “ใช้จ่ายอย่างประหยัด, ท�ำวัตรไม่ขาด, บิณฑบาตไม่เว้น,
ฉนั เชา้ ฉนั เพลตอ้ งรบี ไป, ไดป้ จั จยั ฝากธนาคาร, สน้ิ ลมปราณสมภารยดึ ”

อธิบาย ๖ ข้อ เชน่ ท�ำวตั รไมข่ าด ลงทำ� วัตรประจำ� ไปกอ่ นเวลา,
บิณฑบาตไม่เว้น ว่าบิณฑ์จนล้ม ต้องขอร้องให้หยุดบิณฑบาต และ
ท่านบอกว่า เจ้าคุณมงิ่ กช็ อบใจ เพราะนำ� เอา ๓ ข้อแรกไปลงในหนงั สอื
ในตอนฉลองสมณศักดิท์ ี่ พระอมรเมธาจารย์ ในปี ๒๕๕๓ และท่านพูด
ปนเสยี งหัวร่อว่า เจ้าคณุ มง่ิ ไม่ลงอกี ๓ ขอ้ ใหค้ รบ

และพูดถงึ ว่า สมณศกั ด์ิที่ พระอมรเมธาจารย์ ของท่านเจ้าม่ิง
ป.ธ.๙ นัน้ เดมิ พวกประโยค ๙ จะข้นึ ต้นด้วย “ศรี” ต่อมากล็ งทา้ ยดว้ ย
“เมธี” เป็นที่รู้จักว่าเป็นพวกชุด ป.ธ.๙ และไล่ล�ำดับว่า ช่ือพระอมร

อนทุ นิ ประจำ� วัน 193

เมธาจารย์ เดิมเป็นของพระผู้ใหญ่ชื่ออะไรบ้าง เช่นของเจ้าคุณเข้ม
ป.ธ.๖ สหชาติ ร.๕ ที่ต่อมาไปครองเป็นเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพน,
เจ้าคุณใคล ป.ธ.๙ วัดสุทัศนเทพวราราม, เจ้าคุณสาหร่าย ป.ธ.๖
วัดมหาธาตุฯ (ต่อมา ลาสิกขา มาเป็นเขยคนสุพรรณ ที่บ้านบางใหญ่
อ.บางปลาม้า) และมาถึงเจ้าคุณสุคนธ์ ป.ธ.๖ วัดปรินายก เป็นต้น
ผบู้ รรยายพดู วา่ เจา้ คณุ มง่ิ นา่ จะไดช้ อ่ื ขนึ้ ตน้ ดว้ ย “ศร”ี หรอื ลงทา้ ยดว้ ย
“เมธี”

อธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตุฯ พระธรรมปัญญาบดี (หลวงพ่อพีร์)
(เกดิ ปมี ะเมยี ๒๔๗๓) แทรกวา่ ไปหาสมเดจ็ พระมหาธรี าจารย์ (นยิ ม ป.ธ.๙)
วัดชนะสงคราม เจ้าคณะใหญ่หนกลาง สอบถามว่าขอพระมหามิ่งไป
ปีสองปีแล้วยังไม่ได้ ท่านส่ังให้ท�ำประวัติส่ง และต�ำแหน่ง “พระอมร
เมธาจารย์” ว่างพอดี จงึ ไดช้ ือ่ นม้ี า

เร่มิ ตน้ จากวดั มหาธาตุฯ ทา่ พระจนั ทร์ ไปถงึ วัดโพธิ์ - วัดสุทศั น์
วัดปรินายก และแวะไปสุพรรณนิดหน่ึง ก่อนจะจบลงท่ีพระมหาม่ิง
ป.ธ.๙ - “พระอมรเมธาจารย”์ รูปสุดทา้ ยของวัดมหาธาตฯุ

194 อนุทินประจ�ำวนั

อนทุ ินประจ�ำวนั

(๕๔๐ จดหมายสองพนี่ อ้ ง
ฉบับ งานออกพระเมรพุ ระศพ)

เมอ่ื วนั ทไ่ี ปเปน็ กรรมการตรวจประโยคบาลสี นามหลวง ณ วดั ปากนำ้�
ภาษเี จริญ ตรงกับวนั ท่ี ๑๗ ก.ค. ๒๕๖๑ น้นั พระมหากฤชาภัค
มหิสฺสโร ป.ธ.๗ ผู้ช่วยเลขานุการแม่กองบาลีสนามหลวง ได้ส�ำเนา
หนังสือจดหมายสองพี่น้อง ฉบับท่ีชาวสุพรรณบุรี พิมพ์โดยเสด็จ
พระราชกุศลงานพระเมรุพระศพ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณณสิริมหาเถระ) วัดพระเชตุพน
วมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร วนั องั คาร ท่ี ๒๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๗
พมิ พท์ ี่โรงพิมพร์ งุ่ เรืองธรรม หลงั กระทรวงมหาดไทย กรงุ เทพมหานคร

หนังสือระบุว่า “ชาวสุพรรณบุรี” เป็นผู้จัดพิมพ์ แต่ไม่ระบุ
อย่างอ่ืนๆ ให้ทราบร่องรอย มีรูปภาพประกอบ เป็นพระรูปของ
เจา้ พระคุณสมเด็จพระสังฆราช และสิง่ ทีก่ ่อสรา้ งตา่ งๆ ภายในจงั หวดั
สพุ รรณบรุ ี ยกเวน้ ตกึ สันติวนั โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ เรียงลำ� ดบั ภาพ
ดงั นี้

(๑) สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
(ปนุ่ ปณุ ณสริ มิ หาเถระ) วดั พระเชตพุ น วมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร

(๒) สมเดจ็ พระสงั ฆราชเสดจ็ ไปรบั การสมโภชจากชาวสพุ รรณบรุ ี
ณ ศาลากลางจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี นายสวสั ด์ิ มเี พยี ร พระราชสพุ รรณาภรณ์
เจ้าคณะจงั หวัด รับเสด็จ

อนทุ ินประจ�ำวนั 195

(๓) ตกึ สนั ตวิ นั โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ทรงบรจิ าคสว่ นพระองค์
และจากผู้ที่ถวายในคราวเสดจ็ เขา้ รบั การผ่าตดั เมือ่ ๒ ตุลาคม ๒๕๑๖
เป็นเงิน ๔๐๘,๐๐๐ บาท

(๔) เหรยี ญสมโภช ชาวจงั หวดั สพุ รรณบรุ สี รา้ งเมอ่ื ๑๖ กนั ยายน
๒๕๑๖

(๕) โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ่ี ๑๗ อำ� เภอสองพนี่ อ้ ง
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

(๖) พพิ ิธภัณฑส์ มเด็จพระสังฆราช องคท์ ี่ ๑๗ (ปนุ่ ปณุ ฺณสิริ)
วดั สวุ รรณภมู ิ อำ� เภอเมือง จังหวดั สพุ รรณบุรี ทรงบริจาคเปน็ ทนุ รเิ ร่ิม
๕๐,๐๐๐ บาท และทรงมอบส่งิ ของตา่ งๆ ไวเ้ ป็นจำ� นวนมาก

(๗) บา้ นสมเด็จฯ อำ� เภอสองพ่นี ้อง จังหวดั สุพรรณบุรี
(๘) หอสมเดจ็ วดั วมิ ลโภคาราม อำ� เภอสามชกุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
(๙) ตกึ พระพนรตั น์ วดั ดอนเจดยี ์ อำ� เภอดอนเจดยี ์ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ทรงขอให้นายประยงค์ ต้งั ตรงจิตร บริจาคเงินกอ่ สร้างขนึ้
(๑๐) วดั สองพ่นี ้อง อ�ำเภอสองพน่ี ้อง จังหวดั สพุ รรณบุรี
(๑๑) โรงเรียนสมเด็จพระวันรัต ตลาดสามชุก อ�ำเภอสามชุก
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
ส่ิงที่เป็นข้อสังเกตคือ โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม เป็นโรงพิมพ์อยู่ที่
ถนนเฟอ่ื งนคร เคยบรกิ ารพมิ พง์ านในหนงั สอื งานออกเมรพุ ระเทพคณุ าธาร
(หลวงพอ่ ปขู่ นุ่ / หลวงพอ่ ผล ชนิ ปตุ โฺ ต ป.ธ.๕) อดตี เจา้ อาวาสวดั พระพเิ รนทร์
วรจักร
ร่องรอยท่มี ใี หส้ ืบตามหาได้ คอื “ค�ำปรารภ” ทผี่ ู้เขียนลงทา้ ย
วา่ “ชาวสพุ รรณบรุ ”ี ซง่ึ ไมท่ ราบวา่ เปน็ ใคร เป็นพระหรือเปน็ ฆราวาส
แต่เป็นรอ่ งรอยท่ดี ที ีส่ ุด จึงขอนำ� เสนอค�ำปรารภไวด้ ังน้ี

196 อนทุ นิ ประจำ� วนั

เนอ่ื งดว้ ย สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ (ปนุ่ ปณุ ณสริ มิ หาเถระ)
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ซึ่งมีพระชาติภูมิเป็น
ชาวสพุ รรณบรุ โี ดยแทจ้ รงิ และเนอ่ื งดว้ ยพระองคไ์ ดท้ รงมพี ระเมตตาธรรม
แก่คณะสงฆ์และประชาชนชาวจังหวัดสุพรรณบุรีเป็นพิเศษ ผู้มีความ
เดือดร้อนหรือประสงค์อย่างไรมาขอความช่วยเหลือ หากไม่ขัดต่อ
ระเบยี บหรอื ไมผ่ ดิ ศลี ผดิ ธรรม พระองคต์ อ้ งทรงเมตตาอนเุ คราะหท์ กุ ครงั้
เชน่ ทรงเมตตาฝากใหเ้ ขา้ งานบา้ ง เขา้ โรงเรยี นบา้ ง โดยเฉพาะพระเดก็ ๆ
หรอื สามเณรเลก็ ๆ ยง่ิ ทรงโปรดปรานมาก ทั้งๆ ทีพ่ ระองคไ์ ม่ทรงร้จู ัก
มากอ่ น มาขอผ้าไตรจวี รบา้ ง หรืออยา่ งอ่นื บ้าง นา่ จะทรงเหน็ เป็นเรื่อง
รบกวนหรอื เปน็ เรอื่ งจกุ จกิ กลบั ทรงโปรดปรานดว้ ยทรงเหน็ วา่ กลา้ หาญดี

เมื่อทรงประทานผ้าไตรหรือจีวรหรือสิ่งของให้แล้ว ทรงแสดง
ความสนพระทัยถามถึงที่อยู่ ถามถึงพ่อแม่ครูอาจารย์ ทรงแสดง
พระอัธยาศยั สนิทสนมกบั ผู้นอ้ ย นบั วา่ มพี ระอัธยาศยั ทค่ี วรเคารพบชู า
อย่างสุดซึ้ง และได้ทรงก่อสร้างสิ่งอันเป็นสาธารณประโยชน์ชิ้นใหญ่ๆ
ให้จงั หวัดสุพรรณบุรหี ลายอย่าง อาทิ

- โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราช องค์ท่ี ๑๗ อำ� เภอสองพนี่ อ้ ง
- โรงเรยี นสมเด็จพระวนั รัต อำ� เภอสามชกุ
- ตึกเรียนพระปริยัติธรรมพระพนรัตน์ วัดดอนเจดีย์ อ�ำเภอ
ดอนเจดยี ์
- ตึกเรียนพระปริยัติธรรมสุวรรณภูมิวิทยาลัย วัดสุวรรณภูมิ
อ�ำเภอเมอื งสุพรรณบุรี
- ต�ำหนกั สมเด็จ วัดโพธาราม (วดั ไผ่โรงววั ) อ�ำเภอสองพีน่ อ้ ง
- หอสมเด็จ วัดวมิ ลโภคาราม อำ� เภอสามชกุ
- และพิพิธภณั ฑ์สมเด็จพระสงั ฆราช องคท์ ่ี ๑๗ (ปนุ่ ปุณณฺ สริ ิ)
วัดสุวรรณภูมิ อำ� เภอเมอื งสุพรรณบุรี

อนทุ ินประจ�ำวัน 197

และเนอื่ งในวนั ที่ ๑๖ กนั ยายน ๒๕๑๖ คณะสงฆแ์ ละประชาชน
ชาวจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดการสมโภชทูลถวาย ณ ศาลากลาง
จังหวดั สุพรรณบรุ ี ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ซึง่ เป็นประธานในงาน ทูลถวาย
วดั ในเขตอำ� เภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี ๓ วดั คอื ขอใหท้ รงตง้ั ชอื่ ดว้ ยพระปรชี า
ทวี่ ่องไว ทรงตงั้ ชอ่ื วา่ วัดพทุ ธมงคล วัดธรรมมงคล และวดั สงั ฆมงคล
นบั วา่ เปน็ มงคลนาม ซงึ่ ใครๆ กค็ าดไมถ่ งึ วา่ พระองคจ์ กั ทรงตงั้ อยา่ งนน้ั
เหมาะสมท้ังความหมาย เหมาะสมท้ังงานน้ันก็เป็นงานมงคลของ
ชาวสพุ รรณบรุ ที ง้ั จงั หวดั ชอื่ วดั ทง้ั ๓ วดั จกั เปน็ อนสุ รณข์ องชาวสพุ รรณบรุ ี
นับเปน็ ร้อยปีพนั ปี

วาระสุดท้ายทรงสละปัจจัยอันเป็นส่วนพระองค์จ�ำนวน
๕๓๒,๖๘๑.๐๐ บาท ซง่ึ เหลอื จากการใชจ้ า่ ยคราวจดั งานสมโภชทลู ถวาย
การทรงสละปจั จัยครง้ั นี้ มพี ระประสงค์ใหจ้ ัดตั้งเปน็ ทุนนธิ ิเกบ็ ดอกผล
บ�ำรงุ การศกึ ษา โดยแยกออกเปน็ ๒ ประเภท คือ

๑. สง่ เสรมิ การศกึ ษาปรยิ ตั ธิ รรมของคณะสงฆจ์ งั หวดั สพุ รรณบรุ ี
๒. ส่งเสริมการศึกษาของชาวจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
นับว่าพระองค์เป็นดุจร่มโพธิ์ร่มไทรให้ความร่มเย็นเป็นสุขแก่
คณะสงฆแ์ ละประชาชนชาวจังหวัดสุพรรณบุรีอเนกประการ คณะสงฆ์
และประชาชนชาวจงั หวดั สุพรรณบรุ ีท้ังมวลรสู้ ึกซาบซึ้งในพระคุณของ
พระองค์ท่านอย่างลน้ พน้ เหลือทจ่ี ะพรรณนาด้วยอักษรใหส้ น้ิ เชิง
ดงั นนั้ เนอ่ื งในงานพระเมรพุ ระศพ ในวนั ที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๑๗
จึงมีผู้ที่เคารพนับถือในพระองค์ ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ ท้ังใน
และต่างประเทศมาร่วมอย่างคับค่ัง เม่ือเช่นนั้นเป็นการสมควรย่ิง
ท่ีคณะสงฆ์และประชาชนชาวจังหวัดสุพรรณบุรี จักสร้างอะไรขึ้น
สกั อยา่ งหนง่ึ รว่ มบำ� เพญ็ กศุ ลโดยเสดจ็ พระราชกศุ ลในงานพระเมรคุ รง้ั น้ี

198 อนทุ นิ ประจำ� วนั


Click to View FlipBook Version