The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนตาพระยา พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 (ฉบับปรับปรุง 2560)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruyosphon21, 2022-09-16 00:45:53

หลักสูตรโรงเรียนตาพระยา

หลักสูตรโรงเรียนตาพระยา พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 (ฉบับปรับปรุง 2560)

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ว21104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

............................................................................................................................. .................................................

ศึกษาอธิบายความหมายของเทคโนโลยีวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ

เทคโนโลยี การทางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์

เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จำเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันในด้านการเกษตร อาหาร

และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์

เครอ่ื งมอื ในการแก้ปัญหาได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

ตัวช้ีวัด
ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
1. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
2. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา
3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น นำเสนอ
แนวทางการแกป้ ัญหาให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปญั หา
4. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ
นำเสนอผลการแกป้ ญั หา
5. ใชค้ วามรู้และทักษะเกี่ยวกบั วสั ดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมอื กลไก ไฟฟ้า หรอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์เพือ่ แก้ปัญหาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั

รวมทั้งหมด 5 ตวั ช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน

ว21101 วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ศึกษา วิเคราะห์ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์ การสร้างอาหารของพืช
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ระบบลำเลียงในพืช การลำเลียงน้ำและอาหาร การสืบพันธุ์ ขยายพันธุ์ และ
เทคโนโลยีชีวภาพในการเพิ่มผลผลิตพืช ธาตุและสารประกอบ สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม
การเปลีย่ นแปลงของสาร พลังงานกบั การเปล่ียนแปลงสถานะของสาร

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

ตัวช้วี ัด
ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11,
ม.1/12, ม.1/13, ม.1/14, ม.1/15, ม.1/16, ม.1/17, ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10

รวมทั้งหมด 28 ตัวชี้วดั

ว21102 วิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร พลังงานความร้อน อุณหภูมิและหน่วยวัด
การถ่ายโอนความรอ้ น สมดุลความร้อน การแบ่งชั้นบรรยากาศ ลมฟ้าอากาศรอบตัว อุณหภูมิของอากาศ ความ
กดอากาศ กระบวนการเกิดพายุ การพยากรณ์อากาศ และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก มนุษย์และการ
เปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ ผลกระทบจากมลพษิ ทางอากาศ

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะใน
ศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ี
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม

ตัวชว้ี ัด
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7

รวมทัง้ หมด 15 ตวั ชี้วัด

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ว21201 ของเลน่ เชงิ วิทยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

…………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………….

ศกึ ษา วิเคราะห์ ออกแบบ สรา้ งของเล่นอยา่ งงา่ ยตามแบบท่กี ำหนดให้ ดัดแปลงหรอื ประดษิ ฐ์ของเล่น
ท่ีใช้เคร่อื งกลอย่างงา่ ยหรือหลักการทางไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์อย่างง่าย และอธบิ ายการทำงานของของเลน่
ดว้ ยหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ การแก้ปญั หา สามารถ
ส่อื สารสง่ิ ทเี่ รยี นรู้ สามารถตัดสนิ ใจ นำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและ
คา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ต้ังคำถามเก่ียวกับหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ทส่ี ังเกตได้จากการเล่นของเล่น
2. สังเกตและอธิบายหลักการทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย วงจรไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกสอ์ ย่างงา่ ยที่
ประกอบขึน้ ในของเล่น
3. ตรวจสอบและแกไ้ ขข้อบกพร่องของเครื่องกลอยา่ งง่าย วงจรไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์อยา่ งง่ายที่
ประกอบข้นึ ในของเลน่ ท่ีกำหนด
4. ออกแบบและประดษิ ฐข์ องเล่นโดยใช้เคร่อื งกลอยา่ งง่าย และไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างงา่ ย
5. มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ หลกั การทางวิทยาศาสตรใ์ นของเลน่

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม

ว21202 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………….

ศึกษา วิเคราะห์ ทำกิจกรรม สร้างแรงบันดาลใจในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ลักษณะสำคัญของ
โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทต่าง ๆ การเร่มิ ต้นทำโครงงานวิทยาศาสตร์ดว้ ยการต้ังคำถามและการสืบค้นข้อมูล
การวางแผนและการออกแบบโครงงานวิทยาศาสตร์ การเขียนเค้าของโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ การทำ
โครงงานวิทยาศาสตร์ การเขียนรายงาน และการนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่รู้มีความสามารถในการตัดสินใจ
นำความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. ตัง้ คำถามจากสถานการณ์ตา่ ง ๆ ตามความสนใจ โดยมปี ระเดน็ หรอื ตวั แปรที่สำคัญในการสำรวจ
ตรวจสอบหรือศึกษาได้อย่างครอบคลุมและเช่ือถือได้
2. ออกแบบและวางแผนการสำรวจตรวจสอบ โดยมกี ารกำหนดและควบคุมตัวแปรตา่ ง ๆ กำหนด
นยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ าร เลอื กวิธกี ารสำรวจตรวจสอบเชงิ ปรมิ าณ เชิงคุณภาพท่ไี ดผ้ ลเท่ยี งตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเคร่ืองมือทเี่ หมาะสม รวมถึงจดั ทำเคา้ โครงของโครงงานวิทยาศาสตร์
3. วิเคราะห์และอธิบายผลการทดลองเช่อื มโยงกับสมมตฐิ าน และสถานการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั ได้
4. ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ โดยมขี ัน้ ตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการ
แกป้ ญั หา และนำเสนอไดอ้ ย่างเหมาะสม

รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ว21241 เสรมิ ทกั ษะชวี วทิ ยา กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………….

ศึกษาเกี่ยวกับส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ ศึกษาประเภทโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบ
ภายในเซลล์ ศึกษาการดำรงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลำเลียงสารในพืช การคายน้ำ
การแยกรงควัตถุต่างๆจากใบพชื การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธ์กุ รรม หมู่เลือดระบบABO พฤติกรรมการปรับตัว
ระบบนเิ วศ

โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การ
อภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสาร
สิ่งที่เรียนร้แู ละนำความร้ไู ปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรม และจริยธรรม

ผลการเรียนรู้

1. สามารถอธบิ ายหนา้ ที่สว่ นประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์ และใชง้ านกล้องจลุ ทรรศน์ได้อยา่ งถูกต้อง
2. อภปิ รายและอธิบาย โครงสร้างและหนา้ ท่ขี องส่วนประกอบภายในเซลล์
3. ศกึ ษาสว่ นประกอบของพืชทใี่ ชใ้ นการลำเลียงน้ำ แร่ธาตุ และสว่ นของพชื ทใี่ ช้ลำเลยี งอาหารทพ่ี ืชสรา้ งข้ึน
4. มคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับกลไกการคายนำ้ และปจั จยั ท่ีมีผลต่อการคายนำ้ ของพชื
5. ศึกษาการแยกรงควัตถตุ ่าง ๆ จากใบพชื
6. ศึกษาอทิ ธิพลของแสง และคาร์บอนไดออกไซตท์ มี่ ีต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสงพืช
7. มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื
8. สามารถอธิบายบทบาทของคลอโรฟิลลก์ ับการสร้างอาหารในพืช
9. เขา้ ใจแบบแผนของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมเบือ้ งต้นได้
10. เข้าใจหลักของการจำแนกหมเู่ ลอื ดของระบบ ABO
11. ศึกษาพฤตกิ รรมในพืชท่ีตอบสนองตอ่ แรงโนม้ ถว่ งของโลก
12. สืบค้นขอ้ มลู อภปิ ราย และอธิบายการศกึ ษาทางระบบนเิ วศได้

รวมท้ังหมด 12 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

ว21242 เสริมทกั ษะชวี วทิ ยา กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………….

ศึกษา สืบค้นข้อมูล อธิบาย ปฏิบัติการตามข้อตกลงและระเบียบในการทำปฏิบัติการทางชีววิทยาด้วย
ความปลอดภัย สามารถใช้อุปกรณ์พื้นฐานในห้องปฏิบัติการชีววิทยา สามารถบันทึกผลการทดลองได้อย่าง
ถูกต้อง สามารถใช้กล้องจุลทรรศน์ ศึกษาประเภทโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบภายในเซลล์ด้วยกล้อง
จลุ ทรรศน์ ศกึ ษาการดำรงชีวติ ของพืช กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง การลำเลียงสารในพืช การคายนำ้ การ
แยกรงควัตถุต่างๆจากใบพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ์กรรม หมู่เลือดระบบABO พฤติกรรมการปรับตัว
ระบบนิเวศ

เพ่อื ให้มีทักษะในการทำกิจกรรมเทคนิคปฏบิ ตั ิการทางชีววิทยา การใช้วสั ดุอปุ กรณแ์ ละมีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรเ์ จตคตแิ ละเหน็ คุณคา่ ของวทิ ยาศาสตร์สามารถนำความรู้และหลักการเทคนิค
ปฏิบัตกิ ารทางชีววิทยาไปใชใ้ นการศึกษาค้นควา้ เพ่ิมพนู ความรดู้ ้านชวี วทิ ยาใหก้ ับตนเองตอ่ ไปได้

ผลการเรียนรู้

1. ระบุสว่ นประกอบของกล้องจุลทรรศน์ได้ และมีทักษะในการใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์เพ่ือตรวจสอบ
2. เซลลจ์ ำกสไลด์สดภายใต้กลอ้ งจุลทรรศน์
3. สามารถอธบิ ายหน้าท่ีสว่ นประกอบของกล้องจุลทรรศน์ และใชง้ านกล้องจุลทรรศนไ์ ด้อย่างถูกต้อง
4. สบื คน้ ข้อมูล อภิปรายและอธบิ าย โครงสรา้ ง และหน้าท่ขี องส่วนประกอบภายในเซลล์ท่ศี ึกษาด้วย
5. กล้องจุลทรรศน์
6. สามารถทำสไลด์เพื่อศกึ ษาโครงสรา้ งของราก ลำตน้ ใบพชื และเปรียบเทยี บโครงสร้างดงั กล่าวของ
7. พชื ใบเลย้ี งคแู่ ละพชื ใบเลีย้ งเด่ยี วได้
8. สามารถเตรียมสไลด์เพอื่ ศึกษาลกั ษณะของปากใบภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ได้
9. สลัดและแยกสารสจี ากใบไมไ้ ด้
10. ฝึกหดั สำรวจและเก็บขอ้ มลู ลักษณะทางพนั ธุกรรม
11. ศึกษาวธิ ีการหาหม่เู ลือดระบบ ABO ของตนเอง
12. ศึกษาพฤติกรรมของไมยราบต่ออุณหภูมิและการสัมผัส
13. ศกึ ษาพฤติกรรมความก้าวรา้ วของปลากัด

รวมท้ังหมด 10 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวชิ า
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ว22103 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ศึกษาแนวคิดเชิงคำนวณ การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ
และฟังก์ชัน องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร แนวทางการปฏบิ ตั ิเมอ่ื
พบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ วิธีการสร้างและกำหนดสิทธิความ
เป็นเจ้าของผลงานนำแนวคิดเชงิ คำนวณไปประยุกต์ใชใ้ นการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริง สร้าง
และกำหนดสิทธิ์การใชข้ ้อมูล ตระหนกั ถงึ ผลกระทบในการเผยแพร่ขอ้ มลู

ตวั ช้ีวดั
ว 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
1. ออกแบบอัลกอรทิ มึ ทใ่ี ชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ัญหา หรอื การทำงานที่พบในชวี ิตจริง
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังกช์ นั ในการแก้ปัญหา
3. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีการส่ือสาร เพ่ือ
ประยุกตใ์ ชง้ านหรอื แกป้ ญั หาเบ้ืองต้น
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ในการเผยแพร่
ผลงาน

รวมทัง้ หมด 4 ตวั ชีว้ ัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

ว22104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ศกึ ษาสาเหตุหรอื ปจั จยั ทีท่ ำให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณแ์ นวโน้มเทคโนโลยี
ในอนาคต เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้
ทักษะ และทรัพยากร โดยวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บและเลอื กขอ้ มลู ทจี่ ำเป็นเพื่อออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หาในชุมชน
หรือท้องถิ่นในด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม การเกษตรและอาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการ โดยใช้
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภยั

ตัวช้ีวดั
ว 4.1 เทคโนโลย(ี การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึง
ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนตอ่ ชีวติ สังคม และส่งิ แวดล้อม
2. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล
และแนวคดิ ท่ีเก่ยี วข้องกับปัญหา
3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นภายใต้
เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจ วางแผนขั้นตอนการ
ทำงานและดำเนนิ การแก้ปญั หาอย่างเป็นข้ันตอน
4. ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรอื ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไข พร้อมทั้งหา
แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปญั หา
5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไกไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหา
หรอื พฒั นางานไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

รวมทั้งหมด 5 ตวั ช้วี ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ว22101 วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ศกึ ษา วเิ คราะห์ องคป์ ระกอบของสารละลายและปัจจยั ท่ีมผี ลต่อสภาพละลายได้ และการหา ความ
เข้มข้นของสารละลายที่มีความเข้มขน้ ต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ โครงสรา้ ง การทำงานหนา้ ที่และความสัมพันธ์ของ
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์
การเคลื่อนที่โดยหาตำแหน่งของวัตถุ ระยะทาง และการกระจัด อัตราเร็วและความเร็ว รวมถึงแรงใน
ชีวิตประจำวันแรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงและความดันของของเหลว แรงพยุงของของเหลว โมเมนต์ของแรง
แรงและสนามของแรง

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและ
การอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มคี วามสามารถในการตดั สินใจ
นำความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม สอดคล้องกับ
สภาพการเปลี่ยนแปลงกับสภาพเศรษฐกิจสังคม ปลูกผังให้มีจิตสำนึกในความเป็นไทย และคำนึงถึงความ
พอเพียง เพื่อให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ดำเนินชีวิตตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงและพรอ้ มกา้ วนำสปู่ ระชาคมอาเซียน

ตัวช้ีวัด
ว 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ว 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
ว 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ว 8.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9

รวมท้ังหมด 25 ตัวชี้วัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ว22102 วิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ศกึ ษา วเิ คราะห์ งาน กำลังและพลงั งาน และเครอื่ งกลอย่างง่าย พนื้ เอยี ง คาน รอก ล้อ และเพลา สก

รู ลมิ่ พลงั งานกลคือพลังงานโน้มถว่ งและพลังงานจลน์และกฎการอนุรักษ์พลงั งาน การแยกสารและการนำไปใช้
ประโยชน์ โลกและการเปลี่ยนแปลง โครงสรา้ งภายในโลกและการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลก ดิน ชน้ั ดินและชั้นหน้า
ตัดดิน แหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน ภัยธรรมชาติจากน้ำท่วม แผ่นดินถล่ม และการกัดเซาะชายฝั่ง ภัย
ธรรมชาตจิ ากหลมุ ยุบและแผ่นดนิ ทรดุ แหล่งพลงั งานจากเชอ้ื เพลิงซากดึกดำบรรพ์ พลังงานทดแทน

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและ

การอภปิ ราย เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารสิง่ ที่เรยี นรู้ มีความสามารถใน การ

ตัดสินใจ นำความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงกบั สภาพเศรษฐกิจสังคมปลูกผังให้มจี ติ สำนึกในความเปน็ ไทย และคำนึงถึง

ความพอเพียง เพื่อให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ดำเนินชีวิตตาม

หลักเศรษฐกจิ พอเพียงและพร้อมกา้ วนำสปู่ ระชาคมอาเซียน

ตัวชวี้ ัด
ว 4.1 ม.2/1, ม.2/2
ว 5.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ว 6.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10
ว 8.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9

รวมท้ังหมด 24 ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

I20201 การศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

…………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….

ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคำถามเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก
ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ และ
มีทฤษฎีรองรับ ออกแบบวางแผน รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่ง
เรียนรู้ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ และสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่ง
เรียนรู้อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มกี ระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ โดยใช้ความรู้จาก
สาขาวิชาต่าง ๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ด้วยกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการปฏิบตั ิ เพอื่ ให้เกิดทักษะในการคน้ คว้าแสวงหาความรู้ สังเคราะหส์ รุป อภปิ ราย ผลเปรียบเทียบ
เชื่อมโยงความรู้ ความเป็นมาของศาสตร์ เข้าใจหลักการและวิธีคิดในสิ่งที่ศึกษา เห็นประโยชน์และคุณค่าของ
การศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง

ผลการเรยี นรู้
1. ตั้งประเดน็ ความรู้จากสถานการณ์ปจั จุบันและสังคมโลก
2. ตง้ั สมมตฐิ านและให้เหตผุ ลท่ีสนบั สนุนหรือโต้ยงั ประเดน็ ความรู้ โดยใช้ความรจู้ ากสาขาวิชาต่าง ๆ
และมีทฤษฎีรองรบั
3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสทิ ธิภาพ
4. ศึกษา คน้ คว้า แสวงหาความรู้เก่ยี วกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรูท้ ีม่ ีประสิทธิภาพ
5. ตรวจสอบความนา่ เช่ือถอื ของแหล่งที่มาของข้อมูล
6. วิเคราะห์ข้อคน้ พบด้วยสถติ ทิ ่ีเหมาะสม
7. สังเคราะห์สรปุ องค์ความร้ดู ว้ ยกระบวนการกลุ่ม
8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบด้วยองค์ความรู้จากการคน้ พบ

รวมทั้งหมด 8 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม

I20202 การสื่อสารและการนำเสนอ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

…………………………………………………………………………………........…………………………………………………………………

ศึกษาวิเคราะห์ ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคำถามเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก

ตง้ั สมมตฐิ านและให้เหตุผลที่สนบั สนุนหรือโต้แยง้ ประเด็นความรู้ โดยใชค้ วามร้จู ากศาสตรส์ าขาต่าง ๆ และมี

ทฤษฏีรองรับ ออกแบบวางแผน รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่ง

เรียนรู้ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ และสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่ง

เรียนรู้อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม

สงั เคราะห์สรุปองคค์ วามรู้รว่ มกัน มีกระบวนการกลุม่ ในการวพิ ากษ์ แลกเปล่ียนความคดิ เห็นโดยใชค้ วามรจู้ าก

สาขาวิชาต่าง ๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ด้วยกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา

กระบวนการปฏิบตั ิ เพ่ือใหเ้ กิดทักษะในการคน้ คว้าแสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรปุ อภปิ ราย ผลเปรียบเทียบ

เชื่อมโยงความรู้ ความเปน็ มาของศาสตร์ เขา้ ใจหลกั การและวิธีคิดในสิ่งท่ีศึกษา เหน็ ประโยชน์และคุณค่าของ

การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง

ผลการเรียนรู้
1. วางโครงร่างการเขียนได้ตามหลกั เกณฑ์ องค์ประกอบและวธิ ีการเขียนโครงรา่ ง
2. เขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้าเชงิ วิชาการภาษาไทย ความยาว 2,500 คำ
3. นำเสนอข้อคน้ พบ ข้อสรุปจากประเดน็ ทเี่ ลอื กในรปู แบบเดี่ยว(Oral individual presentation)
หรือกล่มุ (Oral panel presentation)โดยใชส้ ือ่ อปุ กรณ์ในการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
4. เผยแพรผ่ ลงานสูส่ าธารณะ
5. เห็นประโยชน์และคณุ ค่าในการสรา้ งสรรค์งานและถา่ ยทอดสง่ิ ทเ่ี รียนรแู้ กส่ าธารณะ

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม

I20903 การนำความรู้ไปใช้บริการสงั คม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน - หน่วยกิต

............................................................................................................................. .................................................

เปน็ กจิ รรมท่ีนำความรู้ หรือประยุกต์ใช้ความรจู้ ากองค์ความรู้ท่ีได้ศึกษาค้นคว้า และเรียนรู้จากรายวิชา
เพิ่มเติม (IS1 , IS2) ไปสู่การปฏิบัติ โดยการสร้างสรรค์ โครงงาน/โครงการต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
สาธารณะ หรือบริการสังคม ชุมชน ประเทศหรือสังคมโลก มีการกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ วางแผนการ
ทำงาน และตรวจสอบความก้าวหน้า วิเคราะห์ วิจารณ์ผลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม หรือโครงงาน/โครงการ
โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมที กั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นกจิ กรรมจติ อาสาทไี่ มม่ คี ่าจ้างตอบ

ผลการเรียนรู้
1. วิเคราะห์องค์ความรู้จากการเรียนใน IS1 และ IS2 เพื่อกำหนดแนวทางไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
ต่อสังคม (Public service)
2. เขียนเปา้ หมาย/วัตถปุ ระสงค์ เคา้ โครง กิจกรรม/โครงงานและแผนปฏบิ ัตโิ ครงงาน/โครงการ
3. ปฏบิ ัตติ ามแผนและตรวจสอบความกา้ วหน้าทางการปฏบิ ตั ิโครงงาน/โครงการ
4. รว่ มแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วพิ ากษ์ การปฏบิ ตั โิ ครงงาน/โครงการ
5. สรุปผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม/โครงงาน/โครงการ และแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น ต่อผลการปฏิบัติงาน
หรือกิจกรรม ซึ่งแสดงถึงการตระหนักรู้ มีสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การดำเนิน
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ สามารถปรับให้เหมาะสมกับความสนใจ ระดับชั้นของผู้เรียน
และบริบทความพร้อมของสถานศึกษาแต่ละแห่ง

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวชิ า
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

ว23103 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

......................................................................................................... .....................................................................

ศึกษาขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนา
แอปพลิเคชัน ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผล ซอฟต์แวร์
หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล การประเมินการความน่าเชื่อถือของข้อมูล การสืบค้นหา
แหล่งต้นตอของข้อมูลเหตุผลวิวัติ ผลกระทบจากข่าวสารที่ผิดพลาด การรู้เท่าทันสื่อ กฎหมายที่เกี่ยวกับ
คอมพวิ เตอร์ การใช้ลขิ สทิ ธ์ิของผู้อ่ืนโดยชอบธรรมรวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิหรอื ทตุ ยิ ภูมิ ประมวลผล สรา้ งทางเลือก
และนำเสนอการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพออกแบบและเขียนโปรแกรม เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน ที่มี
การบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน และมีความรับผิดชอบต่อ
สงั คม

ตวั ช้วี ัด
ว 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
1. พฒั นาแอปพลเิ คชนั ทม่ี ีการบูรณาการกับวชิ าอนื่ อยา่ งสรา้ งสรรค์
2. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้
ซอฟตแ์ วรห์ รอื บรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ น็ตท่หี ลากหลาย
3. ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้
งานอย่างรเู้ ท่าทนั
4. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัยและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ปฏิบตั ิตามกฎหมายเกี่ยวกับ
คอมพวิ เตอร์ ใชล้ ขิ สิทธขิ์ องผ้อู นื่ โดยชอบธรรม

รวมท้งั หมด 4 ตวั ชี้วดั

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

ว23104 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

............................................................................................ ..................................................................................

ศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของ
เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อสรุปกรอบของ
ปัญหาเปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จำเป็น โดยคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญ หาใน
งานอาชีพด้านการเกษตร อาหาร พลังงานและขนส่ง โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้
วัสดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งมือ กลไก ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในการแก้ปญั หาได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั

ตัวชีว้ ดั
ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของ
เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหา
หรอื พัฒนางาน
2. ระบุปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบของปัญหา
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา โดยคำนึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สิน
ทางปัญญา
3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นภายใต้
เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการท่ี
หลากหลาย วางแผนข้ันตอนการทำงานและดำเนินการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นขั้นตอน
4. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้กรอบ
เงอื่ นไข พรอ้ มทัง้ หาแนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปญั หา
5. ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับ
ลกั ษณะของงาน และปลอดภยั เพ่ือแกป้ ญั หาหรือพฒั นางาน

รวมทัง้ หมด 5 ตวั ชวี้ ดั

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

ว23101 วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
ศึกษา อธิบาย สร้างแบบจำลอง ตระหนักถึง บอก เปรียบเทียบ ระบุ วิเคราะห์ ออกแบบองค์ประกอบ

ของระบบนิเวศ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งที่อยู่เดียวกัน การ
อธบิ ายการถ่ายทอดพลังงานในสายอาหาร ความสมั พนั ธ์ของผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และผู้ย่อสลายสารอินทรีย์ในระบบ
นเิ วศ ความสมั พันธข์ องสงิ่ มชี วี ติ และส่ิงแวดลอ้ มในระบบนเิ วศ

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ยีน ดีเอน็ เอ และโครโมโซม การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม การเปลีย่ นแปลง
ของยีนหรือโครโมโซมอาจทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรม การใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความ
หลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง ๆ คุณค่าและความสำคัญของความหลากหลาย
ทางชีวภาพ

การเกดิ คล่ืนและส่วนประกอบของคลื่น คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและสเปกตรัมคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์
และอันตรายจากคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าอนั ตรายจากคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ในชวี ิตประจำวัน

กฎการสะท้อนของแสง การเคลื่อนที่ของแสง การเกิดภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสงเมื่อผ่าน
ตวั กลางโปร่งใสท่ ี่แตกต่างกนั การกระจายแสงของแสงขาวเมอ่ื ผา่ นปริซึม การเคลอ่ื นที่ของแสงแสดงการเกิดภาพ
จากเลนส์บาง ปรากฏการณท์ ่ีเกี่ยวกับแสงและการทำงานของทัศนอปุ กรณ์ ความสว่างท่ีมีผลตอ่ ดวงตา

การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถว่ ง การเกิดฤดู และการเคลื่อนทีป่ รากฏของดวง
อาทติ ย์ การเกิดข้างขนึ้ ข้างแรม การเปลีย่ นแปลงเวลาการขึน้ และตกของดวงจนั ทร์ และการเกิดน้ำขึน้ น้ำลง การ
ใช้ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ ความกา้ วหนา้ ของโครงการสำรวจอวกาศ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
บันทึกจัดกลุ่มข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอข้อมูลสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม
จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ตัวช้วี ดั ว 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6

ว 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11,
ม.3/12, ม.3/13

ว 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3

รวมทั้งหมด 22 ตัวช้ีวัด

คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ว23102 วิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษา วิเคราะห์ เขียนแผนภาพ อธิบาย คำนวณ สร้างแบบจำลอง ออกแบบการทดลอง ทดลอง วัด
ความสว่าง ยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหวา่ งความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและความต้านทาน การต่อตัวต้านทาน
แบบอนกุ รมและแบบขนาน การทำงานของชิน้ สว่ นอิเล็กทรอนิกส์อยา่ งง่ายในวงจร การหาคา่ พลงั งานไฟฟ้า การ
คำนวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน คุณค่าของการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยนำเ สนอวิธีการใช้
เครือ่ งใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย

สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชนว์ สั ดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามกิ และวัสดุผสม คณุ ค่าของการใช้
วัสดุประเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ และวสั ดผุ สม

การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาดูดความร้อนและปฏิกิริยาคายความร้อน จากการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ความร้อนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดและเบส
และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ ปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง ประโยชน์และโทษ
ของปฏกิ ิริยาเคมีท่มี ีตอ่ สิ่งมชี ีวิตและสิ่งแวดล้อม การอธบิ ายผลของชนิดตัวละลายชนิดของตัวทำละลาย อณุ หภูมิ
ที่มีตอ่ สภาพละลายไดข้ องสาร ปริมาณตวั ละลายในสารละลาย การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง
และปลอดภัย

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
บนั ทึกจดั กลุม่ ข้อมูล เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถนำเสนอข้อมลู สื่อสารสง่ิ ท่เี รยี นรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันมีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม
จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

ตวั ช้ีวดั
ว 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8
ว 2.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11,
ม.3/12, ม.3/13, ม.3/14, ม.3/15, ม.3/16, ม.3/17, ม.3/18, ม.3/19, ม.3/20, ม.3/21

รวมท้ังหมด 29 ตัวชี้วัด

คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม

ว23201 เชื้อเพลิงเพ่ือการคมนาคม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง องค์ประกอบและประเภทของปิโตรเลียม หินต้นกำเนิดและแหล่งกักเก็บ
ปิโตรเลียม การสำรวจและแหล่งปิโตรเลียม ผลกระทบและแนวทางแก้ไขที่เกิดจากการสำรวจและการผลิต
ปิโตรเลียม การแยกก๊าซธรรมชาติ การกลั่นน้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์จากก๊าซธรรมชาติและจากการกลั่นน้ำมันดิบ
และการใช้ประโยชน์ ผลกระทบจากกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมและแนวทางแก้ไข สถานการณ์
พลังงานของโลกและของประเทศไทย การใช้พลังงานดา้ นการคมนาคมของประเทศไทย การกำหนดราคาน้ำมนั
เชื้อเพลิง ผลกระทบและแนวทางการแก้ไขผลจากการใช้เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม เชื้อเพลิงที่เป็นพลังงาน
ทดแทน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่งิ ท่รี ู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและ
ค่านยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้

1. อธบิ ายความสำคัญและการกำเนดิ ของปโิ ตรเลียม กา๊ ซธรรมชาติ ถ่านหินและหนิ นำ้ มนั
2. อธิบายแหลง่ การสำรวจและปรมิ าณสำรองของปิโตรเลียมและแกส๊ ธรรมชาติ
3. อธิบายผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเลยี มและการนำไปใชป้ ระโยชน์
4. นำเสนอแนวทางการใชป้ โิ ตรเลยี มและก๊าซธรรมชาติ อย่างประหยัดและถูกวิธี
5. อธิบายโครงสร้างราคาและวิเคราะห์สถานการณก์ ารใช้นำ้ มนั เช้อื เพลงิ เพื่อการคมนาคม
6. อธิบายประเภทและการใชป้ ระโยชน์ จากเชื้อเพลงิ ทเี่ ปน็ พลงั งานทดแทน

รวมทั้งหมด 6 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ว23202 พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………….

ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง ตรวจสอบ เกี่ยวกับพลังงานน้ำ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน
ชีวมวล และพลงั งานนิวเคลียร์ เพื่อให้มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับหลกั การทางวิทยาศาสตรข์ องพลังงานดังกล่าว
และการนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทดแทน ตระหนักถึงความสำคัญ บทบาท และผลกระทบของพลังงาน
เหลา่ น้นั ท่ีมีตอ่ มนุษย์และสิง่ แวดลอ้ ม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่ง
ที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม และ
ค่านยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. เขียนบรรยายและยกตัวอยา่ งความสำคัญของพลังงานทดแทน
2. เขียนสรปุ หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ ในการนำพลังงานน้ำ พลังงานลม พลงั งานแสงอาทิตย์ พลังงานชีว
มวลและพลงั งานนวิ เคลยี ร์ ไปใชป้ ระโยชน์
3. เขียนบรรยายและยกตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชน์พลงั งานน้ำ พลงั งานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีว
มวลและพลงั งานนวิ เคลียร์ ในประเทศไทย
4. เขยี นสรุปขอ้ ดี ขอ้ จำกดั และแนวทางการพัฒนาในการนำพลงั งานน้ำ พลงั งานลม พลงั งานแสงอาทิตย์
พลงั งานชวี มวลและพลงั งานนิวเคลียร์ ไปใชป้ ระโยชน์

รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้

รายวชิ าพื้นฐานและเพม่ิ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

รายวชิ าพ้ืนฐาน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4

ว31171 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต
1.0 หนว่ ยกิต
ว31172 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ
0.5 หน่วยกติ
ว31101 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 1 จำนวน 40 ชว่ั โมง 0.5 หน่วยกติ

ว31102 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 2 จำนวน 20 ชว่ั โมง

ว31103 วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคมี1) จำนวน 20 ชว่ั โมง

รายวชิ าเพ่มิ เติม ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต
ว31263 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกิต
ว31264 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 2 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ
ว31201 ฟสิ ิกส์ 1 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ
ว31202 ฟิสิกส์ 2 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว31221 เคมี 1 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ
ว31222 เคมี 2 จำนวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกติ
ว31241 ชีววิทยา 1 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต
ว31242 ชีววิทยา 2 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกติ
ว31243 โภชนาการและสขุ ภาพ จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกติ
ว31244 การเสริมสรา้ งชีวติ พลังบวก จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต
ว31263 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 จำนวน 40 ช่วั โมง 1.0 หน่วยกิต
ว31264 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 2 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต
ว31271 การสรา้ งตัวละคร 3D จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต
ว31272 Internet of Things (IoT)

รายวชิ าพ้นื ฐาน ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

ว32171 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต
1.0 หนว่ ยกิต
ว32172 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี จำนวน 40 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
1.0 หน่วยกติ
ว32162 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ จำนวน 60 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต
ว32101 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ (เคมี2) จำนวน 40 ชว่ั โมง

ว32102 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ 1 จำนวน 40 ชั่วโมง

รายวชิ าเพิ่มเติม ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต
จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกติ
ว32261 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 3 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ
ว32201 ฟิสิกส์ 3 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต
ว32202 ฟสิ ิกส์ 4 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ
ว32221 เคมี 3 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ
ว32222 เคมี 4 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกติ
ว32241 ชวี วทิ ยา 3 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ
ว32242 ชีววทิ ยา 4 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต
I30201 การศกึ ษาคน้ คว้าและสรา้ งองค์ความรู้ จำนวน 20 ชั่วโมง - หนว่ ยกติ
I30202 การส่ือสารและการนำเสนอ
I30903 การนำความรู้ไปใชบ้ รกิ ารสังคม 1.0 หน่วยกติ
1.0 หน่วยกติ
รายวชิ าพื้นฐาน ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 1.5 หนว่ ยกิต
1.5 หน่วยกิต
ว33171 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) จำนวน 40 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกิต
0.5 หนว่ ยกติ
ว33172 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี จำนวน 40 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกติ
1.0 หนว่ ยกติ
ว33121 ฟิสิกสพ์ น้ื ฐาน จำนวน 60 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกติ
ว33131 เคมีพ้นื ฐาน จำนวน 60 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต
1.5 หน่วยกติ
ว33141 ชีววทิ ยาพน้ื ฐาน จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หนว่ ยกิต
1.5 หน่วยกิต
ว33101 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 2 จำนวน 20 ชว่ั โมง

ว33102 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ฟิสิกส์ 1) จำนวน 20 ชั่วโมง

ว33104 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ฟสิ ิกส์ 2) จำนวน 40 ชว่ั โมง

รายวิชาเพ่ิมเติม ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 40 ชว่ั โมง
จำนวน 40 ชว่ั โมง
ว33261 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 4 จำนวน 60 ชั่วโมง
ว33262 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 5 จำนวน 60 ชว่ั โมง
ว33201 ฟสิ ิกส์ 5 จำนวน 60 ชว่ั โมง
ว33221 เคมี 5
ว33241 ชีววทิ ยา 5

คำอธบิ ายรายวชิ า
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

ว31171 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

............................................................................................................................. ...............................................

ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคำนวณ การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา การหารูปแบบการ

คิดเชิงนามธรรม ตัวอยา่ งและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคำนวณเพื่อแกป้ ัญหาในชวี ิตประจำวนั ประยุกต์ใช้แนวคิด

เชิงคำนวณในการออกแบบขนั้ ตอนวิธสี ำหรับแก้ปัญหา การแกป้ ญั หาดว้ ยคอมพิวเตอร์ การระบุขอ้ มูลเข้า ข้อมูล

ออก และเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบขั้นตอนวิธี การทำซ้ำการจัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการ

ออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาตัวอย่างโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การ

กำหนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดำเนินงาน สรุปผลและเผยแพร่ในการพัฒนาโครงงานที่มีการบรู ณาการรว่ มกบั

วิชาอนื่ และเชื่อมโยงกบั ชวี ติ จริง

ตวั ช้วี ดั
ว 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
1. ประยกุ ต์ใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงานทมี่ ีการบูรณาการกบั วิชาอนื่ อย่างสร้างสรรค์
และเชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ จริง

รวมท้ังหมด 1 ตัวชีว้ ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ว31172 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

............................................................................................................................. ...............................................

ศึกษา วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีที่เกิดข้ึน

และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ออกแบบ สร้างหรือพัฒนาผลงานสำหรับแก้ปัญหาที่คำนึงถึง

ผลกระทบต่อสังคมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ และการบริการ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ซึ่งใช้ความรู้ทักษะ และเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง

ถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั คำนึงถึงทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาใชซ้ อฟตแ์ วร์ช่วยในการออกแบบ และนำเสนอผลงาน

ตัวช้ีวัด

ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

1. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธก์ ับศาสตรอ์ น่ื โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือ
คณิตศาสตร์ รวมทั้งประเมนิ ผลกระทบท่ีจะเกดิ ข้ึนต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และส่งิ แวดล้อม เพ่ือ
เปน็ แนวทางในการ พัฒนาเทคโนโลยี

2. ระบุปญั หาหรือความต้องการทม่ี ีผลกระทบตอ่ สงั คม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมลู และแนวคิดท่ี
เกย่ี วขอ้ งกับปญั หาทม่ี ีความซับซอ้ นเพอื่ สังเคราะห์วธิ กี าร เทคนิคในการแก้ปญั หา โดยคำนงึ ถงึ
ความถกู ตอ้ งด้านทรัพย์สนิ ทางปญั ญา

3. ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา โดยวเิ คราะห์เปรียบเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมลู ท่ีจำเปน็ ภายใต้
เงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมอี ยู่ นำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจดว้ ยเทคนิคหรือวธิ กี ารท่ี
หลากหลายโดยใช้ซอฟต์แวรช์ ่วยในการออกแบบ วางแผนข้ันตอนการทำงานและดำเนนิ การ
แกป้ ัญหา

4. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพรอ่ งท่ีเกิดข้นึ ภายใต้กรอบเง่ือนไข
หาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปญั หา พร้อมท้ังเสนอแนวทางการพฒั นาต่อ
ยอด

5. ใชค้ วามร้แู ละทักษะเก่ียวกับวัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื กลไก ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และเทคโนโลยี
ที่ซบั ซอ้ นในการแกป้ ญั หาหรือพฒั นางาน ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ว31101 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

............................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ ระบบนิเวศ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์สัมพันธ์

กับการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุม้ เซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของ

ร่างกาย เช่น ดุลภาพของน้ำ และสารในเลือด ผ่านการทำงานของไต ดุลยภาพของกรด-เบส โดยการทำงาน

ของไตและปอด ดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย โดยการทำงานหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และกล้ามเนื้อ

โครงสร้าง การตอบสนองของร่างกายแบบจำเพาะ ไม่จำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอมของร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกัน

ภูมิคุ้มกันบกพร่องจากสาเหตุ HIV สารอาหารที่พืชสังเคราะห์แสง ปัจจัยภายนอกและภายในที่มีผลต่อการ

เจริญเติบโตของพืช สารที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นเพื่อประยุกต์ใช้ในการเกษตรของพืช และการตอบสนองสิ่งเร้าใน

รูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีมผี ลต่อการเจริญเตบิ โตของพืช

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสำรวจ

ตรวจสอบ การทดลอง การแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งทีเ่ รยี นรู้และนำความรู้ไป

ใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต คิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม

จริยธรรมและค่านิยมทเ่ี หมาะสม

ตวั ชว้ี ัด
ว 1.2 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8, ม.4/9, ม.4/10, ม.4/11, ม.4/12

รวมท้ังหมด 12 ตัวช้ีวดั

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

ว31102 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

............................................................................................................................. ...............................................

ศึกษา วิเคราะห์ ระบบนิเวศ ความหลากหลายของระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ชนิดของ

ระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต ปัญหาการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการ

ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม การ

ถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ และมัลติเปิลแอลลีล การเปลี่ยนแปลงของลำดับนิ

วคลโี อไทดใ์ น DNA การเกดิ มวิ เทชนั เทคโนโลยที าง DNA ทม่ี ีผลตอ่ มนษุ ยแ์ ละสิ่งแวดล้อม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสำรวจ

ตรวจสอบ การทดลอง การแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสือ่ สารสิ่งที่เรยี นรู้และนำความรู้ไป

ใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต คิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์

มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมทเ่ี หมาะสม

ตวั ชี้วัด
ว 1.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4
ว 1.3 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6

รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

ว31103 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (เคมี 1) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

............................................................................................................................. ...............................................

ศกึ ษาธาตแุ ละสารประกอบ โครงสรา้ งอะตอม แบบจำลองอะตอม อนภุ าคมลู ฐานของอะตอม สัญลักษณ์

นิวเคลียร์ของธาตุ ไอโซโทป ตารางธาตุและสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ พันธะเคมี สารละลาย อิเล็กโทรไลต์

และสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิตลั

เทคโนโลยสี ารสนเทศในการแก้ปญั หาหรอื เพิม่ มูลคา่ ให้กับบริการหรือผลติ ภัณฑ์ที่ใชใ้ นชีวิตจรงิ อยา่ งสรา้ งสรรค์

โดยใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื ค้นขอ้ มูล การสงั เกต การ

วเิ คราะห์ การอธบิ าย การอภิปรายและสรุป เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ มีความสารถในการตัดสนิ ใจ

ส่อื สารสง่ิ ทเ่ี รยี นรนู้ ำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ เหน็ คณุ คา่ ของวิทยาศาสตร์ มจี รยิ ธรรม

คณุ ธรรมและคา่ นิยมที่เหมาะสม

ตัวช้ีวดั
ว 2.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10, ม.5/11, ม.5/12,
ม.5/13

รวมทั้งหมด 13 ตวั ช้วี ดั

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ว31263 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

............................................................................................................................. ...............................................

ศึกษาวิเคราะห์ อธิบาย การค้นหาความรู้เกี่ยวกับการแบ่งช้ันและสมบตั ิโครงสร้างโลก รอยต่อระหวา่ ง

ชั้นโครงสร้างพรอ้ มหลักฐานสนับสนุน ทฤษฎีการแปรสัณฐานธรณี ลำดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวทิ ยา สาเหตุ กา

ระบวนการเกิดและวิธีป้องกันภัยจากแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด และสึนามิ การระบุชนิดของหินสมบัติของหิน

และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรหิน การสำรวจปิโตรเลียมและถ่านหิน สมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก

ปโิ ตรเลยี มและถ่านหิน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล

อภิปรายการสำรวจตรวจสอบ การสังเกต การทดลองและการใช้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์รวมถึงผลต่อ

ส่งิ มชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารสิ่งที่เรียนรู้ มคี วามสามารถ

ในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ี

เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายการแบ่งช้นั และสมบัติของโครงสร้างโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมลู ที่สนับสนนุ
2. อธิบายหลักฐานทางธรณวี ทิ ยาทส่ี นับสนุนการเคลื่อนทขี่ องแผน่ ธรณี
3. ระบุสาเหตแุ ละอธิบายแนวรอยต่อของแผน่ ธรณีที่สัมพนั ธ์กับการเคลื่อนท่ีของแผน่ ธรณี พร้อม
ยกตวั อยา่ งหลกั ฐานทางธรณีวิทยาที่พบ
4. วิเคราะหห์ ลักฐานทางธรณีวทิ ยาท่พี บในปจั จบุ นั และอธิบายลำดบั เหตุการณ์ ทางธรณีวิทยาในอดีต
5. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิดภเู ขาไฟระเบิดและปจั จยั ท่ีทำใหค้ วามรนุ แรงของการปะทุและรปู รา่ ง
ของภูเขาไฟแตกตา่ งกนั รวมทง้ั สืบคน้ ข้อมูลพนื้ ทีเ่ สย่ี งภยั ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวัง
และการปฏิบตั ติ นให้ปลอดภัย
6. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผ่นดนิ ไหว รวมทั้งสบื ค้นขอ้ มลู
พ้ืนทีเ่ สีย่ งภัย ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏบิ ัติตนให้ปลอดภัย
7. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสนึ ามิ รวมท้ังสืบค้นขอ้ มลู พ้ืนที่เสี่ยงภยั ออกแบบและ
นำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัย
8. ตรวจสอบ และระบุชนิดแร่ รวมทั้งวเิ คราะหส์ มบัติและนำเสนอการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแรท่ ี่
เหมาะสม
9. ตรวจสอบ จำแนกประเภท และระบุช่ือหนิ รวมท้ังวเิ คราะห์สมบัตแิ ละนำเสนอการใชป้ ระโยชนข์ อง
ทรพั ยากรหนิ ท่เี หมาะสม
10. อธิบายกระบวนการเกดิ และการสำรวจแหล่งปโิ ตรเลียมและถา่ นหิน โดยใชข้ ้อมลู ทางธรณีวิทยา
11. อธิบายสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ีไดจ้ ากปโิ ตรเลยี มและถา่ นหนิ พร้อมนำเสนอการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ ง
เหมาะสม

12. อา่ นและแปลความหมายจากแผนทีภ่ ูมิประเทศและแผนท่ธี รณีวิทยาของพ้ืนท่ี ทก่ี ำหนดพร้อมท้งั
อธบิ ายและยกตัวอยา่ ง การนำไปใช้ประโยชน์

รวม 12 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

ว31264 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

............................................................................................................... .............................................................

ศกึ ษาวิเคราะห์ อธบิ าย การค้นหาความรเู้ กี่ยวกบั การรบั และคายพลงั งานจากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิของ

อากาศในแต่ละบริเวณของโลก กระบวนการที่ทำให้เกิดสมดุลพลังงานของโลก ความแตกต่างของความกด

อากาศ แรงคอริออลิส แรงสู่ศูนย์กลางและแรงเสียดทานที่มีต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของ

อากาศตามเขตละติจดู และผลท่ีมีต่อภมู ิอากาศ การหมนุ เวยี นของน้ำในมหาสมทุ รและรูปแบบการหมุนเวียนของ

น้ำในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสบื คน้ ข้อมลู อภปิ รายการสำรวจตรวจสอบ การสังเกต การทดลองและการ

ใช้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์รวมถึงผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ

สามารถสื่อสารสิ่งทีเ่ รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์

จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายปัจจยั สำคัญที่มีผลตอ่ การรบั และคายพลังงานจากดวงอาทติ ยแ์ ตกต่างกนั และผลทมี่ ตี ่อ
อณุ หภมู ขิ องอากาศในแต่ละบรเิ วณของโลก
2. อธิบายกระบวนการที่ทำให้เกิดสมดลุ พลงั งานของโลก
3. อธบิ ายผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส แรงส่ศู ูนย์กลางและ
แรงเสยี ดทานท่ีมตี ่อการหมนุ เวยี นของอากาศ
4. อธบิ ายการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละตจิ ูดและผลทม่ี ีต่อภูมอิ ากาศ
5. อธิบายปจั จยั ท่ีทำใหเ้ กิดการแบง่ ชนั้ นำ้ ในมหาสมทุ ร
6. อธบิ ายปัจจยั ท่ที ำให้เกดิ การหมนุ เวยี นของนำ้ ในมหาสมุทรและรูปแบบการหมุนเวยี นของน้ำใน
มหาสมุทร
7. อธบิ ายผลของการหมนุ เวียนของน้ำในมหาสมุทรที่มตี อ่ ลักษณะลมฟ้าอากาศ สง่ิ มชี วี ติ และ
สิ่งแวดล้อม

รวม 7 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

ว31201 ฟิสกิ ส์ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

............................................................................................................................................................................

ศึกษาวิเคราะห์ อธิบาย การค้นหาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของฟิสิกส์ การค้นคว้าความรู้ทางฟิสิกส์

พฒั นาการของหลกั การและแนวคิดทางฟิสิกส์ ผลของพัฒนาการทางฟสิ ิกสท์ ่ีมผี ลตอ่ การแสวงหาความรใู้ หม่

และการพฒั นาเทคโนโลยี การวัดและการบันทึกผลการวัดปรมิ าณทางฟิสกิ ส์ ระบบหนว่ ยระหว่างชาติ สัญ

กรณ์วิทยาศาสตร์ ความไม่แน่นอนในการวัด เลขนัยสำคัญ การบันทึกผลการคำนวณ การทดลองทางฟิสิกส์

การรายงายความคลาดเคลื่อน การวิเคราะห์ผลการทดลอง การเคลื่อนที่แนวตรง ตำแหน่ง การกระจัดและ

ระยะทาง อัตราเร็วและความเรว็ อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉล่ีย อัตราเร็วขณะหนึง่ และความเรว็ ขณะหน่ึง

ความเร่ง ความเร่งเฉลี่ย ความเร่งขณะหนึ่ง กราฟของการเคลื่อนที่แนวตรง กราฟระหว่างตำแหน่งกับเวลา

กราฟระหว่างความเร็วกับเวลา และกราฟระหว่างความเร่งกับเวลา สมการสำหรับการเคลื่อนที่แนวตรง การ

เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว การตกแบบเสรี แรงและกฎการเคลื่อนที่ แรง

ลักษณะของแรง แผนภาพวัตถุอิสระ แรงบางชนิดที่ควรรู้ การหาแรงลัพธ์ การหาแรงลัพธ์โดยวิธีการเขียน

เวกเตอร์ของแรง การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์โดยการคำนวณ มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ มวล

และความเฉื่อย กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงเสียดทาน แรงดึงดูดระหว่างมวล กฎความโน้มถ่วงสากล

สนามโน้มถ่วง แรงโน้มถ่วงและน้ำหนัก การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสบื ค้นข้อมลู อภปิ รายการสำรวจตรวจสอบ การสังเกต การทดลองและการ

ใช้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์รวมถึงผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ

สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั มีจิตวิทยาศาสตร์

จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. สืบค้น และอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของ
หลกั การและแนวคิดทางฟสิ ิกส์ท่มี ีผลตอ่ การแสวงหาความรใู้ หมแ่ ละการพัฒนาเทคโนโลยี
2. วัด และรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟสิ ิกส์ไดถ้ ูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคล่ือนในการวัด
มาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปล
ความหมายจากกราฟเสน้ ตรง
3. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ
เคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่ง
โนม้ ถว่ งของโลก และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
4. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลพั ธ์ของแรงสองแรงท่ีทำมมุ ต่อกนั

5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระ ทดลอง และอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและ
การใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี
เก่ียวขอ้ ง

6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณ
ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง

7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุด
นิ่งและวตั ถุเคล่อื นท่ี รวมทงั้ ทดลองหาสัมประสทิ ธ์คิ วามเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สมั ผัสของวตั ถุคูห่ นึ่ง ๆ
และนำความรู้เรอื่ งแรงเสียดทานไปใช้ในชวี ิตประจำวัน

รวม 7 ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว31202 ฟสิ ิกส์ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

........................................................................................................................ ......................................................

ศึกษาหลักการของกลศาสตร์ในเรื่องสมดุลกลและเงื่อนไขที่ทำให้วัตถุหรือระบบอยู่ในสมดุลกล

ศูนย์กลางมวลของวัตถุและผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของวัตถุ งาน พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างงาน

และพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานโน้มถ่วง และความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของแรงที่ใช้ดงึ

สปริงกับระยะที่สปริงยืดออก แรงอนุรักษ์ กฎการอนุรักษ์พลังงาน กำลัง เครื่องกลอย่างง่าย ประสิทธิภาพและ

การไดเ้ ปรียบเชิงกลของเครื่องกลอยา่ งงา่ ยบางชนิด โมเมนตมั การชนกนั ของวัตถุในหน่ึงมิติ การดล แรงดล และ

กฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตัม การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์ และการเคลื่อนทีแ่ บบวงกลมในระนาบระดับ

โดยการสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ

มคี วามสามารถในการตัดสินใจ มีทกั ษะปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ รวมท้ังทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ใน

ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ

นำความรูไ้ ปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายสมดลุ กลของวัตถุ โมเมนตแ์ ละผลรวมของโมเมนต์ทม่ี ตี อ่ การหมนุ แรงคู่ควบและผลของแรง
คู่ควบท่ีมีต่อสมดุลของวตั ถุ เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุอสิ ระเม่ือวัตถุอย่ใู นสมดลุ กล
และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง รวมทั้งทดลองและอธบิ ายสมดลุ ของแรงสามแรง
2. สงั เกตและอธิบายสภาพการเคล่อื นที่ของวัตถุ เมอ่ื แรงกระทำต่อวัตถผุ ่านศนู ยก์ ลางมวลของวัตถุ
และผลของศนู ยถ์ ว่ งท่มี ีต่อเสถยี รภาพของวัตถุ
3. วเิ คราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตวั จากสมการและพ้ืนทีใ่ ตก้ ราฟความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงกบั
ตำแหนง่ รวมท้ังอธบิ ายและคำนวณกำลังเฉลยี่
4. อธิบายและคำนวณพลงั งานจลน์ พลงั งานศกั ย์ และพลงั งานกล ทดลองหาความสมั พันธร์ ะหว่างงาน
กับพลังงานจลน์ ความสมั พนั ธ์ระหว่างงานกบั พลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของ
แรงท่ใี ช้ดึงสปริงกับระยะทส่ี ปรงิ ยืดออกและความสัมพนั ธร์ ะหว่างงานกับพลงั งานศักยย์ ดื หย่นุ
รวมทั้งอธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์และพลังงานจลน์ และคำนวณงานท่ีเกดิ ขน้ึ
จากแรงลพั ธ์
5. อธบิ ายกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล รวมท้ังวเิ คราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การ
เคลื่อนท่ีของวัตถุในสถานการณต์ า่ ง ๆ โดยใช้กฎการอนรุ ักษพ์ ลังงานกล
6. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพและการไดเ้ ปรียบเชงิ กลของเครื่องกลอยา่ งง่ายบางชนิด โดยใช้
ความรเู้ รอื่ งงานและสมดุลกล รวมทั้งคำนวณประสิทธภิ าพและการไดเ้ ปรียบเชิงกล
7. อธบิ าย และคำนวณโมเมนตัมของวตั ถุ และการดลจากสมการและพ้ืนท่ใี ต้กราฟความสมั พันธ์
ระหวา่ งแรงลพั ธก์ ับเวลา รวมท้ังอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแรงดลกบั โมเมนตมั

8. ทดลอง อธบิ ายและคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วกบั การชนของวัตถุในหน่งึ มติ ิท้ังแบบยืดหยนุ่ ไม่
ยืดหย่นุ และการดดี ตัวแยกจากกันในหน่ึงมติ ซิ ึง่ เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตมั

9. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ และ
ทดลองการเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์

10. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงสูศ่ นู ย์กลาง รัศมขี องการเคลอื่ นที่ อตั ราเร็วเชงิ เส้น
อตั ราเร็วเชิงมุม และมวลของวตั ถุ ในการเคล่ือนท่แี บบวงกลมในระนาบระดบั รวมท้งั คำนวณ
ปริมาณตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วข้อง และประยุกตใ์ ชค้ วามรู้การเคลื่อนท่ีแบบวงกลม ในการอธิบายการโคจร
ของดาวเทียม

รวมท้ังหมด 10 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

ว31221 เคมี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

............................................................................................................................ ................................................

ศึกษาเกี่ยวกับสัญลักษณ์แสดงตวามเป็นอันตรายของสารเคมีในระบบ GHS และ NFPA ข้อควรปฏิบัติ

ในการทำปฏิบตั ิการเคมี ท้งั กอ่ นทำปฏิบัติการ ขณะทำปฏิบตั ิการ และหลงั ทำปฏบิ ัติการ การกำจดั สารเคมี และ

การปฐมพยาบาลเมื่อไดร้ ับอุบัติเหตุจากสารเคมี ศึกษาการพิจารณาความน่าเช่ือถอื ของข้อมูลที่ได้จากการวัดจาก

ความเที่ยงและความแม่น อุปกรณ์วัดปริมาตรและมวล เลขนัยสำคัญ หน่วยวัดในระบบเอสไอ แฟกเตอร์เปลี่ยน

หนว่ ย รวมทัง้ วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจติ วิทยาศาสตร์

ศึกษาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และแบบกลุ่มหมอก เขียนและแปร

ความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป เขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม

ศึกษาความหมายของระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ออร์บิทัล เวเลนซ์อิเล็กตรอน วิวัฒนาการของการสร้าง

ตารางธาตุและตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มและสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่และตามคาบ

เกี่ยวกับขนาดอะตอม ขนาดไอออน พลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอน อิเล็กโตรเนกาติวติ ี ศึกษา

สมบัติของธาตุ แทรนซิชัน ธาตุกัมมันตรังสี การเกิดกัมมันตภาพรังสี การสลายตัวและอันตรายจากไอโซโทป

กัมมันตรังสี คำนวณครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้

สารกัมมันตรังสี คำนวณครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี การนำธาตุไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิต

และสงิ่ แวดลอ้ ม

ศึกษาพันธะเคมี สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต การเกิดพันธะไอออนิก สูตรเคมีและชื่อ

ของสารประกอบไอออนิก พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก สมการไอ

ออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ความยาวและพลังงานพันธะ เรโซแนนซ์ การคำนวณ

พลังงานพันธะและพลังงานของปฏิกิริยา รูปร่างและสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง

โมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ สารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย การเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ

และการนำสารประกอบชนิดต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์

โดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์

เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ มีทักษะ

ปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ รวมท้งั ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ในดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ดา้ นการคิดและ

การแก้ปัญหา ด้านการส่อื สาร สามารถสื่อสารสิง่ ท่ีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์

จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทำปฏิบัติการเคมี

เพื่อให้มีความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุ

ได้

2. อธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการทำปฏิบัติการ และวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม

3. นำเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลองได้
4. ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้

แฟกเตอรเ์ ปลี่ยนหนว่ ยได้
5. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองท่ีเป็นประจกั ษ์พยานในการเสนอแบบจำลอง

อะตอมของนกั วิทยาศาสตร์และอธิบายววิ ัฒนาการของแบบจำลองอะตอมได้
6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม

จากสญั ลักษณน์ วิ เคลยี ร์ได้ รวมท้ังบอกความหมายของไอโซโทปได้
7. อธิบาย และเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลข

อะตอมของธาตุได้
8. ระบุหมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชันใน

ตารางธาตไุ ด้
9. วิเคราะห์ และบอกแนวโนม้ สมบตั ิของธาตเุ รพรีเซนเททฟี ตามหม่แู ละตามคาบได้
10. บอกสมบตั ิของธาตุโลหะแทรนซชิ ัน และเปรียบเทยี บสมบตั กิ บั ธาตุโลหะในกลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี
11. อธบิ ายสมติ และคำนวณคร่ึงชวี ิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี
12. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนำธาตุมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและ

สิ่งแวดล้อมได้
13. อธิบายการเกิดไอออนและการเกดิ พันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรอื สัญลักษณแ์ บบจุดของลิวอิส

ได้
14. เขยี นสตู ร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้
15. คำนวณพลังงานทีเ่ กยี่ วข้องกบั ปฏกิ ิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจกั รบอรน์ -ฮาเบอร์ได้
16. อธบิ ายสมบัตขิ องสารประกอบไอออนกิ ได้
17. เขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธขิ องปฏกิ ิรยิ าของสารประกอบไอออนิกได้
18. อธิบายการเกิดพนั ธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดีย่ ว พนั ธะคู่ และพันธะสาม ดว้ ยโครงสร้างลวิ อสิ ได้
19. เขยี นสตู ร และเรียกชอ่ื สารโคเวเลนตไ์ ด้
20. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมทั้งคำนวณ

พลังงานที่เก่ียวขอ้ งกบั ปฏกิ ิริยาของสารโคเวเลนต์จากพลังงานพนั ธะได้
21. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์และระบุ

สภาพขว้ั ของโมเลกุลโคเวเลนตไ์ ด้
22. ระบุชนดิ ของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรียบเทยี บจุดหลอมเหลว จุดเดือด และ

การละลายน้ำของสารโคเวเลนต์ได้
23. สืบคน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายสมบตั ขิ องสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาขา่ ยชนดิ ตา่ ง ๆ ได้
24. อธิบายการเกิดพนั ธะโลหะและสมบตั ิของโลหะได้

25. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ สืบค้นข้อมูล
และนำเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ ได้อย่าง
เหมาะสม

รวมท้ังหมด 25 ผลการเรียนรู

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

ว31222 เคมี 2 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

............................................................................................................................. ...............................................

ศึกษาความหมายและคำนวณมวลอะตอม มวลอะตอมสัมพัทธ์ มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ โมล มวลต่อ

โมล มวลโมเลกุลและมวลสูตร ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนโมล อนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊สท่ี

STP ศึกษากฎสัดส่วนคงที่ คำนวณอัตราส่วนโดยมวล อัตราส่วนโดยโมล ร้อยละโดยมวล สูตรโมเลกุลและสูตร

เอมพิริคลั

ศึกษาหน่วยความเข้มข้นและการคำนวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ส่วนในล้านส่วน

สว่ นในพันล้านส่วน โมลารติ ี โมแลลติ ี และเศษสว่ นโมล ศกึ ษาการเตรียมสารละลายจากสารบริสทุ ธ์ิและจากการ

เจอื จางสารละลายเขม้ ข้น เปรยี บเทยี บจุดเดือดและจดุ หลอมเหลวของสารละลายบริสุทธิแ์ ละสารละลาย

ศึกษาการเขียนและการดุลสมการเคมี อัตราส่วนโดยโมลของสารในปฏิกิริยาเคมี แปลความหมาย

สัญลักษณ์ในสมการเคมี คำนวณปริมาณของสารในปฏิกริ ิยาเคมีตามกฎทรงมวล ศึกษากฎการรวมปริมาตรแก๊ส

ของเกย์-ลูสแซกและสมมติฐานของอาโวกาโดร คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ความสัมพันธ์

ระหว่างโมล มวล ความเข้มข้น และปริมาตรแก๊ส คำนวณปริมาณสารในปฏิกริ ยิ าเคมีหลายขัน้ ตอน ปริมาณสาร

เมอ่ื มีสารกำหนดปรมิ าณ และผลไดร้ ้อยละ

โดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์

เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ มีทักษะ

ปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ รวมทง้ั ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและ

การแกป้ ญั หา ด้านการส่ือสาร สามารถสอื่ สารสงิ่ ท่ีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวติ ของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์

จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. บอกความหมายสญั ลกั ษณ์ในสมการเคมี เขยี นและดลุ สมการเคมขี องปฏิกิรยิ าเคมีบางชนิดได้
2. คำนวณปริมาณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมีท่ีเกย่ี วข้องกบั มวลสารได้
3. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกิริยาเคมีทีเ่ กย่ี วข้องกับความเขม้ ข้นของสารละลายได้
4. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ิยาเคมีท่ีเกี่ยวข้องกับปรมิ าตรแกส๊ ได้
5. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ิยาเคมหี ลายข้ันตอนได้
6. ระบสุ ารกำหนดปริมาณ และคำนวณปริมาณสารต่าง ๆ ในปฏกิ ริ ยิ าเคมีได้
7. คำนวณผลไดร้ ้อยละของผลิตภณั ฑใ์ นปฏิกริ ยิ าเคมไี ด้
8. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคำนวณมวลอะตอมเฉล่ียของธาตุ มวลโมเลกลุ และมวลสูตร
ได้
9. อธิบาย และคำนวณปริมาณใดปริมาณหนง่ึ จากความสมั พันธข์ องโมล จำนวนอนุภาค มวล และปริมาตร
ของแกส๊ ที่ STP ได้

10. คำนวณอตั ราส่วนโดยมวลของธาตอุ งคป์ ระกอบของสารประกอบตามกฎสดั สว่ นคงทไ่ี ด้
11. คำนวณสตู รอย่างงา่ ยและสูตรโมเลกลุ ของสารได้
12. คำนวณความเขม้ ข้นของสารละลายในหนว่ ยตา่ ง ๆ ได้
13. อธิบายวิธีการ และเตรียมสารละลายให้มคี วามเขม้ ข้นในหน่วยโมลารติ ี และปรมิ าตรสารละลายตามที่

กำหนดได้
14. เปรียบเทียบจดุ เดือดและจุดเยือกแขง็ ของสารละลายกบั สารบริสุทธ์ิ รวมท้ังคำนวณจดุ เดือดและจุด

เยือกแขง็ ของสารละลายได้

รวมทั้งหมด 14 ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม

ว31241 ชีววิทยา 1 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

............................................................................................................................. ...............................................

ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต แขนงวิชาที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยา

และการนำความรู้ทางชีววทิ ยาท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อมนษุ ยแ์ ละสิ่งแวดล้อม ชวี วิทยากบั การดำรงของสิ่งมีชวี ติ ความ

ตระหนักในเรื่องของชีวจริยธรรมการศึกษาชีววิทยาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งศึกษาวิธีการทำงาน

ของนักวิทยาศาสตร์ และการนำความรู้เกี่ยวกับชีววิทยามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การทำกิจกรรมสะเต็ม

ศึกษาโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง ศึกษาเคมีที่เป็นหน่วยพื้นฐานของ

สิ่งมีชีวิต โครงสร้างโครงสร้างและหน้าที่ของสารต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต และปฏิกิริย า

เคมีของเซลล์ในสิ่งมีชีวิต ศึกษาส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง หลักการทำงานวิธีการใช้ รวมทั้งการ

เก็บรักษา ศึกษาโครงสรา้ งและหนา้ ทีส่ ว่ นทห่ี ่อห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซึม และนวิ เคลยี ส การลำเลียงสารเขา้ และออก

จากเซลล์ การหายใจระดับเซลล์ซง่ึ เปน็ กระบวนการทเี่ ซลลส์ ร้างพลงั งานจากการสลายอาหาร สำหรบั นำไปใช้ใน

กิจกรรมตา่ ง ๆ ของเซลล์ และการแบง่ เซลล์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์

เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทั กษะ

ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิด

และการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสารสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิต

วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายและสรุปสมบัติที่สำคัญของสิ่งมีชวี ติ และความสมั พนั ธ์ของการจดั ระบบในสง่ิ มีชีวติ ทที่ ำให้
สิง่ มชี ีวติ ดำรงอยู่ได้
2. อภปิ รายและบอกความสัมพันธใ์ นการระบุปัญหา ความสมั พันธร์ ะหว่างปญั หา สมมตฐิ าน และ
วิธีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมทง้ั การออกแบบการทดลองเพอ่ื ทดสอบสมมตฐิ าน
3. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ ายเกี่ยวกับสมบตั ขิ องน้ำ และบอกความสำคัญของน้ำท่ีมีต่อสง่ิ มีชีวติ และ
ยกตวั อย่างธาตุชนิดต่าง ๆ ท่ีมีความสำคัญตอ่ รา่ งกายของสง่ิ มีชวี ิต
4. สืบค้นข้อมูลอธิบายโครงสรา้ งของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรต รวมทั้งข้อรวมท้ัง
ความสำคญั ของคารบ์ อเนตท่ีมีส่งิ มีชวี ิต
5. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ ายโครงสรา้ งของโปรตนี และความสำคัญของโปรตีนท่ีมตี ่อสง่ิ มชี วี ิต
6. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายโครงสรา้ งของลิพิดและความสำคัญของลพิ ิดท่มี ตี ่อสิ่งมชี ีวิต
7. อธบิ ายโครงสรา้ งของกรดนิวคลอี กิ และระบุของกรดนิวคลีอกิ และความสำคัญของกรดนิวคลอี กิ ที่
มตี ่อสง่ิ มชี วี ติ
8. สืบค้นขอ้ มูลและอธบิ ายปฏกิ ิริยาเคมีทีเ่ กดิ ขึ้นในส่งิ มชี วี ติ

9. อธบิ ายการทำงานของเอนไซม์ในการเรง่ ปฏิกิรยิ าเคมีในสิ่งมชี ีวติ และระบุปจั จัยท่ีมีผลตอ่ การ
ทำงานของเอนไซม์

10. บอกวิธีการและเตรยี มตวั อย่างของส่งิ มีชีวติ เพ่ือศึกษาภายในกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงวัดขนาดโดยใช้
โดยประมาณและวาดภาพทป่ี รากฏข้นึ ภายในกล้อง บอกวธิ ีการใช้และการดูแลรักษากล้อง
จุลทรรศนใ์ ช้แสงท่ถี ูกต้อง

11. อธบิ ายโครงสร้างและหน้าทข่ี องส่วนทหี่ อ่ หุ้มเซลล์ของเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์
12. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายและระบชุ นดิ และหนา้ ท่ีของออรแ์ กเนลล์
13. อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องนิวเคลยี ส
14. อธิบายและเปรียบเทยี บการแพร่ออสโมซสิ การแพร่แบบฟาซลิ เิ ทตและ Active Transport
15. สืบค้นข้อมูลอธิบายและเขียนแผนภาพการลำเลยี งโมเลกลุ ใหญอ่ อกจากเซลลด์ ้วยกระบวนการเอก

โซไซโทซิสและการลำเลยี งแบบโมเลกุลสารโมเลกุลใหญเ่ ขา้ สเู่ ซลลแ์ บบเอ็นโดไซโทซีส
16. สงั เกตการแบง่ นวิ เคลยี สไมโทซิสและไมโอซิส จากตัวอยา่ งภายในกลอ้ งจลุ ทรรศน์พร้อมอธิบาย

เปรยี บเทียบการแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ และไมโอซิส
17. อธิบายเปรียบเทยี บและสรุปข้ันตอนการหายใจระดับเซลลใ์ นภาวะท่มี ีออกซิเจนเพียงพอและภาวะ

ทีไ่ ม่มอี อกซเิ จนเพยี งพอ

รวมทั้งหมด 17 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ว31242 ชีววิทยา 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

............................................................................................................................. ...............................................

ศึกษาเกี่ยวกับโครโมโซม และสารพันธุกรรม โครงสร้าง DNA การจำลอง DNA การควบคุมลักษณะ

ทางพันธุกรรมของ DNA มิวเทชัน และการเกิดมิวเทชัน ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การศึกษา

พันธุกรรมของเมนเดล การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์

เมนเดล การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศ ยีนบนโครโมโซมเดียวกันศึกษา ศึกษาเทคโนโลยีทาง DNA พันธุ

วศิ วกรรมและการโคลนยีน การหาขนาดของ DNA และการหาลำดบั นิวคลโี อไทด์ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยที าง

DNA และเทคโนโลยีทาง DNA กับการปลอดภัยทางชีวภาพและชีวจริยธรรม ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ

หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุ

ศาสตร์ประชากร ปจั จัยที่ทำให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงความถข่ี องแอลลนี และการกำเนิดสปชี สี ์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์

เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะ

ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิด

และการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสารสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิต

วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายสมบตั ิและหน้าทีข่ องสารพนั ธุกรรม โครงสรา้ งและองค์ประกอบทางเคมีของ
DNA และสรุปการจำลอง DNA
2. อธบิ ายและระบุขัน้ ตอนกระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี และหนา้ ทีข่ อง DNA RNA แตล่ ะชนิดใน
กระบวนการสงั เคราะห์โปรตีน
3. สบื คน้ ข้อมลู และอธิบายการเกดิ มวิ เทชนั ระดับยนี และโครโมโซม สาเหตจุ ากการเกดิ มิวเทชัน
รวมท้งั ยกตัวอย่างโรคและกลุ่มอาการที่เป็นผลของการเกดิ มวิ เทชนั
4. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ ายและสรปุ ผลการทดลองของเมนเดล
5. สรุปความสัมพันธร์ ะหวา่ งสารพนั ธกุ รรม แอลลีน โปรตีน ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม และเชื่อมโยงกับ
ความรูเ้ รื่องพันธศุ าสตรเ์ มนเดล
6. อธิบายและสรปุ กฎแห่งการแยกและกฎแหง่ การรวมตวั อย่างอสิ ระและนำกฎเมนเดลนี้ไปอธบิ าย
การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม และการคำนวณเกิดโอกาสในการเกิดจีโนไทป์และฟโี นไทป์
แบบตา่ ง ๆ ของรนุ่ F1 และ F2
7. สืบค้นขอ้ มูล วิเคราะห์ อธบิ าย และสรุปเกยี่ วกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่เป็นสว่ น
ขยายของพนั ธศุ าสตรเ์ มนเดล

8. สืบค้นข้อมลู วเิ คราะห์ และเปรียบเทียบลักษณะทางพันธกุ รรม ที่มีการแปรผันไม่ตอ่ เน่ือง และ
ลกั ษณะการแปรผันแบบตอ่ เนือ่ ง

9. อธบิ ายการถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม และยกตัวอย่างลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีถูกควบคุมโดยยีนบน
ออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ

10. อธิบายหลักการสร้างส่งิ มีชีวติ ดดั แปรดัดแปรพนั ธุกรรมโดยใช้ DNA recombinant
11. สบื คน้ ขอ้ มลู ยกตัวอยา่ ง และอภิปราย การนำเทคโนโลยที าง DNA ไปประยุกตใ์ ช้ทางด้าน

ส่ิงแวดลอ้ ม นิตวิ ิทยาศาสตร์ การแพทย์การเกษตร และอุตสาหกรรม และข้อคำนงึ ถึงดา้ นชีวจรยิ
ธรรม
12. สบื คน้ ข้อมูลอธิบายเกี่ยวกับหลักฐานที่สนับสนนุ และข้อมูลทใ่ี ชใ้ นการอธบิ ายการเกิดวิวฒั นาการ
ของส่ิงมชี วี ิต
13. อธบิ ายและเปรยี บเทยี บแนวคิดเกี่ยวกบั ววิ ฒั นาการของสิ่งมีชวี ิต ลามาร์ค และทฤษฎีเก่ียวกับ
วิวฒั นาการของสงิ่ มีชีวิตของ ชาลส์ ดาวิน
14. ระบสุ าระสำคัญและอธิบายเงื่อนไข ของภาวะสมดลุ ของฮาร์ดีไวน์เบริ ์ก ปัจจัยทท่ี ำใหเ้ กิดการ
เปลย่ี นแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร พรอ้ มท้งั คำนวณหาความถแี่ อนลีนและจโี นไทปข์ อง
ประชากรโดยใช้หลักของฮาร์ดีไวนเ์ บริ ์ก
15. สืบคน้ ขอ้ มูล อภิปราย และอธบิ ายกระบวนการเกดิ สปีชีส์ใหม่ของสิง่ มีชีวิต

รวมทั้งหมด 15 ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

ว31243 โภชนาการและสุขภาพ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

............................................................................................................................. ...............................................

แนวคิดเกีย่ วกบั สุขภาพและโภชนาการ ความรอบรทู้ างโภชนาการ การประเมินภาวะโภชนาการ การ
จำแนกอาหารหลัก 5 หมู่ ธงโภชนาการ ความตอ้ งการสารอาหารและพลังงานที่ควรได้รับต่อวันของบุคคลแต่ละ
วัย ฉลากโภชนาการ พฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยจากพฤติกรรมการบริโภค การ
กำหนดรายการอาหาร อาหารสุขภาพ ตัวอย่างอาหารที่เหมาะสมกับบุคคลแต่ละวัย และอาหารเฉพาะโรค แนว
ทางการนำความรดู้ า้ นโภชนาการไปใช้ประโยชนใ์ นการดูแลสขุ ภาพตนเอง

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายแนวคิดเกีย่ วกบั สขุ ภาพและโภชนาการ
2. อธิบายความรอบรทู้ างโภชนาการ และการประเมินภาวะโภชนาการ
3. อธบิ ายการจำแนกประเภทและชนดิ ของอาหารหลัก 5 หมู่ และหลักของธงโภชนาการ
4. วเิ คราะห์สารอาหารและพลังงานท่ีควรได้รบั ของบุคคลแต่ละวยั
5. วเิ คราะห์ฉลากโภชนาการและหลักการเลือกซ้ืออาหาร
6. อธิบายปญั หาสุขภาพที่เกดิ จากพฤตกิ รรมการบริโภคและอาหารเฉพาะโรค
7. การประเมินภาวะโภชนาการของตนเองและการวางแผนด้านโภชนาการเพ่ือการดแู ลสุขภาพ

รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว31244 การเสรมิ สรา้ งชวี ติ พลังบวก กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

............................................................................................................................. ...............................................

ธรรมชาติจิตใจและบุคลิกภาพ การตระหนักรู้ตนเองสร้างความเข้าใจสานสายสัมพันธ์ตามแนวทาง
จิตวทิ ยาท่เี ลอื กสรร การสอ่ื สารเชงิ บวกกญุ แจปรบั ตวั สู่ความสำเรจ็ สภาวะทางอารมณ์กับสุขภาพจิต และ
ทักษะการจัดการกับอารมณ์ การเสริมสร้างชีวิตพลังบวกโดยการประยุกต์ใช้แนวทางจิตวิทยาเชิงบวก และ
ทักษะความสามารถทางอารมณ์

ผลการเรยี นรู้
1. เพือ่ ใหน้ กั เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย และประยกุ ต์ใชเ้ ก่ียวกบั ธรรมชาติจิตใจและ
บุคลิกภาพ
2. การตระหนักร้ตู นเองสรา้ งความเขา้ ใจสานสายสัมพันธ์ ตามแนวทางจติ วทิ ยาท่เี ลือกสรร
3. การส่อื สารเชงิ บวกกุญแจปรับตวั สคู่ วามสำเร็จ
4. สภาวะทางอารมณ์ที่มผี ลตอ่ สุขภาพจติ และทักษะการจดั การกบั อารมณ์
5. การเสริมสร้างชวี ติ พลังบวกโดยประยกุ ต์ใชแ้ นวทางจติ วทิ ยาเชิงบวกและทักษะความสามารถทาง
อารมณ์

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม

ว31263 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

....................................................................................................................... .....................................................

ศึกษาวิเคราะห์ อธิบาย การค้นหาความรู้เกี่ยวกบั การแบ่งชั้นและสมบตั โิ ครงสรา้ งโลก รอยต่อระหวา่ ง

ชั้นโครงสร้างพร้อมหลักฐานสนับสนุน ทฤษฎีการแปรสัณฐานธรณี ลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา สาเหตุ

กระบวนการเกดิ และวิธปี ้องกนั ภัยจากแผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ และสนึ ามิ การระบุชนดิ ของหินสมบัติของหิน

และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรหิน การสำรวจปิโตรเลียมและถ่านหิน สมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก

ปิโตรเลยี มและถ่านหิน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล

อภิปรายการสำรวจตรวจสอบ การสังเกต การทดลองและการใช้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์รวมถึงผลต่อ

สง่ิ มชี ีวิตและสงิ่ แวดลอ้ ม เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิดความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสงิ่ ท่เี รียนรู้ มีความสามารถ

ในการตดั สินใจ นำความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยม ท่ี

เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้

1. อธบิ ายการแบ่งช้ันและสมบตั ิของโครงสร้างโลก พรอ้ มยกตัวอยา่ งข้อมลู ที่สนับสนุน

2. อธิบายหลกั ฐานทางธรณวี ิทยาท่สี นับสนุนการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี

3. ระบุสาเหตแุ ละอธิบายแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณีที่สัมพันธก์ ับการเคล่อื นท่ขี องแผ่นธรณี พรอ้ ม

ยกตวั อยา่ งหลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาทพี่ บ

4. วเิ คราะหห์ ลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาที่พบในปัจจุบันและอธบิ ายลำดบั เหตุการณ์ ทางธรณวี ิทยาในอดีต

5. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภเู ขาไฟระเบดิ และปัจจัยที่ทำให้ความรนุ แรงของการปะทุและรูปรา่ ง

ของภเู ขาไฟแตกตา่ งกนั รวมท้ังสืบคน้ ข้อมลู พ้ืนทเี่ สย่ี งภยั ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวัง

และการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัย

6. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผน่ ดินไหว รวมท้งั สบื คน้ ข้อมลู

พ้นื ที่เสี่ยงภยั ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภยั

7. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิ รวมท้ังสืบค้นข้อมลู พ้ืนทเ่ี สี่ยงภยั ออกแบบและ

นำเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัย

8. ตรวจสอบ และระบชุ นิดแร่ รวมทง้ั วเิ คราะห์สมบตั ิและนำเสนอการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรแร่ที่

เหมาะสม

9. ตรวจสอบ จำแนกประเภท และระบชุ ือ่ หินรวมท้งั วิเคราะห์สมบตั แิ ละนำเสนอการใชป้ ระโยชน์ของ

ทรพั ยากรหนิ ทีเ่ หมาะสม

10. อธบิ ายกระบวนการเกดิ และการสำรวจแหล่งปิโตรเลยี มและถ่านหนิ โดยใช้ข้อมลู ทางธรณวี ทิ ยา

11. อธิบายสมบตั ขิ องผลติ ภณั ฑ์ที่ไดจ้ ากปโิ ตรเลียมและถ่านหิน พรอ้ มนำเสนอการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ ง

เหมาะสม

12. อา่ นและแปลความหมายจากแผนทีภ่ ูมิประเทศและแผนท่ธี รณีวิทยาของพ้ืนท่ี ทก่ี ำหนดพร้อมท้งั
อธบิ ายและยกตัวอยา่ ง การนำไปใช้ประโยชน์

รวม 12 ผลการเรียนรู้


Click to View FlipBook Version