The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auttapon_tepsong, 2022-04-17 14:02:03

คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะหนี้

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

ตารา

คาอธบิ าย
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์

ลักษณะหนี้

โดย
ผศ.ดร.กนกลกั ษณ์ จยุ๋ มณี
อาจารยป์ ระจาคณะนติ ิศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ



ตารา
คาอธิบายประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์

ลักษณะหน้ี

โดย
ผศ.ดร.กนกลกั ษณ์ จุ๋ยมณี
อาจารยป์ ระจาคณะนติ ศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยทักษณิ



คานา

ตาราเล่มน้ีมีเน้ือหาสาระเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ บรรพ 2 ซ่ึงผู้เขียนมุ่งจะอธิบายหลักเกณฑ์ของกฎหมาย เจตนารมณ์ของ
กฎหมาย และทฤษฎีทางกฎหมาย ให้เข้าใจได้โดยง่ายและชัดเจน โดยอ้างอิงจากบทบัญญัติ
แหง่ กฎหมาย คาพิพากษาฎีกา และความเห็นของนักกฎหมาย เพื่อให้ตาราเล่มนี้มีลักษณะ
ครบถว้ นสมบูรณต์ ามมาตรฐานวิชาการ

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าตาราเล่มนี้จะอานวยประโยชน์แก่นิสิตนักศึกษา และ
ผทู้ ่ีสนใจโดยทว่ั ไป และหากมีข้อผดิ พลาดประการใด ต้องขออภยั ไว้ ณ โอกาสนี้



สารบญั

ขอ้ ความเบื้องตน้ ..................................................................................................... หนา้
โครงสร้างกฎหมายลกั ษณะหนี้................................................................................ 1
เน้อื หาของวิชากฎหมายลกั ษณะหน.้ี ....................................................................... 1
ความเป็นมาของกฎหมายลักษณะหน้.ี ..................................................................... 2
ความสาคัญของกฎหมายลกั ษณะหน.ี้ ..................................................................... 3
ความหมายของ “หน้ี”............................................................................................. 3
บอ่ เกิดแหง่ หนี้......................................................................................................... 3
วตั ถุแหง่ หนี้.............................................................................................................. 4
บุคคลสทิ ธแิ ละทรัพยสทิ ธ.ิ ....................................................................................... 4
หน้ีทางแพ่งและหน้ีทางศลี ธรรม.............................................................................. 5
1 วัตถแุ หง่ หน้ี................................................................................................... 6
9
1. บทนา........................................................................................................ 9
2. อานาจแห่งมลู หนี้...................................................................................... 9
3. ทรัพย์ซง่ึ เป็นวัตถุแหง่ หนี.้ .......................................................................... 12
12
3.1 ทรพั ยซ์ ึ่งเปน็ วัตถุแหง่ หนเี้ ปน็ ทรัพยส์ นิ ท่วั ไป...................................... 16
3.2 ทรพั ยซ์ ่ึงเปน็ วตั ถแุ ห่งหนีเ้ ป็นเงนิ ตรา.................................................. 20
4. วตั ถุแหง่ หนีซ้ ึง่ เลอื กชาระได้...................................................................... 20
4.1 สทิ ธิในการเลือก.................................................................................. 22
4.2 วิธีการเลือก......................................................................................... 23
4.3 ระยะเวลาในการเลอื ก........................................................................ 24
4.4 ผลของการเลอื ก.................................................................................. 25
4.5 กรณกี ารชาระหนบี้ างอยา่ งอันเปน็ พน้ วสิ ยั ......................................... 27
5. บทสรุป..................................................................................................... 29
6. คาถามทา้ ยบท.......................................................................................... 33
2 ผลแห่งหน้:ี การไมช่ าระหน้ี.......................................................................... 33
1. บทนา........................................................................................................ 33
2. กาหนดชาระหน้.ี ....................................................................................... 33
2.1 หนถี้ งึ กาหนดชาระเม่ือใด.................................................................. 36
2.2 กาหนดเวลาชาระหนี้ไว้แต่เปน็ ท่ีสงสัย................................................

3. การผิดนัดของลูกหน.ี้ ................................................................................ หน้า
3.1 ลกู หนผ้ี ดิ นัดเพราะเจ้าหนเ้ี ตือนแลว้ .................................................... 39
3.2 ลูกหน้ผี ิดนัดโดยเจ้าหนมี้ ิพักตอ้ งเตอื นเลย.......................................... 39
43
4. กรณที ี่ไม่ถือวา่ ลูกหน้ีผิดนัด....................................................................... 46
5. การผิดนดั ของลกู หนีใ้ นกรณที ่ีลกู หนไ้ี ดท้ าละเมดิ ..……………………………... 50
6. การผิดนัดของเจ้าหน้ี…………………………………………................................. 52

6.1 เจา้ หน้ีไม่รบั ชาระหนน้ี ้นั 52
โดยปราศจากมูลเหตุอนั จะอา้ งกฎหมายได้…......................……......... 55
56
6.2 เจา้ หนีไ้ มก่ ระทาการเพื่อรบั ชาระหน้ีภายในเวลากาหนด................... 57
6.3 เจา้ หนไี้ มเ่ สนอทีจ่ ะชาระหนตี้ อบแทน…………….………….................… 60
7. กรณที ี่ไม่ถอื ว่าเจ้าหนีผ้ ดิ นดั ...................................................................... 61
8. ผลของการท่เี จ้าหนี้ผดิ นดั ……………….....……………..............................…… 61
9. การบงั คับชาระหนี้………...………….....................…........................….……... 69
9.1 การบังคับชาระหน้ีโดยเฉพาะเจาะจงและข้อยกเว้น…………........…..… 75
9.2 ทรพั ย์ซึง่ อยใู่ นบังคับแห่งการชาระหนโี้ ดยเฉพาะเจาะจง....................
10. การบงั คบั เอาค่าสนิ ไหมทดแทน……….........…………................................ 75
10.1 การบงั คับเอาค่าสนิ ไหมทดแทน กรณลี ูกหนีไ้ มช่ าระหนี้ 79
81
ใหต้ ้องตามความประสงคอ์ นั แทจ้ รงิ แห่งมลู หน้ี….....................…..... 84
10.2 การบังคบั เอาคา่ สนิ ไหมทดแทนกรณีลกู หน้ผี ดิ นัด…………................
11. ผลของการท่ีลกู หนผ้ี ิดนดั ……………….....…………..............................…… 86
12. การชาระหน้กี ลายเปน็ พน้ วิสยั …………..........….......................................
12.2 การชาระหน้กี ลายเป็นพน้ วสิ ยั 88
92
เพราะพฤติการณท์ ี่ลูกหนีต้ อ้ งรับผดิ ชอบ....................................... 93
12.3 การชาระหนี้กลายเป็นพน้ วสิ ยั 101
104
เพราะพฤติการณท์ ี่ลกู หนไ้ี ม่ต้องรับผิดชอบ................................... 109
13. ความผดิ ของลูกหน้ีกรณที ี่ใช้ให้บุคคลอน่ื ชาระหนี้…………….............….… 111
14. หลักเกณฑก์ ารเรยี กค่าสนิ ไหมทดแทน....................................................
15. คา่ สินไหมทดแทนกรณีท่ผี ู้เสียหายมีส่วนผดิ ด้วย....................................
16. การเรียกดอกเบ้ยี ในระหว่างเวลาผดิ นดั ..................................................
17. การเรียกดอกเบ้ยี จากค่าสินไหมทดแทน.................................................
18. บทสรุป...................................................................................................

หนา้
19. คาถามทา้ ยบท........................................................................................ 116
3 ผลแหง่ หน:้ี การรับช่วงสทิ ธิและการรบั ช่วงทรพั ย์...................................... 128
1. บทนา........................................................................................................ 128
2. ความหมายของการรับชว่ งสิทธ.ิ ................................................................ 128
3. ท่มี าของการรับช่วงสทิ ธิ............................................................................ 129
4. ผลของการรับชว่ งสทิ ธิ............................................................................. 136
5. ความหมายของการรับชว่ งทรัพย.์ ............................................................. 137
6. ทีม่ าของการรับชว่ งทรพั ย.์ ........................................................................ 138
7. บทสรุป................................................................................................... 144
8. คาถามทา้ ยบท…………………..…………………………………………………….….…. 146
4 ผลแห่งหน้ี: การใชส้ ทิ ธเิ รียกรอ้ งของลูกหน้ี…………..………………..……...…… 148
1. บทนา........................................................................................................ 148
2. หลักเกณฑ์การใชส้ ทิ ธเิ รยี กรอ้ งของลกู หน้ี………......…………..................… 148
3. การใชส้ ทิ ธิเรยี กรอ้ งของลูกหนี้ต้องเปน็ การใช้สิทธิทางศาล

และตอ้ งขอหมายเรียกลูกหน้ีมาในคดนี นั้ ด้วย.......................................... 154
4. กรณเี จา้ หน้ีมีสทิ ธเิ รียกรอ้ งตอ่ ลูกหนนี้ อ้ ยกว่าลูกหน้มี สี ทิ ธิเรยี กรอ้ ง

ต่อจาเลย (ลกู หน้ขี องลูกหน้)ี ..................................................................... 155
5. การยกขอ้ ต่อสขู้ องจาเลย (ลูกหนีข้ องลูกหน้)ี .………….......………...….……... 157
6. บทสรุป..................................................................................................... 160
7. คาถามท้ายบท.......................................................................................... 161
5 ผลแห่งหนี:้ การเพิกถอนการฉอ้ ฉล............................................................. 166
1. บทนา....................................................................................................... 166
2. หลักเกณฑ์การเพกิ ถอนการฉอ้ ฉล............................................................. 166
3. ผลของการเพกิ ถอนการฉ้อฉลทมี่ ตี อ่ บคุ คลภายนอก................................. 175
4. ผลของการเพิกถอนการฉอ้ ฉลทมี่ ตี อ่ เจา้ หน้ี.............................................. 177
5. อายคุ วามของเจ้าหนีใ้ นการร้องขอให้ศาลเพิกถอนการฉอ้ ฉล................... 178
6. บทสรปุ .................................................................................................... 179
7. คาถามทา้ ยบท.......................................................................................... 181
6 ผลแห่งหน:้ี สิทธยิ ึดหนว่ ง……..………....………………..............................….…. 184
1. บทนา........................................................................................................ 184
2. หลักเกณฑ์ของสทิ ธิยดึ หน่วง……..…………………………….......................….. 184

หนา้
3. ขอ้ ยกเว้นท่ที าให้เจา้ หน้ีไม่มีสิทธิยดึ หนว่ ง……….....…....................………... 191
4. ผลของสิทธิยดึ หน่วง…..........………………………………….....................….….. 193
5. ความระงบั แหง่ สิทธยิ ดึ หน่วง...................…………………………....………..….. 197
6. บทสรปุ ..................................................................................................... 199
7. คาถามท้ายบท.......................................................................................... 200
7 บรุ ิมสิทธิ……………………………………………………………………………….……..…… 205
1. บทนา....................................................................................................... 205
2. ความหมายของคาวา่ “บุริมสทิ ธิ” ……………………………………….……..…… 205
3. เหตุท่ีกฎหมายกาหนดใหม้ หี นีบ้ ุริมสิทธิ.................................................... 206
4. ประเภทของบุริมสิทธิ................................................................................ 206
5. ลาดับแห่งบุริมสทิ ธิ................................................................................... 220
6. ผลแห่งบุริมสทิ ธิ........................................................................................ 223
7. บทสรุป..................................................................................................... 228
8. คาถามทา้ ยบท.......................................................................................... 232
8 ลูกหน้แี ละเจา้ หน้หี ลายราย…………………….....………………………....……….….. 233
1. บทนา....................................................................................................... 233
2. ลูกหน้แี ละเจา้ หนห้ี ลายรายในหนี้แบง่ ชาระได.้ ......................................... 233
3. ลกู หน้รี ่วมและผลบงั คบั ท่วั ไป................................................................... 235
4. ลูกหนี้รว่ มคนใดคนหน่ึงชาระหน.้ี .............................................................. 238
5. การปลดหนีใ้ หแ้ ก่ลกู หนร้ี ว่ มคนหน่งึ คนใด................................................. 240
6. เจ้าหนี้ผดิ นัดต่อลกู หนี้ร่วมคนใดคนหน่งึ ................................................... 243
7. การท่ีเป็นเรอื่ งเฉพาะตัวของลกู หนี.้ .......................................................... 243
8. ความรบั ผิดระหวา่ งลกู หนร้ี ่วมด้วยกนั เอง................................................. 245
9. บคุ คลหลายคนร่วมกันผูกพันตนในอนั จะทาการชาระหนี.้ ........................ 247
10. เจา้ หนี้ร่วมและผลบังคับทัว่ ไป................................................................ 248
11. ผลของการเป็นเจา้ หน้ีร่วมตอ่ ลูกหนี้........................................................ 249
12. การแบ่งส่วนระหว่างเจา้ หนีร้ ว่ มด้วยกันเอง............................................ 251
13. หนอ้ี นั จะแบ่งกันชาระมไิ ด.้ .................................................................... 252
14. เจา้ หนี้หลายคนในหนอ้ี ันจะแบ่งกันชาระมิได้......................................... 253
15. บทสรปุ ................................................................................................... 254
16. คาถามท้ายบท........................................................................................ 258

9 การโอนสทิ ธิเรียกร้อง................................................................................... หนา้
1. บทนา........................................................................................................ 260
2. การเปรยี บเทยี บการรบั ช่วงสทิ ธิ การโอนสิทธิเรียกร้อง 260
และการแปลงหนใ้ี หมโ่ ดยการเปลย่ี นตัวเจ้าหน้ี......................................
3. สทิ ธิเรยี กรอ้ งทีห่ า้ มโอน............................................................................ 260
4. ผลของการโอนสิทธิเรยี กร้อง..................................................................... 261
5. แบบของการโอนสิทธิเรียกรอ้ ง.................................................................. 264
6. กรณีพพิ าทอ้างสทิ ธิในการโอนสทิ ธเิ รียกร้องต่างราย................................ 264
7. ลูกหนยี้ กขอ้ ต่อส้ผู ้รู ับโอน.......................................................................... 268
8. แบบของการโอนสทิ ธเิ รียกร้องตามเขาสง่ั ................................................. 269
9. สทิ ธิของลูกหนที้ จ่ี ะสอบสวนถึงตัวผ้ทู รงตราสาร....................................... 273
10. การยกข้อต่อสผู้ ู้รบั โอน........................................................................... 274
11. บทสรปุ ................................................................................................... 275
12. คาถามท้ายบท........................................................................................ 276
279
10 ความระงบั แห่งหน้ี........................................................................................ 283
1. บทนา........................................................................................................ 283
2. การชาระหน้.ี ............................................................................................. 284
2.1 ผู้ชาระหน้ี.......................................................................................... 284
2.2 ผรู้ ับชาระหนี้..................................................................................... 287
2.3 ศาลสั่งให้ลกู หนค้ี นท่สี ามงดเว้นทาการชาระหน้ี................................ 291
2.4 ต้องชาระหน้ีตามความประสงคแ์ ห่งหน้ี............................................. 292
2.5 เจา้ หน้ียอมรบั การชาระหน้ีอย่างอนื่
แทนการชาระหนที้ ี่ได้ตกลงกนั ไว้…........................................…....….. 293
2.6 ความรบั ผดิ เพอ่ื ชารดุ บกพร่องและเพอ่ื การรอนสิทธิ......................... 298
2.7 วัตถแุ ห่งหนี้เป็นอันให้ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสงิ่ .................................... 299
2.8 สถานที่ชาระหน้.ี ................................................................................ 300
2.9 คา่ ใชจ้ า่ ยในการชาระหน.้ี .................................................................. 302
2.10 หลักฐานแห่งการชาระหนี้............................................................... 304
2.11 ขอ้ สนั นิษฐานเกยี่ วกับหลักฐานแหง่ การชาระหนี้……………...…...... 306
2.12 การจัดสรรชาระหนี้………………………………………………………..…..... 308
2.13 การจัดสรรชาระหนี้ประธานและหนีอ้ ปุ กรณ์................................... 310

2.14 ผลของการขอปฏิบัตกิ ารชาระหน้โี ดยชอบ...................................... หนา้
2.15 วางทรพั ย์........................................................................................ 311
2.16 การวางทรัพย์โดยกาหนดเงื่อนไข.................................................. 313
2.17 สานักงานวางทรัพยแ์ ละการบอกกล่าวให้เจา้ หน้ีทราบ.................. 314
2.18 สิทธถิ อนทรัพย์............................................................................... 314
2.19 ศาลจะสง่ั ยึดสทิ ธิถอนทรพั ย์ไมไ่ ด้................................................... 315
2.20 การขายทอดตลาดทรัพย์ทไ่ี มค่ วรแก่การจะวางทรพั ยไ์ ว.้ ............... 316
2.21 คา่ ฤชาธรรมเนยี มในการวางทรัพย์หรอื ขายทอดตลาด................... 317
2.22 ความระงบั แหง่ สิทธิของเจา้ หนเ้ี หนอื ทรัพยท์ ่ีวางไว้......................... 319
3. การปลดหนี.้ .............................................................................................. 320
3.1 ความหมายของการปลดหนี้................................................................ 320
3.2. วธิ ีการปลดหน.้ี .................................................................................. 320
3.3 ผลของการปลดหน้ี............................................................................. 322
4. การหกั กลบลบหนี้..................................................................................... 324
4.1 หลกั เกณฑก์ ารหกั กลบลบหน.ี้ ............................................................ 324
4.2 ผลของการหกั กลบลบหน้ี................................................................... 324
4.3 วธิ กี ารหกั กลบลบหน.้ี ......................................................................... 326
4.4 การหักกลบลบหน้ใี นกรณีทส่ี ถานท่ชี าระหนีแ้ ตกตา่ งกนั .................... 326
4.5 ข้อหา้ มในการหักกลบลบหนี้.............................................................. 329
4.6 การจัดสรรหักกลบลบหน้ี................................................................... 330
5. การแปลงหนใี้ หม่....................................................................................... 336
5.1 หลักเกณฑ์ในการแปลงหนใี้ หม่........................................................... 337
5.2 หนี้ใหม่ไมเ่ ปน็ ผล หน้เี ดมิ จงึ ไมร่ ะงบั ................................................... 337
5.3 การโอนสิทธิจานาหรือจานองทีไ่ ด้ให้ไวเ้ ป็นประกันหน้ีเดมิ นนั้ 342

ไปเปน็ ประกันหน้ีรายใหม่ได้….....………………………………………....…… 343
6. หนีเ้ กลอ่ื นกลนื กัน…………………………………………………………………………… 344
7. บทสรปุ ................................................................................................... 345
8. คาถามท้ายบท.......................................................................................... 350
บรรณานุกรม................................................................................................ 362
ดชั นคี น้ คา..................................................................................................... 364
ประวัติผเู้ ขยี น....................................................................................... 368



1

ข้อความเบอื้ งตน้

โครงสรา๎ งกฎหมายลกั ษณะหน้ี

บํอเกิดแหํงหนี้
1. นติ กิ รรม
2. นิตเิ หตุ 2.1 จัดการงานนอกสงั่ 2.2 ลาภมคิ วรได๎ 2.3 ละเมดิ
3. บทบัญญัตแิ หํงกฎหมาย

วตั ถุแหํงหนี้ 1. กระทาํ การ 2. งดเวน๎ กระทําการ 3. สงํ มอบทรพั ยส๑ นิ

ผลแหํงหน้ี
1. การไมชํ ําระหนี้
2. การรบั ชํวงสิทธิ-การรบั ชวํ งทรพั ย๑
3. การใช๎สิทธิเรยี กรอ๎ งของลูกหน้ี
หนี้ 4. การเพิกถอนการฉ๎อฉล
5. สิทธยิ ึดหนํวง
6. บุรมิ สทิ ธิ

ลูกหน้ีรวํ ม เจ๎าหนีร้ วํ ม

การโอนสิทธเิ รยี กร๎อง

ความระงบั แหงํ หนี้
1. การชําระหนี้
2. การปลดหน้ี
3. การหักกลบลบหนี้
4. การแปลงหนีใ้ หมํ
5. หนี้เกลอื่ นกลนื กัน

2

เนอื้ หาของวชิ ากฎหมายลักษณะหน้ี
กฎหมายลักษณะหนีไ้ ด๎ถกู กําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ บรรพ 2

วาํ ด๎วยหน้ี ลักษณะ 1 บทเบด็ เสรจ็ ท่ัวไป ดงั นี้
หมวด 1 วตั ถแุ หงํ หนี้ มาตรา 194-202
หมวด 2 ผลแหงํ หน้ี
สํวนท่ี 1 การไมชํ ําระหน้ี มาตรา 203-225
สวํ นที่ 2 รับชํวงสทิ ธิ มาตรา 226-232
สํวนที่ 3 การใช๎สิทธิเรียกรอ๎ งของลูกหนี้ มาตรา 233-236
สํวนที่ 4 เพกิ ถอนการฉอ๎ ฉล มาตรา 237-240
สํวนท่ี 5 สิทธิยดึ หนวํ ง มาตรา 241-250
สํวนท่ี 6 บุริมสทิ ธิ มาตรา 251-252
1. บุรมิ สทิ ธิสามัญ มาตรา 253-258
2. บรุ มิ สทิ ธิพิเศษ
(ก) บรุ มิ สิทธิเหนือสงั หารมิ ทรพั ย๑ มาตรา 259-272
(ข) บรุ มิ สิทธเิ หนอื อสังหารมิ ทรัพย๑ มาตรา 273-276
3. ลาํ ดับแหงํ บุริมสิทธิ มาตรา 277-280
4. ผลแหงํ บุริมสิทธิ มาตรา 281-289
หมวด 3 ลกู หนแ้ี ละเจา๎ หนหี้ ลายคน มาตรา 290-302
หมวด 4 การโอนสทิ ธิเรียกร๎อง มาตรา 303-313
หมวด 5 ความระงับหน้ี
สํวนท่ี 1 การชาํ ระหน้ี มาตรา 314-339
สํวนท่ี 2 ปลดหน้ี มาตรา 340
สํวนที่ 3 หกั กลบลบหนี้ มาตรา 341-348
สํวนที่ 4 แปลงหน้ใี หมํ มาตรา 349-352
สํวนที่ 5 หนี้เกล่ือนกลืนกนั มาตรา 353
ขอ้ สงั เกต กฎหมายลักษณะหน้ีครอบคลมุ เนอ้ื หาเฉพาะในประมวลกฎหมายแพํง

และพาณิชย๑ บรรพ 2 วําดว๎ ยหน้ี ลกั ษณะ 1 บทเบ็ดเสรจ็ ทว่ั ไป เทาํ นน้ั ไมคํ รอบคลุมถงึ
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ บรรพ 2 วาํ ดว๎ ยหน้ี ลักษณะ 2 สญั ญา ลกั ษณะ 3
จัดการงานนอกสั่ง ลักษณะ 4 ลาภมิควรได๎ และลักษณะ 5 ละเมดิ ดว๎ ย

3

ความเป็นมาของกฎหมายลักษณะหน้ี
กฎหมายลักษณะหนี้ของโรมันเป็นที่มาของกฎหมายลักษณะหน้ีในหลายประเทศ

โดยเฉพาะอยํางย่ิงประเทศท่ีใช๎ระบบซีวิลลอว๑ เชํน สาธารณรัฐฝรั่งเศส สหพันธรัฐเยอรมนี
สาธารณรัฐอิตาลี เป็นต๎น สําหรับประเทศไทย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ลักษณะ
หนี้ฉบบั ปจ๓ จบุ ันมไิ ดม๎ ที ่ีมาจากกฎหมายเกําของประเทศไทยเอง แตํมีท่มี าท่ีสําคัญคือประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ลักษณะหนี้ของสหพันธรัฐเยอรมนี1 ดังน้ัน การศึกษากฎหมาย
ลกั ษณะหนขี้ องโรมนั และประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชยข๑ องสหพนั ธรัฐเยอรมนี จะทําให๎
เขา๎ ใจถึงเจตนารมณ๑ทแี่ ท๎จริงของประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ลักษณะหน้ีฉบับป๓จจุบัน
ของประเทศไทยมากขึน้

ความสาคัญของกฎหมายลักษณะหน้ี
เม่ือเกดิ หนขี้ ึ้น ไมวํ ําหนนี้ ้ันจะมีบํอเกิดมาจากนิติกรรม นิติเหตุ หรือบทบัญญัติแหํง

กฎหมาย ก็ต๎องนําประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ บรรพ 2 วําด๎วยหนี้ ลักษณะ 1 บท
เบ็ดเสร็จทว่ั ไป ในฐานะท่ีเป็นกฎหมายทว่ั ไปมาบังคบั ใช๎ เว๎นแตํจะมีกฎหมายเฉพาะ กําหนด
บทบัญญตั ิไว๎เป็นพิเศษแตกตํางจากประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ บรรพ 2 วําด๎วยหนี้
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จท่ัวไป ก็ต๎องบังคับตามกฎหมายเฉพาะนั้น เชํน ประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชย๑ บรรพ 3 เอกเทศสญั ญา บรรพ 5 คาํ อุปการะเลี้ยงดูตามกฎหมายครอบครัว
หรือพระราชบัญญัติคุ๎มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ท่ีกําหนดเรื่องดอกเบ้ียเงินชดเชยใน
ระหวาํ งผดิ นดั ไวโ๎ ดยเฉพาะแล๎ว เป็นต๎น ดังน้ัน การศึกษาวิชากฎหมายลักษณะหนี้ให๎เข๎าใจ
อยาํ งลกึ ซงึ้ จงึ เป็นส่งิ สาํ คัญ

ความหมายของ “หนี้” (OBLIGATION)
“หนี้” หมายถึง ความสัมพันธ๑ในทางกฎหมายระหวํางบุคคลสองฝ่าย คือ เจ๎าหนี้

และลูกหน้ี ซึ่งแตลํ ะฝา่ ยอาจเปน็ บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได๎ โดยเจ๎าหนี้มี “สิทธิ” ที่จะ
ไดร๎ ับการชําระหน้ี สํวนลูกหน้ีมี “หน๎าที่” ที่จะต๎องทําการชําระหนี้ เชํน นาย ก. ทําสัญญา
ซื้อสนิ ค๎าจากนาย ข. ดังนี้ ในมูลหนี้ชําระราคา นาย ข. เป็นเจ๎าหนี้มี “สิทธิ” ที่จะได๎รับการ
ชาํ ระหน้ี คือ ได๎รบั การชาํ ระราคา สํวนนาย ก. เป็นลูกหนี้มี “หน๎าท่ี” ท่ีจะต๎องทําการชําระ
หน้ี คอื ต๎องชําระราคา แตอํ ยํางไรกด็ ี ในมูลหน้สี งํ มอบสนิ ค๎า นาย ก. เป็นเจา๎ หน้ีมี “สิทธิ” ที่
จะได๎รับการชําระหน้ี คือ ได๎รับมอบสินค๎า สํวนนาย ข. เป็นลูกหน้ีมี “หน๎าที่” ท่ีจะต๎องทํา
การชาํ ระหนี้ คอื ตอ๎ งสงํ มอบสนิ ค๎า เป็นต๎น

1ศนันท๑กรณ๑ โสตถิพนั ธุ๑, คาอธบิ ายกฎหมายลักษณะหนี้ (ผลแห่งหนี้), พิมพ๑ครั้งที่
3 (กรงุ เทพมหานคร: วิญ๒ูชน, 2560), หน๎า 19 - 31.

4

บอ่ เกิดแหง่ หน้ี
บํอเกดิ แหงํ หนี้ ได๎แกํ
1. นติ กิ รรม เชํน สัญญาซ้อื ขาย สัญญาเชําซ้ือ เปน็ ต๎น
2. นิตเิ หตุ ไดแ๎ กํ
2.1 การจัดการงานนอกสั่ง บุคคลใดเข๎าทํากิจการแทนผู๎อ่ืนโดยเขามิได๎วํา

ขานวานใช๎ให๎ทํา หรือโดยมไิ ดม๎ ีสิทธทิ ีจ่ ะทําการงานนั้นแทนผ๎ูอื่น ถ๎าการที่เข๎าจัดการงานน้ัน
เป็นการขัดกับความประสงค๑อันแท๎จริงของตัวการ หรือขัดกับความประสงค๑ตามท่ีจะพึง
สันนษิ ฐานได๎ และผ๎ูจัดการก็ควรจะได๎รู๎สกึ เชํนน้ัน ผ๎ูจัดการจําต๎องใช๎คําสินไหมทดแทนให๎แกํ
ตัวการเพ่ือความเสียหายอยํางใด ๆ อันเกิดแตํท่ีได๎เข๎าจัดการนั้น แม๎ท้ังผู๎จัดการจะมิได๎มี
ความผดิ ประการอื่น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ 396 แตํถ๎าการท่ีเข๎าจัดการงาน
น้ันเป็นการสมประโยชน๑ของตัวการ และต๎องตามความประสงค๑อันแท๎จริงของตัวการ หรือ
ความประสงค๑ตามที่จะพึงสันนิษฐานได๎ ผ๎ูจัดการจะเรียกให๎ชดใช๎เงินอันตนได๎ออกไปคืนแกํ
ตนเชํนอยํางตัวแทนก็ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ 401

2.2 ลาภมิควรได้ บุคคลใดได๎มาซึ่งทรัพย๑ส่ิงใดเพราะการที่บุคคลอีกคนหนึ่ง
กระทําเพือ่ ชําระหน้ี หรอื ได๎มาด๎วยประการอ่ืน โดยปราศจากมูลอันจะอ๎างกฎหมายได๎ และ
เป็นทางให๎บุคคลอีกคนหนึง่ น้ันเสยี เปรียบ บุคคลนั้นจําต๎องคืนทรัพย๑ให๎แกํเขา ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 406

2.3 ละเมดิ ผ๎ูใดจงใจหรือประมาทเลนิ เลํอทําตํอบุคคลอ่ืนโดยผิดกฎหมาย ให๎เขา
เสยี หายถงึ แกํชวี ิต หรอื รํางกาย หรอื อนามัย หรอื เสรภี าพ หรือทรัพย๑สิน หรือสิทธิอยํางหนึ่ง
อยํางใด ถอื วาํ ผ๎นู น้ั ทาํ ละเมดิ จําตอ๎ งใช๎คําสินไหมทดแทนเพ่ือการนั้น ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 420

3. บทบัญญัติแห่งกฎหมาย เชํน คําอุปการะเลี้ยงดูระหวํางสามีภริยาหรือบิดา
มารดากับบุตรตามกฎหมายครอบครัว, คําภาษีอากร เปน็ ตน๎

วัตถุแห่งหนี้
สิง่ ทีเ่ ปน็ สิทธิของเจ๎าหน้ีในการเรยี กให๎ลกู หนช้ี าํ ระหน้ี หรอื สิง่ ที่เป็นหน๎าท่ีของลูกหน้ี

ในการชําระหน้ี เรยี กวาํ “วตั ถุแหํงหน้ี” ซ่งึ แบงํ ออกเปน็ 3 ประการ คือ
1. การกระทาํ การ คอื ลูกหนต้ี อ๎ งกระทาํ การเพอื่ เปน็ การชําระหนี้ เชํน นาย ก. จ๎าง

นาย ข. วาดรูป ดังนี้ นาย ข. มี “หน๎าที่” ที่จะต๎องทําการชําระหนี้ โดยวิธีการกระทําการ
คือ การวาดรูป เป็นต๎น หรือนาย ก. อาจจะจ๎าง นาย ข. กระทําการอ่ืน ๆ เชํน สร๎างบ๎าน
ทาํ อาหาร ตดั ผม ทาํ ความสะอาดบ๎าน ทาํ สวน ขับรถ ร๎องเพลง เต๎นราํ เป็นต๎น

5

2. การงดเวน๎ กระทาํ การ คอื ลกู หนีต้ อ๎ งงดเวน๎ กระทาํ การเพ่ือเปน็ การชําระหน้ี
ตัวอย่างที่ 1 นาย ก. จ๎าง นาย ข. ซึ่งมีอาชีพขายส๎มตําไกํยําง ให๎เลิกขายส๎มตํา

ไกยํ าํ ง ดังนี้ นาย ข. มี “หน๎าท่ี” ท่ีจะต๎องทําการชําระหน้ี โดยวิธีการงดเว๎นกระทําการ คือ
เลกิ ขายส๎มตําไกํยาํ ง

ตัวอย่างที่ 2 นาย ก. แบํงท่ีดินของตนให๎นาย ข. เชํา โดยนาย ก. และนาย ข.
ตกลงกันวาํ หา๎ มนาย ข. สร๎างอาคารสูงเกิน 3 ช้ัน ในท่ีดินดังกลําว ดังน้ี นาย ข. มี “หน๎าท่ี”
ท่ีจะต๎องทําการชําระหนี้ โดยวิธีการงดเว๎นกระทําการ คือ ไมํสร๎างอาคารสูงเกิน 3 ช้ัน ใน
ที่ดินดังกลําว

3. การสํงมอบทรัพย๑สิน คือ ลูกหนี้ต๎องสํงมอบทรัพย๑สินเพ่ือเป็นการชําระหน้ี เชํน
นาย ก. ทําสญั ญาซอ้ื สนิ คา๎ จากนาย ข. ดังน้ี นาย ก. มหี นา๎ ที่สํงมอบเงินคาํ สินค๎า สํวนนาย ข.
มีหน๎าที่สํงมอบสินค๎า เป็นต๎น โดยทรัพย๑สินที่ลูกหนี้มีหน๎าที่จะต๎องสํงมอบน้ี เรียกวํา
“ทรพั ยซ๑ ่ึงเป็นวัตถแุ หํงหนี้”

บุคคลสิทธแิ ละทรพั ยสิทธิ
บุคคลสิทธิ เป็นสิทธิเหนือบุคคลระหวํางเจ๎าหนี้กับลูกหน้ี กลําวคือ เป็นสิทธิของ

เจ๎าหนใ้ี นอันที่จะบังคับให๎ลูกหนี้กระทําการ งดเว๎นกระทําการ หรือสํงมอบทรัพย๑สิน ดังน้ัน
บุคคลสิทธิจึงใช๎ผูกพันเฉพาะระหวํางเจ๎าหน้ีกับลูกหน้ีเทําน้ัน ไมํผูกพันบุคคลภายนอก เชํน
นาย ก. กยู๎ ืมเงินจากนาย ข. ดังนี้ นาย ข. กม็ สี ิทธเิ รียกให๎นาย ข. เทํานน้ั ชาํ ระหนี้ จะไปเรียก
จากบุคคลภายนอกไมํได๎ เปน็ ตน๎

ทรัพยสิทธิ เป็นสิทธิเหนือทรัพย๑สินหรือสิทธิท่ีจะบังคับเอาจากทรัพย๑สิน โดย
ไมคํ ํานงึ ถงึ ตัวบคุ คลวาํ จะเป็นลูกหนี้ของผ๎ูทรงทรัพยสิทธินั้นหรือไมํ หรือกลําวอีกนัยยะหน่ึง
คอื ทรัพยสทิ ธิผูกพันบุคคลทัว่ ไป เชํน นาย ก. จาํ นองท่ีดินไว๎กับนาย ข. ดังน้ี นาย ข. มีสิทธิ
บังคับจาํ นองเอาจากท่ีดินน้ันได๎เสมอ ไมํวําที่ดินนั้นจะโอนไปเป็นของผู๎ใด ทั้ง ๆ ท่ีผ๎ูนั้นมิได๎
เปน็ ผจู๎ าํ นองทรัพย๑นั้นตอํ นาย ข. เลยกต็ าม (ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 702)
หรือเจ๎าของทรัพย๑สินมีสิทธิใช๎สอยทรัพย๑สินน้ัน จําหนํายทรัพย๑สินนั้น ได๎ซ่ึงดอกผลแหํง
ทรัพย๑สินน้ัน ติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย๑สินนั้นจากบุคคลผ๎ูไมํมีสิทธิจะยึดถือไว๎ และมีสิทธิ
ขัดขวางมิให๎ผ๎ูอื่นสอดเข๎าเกี่ยวข๎องกับทรัพย๑สินน้ันโดยมิชอบด๎วยกฎหมาย (ประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 1336) เปน็ ตน๎

6

หนที้ างแพ่งและหน้ีทางศลี ธรรม
หน้ีทางแพ่ง (หน้ีตามกฎหมาย) หมายถึง การเป็นหน้ีกันจริง ๆ ตามกฎหมาย

กลําวคือ เป็นหน้ีซึ่งเจ๎าหน้ีมีสิทธิเรียกร๎องให๎ลูกหน้ีชําระหนี้ได๎ตามกฎหมาย และลูกหน้ีก็มี
หนา๎ ทีท่ ่จี ะต๎องชําระหน้ตี ามกฎหมาย

หน้ที างศีลธรรม (หน้ีในธรรม, หน้ีธรรมดา) หมายถึง การที่มิได๎เป็นหน้ีกันจริง ๆ
ตามกฎหมาย เพยี งแตํเปน็ หนี้กันทางใจหรือทางศีลธรรม กลําวคือ เป็นหน้ีที่มีมูลแหํงหน้ีมา
จากความรส๎ู ึกรบั ผดิ ชอบในหนา๎ ที่ทางศีลธรรม ซง่ึ ลูกหนีไ้ มํมีหนา๎ ที่ต๎องชาํ ระหน้ีตามกฎหมาย
แตํหากลกู หนี้ชาํ ระหน้ไี ปแล๎ว ลกู หนจ้ี ะเรยี กคนื ไมไํ ด๎

ในเรื่องหนีท้ างศีลธรรมนนั้ แม๎ในประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ยข๑ องไทยจะไมํได๎
มีบทบัญญัติเก่ียวกับเร่ืองหนี้ทางศีลธรรมไว๎โดยเฉพาะเหมือนกับกฎหมายของตํางประเทศ
เชํน ประเทศเนเธอร๑แลนด๑ เป็นต๎น แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ของไทยก็ได๎นํา
แนวคดิ ท่ีเก่ยี วกับหนท้ี างศลี ธรรมมาบัญญตั ไิ ว๎ โดยกระจดั กระจายอยูํในบางตัวบทกฎหมาย2
เชนํ

1. หน้ีท่ีขาดอายุความ สําหรับหนี้ที่ขาดอายุความน้ัน เจ๎าหน้ีสามารถฟ้องคดีตํอ
ศาลได๎ และหากลกู หนไี้ มํได๎ยกอายคุ วามข้ึนเปน็ ข๎อตํอส๎ู ศาลจะอ๎างเอาอายุความมาเป็นเหตุ
ยกฟ้องไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 193/29

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 248/2525 โจทก๑ฟ้องให๎จําเลยรับผิดชดใช๎คําสินไหม
ทดแทน จําเลยไมํได๎ยกอายุความข้ึนตํอส๎ู ดังนี้ ศาลจะอ๎างอายุความมาเป็นเหตุให๎ยกฟ้อง
โจทก๑ไมํได๎

อยํางไรกด็ ี ลกู หนมี้ สี ิทธิยกอายุความข้ึนเป็นข๎อตํอสู๎ หรือมีสิทธิท่ีจะปฏิเสธการ
ชําระหนี้ตามสิทธิเรียกร๎องน้ันได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 193/10
แตํหากลูกหน้ีได๎ชําระหน้ีไป ลูกหน้ีจะเรียกคืนไมํได๎ แม๎วําลูกหนี้จะไมํรู๎วําสิทธิเรียกร๎องน้ัน
ขาดอายุความแลว๎ ก็ตาม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 193/28 วรรคแรก

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1687/2551 แม๎ลูกหนี้จะนําเงินมาชําระหนี้ภายหลัง
จากสทิ ธเิ รียกร๎องขาดอายุความแล๎ว แตํลูกหนี้ก็เรยี กเงนิ คนื ไมไํ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 193/28 วรรคแรก

2อรรถพร พานแก๎ว, “แนวคิดเก่ียวกับหน้ีธรรมดาในกฎหมายตํางประเทศ,”
วารสารบณั ฑติ ศึกษานิติศาสตร์ 12, 4 (ตุลาคม – ธนั วาคม 2562): หนา๎ 721, 727.

7

สําหรับการรับสภาพหน้ีน้ัน หนี้ท่ีขาดอายุความแล๎ว ลูกหน้ีจะรับสภาพหน้ีตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 193/14 (1) ไมํได๎ แตํลูกหนี้รับสภาพความผิดได๎
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 193/28 วรรคสอง

คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 642/2518 การรบั สภาพหน้ีตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 172 (มาตรา 193/14 (1)ใหมํ) น้ัน ต๎องเป็นการรับสภาพหนี้ภายใน
กําหนดอายุความ

2. หน้ีตามหน้าที่ศีลธรรมหรือตามควรแก่อัธยาศัยในสมาคม ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 408 (3) ซึง่ กําหนดวําบุคคลผ๎ูชําระหน้ีตามหน๎าที่ศีลธรรม
หรอื ตามควรแกํอัธยาศัยในสมาคม ไมมํ สี ทิ ธิจะได๎รับคนื ทรัพย๑ เชนํ นาย ก. ด๎วยความมึนเมา
ได๎เข๎ามีความสัมพันธ๑ฉนั ชสู๎ าวกับนางสาว ข. ซง่ึ มอี ายมุ ากกวํา 20 ปี ด๎วยความสมัครใจ แล๎ว
ตํอมานาย ก. ได๎ตกลงขอชดใช๎คําเสยี หายให๎แกํนางสาว ข. หลังจากน้ัน นาย ก. ไมํชําระหน้ี
ดังนี้ แม๎คําเสียหายน้ันจะถือเป็นหน๎าที่โดยศีลธรรมก็ตาม แตํเม่ือไมํมีกฎหมายให๎ฟ้องร๎อง
บังคับคดีกันได๎ นางสาว ข. จึงไมํมีสิทธิเรียกร๎องคําเสียหายจากนาย ก. เว๎นแตํนาย ข. ได๎
ชําระหนี้ใหแ๎ กํนางสาว ก. แล๎ว นาย ข. จงึ จะไมมํ สี ทิ ธิเรียกคืนได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 408 (3) เปน็ ต๎น

3. หนท้ี ี่ขาดหลกั ฐานตามทก่ี ฎหมายกาหนด ไมสํ ามารถฟ้องร๎องตํอศาลได๎ แตํหาก
มกี ารชําระหนี้ไป กจ็ ะไมสํ ามารถเรยี กคืนได๎ เพราะมมี ลู หนีก้ ันจริง เชํน การก๎ูยืมเงินเกินกวํา
2,000 บาท โดยไมมํ ีหลักฐานเป็นหนงั สือลงลายมือชื่อผู๎ก๎ู ไมสํ ามารถฟ้องร๎องตํอศาลได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 653 วรรคแรก แตํหากมีการชําระหนี้ไป ก็เรียก
คนื ไมํได๎ เพราะมีการก๎ูยืมกนั จริง เปน็ ต๎น

นอกจากน้ัน หนีท้ ีไ่ มมํ หี ลักฐานเป็นหนงั สอื ถอื วาํ มหี นอ้ี ยูํจึงสามารถแปลงหนี้ใหมํ
ได๎3

4. หนี้ที่เกิดจากการพนันหรือขันต่อ แม๎การพนันหรือขันตํอจะไมํกํอให๎เกิดหนี้ท่ี
สามารถฟอ้ งรอ๎ งบงั คบั ชําระหน้กี นั ไดต๎ ามกฎหมาย แตหํ ากมีสิ่งท่ีได๎ให๎กันไปในการพนันหรือ
ขนั ตํอ ก็จะทวงคนื ไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 853

3ไพโรจน๑ วายุภาพ, คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหน้ี,
พิมพค๑ รงั้ ที่ 12 (กรุงเทพมหานคร: สาํ นักอบรมศึกษากฎหมายแหํงเนติบัณฑิตยสภา, 2561),
หนา๎ 11.

8

ข้อสังเกต สําหรับในเรื่องหน้ีทางศีลธรรมนั้น ในป๓จจุบันนักวิชาการตําง ๆ ยังคงมี
ความคิดเห็นขัดแย๎งกันอยูํ โดยข้ึนอยูํกับการกําหนดคํานิยามของคําวํา “หน้ีทางศีลธรรม”
ของแตํละทําน เชํน หนี้ท่ีขาดอายุความและหนี้ที่ขาดหลักฐานตามท่ีกฎหมายกําหนดนั้น
นักวิชาการบางทํานก็เห็นวําเป็นหน้ีทางแพํง แตํนักวิชาการบางทํานก็เห็นวําเป็นหนี้ทาง
ศลี ธรรม เป็นต๎น

9

บทท่ี 1
วตั ถุแห่งหน้ี

1. บทนา
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ บรรพ 2 วําด๎วยหน้ี ในลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จ

ทั่วไป ได๎กําหนดถงึ วัตถุแหงํ หนไี้ วใ๎ นหมวด 1 ตง้ั แตมํ าตรา 194 ถึงมาตรา 202 ซึ่ง “วัตถุแหํง
หนี้” หมายถงึ สง่ิ ท่เี ปน็ สิทธิของเจ๎าหนใ้ี นการเรยี กให๎ลูกหน้ชี ําระหนี้ หรอื สิ่งท่ีเป็นหน๎าที่ของ
ลูกหน้ีในการชําระหนี้ โดยวัตถุแหํงหนี้น้ีแบํงออกเป็น 3 ประการ คือ การกระทําการ การ
งดเว๎นกระทาํ การ และการสํงมอบทรพั ย๑สนิ

2. อานาจแห่งมูลหนี้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 บัญญัติวํา “ด๎วยอํานาจแหํงมูล

หน้ี เจ๎าหน้ียํอมมีสิทธิจะเรียกให๎ลูกหนี้ชําระหนี้ได๎ อน่ึง การชําระหน้ีด๎วยงดเว๎นการอันใด
อันหนง่ึ กย็ อํ มมีได๎”

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 อธบิ ายไดด้ ังนี้
1. ด้วยอานาจแหง่ มูลหน้ี หมายความวําเมอื่ มหี นี้เกดิ ขึ้น ไมวํ าํ หน้ีนั้นจะมี “มลู หนี้”
(บอํ เกดิ แหํงหนหี้ รือทม่ี าแหงํ หน้ี) มาจากนติ กิ รรม หรือนติ เิ หตุ หรือบทบญั ญัตแิ หํงกฎหมาย
2. เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิจะเรียกให้ลูกหน้ีชาระหน้ีได้ หมายความวํา เม่ือมีหนี้เกิดข้ึน
เจ๎าหนี้มสี ทิ ธิเรียกให๎ลกู หนช้ี ําระหนี้ได๎ ซ่ึงสิทธิยํอมคูํกับหน๎าท่ี ดังนั้น เม่ือเจ๎าหนี้มีสิทธิเรียก
ให๎ลูกหน้ีชําระหน้ี ลูกหนี้ก็ต๎องมีหน๎าท่ีชําระหน้ี โดยการใช๎สิทธิของเจ๎าหน้ีในการเรียกให๎
ลกู หน้ีชําระหนี้นั้น เจ๎าหน้ีจะใช๎สิทธิเรียกให๎ลูกหน้ีชําระหนี้โดยวิธีการทวงถามหน้ี หรือการ
ฟอ้ งคดีตํอศาลก็ได๎ แตํในทางปฏิบัติ เจ๎าหน้ีมักใช๎วิธีการทวงถามหนี้ เพราะเจ๎าหนี้สํวนใหญํ
ไมตํ อ๎ งการใชม๎ าตรการในการฟอ้ งคดีตํอศาล เนื่องจากจะทําให๎เสียเวลา คําใช๎จํายสูงและยัง
เป็นการทําลายความสัมพันธ๑กับลูกหนี้ในภายหน๎า ซ่ึงการทวงถามหนี้นั้น เจ๎าหน้ีอาจ
ดาํ เนนิ การทวงถามหน้ีด๎วยตนเอง หรือเจ๎าหนี้อาจมอบหมายบุคคลอ่ืนให๎ไปดําเนินการทวง
ถามหน้ีแทนตนก็ได๎4

4ปรุ ิมพร นวลปาน, “ป๓ญหาในการใช๎สิทธทิ วงถามหนีข้ องเจา๎ หนต้ี ามกฎหมาย
วําดว๎ ยการทวงถามหนี้,”วารสารบณั ฑติ ศกึ ษานติ ิศาสตร์ 13, 2 (เมษายน – มถิ นุ ายน
2563): หน๎า 157.

10

อน่ึง เจ๎าหนี้จะใช๎สิทธิเรียกให๎ลูกหนี้ชําระหนี้โดยวิธีการใช๎กําลังทางกายภาพ
บังคับ หรือดุดํา หรือลงข๎อความประจานผํานทางการติดตํอสื่อสารระบบออนไลน๑ไมํได๎
เพราะอาจจะเป็นความผดิ ตามกฎหมายแพํงและอาญาได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6894/2540 โจทก๑กับจําเลยทําสัญญาจะซื้อจะขายกัน
และจําเลยยินยอมสงํ มอบการครอบครองท่ดี ินพร๎อมบา๎ นพพิ าทใหโ๎ จทก๑เข๎าครอบครองนับแตํ
วนั ทําสัญญา ดังนน้ั โจทกย๑ อํ มมีสิทธิอยํูในท่ีดินพร๎อมบ๎านพิพาทโดยชอบ หากจําเลยเห็นวํา
โจทก๑เป็นฝ่ายผิดสัญญาและไมํมีสิทธิท่ีจะอยูํในที่ดินพร๎อมบ๎านพิพาทตํอไป ก็เป็นกรณีท่ี
โจทก๑จําเลยโตแ๎ ยง๎ สิทธกิ ันในทางแพํง จาํ เลยชอบทจี่ ะดําเนนิ การตามกฎหมายเพื่อรักษาสิทธิ
ของตน จําเลยไมํมอี ํานาจโดยพลการท่จี ะตดั โซํคล๎องกุญแจท่ีโจทก๑ใช๎ปิดประตูหน๎าบ๎านออก
แล๎วใชก๎ ุญแจของจาํ เลยคลอ๎ งแทนทาํ ให๎โจทก๑เขา๎ บา๎ นไมํได๎ การกระทําของจําเลยดังกลําวจึง
เป็นความผิดฐานทําให๎เสียทรัพย๑ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 และเป็นการ
รบกวนการครอบครองทีด่ ินและบ๎านพิพาทของโจทก๑โดยปกติสุข จึงเป็นความผิดฐานบุกรุก
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362

คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 3025/2541 โจทก๑เปน็ ผ๎ูเชาํ ตึกแถวที่เกิดเหตุจากจําเลย
เมื่อครบกําหนดแล๎วโจทก๑ไมํออกไปจากตึกแถวและไมํชําระคําเชํา โดยโจทก๑ได๎ทําบันทึก
ข๎อตกลงยอมชําระคําเชําท่ีค๎างชําระน้ัน และจะชําระคําเชําเป็นรายเดือนตํอ ๆ ไป ถ๎าผิด
ขอ๎ ตกลงยอมให๎จําเลยเข๎าครอบครองตึกแถวที่เกิดเหตุได๎ เม่ือข๎อตกลงนี้ไมํขัดตํอความสงบ
เรยี บร๎อยหรือศีลธรรมอันดขี องประชาชนจงึ ใช๎บังคับได๎ ตํอมาโจทก๑ผิดข๎อตกลง จําเลยยังให๎
โอกาสแกํฝ่ายโจทก๑ โดยให๎เวลาขนย๎ายทรัพย๑สินโดยไมํติดใจเรียกร๎องเอาคําเชําที่ค๎างชําระ
แตอํ ยํางใด แตโํ จทกก๑ ็มิได๎ขนย๎ายออกไป การที่ จําเลยเปิดกุญแจตึกแถวท่ีเกิดเหตุ หลังจาก
น้ันจึงใช๎กุญแจของจําเลยปิดตึกแถวที่เกิดเหตุไว๎ ยํอมเป็นอํานาจของจําเลยท่ีจะกระทําได๎
และถอื วําจาํ เลยได๎ใช๎สิทธิเข๎ายึดถือครอบครองตึกแถวที่เกิดเหตุแล๎วโดยชอบตามท่ีได๎ตกลง
กนั ไว๎ การกระทาํ ของจาํ เลยจึงหาเป็นความผิดฐานทําใหเ๎ สยี ทรพั ย๑หรอื ฐานบกุ รุกไมํ

ท้งั นี้ ในป๓จจุบัน ยังมีการประกาศใช๎พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558
ขึ้น โดยเหตผุ ลในการประกาศใชพ๎ ระราชบญั ญัตฉิ บบั นี้ คอื “โดยที่การทวงถามหน้ใี นป๓จจุบัน
มีการกระทําที่ไมํเหมาะสมตํอลูกหน้ี ไมํวําจะเป็นการใช๎ถ๎อยคําท่ีเป็นการละเมิดสิทธิสํวน
บุคคลอยาํ งรนุ แรง การคุกคาม โดยขํเู ข็ญ การใชก๎ ําลังประทุษรา๎ ย หรือการทําให๎เสียชื่อเสียง
รวมถึงการให๎ข๎อมูลเท็จและการสร๎างความเดือดร๎อนรําคาญให๎แกํบุคคลอื่น ประกอบกับ
ปจ๓ จบุ ันยังไมํมีกฎหมายทกี่ ําหนดหลักเกณฑ๑ วิธีการ และเงื่อนไขในการทวงถามหน้ีและการ
ควบคุมการทวงถามหน้ีไว๎เป็นการเฉพาะ สมควรมีกฎหมายในเรื่องดังกลําว จึงจําเป็นต๎อง
ตราพระราชบัญญตั ิน้ี”

11

พระราชบญั ญตั กิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ไดก๎ ําหนดวธิ ีการติดตามทวงถามหนี้
ไว๎หลายประการ เชํน ห๎ามผ๎ูทวงถามหน้ีกระทําการทวงถามหน้ีในลักษณะขํมขํู ใช๎ความ
รนุ แรง หรือการกระทาํ อนื่ ใดทท่ี ําให๎เกิดความเสียหายแกรํ าํ งกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย๑สินของ
ลูกหนี้หรือผ๎ูอื่น ห๎ามใช๎วาจาหรือภาษาท่ีเป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู๎อ่ืน สําหรับเวลาในการ
ติดตํอทวงถามหน้ีน้ัน ในวันจันทร๑ถึงวันศุกร๑ติดตํอได๎ในเวลา 08.00 น. ถึง 20.00 น. ใน
วันหยุดราชการติดตํอได๎ในเวลา 08.00 น. ถึง 18.00 น. เป็นต๎น และคณะกรรมการกํากับ
การทวงถามหนซี้ ง่ึ จัดตั้งขน้ึ ตามพระราชบญั ญัติการทวงถามหน้ี พ.ศ. 2558 ได๎ออกประกาศ
คณะกรรมการกํากับการทวงถามหนี้ เรื่องจํานวนคร้ังในการติดตํอทวงถามหนี้ขึ้น โดย
กาํ หนดใหท๎ วงถามหน้ีได๎วนั ละคร้งั

อยาํ งไรกด็ ี ในบางกรณีเจ๎าหน้สี ามารถบงั คบั ไดเ๎ องโดยไมตํ ๎องใชส๎ ิทธิทางศาล เชํน
หนท้ี ่ีมีมดั จาํ ถา๎ ลูกหนี้ละเลยไมชํ ําระหนี้ เจ๎าหน้กี ็สามารถริบมัดจําได๎ ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 369 หรือในสัญญาตํางตอบแทน คูํสัญญาฝ่ายหนึ่งจะไมํยอมชําระ
หนี้จนกวําอกี ฝ่ายหน่ึงจะชําระหนี้ก็ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 369
หรือการหักกลบลบหนี้ก็สามารถทาํ ได๎ดว๎ ยคูํกรณีฝ่ายหน่ึงแสดงเจตนาแกํอีกฝ่ายหนึ่งเทําน้ัน
ไมตํ อ๎ งใช๎สิทธิทางศาล ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 342 เป็นต๎น

3. การชาระหน้ีด้วยงดเว้นการอันใดอันหน่ึงก็ย่อมมีได้ หมายความวํา สิ่งที่เป็น
สิทธิของเจา๎ หนใ้ี นการเรียกให๎ลูกหนี้ชําระหน้ี หรือส่ิงที่เป็นหน๎าท่ีของลูกหนี้ในการชําระหนี้
(วตั ถุแหํงหน้ี) อาจเป็นการกระทําการหรือการงดเว๎นกระทําการก็ได๎ ซ่ึงการกระทําการน้ันก็
สามารถแบงํ ยอํ ยออกไดอ๎ กี เป็น 2 กรณี คอื การกระทาํ การและการสงํ มอบทรัพยส๑ ิน

สําหรับกรณีวัตถุแหํงหน้ีเป็นกระทําการ เชํน สร๎างบ๎าน ทําอาหาร ตัดผม
ทําความสะอาดบ๎าน ทาํ สวน ขดุ ลอกคูนา้ํ ขบั รถ รอ๎ งเพลง เต๎นราํ สอนพิเศษ เปน็ ต๎น

สําหรับกรณีวัตถุแหํงหน้ีเป็นการงดเว๎นกระทําการ เชํน ไมํเปิดร๎านค๎าทําการ
คา๎ ขายแขงํ ไมํปลูกบ๎านบงั แดดบงั ลม เป็นต๎น5

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4777/2549 จําเลยทําสัญญากับโจทก๑วํา ภายใน 1 ปี
นบั แตํวนั ท่ีจาํ เลยพน๎ สภาพจากการเปน็ พนักงานของโจทก๑ จาํ เลยจะไมํไปทาํ งานกบั บรษิ ทั อื่น
ที่เป็นคํูแขํงทางการค๎ากับโจทก๑ เมื่อโจทก๑จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลในประเทศไทย มี
สํานักงานต้ังอยูํในประเทศไทย โดยไมํปรากฏวําโจทก๑มีสาขาอยํูท่ีฮํองกง การท่ีจําเลยเข๎า
ทาํ งานกับบริษทั ว. ซึง่ ประกอบธุรกจิ อยทํู ฮ่ี ํองกง จึงไมํเป็นการเข๎าทํางานในบริษัทอ่ืนท่ีเป็น
คูํแขํงทางการค๎ากบั โจทก๑

5 โสภณ รัตนากร, คาอธบิ ายประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ว่าด้วยหนี้, พมิ พ๑
ครั้งที่ 11 (กรงุ เทพมหานคร: สํานกั พมิ พ๑นิติบรรณาการ, 2556),หนา๎ 65.

12

สําหรับกรณีวัตถุแหํงหน้ีเป็นการสํงมอบทรัพย๑สิน เชํน สํงมอบแหวนเพชรที่ขาย
เปน็ ต๎น

ข้อสงั เกต บางตาํ ราเรียกการสงํ มอบทรัพยส๑ นิ วาํ “การโอนทรัพย๑สิน”6

3. ทรัพยซ์ ง่ึ เป็นวตั ถุแหง่ หน้ี
ในกรณีวัตถุแหํงหนี้เป็นการสํงมอบทรัพย๑สิน ทรัพย๑สินที่ลูกหนี้มีหน๎าที่จะต๎อง

สํงมอบน้ีเรียกวําทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหนี้ หรือบางตําราเรียกวําทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการ
ชําระหนี้หรือทรพั ย๑อันเปน็ วัตถทุ ี่จะใชส๎ ํงมอบ7

3.1 ทรัพยซ์ ง่ึ เป็นวัตถแุ หง่ หน้ีเป็นทรัพยส์ ินทัว่ ไป
3.1.1 ทรพั ย์ซึ่งเป็นวัตถุแหง่ หน้ีนนั้ ได้ระบไุ วแ้ ต่เพียงเปน็ ประเภท
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 195 วรรคแรก บัญญัติวํา

“เมื่อทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหน้ีน้ันได๎ระบุไว๎แตํเพียงเป็นประเภท และถ๎าตามสภาพแหํง
นิติกรรมหรือตามเจตนาของคํูกรณี ไมํอาจจะกําหนดได๎วําทรัพย๑น้ันจะพึงเป็นชนิดอยํางไร
ไซร๎ ทาํ นวาํ ลกู หน้จี ะตอ๎ งสงํ มอบทรพั ย๑ชนิดปานกลาง”

ในกรณีท่ีทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงน้ีได๎มีการกําหนดเอาไว๎แนํนอน เชํน
ทําสญั ญาซื้อม๎าชื่อรุํงโรจน๑ ทําสัญญาซ้ือบ๎านเลขที่ 32 หมํู 5 ตําบลเขารูปช๎าง อําเภอเมือง
จังหวัดสงขลา เปน็ ต๎น ยํอมไมํเกิดปญ๓ หาในทางปฏิบตั ิ แตใํ นบางกรณีที่เจ๎าหน้ีและลูกหนี้มิได๎
มีการกําหนดทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหน้ีไว๎แนํนอน เพียงแตํระบุไว๎เป็นประเภทเทํานั้น
เชํน ทําสัญญาซื้อข๎าวสาร 10 กิโลกรัม หรือทําสัญญาซ้ือนํ้าตาลทราย 10 กิโลกรัม เป็นต๎น
โดยมิได๎ระบุไว๎ในสัญญาวําเป็นข๎าวสารหรือนํ้าตาลชนิดใด ก็อาจเกิดป๓ญหาวําลูกหนี้จะต๎อง
สงํ มอบทรพั ย๑ชนิดใดให๎ เชนํ ชนดิ ดีที่สุด ชนิดปานกลาง ชนิดไมดํ ี เปน็ ต๎น เพราะเจ๎าหนี้ยํอม
อยากไดช๎ นดิ ทด่ี ีทีส่ ุด สํวนลูกหนี้ก็ยอํ มจะอยากสงํ มอบชนิดทีไ่ มดํ ี ดงั นนั้ เพ่ือเป็นการป้องกัน
มิใหเ๎ กิดข๎อโตแ๎ ย๎ง ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑มาตรา 195 วรรคแรก จึงกําหนดไว๎วํา
เมื่อทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหน้ีน้ันได๎ระบุไว๎แตํเพียงเป็นประเภท และถ๎าตามสภาพแหํงนิติ
กรรมหรือตามเจตนาของคูํกรณี ไมํอาจจะกําหนดได๎วําทรัพย๑น้ันจะพึงเป็นชนิดอยํางไร
ลกู หนีจ้ ะต๎องสํงมอบทรพั ย๑ชนิดปานกลาง

ตวั อยา่ ง นาย ก. ทาํ สญั ญาซอ้ื ข๎าวสารจากนาย ข. 10 กิโลกรัม โดยมิได๎
ระบไุ วใ๎ นสญั ญาวําเป็นขา๎ วสารชนดิ ดีทสี่ ดุ หรือชนิดปานกลาง หรือชนิดไมํดี ดังนี้ นาย ข. ก็
จะต๎องสํงมอบทรพั ยช๑ นิดปานกลางให๎แกนํ าย ก.

6เรือ่ งเดียวกนั , หนา๎ 61., ไพโรจน๑ วายุภาพ, เร่ืองเดิม, หนา๎ 68.
7สุนทร มณีสวัสดิ์, คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์: หน้ี, พิมพ๑ครั้ง
ท่ี 2 (กรงุ เทพมหานคร: วญิ ๒ูชน, 2553), หนา๎ 40.

13

อยํางไรก็ดี ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 195 วรรคแรก มี
ข๎อยกเวน๎ อยํู 2 กรณี คือ

1. ถา๎ ตามสภาพแหงํ นิติกรรม (คือ ประโยชน๑ที่มุํงจะได๎รับจากนิติกรรม8)
อาจจะกําหนดได๎วําทรัพย๑น้ันจะพึงเป็นชนิดอยํางไร ลูกหน้ีก็จะต๎องสํงมอบทรัพย๑ชนิดนั้น
เชนํ นาย ก. ต๎องการจะซ้ือข๎าวสารนั้นเพื่อนําไปใช๎ในการแขํงขันทําอาหาร ดังนี้ นาย ข. ก็
จะตอ๎ งสํงมอบข๎าวสารชนิดดีที่สุดให๎แกํนาย ก. เพราะตามสภาพของนิติกรรม นาย ก. ยํอม
จะต๎องเปน็ ข๎าวสารทีม่ คี ุณภาพดีที่สุดเพือ่ นําไปใช๎ในการแขํงขันทําอาหาร เป็นตน๎

2. ถ๎าตามเจตนาของคูํกรณีอาจจะกําหนดได๎วําทรัพย๑นั้นจะพึงเป็นชนิด
อยาํ งไร ลกู หนก้ี จ็ ะตอ๎ งสงํ มอบทรัพยช๑ นิดน้นั เชนํ นาย ก. และนาย ข. ได๎เคยซ้ือข๎าวสารกัน
เป็นประจาํ โดยตกลงซอ้ื ขา๎ วสารชนิดดีท่สี ุดมาโดยตลอด ดงั นี้ นาย ข. ก็จะตอ๎ งสํงมอบทรัพย๑
ชนิดดีทีส่ ุดให๎แกํนาย ก.

3.1.2 การทาให้ทรพั ยท์ ่วั ไปเปน็ ทรัพย์ซ่ึงเป็นวัตถแุ ห่งหนี้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 195 วรรคสอง บัญญัติวํา

“ถ๎าลูกหน้ีได๎กระทําการอันตนจะพึงต๎องทําเพ่ือสํงมอบทรัพย๑ส่ิงนั้นทุกประการแล๎วก็ดี
หรอื ถา๎ ลกู หนไี้ ดเ๎ ลอื กกําหนดทรัพย๑ที่จะสํงมอบแล๎วด๎วยความยินยอมของเจ๎าหนี้ก็ดี ทํานวํา
ทรัพย๑นนั้ จึงเป็นวตั ถุแหงํ หนจ้ี าํ เดิมแตํเวลานน้ั ไป”

ในกรณีท่ีทรัพย๑นั้นมิใชํทรัพย๑เฉพาะส่ิง เชํน หนี้สํงมอบข๎าวสาร
1 กระสอบ ทรัพย๑น้ันยํอมยังมิใชํทรัพย๑ซ่ึงเป็นวัตถุแหํงหนี้ เพราะลูกหนี้จะไปเอาข๎าวสาร
กระสอบใดมาสงํ มอบให๎แกเํ จา๎ หนกี้ ็ได๎ กฎหมายจงึ ไดก๎ ําหนดหลักเกณฑ๑การทําให๎ทรพั ย๑ท่ัวไป
เป็นทรัพย๑ซ่ึงเป็นวัตถุแหํงหน้ี ไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 195 วรรค
สอง9 โดยกําหนดวํา ทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหน้ีนั้นต๎องเป็นทรัพย๑เฉพาะส่ิง ซ่ึงการจะทําให๎
ทรัพยท๑ ่ัวไปกลายเป็นทรัพยเ๑ ฉพาะสิ่งนั้นทําได๎ 2 วธิ ีคือ

1. ลูกหน้ีได้กระทาการอันตนจะพึงต้องทาเพื่อส่งมอบทรัพย์ส่ิงนั้น
ทุกประการ เชํน นาย ก. มาซ้ือขา๎ วสาร 2 กระสอบจากนาย ข. ซ่ึงในขณะนั้นข๎าวสารในร๎าน
มีจาํ นวนมาก โดยนาย ก. และนาย ข. ตกลงกันวําให๎นาย ข. ขนข๎าวสารจํานวน 2 กระสอบ
มาวางไวห๎ น๎ารา๎ น แล๎วนาย ข. จะขับรถมารับข๎าวน้ัน ดังน้ี เม่ือนาย ข. ได๎จัดการขนข๎าวสาร
จํานวน 2 กระสอบ มาวางไว๎หนา๎ รา๎ นเพอ่ื สงํ มอบใหน๎ าย ก. แล๎ว ขา๎ วสารจํานวน 2 กระสอบ
นน้ั จงึ กลายเปน็ ทรัพยเ๑ ฉพาะสิง่ อนั เป็นทรพั ยซ๑ ่ึงเปน็ วัตถแุ หํงหนี้แลว๎ เปน็ ต๎น

8ไพโรจน๑ วายภุ าพ, เรอ่ื งเดมิ , หน๎า 77.
9สนุ ทร มณีสวัสด์ิ, เรอื่ งเดมิ , หน๎า 41.

14

2. ลูกหน้ีได้เลอื กกาหนดทรัพย์ท่ีจะส่งมอบแล้วด้วยความยินยอมของ
เจ้าหน้ี เชนํ นาย ก. มาซื้อสุนัขจากฟาร๑มเล้ียงสุนัขของนาย ข. เมื่อนาย ข. ได๎เลือกสุนัขตัว
ใดดว๎ ยความยนิ ยอมของนาย ก. แลว๎ สุนขั ตัวนนั้ ก็กลายเป็นทรพั ย๑เฉพาะส่ิง อันเป็นทรัพย๑ซึ่ง
เป็นวัตถุแหงํ หน้ี เปน็ ต๎น

อน่ึง ในทางปฏิบัติ เจ๎าหน้ีมักจะเป็นฝ่ายเลือกเองด๎วยความยินยอม
ของลกู หน้ี ซงึ่ ก็เทํากบั ลูกหนเ้ี ปน็ ฝ่ายเลือกดว๎ ยความยินยอมของเจา๎ หน้ีเชํนเดยี วกัน10

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 339/2506 จําเลยตกลงขายไม๎ในโรงเล่ือย
ใหแ๎ กํโจทก๑ โดยโจทกไ๑ ดว๎ ัดไมต๎ ตี รากรรมสิทธิ์ไว๎แล๎ว ดงั น้ี ถือวํากรรมสิทธ์ิในไม๎ได๎โอนไปเป็น
ของโจทก๑แล๎ว

ข้อสังเกต
(1) วัตถุแหํงหนอี้ าจเป็นการสงํ มอบทรัพย๑สินทั่วไปได๎ เพราะทรัพย๑ไมํได๎
เป็นวัตถุแหํงหนี้ ดังน้ัน แมจ๎ ะไมํมีตัวทรพั ย๑ทแ่ี นํนอน กม็ หี นีแ้ ล๎ว แตํเมื่อทรัพย๑ท่ัวไปถูกทําให๎
เปน็ ทรัพย๑เฉพาะสิ่ง จึงมีผลเป็นการนําทรัพย๑น้ันเข๎าสูํระบบตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 195 วรรคสอง คอื ทรัพยน๑ ้ันจึงเป็นทรัพย๑ซ่ึงเป็นวัตถุแหํงหน้ีจําเดิมแตํเวลา
น้นั ไป11
(2) การทําให๎ทรัพย๑ท่ัวไปกลายเป็นทรัพย๑เฉพาะสิ่ง เพื่อให๎เป็นทรัพย๑ซึ่ง
เป็นวัตถุแหงํ หนตี้ ามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ ลกั ษณะหนี้ ในบรรพ 2 มาตรา 195
วรรคสองนี้ มีบทบัญญัติทํานองเดียวกันกับกฎหมายเอกเทศสัญญา วําด๎วยการซื้อขาย ใน
บรรพ 3 มาตรา 460 วรรคแรก ซ่ึงมาตรา 460 บัญญัติวํา “ในการซ้ือขายทรัพย๑สินซ่ึงมิได๎
กําหนดลงไว๎แนํนอนนัน้ ทาํ นวาํ กรรมสิทธ์ยิ งั ไมํโอนไปจนกวําจะได๎หมาย หรือนับ ชั่ง ตวง วดั
หรือคัดเลือก หรือทําโดยวิธีอ่ืนเพื่อให๎บํงตัวทรัพย๑สินนั้นออกเป็นแนํนอนแล๎ว” และเมื่อ
มาตรา 460 วรรคแรก เป็นกฎหมายเฉพาะกต็ ๎องบงั คับตามกฎหมายเฉพาะนั้น ไมํบังคับตาม
มาตรา 195 วรรคสอง ซ่ึงเป็นกฎหมายท่วั ไป

สําหรับผลของการเป็นทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหนี้น้ัน ถูกกําหนดไว๎ใน
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 370 ซึง่ บญั ญตั วิ าํ “ถ๎าสัญญาตํางตอบแทนมีวัตถุ
ทปี่ ระสงค๑เป็นการกํอใหเ๎ กิดหรือโอนทรัพยสิทธใิ นทรัพย๑เฉพาะส่ิง และทรัพย๑นั้นสูญหรือเสีย
หายไปด๎วยเหตุอยํางใดอยํางหน่ึงอันจะโทษลูกหน้ีมิได๎ไซร๎ ทํานวําการสูญหรือเสียหายน้ัน
ตกเป็นพับแกเํ จา๎ หน้ี

10ไพโรจน๑ วายภุ าพ, เรือ่ งเดิม, หนา๎ 79.
11เร่ืองเดยี วกัน, หนา๎ 81.

15

ถ๎าไมํใชํทรัพย๑เฉพาะสิ่ง ทํานให๎ใช๎บทบัญญัติท่ีกลําวมาในวรรคกํอนน้ี
บังคับแตเํ วลาที่ทรพั ย๑นน้ั กลายเปน็ ทรพั ย๑เฉพาะสิง่ ตามบทบัญญัติแหํงมาตรา 195 วรรคสอง
น้ันไป”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 370 ดังกลําว อธิบายได๎
ดังน้ี

1. ถา๎ ทรัพยน๑ ้นั เปน็ ทรพั ยเ๑ ฉพาะส่งิ อันเปน็ ทรัพยซ๑ ่ึงเป็นวัตถุแหํงหน้ี แล๎ว
ทรัพย๑น้ันสูญหรือเสียหายไปด๎วยเหตุอยํางใดอยํางหน่ึงอันจะโทษลูกหนี้มิได๎ การสูญหรือ
เสียหายนัน้ ตกเปน็ พับแกเํ จ๎าหนี้

ตัวอย่าง นาย ก. มาซ้ือข๎าวสาร 2 กระสอบจากนาย ข. จากข๎าวสาร
ในร๎านท่ีมีมากมาย โดยนาย ก. และนาย ข. ตกลงกันวําให๎นาย ข. ขนข๎าวสารจํานวน 2
กระสอบมาวางไวห๎ น๎ารา๎ น แลว๎ นาย ข. จะขับรถมารบั ข๎าวนัน้ ดังนี้ เม่ือนาย ข. ได๎จัดการขน
ขา๎ วสารจาํ นวน 2 กระสอบ มาวางไว๎หน๎าร๎านเพ่ือสํงมอบให๎นาย ก. แล๎ว ข๎าวสารจํานวน 2
กระสอบนน้ั ก็กลายเป็นทรัพย๑เฉพาะส่ิงอันเป็นทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหน้ีแล๎ว ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 195 วรรคสอง หลังจากนนั้ ดว๎ ยอบุ ตั ิเหตุได๎เกิดไฟไหม๎ร๎าน
ของนาย ข. โดยไมํใชํความผิดของนาย ข. และไฟได๎ลามไปถึงข๎าวสารนั้นด๎วย ดังนี้ เม่ือ
ทรัพย๑นั้นสูญหรือเสียหายไปด๎วยเหตุอยํางใดอยํางหน่ึงอันจะโทษลูกหนี้มิได๎ การสูญหรือ
เสยี หายนัน้ จึงตกเปน็ พับแกํนาย ก. ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 370 และ
นาย ก. ต๎องชําระหนีค้ ําข๎าวสารใหแ๎ กนํ าย ข. ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
372

2. ถา๎ ทรพั ย๑น้นั เปน็ ทรพั ยท๑ ่วั ไป มไิ ด๎เป็นทรัพย๑เฉพาะส่ิงอันเป็นทรัพย๑ซึ่ง
เป็นวตั ถแุ หงํ หนี้ แลว๎ ทรพั ย๑น้นั สูญหรือเสยี หายไปดว๎ ยเหตอุ ยํางใดอยํางหน่ึงอันจะโทษลูกหนี้
มไิ ด๎ การสูญหรอื เสยี หายนั้นไมํตกเป็นพับแกเํ จ๎าหนี้

ตัวอย่าง นาย ก. มาซื้อข๎าวสาร 2 กระสอบจากนาย ข. จาก
ข๎าวสารในร๎านทมี่ ีจํานวนมาก โดยนาย ข. ยังไมํได๎ขนข๎าวสารใด ๆ มาเตรียมสํงมอบให๎นาย
ก. เลยดงั นี้ ขา๎ วสารในรา๎ นของนาย ข. ท้ังหมดเป็นทรัพย๑ทั่วไป ยังมิได๎เป็นทรัพย๑ซ่ึงเป็นวัตถุ
แหงํ หน้ี หลงั จากน้นั ดว๎ ยอบุ ัติเหตุได๎เกดิ ไฟไหม๎รา๎ นของนาย ข. ดังน้ี แม๎ทรัพย๑น้ันจะสูญหรือ
เสียหายไปด๎วยเหตุอยํางใดอยํางหน่ึงอันจะโทษลูกหนี้มิได๎ การสูญหรือเสียหายนั้นก็ไมํตก
เป็นพบั แกนํ าย ก. และนาย ข. ยังคงมีหน๎าทตี่ อ๎ งสํงมอบขา๎ วสารใหแ๎ กํ นาย ข. อยูํ

ตวั อยา่ งคาพพิ ากษาศาลฎีกาทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 339/2506 จําเลยตกลงขายไม๎ในโรงเล่ือยให๎
โจทก๑ โดยโจทก๑ได๎วัดไม๎ตีตรากรรมสิทธิ์และชําระราคาแล๎ว จึงต๎องถือวํากรรมสิทธ์ิในไม๎ได๎
โอนเป็นของโจทกแ๑ ลว๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 460 เม่อื เกดิ ไฟไหม๎ไม๎

16

นั้นเสียหายไป เพราะเหตอุ นั จะโทษจําเลยมิได๎แล๎ว การสูญหรือเสียหายก็ยํอมตกเป็นพับแกํ
โจทก๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 370

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 455/2518 จําเลยทําสัญญาขายข๎าวเปลือกซ่ึง
เกบ็ ไว๎ในยง๎ุ ใหแ๎ กํโจทก๑ และทําสญั ญารบั ฝากข๎าวเปลือกจาํ นวนน้ันไว๎จากโจทก๑ ดังน้ี เห็นได๎
วําข๎าวเปลือกไดโ๎ อนไปเป็นของโจทกแ๑ ลว๎ เม่ือจําเลยรบั ฝากขา๎ วเปลือกของโจทก๑ไว๎ จําเลยจึง
เป็นผูค๎ รอบครองข๎าวเปลอื กซึง่ เป็นของโจทก๑ เมอื่ จําเลยขนเอาข๎าวเปลือกไปเสีย และปฏิเสธ
ฝืนพยานหลกั ฐานวําจาํ เลยไมํเคยขายและรับฝากข๎าวเปลือกจากโจทก๑ เชํนน้ีถือได๎วําจําเลย
ไดเ๎ บียดบังเอาขา๎ วเปลอื กของโจทก๑ไปโดยทุจรติ จึงเป็นความผิดฐานยักยอกทรพั ย๑

3.2 ทรพั ย์ซงึ่ เปน็ วัตถุแห่งหนเี้ ปน็ เงนิ ตรา
กรณีทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหน้ีเป็นเงินตรา เชํน ผู๎ซื้อชําระราคาคําสินค๎าให๎แกํ

ผู๎ขาย หรือผท๎ู าํ ละเมิดชดใชค๎ ําสินไหมทดแทนให๎แกํผู๎เสียหาย หรือบิดาจํายคําอุปการะเลี้ยง
ดแู ลใหแ๎ กํบุตรผูเ๎ ยาว๑ เป็นต๎น

สําหรับกรณีที่ทรัพย๑ซ่ึงเป็นวัตถุแหํงหน้ีเป็นเงินตราน้ัน เน่ืองจากเงินตราไมํมี
ชนิดดีที่สุด ชนิดปานกลาง ชนิดไมํดี อยํางทรัพย๑สินอ่ืน ๆ ท่ัวไป ป๓ญหาตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 195 วรรคแรก จึงไมํมี เชํน นาย ก. ทําสัญญาซ้ือสินค๎า
จากนาย ข. จํานวน 1,000 บาท ดงั นี้ ในมูลหนี้ชาํ ระราคา นาย ก. เป็นลูกหนี้มีหน๎าที่จะต๎อง
ชําระราคา คือ สํงมอบเงินตรา โดยเงินตราน้ีน้ันจะมีลักษณะใหมํหรือเกําไมํใชํสาระสําคัญ
สาํ คัญคอื จํานวนเงินตอ๎ งครบถว๎ นตามสัญญา

ทั้งน้ี ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ได๎กําหนดเก่ียวกับทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุ
แหํงหนีเ้ ป็นเงินตราไว๎ดังนี้

3.2.1 กรณหี น้เี งนิ ได้แสดงไวเ้ ป็นเงินต่างประเทศ
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 196 บัญญัติวํา “ถ๎าหนี้เงิน

ไดแ๎ สดงไว๎เป็นเงนิ ตาํ งประเทศ ทํานวาํ จะสงํ ใช๎เป็นเงนิ ไทยกไ็ ด๎
การเปลีย่ นเงนิ น้ีให๎คิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่

ใชเ๎ งิน”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 196 วรรคแรก

หมายความวาํ ถ๎าหน้ีเงินได๎กําหนดไว๎เปน็ เงนิ ตาํ งประเทศ ลกู หน้ีมีสิทธเิ ลือกทจี่ ะสํงใช๎เป็นเงิน
ตํางประเทศหรือเงินไทยก็ได๎ เชํน นาย ก. ทําสัญญาซ้ือสินค๎าจากนาย ข. ราคา 300
ดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกา ดังนี้ ในเวลาสํงใช๎เงิน นาย ก. จะสํงใช๎เป็นเงินดอลลาร๑ของ
สหรัฐอเมริกา หรือเงนิ บาทของประเทศไทยก็ได๎ เป็นต๎น

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2512/2544 เมื่อหนี้เงินได๎กําหนดไว๎เป็นเงิน
ตํางประเทศ คือ เงินดอลลาร๑สหรัฐ จําเลยจึงชําระหนี้เป็นเงินไทยได๎ โดยคิดอัตรา

17

แลกเปลี่ยนเงนิ ณ สถานท่แี ละเวลาท่ีใช๎เงิน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
196

คาพิพากษาศาลฎกี าท่ี 5020/2547 ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 196 กาํ หนดวําถ๎าหน้ีเงนิ ไดแ๎ สดงไว๎เป็นเงินตราตาํ งประเทศ ลูกหน้ีมีสิทธิท่ีจะเลือกวํา
จะชาํ ระหนเ้ี ปน็ เงินตราตํางประเทศหรือเงินไทยก็ได๎ ดังนั้น ศาลจึงไมํมีอํานาจไปบังคับหรือ
เลอื กแทนลกู หนใี้ นการชาํ ระหนี้นนั้

ขอ้ สงั เกต
(1) สิทธิท่ีจะเลือกสํงใช๎เป็นเงินไทย ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 196 วรรคแรก เป็นสทิ ธิของลกู หนี้12 เจ๎าหนี้ไมํมีสทิ ธิเลอื ก13
(2) ถ๎าคํูกรณีได๎ตกลงกันให๎เจ๎าหนี้มีสิทธิเลือกให๎ลูกหนี้สํงใช๎เป็นเงินไทย
ได๎ เจ๎าหนีก้ ็จะมีสิทธเิ ลือกให๎ลูกหน้ีสํงใชเ๎ ป็นเงนิ ไทยได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4579/2552 หนี้ตามสัญญาได๎แสดงไว๎เป็น
เงินตาํ งประเทศ และมีข๎อตกลงท่ีระบุไว๎ในสัญญาวํา จําเลยยินยอมให๎โจทก๑มีสิทธิใช๎ดุลพินิจ
เปล่ยี นหนที้ ่เี ปน็ สกลุ เงนิ ตาํ งประเทศเป็นสกลุ เงินบาทไทยได๎นับต้ังแตํวันท่ีจําเลยผิดนัดชําระ
หน้ี ดงั นน้ั โจทกจ๑ งึ มสี ิทธิเรยี กรอ๎ งให๎จําเลยชําระหนีเ้ ปน็ สกลุ เงนิ บาทไทยได๎

(3) ถา๎ หนเี้ งนิ ได๎มกี ารตกลงกันอยํางชัดแจง๎ วาํ ใหส๎ ํงใช๎เป็นเงนิ ตํางประเทศ
สกุลใด กต็ อ๎ งสํงใช๎เงนิ ตํางประเทศสกลุ นั้น จะสํงใชเ๎ งินเป็นเงินบาทไทยไมไํ ด๎ เชํน นาย ก. ทํา
สัญญาซ้ือสินค๎าจากนาย ข. ราคา 300 ดอลลาร๑สหรัฐอเมริกา โดยตกลงกันวําจะต๎องชําระ
หน้ีเป็นเงินดอลลาร๑สหรัฐอเมริกาเทําน้ัน ดังน้ี นาย ก. จะต๎องชําระหนี้กันเป็นเงินดอลลาร๑
สหรฐั อเมรกิ าเทาํ น้นั จะชาํ ระเป็นเงินบาทไทยไมไํ ด๎ เปน็ ตน๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1693/2493 สัญญากันวําจะชําระหนี้เป็น
เงนิ เหรยี ญมะลายู ดังน้ี ลูกหนี้จะต๎องชําระหน้ีกันเป็นเงินเหรียญมลายูเทํานั้น จะชําระเป็น
เงนิ บาทไทยไมไํ ด๎ เว๎นแตํเจา๎ หน้ีจะยนิ ยอม

(4) กรณีซ้ือขายเงินตราโดยถือวําเป็นสินค๎า ถ๎าซ้ือขายเงินตราสกุลใดก็
ต๎องสํงมอบเงินตราสกุลน้ัน จะสงํ มอบเป็นเงนิ ตราสกุลเงินบาทไทยไมํได๎ เพราะกรณีน้ีไมํต๎อง
ดว๎ ยประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 196 วรรคแรก14

12สนุ ทร มณสี วัสดิ์, เรื่องเดิม, หน๎า 45.
13ไพโรจน๑ วายภุ าพ, เร่อื งเดิม, หนา๎ 85.
14เรอ่ื งเดียวกัน, หนา๎ 83.

18

สวํ นประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 196 วรรคสอง อธิบายได๎
ดงั นี้

1. การคิดอัตราการแลกเปล่ียนเงินตํางประเทศเป็นเงินไทย ให๎คิดตาม
อัตราแลกเปลี่ยน ณ สถานที่และในเวลาท่ีใช๎เงินกันจริง ๆ โดยไมํต๎องคํานึงวําในเวลาท่ี
มูลหน้ีได๎เกิดขึ้นน้ัน อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตํางประเทศเป็นเงินไทยจะเป็นเทําใด เชํน
นาย ก. ทําสัญญาซ้ือสินค๎าจากนาย ข. 1,000 ดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งในขณะน้ัน 1
ดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกา เทํากับเงินบาทของไทย 25 บาท แตํขณะใช๎เงิน 1 ดอลลาร๑ของ
สหรัฐอเมรกิ า เทํากบั เงินบาทของไทย 35 บาท ดังนี้ นาย ก. จะชาํ ระหน้ใี ห๎แกนํ าย ข. 1,000
ดอลลารข๑ องสหรัฐอเมรกิ า หรอื จะชําระหนใี้ ห๎แกํนาย ข. 35,000 บาท ก็ได๎

ท้ังนี้ แม๎ในอดีต การคิดอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตํางประเทศเป็นเงิน
ไทย ศาลฎีกาจะเคยให๎ถือเอาอัตราแลกเปลี่ยนในวันที่มีการอํานคําพิพากษา เพื่อความ
สะดวกในการบังคับคดี (คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3352/2529, 939/2537, 4609/2540,
1909/2541, 2886/2545) แตํในป๓จจุบัน ศาลฎีกาได๎ยึดตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 196 วรรคสอง คอื ให๎คิดตามอัตราแลกเปล่ียนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่
ใชเ๎ งนิ อยํางเครงํ ครัด

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1916/2544 การคิดอัตราแลกเปลี่ยนเป็น
เงินไทย ต๎องเป็นไปตามทปี่ ระมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑มาตรา 196 วรรคสอง กําหนด
ไว๎ คอื ตอ๎ งคดิ อตั ราแลกเปลย่ี น ณ สถานท่ี และในเวลาทีใ่ ชเ๎ งิน

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2669/2544 การท่ีศาลทรัพย๑สินทาง
ป๓ญญาและการค๎าระหวํางประเทศกลางพิพากษากาํ หนดให๎คดิ อตั ราแลกเปลี่ยนเงนิ ในวันที่มี
คําพพิ ากษานัน้ ไมํถูกตอ๎ ง เพราะไมํเป็นไปตามท่ีประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
196 วรรคสอง กําหนดไว๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1933/2545 เมื่อโจทก๑จําเลยตกลงซ้ือขาย
สินค๎ากันด๎วยเงินดอลลาร๑สิงคโปร๑ จําเลยจะชําระหน้ีเป็นเงินดอลลาร๑สิงคโปร๑ตามที่
ตกลงกัน หรือจําเลยจะชําระหนี้เป็นเงินบาทไทย โดยคิดอัตราแลกเปล่ียน ณ สถานท่ีและ
เวลาท่ใี ชเ๎ งินกไ็ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชยม๑ าตรา 196

2. การคิดอตั ราการแลกเปลย่ี นเงินตํางประเทศเป็นเงินไทย ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 196 วรรคสอง นั้น ให๎ถือตามอัตราแลกเปล่ียนเสรี คือ
อัตราแลกเปล่ียนถวั เฉลีย่ ของธนาคารพาณิชยท๑ ่ีขายให๎ลกู ค๎า จะถือตามอัตราแลกเปลี่ยนของ
ทางราชการหรอื อัตราแลกเปลยี่ นในตลาดมืดไมไํ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 124/2490 ในกรณีท่ีไมํปรากฏอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินอันแนํนอนเพราะมีการห๎ามการแลกเปลี่ยนเงินตํางประเทศนั้น ต๎องถือเอา

19

อัตราแลกเปล่ียนคร้ังสุดท๎ายที่ทางการกําหนดไว๎กํอนมีการห๎ามน้ัน จะถือเอาอัตรา
แลกเปลย่ี นในป๓จจุบนั ตามตลาดมืดไมไํ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1693/2493 อัตราแลกเปล่ียนเงินตํางประเทศ
เป็นเงินไทย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 196 วรรคสอง น้ัน หมายถึง
อัตราท่ีจะแลกเปลี่ยนกันได๎โดยเสรี ซ่ึงโดยปกติก็คิดตามอัตราแลกเปล่ียนเงินโดยเฉลี่ยท่ี
ธนาคารพาณิชย๑ในกรุงเทพฯ

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1883/2497 อัตราแลกเปล่ียนเงินตํางประเทศ
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 196 น้ัน หมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนเสรี ซึ่ง
อาจไมตํ รงกับอัตราของรฐั บาลก็ได๎

คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ 419/2536 การชําระหน้ีเป็นเงินเหรียญฮํองกง
อตั ราแลกเปลี่ยนเงินตอ๎ งเปน็ ไปตามอตั ราขายของธนาคาร

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3425/2545 ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 196 วรรคสอง จําเลยสามารถชาํ ระเป็นเงนิ บาทได๎ โดยธนาคารแหํงประเทศ
ไทยจะมีข๎อมูลอตั ราแลกเปลยี่ นถัวเฉลยี่ ของธนาคารพาณิชย๑ ซึ่งศาลให๎ถืออัตราดังกลําวเป็น
เกณฑ๑คํานวณ โดยคิดตามอัตราแลกเปล่ียนถัวเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย๑ที่ขายให๎ลูกค๎าใน
วนั ท่ีใช๎เงินจรงิ ถ๎าไมํมีอัตราแลกเปลี่ยนในวันใช๎เงินจริง ให๎ถือเอาวันสุดท๎ายท่ีมีอัตราเชํนวํา
นั้นกอํ นวนั ดงั กลําว

3.2.2 กรณีหนี้เงินทีพ่ งึ สง่ ใชเ้ ป็นชนดิ ที่ยกเลกิ ไม่ใชก้ นั แล้ว
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 197 บัญญัติวํา “ถ๎าหนี้

เงินจะพึงสํงใช๎ด๎วยเงินตราชนิดหนึ่งชนิดใดโดยเฉพาะ อันเป็นชนิดที่ยกเลิกไมํใช๎กันแล๎วใน
เวลาทีจ่ ะต๎องสงํ เงินใช๎หนี้น้ันไซร๎ การสํงใช๎เงินทํานให๎ถือเสมือนหนึ่งวํามิได๎ระบุไว๎ให๎ใช๎เป็น
เงนิ ตราชนิดนนั้ ”

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 197 บัญญัติขึ้นมาก็เพ่ือชํวย
แก๎ไขป๓ญหาในกรณีที่มีการยกเลิกเงินตราชนิดหน่ึงชนิดใดที่กําหนดไว๎วําจะต๎องสํงใช๎ในการ
ชาํ ระหนไี้ ปเสียแล๎ว ซ่ึงเงนิ ตราดงั กลําวน้ันอาจเงินตํางประเทศหรือเงินไทยก็ได๎ โดยประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 197 กําหนดวําหากหนี้เงินใดที่พึงสํงใช๎เป็นชนิดที่ยกเลิก
ไมํใช๎กันแล๎ว กฎหมายให๎ถือเสมือนหนึ่งวํามิได๎ระบุไว๎ให๎ใช๎เป็นเงินตราชนิดนั้น กลําวคือ
ลูกหน้ีมีสิทธิชําระหน้ีด๎วยเงินตราชนิดอื่นที่ยังคงใช๎อยํูในป๓จจุบันได๎ เชํน นาย ก. กู๎เงิน
นาย ข. ไป 100 บาท โดยสัญญาก๎ูระบุไว๎วําให๎นาย ก. ชําระหน้ีด๎วยธนบัตรใบละ 10 บาท
เทําน้ัน แตตํ อํ มาได๎มีการยกเลิกการใชธ๎ นบตั รใบละ 10 บาท นั้นเสีย ดังนี้ นาย ก. ยังคงต๎อง
ผูกพนั ชําระหนี้ 100 บาท ใหแ๎ กนํ าย ข. แตํนาย ก. สามารถชําระเป็นเงินตราชนิดอื่นท่ียังคง
ใชอ๎ ยูใํ นป๓จจุบันได๎ ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 197

20

อนึ่ง สําหรับเงินตราชนิดอื่นที่ยังคงใช๎อยํูในป๓จจุบันได๎ ที่กําหนดให๎
นํามาใช๎แทนเงินตราชนิดที่ยกเลิกไมํใช๎กันแล๎วน้ัน ศาลฎีกาตีความวําหมายถึงเงินสกุลที่ใช๎
แทนเงนิ ตราชนิดท่ยี กเลกิ ไมใํ ช๎กันแล๎วน้นั

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 568/2548 ถ๎าหนี้เงินได๎กําหนดวําต๎องใช๎ด๎วย
เงินฟรังก๑ฝรง่ั เศส แตเํ ม่อื ถึงเวลาใช๎เงินนัน้ เงนิ ฟรังกฝ๑ ร่งั เศสเปน็ เงินตราชนดิ ที่ยกเลิกไมํใช๎กัน
แล๎ว ให๎จําเลยชําระหน้ีด๎วยเงินสกุลที่ใช๎แทนเงินฟรังก๑ฝรั่งเศส คือ เงินยูโร โดยคํานวณให๎
เทาํ กัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 197 โดยการคํานวณเปลี่ยนจํานวน
หนเ้ี งินฟรังกฝ๑ ร่ังเศสเป็นเงินยโู ร ใหใ๎ ชอ๎ ัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ณ วนั สุดทา๎ ยทีม่ อี ัตราแลกเปลี่ยน
เงินฟรังก๑ฝรัง่ เศสเป็นเงินยูโร และในกรณีนห้ี ากจําเลยจะชําระดว๎ ยเงินบาทไทยก็ได๎ โดยให๎ใช๎
อัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ยูโรเปน็ เงินบาทไทย ณ สถานทีแ่ ละเวลาใชเ๎ งนิ จรงิ

ตัวอย่าง นาย ก. กู๎เงินนาย ข. ไป 10,000 ฟรังก๑ฝร่ังเศส โดยสัญญาก๎ู
ระบุไว๎วําให๎นาย ก. ชําระหน้ีด๎วยเงินฟรังก๑ฝรั่งเศสเทําน้ัน แตํตํอมาได๎มีการยกเลิกการใช๎
เงินฟรังก๑ฝร่ังเศสและเปลี่ยนมาใช๎เงินยูโรแทน ดังนี้ นาย ก. ยังคงต๎องผูกพันชําระหนี้
10,000 ฟรงั ก๑ฝรง่ั เศส ให๎แกํนาย ข. แตํนาย ก. สามารถชําระเป็นเงินยูโรได๎ โดยคํานวณให๎
เทํากัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 197 และนาย ก. จะชําระเป็นเงิน
บาทไทยกไ็ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 196 วรรคแรก

ขอ้ สังเกต
การที่หนี้เงินท่ีพึงสํงใช๎เป็นชนิดท่ีถูกยกเลิกไมํใช๎กันแล๎ว ไมํทําให๎ลูกหน้ี
หลุดพ๎นจาการชําระหนี้ เพราะการชําระหน้ีกลายเป็นพ๎นวิสัยเพราะพฤติการณ๑ท่ีลูกหน้ีไมํ
ต๎องรบั ผดิ ชอบ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 219 แตํลูกหนี้ต๎องชําระหนี้
ด๎วยเงนิ ตราชนดิ อ่นื ทยี่ ังคงใชอ๎ ยใํู นป๓จจบุ ันได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
197

4. วตั ถแุ ห่งหนซ้ี ่ึงเลือกชาระได้
4.1 สิทธใิ นการเลือก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 198 บัญญัติวํา “ถ๎าการอันมี

กําหนดพึงกระทําเพ่ือชําระหน้ีน้ันมีหลายอยําง แตํจะต๎องกระทําเพียงการใดการหนึ่ง
แตํอยํางเดียวไซร๎ ทํานวําสิทธิท่ีจะเลือกทําการอยํางใดน้ันตกอยํูแกํฝ่ายลูกหนี้ เว๎นแตํจะได๎
ตกลงกันกําหนดไว๎เปน็ อยาํ งอื่น”

หลักเกณฑ์ ถ๎าการอันพึงกระทําเพื่อชําระหน้ีมีหลายอยําง หรือวัตถุแหํงหนี้มี
หลายอยําง แตํจะต๎องกระทําเพียงการใดการหนง่ึ แตอํ ยํางเดียว สทิ ธิทจี่ ะเลอื กทําการอยํางใด
น้ันตกอยูํแกฝํ า่ ยลูกหนี้ เชนํ นาย ก. ก๎ูเงินจากนาย ข. จํานวน 1,000,000 บาท โดยสัญญา
ระบุวํานาย ก. จะตอ๎ งชําระหนี้เปน็ เงนิ จํานวน 1,000,000 บาท หรือจะต๎องชาํ ระหน้ดี ๎วยการ

21

สํงมอบรถยนต๑ของนาย ก. ให๎แกํนาย ข. ดงั นี้ นาย ก. มสี ิทธิที่จะเลือกวําจะชําระหนี้เป็นเงิน
จาํ นวน 1,000,000 บาท หรอื จะชาํ ระหน้โี ดยการสงํ มอบรถยนตข๑ องนาย ก. ให๎แกํนาย ข. ก็
ได๎ เปน็ ตน๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2442/2520 เมื่อคําขอท๎ายฟ้อง โจทก๑มิได๎ขอให๎จําเลย
สํงมอบกระดาษและชดใช๎คําเสียหาย แตํโจทก๑ขอให๎จําเลยสํงมอบกระดาษหรือชดใช๎
คาํ เสียหาย และศาลพิพากษาให๎ตามคําขอ จาํ เลยซ่ึงเป็นลูกหน้ีจงึ มีสิทธิท่ีจะเลือกชําระหนี้ได๎
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 198

ขอ้ ยกเวน้ คาํ วาํ “เว๎นแตจํ ะได๎ตกลงกันกําหนดไว๎เป็นอยํางอ่ืน” หมายความวํา
เวน๎ แตจํ ะได๎ตกลงกนั ไมํให๎สิทธิที่จะเลือกทําการอยํางใดน้ันตกอยํูแกํฝ่ายลูกหนี้ แตํให๎สิทธิที่
จะเลือกทําการอยํางใดนั้นตกอยูํแกํเจ๎าหนี้หรือบุคคลภายนอกแทน ก็ต๎องเป็นไปตาม
ข๎อตกลงนั้น เชํน นาย ก. กู๎เงินจากนาย ข. จํานวน 1,000,000 บาท โดยตกลงกันวําให๎
นาย ข. มีสิทธิเลือกวําจะให๎นาย ก. ชําระหนี้เป็นเงินจํานวน 1,000,000 บาท หรือจะให๎
นาย ก. ชําระหนี้ด๎วยการสํงมอบรถยนต๑ของนาย ก. ให๎แกํนาย ข. ดังนี้ นาย ก. ก็ต๎องชําระ
หนีต้ ามท่ีนาย ข. เลือก เป็นตน๎

ข้อสังเกต กรณีวัตถุแหํงหน้ีมีหลายอยําง ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 198 นัน้ วัตถุแหํงหน้ีอาจเปน็ การกระทําการ หรอื การงดเว๎นกระทําการหรือ
การสํงมอบทรัพยส๑ ินกไ็ ด๎15

อนง่ึ กรณที จ่ี ะนาํ บทบญั ญตั แิ หํงประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 198
มาใช๎บังคบั ไมไํ ด๎ มีดังน้ี

1. ถ๎าการอันพึงกระทําเพื่อชําระหนี้มีหลายอยําง และจะต๎องกระทําทุกอยําง
ไมํสามารถนําบทบัญญัติแหํงประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 198 มาใช๎บังคับได๎
เชํน นาย ก. ก๎ูเงินจากนาย ข. จํานวน 1,000,000 บาท โดยตกลงกันวํานาย ก. จะต๎อง
ชาํ ระหนเี้ ป็นเงนิ จาํ นวน 1,000,000บาท และจะต๎องสํงมอบรถยนตข๑ องตนให๎แกนํ าย ข. ด๎วย
ดังนี้ นาย ก. จะเลือกชําระหนี้เป็นเงินจํานวน 1,000,000 บาท หรือจะเลือกต๎องสํงมอบ
รถยนต๑ของตนให๎แกํนาย ข. ไมํได๎ แตํนาย ก. จะต๎องชําระหน้ีเป็นเงินจํานวน 1,000,000
บาท และจะตอ๎ งสํงมอบรถยนตข๑ องตนให๎แกนํ าย ข. ด๎วย เปน็ ต๎น

2. ถา๎ การอนั พงึ กระทาํ เพื่อชาํ ระหนม้ี หี ลายอยําง โดยมีการกําหนดลําดับในการ
ชําระหนีไ้ ว๎ ไมํสามารถนําบทบญั ญัตแิ หํงประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 198 มา
ใช๎บังคับได๎ เชํน นาย ก. ตกลงซ้ือม๎าจากนาย ข. โดย ตกลงกันวําถ๎าม๎าที่ช่ือนิลยังไมํตาย
นาย ข. ตอ๎ งสงํ มอบม๎าท่ชี อื่ นิลใหแ๎ กํนาย ก. แตถํ า๎ มา๎ ท่ีช่ือนลิ ตายไปแล๎ว นาย ข. ต๎องสํงมอบ

15เรอ่ื งเดียวกัน, หนา๎ 93.

22

ม๎าท่ชี ่อื นวลให๎แกํนาย ก. ดังนี้ ถ๎าม๎าท่ีชื่อนิลยังไมํตาย นาย ข. จะเลือกสํงมอบม๎าที่ช่ือนวล
ให๎แกนํ าย ก. ไมํได๎ เปน็ ต๎น

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1988/2522 การท่ีศาลมีคําพิพากษาให๎จําเลยแบํง
ที่ดินมรดกแกโํ จทกท๑ งั้ สามคนละ 1 ใน 4 สวํ น หรือใหจ๎ ําเลยชําระเงนิ คาํ ท่ีดินแกํโจทก๑สํวนละ
1,250 บาท หรือให๎ขายที่ดินท้ังแปลงเอาเงินมาแบํงกันตามสํวนนั้น ในการบังคับคดีจําเลย
จะต๎องปฏิบัติการชําระหนี้ตามลําดับของคําพิพากษาน้ัน เม่ือจําเลยสามารถจะแบํงที่ดิน
ให๎แกํโจทก๑ทัง้ สามตามคําพิพากษาได๎ จําเลยจะเลือกนําเงินคําที่ดินมาชําระให๎แกํโจทก๑สํวน
ละ 1,250 บาท ไมไํ ด๎

คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ 484/2525 เมื่อศาลมีคําพิพากษาให๎จําเลยโอนที่ดินให๎
โจทก๑กํอน ถ๎าจําเลยไมํสามารถโอนได๎ จึงให๎จําเลยใช๎คําเสียหายแทน การชําระหน้ีจึงต๎อง
เป็นไปตามลําดับเพราะมใิ ชกํ รณีให๎จาํ เลยมีสทิ ธิเลือกชาํ ระหน้ี ดังน้ัน เมื่อจําเลยสามารถโอน
ทด่ี นิ ได๎ จาํ เลยจงึ จะขอชดใช๎คาํ เสยี หายแทนไมํได๎

4.2 วิธีการเลอื ก
4.2.1 กรณเี จ้าหนห้ี รอื ลกู หนีเ้ ปน็ ผ้มู สี ิทธิเลอื ก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 199 วรรคแรก บัญญัติวํา

“การเลือกนนั้ ทาํ นให๎ทาํ ดว๎ ยแสดงเจตนาแกคํ ูํกรณีอีกฝ่ายหนง่ึ ”
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 199 วรรคแรก ได๎กําหนด

วิธีการเลือกไว๎วํา ถ๎าลูกหนี้เป็นผ๎ูมีสิทธิเลือก ลูกหนี้จะต๎องแสดงเจตนาตํอเจ๎าหนี้วําตนจะ
เลอื กทําการอยาํ งใด หรือถ๎าเจ๎าหน้ีเป็นผู๎มีสิทธิเลือก เจ๎าหน้ีจะต๎องแสดงเจตนาตํอลูกหน้ีวํา
จะให๎ลูกหนี้ทําการอยํางใด โดยการแสดงเจตนาน้ีอาจทําเป็นลายลักษณ๑อักษรหรือทําด๎วย
วาจาก็ได๎

4.2.2 กรณีบคุ คลภายนอกเป็นผู้มสี ิทธิเลือก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 201 บัญญัติวํา “ถ๎า

บคุ คลภายนอกจะพงึ เปน็ ผเู๎ ลือก ทํานให๎กระทาํ ด๎วยแสดงเจตนาแกํลูกหนี้ และลูกหนี้จะต๎อง
แจ๎งความนัน้ แกเํ จา๎ หน้ี

ถ๎าบุคคลภายนอกน้ันไมํอาจจะเลือกได๎ก็ดี หรือไมํเต็มใจจะเลือกก็ดี
ทํานวําสทิ ธทิ ี่จะเลอื กตกไปอยูแํ กํฝ่ายลกู หนี้”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 201 วรรคแรก
หมายความวาํ ถ๎าบคุ คลภายนอกเปน็ ผู๎มสี ทิ ธิเลือก บคุ คลภายนอกต๎องแสดงเจตนาตํอลูกหน้ี
วาํ จะให๎ลกู หนี้ชาํ ระหนี้อยํางใด และลกู หนี้ตอ๎ งแจง๎ ความน้ันแกํเจ๎าหน้ี เชํน นาย ก. ต๎องการ
ซื้อเสื้อจากนาย ข. เพื่อมอบให๎เป็นของขวัญแกํนาง ค. ซ่ึงเป็นแมํของนาย ก. โดยนาย ก.

23

และนาย ข. ได๎ตกลงกันให๎นาง ค. เป็นผู๎เลือกเส้ือ ดังน้ี เม่ือนาง ค. แสดงเจตนาตํอนาย ข.
วําจะซอ้ื เส้ือตวั ใด นาย ข. ก็ตอ๎ งแจ๎งความน้ันแกํนาย ก.

อน่งึ ผ๎ูเขียนมีความเห็นวํา การชําระหน้ีตํอเจ๎าหน้ีด๎วยวัตถุแหํงหน้ีตามที่
บุคคลภายนอกไดเ๎ ลอื กไว๎นั้น ถือเป็นการแจ๎งโดยปรยิ ายแลว๎

สํวนประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 201 วรรคสอง
หมายความวํา ในกรณีท่ีบุคคลภายนอกไมํอาจจะเลือกได๎ เชํน ตาย วิกลจริต ฯลฯ หรือ
บุคคลภายนอกไมเํ ต็มใจจะเลอื ก โดยกฎหมายไมํคํานึงถงึ วาํ บคุ คลภายนอกจะไมเํ ตม็ ใจเพราะ
เหตผุ ลใดก็ตาม สิทธทิ ีจ่ ะเลอื กจะตกไปอยํแู กฝํ ่ายลูกหน้ีแทน

ทั้งน้ี ถ๎าเจ๎าหนี้และลูกหนี้ได๎ตกลงกันไว๎วํา ถ๎าบุคคลภายนอกไมํอาจจะ
เลือกได๎หรือไมํเต็มใจจะเลือก ให๎สิทธิท่ีจะเลือกตกไปอยํูแกํฝ่ายเจ๎าหน้ีหรือบุคคลภายนอก
คนอ่ืนแทน ผเู๎ ขียนมคี วามเห็นวําข๎อตกลงนน้ี ําจะมผี ลบงั คับใชไ๎ ด๎

4.3 ระยะเวลาในการเลือก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 200 บัญญัติวํา “ถ๎าจะต๎องเลือก

ภายในระยะเวลาอันมีกําหนด และฝ่ายท่ีมีสิทธิจะเลือกมิได๎เลือกภายในระยะเวลาน้ันไซร๎
ทํานวําสิทธิท่จี ะเลอื กนน้ั ยํอมตกไปอยํูแกอํ ีกฝา่ ยหน่งึ

ถา๎ มไิ ด๎กาํ หนดระยะเวลาให๎เลือกไซร๎ เม่ือหน้ีถึงกําหนดชําระ ฝ่ายท่ีไมํมีสิทธิจะ
เลือกอาจกําหนดเวลาพอสมควรแกํเหตุ แล๎วบอกกลําวให๎ฝ่ายโน๎นใช๎สิทธิเลือกภายในเวลา
อันน้ัน”

ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 200 วรรคแรก เป็นกรณีที่มีกําหนด
ระยะเวลาในการเลอื ก ซ่งึ ฝ่ายท่มี สี ิทธิเลือกต๎องเลอื กภายในระยะเวลาที่กําหนดนั้น ถ๎าฝ่ายที่
มีสิทธิเลือกมิได๎เลือกภายในระยะเวลาท่ีกําหนดน้ัน สิทธิที่จะเลือกก็จะตกไปอยํูแกํอีกฝ่าย
หนึ่ง เชํน ลูกหนี้มีหน๎าที่ต๎องสํงมอบโทรทัศน๑หรือวิทยุให๎แกํเจ๎าหน้ี โดยมีการตกลงกันไว๎วํา
ลูกหนเี้ ป็นผู๎มสี ิทธิเลือกภายในกาํ หนดระยะ 5 วัน นับต้ังแตํวันทําสัญญา ดังนี้ หากลูกหนี้ไมํ
เลือกภายในระยะเวลาท่ีกําหนดนัน้ สิทธิในการเลือกก็จะตกไปอยํแู กํเจา๎ หน้ี เป็นตน๎

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 200 วรรคสอง เป็นกรณีที่ไมํมี
กําหนดระยะเวลาในการเลือก ดังนั้น จึงต๎องใช๎กําหนดเวลาในการชําระหน้ีเป็นเกณฑ๑
กลาํ วคอื เมือ่ หนี้ถึงกําหนดชาํ ระ ฝ่ายที่ไมํมีสิทธิเลือกอาจกําหนดระยะเวลาให๎พอสมควรแกํ
เหตุ แล๎วบอกกลาํ วให๎ฝ่ายท่ีมีสิทธิเลอื กใช๎สทิ ธิเลือกภายในระยะเวลาที่กําหนดนั้น แตํถ๎าฝ่าย
ทีม่ ีสิทธิเลือก ยังมิได๎เลือกภายในระยะเวลาที่กําหนดนั้นอีก สิทธิท่ีจะเลือกก็จะตกไปอยํูแกํ
อีกฝ่ายหน่ึง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 200 วรรคแรก เชํน ลูกหนี้มี
หน๎าที่ต๎องสํงมอบโทรทัศน๑หรือวิทยุให๎แกํเจ๎าหน้ี โดยมีการตกลงกันไว๎วําลูกหน้ีเป็นผู๎มีสิทธิ
เลือก และจะต๎องสํงมอบในวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 แตํไมํได๎กําหนดระยะเวลาในการเลือก

24

เอาไว๎ ดังนี้ เมื่อถึงกําหนดเวลาในการชําระหน้ี คือ วันท่ี 31 กรกฎาคม 2562 เจ๎าหน้ีอาจ
กําหนดระยะเวลาให๎พอสมควรแกํเหตุ เชํน 7 วัน เป็นต๎น แล๎วบอกกลําวให๎ลูกหนี้ใช๎สิทธิ
เลือกภายในระยะเวลา 7 วัน นั้น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 200
วรรคสอง แตํถา๎ ลกู หน้ไี มํเลือกภายในระยะเวลา 7 วัน ท่ีได๎กําหนดไว๎น้ัน สิทธิในการเลือกก็
จะตกไปอยํูแกํเจ๎าหนี้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 200 วรรคแรก

ขอ้ สงั เกต
(1) แม๎ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 200 วรรคสอง จะใช๎คําวํา
“ฝ่ายทไ่ี มมํ สี ิทธจิ ะเลือกอาจกําหนดเวลาพอสมควรแกํเหตุ แล๎วบอกกลําวให๎ฝ่ายโน๎นใช๎สิทธิ
เลอื กภายในเวลาอันน้ัน” แตํตามเจตนารมณข๑ องกฎหมายมาตรานี้ยํอมหมายความวํา ฝ่ายที่
ไมํมีสิทธิจะเลือกต้องกําหนดเวลาพอสมควรแกํเหตุ แล๎วบอกกลําวให๎ฝ่ายโน๎นใช๎สิทธิเลือก
ภายในเวลาอันน้ัน ไมํใชํฝ่ายท่ีไมํมีสิทธิจะเลือกจะกําหนดเวลาพอสมควรแกํเหตุ แล๎วบอก
กลาํ วให๎ฝ่ายโนน๎ ใช๎สิทธเิ ลอื กภายในเวลาอนั นัน้ หรือไมํกไ็ ด๎
(2) ในกรณีตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 200 วรรคสอง
นั้น หากผู๎มีสิทธิเลือกเป็นบุคคลภายนอกและไมํมีกําหนดระยะเวลาในการเลือก จะเกิด
ปญ๓ หาวําเจา๎ หน้หี รือลกู หนี้จะเป็นผกู๎ าํ หนดระยะเวลาพอสมควรใหบ๎ คุ คลภายนอกไดเ๎ ลอื ก

ในเรื่องนี้ ผู๎เขียนมีความเห็นสอดคล๎องกับรองศาสตราจารย๑ ดร.สุนทร
มณีสวัสดิ์วํา ซ่ึงมีความเห็นวํา ในกรณีท่ีมีข๎อตกลงกันวําหากบุคคลภายนอกไมํเลือกแล๎วให๎
เจ๎าหนี้เป็นผ๎ูเลือก เจ๎าหนี้ก็ควรจะเป็นผู๎กําหนดระยะเวลาในการเลือกนั้น และในกรณีที่มี
ข๎อตกลงกันวําหากบุคคลภายนอกไมํเลือกแล๎วให๎ลูกหนี้เป็นผ๎ูเลือก ลูกหน้ีก็ควรจะเป็น
ผ๎กู าํ หนดระยะเวลาในการเลือกน้ัน16 แตํในกรณีท่ีไมํมีข๎อตกลงกันวําหากบุคคลภายนอกไมํ
เลือกแล๎วให๎เจ๎าหนี้หรือลูกหน้ีเป็นผ๎ูเลือก ผ๎ูเขียนมีความเห็นวําลูกหนี้ควรจะเป็นผ๎ูกําหนด
ระยะเวลาในการเลอื กนนั้ เพราะโดยปกติลูกหนี้ยํอมเป็นผู๎มีสิทธิเลือก เว๎นแตํจะได๎ตกลงกัน
ไว๎เป็นอยาํ งอ่นื ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑มาตรา 198

4.4 ผลของการเลอื ก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 199 วรรคสอง บัญญัติวํา “การ

ชําระหนี้ได๎เลือกทําเป็นอยํางใดแล๎ว ทํานให๎ถือวําอยํางน้ันอยํางเดียวเป็นการชําระหน้ีอัน
กาํ หนดให๎กระทาํ แตตํ ๎นมา”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 199 วรรคสอง หมายความวํา
เมื่อผู๎มีสิทธิเลือก ไมํวําจะเป็นเจ๎าหนี้ หรือลูกหน้ี หรือบุคคลภายนอก ได๎ใช๎สิทธิเลือกการ
อยาํ งใดแลว๎ การเลอื กนั้นมีผลย๎อนหลังไปถึงวันทเ่ี กิดมูลหน้ี โดยถือวาํ มลู หนนี้ นั้ มวี ัตถแุ หํงหน้ี

16สนุ ทร มณีสวัสด์ิ, เรื่องเดิม, หนา๎ 51.

25

เป็นการอยํางใดที่ถูกเลือกมาตั้งแตํต๎น เชํน นาย ก. ก๎ูเงินจากนาย ข. จํานวน 1,000,000
บาท โดยสัญญาระบุวาํ นาย ก. จะชําระหนี้เปน็ เงินจาํ นวน 1,000,000 บาท หรือจะชําระหน้ี
ดว๎ ยการสํงมอบรถยนต๑ของนาย ก. ให๎แกํนาย ข. ก็ได๎ ดังนี้ หากนาย ก. เลือกท่ีจะชําระหน้ี
เป็นเงินจํานวน 1,000,000 บาท ก็ถือวํานาย ก. และนาย ข. ตกลงกันให๎นาย ก. ชําระหนี้
เป็นเงินจาํ นวน 1,000,000 บาท มาตงั้ แตํตน๎ เป็นตน๎

4.5 กรณีการชาระหนี้บางอยา่ งอันเป็นพน้ วิสยั
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 202 บัญญัติวํา “ถ๎าการอันจะพึง

ต๎องทําเพ่ือชําระหนี้น้ันมีหลายอยําง และอยํางใดอยํางหน่ึงตกเป็นอันพ๎นวิสัยจะทําได๎
มาแตํต๎นก็ดี หรือกลายเป็นพ๎นวิสัยในภายหลังก็ดี ทํานให๎จํากัดหนี้นั้นไว๎เพียงการชําระหน้ี
อยํางอื่นท่ีไมํพ๎นวิสัย อนึ่ง การจํากัดอันนี้ยํอมไมํเกิดมีขึ้น หากวําการชําระหน้ีกลายเป็น
พน๎ วสิ ยั เพราะพฤติการณ๑อันใดอันหนงึ่ ซึ่งฝา่ ยที่ไมมํ ีสทิ ธิจะเลือกนนั้ ตอ๎ งรับผดิ ชอบ”

กรณีการชําระหน้บี างอยาํ งอันเป็นพ๎นวิสัย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 202 แบํงออกเปน็ 2 กรณี ดงั น้ี

1. ถ๎าการอันจะพึงต๎องทาํ เพอ่ื ชําระหน้ีนั้นมีหลายอยําง และอยํางใดอยํางหนึ่ง
ตกเป็นอันพ๎นวิสัยจะทําได๎มาแตํต๎น คือ ตกเป็นอันพ๎นวิสัยตั้งแตํกํอนเกิดมูลหนี้ หรือ
กลายเปน็ พน๎ วสิ ยั ในภายหลัง คือ กลายเป็นพน๎ วสิ ยั ในภายหลังที่เกดิ มลู หน้ี เพราะพฤติการณ๑
อันใดอันหนึ่งซึ่งฝ่ายท่ีไมํมีสิทธิจะเลือกน้ันไมํต๎องรับผิดชอบ เชํน อุบัติเหตุ หรือพฤติการณ๑
อันใดอันหน่ึงซึ่งฝ่ายท่ีมีสิทธิจะเลือกนั้นต๎องรับผิดชอบ หรือพฤติการณ๑อันใดอันหน่ึงซ่ึง
บุคคลภายนอกต๎องรับผิดชอบ เป็นต๎น กฎหมายกําหนดให๎จํากัดหน้ีนั้นไว๎เพียงการชําระหนี้
อยํางอนื่ ที่ไมํพน๎ วสิ ัย คือ ผม๎ู สี ิทธิเลือกตอ๎ งเลือกชําระหนอี้ ยํางอื่นที่ไมํพ๎นวิสยั

ตัวอย่าง ลูกหน้ีต๎องเลือกวําจะสํงมอบรถยนต๑หรือเงิน 1,000,000 บาท
ให๎แกํเจา๎ หนีต้ ามสญั ญา แตํปรากฏวํากํอนเกิดสัญญานั้น รถยนต๑นั้นได๎ถูกไฟไหม๎เสียหายทั้ง
คัน เพราะอุบตั ิเหตุ หรือหลังจากเกดิ สญั ญานั้น รถยนต๑นนั้ ได๎ถูกไฟไหม๎เสยี หายท้ังคัน เพราะ
อุบัตเิ หตุ ดงั นี้ ลกู หนจ้ี ะตอ๎ งเลือกสํงมอบเงิน 1,000,000 บาท ให๎แกเํ จา๎ หนี้ เปน็ ต๎น

2. ถา๎ การอันจะพงึ ต๎องทาํ เพือ่ ชําระหน้ีน้ันมีหลายอยําง และอยํางใดอยํางหน่ึง
ตกเป็นอันพ๎นวิสัยจะทําได๎มาแตํต๎น คือ ตกเป็นอันพ๎นวิสัยตั้งแตํกํอนเกิดมูลหนี้ หรือ
กลายเป็นพน๎ วสิ ัยในภายหลัง คือ กลายเป็นพน๎ วสิ ัยในภายหลงั ทเี่ กิดมลู หน้ี เพราะพฤติการณ๑
อันใดอันหนึ่งซึ่งฝ่ายที่ไมํมีสิทธิจะเลือกน้ันต๎องรับผิดชอบ ฝ่ายท่ีมีสิทธิเลือกสามารถเลือก
ชาํ ระหนี้ทพี่ น๎ วิสยั ได๎

ตัวอย่างท่ี 1 ลูกหน้ีต๎องเลือกวําจะสํงมอบรถยนต๑หรือเงิน 1,000,000
บาท ให๎แกํเจา๎ หนีต้ ามสญั ญา แตํปรากฏวํากํอนเกดิ สัญญาหรือหลังจากเกิดสัญญา เจ๎าหน้ีได๎
แอบไปเผารถยนต๑น้ันจนเสยี หายท้งั คัน ดงั น้ี ลกู หนี้จะเลือกสงํ มอบรถยนต๑ก็ได๎ ตามประมวล

26

กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 202 และเม่ือลูกหน้ีเลือกแล๎ว การสํงมอบรถยนต๑ยํอมถือ
เป็นการชําระหน้ีอันกําหนดให๎กระทํามาแตํต๎น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 199 วรรคสอง เมอ่ื การชาํ ระหนี้กลายเปน็ พ๎นวิสัย เพราะพฤติการณ๑อันใดอันหน่ึงซึ่ง
เกิดขน้ึ ภายหลงั ทีไ่ ดก๎ ํอหนี้ และซึ่งลกู หนไี้ มตํ อ๎ งรับผิดชอบน้ันไซร๎ ลูกหนี้เป็นอันหลุดพ๎นจาก
การชําระหน้นี ้นั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 219

ตัวอย่างท่ี 2 เจ๎าหน้ีมีสิทธิเลือกวําจะให๎ลูกหน้ีสํงมอบรถยนต๑หรือเงิน
1,000,000 บาท ให๎แกํเจ๎าหนี้ตามสัญญา แตํปรากฏวํากํอนเกิดสัญญาหรือหลังจากเกิด
สัญญา ลกู หนีไ้ ด๎แอบไปเผารถยนตน๑ ้ันจนเสยี หายท้งั คัน ดังนี้ เจ๎าหนจ้ี ะเลือกให๎ลูกหนี้สํงมอบ
รถยนต๑ก็ได๎ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 202 และเม่ือเจ๎าหนี้เลือกแล๎ว
การสํงมอบรถยนต๑ยํอมถือเป็นการชําระหนี้อันกําหนดให๎กระทํามาแตํต๎น ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 199 วรรคสอง เมอ่ื การชาํ ระหน้ีกลายเป็นพ๎นวิสัยจะทําได๎
เพราะพฤติการณ๑อันใดอันหน่ึงซ่ึงลูกหน้ีต๎องรับผิดชอบ ลูกหนี้จึงต๎องใช๎คําสินไหมทดแทน
ให๎แกํเจ๎าหน้ีเพื่อคําเสียหายอยํางใด ๆ อันเกิดแตํการไมํชําระหนี้น้ัน ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 218

ข้อสังเกต ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 202 ต๎องเป็นกรณีท่ีการ
พ๎นวสิ ยั ดงั กลาํ วเกิดขน้ึ กอํ นการเลือกวตั ถแุ หงํ หนี้ แตํถา๎ การพ๎นวสิ ัยเกิดข้ึนภายหลังการเลือก
วัตถแุ หํงหน้ีแล๎ว กรณียํอมเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 218 หรือ
มาตรา 219

ตวั อย่าง ลูกหนตี้ ๎องเลือกวําจะสํงมอบรถยนต๑หรือเงิน 1,000,000 บาท ให๎แกํ
เจา๎ หนตี้ ามสญั ญา โดยปรากฏวําลกู หนีเ้ ลอื กที่จะสํงมอบรถยนต๑ แล๎วตํอมา รถยนต๑น้ันได๎ถูก
ไฟไหม๎เสียหายท้ังคัน ดังนี้ ไมํใชํกรณีท่ีลูกหน้ีจะต๎องเลือกตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 202 เพราะลูกหนี้ได๎เลือกไปแล๎วและมีผลแล๎วตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 199 แตํเป็นกรณีท่ตี ๎องพจิ ารณาวําการชําระหน้ีกลายเป็นพ๎นวิสัยจะทํา
ได๎ เพราะพฤติการณ๑อันใดอันหน่ึงซึ่งลูกหนี้ต๎องรับผิดชอบ ซึ่งลูกหน้ีจะต๎องใช๎คําสินไหม
ทดแทนให๎แกํเจ๎าหน้ีเพ่ือคําเสียหายอยํางใด ๆ อันเกิดแตํการไมํชําระหน้ีน้ัน ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 218 หรือถ๎าการชําระหนี้กลายเป็นพ๎นวิสัยเพราะ
พฤติการณ๑อนั ใดอันหน่ึงซง่ึ เกิดขึ้นภายหลงั ทไ่ี ด๎กํอหนี้ ซึ่งลูกหน้ีไมํต๎องรับผิดชอบนั้นไซร๎ อัน
ทําให๎ลูกหนี้เป็นอันหลุดพ๎นจากการชําระหนี้นั้นตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 219

27

5. บทสรุป
5.1 อานาจแห่งมูลหน้ี
เมื่อมีหน้ีเกิดขึ้น ไมํวําจะมีมูลแหํงหนี้มาจากนิติกรรม หรือนิติเหตุ หรือ

บทบญั ญตั แิ หงํ กฎหมาย เจา๎ หนยี้ อํ มมสี ทิ ธิจะเรียกให๎ลูกหนี้ชําระหนี้ และลูกหน้ีมีหน๎าที่ต๎อง
ชําระหนี้ โดยวัตถุแหํงหนี้ซ่ึงหมายถึงสิ่งที่เป็นสิทธิของเจ๎าหนี้ในการเรียกให๎ลูกหน้ีชําระหน้ี
หรือสิ่งทเี่ ป็นหน๎าท่ีของลูกหน้ีในการชําระหนี้ แบํงออกเป็น 3 ประการ คือ การกระทําการ
การงดเว๎นกระทําการ และการสํงมอบทรัพย๑สิน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 194

5.2 ทรัพยซ์ งึ่ เป็นวัตถแุ หง่ หน้ี
5.2.1 เมื่อทรัพย๑ซึ่งเป็นวัตถุแหํงหนี้น้ันได๎ระบุไว๎แตํเพียงเป็นประเภท ลูกหน้ี

จะต๎องสํงมอบทรัพย๑ชนิดปานกลาง เว๎นแตํถ๎าตามสภาพแหํงนิติกรรมอาจจะกําหนดได๎วํา
ทรัพย๑น้ันจะพึงเป็นชนิดอยาํ งไร ลกู หนกี้ จ็ ะตอ๎ งสงํ มอบทรัพย๑ชนดิ น้ัน หรือถ๎าตามเจตนาของ
คูํกรณอี าจจะกําหนดไดว๎ าํ ทรัพยน๑ ้ันจะพงึ เปน็ ชนดิ อยํางไร ลูกหนี้ก็จะต๎องสํงมอบทรัพย๑ชนิด
นัน้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 195 วรรคแรก

5.2.2 การทําให๎ทรัพย๑ท่ัวไปกลายเป็นทรัพย๑เฉพาะสิ่งนั้นทําได๎ 2 วิธีคือ
1. ลูกหน้ีได๎กระทําการอันตนจะพึงต๎องทําเพ่ือสํงมอบทรัพย๑สิ่งน้ันทุกประการ 2. ลูกหน้ีได๎
เลือกกําหนดทรัพย๑ที่จะสํงมอบแล๎วด๎วยความยินยอมของเจ๎าหน้ี และเมื่อทรัพย๑ท่ัวไป
กลายเป็นทรพั ย๑เฉพาะสง่ิ แล๎ว ทรัพย๑เฉพาะสิ่งนั้นก็จะเป็นวัตถุแหํงหนี้ต้ังแตํเวลานั้นเป็นต๎น
ไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 195 วรรคสอง

5.2.3 ถ๎าหนเี้ งินไดก๎ ําหนดไว๎เป็นเงนิ ตํางประเทศ ลกู หนี้มีสทิ ธเิ ลอื กท่ีจะสํงใช๎เป็น
เงินตาํ งประเทศหรือเงนิ ไทยกไ็ ด๎ โดยการคดิ อตั ราการแลกเปล่ยี นเงินตาํ งประเทศเปน็ เงินไทย
นน้ั ใหค๎ ิดตามอัตราแลกเปลยี่ น ณ สถานท่ีและในเวลาท่ีใช๎เงิน มิใชํคิดตามอัตราแลกเปลี่ยน
ในเวลาทมี่ ูลหนี้ไดเ๎ กิดขน้ึ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 196

5.2.4 หากหนี้เงินใดที่พึงสํงใช๎เป็นชนิดที่ยกเลิกไมํใช๎กันแล๎ว กฎหมายให๎ถือ
เสมือนหนึ่งวาํ มไิ ดร๎ ะบุไวใ๎ ห๎ใชเ๎ ป็นเงินตราชนดิ น้นั กลําวคอื ลูกหน้มี สี ิทธิชําระหน้ดี ว๎ ยเงินตรา
ชนิดอ่นื ท่ียังคงใชอ๎ ยูํในป๓จจุบนั ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 197

5.3 วตั ถแุ ห่งหนซี้ ึง่ เลอื กชาระได้
5.3.1 ถ๎าวัตถุแหํงหน้ีมีหลายอยําง แตํจะต๎องกระทําเพียงการใดการหนึ่งแตํ

อยาํ งเดยี ว สิทธิท่ีจะเลือกทําการอยํางใดน้ันตกอยํูแกํฝ่ายลูกหนี้ เว๎นแตํจะได๎ตกลงกันไมํให๎
สิทธิทจ่ี ะเลอื กทําการอยํางใดนั้นตกอยํูแกํฝ่ายลูกหน้ี แตํให๎สิทธิที่จะเลือกทําการอยํางใดน้ัน
ตกอยํูแกํเจ๎าหนี้หรือบุคคลภายนอกแทน ก็ต๎องเป็นไปตามข๎อตกลงน้ัน ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 198

28

5.3.2 ถ๎าลูกหน้ีเป็นผ๎มู สี ทิ ธิเลอื ก ลูกหนี้จะต๎องแสดงเจตนาตํอเจ๎าหน้ีวําตนจะ
เลือกทําการอยํางใด หรอื ถา๎ เจ๎าหน้ีเป็นผ๎ูมีสิทธเิ ลอื ก เจา๎ หน้ีกจ็ ะต๎องแสดงเจตนาตํอลูกหน้ีวํา
จะใหล๎ กู หน้ีทําการอยาํ งใด และเมื่อผม๎ู สี ิทธเิ ลอื กไดใ๎ ช๎สิทธเิ ลือกการอยํางใดแลว๎ การเลือกน้ัน
มีผลย๎อนหลังไปถึงวันที่เกิดมูลหน้ี โดยถือวํามูลหน้ีนั้นมีวัตถุแหํงหน้ีเป็นการอยํางใดที่ถูก
เลือกมาต้ังแตตํ ๎น ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 199

5.3.3 ในกรณีที่มีกําหนดระยะเวลาในการเลือก ฝ่ายที่มีสิทธิเลือกต๎องเลือก
ภายในระยะเวลาที่กําหนดนั้น ถ๎าฝ่ายท่ีมีสิทธิเลือกมิได๎เลือกภายในระยะเวลาที่กําหนดนั้น
สทิ ธิท่ีจะเลอื กก็จะตกไปอยูํแกํอีกฝ่ายหน่ึง สํวนในกรณีท่ีไมํมีกําหนดระยะเวลาในการเลือก
เมอื่ หนีถ้ ึงกําหนดชําระ ฝ่ายท่ีไมํมีสิทธิเลือกอาจกําหนดระยะเวลาให๎พอสมควรแกํเหตุ แล๎ว
บอกกลําวให๎ฝ่ายท่ีมีสิทธิเลือกใช๎สิทธิเลือกภายในระยะเวลาที่กําหนดน้ัน ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 200

5.3.4 ถ๎าบุคคลภายนอกเป็นผู๎มีสิทธิเลือก บุคคลภายนอกต๎องแสดงเจตนาตํอ
ลูกหนี้วําจะให๎ลูกหน้ีชําระหนี้อยํางใด และลูกหนี้ต๎องแจ๎งความนั้นแกํเจ๎าหนี้ แตํถ๎า
บุคคลภายนอกไมํอาจจะเลือกได๎ เชํน ตาย วิกลจริต ฯลฯ หรือบุคคลภายนอกไมํเต็มใจจะ
เลือก สิทธิท่ีจะเลือกจะตกไปอยูํแกํฝ่ายลูกหนี้แทน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 201

5.3.5 ถ๎าวัตถแุ หงํ หน้ีน้นั มหี ลายอยาํ ง และวัตถแุ หงํ หนอี้ ยํางใดอยํางหนึ่งตกเป็น
อันพน๎ วิสยั จะทําไดม๎ าแตํต๎น หรือกลายเป็นพ๎นวิสัยในภายหลัง ผ๎ูมีสิทธิเลือกต๎องเลือกชําระ
หนอี้ ยํางอ่นื ท่ีไมํพ๎นวสิ ยั แตํถ๎าการทีว่ ัตถุแหงํ หน้ีอยํางใดอยาํ งหนง่ึ ตกเป็นอันพ๎นวิสัยดังกลําว
น้ัน เป็นเพราะพฤตกิ ารณ๑อันใดอันหนึ่งซึ่งฝ่ายท่ีไมํมีสิทธิจะเลือกน้ันต๎องรับผิดชอบ ฝ่ายที่มี
สิทธเิ ลือกสามารถเลือกชําระหนที้ ีพ่ ๎นวิสยั ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
202

29

6. คาถามทา้ ยบท
ขอ๎ 1. นายสมศกั ด์ิเป็นเจ๎าของโรงสีข๎าวแหงํ หนงึ่ ซ่งึ มขี ๎าวสารจํานวนมากในโรงสีข๎าว

นั้น วันหนึ่งนายสมชายมาซ้ือข๎าวสารจํานวน 10 กระสอบ เป็นเงินจํานวน 20,000 บาท
นายสมศกั ด์จิ งึ ไดเ๎ ลอื กข๎าวสารไว๎จาํ นวน 10 กระสอบ ดว๎ ยความยินยอมของนายสมชาย และ
ได๎แยกข๎าวสารจํานวน 10 กระสอบนั้นออกจากข๎าวสารกระสอบอื่น ๆ หลังจากนั้น ได๎เกิด
อุบัตเิ หตุไฟไหมโ๎ รงสีขา๎ วของนายสมศกั ดแิ์ ละไฟได๎ไหมข๎ า๎ วสาร 2 กระสอบนนั้ ด๎วย

ดงั นี้ นายสมชายตอ๎ งชาํ ระคาํ ข๎าวสารจํานวน 20,000 บาท ใหแ๎ กํนายสมศักด์ิหรือไมํ
หลกั กฎหมาย มาตรา 195 วรรคสอง, 370, 372
วินิจฉัย การท่ีนายสมชายมาซื้อข๎าวสาร 10 กระสอบจากนายสมศักดิ์จากข๎าวสาร
ในโรงสีท่ีมีจํานวนมาก โดยนายสมศักดิ์ได๎เลือกข๎าวสารไว๎จํานวน 10 กระสอบ ด๎วยความ
ยินยอมของนายสมชาย และได๎แยกข๎าวสารจํานวน 10 กระสอบน้ันออกจากข๎าวสาร
กระสอบอื่น ๆ แล๎วน้ัน เป็นกรณีท่ีนายสมศักดิ์ซ่ึงเป็นลูกหนี้ได๎เลือกกําหนดทรัพย๑ที่จะ
สํงมอบแล๎วดว๎ ยความยนิ ยอมของนายสมชายซง่ึ เป็นเจา๎ หนี้แล๎ว ขา๎ วสารจํานวน 10 กระสอบ
นน้ั จงึ กลายเปน็ ทรพั ยเ๑ ฉพาะสิ่งอนั เปน็ ทรัพย๑ซ่ึงเป็นวัตถุแหํงหนี้แล๎ว ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 195 วรรคสอง
การเกดิ อบุ ัตเิ หตไุ ฟไหม๎โรงสีของนายสมศกั ดแิ์ ละไฟไดล๎ ามไปถงึ ข๎าวสาร 2 กระสอบ
น้ันด๎วย เป็นกรณีท่ีทรัพย๑นั้นสูญหรือเสียหายไปด๎วยเหตุอยํางใดอยํางหนึ่งอันจะโทษ
นายสมศักดิ์ซึ่งเป็นลูกหน้ีมิได๎ การสูญหรือเสียหายน้ันจึงตกเป็นพับแกํนายสมชายซึ่งเป็น
เจ๎าหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 370 และนายสมชายจึงต๎องชําระหน้ี
คําข๎าวสารจํานวน 20,000 บาท ให๎แกํนายสมศักด์ิ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 372
สรปุ นายสมชายตอ๎ งชําระคาํ ขา๎ วสารจํานวน 20,000 บาท ให๎แกนํ ายสมศกั ดิ์

30

ข๎อ 2. เม่ือวันที่ 12 ตุลาคม 2564 ในขณะที่อยูํในประเทศไทย นายสมชายได๎ทํา
สัญญาซือ้ สินคา๎ จากนายสมศกั ดร์ิ าคา 300 ดอลลาร๑ของสหรฐั อเมริกา

ดังนี้ให๎วินิจฉัยวํา ในเวลาชําระหน้ีคําสินค๎า นายสมชายจะชําระหน้ีคําสินค๎าเป็น
เงนิ ตราชนิดใดได๎บ๎าง

หลกั กฎหมาย มาตรา 196 วรรคแรก
วนิ ิจฉัย การที่นายสมชายได๎ทําสัญญาซื้อสินค๎าจากนายสมศักด์ิราคา 300 ดอลลาร๑
ของสหรฐั อเมรกิ าน้ัน เป็นกรณที ี่หน้เี งินได๎แสดงไวเ๎ ป็นเงินตํางประเทศ ซึ่งกฎหมายกําหนดวํา
จะสํงใชเ๎ ปน็ เงินไทยก็ได๎ ดงั นี้ ในเวลาชาํ ระหน้ีคําสินค๎า นายสมชายจะชําระหนี้คําสินค๎าเป็น
เงินดอลลารข๑ องสหรัฐอเมรกิ า หรอื เงนิ บาทของประเทศไทยก็ได๎
สรุป นายสมชายจะชําระหนี้คําสินค๎าเป็นเงินดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกา หรือเงิน
บาทของประเทศไทยกไ็ ด๎

31

ข๎อ 3. เม่ือวันที่ 20 ธันวาคม 2564 ในขณะท่ีอยํูในประเทศไทย นายแก๎วได๎ทํา
สัญญาซื้อสนิ คา๎ จากกลา๎ ราคา 300 ดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกา โดยตกลงกันวําจะต๎องชําระ
หนเ้ี ป็นเงินดอลลารข๑ องสหรัฐอเมริกาเทํานัน้

ดังนี้ให๎วินิจฉัยวํา ในเวลาชําระหน้ีคําสินค๎า นายแก๎วจะชําระหนี้คําสินค๎าเป็นบาท
ไทยได๎หรอื ไมํ

หลักกฎหมาย มาตรา 196 วรรคแรก
วินิจฉัย การท่ีนายแก๎วได๎ทําสัญญาซื้อสินค๎าจากกล๎า ราคา 300 ดอลลาร๑ของ
สหรฐั อเมรกิ า โดยตกลงกันวําจะต๎องชําระหนเี้ ปน็ เงนิ ดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกาเทําน้ัน เป็น
กรณีท่ีหนเี้ งินได๎มีการตกลงกนั อยาํ งชัดแจง๎ วาํ ใหส๎ ํงใชเ๎ ปน็ เงนิ ดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกา มิใชํ
เปน็ กรณที หี่ นเ้ี งนิ ไดแ๎ สดงไว๎เป็นเงินตาํ งประเทศ ซงึ่ กฎหมายกาํ หนดวาํ จะสํงใช๎เป็นเงินไทยก็
ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 196 วรรคแรก ดังนี้ ในเวลาชําระหนี้คํา
สินค๎า นายแก๎วจะต๎องชําระหน้ีคําสินค๎าเป็นเงินดอลลาร๑ของสหรัฐอเมริกาเทําน้ัน จะชําระ
หนคี้ าํ สินคา๎ เปน็ เงินบาทไทยไมํได๎
สรุป นายแก๎วจะชําระหนค้ี ําสินคา๎ เป็นเงินบาทไทยไมไํ ด๎

32

ข๎อ 4. นายวายุมีท่ีดนิ 2 แปลง แปลงท่ี 1 อยํูท่ีอําเภอเมือง จังหวัดสงขลา อีกแปลง
หน่งึ อยํทู ่อี ําเภอหาดใหญํ จงั หวัดสงขลา โดยนายวายุได๎ทําสัญญาจะซ้ือจะขายที่ดิน 1 แปลง
ใหแ๎ กํนายวริ ยิ ะในราคา 1,000,000 บาท ซึ่งนายวิริยะได๎ชําระราคาท่ีดินให๎แกํนายวายุแล๎ว
และในสัญญาจะซ้ือจะขายน้ันระบุวํา จะมีการเลือกวําจะขายที่ดินแปลงท่ี 1 หรือแปลงที่ 2
แล๎วจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์กัน ณ สํานักงานท่ีดินจังหวัดสงขลา ในวันที่ 31 กรกฎาคม
2562 คร้ันถึงวันนัดจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิ นายวายุไมํได๎ไปที่สํานักงานท่ีดินจังหวัด
สงขลา ตํอมาวนั ท่ี 15 สงิ หาคม 2562 นายวริ ยิ ะจงึ แจง๎ ให๎นายวายไุ ปโอนขายที่ดินแปลงท่ี 2
ให๎แกํตน ณ สํานกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สงขลา ในวนั ที่ 31 สิงหาคม 2562

ดังนี้ ให๎วินิจฉัยวํานายวายุจะเลือกโอนขายท่ีดินแปลงท่ี 1 ให๎แกํนายวิริยะได๎
หรือไมํ

หลกั กฎหมาย มาตรา 198 มาตรา 199 วรรคสอง มาตรา 200 วรรคแรก
วินิจฉัย การท่ีนายวายุมีท่ีดิน 2 แปลง และนายวายุได๎ทําสัญญาจะซื้อจะขาย
ที่ดิน 1 แปลงให๎แกนํ ายวิริยะนั้น เป็นกรณีที่การอันพึงกระทําเพ่ือชําระหนี้มีหลายอยําง แตํ
จะตอ๎ งกระทาํ เพยี งการใดการหนงึ่ แตํอยาํ งเดียว ซ่งึ กฎหมายกําหนดให๎สิทธิที่จะเลือกทําการ
อยํางใดนั้นตกอยํูแกํฝ่ายลูกหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 198 ดังน้ัน
นายวายุจึงเปน็ ฝ่ายทีม่ สี ิทธจิ ะเลอื กวําจะขายที่ดินแปลงท่ี 1 หรือแปลงที่ 2 ให๎แกํนายวริ ยิ ะ
การทส่ี ัญญาจะซ้อื จะขายน้ันระบุวํา จะมีการเลือกวําจะขายที่ดินแปลงท่ี 1 หรือ
แปลงที่ 2 แล๎วจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์กัน ณ สํานักงานที่ดินจังหวัดสงขลา ในวันท่ี 31
กรกฎาคม 2562 แตํเมอ่ื ถงึ วนั นดั จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ นายวายุไมํได๎ไปท่ีสํานักงานที่ดิน
จังหวัดสงขลานั้น เป็นกรณีท่ีฝ่ายที่มีสิทธิเลือกจะต๎องเลือกภายในระยะเวลาอันมีกําหนด
แตํฝ่ายทมี่ ีสทิ ธเิ ลอื กมิได๎เลือกภายในระยะเวลาน้ัน ซ่ึงกฎหมายกําหนดให๎สิทธิท่ีจะเลือกนั้น
ตกไปอยูํแกํอีกฝ่ายหน่ึง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 200 วรรคแรก
ดงั นั้น นายวริ ยิ ะจงึ กลายเป็นฝา่ ยท่มี สี ทิ ธิจะเลอื กแทน
เมื่อนายวริ ยิ ะไดแ๎ จ๎งให๎นายวายุไปโอนขายที่ดินแปลงที่ 2 ให๎แกํตนแล๎ว ยํอมเป็น
การแสดงเจตนาเลือกแล๎ว จึงถอื เปน็ การชําระหนีอ้ นั กําหนดใหก๎ ระทํามาแตํต๎น ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 199 วรรคสอง ดงั นั้น นายวายุจะเลือกโอนขายท่ีดินแปลง
ท่ี 1 ให๎แกํนายวิรยิ ะไมไํ ด๎ นายวายุจะต๎องโอนขายท่ีดินแปลงที่ 2 ให๎แกนํ ายวริ ยิ ะ
สรุป นายวายุจะเลือกโอนขายท่ีดินแปลงท่ี 1 ให๎แกํนายวิริยะไมํได๎ นายวายุ
จะตอ๎ งโอนขายทีด่ นิ แปลงท่ี 2 ใหแ๎ กํนายวิรยิ ะ

33

บทที่ 2
การไมช่ าระหน้ี

1. บทนา
เมื่อมีหน้ีเกิดขึ้น ยํอมกํอให๎เกิดความสัมพันธ๑ในทางกฎหมายระหวํางฝ่ายเจ๎าหนี้

และลูกหน้ี คือ เจ๎าหนี้มี “สทิ ธิ” ที่จะได๎รบั การชาํ ระหนี้ สํวนลูกหนี้มี “หน๎าท่ี” ท่ีจะต๎องทํา
การชําระหนี้ ซ่ึงการชําระหน้ีนั้น เจ๎าหนี้จะเรียกให๎ลูกหนี้ชําระหน้ีกํอนถึงกําหนดชําระหน้ี
หรอื ลูกหนจ้ี ะชําระหนกี้ ํอนถึงกาํ หนดชําระหนีไ้ มไํ ด๎ นอกจากนั้น เม่ือถึงกําหนดชําระหน้ีแล๎ว
หากลูกหนี้ไมํชําระหน้ี ในบางกรณีลูกหน้ีอาจไมํตกเป็นผู๎ผิดนัดเพราะเจ๎าหน้ียังมิได๎เตือน
แตํในบางกรณี ลูกหน้ีอาจตกเป็นผู๎ผิดนัดโดยเจ๎าหน้ีมิพักต๎องเตือนเลย (ประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 204)

ท้ังนี้ ผลของการที่ลูกหนี้ไมํชําระหน้ี คือ เจ๎าหน้ีมีสิทธิฟ้องคดีตํอศาลเพื่อบังคับ
ชําระหนี้ได๎ และหากการท่ีลูกหนี้ไมํชําระหนี้นั้น ทําให๎เจ๎าหน้ีได๎รับความเสียหาย เจ๎าหน้ีมี
สทิ ธฟิ ้องคดตี อํ ศาลเพ่อื บังคบั ชาํ ระหนแี้ ละเรียกคาํ สนิ ไหมทดแทนได๎ (ประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 213 และมาตรา 214) หรือเจ๎าหน้ีจะไมํฟ้องคดีตํอศาลเพื่อบังคับชําระ
หนี้ แตจํ ะฟอ้ งคดตี ํอศาลเพ่ือเรยี กคาํ สินไหมทดแทนเพียงอยํางเดียวก็ได๎ (ประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 215 และมาตรา 216) แตอํ ยํางไรก็ดี ในบางกรณีลูกหน้ีอาจไมํต๎อง
รับผิดชําระหน้ีหรือชดใช๎คําสินไหมทดแทน เชํน การชําระหน้ีกลายเป็นพ๎นวิสัย เพราะ
พฤติการณ๑ท่ีลูกหนี้ไมํต๎องรับผิดชอบ (ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 219)
เจ๎าหนี้ตกเป็นผู๎ผิดนัด (ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 207 มาตรา 209 และ
มาตรา 210) เป็นต๎น

2. กาหนดชาระหนี้
2.1 หน้ีถึงกาหนดชาระเมอื่ ใด
หนจี้ ะถึงกาํ หนดชําระเมือ่ ใดสามารถอธิบายได๎เป็น 4 กรณี ดงั น้ี
1. ถา๎ เวลาอนั จะพึงชาํ ระหน้ไี ด๎กําหนดลงไว๎ แบํงออกเป็น 2 กรณี ดังนี้
1.1 ถ๎าเวลาอันจะพึงชําระหนี้ได๎กําหนดลงไว๎ตามวันแหํงปฏิทิน อาจเป็น

ปฏทิ ินไทยหรอื ปฏทิ ินสากลก็ได๎ ซึง่ หนย้ี ํอมถึงกําหนดชําระตามวันดังกลําวที่ได๎กําหนดไว๎น้ัน
เชํน นาย ก. กู๎เงินจากนาย ข. ไป 100,000 บาท โดยมีกําหนดใช๎เงินคืนในวันท่ี 31
กรกฎาคม 2562 ดงั นี้ หนร้ี ายนย้ี อํ มถึงกาํ หนดชาํ ระในวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 นั้น หรือมี
กําหนดใชเ๎ งินคืนในวันขน้ึ 15 ค่ํา เดอื น 5 ดังน้ี หนีร้ ายนย้ี อํ มถงึ กําหนดชําระในวนั ขึ้น 15 ค่ํา
เดือน 5 น้ัน และกรณีนี้รวมถึงเวลาอันจะพึงชําระหน้ีได๎กําหนดลงไว๎โดยคํานวณได๎ตาม
วันแหงํ ปฏทิ ินดว๎ ย เชํน หนมี้ ีกําหนดใหใ๎ ช๎เงนิ คืนในเวลาอีก 10 วัน นับต้ังแตํวันท่ีทําสัญญากู๎
ดังนี้ หน้ีรายนี้ยํอมถึงกําหนดชําระเมื่อครบ 10 วัน นับตั้งแตํวันท่ีทําสัญญาก๎ู หรือหนี้มี

34

กําหนดให๎ใช๎เงินคืนในเวลาอีก 1 เดือน นับต้ังแตํวันท่ีทําสัญญาก๎ู ดังน้ี หน้ีรายนี้ยํอมถึง
กาํ หนดชาํ ระเมือ่ ครบ 1 เดอื น นบั ต้งั แตํวนั ทท่ี ําสญั ญาก๎ู เปน็ ต๎น

1.2 ถ๎าเวลาอันจะพึงชําระหน้ีนั้นได๎กําหนดลงไว๎ แตํไมํได๎กําหนดตามวันแหํง
ปฏทิ นิ หน้ียอํ มถงึ กําหนดชาํ ระตามวันดังกลําวที่ได๎กําหนดไว๎นั้น เชํน เจ๎าสาวเชําชุดเจ๎าสาว
จากรา๎ น โดยตกลงกันวําจะคืนชดุ เจ๎าสาวใหแ๎ กํร๎านเม่ือเสร็จงานแตํงงาน ดังนี้ หนี้รายน้ียํอม
ถงึ กําหนดชาํ ระในวนั ท่เี สรจ็ งานแตํงงานนั้น

ข้อสงั เกต หน้ีใดท่ีเวลาอันจะพึงชําระหนี้ได๎กําหนดลงไว๎แล๎ว แตํเวลาอันจะ
พึงชําระหน้ีดังกลาํ วถูกยกเลิกโดยชัดแจ๎งหรือโดยปริยาย และไมํได๎มีการกําหนดเวลาอันจะ
พงึ ชําระหนี้ขึ้นมาใหมํ หน้นี น้ั ก็จะกลายเป็นหนี้ท่ีเวลาอนั จะพึงชําระหนม้ี ิได๎กาํ หนดลงไว๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2225/2540 และคาพิพากษาศาลฎีกาที่
8701/2542 โจทก๑และจําเลยได๎ตกลงนัดจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน กันในวันท่ี
1 พฤษภาคม 2536 ซ่ึงเป็นกรณีท่ีเวลาอันจะพึงชําระหนี้ได๎กําหนดลงไว๎ตามวันแหํงปฏิทิน
แตํในวันท่ีกําหนดน้ันเป็นวันหยุดราชการ ดังน้ี จะนําประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 193/8 มาใชบ๎ งั คับ โดยกาํ หนดให๎จาํ เลยตอ๎ งไปโอนที่ดินใหแ๎ กโํ จทกใ๑ นวนั ที่เร่ิมทําการ
ใหมํตอํ จากวันท่หี ยุดทําการไมไํ ด๎ แตํกรณีน้ีกลายเปน็ หนท้ี ี่เวลาอันจะพึงชําระหนี้มิได๎กําหนด
ลงไว๎

คาพิพากษาศาลฎกี าที่ 997/2551 สญั ญากําหนดวําให๎จําเลยชําระหน้ีให๎แกํ
โจทก๑ภายในวนั ท่ี 3 มกราคม 2541 ซงึ่ เป็นกรณีที่เวลาอันจะพึงชําระหนี้ได๎กําหนดลงไว๎ตาม
วันแหงํ ปฏทิ ิน แตเํ มือ่ โจทก๑ไปสงํ ใบแจ๎งหน้ีและใบวางบิลให๎แกํจําเลย จําเลยบอกวําโปรดมา
รบั เงินวนั ท่ี 13 มีนาคม 2541 โจทก๑มิได๎ทกั ท๎วง แสดงวําโจทก๑และจําเลยมไิ ดถ๎ อื เอาวันที่ครบ
กาํ หนดชําระหน้ีตามสัญญาเป็นสาระสําคัญอกี ตํอไป และหนน้ี ัน้ กลายเปน็ หนี้ท่ีเวลาอันจะพึง
ชําระหน้ีมิไดก๎ าํ หนดลงไว๎

2. ถ๎าเวลาอันจะพึงชําระหน้ีมิได๎กําหนดลงไว๎ แตํพอจะอนุมานจากพฤติการณ๑
ทั้งปวงได๎วําหน้ีจะถึงกําหนดชําระเมื่อใด หนี้ยํอมถึงกําหนดชําระตามวันดังกลําวที่พอจะ
อนุมานจากพฤติการณ๑ทั้งปวงได๎นั้น เชํน ยืมเครื่องบวชนาคไปเพื่อใช๎ในงานอุปสมบท พอ
อนุมานจากพฤติการณ๑ไดว๎ าํ หนี้ถึงกาํ หนดชําระเมื่อเสร็จงานอุปสมบท หรือยืมเสื้อครุยไปรับ
ปรญิ ญา พออนุมานจากพฤติการณ๑ได๎วําหน้ีถึงกําหนดชําระเม่ือรับปริญญาเสร็จ หรือยืมชุด
เจา๎ สาวชดุ เจ๎าบาํ วไปใชใ๎ นงานแตํงงาน พออนุมานจากพฤตกิ ารณ๑ได๎วาํ หนี้ถึงกาํ หนดชําระเมื่อ
เสร็จงานแตํงงาน หรือเคยสํงมอบสินค๎าที่ซ้ือขายกันทุกวันที่ 30 ของเดือน พออนุมานจาก
พฤติการณ๑ได๎วาํ หนถ้ี งึ กาํ หนดชําระเมื่อในวันท่ี 30 ของเดอื น เปน็ ต๎น

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 66/2523 เชําท่ีดินทํานา พออนุมานจากพฤติการณ๑
ได๎วาํ หน้ีถึงกาํ หนดชําระเมอ่ื เสรจ็ ฤดกู าลทํานา

35

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 105/2536 แม๎สัญญาจะมิได๎กําหนดเวลาในการสํง
มอบขา๎ วสารของผ๎ขู ายไว๎ แตํเม่ือสัญญาได๎กําหนดเวลาในการชําระราคาข๎าวสารของผู๎ซื้อไว๎
คือ ภายในวนั ที่ 30 กันยายน 2529 ดงั น้ันจึงพอจะอนุมานได๎วําคูํสัญญาได๎ตกลงให๎ผ๎ูขายสํง
มอบข๎าวสารใหแ๎ กํผซ๎ู ้ือภายในวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2529 ดว๎ ย

3. ถ๎าเวลาอันจะพงึ ชําระหนี้นั้นมิได๎กําหนดลงไว๎ และจะอนุมานจากพฤติการณ๑
ทงั้ ปวงกไ็ มไํ ด๎ เจา๎ หนี้ยํอมจะเรียกให๎ลูกหน้ีชําระหน้ไี ดโ๎ ดยพลัน และฝา่ ยลกู หน้ีกย็ ํอมจะชําระ
หนี้ของตนได๎โดยพลันดุจกนั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 203 วรรคแรก

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 203 วรรคแรก บัญญัติวํา “ถ๎า
เวลาอันจะพึงชาํ ระหนน้ี ้ันมิได๎กําหนดลงไว๎ หรือจะอนุมานจากพฤติการณ๑ท้ังปวงก็ไมํได๎ไซร๎
ทาํ นวาํ เจา๎ หนย้ี อํ มจะเรียกใหช๎ ําระหน้ไี ด๎โดยพลัน และฝา่ ยลกู หนี้ก็ยอํ มจะชําระหน้ีของตนได๎
โดยพลนั ดจุ กัน”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 203 วรรคแรก บทบัญญัติซึ่ง
กาํ หนดวาํ “เวลาอนั จะพงึ ชําระหน้ีน้นั มิได๎กําหนดลงไว๎ และจะอนมุ านจากพฤตกิ ารณ๑ท้ังปวง
ก็ไมํได๎”เชํน การกยู๎ มื เงนิ โดยไมมํ ีกาํ หนดเวลาชําระหน้ี หรือการซ้อื สนิ คา๎ โดยไมํมีกาํ หนดเวลา
ชาํ ระหนี้ เปน็ ตน๎

สํวนบทบัญญัตซิ ึง่ กําหนดวํา “เจ๎าหน้ียํอมจะเรียกให๎ชําระหน้ีได๎โดยพลัน และ
ฝ่ายลูกหนี้ก็ยํอมจะชําระหนี้ของตนได๎โดยพลันดุจกัน” รองศาสตราจารย๑ ดร.สุนทร มณี
สวัสดิ์ ได๎อธิบายไว๎วํา หน้ีท่ีไมํมีกําหนดเวลาชําระ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 203 วรรคแรกน้ัน กฎหมายถือวําต๎องชําระหนี้ทันที คือเทํากับหนี้ถึงกําหนดชําระ
แล๎วทันทีที่ได๎กํอหนี้ขึ้น17 ศาสตราจารย๑พิเศษโสภณ รัตนากร ก็ได๎อธิบายไว๎วํา หน้ีท่ีไมํมี
กาํ หนดเวลาตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 203 วรรคแรกนั้น ถือวําหนี้ถึง
กําหนดชําระแล๎ว เจ๎าหนี้จึงเรียกให๎ชําระหน้ีได๎ทันทีที่ทําสัญญา และถือวําอายุความในการ
เรียกใหช๎ ําระหนี้เรม่ิ นับต้ังแตํวันทําสัญญา18 และศาสตราจารย๑ศักด์ิ สนองชาติ ได๎อธิบายไว๎
วําประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 193/12 บัญญัติวํา “อายุความให๎เริ่มนับแตํ
ขณะทอ่ี าจบงั คับสิทธิเรียกร๎องไดเ๎ ป็นต๎นไป ถ๎าเป็นสิทธิเรยี กร๎องให๎งดเว๎นกระทําการอยํางใด
ให๎เริ่มนับแตํเวลาแรกท่ฝี า่ ฝืนกระทาํ การนั้น” หมายความวาํ ถ๎าหน้รี ายใดไมํมกี ําหนดเวลาซึ่ง
เจ๎าหน้ีมีสิทธิที่จะเรียกร๎องให๎ลูกหน้ีชําระหน้ีได๎โดยพลัน อายุความยํอมจะเร่ิมนับตั้งแตํ

17เรือ่ งเดียวกนั , หนา๎ 54.
18โสภณ รตั นากร, เร่อื งเดิม, หนา๎ 129.

36

ขณะนนั้ เป็นต๎นไป เชํน สัญญาก๎ยู มื เงนิ ทีไ่ มไํ ด๎กําหนดเวลาชําระหน้ีไว๎ สิทธิเรียกร๎องให๎ชําระ
หนเี้ ริม่ นบั ตั้งแตํวันทก่ี ๎ยู มื เงินเป็นต๎นไป (คําพิพากษาฎีกาที่ 1222/2535)19

อย่างไรกด็ ีมีคาพิพากษาศาลฎีกาท่ีวนิ ิจฉัยไม่ตรงกบั กบั อธบิ ายข้างตน้ ดังน้ี
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2660/2545 สัญญากู๎เงินลงวันที่ 12 มิถุนายน
2523 มขี อ๎ ตกลงวาํ ผกู๎ จ๎ู ะชําระหนีเ้ มื่อผใ๎ู หก๎ ูเ๎ รียกร๎อง โดยมิได๎มีข๎อตกลงเร่ืองการชําระหน้ีไว๎
จึงเป็นสัญญาท่ีมิได๎กําหนดเวลาชําระหนี้ไว๎ ผู๎ให๎กู๎จึงมีสิทธิเรียกร๎องให๎ผู๎กู๎ชําระหนี้ได๎ทันที
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑มาตรา 203 วรรคแรก และถือเป็นระยะเวลาที่ผ๎ูให๎กู๎
อาจบงั คับสิทธเิ รียกรอ๎ งได๎ ดังนนั้ อายุความจึงเรมิ่ นับแตํวันถดั ไปคอื วันท่ี 13 มิถนุ ายน 2523
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 8172/2551 สัญญาท่ีไมํได๎กําหนดเวลาชําระหน้ีไว๎
เจ๎าหนย้ี อํ มเรยี กใหล๎ ูกหนีช้ าํ ระหนไี้ ด๎โดยพลนั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑มาตรา
203 วรรคแรก และถอื เป็นระยะเวลาทเ่ี จา๎ หน้อี าจบงั คับสิทธเิ รียกรอ๎ งได๎ อายุความจึงเร่ิมนับ
แตวํ ันถัดจากวนั ทําสัญญา
4. กรณีท่ีเวลาอันจะพึงชําระหนี้นั้นมิได๎กําหนดลงไว๎ และจะอนุมานจาก
พฤติการณ๑ท้ังปวงก็ไมํได๎ แตํเจ๎าหน้ีต๎องบอกกลําวลํวงหน๎ากํอนการชําระหนี้ ซึ่งได๎
กําหนดเวลาลงไว๎อาจคํานวณนับได๎โดยปฏิทินนับแตํวันที่ได๎บอกกลําว หนี้ยํอมถึงกําหนด
ชําระเม่ือถึงกําหนดเวลานั้น เชํน นาย ก. กู๎เงิน นาย ข. ไป 1,000,000 บาท โดยไมํมี
กําหนดเวลาชําระหน้ีไว๎ แตํนาย ก. กับนาย ข. ตกลงกันวํา ถ๎านาย ข. ต๎องการให๎นาย ก.
ชําระหนค้ี ืนเม่อื ใด กใ็ ห๎นาย ข. บอกกลําวแกนํ าย ก. ลํวงหน๎ากํอน 10 วนั นับแตํวันท่ีได๎บอก
กลาํ ว ถ๎าตํอมาในวนั ที่ 10 สิงหาคม 2562 นาย ข. บอกกลําวให๎นาย ก. ชําระหน้ี ดังนี้ วันท่ี
20 สิงหาคม 2562 ก็ถอื เป็นวันถึงกําหนดชําระหน้ี

2.2 กาหนดเวลาชาระหน้ีไวแ้ ตเ่ ปน็ ที่สงสยั
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 203 วรรคสอง บัญญัติวํา “ถ๎าได๎

กาํ หนดเวลาไว๎ แตํหากกรณีเป็นที่สงสัย ทํานให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวําเจ๎าหน้ีจะเรียกให๎ชําระ
หนี้กํอนถึงเวลานนั้ หาไดไ๎ มํ แตฝํ า่ ยลกู หนีจ้ ะชาํ ระหน้กี อํ นกาํ หนดนั้นก็ได๎”

อุทาหรณข๑ องกรมรํางกฎหมายให๎ตัวอยํางไว๎วํา ก. ให๎ ข. ยืมขันเงินใบหนึ่งไปใช๎
ในงานสมรสของ ข. แตํการสมรสต๎องเล่ือนไป 1 เดือน ดังนี้ ก. ไมํอาจเรียกร๎องขันเงินคืน
กอํ นเสรจ็ การสมรส... แตํ ข. อาจคนื ขนั เงินนัน้ กอํ นทําการสมรสได๎ ซึ่งจากอุทาหรณ๑ของกรม
รํางกฎหมายดงั กลําว เห็นได๎วาํ เป็นกรณีท่มี ีขอ๎ สงสัยในกําหนดเวลาชําระหนี้ วําจะต๎องชําระ

19ศักดิ์ สนองชาติ, คาอธิบายนติ กิ รรมและสญั ญา, พิมพค๑ รง้ั ที่ 7 (กรุงเทพมหานคร:
สาํ นกั พมิ พ๑นติ บิ รรณาการ, 2545),หน๎า 579, 582.

37

หนีต้ ามกาํ หนดเดมิ หรือตามกาํ หนดใหมํ ซึ่งมาตรา 203 วรรคสอง กําหนดวําเจ๎าหน้ีจะเรียก
ใหช๎ าํ ระหน้กี อํ นถงึ กาํ หนดเวลาหลงั ไมํได๎ แตํลกู หนี้จะชาํ ระหนี้ในกําหนดเวลาท่ถี งึ กอํ นก็ได๎20

อน่ึง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 203 วรรคสอง แบํง
ออกเปน็ 2 กรณี ดงั นี้

1. ถ๎าเวลาอันจะพึงชําระหนี้น้ันได๎กําหนดลงไว๎ตามวันแหํงปฏิทิน แตํหากกรณี
เป็นท่สี งสยั ใหส๎ นั นิษฐานไวก๎ อํ นวําเจา๎ หนี้จะเรียกใหช๎ ําระหนี้กอํ นถงึ เวลานัน้ หาได๎ไมํ แตํฝ่าย
ลูกหนจี้ ะชาํ ระหนก้ี ํอนกําหนดนนั้ กไ็ ด๎

ตัวอย่างท่ี 1 การที่เจ๎าหนี้และลูกหน้ีตกลงกันวําจะชําระหน้ีในวันสิบห๎าค่ํา
เดือนแปดนน้ั เป็นกรณที เ่ี วลาอนั จะพงึ ชําระหนนี้ ัน้ ได๎กําหนดลงไว๎ตามวันแหงํ ปฏิทนิ แตกํ รณี
เปน็ ที่สงสยั คือ สงสัยวาํ เป็นวนั ข้นึ สิบหา๎ ค่ําเดอื นแปด หรือวันแรมสิบห๎าค่ําเดือนแปดกันแนํ
ซงึ่ กรณีนกี้ ฎหมายใหส๎ นั นิษฐานไวก๎ ํอนวําเจ๎าหนี้จะเรียกให๎ชําระหน้ีกํอนถึงกําหนดเวลาหลัง
คือ กํอนถึงวันแรมสิบห๎าคํ่าเดือนแปดไมํได๎ แตํฝ่ายลูกหน้ีจะชําระหน้ีกํอนวันแรมสิบห๎าค่ํา
เดอื นแปดกไ็ ด๎ ดงั นี้ วนั แรมสบิ ห๎าคาํ่ เดอื นแปดจงึ ถือเป็นวนั ถงึ กาํ หนดชําระหน้ี เปน็ ต๎น21

ตัวอย่างท่ี 2 การท่ีเจ๎าหน้ีและลูกหน้ีตกลงกันวําจะชําระหน้ีในวันข้ึนสิบห๎า
คา่ํ เดือนแปดนั้น แตใํ นปีทต่ี อ๎ งชาํ ระหน้นี ้นั บังเอญิ มีเดือนแปดสองหนน้ัน เป็นกรณีที่เวลาอัน
จะพึงชาํ ระหน้นี ัน้ ได๎กาํ หนดลงไว๎ตามวันแหํงปฏิทิน แตํกรณีเป็นที่สงสัย คือ สงสัยวําเป็นวัน
ขนึ้ สบิ หา๎ ค่ําเดือนแปดแรก หรือวันขึ้นสิบห๎าค่ําเดือนแปดหลังกันแนํ ซ่ึงกรณีน้ีกฎหมายให๎
สันนิษฐานไว๎กอํ นวาํ เจ๎าหนจี้ ะเรยี กให๎ชาํ ระหน้ีกํอนถงึ กําหนดเวลาหลัง คือ กํอนถึงวันขึ้นสิบ
ห๎าคํ่าเดือนแปดหลังไมํได๎ แตํฝ่ายลูกหน้ีจะชําระหน้ีกํอนวันขึ้นสิบห๎าค่ําเดือนแปดหลังก็ได๎
ดงั น้ี วันข้ึนสิบหา๎ ค่าํ เดือนแปดหลงั จงึ ถอื เปน็ วนั ถงึ กาํ หนดชําระหนี้22

2. ถ๎าเวลาอันจะพึงชําระหนี้น้ันได๎กําหนดลงไว๎ แตํไมํได๎กําหนดตามวันแหํง
ปฏิทิน และหากกรณีเป็นที่สงสัย ให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวําเจ๎าหน้ีจะเรียกให๎ชําระหนี้กํอนถึง
เวลานั้นหาได๎ไมํ แตํฝ่ายลูกหน้ีจะชําระหน้ีกํอนกําหนดนั้นก็ได๎ เชํน การที่เจ๎าสาวเชําชุด
เจ๎าสาวจากร๎าน โดยตกลงกันวําจะคืนชุดเจ๎าสาวให๎แกํร๎านเมื่อเสร็จงานแตํงงาน แตํบังเอิญ
ได๎มกี ารกําหนดจัดงานแตํงงาน 2 คร้ัง คือ ครั้งที่ 1 จัดงานแตํงงานท่ีบ๎านเจ๎าสาว และครั้งที่
2 จัดงานแตํงงานท่บี า๎ นเจา๎ บาํ วนั้น เป็นกรณีที่เวลาอันจะพึงชําระหน้ีน้ันได๎กําหนดลงไว๎ แตํ
ไมไํ ด๎กําหนดตามวันแหงํ ปฏทิ ิน และกรณีเป็นท่ีสงสัย คือ สงสัยวําจะต๎องคืนชุดเจ๎าสาวให๎แกํ
ร๎านเม่ือเสร็จงานแตํงงานคร้ังท่ี 1 หรือคร้ังที่ 2 ซึ่งกรณีนี้กฎหมายให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวํา
เจา๎ หน้จี ะเรยี กให๎ชําระหนี้กํอนถึงกําหนดเวลาหลัง คือ กํอนเสร็จงานแตํงงานครั้งที่ 2 ไมํได๎

20สุนทร มณีสวัสดิ์, เร่อื งเดมิ , หนา๎ 56-57.
21เร่อื งเดียวกนั , หนา๎ 57.
22เรือ่ งเดยี วกนั , หนา๎ 57.


Click to View FlipBook Version