The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auttapon_tepsong, 2022-04-17 14:02:03

คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะหนี้

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

288

หรือเจ๎าพนักงานพิทักษ๑ทรัพย๑ยํอมมีอํานาจรับชําระหนี้แทน
บคุ คลลม๎ ละลายซึ่งเป็นเจ๎าหนี้ได๎ ตามพระราชบัญญัติล๎มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 22 ซ่ึง
บัญญัติวํา “เมื่อศาลสั่งพิทักษ๑ทรัพย๑ของลูกหน้ีแล๎ว เจ๎าพนักงานพิทักษ๑ทรัพย๑แตํผู๎เดียวมี
อาํ นาจดงั ตํอไปนี้ (2) เกบ็ รวบรวมและรบั เงนิ หรือทรพั ยส๑ นิ ซ่ึงจะตกได๎แกลํ ูกหนีห้ รือซ่ึงลูกหนี้
มีสทิ ธิจะได๎รบั จากผู๎อื่น” เปน็ ต๎น

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1237/2501 จําเลยมิได๎นําสืบวําสามี
โจทก๑มีอํานาจท่จี ะรับชาํ ระหนีแ้ ทนโจทกไ๑ ดแ๎ ตอํ ยาํ งใด การท่ีจําเลยอ๎างวําได๎ทําการชําระหนี้
รายนี้แกํสามีโจทก๑ จึงยังถือไมํได๎วําได๎ทําการชําระหนี้โดยชอบด๎วยกฎหมายแล๎ว จําเลยจึง
ต๎องแพค๎ ดี

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2413/2532 จําเลยชําระหน้ีให๎กับ ส.
ภริยาโดยชอบด๎วยกฎหมายของโจทก๑ แตํ ส. ไมํได๎เป็นตัวเจ๎าหน้ีและไมํเป็นผ๎ูมีอํานาจรับ
ชําระหน้ีแทนโจทก๑ การชําระหนีข้ องจาํ เลยจงึ ไมชํ อบดว๎ ยประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 315

3. บคุ คลผู้ไม่มีอานาจรับชาระหน้ีแทนเจ้าหน้ี แต่ต่อมาเจ้าหน้ีได้ให้
สัตยาบันแก่การรับชาระหน้ีนั้น บทบัญญัติที่วํา “ให๎สัตยาบันแกํการรับชําระหน้ี”
หมายความวาํ การให๎ความยินยอมหรือรับรองแกํการรับชําระหนี้ โดยอาจทําด๎วยวาจาหรือ
ทําเป็นลายลกั ษณอ๑ ักษรกไ็ ด๎ เชนํ นาย ก. เปน็ เจา๎ หนี้ของนาย ข. ตํอมา นาย ข. ได๎นําเงินไป
ชาํ ระหนีใ้ หแ๎ กํมารดาของนาย ก. ดังน้ี เป็นการชําระหนี้โดยไมํชอบ เพราะเป็นการชําระหน้ี
ตํอบุคคลผ๎ูไมํมีอํานาจรับชําระหนี้แทนเจ๎าหน้ี แตํอยํางไรก็ดี หากในภายหลัง นาย ก. ให๎
ความยินยอมแกํการรบั ชาํ ระหนีน้ นั้ กถ็ อื เปน็ การใหส๎ ัตยาบนั แกกํ ารรบั ชาํ ระหนนี้ น้ั การชําระ
หนี้นนั้ จึงสมบูรณแ๑ ละมผี ลทาํ ใหห๎ นรี้ ะงับ เปน็ ต๎น

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1075/2515 โจทก๑ชําระหนี้คําซื้อสินค๎า
จากจําเลยให๎แกํมารดาจําเลยและน๎องชายจําเลยซ่งึ อยูบํ ๎านเดียวกับจําเลย แล๎วแจ๎งให๎จําเลย
ทราบในเวลาตํอมา แตํจาํ เลยกลบั เพิกเฉยมิไดป๎ ฏิเสธหรือโต๎แย๎ง และมิได๎ใช๎สิทธิติดตามทวง
ถาม จนลํวงเลยกําหนดเวลาชําระหน้ีถึง 8-9 ปี ยอํ มถือได๎วําจําเลยได๎ให๎สัตยาบันรับรองการ
ชําระหน้ขี องโจทก๑แลว๎

ทั้งน้ี หากลูกหนี้ได๎ชําระหนี้ตํอบุคคลผ๎ูไมํมีอํานาจรับชําระหนี้แทน
เจ๎าหนี้ แล๎วตํอมาเจ๎าหน้ีได๎ให๎สัตยาบันแกํการรับชําระหน้ีน้ัน การชําระหนี้นั้นยํอมสมบูรณ๑
และมผี ลทาํ ให๎หน้รี ะงับ และเมื่อการชําระหน้ีนั้นสมบูรณ๑และมีผลทําให๎หน้ีระงับไปแล๎ว แม๎
ตํอมาบคุ คลผู๎ไมํมอี ํานาจรับชําระหนี้แทนเจ๎าหนี้นั้น จะไมํชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหน้ี เจ๎าหนี้ก็จะ
มาเรยี กจากลกู หนี้อีกไมํได๎ เชนํ นาย ก. เป็นเจา๎ หนข้ี องนาย ข. 100,000 บาท ตอํ มา นาย ข.
ได๎นําเงิน 100,000 บาท ไปชําระหนใี้ ห๎แกํมารดาของนาย ก. แล๎วในภายหลัง นาย ก. ได๎ให๎
สัตยาบนั แกกํ ารรับชําระหน้นี ้ัน การชําระหน้ยี ํอมสมบูรณ๑และมีผลทําให๎หนี้ระงับ หากตํอมา

289

มารดาของนาย ก. ไดส๎ ํงมอบเงนิ นนั้ ให๎แกํนาย ก. เพยี ง 50,000 บาท นาย ก. จะมาเรียกจาก
นาย ข. อีก 50,000 บาท ไมไํ ด๎ เป็นต๎น

2.2.2 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 316
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 316 บัญญัติวํา “ถ๎าการ

ชําระหน้ีน้ันได๎ทําให๎แกํผู๎ครองตามปรากฏแหํงสิทธิในมูลหน้ี ทํานวําการชําระหนี้น้ันจะ
สมบรู ณก๑ ็แตํเมื่อบุคคลผู๎ชาํ ระหนี้ไดก๎ ระทําการโดยสจุ รติ ”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 316 การชําระหนี้น้ันจะ
สมบรู ณ๑และมีผลทาํ ให๎หนรี้ ะงบั เมอื่ ครบหลกั เกณฑด๑ งั นี้

1. บุคคลท่ีรับชาํ ระหน้นี น้ั เป็นผู๎ครอบครองทรัพย๑ตามมูลหน้ี แตํมิใชํผ๎ูที่มี
สทิ ธริ บั ชําระหน้ี

2. บุคคลผ๎ชู ําระหนี้ได๎กระทําการชําระหน้ีโดยสุจริต คือ ชําระหน้ีไปโดย
เข๎าใจวําบคุ คลนั้นเป็นผู๎ท่มี สี ทิ ธิรับชาํ ระหน้ี

ตวั อยา่ งท่ี 1 นาย ก. ยืมรถยนตม๑ าจากนาย ข. ตอํ มาในขณะที่นาย ก.
ครอบครองรถยนต๑นั้นอยูํ นาย ค. ได๎ขับรถยนต๑มาชนรถยนต๑นั้นเสียหาย นาย ค. เข๎าใจวํา
นาย ก. เป็นเจ๎าของรถยนต๑น้ัน จงึ ไดช๎ ดใชค๎ าํ เสียหายให๎แกํนาย ก. ไป ดังน้ี การชําระหนี้เป็น
อันสมบูรณ๑ และมผี ลทาํ ให๎หนร้ี ะงบั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 316 แตํ
ถา๎ นาย ค. สอบถามนาย ก. แลว๎ และนาย ก. บอกวําตนไมใํ ชํเจ๎าของรถยนต๑น้ัน แล๎วนาย ค.
ยังชดใชค๎ ําเสียหายให๎แกํนาย ก. ไปอกี การชําระหนีจ้ ึงไมสํ มบรู ณ๑ และมีผลทาํ ให๎หนไ้ี มํระงบั

ตัวอย่างท่ี 2 นาย ก. ได๎นําเช็คผ๎ูถือไปขึ้นเงินตํอธนาคาร แตํนาย ก.
เป็นผู๎ครอบครองเช็คนั้น โดยนาย ก. ไมํมีสิทธิในเช็คนั้น เพราะนาย ก. ได๎ขโมยเช็คนั้นมา
ดังน้ี ถา๎ ธนาคารไดจ๎ าํ ยเงินให๎แกํนาย ก. ไป โดยเข๎าใจวํานาย ก. มีสิทธิได๎รับชําระหน้ี ถือวํา
ธนาคารได๎กระทําการชําระหนโ้ี ดยสุจริต การชําระหน้ีของธนาคารจึงเป็นอันสมบูรณ๑ และมี
ผลทําให๎หน้ีระงับ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 316 และมาตรา 1009

2.2.3 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 317
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 317 บัญญัติวํา “นอกจาก

กรณีท่ีกลําวไว๎ในมาตรากํอน การชําระหนี้แกํบุคคลผู๎ไมํมีสิทธิจะได๎รับน้ัน ทํานวํายํอม
สมบูรณ๑เพยี งเทําท่ตี ัวเจ๎าหนไี้ ด๎ลาภงอกขึ้นแตกํ ารนัน้ ”

ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 317 อธบิ ายไดด้ งั น้ี
1. บทบญั ญตั ิที่วํา “นอกจากกรณีท่ีกลําวไว๎ในมาตรากํอน” หมายความ
วํา กรณีตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 316 เป็นการชาํ ระหน้แี กํบุคคลผู๎ไมํมี
สิทธจิ ะไดร๎ ับชาํ ระหน้ีประการหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 317 ซึ่ง
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 316 กําหนดวําการชําระหน้ีนั้นสมบูรณ๑ทั้งหมด
และมีผลทาํ ใหห๎ นี้ระงับ สวํ นประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 317 กําหนดวําการ

290

ชาํ ระหน้ีนัน้ สมบูรณ๑เพียงเทาํ ที่ตวั เจา๎ หนีไ้ ด๎ลาภงอกข้ึนแตํการนั้น ดังน้ัน ประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 317 จึงต๎องกําหนดไว๎วํา การชําระหน้ีตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 316 เป็นขอ๎ ยกเวน๎ ของประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 317

2. บทบญั ญตั ทิ ่วี ํา “การชําระหนี้แกบํ คุ คลผูไ๎ มํมีสิทธิจะได๎รับนั้น ทํานวํา
ยอํ มสมบรู ณเ๑ พยี งเทําที่ตัวเจ๎าหน้ีได๎ลาภงอกข้ึนแตํการนั้น” หมายความวํา การชําระหนี้แกํ
บคุ คลผู๎ไมมํ ีสิทธิจะไดร๎ บั น้ัน ยํอมไมํสมบูรณ๑ และมีผลทําให๎หน้ีไมํระงับ แตํถ๎าเจ๎าหน้ีได๎ลาภ
งอกขึน้ แตํการน้นั คอื เจ๎าหน้ไี ด๎รับประโยชน๑จากการชําระหนี้น้ัน การชําระหนี้ยํอมสมบูรณ๑
เพียงเทําท่ีตัวเจ๎าหน้ีได๎ลาภงอกขึ้นแตํการน้ัน กลําวคือ ถ๎าเจ๎าหน้ีได๎ลาภงอกขึ้นเทําใด การ
ชําระหนีก้ ถ็ อื วําเป็นผลสมบรู ณ๑เพียงเทาํ น้นั และมีผลทําใหห๎ นร้ี ะงับไปเทํานั้นดว๎ ย

ตัวอย่าง นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีของนาย ข. จํานวน 100,000 บาท
ตํอมานาย ข. ไดน๎ าํ เงินจาํ นวน 100,000 บาท ไปชําระหน้ีให๎แกํภริยาของนาย ก. ดังน้ี เป็น
การชําระหน้ีโดยไมํชอบ เพราะมิได๎เป็นการชําระหนี้ตํอเจ๎าหนี้ หรือแกํบุคคลผ๎ูมีอํานาจรับ
ชําระหนีแ้ ทนเจา๎ หน้ี หรือบุคคลผ๎ไู มมํ ีอาํ นาจรับชําระหน้ีแตํเจ๎าหน้ีให๎สัตยาบัน ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 315 แตํอยํางไรก็ดี หากในภายหลัง ภริยาของนาย ก. ได๎
นําเงินไปให๎นาย ก. จํานวน 50,000 บาท เม่ือนาย ก. ได๎รับประโยชน๑จากการชําระหนี้
จํานวน 50,000 บาท การชําระหนี้จึงสมบูรณ๑จํานวน 50,000 บาท และมีผลทําให๎หนี้ระงับ
ไปจาํ นวน 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 317 นาย ข. จึงต๎อง
ชาํ ระหนี้ใหแ๎ กํนาย ก. อีกจาํ นวน 50,000 บาท

2.2.4 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 318
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 318 บัญญัติวํา “บุคคลผ๎ู

ถอื ใบเสรจ็ เป็นสําคัญ ทํานนับวําเป็นผ๎ูมีสิทธิจะได๎รับชําระหน้ี แตํความที่กลําวน้ีทํานมิให๎ใช๎
ถ๎าบุคคลผู๎ชําระหน้ีรู๎วําสิทธิเชํนน้ันหามีไมํ หรือไมํร๎ูเทําถึงสิทธินั้นเพราะความประมาท
เลินเลอํ ของตน”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 318 การชําระหนี้น้ันจะ
สมบรู ณแ๑ ละมีผลทําให๎หนี้ระงับ เมื่อครบหลักเกณฑ๑ดงั นี้

1. บุคคลทรี่ ับชาํ ระหนี้นนั้ เปน็ ผูถ๎ อื ใบเสร็จ แตมํ ิใชํผู๎ท่ีมีสทิ ธิรบั ชาํ ระหนี้
2. บุคคลผ๎ูชําระหน้ีได๎กระทําการชาํ ระหน้ีโดยไมรํ วู๎ ําบคุ คลนนั้ ไมํมีสิทธิรับ
ชําระหน้ี และการท่ีไมรํ นู๎ ั้นมิได๎เกิดจากความประมาทเลินเลํอของตน

ตัวอย่าง นาย ก. ซื้อโต๏ะทํางานจากบริษัทเอ พนักงานของบริษัทเอ
คือ นาย ข. ไดน๎ าํ โต๏ะทํางานมาสงํ หลังจากนน้ั อกี 2 วนั นาย ข. ไดน๎ ําใบเสร็จมาเรียกให๎นาย
ก. ชําระหน้ี นาย ก. จึงชําระหน้ีให๎แกํนาย ข. โดยไมํร๎ูวํานาย ข. ไมํมีสิทธิรับชําระหนี้ ดังน้ี
การชําระหนีส้ มบรู ณ๑ และมีผลทาํ ให๎หนี้ระงับ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา
318 แตํถ๎านาย ก. รู๎อยูํวํานาย ข. ถูกไลํออกจากบริษัทไปแล๎ว ไมํมีสิทธิมาเรียกให๎ตนชําระ

291

หนี้ แลว๎ นาย ก. ยงั ชําระหนใี้ ห๎แกนํ าย ข. ไปอีก ดงั น้ี การชาํ ระหน้ีไมํสมบูรณ๑ และมีผลทําให๎
หน้ีไมํระงับ หรือกรณีที่บริษัทมีจดหมายแจ๎งรายชื่อของพนักงานท่ีถูกบริษัทไลํออกจํานวน
หลายคนมายงั นาย ก. แตนํ าย ก. ประมาทเลินเลํอโดยไมํสนใจท่ีจะตรวจสอบวํานาย ข. คือ
บคุ คลท่มี ีรายชื่อในจดหมายแจง๎ นนั้ หรือไมํ ดงั น้ี การชาํ ระหนไ้ี มํสมบูรณ๑ และมีผลทาํ ให๎หนี้ไมํ
ระงบั

2.3 ศาลสง่ั ให้ลูกหน้คี นท่สี ามงดเวน้ ทาการชาระหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 319 บัญญัติวํา “ถ๎าศาลส่ังให๎

ลูกหนี้คนทส่ี ามงดเว๎นทําการชาํ ระหนีแ้ ล๎ว ยงั ขนื ชาํ ระหน้ใี ห๎แกเํ จ๎าหน้ีของตนเองไซร๎ ทํานวํา
เจ๎าหน้ผี ๎ูที่รอ๎ งขอให๎ยึดทรพั ย๑จะเรยี กให๎ลูกหนี้คนที่สามน้ันทําการชําระหน้ีอีกให๎คุ๎มกับความ
เสยี หายอนั ตนได๎รบั ก็ได๎

อนงึ่ ข๎อความซ่งึ กลําวมาในวรรคขา๎ งตน๎ นห้ี าเปน็ ขอ๎ ขดั ขวางในการที่ลูกหนี้คนท่ี
สามจะใชส๎ ิทธไิ ลํเบยี้ เอาแกเํ จา๎ หนีข้ องตนเองน้ันไมํ”

เจ๎าหนี้มีลูกหนี้ หากลูกหนี้มีลูกหน้ีด๎วย ลูกหนี้ของลูกหน้ีน้ีเรียกวําลูกหนี้ที่
สาม โดยเมื่อเจ๎าหนี้ได๎ฟ้องบังคับชําระหน้ีจากลูกหน้ี และชนะคดีแล๎ว เจ๎าหน้ีมีสิทธิตาม
ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพํง คือ ร๎องขอตํอศาลเพื่อบังคับชําระหนี้จากทรัพย๑สิน
ของลูกหนไี้ ด๎ หรอื หา๎ มลกู หนท้ี ่ีสามชําระหนใ้ี หแ๎ กลํ กู หนี้และบังคับชาํ ระหนจ้ี ากทรัพย๑สินของ
ลกู หน้ที ี่สามได๎

ดงั นั้น ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 319 จึงกําหนดวํา ถ๎าศาลส่ัง
ให๎ลูกหนี้คนที่สามงดเว๎นทําการชําระหน้ีแกํลูกหนี้แล๎ว ลูกหนี้คนท่ีสามนั้นยังขืนชําระหนี้
ใหแ๎ กเํ จ๎าหนข้ี องตนเองอีก เจา๎ หนจ้ี ะเรียกให๎ลูกหนี้คนท่ีสามนั้นทําการชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหนี้
อกี คร้ังใหค๎ ุม๎ กบั ความเสียหายอนั ตนไดร๎ ับกไ็ ด๎

ตวั อยา่ ง นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีนาย ข. จาํ นวน 2,000,000 บาท และนาย ข. เป็น
เจ๎าหนี้นาย ค. จํานวน 1,000,000 บาท ตํอมา นาย ก. ได๎ฟ้องคดีตํอศาลเรียกให๎นาย ข.
ชําระหน้ี และศาลได๎มีคําพิพากษาให๎นาย ก. ชนะคดี และได๎บังคับคดีโดยการยึดทรัพย๑สิน
ของนาย ข. แลว๎ แตทํ รัพยส๑ นิ ของนาย ข. มเี พยี ง 1,000,000 บาท นาย ก. จึงขอให๎ศาลออก
หมายสง่ั ห๎ามนาย ค. ชาํ ระหนใี้ หแ๎ กํนาย ข. เพ่ือที่นาย ก. จะได๎ดําเนินการบังคับคดีโดยการ
ยดึ ทรัพย๑สินของนาย ค. มาใช๎หนใี้ ห๎แกตํ น แตเํ มอ่ื นาย ค. ไดร๎ ับคาํ สั่งศาลแล๎ว นาย ค. ยังขืน
ชําระหนีจ้ าํ นวน 1,000,000 บาท ใหแ๎ กํนาย ข. ไปอกี ดังนี้ ถ๎าเปน็ เหตใุ ห๎นาย ก. ได๎รับความ
เสียหาย นาย ก. มีสทิ ธเิ รยี กใหน๎ าย ค. ทําการชําระหน้ีให๎แกํตน ให๎คุ๎มกับความเสียหายที่ตน
ได๎รบั ได๎ เชนํ ถ๎านาย ข. ไดน๎ ําเงนิ จํานวน 1,000,000 บาท ไปใชจ๎ ํายจนหมด นาย ก. ก็มีสิทธิ
เรยี กให๎นาย ค. ทําการชาํ ระหน้ีให๎แกนํ าย ก. อีกจํานวน 1,000,000 บาท ได๎ หรือถ๎านาย ข.

292

ไดน๎ าํ เงนิ จาํ นวน 1,000,000 บาท ไปใช๎จํายจนเหลือ 400,000 บาท นาย ก. ก็มีสิทธิเรียกให๎
นาย ค. ทําการชาํ ระหนีใ้ ห๎แกนํ าย ก. อกี จาํ นวน 600,000 บาท เปน็ ต๎น

อยํางไรก็ดี ลูกหน้ีคนท่ีสามมีสิทธิไลํเบ้ียเอาจากเจ๎าหน้ีของตนเองได๎ เชํน จาก
ตัวอยํางดังกลําวข๎างต๎น ถ๎านาย ค. ได๎ชําระหนี้จํานวน 1,000,000 บาท ให๎แกํนาย ก. ไป
นาย ค. ก็มีสิทธไิ ลเํ บ้ียเอาจากนาย ข. ได๎ เป็นต๎น

ขอ้ สงั เกต แม๎ลูกหน้ีคนทสี่ ามยงั ขนื ชาํ ระหนใี้ ห๎แกํลูกหนี้ไปอีก ท้ัง ๆ ท่ีลูกหน้ีคน
ที่สามได๎รับคําสั่งศาลแล๎ว แตํเม่ือการชําระหน้ีของลูกหนี้คนที่สามให๎แกํลูกหนี้น้ัน มิได๎เป็น
เหตใุ หเ๎ จ๎าหนีไ้ ด๎รบั ความเสยี หาย ดังน้ี เจ๎าหนี้ยํอมจะไมํมีสิทธิเรียกให๎ลูกหน้ีคนที่สามทําการ
ชาํ ระหน้ีใหแ๎ กตํ นอกี เชํน จากตัวอยํางดังกลําวข๎างต๎น ถ๎านาย ข. ได๎นําเงินที่ได๎รับชําระหน้ี
จากนาย ค. จํานวน 1,000,000 บาท ไปชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ท้ังหมดแล๎ว นาย ก. ยํอม
ไมํได๎รับความเสียหาย ดังนี้ นาย ก. ยํอมจะไมํมีสิทธิเรียกให๎นาย ค. ชําระหนี้ให๎แกํตนอีก
เป็นตน๎

2.4 ตอ้ งชาระหน้ตี ามความประสงค์แหง่ หน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 320 บัญญัติวํา “อันจะบังคับให๎

เจา๎ หนรี้ ับชําระหน้แี ตํเพยี งบางสวํ น หรือใหร๎ ับชําระหน้ีเป็นอยํางอ่ืนผิดไปจากท่ีจะต๎องชําระ
แกํเจา๎ หนีน้ นั้ ทาํ นวาํ หาอาจจะบังคับไดไ๎ มํ”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 320 หมายความวาํ ลกู หน้ีจะขอ
ชําระหนแ้ี ตํเพยี งบางสํวน หรือขอชาํ ระหนีเ้ ปน็ อยํางอ่นื ผดิ ไปจากที่จะต๎องชําระแกํเจ๎าหนี้น้ัน
ไมไํ ด๎

“การชําระหน้ีแตํเพียงบางสํวน” เชํน นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีนาย ข. จํานวน
2,000,000 บาท ตอํ มา นาย ข. จะขอชําระหน้แี ตํเพียงบางสํวน คอื 1,000,000 บาท ไมํได๎

“การชําระหนีเ้ ปน็ อยํางอื่นผิดไปจากที่จะต๎องชําระแกํเจ๎าหน้ี” เชํน ลูกหน้ีต๎อง
ชาํ ระหนโี้ ดยการสงํ มอบแหวน ลูกหนี้จะสํงมอบสร๎อยคอให๎แทนไมํได๎ แม๎สร๎อยคอจะมีราคา
มากกวาํ แหวนก็ตาม แตํถ๎าเจ๎าหนี้ไมํต๎องการ ลูกหน้ีก็จะบังคับให๎เจ๎าหนี้รับสร๎อยคอไว๎ไมํได๎
หรอื ลกู หน้ีต๎องชําระหน้ีด๎วยเงิน 3,000,000 บาท ลูกหน้ีจะบังคับให๎เจ๎าหน้ีรับชําระหนี้ด๎วย
เช็คแทนไมํได๎ เปน็ ตน๎

ข้อสังเกต การชําระหนี้เป็นอยํางอ่ืนผิดไปจากที่จะต๎องชําระแกํเจ๎าหน้ี ได๎แกํ
การชําระหนี้อยํางอนื่ แทนการชาํ ระหนท้ี ไ่ี ดต๎ กลงกันไว๎ หรือการรับภาระเปน็ หนอ้ี ยาํ งใดอยําง
หน่ึงข้ึนใหมํตํอเจ๎าหนี้ หรือการชําระหนี้ด๎วยออก โอน หรือสลักหลังต๋ัวเงินหรือประทวน
สินค๎า89

89ไพโรจน๑ วายภุ าพ, เรือ่ งเดมิ , หนา๎ 477., สุนทร มณสี วัสด์ิ, เรอ่ื งเดมิ , หนา๎ 313.

293

ทัง้ นี้ ถา๎ ลกู หน้ีจะขอชําระหน้แี ตํเพียงบางสํวน หรือขอชําระหนี้เป็นอยํางอ่ืนผิด
ไปจากที่จะต๎องชําระแกํเจ๎าหน้ีน้ัน เจ๎าหน้ีมีสิทธิปฏิเสธไมํรับชําระหนี้ได๎ โดยเจ๎าหน้ีจะไมํ
ตกเป็นผผู๎ ดิ นัด ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 207

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5952/2533 จําเลยเป็นลูกหน้ีของโจทก๑ เมื่อหน้ีครบ
กาํ หนดชําระ จาํ เลยขอชาํ ระหนแี้ ตํเพียงบางสํวน ดงั นี้ จําเลยจะบงั คบั ให๎โจทกร๑ ับชาํ ระหน้ีแตํ
เพียงบางสํวนไมํได๎ และโจทก๑มสี ทิ ธิไมํรับชาํ ระหนี้ได๎โดยไมตํ กเป็นผูผ๎ ดิ นดั

อยํางไรก็ดี หากเจ๎าหน้ีจะรับชําระหน้ีนั้นไว๎ เจ๎าหน้ีก็มีสิทธิทําได๎ เชํน นาย ก.
เป็นเจา๎ หนีน้ าย ข. จํานวน 2,000,000 บาท ตํอมา นาย ข. ขอชําระหน้ีแตํเพียงบางสํวน คือ
1,000,000 บาท นาย ก. จะรับชาํ ระหน้นี ั้นกไ็ ด๎ และเม่อื นาย ก. รบั ชาํ ระหนี้ไว๎ หน้ีก็ระงับไป
1,000,000 บาท คงเหลือเป็นหน้ีกันเพียง 1,000,000 บาท เป็นต๎น และหากเจ๎าหนี้ยอมรับ
การชาํ ระหน้อี ยํางอ่ืนแทนการชําระหนี้ที่ได๎ตกลงกันไว๎ ก็จะมีผลตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 321

2.5 เจา้ หนี้ยอมรับการชาระหนีอ้ ย่างอนื่ แทนการชาระหนท้ี ไี่ ด้ตกลงกันไว้
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 321 บญั ญัตวิ าํ “ถ๎าเจา๎ หน้ียอมรับ

การชาํ ระหนอี้ ยาํ งอื่นแทนการชาํ ระหน้ที ่ีไดต๎ กลงกนั ไว๎ ทาํ นวําหนน้ี ้นั กเ็ ปน็ อนั ระงบั สิ้นไป
ถ๎าเพ่ือท่ีจะทําให๎พอแกํใจเจ๎าหนี้นั้น ลูกหนี้รับภาระเป็นหนี้อยํางใดอยํางหน่ึง

ข้ึนใหมตํ ํอเจา๎ หนีไ้ ซร๎ เมอื่ กรณเี ป็นท่ีสงสัย ทํานมิให๎สันนิษฐานวําลูกหน้ีได๎กํอหน้ีนั้นขึ้นแทน
การชําระหนี้

ถ๎าชําระหนี้ด๎วยออก-ด๎วยโอน-หรือด๎วยสลักหลังตั๋วเงินหรือประทวนสินค๎า
ทํานวาํ หนน้ี ัน้ จะระงับสน้ิ ไปตอํ เม่ือต๋ัวเงินหรือประทวนสนิ ค๎าน้ันได๎ใช๎เงนิ แลว๎ ”

ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 321 อธิบายไดด๎ งั น้ี
1. บทบัญญัติที่วํา “ถ๎าเจ๎าหน้ยี อมรับการชําระหนี้อยํางอ่ืนแทนการชําระหนี้ท่ี
ไดต๎ กลงกันไว๎ ทํานวําหนน้ี ัน้ ก็เป็นอันระงับสิน้ ไป” หมายความวํา ถ๎าลูกหนี้ขอชําระหนี้อยําง
อนื่ แทนการชําระหน้ีที่ได๎ตกลงกันไว๎ แล๎วเจ๎าหน้ีตกลงยอมรับการชําระหนี้นั้น หนี้น้ันก็เป็น
อนั ระงับส้นิ ไป

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก. เปน็ เจ๎าหนี้นาย ข. จํานวน 300,000 บาท ตํอมา นาย
ข. ไมํมีเงินชาํ ระหนี้ นาย ข. จงึ ไดน๎ าํ รถยนต๑ของตนไปชาํ ระหน้ีแทน เม่ือนาย ก. ยอมรับการ
ชําระหนี้ด๎วยรถยนต๑แทนการชําระหน้ีเป็นเงินจํานวน 300,000 บาท หน้ีเงินจํานวน
300,000 บาท จงึ เป็นอนั ระงับสน้ิ ไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321

294

ตัวอย่างที่ 2 นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีนาย ข. จํานวน 300,000 บาท ตํอมา
นาย ข. ไมํมีเงินชําระหน้ี นาย ข. จึงได๎นํารถยนต๑ของตนไปชําระหนี้แทน โดยตกลงกันวํา
รถยนตม๑ ีราคา 200,000 บาท เม่ือนาย ก. ยอมรบั การชําระหนดี้ ๎วยรถยนต๑แทนการชําระหน้ี
เป็นเงินจํานวน 200,000 บาท หน้ีเงินจํานวน 200,000 บาท ก็เป็นอันระงับสิ้นไป และ
นาย ข. ยังคงเป็นลูกหนี้นาย ก. จํานวน 100,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 320, 321

สําหรบั การชําระหนอ้ี ยํางอนื่ แทนการชําระหน้ีท่ีได๎ตกลงกันไว๎ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321 วรรคแรก น้ี แมก๎ ฎหมายใชค๎ าํ วาํ “แทนการชําระหน้ี
ที่ไดต๎ กลงกัน” แตํตามเจตนารมณแ๑ หํงกฎหมายแลว๎ หน้ที ไ่ี ด๎ตกลงไวอ๎ าจเปน็ หนีท้ ี่เกิดจากมูล
หน้ีใด ๆ ก็ได๎ ไมํวําเป็นนิติกรรม นิติเหตุ บทบัญญัติของกฎหมาย เชํน นาย ก. ขับรถโดย
ประมาทชนนาย ข. ได๎รบั บาดเจ็บ เป็นกรณีท่ีนาย ก. ทําละเมิดตํอนาย ข. ซึ่งนาย ก. ได๎ตก
ลงชดใช๎คาํ เสียหายให๎แกํนาย ข. จํานวน 20,000 บาท ตํอมานาย ข. ไมํมีเงินชําระหนี้ นาย
ข. จึงได๎นําสร๎อยคอทองคําหนัก 1 บาท ของตนไปชําระหนี้แทน เมื่อนาย ก. ยอมรับการ
ชําระหนี้ด๎วยสร๎อยคอทองคําหนัก 1 บาท แทนการชําระหนี้เป็นเงินจํานวน 20,000 บาท
หนเี้ งนิ จํานวน 20,000 บาท จึงเป็นอันระงบั สนิ้ ไป เป็นต๎น

นอกจากนั้น การชําระหนี้อยาํ งอืน่ แทนการชําระหนี้ที่ได๎ตกลงกันไว๎นั้น หน้ี
เดมิ กับหน้ีท่จี ะเกดิ ขน้ึ ใหมํ อาจมีวัตถุแหํงหน้ีไมํเหมือนกันก็ได๎ เชํน นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้นาย
ข. จาํ นวน 500 บาท ตํอมานาย ข. ไมมํ เี งนิ ชําระหน้ี นาย ข. จึงได๎ขอชําระหน้ีด๎วยการไปทํา
ความสะอาดบ๎านให๎แทน เมอ่ื นาย ก. ยอมรับการชําระหน้ีด๎วยการทําความสะอาดบ๎านแทน
การชําระหน้ีเป็นเงินจํานวน 500 บาท หนี้เงินจํานวน 500 บาท จึงเป็นอันระงับสิ้นไป
เป็นต๎น หรืออาจใช๎วิธีการชําระหนี้ท่ีแตกตํางไปจากท่ีได๎ตกลงกันไว๎ก็ได๎ เชํน ลูกหนี้โอนเงิน
เข๎าบญั ชีเงินฝากของเจา๎ หน้เี พอื่ ชําระหน้นี ้ัน เปน็ ตน๎

ข้อสังเกต การที่เจ๎าหน้ียอมรับการชําระหนี้อยํางอ่ืนแทนการชําระหน้ีที่ได๎
ตกลงไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321 นี้ ไมํใชํเป็นเร่ืองการแปลงหนี้
ใหมโํ ดยเปล่ยี นตวั หนี้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 349 เพราะการแปลง
หนี้ใหมํยํอมมีผลทําให๎หนี้เดิมระงับและเกิดหน้ีใหมํขึ้น แตํการชําระหน้ีอยํางอื่นแทนการ
ชําระหนีท้ ่ีไดต๎ กลงไวน๎ ั้นเป็นผลใหห๎ นีร้ ะงับไปโดยไมํเกดิ หนี้ขึ้นใหมอํ ีก90

คาพิพากษาศาลฎกี าที่เกีย่ วขอ้ ง
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 767/2505 การใช๎เช็คชําระหนี้เงินก๎ู ถือเป็นการ
ชําระหนี้อยํางอื่นแทนการชําระหนี้ท่ีได๎ตกลงกันไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 321 อยํางหน่งึ

90ปราโมทย๑ จารนุ ลิ , เร่ืองเดิม, หน๎า 204.

295

คาพิพากษาศาลฎกี าท่ี 1452/2511 การทล่ี ูกหนี้มอบฉันทะให๎เจ๎าหน้ีไปรับ
เงินบํานาญพเิ ศษทล่ี กู หนมี้ สี ทิ ธไิ ด๎รบั แทนการชาํ ระหนี้จากลูกหน้ี ถือเป็นการชําระหน้ีอยําง
อืน่ แทนการชําระหน้ที ีไ่ ดต๎ กลงกนั ไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 321

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2965/2531 การท่ีจําเลยโอนเงินทางโทรเลขเข๎า
บัญชขี องโจทก๑ ถือเป็นการชําระหน้ีอยํางอ่ืนแทนการชําระหนี้ท่ีได๎ตกลงกันไว๎ ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 321

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5212/2533 การที่โจทก๑ยอมให๎จําเลยชําระหนี้เงิน
กู๎ยมื ท่ยี งั คา๎ งชําระท้ังหมดให๎แกํโจทก๑ด๎วยไกํน้ัน ถือเป็นการชําระหน้ีอยํางอ่ืนแทนการชําระ
หนท้ี ีไ่ ดต๎ กลงกนั ไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 321

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 4643/2539 ล. เป็นลูกหน้ีโจทก๑ 275,000 บาท
ตอํ มา ล. ได๎มอบสมุดบัญชีเงินฝากและบัตรถอนเงินอัตโนมัติให๎แกํโจทก๑ เพื่อให๎โจทก๑นําไป
ถอนเงินของ ล. จากบัญชีเงินฝากดังกลําว ซึ่งโจทก๑ได๎ถอนเงินไป 210,000 บาท การท่ี ล.
มอบบัตรถอนเงนิ อัตโนมัติให๎โจทก๑ไปถอนเงินจากบัญชีเงินฝากของตนน้ัน ถือเป็นการชําระ
หนี้อยาํ งอืน่ แทนการชําระหนีท้ ี่ได๎ตกลงกนั ไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา
321 จึงถือวาํ ล. ไดช๎ ําระหนใ้ี ห๎โจทก๑บางสวํ นแล๎ว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6028/2539 การท่ีจําเลยโอนเงินทางโทรศัพท๑เข๎า
บัญชโี จทก๑เพื่อชาํ ระหนเ้ี งินกู๎นั้น ถือเป็นการชาํ ระหนอี้ ยาํ งอื่นแทนการชําระหนี้ที่ได๎ตกลงกัน
ไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321 จึงถือวํา ล. ได๎ชําระหนี้ให๎โจทก๑
บางสํวนแล๎ว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5590/2540 การที่จําเลยได๎ชําระหนี้แกํโจทก๑ โดย
ใช๎วิธีสํงเงินทางไปรษณีย๑ธนาณัติไปให๎โจทก๑นั้น ถือเป็นการชําระหนี้อยํางอ่ืนแทนการชําระ
หนที้ ไี่ ดต๎ กลงกันไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 321 วรรคแรก

คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ 5312/2544 จําเลยได๎ออกเช็คให๎โจทก๑ แตํเช็คถูก
ปฏิเสธการจํายเงิน จําเลยจึงมอบอํานาจให๎โจทก๑ไปดําเนินการโอนที่ดินของจําเลยเป็นของ
โจทก๑ ดังนี้ ถือวําโจทก๑ยอมรับการชําระหน้ีอยํางอื่นแทนการชําระหน้ีที่ได๎ตกลงกันไว๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 321 วรรคแรก หนี้ตามเช็คจึงเป็นอันระงับสิ้นไป
โจทก๑จะนําเชค็ มาฟ้องเรยี กเงนิ จากจําเลยอกี ไมไํ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3564/2548 การที่ลูกหน้ีฝากเงินเข๎าบัญชีเงินฝาก
ของเจ๎าหน้ีเพื่อชําระหนี้น้ัน ถือเป็นการชําระหน้ีอยํางอื่นแทนการชําระหนี้ท่ีได๎ตกลงกันไว๎
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 321 วรรคแรก

296

2. บทบัญญัติที่วํา “ถ๎าเพ่ือที่จะทําให๎พอแกํใจเจ๎าหน้ีน้ัน ลูกหนี้รับภาระเป็น
หนีอ้ ยาํ งใดอยาํ งหนง่ึ ขึน้ ใหมตํ ํอเจ๎าหนไี้ ซร๎ เมื่อกรณีเปน็ ท่ีสงสยั ทํานมิให๎สันนิษฐานวําลูกหนี้
ได๎กอํ หนน้ี ้ันขนึ้ แทนการชาํ ระหน้ี” หมายความวํา ถ๎าลกู หนรี้ ับภาระเปน็ หนีอ้ ยํางใดอยาํ งหนึ่ง
ขนึ้ ใหมตํ อํ เจา๎ หน้ี โดยมิไดม๎ ีการตกลงกันระหวํางเจ๎าหนี้และลูกหน้ี วําลูกหน้ีจะรับภาระเป็น
หนีอ้ ยาํ งใดอยํางหนึ่งขึ้นใหมํตํอเจ๎าหนี้ เพ่ือเป็นการชําระหน้ีอยํางอ่ืนแทนการชําระหนี้ที่ได๎
ตกลงกันไว๎ เมือ่ กรณเี ปน็ ทีส่ งสัยวําการทลี่ กู หนี้ยอมรับภาระเปน็ หนอ้ี ยาํ งใดอยํางหนึ่งข้ึนใหมํ
น้ัน ลูกหน้ีทําไปเพ่ือให๎เจ๎าหนี้พอใจ หรือทําไปเพ่ือเป็นการชําระหน้ีอยํางอ่ืนแทนการชําระ
หนที้ ไี่ ด๎ตกลงกันไว๎ กฎหมายใหส๎ ันนิษฐานวําลกู หน้มี ไิ ด๎กอํ หนน้ี ้นั ข้ึนแทนการชําระหนี้

ตัวอยา่ ง นาย ก. เป็นเจ๎าหน้นี าย ข. จาํ นวน 10,000 บาท ตํอมานาย ข. ได๎
นําผลไมจ๎ ากสวนของตนราคาประมาณ 10,000 บาท มาให๎นาย ก. เม่ือเป็นกรณีเป็นท่ีสงสัย
วํานาย ข. ทาํ ให๎นาย ก. พอใจ หรือทําเพ่ือเป็นการชําระหน้ีด๎วยผลไม๎แทนการชําระหนี้ด๎วย
เงินจํานวน 10,000 บาท ดังน้ี กฎหมายให๎สันนิษฐานวํานาย ข. มิได๎กํอหน้ีน้ันข้ึนแทนการ
ชําระหนี้ หนี้เงินจํานวน 10,000 บาท จึงไมํระงับไป (ผู๎เขียนมีความเห็นสํวนตัววําแม๎ผลไม๎
จะมีราคาเทํากับจํานวนหน้ี แตํเม่ือเจ๎าหนี้และลูกหนี้มิได๎ตกลงกันไว๎ กรณียํอมเป็นที่สงสัย
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 321 วรรคสอง)

ข้อสังเกต ศาสตราจารย๑ ม.ร.ว. เสนีย๑ ปราโมช ได๎อธิบายไว๎วํา เหตุที่
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321 วรรคสอง ได๎กําหนดข๎อสันนิษฐานให๎เป็น
คณุ แกเํ จ๎าหนี้ ก็เพราะในสภาพความเป็นจรงิ ตามประเพณีในทางปฏิบัติ ลูกหนี้มักจะนําของ
กํานัลไปใหเ๎ จา๎ หนเ้ี พ่ือให๎เจ๎าหน้พี อใจ มใิ ชใํ หข๎ องกํานลั แทนการชาํ ระหนี้91

3. บทบัญญัติที่วํา “ถ๎าชําระหน้ีด๎วยออก-ด๎วยโอน-หรือด๎วยสลักหลังต๋ัวเงินหรือ
ประทวนสินค๎า ทํานวําหน้ีนั้นจะระงับสิ้นไปตํอเม่ือตั๋วเงินหรือประทวนสินค๎าน้ันได๎ใช๎เงิน
แลว๎ ”

ตว๋ั เงินมี 3 ประเภท ๆ คือ ตั๋วแลกเงิน ต๋ัวสัญญาใช๎เงิน เช็ค โดยผู๎มีสิทธิในต๋ัว
เงินซ่ึงเรยี กวาํ “ผท๎ู รง” คือ บุคคลผ๎ูมีตั๋วเงินไว๎ในครอบครอง โดยฐานเป็นผ๎ูรับเงิน หรือเป็น
ผ๎ูรับสลักหลัง ถ๎าและเป็นตั๋วเงินส่ังจํายให๎แกํผ๎ูถือ ผ๎ูถือก็นับวําเป็นผู๎ทรงเหมือนกัน ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 989 และมาตรา 904

สํวนใบประทวนสินคา๎ หมายถึง เอกสารที่นายคลังสินค๎าออกให๎แกํผู๎ฝากสินค๎า
คํูกับใบรับของคลังสินค๎า โดยใบรับของคลังสินค๎าน้ันใช๎สําหรับรับสินค๎า สํวนใบประทวน
สินค๎าใช๎สําหรับให๎ผ๎ูฝากสินค๎าสลักหลังจํานําสินค๎า โดยไมํต๎องสํงมอบสินค๎านั้นแกํผู๎รับสลัก

91เสนยี ๑ ปราโมช, เร่ืองเดิม, หนา๎ 1041-1042.

297

หลัง และเมอ่ื สนิ คา๎ จาํ นาํ เปน็ ประกันนนั้ มไิ ด๎มีการชําระหน้ีเม่ือวันถึงกําหนดชําระหน้ี ผู๎ทรง
ประทวนสนิ ค๎ามีสิทธิให๎นายคลังสินค๎าขายทอดตลาดสินค๎านั้น และนําเงินมาชําระหน้ีให๎แกํ
ตนได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 777 และมาตรา 790

ทั้งน้ี บทบญั ญัตติ ามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 321 วรรคท๎าย
หมายความวาํ การชาํ ระหน้ีด๎วยตั๋วเงินหรือประทวนสินค๎าแทนการชําระหน้ีที่ได๎ตกลงกันไว๎
หนี้น้ันจะระงับส้ินไปตํอเม่ือต๋ัวเงินหรือประทวนสินค๎านั้นได๎ใช๎เงินแล๎ว เพราะการชําระหนี้
ด๎วยตั๋วเงินหรือประทวนสินค๎าน้ัน แม๎เจ๎าหนี้จะได๎ตั๋วเงินหรือประทวนสินค๎ามาแล๎ว
แตํเจ๎าหน้ีกย็ งั มิไดร๎ ับเงิน หนจี้ งึ ยังไมรํ ะงับไป

ตัวอย่าง นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้เงินก๎ูนาย ข. จํานวน 300,000 บาท ตํอมา นาย
ข. ไมํมีเงินชําระหนี้ นาย ข. จงึ ออกเช็คระบเุ งินจํานวน 300,000 บาท ชาํ ระหนีแ้ ทนหน้เี งินก๎ู
เม่ือ นาย ก. ยอมรับการชําระหนี้ด๎วยเช็คแทนการชําระหนี้เงินกู๎ หน้ีเงินกู๎และหนี้เช็คยังไมํ
ระงบั ไป หากตํอมา นาย ก. นําเช็คไปข้ึนเงิน แล๎วนาย ก. ได๎รับเงินตามท่ีระบุไว๎ในเช็ค หน้ี
เงนิ ก๎แู ละหน้ีเช็คยอํ มระงับไป

อยํางไรกด็ ี แตหํ ากเจ๎าหนีน้ าํ เชค็ ไปขน้ึ เงิน แล๎วเจ๎าหน้ีไมํสามารถรับเงินตามที่
ระบุไว๎ในเช็คได๎ หน้ีเงินกู๎และหนี้เช็คยํอมไมํระงับไป โดยเจ๎าหนี้มีสิทธิเลือกที่จะเรียกให๎
ลกู หนี้ชําระหน้ีจากหน้ีเงินกห๎ู รอื หนเี้ ชค็ กไ็ ด๎ แตํเม่ือได๎รบั ชําระหน้ีจากหน้ีเงินก๎ูหรือหน้ีเช็คไป
แล๎ว หนเี้ งินก๎ูและหนีเ้ ช็คยํอมระงับไป

ข้อสังเกต เช็คท่ีออกเพื่อชําระหน้ีในมูลหน้ีใดมูลหนี้หนึ่ง เม่ือธนาคารปฏิเสธ
การจาํ ยเงิน มลู หน้ีเดมิ ยังไมรํ ะงบั เจา๎ หนีจ้ งึ มีสิทธฟิ อ้ งคดีเรียกให๎ลูกหนี้รับผิดตามมูลหนี้เดิม
หรอื มูลหน้ีตามเช็คก็ได๎ และเม่ือเจ๎าหน้ีเลือกฟ้องในมูลหนี้ใดไปแล๎ว ในภายหลังหลังเจ๎าหนี้
จะฟ้องให๎ลูกหน้ีรับผิดในอีกมูลหนี้หนึ่งก็ได๎ ไมํเป็นฟ้องซ๎อนตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพํง มาตรา 173 วรรคสอง (1) แตํเม่ือเจ๎าหน้ีได๎รับชําระหนี้จากมูลหนี้ใดจน
เต็มจํานวนหนี้แล๎ว เจ๎าหน้ีก็ไมํมีสิทธิบังคับชําระหน้ีจากอีกมูลหน้ีหนึ่งได๎ เพราะจะทําให๎
เจา๎ หนีไ้ ด๎รับชําระหนเี้ กนิ กวําหนี้ทลี่ ูกหนต้ี อ๎ งรับผดิ 92

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ีเก่ียวข้อง
คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ 512/2522 จําเลยเป็นลูกหนี้ของโจทก๑ จําเลยจํายเช็ค
ชําระหนี้ใหแ๎ กโํ จทก๑ แม๎โจทก๑จะมิได๎ดําเนินการใด ๆ กับเช็คน้ัน จนเช็คน้ันขาดอายุความ ก็
ไมํเป็นเหตใุ ห๎จําเลยพน๎ ความรับผดิ ตามหน้ีเดมิ

92วเิ ชยี ร ดเิ รกอดุ มศกั ด,์ิ วิ.แพ่งพิสดาร เลม่ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ ปี 2564)
(กรุงเทพมหานคร: หจก. แสงจันทร๑การพมิ พ๑, 2563), หนา๎ 65.

298

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3566/2526 การชําระหนี้ด๎วยเช็ค ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321 วรรคท๎าย มิใชํเป็นการแปลงหน้ีใหมํ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 349 ดังนั้น หน้ีเดิมจะระงับตํอเมื่อได๎ใช๎เงินตามเช็คแล๎ว
เมอื่ โจทก๑ยงั มไิ ดร๎ ับเงินตามเชค็ สิทธเิ รียกรอ๎ งให๎จําเลยชาํ ระหนีต้ ามเชค็ จึงยังไมรํ ะงบั

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3336/2530 ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 321 วรรคท๎าย เมอื่ มีการชําระหนีด้ ๎วยเช็คแทนการชาํ ระหนี้ดว๎ ยเงิน แตํยังไมํมีการใช๎
เงนิ ตามเช็คนน้ั หนีเ้ ดิมจึงยงั ไมํระงับสิ้นไป

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4150/2535 จําเลยออกเช็คชําระหนี้ให๎แกํโจทก๑
หนี้เดิมจะระงับสิ้นไปก็ตํอเม่ือเช็คได๎ใช๎เงินแล๎ว แตํเมื่อเช็คถูกธนาคารปฏิเสธการจํายเงิน
จึงเทาํ กบั ยังไมมํ ีการใชเ๎ งนิ ตามเชค็ หนี้เดมิ จึงไมํระงบั ส้นิ ไป

คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 2944/2547 การท่ี พ. ส่งั จํายเชค็ เพ่ือชําระหน้ีเงินก๎ูแกํ
โจทก๑ แล๎วโจทก๑ไมํนาํ เช็คไปเรยี กเกบ็ เงนิ และตํอมา พ. ถึงแกํกรรมน้ัน ไมํตัดสิทธิโจทก๑ที่จะ
ฟอ้ งให๎มีการชาํ ระหนตี้ ามสัญญากย๎ู ืมเงิน

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1690/2548 ถ๎าลูกหนี้ชําระหน้ีด๎วยเช็คแทนการชําระ
หนี้ทีไ่ ดต๎ กลงกันไว๎ หนี้นั้นจะระงับสิ้นไปตํอเม่ือเช็คนั้นได๎ใช๎เงินแล๎ว ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321 วรรคทา๎ ย

2.6 ความรบั ผดิ เพ่อื ชารุดบกพร่องและเพ่อื การรอนสทิ ธิ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 322 บัญญัติวํา “ถ๎าเอาทรัพย๑ก็ดี

สทิ ธเิ รยี กรอ๎ งจากบคุ คลภายนอกกด็ ี หรอื สิทธอิ ยาํ งอน่ื ก็ดี ให๎แทนการชําระหนี้ ทํานวําลูกหน้ี
จะตอ๎ งรบั ผดิ เพื่อชํารดุ บกพรํองและเพ่อื การรอนสทิ ธิทํานองเดียวกับผขู๎ าย”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 322 หมายความวํา ถ๎าเอา
ทรัพย๑ก็ดี สิทธิเรียกร๎องจากบุคคลภายนอกก็ดี หรือสิทธิอยํางอื่นก็ดี ให๎แทนการชําระหน้ี
ลูกหน้จี ะตอ๎ งรบั ผดิ เพ่ือชํารุดบกพรอํ งและเพื่อการรอนสิทธิทํานองเดยี วกับผ๎ขู าย

ทัง้ น้ี ความรบั ผิดเพือ่ ชาํ รุดบกพรํองและเพื่อการรอนสทิ ธิตามกฎหมายลักษณะ
ซือ้ ขายกําหนดไวด๎ ังน้ี

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 472 บัญญัติวํา “ในกรณีท่ีทรัพย๑สิน
ซึ่งขายนนั้ ชํารดุ บกพรอํ งอยาํ งหนง่ึ อยํางใดอนั เปน็ เหตุใหเ๎ สื่อมราคาหรือเส่ือมความเหมาะสม
แกปํ ระโยชน๑อนั มงํุ จะใช๎เป็นปกตกิ ด็ ี ประโยชนท๑ ีม่ ุํงหมายโดยสัญญาก็ดี ทํานวําผ๎ูขายต๎องรับ
ผิด

ความทก่ี ลาํ วมาในมาตรานี้ยํอมใช๎ได๎ ทั้งที่ผ๎ูขายรู๎อยูํแล๎วหรือไมํรู๎วําความชํารุด
บกพรํองมอี ยูํ”

299

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 475 บัญญัติวํา “หากวํามีบุคคลผ๎ูใด
มากอํ การรบกวนขัดสทิ ธิของผูซ๎ ้ือในอันจะครองทรพั ย๑สนิ โดยปกตสิ ุข เพราะบคุ คลผู๎นัน้ มีสิทธิ
เหนือทรพั ย๑สินท่ีได๎ซื้อขายกันนั้นอยํูในเวลาซ้ือขายก็ดี เพราะความผิดของผ๎ูขายก็ดี ทํานวํา
ผข๎ู ายจะต๎องรับผิดในผลอนั นัน้ ”

ตัวอย่าง นาย ก. เปน็ เจ๎าหน้ีนาย ข. จํานวน 300,000 บาท ตํอมานาย ข. ไมํมี
เงนิ ชําระหน้ี นาย ข. จึงได๎นาํ รถยนต๑ของตนไปชําระหน้ีแทน ซึ่งนาย ก. ได๎ยอมรับการชําระ
หนี้ด๎วยรถยนต๑แทนการชําระหน้ีเป็นเงินจํานวน 300,000 บาท โดยไมํร๎ูวํารถยนต๑น้ันไมํ
สามารถใชง๎ านได๎ตามปกตเิ พราะเครอื่ งยนต๑ชาํ รุดบกพรํอง ดังน้ี นาย ข. ต๎องรับผิดเพื่อชํารุด
บกพรํอง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 322 ประกอบมาตรา 472 หรือ
นาย ก. เปน็ เจา๎ หนนี้ าย ข. จาํ นวน 300,000 บาท ตํอมา นาย ข. ไมํมีเงินชําระหนี้ นาย ข.
จึงได๎นําท่ีดินของตนไปชําระหนี้แทน ซึ่งนาย ก. ได๎ยอมรับการชําระหนี้ด๎วยที่ดินแทนการ
ชําระหนเ้ี ป็นเงินจาํ นวน 300,000 บาท โดยไมํรู๎วําที่ดินนั้นมีสัญญาเชํากับ นาย ค. อยํู ดังน้ี
นาย ข. ต๎องรับผิดเพื่อการรอนสิทธิ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 322
ประกอบมาตรา 472

2.7 วตั ถแุ ห่งหนเี้ ปน็ อันให้ส่งมอบทรัพยเ์ ฉพาะสิ่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 323 บัญญัติวํา “ถ๎าวัตถุแหํงหน้ี

เป็นอันให๎สํงมอบทรัพย๑เฉพาะสิ่ง ทํานวําบุคคลผ๎ูชําระหน้ีจะต๎องสํงมอบทรัพย๑ตามสภาพที่
เปน็ อยูํในเวลาทจ่ี ะพึงสงํ มอบ

ลูกหน้ีจําต๎องรักษาทรัพย๑น้ันไว๎ด๎วยความระมัดระวังเชํนอยํางวิญ๒ูชนจะพึง
สงวนทรัพยส๑ ินของตนเอง จนกวําจะได๎สงํ มอบทรัพย๑น้ัน”

ทรพั ย๑เฉพาะสงิ่ หมายถงึ ทรัพย๑ทไ่ี ด๎กําหนดไว๎โดยเฉพาะเจาะจงเป็นที่แนํนอน
แล๎ว เชํน แมวชื่อนํ้าตาล ม๎าชื่อสายลม รถยนต๑หมายเลขทะเบียน ก 788 สงขลา หรือ
ข๎าวสาร 10 กโิ ลกรมั ทไี่ ดใ๎ สถํ งุ แยกไว๎แลว๎ เปน็ ตน๎

ทัง้ น้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 323 วรรคแรก กําหนดวํา
ถ๎าวัตถุแหํงหน้ีเป็นอันให๎สํงมอบทรัพย๑เฉพาะส่ิง บุคคลผู๎ชําระหนี้จะต๎องสํงมอบทรัพย๑ตาม
สภาพที่เป็นอยูํในเวลาท่ีจะพึงสํงมอบ ซึ่งคําวํา “เวลาท่ีจะพึงสํงมอบ” ก็หมายถึง
กําหนดเวลาชําระหนี้น่ันเอง ดังน้ัน จึงหมายความวํา เม่ือถึงกําหนดเวลาชําระหนี้ บุคคล
ผช๎ู าํ ระหน้ีจะตอ๎ งสํงมอบทรพั ยต๑ ามสภาพทีเ่ ป็นอยูํในเวลานั้น โดยไมํตอ๎ งกงั วลวาํ ทรัพย๑น้ันจะ
มีสภาพผิดไปจากตอนตกลงทําสัญญากันหรือไมํ และเจ๎าหน้ีก็ต๎องรับชําระหน้ีไว๎ในสภาพ
เชํนน้ัน เชํน ตกลงซื้อขายรถยนต๑กัน แตํมีกําหนดสํงมอบอีก 2 ปี เม่ือครบกําหนดสํงมอบ
รถยนต๑น้ันอาจเกําไปบ๎าง ลูกหน้ีก็ต๎องสํงมอบในสภาพน้ัน และเจ๎าหนี้ก็ต๎องรับชําระหน้ีใน
สภาพเชํนนนั้ เจา๎ หนี้จะบอกปด๓ ไมํรับชําระหนี้ไมํได๎ เป็นต๎น

300

อยํางไรก็ดี ในระหวํางท่ียังไมํสํงมอบทรัพย๑น้ัน ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 323 วรรคสอง กําหนดวํา ลูกหน้ีจําต๎องรักษาทรัพย๑น้ันไว๎ด๎วยความ
ระมัดระวงั เชํนอยาํ งวิญ๒ูชนจะพึงสงวนทรัพย๑สินของตนเอง จนกวําจะได๎สํงมอบทรัพย๑นั้น
เพอื่ ป้องกนั ลกู หนไ้ี มํดูแลเอาใจใสํ จนเป็นเหตุให๎ทรพั ยน๑ ้ันเสียหาย

สําหรับคําวํา “วิญ๒ูชน” ก็หมายความวํา มาตรฐานของบุคคลทั่ว ๆ ไป เชํน
ลูกหน้ีเคยจอดรถยนต๑ของตนเองตากแดดตากลมไว๎ แตํบุคคลทั่ว ๆ ไป น้ัน ก็จะมีการจอด
รถยนต๑ไว๎ในโรงจอดรถ ดังนี้ ลูกหนี้ก็ต๎องจอดรถยนต๑นั้นไว๎ในโรงจอดรถ เป็นต๎น ซ่ึงหาก
ลกู หน้ีได๎รักษาทรัพย๑นั้นไว๎ด๎วยความระมัดระวังเชํนอยํางวิญ๒ูชนจะพึงสงวนทรัพย๑สินของ
ตนเองแล๎ว ลูกหนี้สามารถสํงมอบทรัพย๑ตามสภาพที่เป็นอยํูในเวลาที่จะพึงสํงมอบได๎ และ
เจา๎ หนีก้ ต็ อ๎ งรบั ชาํ ระหน้ี แตํหากลูกหน้ีมิได๎รักษาทรัพย๑นั้นไว๎ด๎วยความระมัดระวังเชํนอยําง
วิญ๒ูชนจะพึงสงวนทรัพยส๑ นิ ของตนเองแลว๎ เจ๎าหน้ีจะปฏิเสธการชาํ ระหน้ีน้ันกไ็ ด๎

2.8 สถานทชี่ าระหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 324 บัญญัติวํา “เม่ือมิได๎มีแสดง

เจตนาไว๎โดยเฉพาะเจาะจงวําจะพึงชําระหน้ี ณ สถานที่ใดไซร๎ หากจะต๎องสํงมอบทรัพย๑
เฉพาะสิ่ง ทํานวําต๎องสํงมอบกัน ณ สถานที่ซึ่งทรัพย๑นั้นได๎อยํูในเวลาเม่ือกํอให๎เกิดหนี้นั้น
สํวนการชําระหนี้โดยประการอ่ืน ทํานวําต๎องชําระ ณ สถานท่ีซ่ึงเป็นภูมิลําเนาป๓จจุบันของ
เจ๎าหนี้”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 324 อธบิ ายไดด๎ งั นี้
1. ถ๎าเจ๎าหนี้และลูกหน้ีได๎มีการแสดงเจตนากันไว๎โดยเฉพาะเจาะจงวําจะต๎อง
ชําระหนี้ ณ สถานที่ใด ลกู หนก้ี ต็ อ๎ งชําระหน้ี ณ สถานที่น้ัน เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. ก๎ูยืมเงิน
ไป โดยนาย ก. และนาย ข. ตกลงกนั วาํ นาย ข. ตอ๎ งชําระหนใี้ หแ๎ กํนาย ก. ท่ีบ๎านของนาย ข.
ดังน้ี นาย ข. กต็ อ๎ งชาํ ระหนีใ้ ห๎แกํนาย ก. ท่บี า๎ นของนาย ข. เป็นตน๎

ขอ้ สงั เกต การแสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
324 ดังกลาํ วตอ๎ งเปน็ การตกลงกันท้ังสองฝา่ ยระหวํางเจ๎าหน้ีและลูกหน้ีจึงจะบังคับได๎ แตํถ๎า
เป็นการแสดงเจตนาฝ่ายเดียวจากเจ๎าหนี้หรือลูกหน้ีก็จะบังคับไมํได๎ เชํน นาย ก. ให๎นาย ข.
กู๎ยืมเงินไป ตํอมานาย ข. ได๎บอกกลําวไปยังนาย ก. วํานาย ข. จะชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ท่ี
บ๎านของนาย ข. ดังนี้ เม่ือนาย ก. ไมํได๎ตกลงด๎วย จะถือวําเป็นกรณีท่ีมีการแสดงเจตนาไว๎
โดยเฉพาะเจาะจงวําจะพึงชําระหน้ี ณ สถานท่ีใด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 324 ไมไํ ด๎ เป็นตน๎

301

2. ถา๎ เจา๎ หนี้และลกู หนีม้ ิได๎มีการแสดงเจตนากันไว๎โดยเฉพาะเจาะจงวําจะต๎อง
ชาํ ระหน้ี ณ สถานทใ่ี ด กใ็ ห๎ปฏบิ ตั ิดังน้ี

2.1 ถ๎าเป็นการสํงมอบทรัพย๑เฉพาะส่ิง ลูกหน้ีก็ต๎องสํงมอบทรัพย๑นั้น ณ
สถานท่ีซึง่ ทรัพยน๑ ัน้ ได๎ตั้งอยูํในเวลาเม่ือกอํ ใหเ๎ กิดหน้ีนั้น

คําวํา “ทรัพย๑เฉพาะส่ิง ” หมายถึง ทรัพย๑ที่ได๎กําหนดไว๎โดย
เฉพาะเจาะจงเปน็ ทีแ่ นํนอนแล๎ว เชํน รถยนตห๑ มายเลขทะเบยี น ก 788 สงขลา หรือข๎าวสาร
10 กโิ ลกรมั ทไ่ี ดใ๎ สถํ ุงแยกไว๎แล๎ว เป็นตน๎

ถ๎าเป็นการสํงมอบทรัพย๑เฉพาะส่ิง ลูกหน้ีก็ต๎องสํงมอบทรัพย๑นั้น ณ
สถานทซี่ ง่ึ ทรพั ยน๑ ั้นได๎ต้งั อยํใู นเวลาเมอ่ื กอํ ให๎เกิดหนี้น้ัน โดยไมํคํานึงถึงภูมิลําเนาของเจ๎าหน้ี
และลูกหนี้ หรือสถานท่ีทําสัญญา เชํน นาย ก. ผู๎ขายมีภูมิลําเนาอยูํท่ีจังหวัดเชียงใหมํ สํวน
นาย ข ผ๎ซู ือ้ มีภูมลิ ําเนาอยูํทีจ่ งั หวดั เชียงราย นาย ก. และนาย ข. ตกลงทําสัญญาซ้ือขายกัน
ทจี่ งั หวัดภเู ก็ต เพอ่ื ขายรถยนต๑หมายเลขทะเบียน ก 788 สงขลา ซึ่งจอดอยํูท่ีจังหวัดสงขลา
ดังนี้ นาย ก. ตอ๎ งสงํ มอบรถยนตน๑ ั้นใหแ๎ กนํ าย ข. ท่ีจงั หวดั สงขลา เปน็ ตน๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1555/2542 การที่ศาลพิพากษาให๎จําเลยคืน
รถยนตท๑ ่ีเชาํ ซือ้ ให๎แกโํ จทก๑ โดยมไิ ดพ๎ ิพากษาให๎จําเลยสงํ มอบรถท่ศี าล และตามคําบังคับของ
ศาลซ่ึงออกใหต๎ ามคําขอของโจทก๑ก็มิได๎ระบุสถานที่ใช๎เงินไว๎ด๎วยนั้น ต๎องบังคับตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 324 คือ ต๎องสํงมอบกัน ณ สถานท่ีซึ่งทรัพย๑น้ันได๎อยํูใน
เวลาเม่ือกํอให๎เกิดหนี้นน้ั เม่อื หน้ขี องจาํ เลยทจ่ี ะตอ๎ งสงํ มอบรถที่เชําซอ้ื คนื แกํโจทก๑ ได๎เกิดข้ึน
เมื่อศาลมีคาํ พพิ ากษาให๎คืน ซงึ่ ขณะน้นั รถอยใํู นความครอบครองของจําเลย ดังนั้น จึงต๎องสํง
มอบรถกนั ณ ภมู ลิ าํ เนาของจาํ เลย

ข้อสงั เกต ลูกหนีต้ ๎องสํงมอบทรัพย๑เฉพาะส่ิง ณ สถานท่ีซ่ึงทรัพย๑นั้นได๎
อยูํในเวลาเม่ือกํอให๎เกิดหนี้นั้น หมายความวํา ในเวลาท่ีเกิดหนี้ขึ้นน้ัน ทรัพย๑นั้นเป็นทรัพย๑
เฉพาะส่งิ อยํแู ลว๎ แตถํ ๎าในเวลาท่เี กิดหน้ีขึน้ นัน้ ทรพั ย๑น้ันยังมิได๎เป็นทรัพย๑เฉพาะสิ่ง ก็จะเป็น
กรณีท่ีมิใชํเป็นการสํงมอบทรัพย๑เฉพาะสิ่ง ซึ่งลูกหนี้จะต๎องสํงมอบทรัพย๑น้ัน ณ สถานที่ซึ่ง
เป็นภูมิลําเนาป๓จจุบันของเจ๎าหน้ี เชํน นาย ก. ตกลงขายข๎าวสารในโรงสีข๎าวของตนให๎แกํ
นาย ข. จํานวน 100 กระสอบ ซึ่งในเวลาที่ได๎ตกลงทําสัญญา คือ เวลาท่ีได๎กํอหน้ีข้ึนนี้ ยัง
มไิ ด๎มกี ารแยกข๎าวสารออกมาจํานวนข๎าวสารในโรงสที ัง้ หมด ทรัพย๑ท่ีตกลงจึงยังคงมีลักษณะ
เปน็ ทรัพย๑ทั่วไป ดังนั้น นาย ก. ต๎องนําขา๎ วสารจํานวน 100 กระสอบ ไปสํงใหท๎ ี่บ๎านของนาย
ข. เปน็ ต๎น

2.2 ถ๎าเป็นการชําระหนี้โดยประการอื่น หมายถึง ถ๎าเป็นการชําระหน้ีโดย
การสํงมอบทรพั ย๑ทว่ั ไป ลูกหน้ีกต็ ๎องสํงมอบทรัพยน๑ ้ัน ณ สถานท่ซี ่ึงเปน็ ภมู ิลําเนาปจ๓ จบุ ันของ
เจ๎าหนี้ โดยคําวํา “ภูมิลําเนาป๓จจุบันของเจ๎าหน้ี” หมายความวํา ภูมิลําเนาของเจ๎าหน้ีใน
เวลาที่ลูกหน้ีชําระหนี้ ไมํใชํภูมิลําเนาของเจ๎าหนี้ในเวลาที่เกิดหน้ีข้ึน ดังน้ัน เม่ือ ถึง

302

กําหนดเวลาชําระหน้ี เจา๎ หน้ีมีภูมิลําเนาอยูํที่ไหน ก็เป็นหน๎าท่ีของลูกหนี้ท่ีจะต๎องติดตามไป
ชําระหนี้ใหแ๎ กเํ จา๎ หน้ี ณ ภมู ลิ ําเนาป๓จจบุ นั ของเจ๎าหน้ี เชํน นาย ก. ได๎ทําสัญญากู๎ยืมเงินจาก
นาย ข. จํานวน 500,000 บาท ท่ีจังหวัดสงขลา ในขณะที่นาย ข. มีภูมิลําเนาอยํูที่จังหวัด
พัทลุง ตํอมานาย ข. ได๎ย๎ายภูมิลําเนาไปอยํูที่จังหวัดเชียงใหมํ ดังน้ี เมื่อหน้ีถึงกําหนดชําระ
นาย ก. ก็จะต๎องไปชําระหน้ีให๎แกํนาย ข. ท่ีจังหวัดเชียงใหมํ เปน็ ตน๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 695/2508 เมื่อไมํปรากฏวําได๎มีการตกลงกัน
ไว๎ ผเ๎ู ชาํ ซ่งึ เปน็ ลูกหนี้จึงมีหนา๎ ท่ีไปชาํ ระคําเชาํ ณ ภูมลิ ําเนาของผใู๎ ห๎เชําซึ่งเปน็ เจ๎าหนี้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 735/2524 โจทก๑เชําท่ีดินของจําเลย โดยใน
สัญญาไมํมีข๎อตกลงเรื่องสถานที่ชําระคําเชํา โจทก๑จึงต๎องนําคําเชําไปชําระให๎แกํจําเลย ณ
ภมู ิลาํ เนาของจาํ เลย ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 324

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5445/2537 เมื่อสัญญาเชําที่พิพาทมิได๎ระบุ
เรื่องสถานที่ชําระคําเชําไว๎ ผู๎เชําซ่ึงเป็นลูกหน้ีจึงต๎องชําระหนี้ ณ สถานที่ซ่ึงเป็นภูมิลําเนา
ป๓จจบุ นั ของผใ๎ู หเ๎ ชาํ ซึง่ เป็นเจ๎าหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 324 การที่
ผ๎ูเชํานําคําเชําไปวาง ณ สํานักงานวางทรัพย๑ จึงถือไมํได๎วําผ๎ูเชําชําระคําเชํายังภูมิลําเนา
ป๓จจบุ ันของผู๎ให๎เชําแลว๎ ผเ๎ู ชาํ จงึ ผิดนัดชําระคําเชํา

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3050/2540 ศาลพิพากษาให๎โจทก๑ชําระหน้ีที่
ต๎องชําระด๎วยเงินแกํจําเลย โดยมิได๎พิพากษาให๎โจทก๑ชําระหน้ีแกํจําเลยท่ีศาล และตาม
คาํ บงั คบั ของศาลออกให๎ตามคําขอของจําเลย ก็มิได๎ระบุสถานที่ใช๎เงินไว๎ด๎วย ดังน้ัน จึงต๎อง
บังคับตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑มาตรา 324 คือ ต๎องชําระ ณ สถานที่ซ่ึงเป็น
ภูมิลําเนาป๓จจบุ นั ของจําเลยซึง่ เปน็ เจา๎ หนี้

2.9 คา่ ใช้จา่ ยในการชาระหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 325 บัญญัติวํา “เม่ือมิได๎มีแสดง

เจตนาไว๎ในข๎อคําใช๎จํายในการชําระหนี้ ทํานวําฝ่ายลูกหนี้พึงเป็นผ๎ูออกคําใช๎จําย แตํถ๎า
คาํ ใช๎จํายนัน้ มีจาํ นวนเพ่ิมขน้ึ เพราะเจา๎ หน้ีย๎ายภูมิลําเนาก็ดี หรอื เพราะการอืน่ ใดอันเจ๎าหน้ีได๎
กระทาํ กด็ ี คาํ ใช๎จํายเพิม่ ขึ้นเทาํ ใดเจ๎าหนี้ตอ๎ งเป็นผ๎ูออก”

คําใช๎จํายในการชําระหน้ี เชํน คําโดยสารรถประจําทาง คําน้ํามันรถสํวนตัว
คําจา๎ งรถขนสนิ ค๎า คําพัสดุ คาํ แสตมป์ เปน็ ต๎น

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 325 อธบิ ายได๎ดังน้ี
1. ถ๎าเจ๎าหน้แี ละลูกหน้ีได๎มีการแสดงเจตนาไว๎ในเร่ืองคําใช๎จํายในการชําระหนี้
เป็นอยํางไร ก็ให๎เป็นไปอยํางน้ัน เชํน ถ๎าเจ๎าหนี้และลูกหน้ีได๎มีการแสดงเจตนาไว๎ในเร่ือง
คําใช๎จํายในการชําระหนี้วําให๎เจ๎าหนี้ หรือลูกหน้ี หรือทั้งสองฝ่าย เป็นผู๎ออกคําใช๎จําย ก็ให๎
เปน็ ไปตามน้ัน เป็นต๎น ประการสําคัญ คือ การแสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพํงและ

303

พาณชิ ย๑ มาตรา 325 ดังกลําวต๎องเป็นการตกลงกันทั้งสองฝ่ายระหวํางเจ๎าหน้ีและลูกหน้ีจึง
จะบงั คบั ได๎ แตํถ๎าเป็นการแสดงเจตนาฝ่ายเดยี วจากเจา๎ หนหี้ รือลกู หน้ีก็จะบงั คบั ไมํได๎

2. ถ๎าเจา๎ หน้แี ละลกู หนี้มไิ ด๎มีการแสดงเจตนาไว๎ในเร่อื งคาํ ใช๎จํายในการชําระหนี้
ลูกหนี้ต๎องเป็นผ๎ูออกคําใช๎จําย ท้ังน้ี เพราะลูกหนี้มีหน๎าที่ชําระหน้ี ดังน้ัน ลูกหน้ีจึงต๎อง
รบั ผดิ ชอบเร่ืองคําใชจ๎ าํ ยในการชาํ ระหนี้

ขอ้ สงั เกต ถา๎ มีกฎหมายบัญญตั ิไวโ๎ ดยเฉพาะกต็ อ๎ งบังคับตามกฎหมายเฉพาะ
นั้น เชํน ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 457 บัญญัติวํา “คําฤชาธรรมเนียมทํา
สัญญาซ้อื ขายนน้ั ผ๎ูซอ้ื ผ๎ูขายพึงออกใช๎เทํากันทั้งสองฝ่าย” หรือมาตรา 539 บัญญัติวํา “คํา
ฤชาธรรมเนียมทําสญั ญาเชาํ นั้น คํูสญั ญาพึงออกใช๎เสมอกันทงั้ สองฝ่าย” เปน็ ตน๎

3. ไมํวําจะเป็นกรณีตามข๎อ 1 หรือข๎อ 2 ดังกลําวข๎างต๎น ถ๎าคําใช๎จํายในการ
ชําระหนี้มีจํานวนเพ่ิมข้ึน เพราะเจ๎าหนี้ย๎ายภูมิลําเนา หรือเพราะการอ่ืนใดอันเจ๎าหนี้ได๎
กระทาํ ดังนี้ คําใช๎จาํ ยเพ่มิ ขึน้ เทําใดเจ๎าหนี้ตอ๎ งเปน็ ผอู๎ อก

ตัวอยา่ งที่ 1 ถ๎าลกู หน้ีต๎องสํงมอบทรัพย๑ ณ สถานที่ซ่ึงเป็นภูมิลาํ เนาของ
เจ๎าหนี้ แล๎วตอนทาํ สญั ญาเจ๎าหนี้และลกู หน้ีมีภมู ิลําเนาอยํูท่ีจงั หวัดสงขลา แตตํ อํ มาเจา๎ หน้ีได๎
ย๎ายภูมลิ าํ เนาไปอยํทู ก่ี รุงเทพฯ ดงั น้ี คาํ ใชจ๎ าํ ยเพิ่มข้นึ เทาํ ใดเจา๎ หนี้ตอ๎ งเป็นผอู๎ อก ตามมาตรา
325 ตอนท๎าย

ตวั อยา่ งท่ี 2 เจ๎าหน้แี ละลกู หน้ีไดต๎ กลงกันวําให๎ลูกหนส้ี ํงมอบสินค๎าดว๎ ยวิธี
ปกติ แตตํ ํอมาเจ๎าหนี้ไดข๎ อให๎ลูกหนส้ี งํ มอบสินคา๎ ดว๎ ยวิธพี เิ ศษ เชนํ สงํ แบบพัสดุดํวนพเิ ศษ
(ems) เปน็ ต๎น ดังนี้ คําใชจ๎ าํ ยเพ่มิ ขึน้ เทําใดเจ๎าหนต้ี ๎องเป็นผ๎ูออก ตามมาตรา 325 ตอนทา๎ ย

ตวั อยา่ งท่ี 3 เจ๎าหนแ้ี ละลกู หนีไ้ ด๎ตกลงกันวําให๎ลูกหนีไ้ ปชําระหนี้ ณ
สถานทห่ี นง่ึ แตตํ อํ มาเจ๎าหน้ีไดข๎ อให๎ลกู หนไี้ ปชาํ ระหนี้ ณ สถานที่อน่ื ดงั น้ี คําใช๎จํายเพ่ิมข้นึ
เทาํ ใดเจา๎ หนต้ี ๎องเป็นผอู๎ อก ตามมาตรา 325 ตอนทา๎ ย

ข้อสังเกต เจา๎ หน้ตี อ๎ งรบั ผิดชอบเฉพาะคาํ ใชจ๎ าํ ยที่เพ่ิมขึ้นเทําน้ัน มิใชํเจ๎าหนี้
ต๎องรับผิดชอบเฉพาะคําใชจ๎ ํายท้งั หมด เชนํ เจ๎าหนแ้ี ละลูกหน้ีได๎ตกลงกันวําให๎ลูกหน้ีสํงมอบ
สินค๎าด๎วยวิธีปกติ ซึ่งมีคําใช๎จําย 1,000 บาท แตํตํอมาเจ๎าหน้ีได๎ขอให๎ลูกหน้ีสํงมอบสินค๎า
ดว๎ ยวิธีพเิ ศษ ซงึ่ มคี ําใชจ๎ าํ ย 3,000 บาท ดงั น้ี เจ๎าหน้ีต๎องรบั ผิดชอบเฉพาะคําใช๎จํายที่เพ่ิมข้ึน
คอื 2,000 บาท เทําน้ัน

304

2.10 หลกั ฐานแหง่ การชาระหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 326 บัญญัติวํา “บุคคลผู๎ชําระ

หนี้ชอบทีจ่ ะได๎รบั ใบเสรจ็ เปน็ สาํ คัญจากผร๎ู ับชาํ ระหนนี้ น้ั และถา๎ หนนี้ ้ันได๎ชําระสิ้นเชิงแล๎ว ผู๎
ชาํ ระหนี้ชอบที่จะได๎รับเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหนี้ หรือให๎ขีดฆําเอกสารนั้นเสีย
ถ๎าและเอกสารน้ันสูญหาย บุคคล ผ๎ูชําระหนี้ชอบที่จะให๎จดแจ๎งความข๎อระงับหนี้ลงไว๎ใน
ใบเสร็จหรือในเอกสารอีกฉบับหน่งึ ตํางหากกไ็ ด๎

ถ๎าหนี้น้ันได๎ชําระแตํบางสํวนก็ดี หรือถ๎าเอกสารน้ันยังให๎สิทธิอยํางอื่นใดแกํ
เจ๎าหนีอ้ ยกํู ็ดี ทาํ นวําลกู หนี้ชอบแตํท่ีจะได๎รับใบเสร็จไว๎เป็นคํูมือ และให๎จดแจ๎งการชําระหนี้
นั้นลงไวใ๎ นเอกสาร”

การชําระหน้ีมีผลทําให๎หน้ีระงับ เจ๎าหน้ีจะไมํมีสิทธิมาเรียกร๎องจากลูกหน้ีอีก
แตํเพื่อเป็นหลักฐานวํามีการชําระหน้ีกันแล๎วจริง ๆ ลูกหนี้จําเป็นต๎องมีหลักฐานแหํงการ
ชําระหน้ีไว๎ยืนยัน เพื่อป้องกันการโต๎แย๎งกันในภายหลัง โดยประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 326 กําหนดวํา “ผ๎ูชําระหนี้ชอบที่จะได๎รับใบเสร็จเป็นสําคัญจากผู๎รับชําระ
หน้ี” อนั หมายความวาํ เม่ือได๎มีการชําระหนี้โดยชอบแล๎ว ไมํวําจะเป็นการชําระหนี้ทั้งหมด
หรือบางสํวน ผู๎ชําระหนี้มีสิทธิขอรับใบเสร็จจากผู๎รับชําระหน้ี ซึ่งผู๎รับชําระหนี้มีหน๎าที่ต๎อง
ออกใบเสร็จให๎แกํผู๎ชําระหน้ี โดยใบเสร็จนั้นต๎องทําเป็นหนังสือและลงลายมือช่ือของผู๎รับ
ชาํ ระหน้ีไว๎ แตํอยํางไรก็ดี กฎหมายมิได๎บังคับวําผู๎ชําระหนี้ต๎องขอรับใบเสร็จจากผู๎รับชําระ
หนี้ทุกครั้ง เพียงแตํกฎหมายให๎สิทธิแกํผ๎ูชําระหนี้ให๎มีสิทธิขอรับใบเสร็จจากผ๎ูรับชําระหนี้
เทาํ นน้ั กลาํ วคอื ผูช๎ าํ ระหนี้จะขอรับใบเสรจ็ จากผูร๎ บั ชําระหนีห้ รือไมกํ ไ็ ด๎

ท้ังนี้ นอกจากประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 326 จะกําหนดให๎
ผชู๎ ําระหนี้มสี ทิ ธขิ อรับใบเสร็จจากผู๎รับชําระหน้ีแล๎ว ยังได๎กําหนดหลักเกณฑ๑อ่ืน ๆ เกี่ยวกับ
หลกั ฐานแหํงการชําระหนี้ไวด๎ งั นี้

1. ถ๎าหน้ีนั้นได๎ชําระส้ินเชิงแล๎ว ผ๎ูชําระหนี้ชอบที่จะได๎รับเวนคืนเอกสารอัน
เปน็ หลักฐานแหํงหน้ี หรือใหข๎ ดี ฆําเอกสารนั้นเสีย แตํถา๎ เอกสารนั้นสูญหาย บุคคลผู๎ชําระหนี้
ชอบทจ่ี ะใหจ๎ ดแจ๎งความขอ๎ ระงับหน้ลี งไวใ๎ นใบเสรจ็ หรือในเอกสารอกี ฉบับหนึ่งตํางหากกไ็ ด๎

ขอ้ สงั เกต การจดแจ๎งความข๎อระงับหน้ีลงไว๎ในใบเสร็จหรือในเอกสารอีก
ฉบับหน่ึงตํางหาก ในกรณีท่ีเอกสารสูญหายน้ัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 326 วรรคแรกน้นั ตอ๎ งให๎ผ๎ูรับชําระหน้ีเป็นคนจดข๎อความและลงลายมือช่ือไว๎ จึงจะ
ใชเ๎ ปน็ หลกั ฐานแหํงการชําระหน้ีได๎

2. ถ๎าหน้ีนั้นได๎ชําระแตํบางสํวน หรือถ๎าเอกสารน้ันยังให๎สิทธิอยํางอื่นใดแกํ
เจา๎ หน้อี ยูํ ลกู หน้ชี อบแตทํ ี่จะไดร๎ บั ใบเสร็จไว๎ และให๎จดแจง๎ การชําระหนนี้ ้ันลงไว๎ในเอกสาร

สาํ หรบั การชาํ ระแตํบางสวํ น เชํน นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้ของนาย ข. จํานวน
100,000 บาท ตํอมานาย ข. นําเงินไปชําระหน้ีจํานวน 50,000 บาท ดังนี้ นาย ข. มีสิทธิที่

305

จะขอรับใบเสร็จโดยระบุวํานาย ข. ชําระหนี้ไปแล๎ว 50,000 บาท ได๎ และนาย ข. มีสิทธิ
ขอใหน๎ าย ก. จดแจ๎งการชําระหน้ีโดยระบุวํานาย ข. ชําระหนี้ไปแล๎ว 50,000 บาท ลงไว๎ใน
เอกสารได๎

สวํ นบทบญั ญัตทิ ่วี าํ “เอกสารนั้นยังให๎สิทธิอยํางอื่นใดแกํเจ๎าหน้ีอยํู” เชํน
นาย ก. เปน็ เจ๎าหนขี้ องนาย ข. จาํ นวน 50,000 บาท และนาย ค. จํานวน 50,000 บาท โดย
นาย ข. และ นาย ค. ได๎ทําสัญญากู๎ฉบับเดียวกัน ตํอมานาย ข. นําเงินไปชําระหนี้จํานวน
50,000 บาท ดังน้ี แม๎หน้ีของนาย ข. จะระงับ แตํเม่ือเอกสารน้ันยังให๎สิทธิอยํางอ่ืนใดแกํ
เจ๎าหน้ีอยํู นาย ข. จึงไมํสามารถจะเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหน้ี หรือให๎ขีดฆํา
เอกสารนั้นเสีย แตํนาย ข. มีสิทธิที่จะขอรับใบเสร็จโดยระบุวํานาย ข. ชําระหนี้ไปแล๎วไว๎
50,000 บาท ได๎ และนาย ข. มีสิทธิขอให๎นาย ก. จดแจ๎งการชําระหนี้โดยระบุวํานาย ข.
ชาํ ระหน้ีไปแล๎วไว๎ 50,000 บาท ลงไว๎ในเอกสารได๎

ขอ้ สังเกต แม๎ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 326 วรรคสอง จะ
บญั ญตั วิ าํ “ลูกหนช้ี อบแตํท่ีจะได๎รับใบเสร็จไว๎เป็นคูํมือ และให๎จดแจ๎งการชําระหน้ีนั้นลงไว๎
ในเอกสาร” แตํก็มิได๎หมายความวําลูกหนี้ต๎องกระทําทั้ง 2 อยําง คือ ต๎องขอใบเสร็จไว๎รับ
และต๎องขอให๎เจ๎าหน้ีจดแจ๎งการชําระหนี้นั้นลงไว๎ในเอกสาร เพียงแตํกฎหมายให๎สิทธิแกํ
ผู๎ชําระหนี้เทํานั้น ลูกหนี้จะเลือกกระทําอยํางใดอยํางหนึ่ง หรือจะเลือกกระทําท้ังสองอยําง
หรือจะไมํกระทําเลยกไ็ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวขอ้ ง
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 747/2510 ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 326 เพยี งแตํให๎สิทธแิ กผํ ชู๎ ําระหน้ีในอันที่จะเรียกร๎องให๎ผ๎ูรับชําระหนี้ทําการอยํางใด
อยํางหน่ึงตามที่กําหนดไว๎ให๎แกํตนเทํานั้น มิได๎หมายความเลยไปถึงวํา หากไมํมีหลักฐาน
ตามที่กาํ หนดไวน๎ ัน้ ผช๎ู ําระหนจี้ ะพิสูจนถ๑ ึงการชาํ ระหนี้ไมํได๎
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2537 หากผ๎ูรับชําระหนี้ไมํยอมออก
ใบเสร็จรับเงินให๎ผ๎ูชําระหน้ี ผ๎ูชําระหน้ีมีสิทธิเรียกร๎องให๎ผู๎รับชําระหน้ีออกใบเสร็จรับเงินได๎
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 326
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4967/2537 ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 326 กําหนดให๎ผู๎ชําระหน้ีมีสิทธิเรียกร๎องให๎ผ๎ูรับชําระหน้ีออกใบเสร็จได๎ แตํไมํได๎
บังคับวําผู๎ชําระหนี้ต๎องเรียกร๎องให๎ผ๎ูรับชําระหนี้ออกใบเสร็จให๎ ดังนั้น เมื่อไมํมีใบเสร็จ
ผู๎ชาํ ระหน้ีจงึ มสี ทิ ธนิ าํ พยานบุคคลมาสบื ถึงการชําระหนี้ดังกลาํ วได๎
อนึ่ง ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 326 น้ี เป็นหลักกฎหมาย
ท่ัวไป ดังนนั้ ถา๎ มีกฎหมายเฉพาะกต็ อ๎ งบังคบั ตามกฎหมายเฉพาะนน้ั เชํน
1. ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 653 วรรคสอง ซ่ึงบัญญตั วิ ํา “ใน
การก๎ูยืมเงินมีหลักฐานเป็นหนังสือนั้น ทํานวําจะนําสืบการใช๎เงินได๎ตํอเมื่อมีหลักฐานเป็น

306

หนงั สอื อยาํ งใดอยํางหนง่ึ ลงลายมอื ช่อื ผใ๎ู หย๎ ืมมาแสดง หรือเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงการ
ก๎ูยืมน้นั ได๎เวนคนื แลว๎ หรอื ได๎แทงเพิกถอนลงในเอกสารนัน้ แลว๎ ”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1131/2473 ผ๎ูก๎ูเขียนลงบนเอกสารกู๎วําได๎ชําระ
หน้ีเสร็จแล๎ว แตํไมํมีลายเซ็นช่ือผ๎ูให๎กู๎นั้น ยังไมํเรียกวําแทงเพิกถอนอันชอบด๎วยกฎหมาย
และตามกฎหมายลกั ษณะพยาน การก๎ยู ืมเงินที่มเี อกสารจะรับฟง๓ พยานบุคคลทนี่ าํ มาสบื วําได๎
ใชเ๎ งินแลว๎ ไมํได๎

2. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 746 ซ่ึงบัญญัติวํา “การชําระ
หนไ้ี มวํ าํ ครัง้ ใด ๆ สิน้ เชิงหรือแตํบางสํวนก็ดี การระงับหน้ีอยํางใด ๆ ก็ดี การตกลงกันแก๎ไข
เปลยี่ นแปลงจาํ นองหรอื หน้ีอนั จํานองเป็นประกันนั้นเป็นประการใดก็ดี ทํานวําต๎องนําความ
ไปจดทะเบียนตอํ พนักงานเจ๎าหน๎าที่ในเม่ือมีคําขอร๎องของผ๎ูมีสํวนได๎เสีย มิฉะน้ันทํานห๎ามมิ
ให๎ยกขน้ึ เป็นข๎อตอํ สูบ๎ ุคคลภายนอก”

2.11 ข้อสนั นษิ ฐานเกย่ี วกบั หลกั ฐานแหง่ การชาระหนี้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 327 บัญญัติวํา “ในกรณีชําระ

ดอกเบย้ี หรือชาํ ระหน้ีอยาํ งอ่นื อันมีกําหนดชําระเป็นระยะเวลาน้ัน ถ๎าเจ๎าหนี้ออกใบเสร็จให๎
เพ่ือระยะหน่ึงแล๎วโดยมิได๎อิดเอื้อน ทํานให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวําเจ๎าหน้ีได๎รับชําระหนี้เพื่อ
ระยะกอํ น ๆ นน้ั ดว๎ ยแลว๎

ถ๎าเจ๎าหน้ีออกใบเสร็จให๎เพ่ือการชําระต๎นเงิน ทํานให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวํา
เจ๎าหนีไ้ ดร๎ ับดอกเบี้ยแลว๎

ถ๎าเอกสารอนั เปน็ หลกั ฐานแหงํ หนี้ได๎เวนคนื แลว๎ ไซร๎ ทํานให๎สันนิษฐานไว๎กํอน
วําหน้ีนนั้ เปน็ อันระงบั สิน้ ไปแล๎ว”

ข๎อสันนิษฐานเกี่ยวกับหลักฐานแหํงการชําระหนี้ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 327 นี้ กฎหมายได๎บญั ญัติไว๎ในทางทีเ่ ป็นคณุ แกผํ ช๎ู ําระหนี้ ซ่ึงอธิบายได๎
ดังน้ี

1. ในกรณีชําระดอกเบ้ียหรือชําระหนี้อยํางอื่นอันมีกําหนดชําระเป็น
ระยะเวลานั้น ถ๎าเจ๎าหน้ีออกใบเสร็จให๎เพ่ือระยะหน่ึงแล๎วโดยมิได๎อิดเอื้อน กฎหมายให๎
สันนิษฐานไว๎กํอนวําเจ๎าหน้ีได๎รับชําระหนี้เพ่ือระยะกํอน ๆ นั้นด๎วยแล๎ว หมายความวํา ใน
กรณชี ําระดอกเบี้ยหรอื ชําระหนอ้ี ยํางอนื่ อันมีกําหนดชําระเป็นระยะเวลานั้น เชํน การชําระ
ดอกเบี้ยเป็นรายเดือน การชําระคําเชําเป็นรายเดือน การผํอนชําระคําสินค๎าเป็นรายเดือน
เปน็ ต๎น ถา๎ เจ๎าหนี้ออกใบเสร็จใหเ๎ พื่อระยะหนึ่ง กฎหมายให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวําเจ๎าหน้ีได๎รับ
ชาํ ระหนี้เพื่อระยะกํอน ๆ นั้นด๎วยแล๎ว

307

ตัวอย่าง เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2562 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไป
100,000 บาท อัตราดอกเบ้ียรอ๎ ยละ 1 ตํอเดือน โดยนาย ข. จะต๎องชําระดอกเบี้ยให๎แกํนาย
ก. ทกุ เดอื น ดงั นี้ ถ๎านาย ก. ได๎ออกใบเสร็จรับเงินสําหรับคําดอกเบ้ียของเดือนมีนาคมให๎แกํ
นาย ข. แล๎ว กฎหมายให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวํานาย ก. ได๎รับชําระหน้ีสําหรับคําดอกเบ้ียของ
เดือนกอํ น ๆ คือ เดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ๑ไว๎แล๎วด๎วย เป็นต๎น ทั้งนี้ เพราะในทาง
ปฏิบัติติถ๎าลูกหนี้ยังมิได๎รับชําระหนี้งวดเกํา เจ๎าหน้ีก็คงจะให๎ลูกหน้ีชําระหน้ีงวดเกําที่ค๎าง
ชาํ ระอยกูํ ํอน ไมยํ อมให๎ชําระหนีง้ วดใหมํ

อยํางไรก็ดี ถ๎าเจ๎าหน้ีได๎ออกใบเสร็จงวดใหมํให๎ โดยท่ีงวดเกํายังคงค๎าง
ชาํ ระอยํู แตํเจา๎ หน้ีได๎อิดเอื้อน คอื ได๎สงวนสิทธิไว๎ เชนํ ไดเ๎ ขียนไว๎ในใบเสร็จวําหน้ีงวดใดบ๎าง
ทีย่ งั คงคา๎ งชาํ ระ ดงั น้ี กจ็ ะนําข๎อสันนษิ ฐานของกฎหมายดังกลําวมาใช๎ไมํได๎ กลําวคือ จะถือ
วําเจา๎ หนไี้ ดร๎ บั ชําระหนี้เพ่ือระยะกํอน ๆ นน้ั ด๎วยแล๎วไมไํ ด๎ เชํน ตามตัวอยาํ งขา๎ งต๎น จะถือวํา
นาย ก. ไดร๎ ับชําระหนสี้ ําหรับเดอื นกอํ น ๆ คอื เดอื นมกราคมและเดอื นกุมภาพันธ๑ไว๎แล๎วด๎วย
ไมํได๎ เปน็ ตน๎

2. ถ๎าเจา๎ หนี้ออกใบเสร็จให๎เพื่อการชําระต๎นเงิน กฎหมายให๎สันนิษฐานไว๎กํอน
วาํ เจ๎าหนไ้ี ด๎รับดอกเบี้ยแล๎ว เชํน เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2562 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไป
100,000 บาท อัตราดอกเบยี้ ร๎อยละ 10 ตํอปี ดังน้ี ถ๎านาย ก. ได๎ออกใบเสร็จรับเงินสําหรับ
ต๎นเงินให๎แกํนาย ข. แล๎ว กฎหมายให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวํานาย ก. ได๎รับดอกเบ้ียแล๎ว ท้ังน้ี
เพราะในทางปฏิบัติติถ๎าลูกหนี้ยังมิได๎รับชําระดอกเบี้ย เจ๎าหนี้ก็คงจะไมํยอมให๎ลูกหน้ีชําระ
ต๎นเงนิ เน่ืองจากถ๎าไมมํ ีตน๎ เงนิ เจา๎ หนก้ี ็ไมํอาจเรยี กดอกเบยี้ ได๎อีก

3. ถ๎าเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหน้ีได๎เวนคืนแล๎ว กฎหมายให๎สันนิษฐานไว๎
กํอนวําหน้ีน้ันเป็นอันระงับสิ้นไปแล๎ว ทั้งน้ี ข๎อสันนิษฐานนี้สอดคล๎องกับบทบัญญัติของ
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 326 วรรคแรก ซ่ึงกําหนดวําถ๎าหนี้นั้นได๎ชําระ
ส้นิ เชิงแลว๎ ผูช๎ าํ ระหนชี้ อบที่จะได๎รับเวนคืนเอกสารอนั เปน็ หลักฐานแหงํ หนี้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่เกยี่ วข้อง
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 20/2506 การตกลงชําระหน้ีคําเชําเป็นรายเดือนนั้น
เมอ่ื ผ๎เู ชําชาํ ระคําเชําเดือนสดุ ท๎ายตามสัญญาเชําแกํผ๎ูให๎เชําแล๎ว จึงต๎องด๎วยข๎อสันนิษฐานวํา
ผู๎เชําได๎ชําระคําเชําในเดือนกํอน ๆ น้ันด๎วยแล๎ว ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 327
คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1099/2520 การท่ีจําเลยมีใบเสร็จการชําระคําเชําใน
ระยะหลงั น้ัน มไิ ด๎หมายความวาํ คาํ เชํากอํ น ๆ นั้นจาํ เลยมไิ ดค๎ า๎ งชําระ ประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 327 วรรคแรกนั้น เป็นเพียงข๎อสันนิษฐานซึ่งเป็นคุณแกํจําเลยผู๎มี
ใบเสร็จที่จะไมํต๎องนําพยานหลักฐานมาสืบวําไมํได๎ค๎างชําระ คําเชําในระยะกํอนเทํานั้น
กลําวคอื ตกเปน็ หนา๎ ท่ขี องโจทกท๑ จี่ ะต๎องนาํ สบื หักลา๎ ง หาใชํเปน็ ขอ๎ สันนษิ ฐานเด็ดขาดไมํ

308

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1215/2535 โจทก๑อ๎างวําจําเลยค๎างชําระหน้ีคําเชํา
เดือนกันยายน 2525 แตํโจทก๑รับชําระหน้ีคําเชําจากจําเลย โดยไมํได๎ทวงถามคําเชําเดือน
ดังกลําวจนลํวงเลยมาถึงเดือนกันยายน 2526 โดยโจทก๑ได๎ออกใบรับเงินให๎จําเลยทุกคร้ัง
ดังน้ี เม่ือโจทก๑ไมํมีพยานหลักฐานมาหักล๎างบทสันนิษฐานของประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 327 จึงถอื วาํ จาํ เลยได๎ชาํ ระหน้ีคําเชําเดือนกนั ยายน 2525 ใหโ๎ จทก๑แลว๎

2.12 การจดั สรรชาระหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 328 บัญญัติวํา “ถ๎าลูกหนี้ต๎อง

ผกู พันตํอเจ๎าหนใี้ นอันจะกระทําการเพ่ือชําระหน้ีเป็นการอยํางเดียวกันโดยมูลหนี้หลายราย
และถ๎าการที่ลูกหนี้ชําระหนี้น้ันไมํเพียงพอจะเปลื้องหนี้สินได๎หมดทุกรายไซร๎ เมื่อทําการ
ชาํ ระหน้ี ลูกหน้รี ะบุวาํ ชาํ ระหน้ีสนิ รายใด ก็ให๎หน้สี ินรายน้นั เปน็ อนั ไดเ๎ ปลอื้ งไป

ถ๎าลูกหนี้ไมํระบุ ทํานวําหน้ีสินรายไหนถึงกําหนด ก็ให๎รายน้ันเป็นอันได๎
เปล้อื งไปกํอน ในระหวํางหน้สี นิ หลายรายท่ีถึงกําหนดนั้น รายใดเจ๎าหนี้มีประกันน๎อยที่สุด ก็
ใหร๎ ายนัน้ เปน็ อันได๎เปลื้องไปกํอน ในระหวาํ งหนี้สินหลายรายที่มีประกันเทํา ๆ กัน ให๎รายท่ี
ตกหนักทีส่ ดุ แกลํ กู หนี้เป็นอนั ไดเ๎ ปลื้องไปกํอน ในระหวาํ งหนสี้ นิ หลายรายที่ตกหนักแกํลูกหน้ี
เทาํ ๆ กัน ให๎หนสี้ ินรายเกําท่สี ดุ เป็นอันได๎เปล้ืองไปกํอน และถ๎ามีหน้ีสินหลายรายเกําเทํา ๆ
กัน กใ็ หห๎ นสี้ ินทุกรายเปน็ อนั ไดเ๎ ปลอ้ื งไปตามสวํ นมากและนอ๎ ย”

การจดั สรรชาํ ระหน้ีตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 328 ต๎อง
อยูํภายใต๎เงื่อนไข 3 ประการ ดังน้ี

1. ลูกหน้ตี อ๎ งผูกพนั ตอํ เจา๎ หน้ีในอันจะกระทําการเพื่อชําระหนี้เป็นการอยําง
เดียวกัน เชํน การชําระหน้ดี ว๎ ยเงนิ เหมอื นกัน การชําระหนโ้ี ดยการสํงมอบทรัพย๑ที่เหมือนกัน
เป็นตน๎ แตํถา๎ ไมํใชกํ ารชําระหน้ีดว๎ ยการอยํางเดียวกนั ก็ไมํอาจนาํ ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 328 น้ี มาใช๎บังคับได๎ เชํน นาย ก. เป็นลูกหนี้เงินก๎ูนาย ข. แล๎วตํอมานาย
ก. เปน็ ลกู หน้สี ํงมอบรถยนตใ๑ ห๎นาย ก. เป็นตน๎

2. มีมูลหนี้หลายราย เชํน นาย ก. เป็นลูกหนี้เงินกู๎ ลูกหนี้ซ้ือขาย ลูกหน้ี
ละเมิด ของนาย ข. เป็นตน๎

3. การที่ลูกหน้ีชําระหนี้นั้นไมํเพียงพอจะเปล้ืองหนี้สินได๎หมดทุกราย ดังนั้น
จึงจาํ เปน็ ที่จะต๎องจัดสรรชาํ ระหน้ีตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 328 นี้

การจัดสรรชําระหน้ีตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 328 ให๎
จดั ลาํ ดบั ดังนี้

1. เม่ือลกู หนร้ี ะบุวําชําระหน้สี ินรายใด ก็ให๎หนี้สินรายน้ันเป็นอันได๎เปลื้องไป
เชํน เมอ่ื วนั ที่ 1 มกราคม 2562 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงนิ ไป 100,000 บาท อัตราดอกเบ้ีย
ร๎อยละ 10 ตํอปี ตํอมาเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2562 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไป 100,000

309

บาท ดังน้ี ถ๎านาย ข. นําเงิน 100,000 บาท ไปชําระหน้ีให๎แกํนาย ข. โดยระบุวําเป็นการ
ชําระหนี้ของวันท่ี 1 มกราคม 2562 ก็ได๎ โดยนาย ก. จะเกี่ยงวําให๎ชําระหนี้ของวันที่ 1
มนี าคม 2562 กํอนไมไํ ด๎ เป็นตน๎

ข้อสังเกต ถ๎ามีหนี้ซ่ึงยังไมํถึงกําหนดชําระ และหนี้ท่ีถึงกําหนดชําระแล๎ว
ลกู หน้ีจะขอชําระหนซี้ ึง่ ยังไมํถึงกําหนดชาํ ระกํอนไมํได๎

2. ถา๎ ลูกหน้ีไมรํ ะบุวาํ ชําระหนี้สินรายใด ใหจ๎ ัดลาํ ดบั ดังนี้
2.1 หน้สี ินรายไหนถึงกําหนด ก็ให๎รายน้ันเป็นอนั ได๎เปลอ้ื งไปกํอน กลําวคือ

ในกรณีท่ีมีหนี้ซ่ึงยังไมํถึงกําหนดชําระ และหนี้ที่ถึงกําหนดชําระแล๎ว ถ๎าลูกหน้ีขอชําระหน้ี
โดยลูกหนี้ไมํได๎ระบุวําชําระหน้ีสินรายใด ดังน้ี หน้ีสินรายไหนถึงกําหนดชําระ ก็ให๎รายนั้น
เป็นอันได๎เปล้ืองไปกอํ น

2.2 ในระหวํางหน้ีสินหลายรายที่ถงึ กําหนดน้ัน รายใดเจ๎าหนี้มีประกันน๎อย
ที่สุด ก็ให๎รายน้ันเป็นอันได๎เปล้ืองไปกํอน เชํน หนี้รายแรกมีการจํานําแหวนเพชรราคา
50,000 บาท ไว๎เป็นประกัน สํวนหนี้รายหลังมีการจํานําแหวนทองราคา 10,000 บาท ไว๎
เป็นประกนั ถ๎าลูกหน้ีขอชําระหนี้ โดยลกู หนไ้ี มํได๎ระบวุ ําชําระหน้ีสนิ รายใด ดังนี้ หนี้รายหลัง
ซงึ่ เจ๎าหนีม้ ีประกันนอ๎ ยทส่ี ุดเป็นอันไดเ๎ ปลอื้ งไปกํอน

คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ 278/2520 หนี้หลายราย ลูกหน้ีชําระหนี้โดย
ไมํระบุวําชําระหนี้รายไหน ดังนี้ ต๎องจัดเป็นชําระรายที่ไมํมีผ๎ูคํ้าประกันกํอนรายที่มีผ๎ูคํ้า
ประกัน

2.3 ในระหวํางหน้สี นิ หลายรายทม่ี ปี ระกันเทํา ๆ กัน ให๎รายท่ีตกหนักที่สุด
แกํลูกหนี้เป็นอันได๎เปลื้องไปกํอน โดยคําวําหนี้ท่ีตกหนักน้ันมิได๎หมายถึงหน้ีท่ีมีจํานวนหน้ี
มากท่ีสุด แตํหมายถึงหนี้ที่ลูกหนี้ต๎องรับภาระมากที่สุด เชํน หนี้รายแรกจํานวน 500,000
บาท มีดอกเบ้ียร๎อยละ 12 ตอํ ปี หนร้ี ายหลังจํานวน 5,000,000 บาท ไมมํ ีดอกเบี้ย ถ๎าลูกหนี้
ขอชําระหน้ี โดยลูกหน้ีไมํได๎ระบุวําชําระหน้ีสินรายใด ดังน้ี หนี้รายแรกซ่ึงมีดอกเบ้ียถือวํา
เปน็ หนท้ี ต่ี กหนกั ทสี่ ดุ แกลํ ูกหน้เี ป็นอนั ได๎เปลือ้ งไปกํอน

2.4 ในระหวํางหนส้ี นิ หลายรายทตี่ กหนักแกลํ ูกหนเี้ ทํา ๆ กัน ให๎หนี้สินราย
เกําท่ีสุดเป็นอันได๎เปล้ืองไปกํอน โดยคําวําหน้ีรายเกําหมายความวําหนี้ที่เกิดข้ึนกํอน เชํน
เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2562 นาย ก. ให๎นาย ข. ก๎ูยืมเงินไป 100,000 บาท ตํอมาเมื่อวันท่ี 1
มีนาคม 2562 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไป 100,000 บาท ตํอมา ถ๎าลูกหน้ีขอชําระหนี้
โดยลกู หนี้ไมํได๎ระบุวําชาํ ระหนีส้ นิ รายใด ดังน้ี หนร้ี ายแรกซ่งึ เป็นหนสี้ นิ รายเกาํ ท่ีสดุ ได๎เปลื้อง
ไปกํอน เป็นต๎น

2.5 ถ๎ามหี นสี้ นิ หลายรายเกําเทาํ ๆ กัน ก็ให๎หน้ีสินทุกรายเป็นอันได๎เปล้ือง
ไปตามสํวนมากและน๎อย เชํน หน้ีรายแรกมีจํานวน 10,000 บาท หน้ีรายหลังมีจํานวน
20,000 บาท ถ๎าลูกหน้ีขอชําระหนี้จํานวน 3,000 บาท โดยลูกหนี้ไมํได๎ระบุวําชําระหน้ีสิน

310

รายใด ดงั น้ี หนีส้ นิ ทกุ รายจะเปน็ อนั ได๎เปลื้องไปตามสํวนมากและน๎อย กลําวคือ หน้ีรายแรก
เป็นอันได๎เปลื้องไปตามสํวน คอื จํานวน 1,000 บาท หนีร้ ายหลงั เปน็ อันได๎เปลือ้ งไปตามสํวน
คือ จํานวน 2,000 บาท เป็นต๎น

2.13 การจัดสรรชาระหน้ีประธานและหน้อี ปุ กรณ์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329 บัญญัติวํา “ถ๎านอกจาก

การชาํ ระหนอี้ นั เป็นประธาน ลูกหน้ียังจะตอ๎ งชําระดอกเบยี้ และเสยี คาํ ฤชาธรรมเนียมอีกด๎วย
ไซร๎ หากการชาํ ระหน้ใี นครัง้ หนึ่ง ๆ ไมํไดร๎ าคาเพียงพอจะเปลื้องหนีส้ นิ ไดท๎ ้งั หมด ทํานให๎เอา
จดั ใชเ๎ ปน็ คาํ ฤชาธรรมเนยี มเสียกํอนแลว๎ จึงใชด๎ อกเบ้ยี และในทสี่ ุดจึงให๎ใช๎ในการชําระหน้ีอัน
เปน็ ประธาน

ถา๎ ลูกหนี้ระบุให๎จดั ใชเ๎ ปน็ ประการอ่ืน ทํานวาํ เจ๎าหน้จี ะบอกป๓ดไมยํ อมรับชําระ
หนี้กไ็ ด๎”

ข้อสังเกต ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 328 และประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 329 เปน็ กรณีทล่ี กู หนี้ชําระหนีไ้ มํเพียงพอจะเปลื้องหนี้สิน
ไดท๎ ั้งหมด โดยตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 328 เป็นกรณีมีหนี้หลายราย
ซึ่งลูกหนี้มีสิทธิเลือกวําจะจัดสรรชําระหนี้ใดกํอนได๎ แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 329 เป็นกรณีหนี้รายเดียวแตมํ ีหนี้ประธานและหนี้อปุ กรณ๑

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 328 วรรคแรก หมายความวํา
ลูกหน้ีไมํมีสิทธิเลือกวําจะจัดสรรชําระหนี้ใดกํอน การจัดสรรชําระหน้ีต๎องเป็นไปตามท่ี
กฎหมายกําหนดไว๎ คือ ตอ๎ งชําระคําฤชาธรรมเนียมเสียกํอน แล๎วจึงใช๎ดอกเบี้ย และในที่สุด
จงึ ให๎ใช๎ในการชําระหนอ้ี ันเป็นประธาน

ท้ังน้ี เหตุท่ีกฎหมายกําหนดให๎จัดใช๎เป็นคําฤชาธรรมเนียมเสียกํอน เพราะ
คาํ ฤชาธรรมเนียมเปน็ เงนิ ท่ตี ๎องชาํ ระให๎แกรํ ฐั เพ่อื รฐั จะไดน๎ ําไปใช๎เพือ่ ประโยชน๑ของสํวนรวม

ตวั อย่าง นาย ก กูเ๎ งนิ ไปจากนาย ข จํานวน 100,000 บาท ตํอมานาย ข ได๎
ฟ้องคดีตํอศาล และศาลได๎มีคําพิพากษาให๎นาย ข ชําระหนี้เงินต๎น จํานวน 100,000 บาท
พร๎อมดอกเบี้ยอกี จํานวน 10,000 บาท กับคําฤชาธรรมเนียมศาลอีกจํานวน 1,000 บาท ซึ่ง
รวมเป็นเงินท้ังสิ้นจํานวน 111,000 บาท แตํนาย ข ได๎นําเงินมาชําระหนี้เพียงจํานวน
51,000 บาท จงึ ไมพํ อที่จะชําระหนี้ทง้ั หมด ดังนี้ จงึ ตอ๎ งจัดใช๎เป็นคําฤชาธรรมเนียมเสียกํอน
จํานวน 1,000 บาท แล๎วจึงใช๎ดอกเบ้ียจํานวน 10,000 บาท และที่เหลือจํานวน 40,000
บาท จึงให๎ใช๎ในการชําระหนี้เงินต๎น อันทําให๎หนี้ประธานยังคงค๎างชําระอยูํอีกจํานวน
60,000 บาท

311

สวํ นประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 329 วรรคสอง หมายความวาํ
ถา๎ ลูกหนีร้ ะบุใหจ๎ ัดใช๎เป็นประการอืน่ คือ ไมจํ ดั สรรชําระหนตี้ ามที่ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 329 วรรคแรก กําหนดไว๎ เชนํ ลกู หนี้ระบวุ าํ ใหช๎ าํ ระหนีอ้ ันเป็นประธานกํอน
เป็นต๎น ดงั นี้ เจา๎ หน้ีจะบอกปด๓ ไมํยอมรับชําระหนี้ก็ได๎

ข้อสังเกต ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 329 วรรคสอง
เป็นกรณีท่ีลูกหนรี้ ะบใุ ห๎จัดใช๎เปน็ ประการอน่ื เจ๎าหนจ้ี ึงบอกปด๓ ไมํยอมรับชาํ ระหน้ไี ด๎ แตํหาก
ลูกหนี้และเจ๎าหนี้ไดต๎ กลงกันให๎จัดใชเ๎ ป็นประการอื่น ข๎อตกลงน้ันมีผลใช๎บังคับได๎ เจ๎าหน้ีจะ
บอกป๓ดไมํยอมรบั ชําระหน้ีไมํได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวขอ้ ง
คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 756/2508 คาํ ฤชาธรรมเนียมตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 329 หมายถึง คําฤชาธรรมเนียมที่ลูกหนี้จะต๎องชําระให๎แกํรัฐ
มใิ ชํสวํ นจํานวนเงนิ ท่ลี ูกหน้ีจะตอ๎ งชาํ ระแทนเจ๎าหน้ี สําหรบั คาํ ฤชาธรรมเนียมที่เจ๎าหน้ีได๎เสีย
ให๎แกรํ ัฐไปแลว๎
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2727/2530 เม่ือการชําระหน้ีตามคําพิพากษาของ
จําเลยไมเํ พียงพอจะเปล้อื งหนส้ี นิ ไดท๎ ง้ั หมด จงึ ต๎องชาํ ระดอกเบยี้ กอํ น แลว๎ จึงชาํ ระหนเี้ งนิ ต๎น
อันเป็นหนีป้ ระธาน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 329
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5007/2536 เมื่อเจ๎าหนี้และลูกหน้ีได๎ตกลงกําหนด
ลําดบั การชาํ ระหนไ้ี วโ๎ ดยชัดแจ๎งแล๎ว วําต๎องชําระเงินต๎นกํอน เม่ือชําระเงินต๎นครบถ๎วนแล๎ว
จึงจะชําระดอกเบ้ีย ดังนั้น จึงต๎องชําระเงินต๎นตามที่ได๎ตกลงกันไว๎กํอน จะนําไปชําระ
ดอกเบ้ยี กอํ นตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 329 ไมํได๎

2.14 ผลของการขอปฏิบตั ิการชาระหนโี้ ดยชอบ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 330 บัญญัติวํา “เมื่อขอ

ปฏิบัตกิ ารชําระหนี้โดยชอบแล๎ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแตํการไมํชําระหนี้ก็เป็นอัน
ปลดเปลือ้ งไป นบั แตํเวลาท่ขี อปฏิบตั ิการชาํ ระหนนี้ น้ั ”

ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 330 อธิบายไดด๎ ังน้ี
1. บทบญั ญัตทิ ่วี ํา “เมื่อขอปฏิบัติการชําระหนี้โดยชอบแล๎ว” หมายความถึง
การขอปฏิบัติการชําระหน้ีโดยชอบตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 208 ซ่ึง
บัญญตั วิ าํ “การชาํ ระหนจ้ี ะให๎สําเร็จผลเป็นอยํางใด ลูกหน้ีจะต๎องขอปฏิบัติการชําระหนี้ตํอ
เจ๎าหนี้เป็นอยํางนั้นโดยตรง” เชํน การขอปฏิบัติการชําระหน้ีถูกต๎องในเร่ืองวัตถุแหํงหนี้
กาํ หนดเวลาชาํ ระหนี้ สถานที่ชําระหน้ี เป็นตน๎
2. บทบัญญัติที่วํา “บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแตํการไมํชําระหนี้ก็เป็น
อันปลดเปล้ืองไป นับแตํเวลาที่ขอปฏิบัติการชําระหน้ีน้ัน” หมายความวํา ถ๎าลูกหนี้ต๎อง

312

รบั ผิดชอบสงิ่ ใดหากลูกหน้ีไมํชําระหนี้ เชํน ความรับผิดชอบตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 215 มาตรา 216 มาตรา 217 มาตรา 224 มาตรา 225 เป็นต๎น ถ๎าลูกหน้ี
ขอปฏิบัตกิ ารชาํ ระหนโี้ ดยชอบแล๎ว ลูกหนก้ี ็ไมํต๎องรับผดิ ชอบสง่ิ นน้ั แลว๎

ตวั อยา่ งที่ 1 ลูกหน้ียืมเงินไปจากเจ๎าหน้ี แตํลูกหน้ีไมํนําเงินไปชําระคืน
ตามกําหนดวันแหํงปฏิทิน ดังนี้ เป็นกรณีท่ีลูกหนี้ผิดนัดชําระหน้ี และลูกหน้ีจะต๎องชําระ
ดอกเบี้ยในระหวํางเวลาผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 224 แตํถ๎า
ลูกหน้ีได๎นําเงินไปชําระคืนตามกําหนดแล๎ว ถือเป็นกรณีท่ีลูกหน้ีขอปฏิบัติการชําระหนี้โดย
ชอบแล๎ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแตํการไมํชําระหนี้ก็เป็นอันปลดเปล้ืองไป นับแตํ
เวลาทข่ี อปฏบิ ตั กิ ารชําระหน้นี ้ัน เจ๎าหนี้จงึ เรยี กใหล๎ กู หนีช้ ําระดอกเบี้ยในระหวํางเวลาผิดนัด
อีกไมไํ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 330 ประกอบมาตรา 224

ตวั อย่างท่ี 2 ลูกหน้ียืมเงินไปจากเจ๎าหนี้ แตํลูกหนี้ไมํนําเงินไปชําระคืน
ตามกําหนดวันแหํงปฏิทิน ดังนี้ เป็นกรณีที่ลูกหน้ีผิดนัดชําระหนี้ และลูกหน้ีจะต๎องชําระ
ดอกเบี้ยในระหวํางเวลาผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 224 แตํถ๎า
ลูกหนี้ได๎นําเงินไปชําระคืนตามกําหนดแล๎ว แตํเจ๎าหนี้ไมํยอมรับชําระหน้ี โดยปราศจาก
มูลเหตุอันจะอ๎างกฎหมายได๎ เจ๎าหน้ียํอมตกเป็นผู๎ผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 207 และเมื่อลูกหนี้ขอปฏิบัติการชําระหนี้โดยชอบแล๎ว บรรดาความ
รับผดิ ชอบอันเกดิ แตํการไมํชาํ ระหน้กี เ็ ป็นอันปลดเปล้ืองไป นับแตํเวลาท่ีขอปฏิบัติการชําระ
หนี้นั้น คือ ลูกหนี้ก็ไมํต๎องชําระดอกเบี้ยในระหวํางเวลาผิดนัดให๎แกํเจ๎าหน้ี ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 330 ประกอบมาตรา 224

ตัวอย่างท่ี 3 ลูกหนี้ยืมควายไปจากเจ๎าหน้ี แตํลูกหนี้ไมํนําควายไปสํง
มอบตามกําหนดวันแหํงปฏิทิน ตํอมาควายถูกฟ้าผําตาย ดังน้ี เป็นกรณีท่ีลูกหน้ีผิดนัดชําระ
หน้ี และลูกหน้ีจะต๎องรับผิดชอบในการท่ีการชําระหนี้กลายเป็นพ๎นวิสัย เพราะอุบัติเหตุอัน
เกิดข้ึนในระหวํางเวลาที่ผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 217 แตํถ๎า
ลูกหน้นี ําควายไปสงํ มอบตามกาํ หนดแล๎ว แตํเจ๎าหนี้ไมยํ อมรบั ชาํ ระหนี้ โดยปราศจากมูลเหตุ
อันจะอ๎างกฎหมายได๎ เจ๎าหนี้ยํอมตกเป็นผู๎ผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 207 เม่ือลูกหน้นี าํ ควายกลบั มา แล๎วตํอมาควายถูกฟ้าผําตาย ดังน้ี เป็นกรณีที่ลูกหน้ี
ขอปฏบิ ัติการชําระหน้ีโดยชอบแล๎ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแตํการไมํชําระหน้ีก็เป็น
อันปลดเปล้ืองไป นับแตํเวลาที่ขอปฏิบัติการชําระหนี้นั้น คือ ลูกหนี้ก็ไมํต๎องรับผิดชอบใน
ความเสยี หายน้ัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 330 ประกอบมาตรา 217

ข้อสงั เกต เม่ือขอปฏิบัติการชําระหน้ีโดยชอบแล๎ว บรรดาความรับผิดชอบอัน
เกิดแตํการไมํชําระหน้ีก็เป็นอันปลดเปลื้องไป นับแตํเวลาที่ขอปฏิบัติการชําระหนี้นั้น ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 330 แตํหน้ียงั ไมรํ ะงับไป ลกู หนีย้ งั คงมีหน๎าที่ต๎อง
ชาํ ระหน้อี ยูํ

313

2.15 วางทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 331 บัญญัติวํา “ถ๎าเจ๎าหน้ี

บอกปด๓ ไมยํ อมรับชาํ ระหน้ีก็ดี หรอื ไมสํ ามารถจะรับชําระหน้ีได๎ก็ดี หากบุคคลผ๎ูชําระหนี้วาง
ทรัพยอ๑ ันเปน็ วตั ถุแหงํ หนไี้ ว๎เพื่อประโยชน๑แกํเจ๎าหน้ีแล๎ว ก็ยํอมจะเป็นอันหลุดพ๎นจากหนี้ได๎
ความข๎อนี้ทํานให๎ใช๎ตลอดถึงกรณีท่ีบุคคลผู๎ชําระหน้ีไมํสามารถจะหย่ังรู๎ถึงสิทธิ หรือไมํร๎ูตัว
เจ๎าหนไี้ ดแ๎ นํนอนโดยมิใชเํ ป็นความผิดของตน”

ลกู หนี้มีสทิ ธขิ อวางทรัพย๑ไดใ๎ นกรณดี งั ตํอไปนี้
1. เจ้าหนี้บอกปัดไมย่ อมรับชาระหนี้ เมือ่ ลกู หนี้ได๎ขอปฏบิ ัตกิ ารชําระหนี้โดย
ชอบแล๎ว แตํเจ๎าหน้ีไมํยอมรับชําระหนี้ โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอ๎างกฎหมายได๎ เจ๎าหนี้
ยํอมตกเป็นผผู๎ ิดนดั ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 20793 และบรรดาความ
รับผิดชอบอันเกดิ แตกํ ารไมํชําระหนกี้ ็เป็นอันปลดเปล้ืองไป นับแตํเวลาท่ีขอปฏิบัติการชําระ
หนน้ี น้ั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 330 แตํอยํางไรก็ดี หน้ีมิได๎ระงับไป
ลกู หนย้ี ังคงมหี นา๎ ท่ีต๎องชําระหน้ีอยูํ ดังนั้น ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 331
จึงกําหนดทางแก๎ไขให๎แกํลูกหน้ี ในการท่ีจะทําให๎หนี้ระงับ โดยกําหนดวําหากลูกหน้ีวาง
ทรพั ย๑อันเป็นวตั ถุแหงํ หนี้ไว๎เพ่อื ประโยชนแ๑ กํเจ๎าหนแ้ี ลว๎ กย็ ํอมจะเป็นอันหลดุ พ๎นจากหน้ีได๎
2. เจา้ หนไี้ มส่ ามารถจะรับชาระหนี้ได้ เชํน เจ๎าหน้ีป่วย เจ๎าหนี้กลายเป็นคน
วิกลจริต เป็นต๎น หน้ีมิได๎ระงับไป ลูกหน้ียังคงมีหน๎าที่ต๎องชําระหนี้อยูํ ดังน้ัน ประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 331 จงึ กําหนดทางแกไ๎ ขให๎แกํลูกหน้ี ในการที่จะทําให๎หน้ี
ระงับ โดยกาํ หนดวาํ หากลกู หนี้วางทรพั ย๑อนั เปน็ วตั ถแุ หํงหน้ีไว๎เพ่ือประโยชน๑แกํเจา๎ หน้ีแล๎ว ก็
ยํอมจะเป็นอันหลุดพน๎ จากหนไ้ี ด๎
3. ลูกหนี้ไม่สามารถจะหย่ังรู้ถึงสิทธิ หรือไม่รู้ตัวเจ้าหน้ีได้แน่นอนโดยมิใช่
เป็นความผิดของตน เน่ืองจากประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑มาตรา 315 กําหนดวํา
ลูกหนตี้ ๎องชาํ ระหน้ใี หแ๎ กผํ ๎มู สี ทิ ธิรับชําระหนี้ คอื เจา๎ หน้ีหรือบคุ คลผู๎มีอาํ นาจรบั ชําระหน้ีแทน
เจา๎ หน้ีเทาํ นั้น จงึ จะถือเป็นการชําระหน้โี ดยสมบรู ณ๑ ซ่งึ ในกรณที ี่ลกู หนไี้ มสํ ามารถจะหย่ังร๎ูถึง
สิทธหิ รอื ไมํร๎ูตวั เจา๎ หนไ้ี ดแ๎ นนํ อนโดยมิใชํเป็นความผิดของตน เชํน เจ๎าหนี้ตาย โดยลูกหน้ีไมํ
ทราบวาํ บุคคลใดคือทายาททมี่ สี ิทธริ ับมรดก ถ๎าลูกหน้ีชําระหนี้ให๎แกํทายาทคนใดคนหน่ึงไป
อาจถือเป็นการชําระหนี้ตํอบุคคลผ๎ูไมํมีสิทธิรับชําระหน้ีได๎ อันทําให๎ลูกหนี้ต๎องรับผิดชอบ
ชาํ ระหนี้ใหมํอีก ดังนนั้ ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 331 จึงกําหนดทางแก๎ไข
ให๎แกํลูกหนี้ ในการท่ีจะทําให๎หน้ีระงับ โดยกําหนดวําหากลูกหน้ีวางทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํง
หนไี้ วเ๎ พอื่ ประโยชนแ๑ กํเจ๎าหนีแ้ ลว๎ ก็ยอํ มจะเป็นอันหลุดพ๎นจากหนี้ได๎

93ปราโมทย๑ จารนุ ลิ , เรือ่ งเดมิ ,หนา๎ 231.

314

ข้อสังเกต ผู๎ชําระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 331
นอกจากจะหมายถึงลูกหน้แี ล๎ว ยงั คงหมายความรวมถงึ บคุ คลภายนอกที่มีสิทธิชําระหนี้ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 314 ดว๎ ย

2.16 การวางทรพั ย์โดยกาหนดเง่ือนไข
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 332 บัญญัติวํา “ถ๎าลูกหน้ี

จําต๎องชําระหนี้ตํอเม่ือเจ๎าหน้ีจะต๎องชําระหน้ีตอบแทนด๎วยไซร๎ ทํานวําลูกหน้ีจะกําหนดวํา
ตอํ เมอื่ เจา๎ หนี้ชาํ ระหน้ตี อบแทนจงึ ใหม๎ สี ิทธริ ับเอาทรพั ยท๑ ีว่ างไว๎นัน้ กไ็ ด๎”

ถ๎าลูกหนี้จําต๎องชําระหน้ีตํอเม่ือเจ๎าหน้ีจะต๎องชําระหน้ีตอบแทนด๎วย ลูกหนี้
จะวางทรัพย๑โดยกําหนดเงอ่ื นไขวาํ ตํอเมื่อเจ๎าหนชี้ ําระหน้ีตอบแทนจงึ ให๎มสี ทิ ธริ ับเอาทรัพย๑ท่ี
วางไว๎นัน้ ก็ได๎ เชนํ นาย ก. ทําสัญญาขายรถยนต๑ให๎แกํนาย ข. ราคา 300,000 บาท โดยตก
ลงกันวําในวันท่ี 31 มกราคม 2562 จะมีการสํงมอบรถยนต๑และชําระราคาพร๎อมกัน แตํ
ปรากฏวําเมือ่ ถึงกาํ หนดชาํ ระหน้ี นาย ก. ไดน๎ าํ รถยนต๑ไปสํงมอบใหแ๎ กํนาย ข. แตํนาย ข. ไมํ
ยอมรบั รถยนต๑ไว๎ และไมํยอมชําระหน้ีโดยการชําระราคาตอบแทน ดังน้ี นาย ก. มีสิทธิวาง
ทรัพย๑คือรถยนต๑น้ันไว๎เพื่อประโยชน๑แกํเจ๎าหน้ี เพ่ือให๎ตนเองหลุดพ๎นจากหนี้น้ันได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 331 นอกจากนั้น นาย ก. ยังมีสิทธิกําหนด
เงื่อนไขในการวางทรัพย๑วาํ ตอํ เมื่อนาย ข. ชําระหนีต้ อบแทนให๎แกํตนจํานวน 300,000 บาท
แลว๎ นาย ข. จงึ จะมีสิทธริ ับเอารถยนต๑ท่วี างไวน๎ ั้นไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 332 ด๎วย

2.17 สานกั งานวางทรัพย์และการบอกกลา่ วให้เจา้ หนท้ี ราบ
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 333 บัญญัติวํา “การวางทรัพย๑

นน้ั ต๎องวาง ณ สํานกั งานวางทรัพยป๑ ระจาํ ตาํ บลท่ีจะต๎องชาํ ระหน้ี
ถา๎ ไมํมบี ทบัญญัตแิ หํงกฎหมาย หรือกฎข๎อบังคับเฉพาะการในเรื่องสํานักงาน

วางทรพั ย๑ เมอื่ บคุ คลผชู๎ าํ ระหน้ีร๎องขอ ศาลจะต๎องกําหนดสํานักงานวางทรัพย๑ และตั้งแตํงผ๎ู
พิทกั ษท๑ รพั ย๑ทีว่ างน้ันข้ึน

ผูว๎ างต๎องบอกกลาํ วใหเ๎ จ๎าหน้ีทราบการทีไ่ ด๎วางทรัพย๑นน้ั โดยพลนั ”
สําหรบั ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 333 วรรคแรก หมายความ
วํา ถา๎ ต๎องชาํ ระหน้ี ณ สถานทีใ่ ด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 324 ก็ต๎อง
วางทรพั ย๑ ณ สํานักงานวางทรัพย๑ประจาํ ตําบลทจี่ ะตอ๎ งชาํ ระหนี้นน้ั
สําหรับประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 333 วรรคสอง นั้น ในอดีต
ไมํมีบทบัญญัติแหํงกฎหมายหรือกฎข๎อบังคับเฉพาะการในเรื่องสํานักงานวางทรัพย๑ ดังน้ัน
หากลูกหน้ีประสงค๑จะวางทรัพย๑ ลูกหนี้ก็ต๎องร๎องขอตํอศาลให๎กําหนดสํานักงานวางทรัพย๑
และตั้งแตํงผู๎พิทักษ๑ทรัพย๑ท่ีวางน้ันข้ึน แตํตํอมา ได๎มีการประกาศใช๎ระเบียบกระทรวง

315

ยุตธิ รรมวําด๎วยการวางทรัพย๑ สํานักงานวางทรัพย๑กลาง กรมบังคับคดี พ.ศ. 2518 ขึ้น และ
ในป๓จจุบัน สํานักงานวางทรัพย๑ได๎สังกัดอยูํในสํานักงานบังคับคดีน้ัน ในสํวนกลาง ได๎แกํ
สํานักงานบังคับคดีแพํงกรุงเทพมหานคร 1 - 6 สํวนในสํวนภูมิภาค ได๎แกํ สํานักงานบังคับ
คดีทั่วประเทศ ดังน้ัน ในป๓จจุบัน บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
333 วรรคสอง จงึ ไมมํ ผี ลบงั คบั ใช๎แลว๎

สํวนกรณีที่ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 333 วรรคสาม น้ัน
หมายความวํา เมื่อลูกหนี้ได๎วางทรัพย๑แล๎ว ลูกหน้ีต๎องมีหน๎าท่ีบอกกลําวให๎เจ๎าหน้ีทราบถึง
การท่ไี ด๎วางทรัพยน๑ ัน้ โดยพลันด๎วย เพ่ือให๎เจ๎าหน้ีจะได๎ทราบและมารับเอาทรัพย๑ที่วางไว๎น้ัน
ไป

2.18 สิทธิถอนทรพั ย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 334 บัญญัติวํา “ลูกหน้ีมีสิทธิจะ

ถอนทรพั ย๑ท่ีวางนนั้ ได๎ ถ๎าลูกหนถี้ อนทรัพยน๑ ้นั ทํานใหถ๎ ือเสมือนวํามิไดว๎ างทรพั ย๑ไวเ๎ ลย
สิทธถิ อนทรัพยน๑ ี้เป็นอนั ขาดในกรณีตํอไปนี้
(1) ถา๎ ลูกหน้แี สดงตอํ สํานักงานวางทรัพยว๑ ําตนยอมละสทิ ธิทจี่ ะถอน
(2) ถา๎ เจา๎ หนีแ้ สดงตํอสาํ นกั งานวางทรพั ย๑วาํ จะรับเอาทรพั ย๑น้นั
(3) ถ๎าการวางทรัพย๑นัน้ ไดเ๎ ป็นไปโดยคําสงั่ หรอื อนุมตั ิของศาลและได๎บอกกลําว

ความนนั้ แกสํ ํานักงานวางทรพั ย๑”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 334 วรรคแรก ลูกหนี้มีสิทธิจะ

ถอนทรพั ย๑ท่วี างไว๎ได๎ เพราะตราบใดที่เจา๎ หน้ยี ังไมไํ ดไ๎ ปรบั เอาทรัพย๑ท่ีวางไว๎นั้นไป ทรัพย๑นั้น
ก็ยอํ มยงั คงเปน็ ของลกู หน้ีอยํู ลูกหนจี้ งึ มสี ิทธทิ ่ีจะไปรบั เอาทรพั ย๑ทีว่ างไวน๎ ัน้ ได๎ แตอํ ยํางไรก็ดี
ถ๎าลกู หนถ้ี อนทรัพยน๑ ัน้ จะถอื เสมอื นวํามิไดว๎ างทรพั ย๑ไว๎เลย กลําวคือ ลูกหนี้จะอ๎างสิทธิตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 331 วําตนเองหลดุ พ๎นจากหนี้นน้ั แล๎วไมํได๎

ตัวอย่าง นาย ก. เปน็ ลกู หนีข้ องนาย ข. ตํอมาเมื่อถึงกําหนดชําระหนี้ นาย ก.
ไดข๎ อปฏบิ ัตกิ ารชาํ ระหน้โี ดยชอบ แตํนาย ข. ไมยํ อมรับชําระหนี้ โดยปราศจากมูลเหตุอันจะ
อ๎างกฎหมายได๎ ดังน้ี นาย ข. ยํอมตกเป็นผ๎ูผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 207 และบรรดาความรับผิดชอบอันเกดิ แตํการไมชํ ําระหนีก้ เ็ ปน็ อันปลดเปลื้องไป นับ
แตํเวลาทข่ี อปฏบิ ตั ิการชาํ ระหนี้น้นั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 330 เชํน
นาย ก. ไมํต๎องรับผิดในดอกเบี้ยในระหวํางเวลาผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 224

เม่ือนาย ข. บอกป๓ดไมํยอมรับชําระหน้ี นาย ก. จึงมีสิทธิวางทรัพย๑ได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 331 หากตอํ มา นาย ก. จะถอนทรัพย๑ที่วางน้ัน ก็
สามารถทําได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 334 โดยบรรดาความ

316

รับผิดชอบอันเกิดแตํการไมํชําระหนี้ เป็นอันปลดเปล้ืองไปแล๎ว นับแตํเวลาท่ีขอปฏิบัติการ
ชําระหนี้นั้น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 330 เชํน นาย ก. ไมํต๎องรับผิด
ในดอกเบี้ยในระหวํางเวลาผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 224
เพยี งแตํนาย ก. ยงั ไมํหลุดพ๎นจากหนนี้ น้ั

ข้อสังเกต ถ๎าลูกหนี้ถอนทรัพย๑ที่วางตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 334 ลูกหนี้จะอ๎างสิทธิตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 331 วําหลุด
พน๎ จากหนี้แล๎วไมไํ ด๎ แตํยังคงสามารถอ๎างสทิ ธิตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
330 วาํ บรรดาความรบั ผิดชอบอนั เกิดแตํการไมํชําระหน้ีเป็นอันปลดเปลื้องไป นับแตํเวลาที่
ขอปฏิบัติการชําระหนน้ี ้ันได๎

ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 334 วรรคสอง สิทธิถอนทรัพย๑
เป็นอันขาด คือ ไมสํ ามารถถอนทรัพย๑ที่วางได๎อีก ในกรณตี ํอไปนี้

(1) ถ๎าลูกหน้ีแสดงตํอสํานักงานวางทรัพย๑วําตนยอมละสิทธิท่ีจะถอน
หมายความวํา ลกู หนแ้ี สดงตํอสํานักงานวางทรพั ยว๑ าํ ตนยอมสละสทิ ธิท่จี ะถอนทรพั ยท๑ วี่ างไว๎

(2) ถ๎าเจ๎าหนแ้ี สดงตํอสาํ นักงานวางทรัพย๑วาํ จะรับเอาทรัพย๑นั้น หมายความวํา
แม๎เจ๎าหนย้ี ังมิได๎ไปรบั ทรัพยท๑ ่วี างไวน๎ ัน้ เพียงแตํได๎แสดงตํอสํานักงานวางทรัพย๑วําจะรับเอา
ทรัพยน๑ ัน้ ไป ลูกหนไี้ มมํ สี ิทธิจะถอนทรัพย๑ทีว่ างไวแ๎ ลว๎ และเปน็ กรณยี ิ่งกวาํ ถา๎ เจ๎าหน้ไี ดไ๎ ปรับ
ทรพั ย๑ที่วางไวแ๎ ลว๎ โดยสภาพลกู หนย้ี อํ มไมํมีสิทธิจะถอนทรัพย๑ท่ีวางไว๎แล๎ว

(3) ถ๎าการวางทรัพย๑น้ันได๎เป็นไปโดยคําสั่งหรืออนุมัติของศาล และได๎บอก
กลําวความนัน้ แกํสํานกั งานวางทรพั ย๑ กลําวคอื การวางทรพั ยต๑ ามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 331 นั้นลกู หนี้มีสิทธิวางทรพั ย๑อันเป็นวตั ถแุ หงํ หนีไ้ ว๎ได๎ โดยไมํต๎องขออนุมัติ
จากศาล แตหํ ากเปน็ การวางทรพั ยใ๑ นกรณอี ่ืน ๆ ท่เี ป็นไปโดยคาํ สั่งหรอื อนุมตั ขิ องศาล เมื่อได๎
บอกกลําวความน้ันแกสํ ํานกั งานวางทรพั ย๑แล๎ว ลกู หน้ียํอมไมํมีสทิ ธิจะถอนทรัพยท๑ ่วี างไว๎นน้ั

2.19 ศาลจะสง่ั ยึดสทิ ธิถอนทรัพยไ์ ม่ได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 335 บัญญัติวํา “ สิทธิถอน

ทรพั ย๑นัน้ ตามกฎหมายศาลจะส่ังยดึ หาได๎ไมํ
เมื่อได๎ฟอ้ งคดลี ๎มละลายเก่ยี วกบั ทรัพย๑สินของลูกหนี้แล๎ว ทํานห๎ามมิให๎ใช๎สิทธิ

ถอนทรพั ย๑ในระหวํางพิจารณาคดลี ๎มละลาย”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 335 วรรคแรก สิทธิถอน

ทรพั ย๑นั้น ตามกฎหมายศาลจะสั่งยึดหาไมํได๎ หมายความวํา แม๎ตราบใดท่ีเจ๎าหน้ียังไมํได๎ไป
รบั เอาทรพั ย๑ท่ีวางไวน๎ ้นั ไป ทรพั ย๑นัน้ กย็ ํอมยังคงเป็นของลูกหนี้อยูํ ซึ่งลกู หนี้มีสิทธิถอนทรัพย๑
ได๎ก็ตาม แตํศาลจะสั่งยึดสิทธิถอนทรัพย๑ของลูกหนี้ เพ่ือยึดเอาทรัพย๑สินท่ีวางทรัพย๑ไว๎มา
ชําระหนี้ไมํได๎

317

ตัวอย่าง นาย ก. เป็นลูกหนี้ของนาย ข. จํานวน 10,000 บาท ตํอมานาย ก.
ได๎นําเงินจํานวน 10,000 บาท ไปวางทรัพย๑ไว๎ให๎แกํนาย ข. ดังนี้ นาย ค. เจ๎าหนี้ตาม
คําพิพากษาของนาย ก. จะร๎องขอให๎ศาลส่ังยึดสิทธิถอนทรัพย๑ของลูกหน้ี เพ่ือยึดเอาเงิน
จํานวน 10,000 บาท ท่ีนาย ก. ไดว๎ างทรัพย๑ไวน๎ น้ั เพ่ือนาํ มาชาํ ระหนใ้ี หแ๎ กํตนไมํได๎

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 335 วรรคสอง เมื่อได๎ฟ้องคดี
ล๎มละลายเก่ียวกับทรัพย๑สินของลูกหน้ีแล๎ว ทํานห๎ามมิให๎ใช๎สิทธิถอนทรัพย๑ในระหวําง
พจิ ารณาคดีล๎มละลาย เนื่องจากในระหวํางฟ้องคดีล๎มละลาย สิทธิในการถอนทรัพย๑ยังเป็น
ของลูกหนี้ แตํหากศาลได๎มีคําพิพากษาให๎ลกู หน้ลี ๎มละลายแลว๎ สิทธิในการถอนทรัพย๑จะเป็น
ของเจ๎าพนักงานพิทักษ๑ทรัพย๑ ดังน้ัน หากไมํกําหนดบทบัญญัติมาตรานี้ไว๎ ในระหวําง
พจิ ารณาคดีล๎มละลาย ลูกหนี้อาจจําหนํายจํายโอนทรัพย๑สินไปจนหมด และเมื่อศาลได๎มีคํา
พิพากษาให๎ล๎มละลาย กจ็ ะเกิดปญ๓ หาในการจดั การคดลี ม๎ ละลายได๎

2.20 การขายทอดตลาดทรพั ย์ทีไ่ ม่ควรแกก่ ารจะวางทรัพย์ไว้
2.20.1 หลกั เกณฑก์ ารขายทอดตลาดทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 336 บัญญัติวํา “ถ๎า

ทรพั ยอ๑ ันเปน็ วัตถุแหํงการชําระหน้ีไมํควรแกํการจะวางไว๎ก็ดี หรือเป็นท่ีพึงวิตกวําทรัพย๑นั้น
เกลือกจะเสอ่ื มเสียหรือทําลายหรือบุบสลายได๎ก็ดี เม่ือได๎รับอนุญาตจากศาล บุคคลผ๎ูชําระหน้ี
จะเอาทรพั ยน๑ ั้นออกขายทอดตลาด แล๎วเอาเงินที่ได๎แตํการขายวางแทนทรัพย๑น้ันก็ได๎ ความ
ขอ๎ นท้ี ํานให๎ใช๎ตลอดถงึ กรณีทค่ี ํารักษาทรัพย๑จะแพงเกนิ ควรนนั้ ดว๎ ย”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 336 หมายความวํา
เม่ือบคุ คลผ๎ูชําระหนี้ไดข๎ ออนญุ าตจากศาล และศาลได๎พิจารณาแล๎วเห็นสมควรอนุญาต บุคคล
ผู๎ชําระหน้ีจะเอาทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหน้ี ซ่ึงเป็นทรัพย๑ท่ีไมํควรแกํการจะวาง
ทรัพยไ๑ ว๎ ออกขายทอดตลาด แล๎วเอาเงินที่ได๎จากการขายทอดตลาดน้ันไปวางไว๎แทนทรัพย๑
อันเป็นวัตถุแหงํ การชําระหนก้ี ไ็ ด๎

อยาํ งไรก็ดี ทรัพยอ๑ นั เปน็ วัตถุแหํงการชําระหน้ี ซึ่งเป็นทรัพย๑ที่ไมํควร
แกกํ ารจะวางทรัพย๑ไว๎ ทีจ่ ะนําออกขายทอดตลาดได๎ ต๎องมลี ักษณะดงั น้ี

1. ทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหน้ีไมํควรแกํการจะวางไว๎
หมายความวาํ ทรัพยอ๑ นั เป็นวตั ถแุ หํงการชาํ ระหนนี้ ้ันไมํสมควรท่ีจะนํามาวางทรัพย๑ โดยอาจ
เป็นกรณที ีท่ รัพยน๑ ั้นมีขนาดใหญโํ ตเกินไป เชนํ เรอื ประมง เครื่องบินเล็ก ฯลฯ หรือกรณีของ
สตั วต๑ ําง ๆ ซ่งึ ไมสํ ะดวกแกํการเกบ็ และการดแู ลรักษา เชนํ ช๎าง มา๎ ววั ควาย ไกํ นก งู ฯลฯ

2. เป็นที่พึงวิตกวําทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหน้ีนั้นเกลือกจะ
เส่อื มเสียหรือทําลายหรือบบุ สลาย

318

สาํ หรบั บทบัญญัติท่ีวํา ทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหนี้นั้นอาจ
เส่ือมเสีย หมายความวาํ ทรพั ย๑อนั เป็นวัตถแุ หํงการชําระหนี้น้นั อาจเนําเสีย เชํน ผัก ผลไม๎ เนื้อ
สด เปน็ ตน๎

สําหรับบทบัญญัติท่ีวํา ทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหนี้อาจ
ทําลาย หมายความวําทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหน้ีน้ันอาจกํอให๎เกิดอันตราย เชํน
ระเบดิ พลุ ดอกไมไ๎ ฟ สารเคมตี าํ ง ๆ เปน็ ต๎น

สาํ หรบั บทบัญญัติท่ีวํา ทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหนี้อาจบุบ
สลาย เชํน พระเครอื่ งเนื้อผงซ่ึงบุบสลายงาํ ย เปน็ ตน๎ 94

3. คํารักษาทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหน้ีแพงเกินควร
หมายความวําทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหน้ีต๎องใช๎วิธีการดูแลและเก็บรักษาด๎วย
มาตรการแบบพเิ ศษ ซึง่ มรี าคาแพงเกนิ กวําวธิ กี ารดูแลและเกบ็ รกั ษาทรพั ย๑ทว่ั ๆ ไป

ขอ้ สงั เกต การขายทอดตลาด หมายถึง การขายทรัพย๑สินที่กระทําโดย
เปิดเผยแกํบุคคลทั่วไป ด๎วยวิธีเปิดโอกาสให๎ผู๎ซื้อสู๎ราคากัน ผู๎ใดให๎ราคาสูงสุด และผู๎ขาย
ทอดตลาดแสดงความตกลงด๎วยเคาะไม๎หรอื ดว๎ ยกริ ยิ าอยํางอ่ืนตามจารีตประเพณีในการขาย
ทอดตลาด การซื้อขายนน้ั เป็นอนั สมบูรณ๑95 ซึ่งการท่ีกฎหมายกําหนดวําให๎ขายทอดตลาด ก็
เพื่อป้องกันลูกหนี้กับบุคคลภายนอกสมยอมโดยตกลงซ้ือขายกันในราคาถูก ๆ อันจะทําให๎
เจ๎าหนไ้ี ดร๎ ับความเสียหาย

2.20.2 การบอกใหเ้ จ้าหนี้รู้ตัวก่อนนาทรัพย์ขายทอดตลาด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 337 บัญญัติวํา “ทํานไมํ

อนญุ าตใหเ๎ อาทรพั ยอ๑ อกขายทอดตลาด จนกวาํ จะได๎บอกใหเ๎ จ๎าหนรี้ ๎ูตวั กอํ น การบอกนี้จะงด
เสียก็ได๎ ถา๎ ทรพั ย๑นัน้ อาจเสอื่ มทรามลงหรอื ภัยมีอยใูํ นการที่จะหนํวงการขายทอดตลาดไว๎

ในการท่ีจะขายทอดตลาดนั้น ทํานให๎ลูกหน้ีบอกกลําวแกํเจ๎าหนี้โดยไมํ
ชักช๎า ถ๎าละเลยเสยี ไมบํ อกกลาํ ว ลกู หน้จี ะตอ๎ งรับผิดใช๎คาํ สินไหมทดแทน

การบอกใหร๎ ตู๎ ัวและบอกกลําวนี้ ถา๎ ไมํเป็นอันจะทําได๎ จะงดเสยี กไ็ ด๎
เวลาและสถานท่ีท่ีจะขายทอดตลาด กับท้ังคําพรรณนาลักษณะแหํงทรัพย๑
น้ัน ทํานให๎ประกาศโฆษณาใหป๎ ระชาชนทราบ”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 337 วรรคแรก หมายความ
วํา กอํ นท่ีจะนาํ ทรัพยอ๑ อกขายทอดตลาด จะต๎องมีการบอกให๎เจ๎าหน้ีรู๎ตัวกํอน เพราะเจ๎าหน้ี

94สนุ ทร มณีสวสั ด์ิ, เร่อื งเดมิ , หนา๎ 337.
95ราชบณั ฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, พิมพ๑คร้ัง
ที่ 2 (กรงุ เทพมหานคร: ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556), หน๎า 190.

319

อาจไมํต๎องการให๎ขายทอดตลาดทรัพย๑น้ันก็ได๎ ซึ่งในกรณีท่ีเจ๎าหนี้ไมํต๎องการให๎ขาย
ทอดตลาด และเจ๎าหนป้ี ระสงคจ๑ ะรบั ชาํ ระหน้ี เจ๎าหนีก้ จ็ ะไดม๎ ารับทรพั ย๑น้ันไป

แตํอยํางไรก็ดี การบอกให๎เจ๎าหนี้รู๎ตัวกํอนในเร่ืองท่ีจะนําทรัพย๑ออกขาย
ทอดตลาดนี้ จะงดเสียก็ได๎ คือ ไมํต๎องบอกเจ๎าหน้ีกํอนก็ได๎ ถ๎าทรัพย๑น้ันอาจเส่ือมทรามลง
หรือภยั มีอยูํในการทีจ่ ะหนวํ งการขายทอดตลาดไว๎ เชนํ ทรพั ย๑น้ันเปน็ สิ่งของท่ีโดยสภาพหาก
ปลอํ ยให๎ชา๎ ไปอีกจะทาํ ใหเ๎ นาํ เสยี หรอื ราคาตกต่ํา เชนํ ผลไม๎ เปน็ ตน๎

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 337 ว ร ร คสอ ง
หมายความวํา ในการที่จะขายทอดตลาดนั้น ลูกหนี้มีหน๎าที่ที่จะต๎องบอกกลําวไปยัง
เจ๎าหนี้ ซึ่งในการบอกกลําวนี้ กฎหมายกําหนดวําต๎องบอกกลําวโดยไมํชักช๎า และถ๎า
ลูกหน้ีละเลยเสียไมํบอกกลําว ลูกหนี้จะต๎องรับผิดใช๎คําสินไหมทดแทน ในกรณีที่เกิดความ
เสยี หายขน้ึ เชํน การขายทอดตลาดนั้นขายได๎ราคาต่ําหรือนอ๎ ยเกนิ ไป เปน็ ต๎น

ข้อสังเกต ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 337 วรรคแรก
และวรรคสอง การบอกแกเํ จา๎ หนตี้ ๎องทํา 2 คร้ัง คือ “การบอกให๎รู๎ตัวกํอน” และ “การบอก
กลําว” โดยการบอกให๎รูต๎ ัวกอํ นน้ัน กเ็ พือ่ วาํ หากเจา๎ หน้ไี มํต๎องการให๎ขายทอดตลาด เจ๎าหนี้ก็
จะได๎มารับทรัพย๑น้ันไป สวํ นการบอกกลําวนน้ั หมายถึง การบอกให๎เจ๎าหน้ีทราบถึงเวลาและ
สถานที่ทจ่ี ะขายทอดตลาด เพือ่ ให๎เจา๎ หน้ไี ด๎มสี ิทธิมาส๎ูราคาในการขายทอดตลาด เผื่อวําการ
ขายทอดตลาดนัน้ จะขายไดร๎ าคาตํ่าหรอื น๎อยเกินไป

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 3 37 ว ร ร คสา ม
หมายความวํา การบอกให๎รู๎ตัวและบอกกลําวนี้ ถ๎าทําไมํได๎ จะงดเสียก็ได๎ เชํน ในกรณีท่ี
ลูกหน้ีไมํสามารถจะหย่ังร๎ูถึงสิทธิหรือไมํรู๎ตัวเจ๎าหนี้ได๎แนํนอนโดยมิใชํเป็นความผิดของตน
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 331 หรือลูกหน้ีไมํร๎ูวําเจ๎าหน้ีย๎ายภูมิลําเนา
ไปท่ีไหน เป็นต๎น

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 3 37 ว ร ร คท๎าย
หมายความวํา เม่ือได๎กําหนดให๎มีการขายทอดตลาดแนํนอนแล๎ว ก็ให๎ประกาศโฆษณาให๎
ประชาชนทราบ ถึงเวลาและสถานท่ีท่ีจะขายทอดตลาด กับทั้งคําพรรณนาลักษณะแหํง
ทรัพย๑น้ัน เพ่ือให๎ประชาชนท่ัวไปได๎มาสู๎ราคาในการขายทอดตลาดกันจํานวนมาก ๆ ซ่ึงจะ
เป็นผลให๎การขายทอดตลาดนัน้ ขายไดร๎ าคาสงู ๆ

2.21 ค่าฤชาธรรมเนยี มในการวางทรัพย์หรือขายทอดตลาด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 338 บัญญัติวํา “คําฤชาธรรม

เนียมในการวางทรัพย๑หรือขายทอดตลาดนั้น ให๎ฝ่ายเจ๎าหนี้เป็นผ๎ูออก เว๎นแตํลูกหน้ีจะได๎
ถอนทรัพยท๑ ว่ี าง”

320

เนื่องจากการวางทรัพย๑หรือขายทอดตลาดน้ัน มิได๎เกิดข้ึนจากความผิดของ
ลกู หน้ี และลูกหนีไ้ ดก๎ ระทาํ ไปก็เพ่ือประโยชน๑ของเจา๎ หนี้ ดังนนั้ กฎหมายจึงกําหนดให๎เจ๎าหนี้
เปน็ ผ๎ูมีหนา๎ ทตี่ ๎องชําระคาํ ฤชาธรรมเนียมดงั กลําว

สํวนการถอนทรัพย๑ท่ีวาง เน่ืองจากประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
334 วรรคแรก กําหนดวําถ๎าลูกหน้ีถอนทรัพย๑ ก็ถือเสมือนวํามิได๎วางทรัพย๑ไว๎เลย กลําวคือ
เจ๎าหนม้ี ไิ ดร๎ บั ประโยชน๑จากการวางทรัพย๑แล๎วถอนการวางทรัพย๑น้ันเลย ดังนั้น กฎหมายจึง
กาํ หนดให๎ลกู หนีเ้ ป็นผมู๎ หี นา๎ ทีต่ อ๎ งชาํ ระคาํ ฤชาธรรมเนยี มนัน้

2.22 ความระงบั แหง่ สิทธขิ องเจ้าหนเ้ี หนอื ทรพั ยท์ ว่ี างไว้
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 339 บัญญัติวํา “สิทธิของเจ๎าหน้ี

เหนือทรพั ยท๑ ่วี างไว๎น้นั เป็นอันระงับสนิ้ ไป เมื่อพน๎ เวลาสิบปีนับแตํได๎รับคําบอกกลําวการวาง
ทรพั ย๑

อนึ่ง เมื่อสิทธขิ องเจา๎ หนรี้ ะงับส้ินไปแล๎ว ถึงแม๎ลูกหน้ีจะได๎ละสิทธิถอนทรัพย๑ก็
ยังชอบทจ่ี ะถอนทรัพยน๑ น้ั ได๎”

ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 339 วรรคแรก หมายความวํา
เจ๎าหน้ีมีสิทธิเหนือทรัพย๑ที่วางไว๎นั้นเป็นระยะเวลา 10 ปี นับแตํได๎รับคําบอกกลําวการวาง
ทรพั ย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 333 วรรคท๎าย คือ เจ๎าหน้ีต๎องไปรับ
ทรัพย๑ที่วางไว๎นั้นภายในกําหนดระยะเวลาไมํเกิน 10 ปี นับแตํได๎รับคําบอกกลําวการวาง
ทรัพย๑นน้ั มเิ ชนํ นน้ั สิทธขิ องเจ๎าหน้ีเหนอื ทรพั ยท๑ ว่ี างไว๎นัน้ เป็นอนั ระงับส้ินไป คือ เจ๎าหน้ีจะ
ไมมํ ีสิทธไิ ปรบั ทรพั ยท๑ ่วี างไว๎นน้ั อกี

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 339 วรรคท๎าย หมายความวํา
แม๎ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 334 วรรคสอง (1) จะกําหนดวําสิทธิถอน
ทรัพย๑น้ีเป็นอันขาดไป เมื่อลูกหน้ีแสดงตํอสํานักงานวางทรัพย๑วําตนยอมละสิทธิท่ีจะถอนก็
ตาม แตถํ า๎ พ๎นกาํ หนดระยะเวลาสบิ ปีนบั แตํเจ๎าหนไี้ ด๎รบั คาํ บอกกลําวการวางทรัพย๑ อันทําให๎
สิทธิของเจา๎ หนี้เหนือทรพั ยท๑ ีว่ างไว๎น้ันเปน็ อันระงับส้ินไปแล๎ว ลกู หนย้ี อํ มมีสิทธิถอนทรพั ยน๑ ้นั
ได๎

3. การปลดหนี้
บทบัญญัติเกี่ยวกบั การแปลงหน้ใี หมํกาํ หนดไวใ๎ นประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑

มาตรา 340 ดังน้ี
3.1 ความหมายของการปลดหนี้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 340 วรรคแรก บัญญัติวํา “ถ๎า

เจ๎าหนีแ้ สดงเจตนาตํอลูกหน้วี าํ จะปลดหน้ใี ห๎ ทํานวําหน้นี ้ันกเ็ ปน็ อันระงับสนิ้ ไป”

321

การปลดหนี้ คอื การท่เี จา๎ หนี้แสดงเจตนาสละสิทธิเรียกร๎องของตนให๎แกํลูกหนี้
โดยเสนํหา อันมีผลทําให๎หน้ีระงับลง โดยเจ๎าหนี้มีสิทธิปลดหน้ีได๎เสมอ ไมํวําหน้ีน้ันจะมี
บํอเกดิ แหํงหนี้มาจากนติ ิกรรมหรอื นติ ิเหตุหรอื บทบัญญตั แิ หํงกฎหมาย

ข้อสังเกต การปลดหนี้คล๎ายกับสัญญาให๎ ซ่ึงเป็นการกระทําโดยเสนํหา
เหมอื นกัน และตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 522 กําหนดวําการให๎นั้นจะ
ทําด๎วยการปลดหน้ีให๎แกํผ๎ูรับก็ได๎ ดังนั้น การปลดหน้ีจึงถือเป็นการให๎อยํางหนึ่ง
แตํอยํางไรกด็ ี การใหแ๎ ตกตํางจากการปลดหนี้ ดงั น้ี

1. การให๎เป็นนิติกรรมสองฝ่าย ซ่ึงผ๎ูรับต๎องยอมรับเอาทรัพย๑สินน้ัน ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 521 แตํการปลดหน้ีเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวจาก
เจ๎าหน้ี โดยไมํต๎องได๎รับความยินยอมจากลูกหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 340 วรรคแรก

2. การให๎นั้นยํอมสมบูรณ๑ตํอเม่ือสํงมอบทรัพย๑สินท่ีให๎ ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 523 แตํการปลดหนน้ี ้ัน คอื การไมํตอ๎ งชาํ ระหน้ี โดยการกระทาํ การ
งดเว๎นกระทาํ การ สํงมอบทรัพยส๑ ิน

การปลดหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคแรก
กําหนดวําเจา๎ หนี้แสดงเจตนาตํอลูกหนี้วําจะปลดหน้ีให๎ ซ่ึงหมายความวํา ต๎องเป็นการแสดง
เจตนาฝา่ ยเดียวของเจ๎าหน้ีตํอลูกหน้ี หากเป็นการแสดงเจตนาตํอบุคคลอื่น ก็ไมํถือเป็นการ
ปลดหนี้

อยํางไรกด็ ี การปลดหนี้น้ี ไมํต๎องขอความยินยอมจากลูกหน้ี คือ ไมํต๎องคํานึงวํา
ลูกหนี้จะยินยอมหรือไมํ และในกรณีท่ีหน้ีน้ันเป็นหน้ีท่ีแบํงชําระได๎ เจ๎าหน้ีจะปลดหน้ีให๎
ทั้งหมดหรอื บางสํวนก็ได๎ ตวั อยําง หน้ีเงินจาํ นวน 100,000 บาท เจา๎ หน้จี ะปลดหนีใ้ ห๎ท้ังหมด
คือ จํานวน 100,000 บาท หรือจะปลดหน้ีให๎บางสํวน เชํน จํานวน 50,000 บาท เป็นต๎น
ก็ได๎ แตํถ๎าหนี้น้ันเป็นหนี้ท่ีแบํงชําระไมํได๎ เชํน หนี้สํงมอบรถยนต๑ 1 คัน หรือหนี้สํงมอบม๎า
1 ตัว เป็นตน๎ โดยสภาพแหํงหนี้อาจตอ๎ งทาํ การปลดหน้ีให๎ทง้ั หมด เจ๎าหน้ีจะปลดหน้ีบางสํวน
ไมํได๎ (อยาํ งไรก็ดี กฎหมายไมํได๎หา๎ มเจา๎ หนปี้ ลดหนีบ้ างสวํ น) นอกจากนั้น เจ๎าหนี้จะปลดหนี้
ให๎แกํลูกหนีร้ ํวมบางคนก็ได๎

ทงั้ นี้ การปลดหนี้ตามกฎหมายของประเทศไทยนั้น เป็นเรื่องที่เจ๎าหนี้กระทําโดย
เสนํหา ดังน้ัน หากลูกหน้ีต๎องชําระคําตอบแทน จึงไมํถือเป็นการปลดหน้ี ซึ่งตํางจาก
กฎหมายของบางประเทศ เชํน ประเทศอังกฤษ ซึ่งกําหนดวําการปลดหน้ีต๎องทําเป็นสัญญา
และเม่ือต๎องทําเป็นสญั ญาแลว๎ ก็ต๎องมีคําตอบแทน เป็นต๎น และการปลดหนตี้ ามกฎหมายไทย
เป็นเรื่องการแสดงเจตนาของเจ๎าหนี้เทําน้ัน ไมํต๎องมีเหตุหรือข๎ออ๎างตามกฎหมาย การท่ี
เจ๎าหนี้จะปลดหนี้ให๎หรือไมํจึงเป็นเรื่องสุดแตํใจของเจ๎าหน้ี จะด๎วยความสงสารหรือความ
เกลียดชังไมอํ ยากเห็นหนา๎ หรือเพราะต๎องการสร๎างบารมี หรือเพื่อความพึงพอใจ อยํางใดก็

322

ได๎ท้ังสิ้น96 ตํางจากกฎหมายของบางประเทศ เชํน ฝรั่งเศส ซ่ึงกําหนดวําการปลดหนี้ต๎องทํา
เป็นสญั ญา โดยสัญญาจะผูกพันกันได๎จะต๎องมีเหตุหรือข๎ออ๎างตามกฎหมาย (cause) ดังน้ัน
การปลดหนีจ้ งึ ต๎องมีเหตุหรอื ข๎ออา๎ งตามกฎหมายด๎วย มิฉะน้ันกไ็ มํมีผลให๎หนี้ระงับ97

3.2. วิธีการปลดหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 340 วรรคสอง บัญญัติวํา “ถ๎า

หนี้มีหนังสอื เป็นหลักฐาน การปลดหนี้ก็ต๎องทําเป็นหนังสือด๎วย หรือต๎องเวนคืนเอกสารอัน
เป็นหลักฐานแหํงหนใี้ ห๎แกลํ ูกหนี้ หรอื ขีดฆาํ เอกสารนน้ั เสยี ”

ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคสอง อธิบายได๎ดังน้ี
1. บทบัญญัติที่วํา “ถ๎าหนี้มีหนังสือเป็นหลักฐาน” หมายความวํา ถ๎าในทาง
ข๎อเท็จจริง หนี้รายใดมีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือได๎ทําเป็นหนังสือ ก็ยํอมอยูํในบังคับแหํง
บทบัญญัติมาตรานี้ กลําวคือ การปลดหน้ีก็ต๎องทําเป็นหนังสือ หรือต๎องเวนคืนเอกสารอัน
เป็นหลกั ฐานแหงํ หน้ีให๎แกํลูกหน้ี หรือขีดฆําเอกสารน้ันเสีย แตํถ๎าในทางข๎อเท็จจริง หน้ีราย
ใดไมํมีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือไมํได๎ทําเป็นหนังสือ ก็ยํอมไมํอยูํในบังคับแหํงบทบัญญัติ
มาตราน้ี กลําวคอื การปลดหน้ีจะทําดว๎ ยวาจาหรือจะทาํ เป็นหนงั สือกไ็ ด๎

ข้อสังเกต วิธีการปลดหนี้นั้น ให๎พิจารณาวําในทางข๎อเท็จจริง หนี้มี
หลักฐานเป็นหนังสือหรือได๎ทําเป็นหนังสือหรือไมํเทําน้ัน ไมํต๎องคํานึงถึงวําหนี้รายน้ัน
กฎหมายกําหนดใหต๎ อ๎ งมีหลกั ฐานเปน็ หนงั สอื หรอื ต๎องทาํ เป็นหนงั สอื หรือไมํ

ตัวอย่างท่ี 1 นาย ก. กู๎ยืมเงินไปจากนาย ข. จํานวน 1,000 บาท ซึ่ง
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 653 มิได๎กําหนดให๎ต๎องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
ดังนี้ ถ๎าในทางข๎อเท็จจริง หน้รี ายน้ีมหี ลกั ฐานเป็นหนังสอื กลําวคอื การปลดหนี้ก็ต๎องทําเป็น
หนังสือ หรือต๎องเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหน้ีให๎แกํลูกหน้ี หรือขีดฆําเอกสารนั้น
เสีย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคสอง แตํถ๎าในทางข๎อเท็จจริง
หนีร้ ายน้ีมไิ ด๎มีหลักฐานเปน็ หนังสือ การปลดหนี้จะทําด๎วยวาจาหรือจะทําเปน็ หนงั สือกไ็ ด๎

ตัวอย่างที่ 2 นาย ก. กู๎ยืมเงินไปจากนาย ข. จํานวน 3,000 บาท ซึ่ง
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 653 กําหนดให๎ต๎องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ดังนี้
ถ๎าในทางข๎อเท็จจริง หนี้รายน้ีมีหลักฐานเป็นหนังสือ กลําวคือ การปลดหน้ีก็ต๎องทําเป็น
หนังสือ หรือต๎องเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหน้ีให๎แกํลูกหน้ี หรือขีดฆําเอกสารน้ัน
เสยี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคสอง แตํถ๎าในทางข๎อเท็จจริง
หนร้ี ายน้ีมิไดม๎ หี ลักฐานเปน็ หนงั สือ การปลดหนี้จะทาํ ดว๎ ยวาจาหรอื จะทาํ เปน็ หนังสอื กไ็ ด๎

96สุนทร มณสี วัสด์ิ, เรอ่ื งเดิม, หนา๎ 344-345.
97โสภณ รัตนากร, เรอ่ื งเดมิ , หน๎า 523.

323

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2432/2540 การท่ีโจทก๑แถลงวํา โจทก๑และจําเลย
ตกลงกันไดแ๎ ล๎วและโจทก๑ได๎รบั ชาํ ระหนีเ้ ป็นทีพ่ อใจแลว๎ โจทก๑ไมํประสงค๑จะบังคับคดีนี้ตํอไป
จงึ ขอถอนการยึดทรัพย๑คดนี ีแ้ ละขอถอนการบงั คับคดีเสยี ท้งั สนิ้ น้ัน ถือเป็นการปลดหนี้สํวนท่ี
เหลือให๎แกํจําเลยแล๎ว ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา340 โจทก๑จึงนําหน้ี
ดงั กลาํ วมาเปน็ มลู ฟ้องคดีอกี ไมํได๎

2. ในกรณที ี่กฎหมายกําหนดให๎นติ กิ รรมรายใดต๎องทําเป็นหนังสือ เชํน สัญญา
เชําซ้อื ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 572 เปน็ ตน๎ แลว๎ นติ กิ รรมรายน้ันมิได๎
ทําให๎ถูกต๎องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว๎ นิติกรรมน้ันยํอมตกเป็นโมฆะ ซ่ึงเม่ือนิติกรรม
ตกเป็นโมฆะ จึงไมํกอํ ให๎เกดิ หนี้ และเมือ่ ไมํมีหนี้ กไ็ มํจาํ ต๎องมกี ารปลดหน้ี

3. การเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหน้ีให๎แกํลูกหนี้ หรือขีดฆําเอกสาร
น้ันเสีย อันจะถือวําเป็นการปลดหนี้ ต๎องเปน็ การกระทําท่ีเกิดจากเจตนาที่แท๎จริงของเจ๎าหนี้
ไมํใชเํ กิดจากการใชก๎ ลอุบายหลอกลวง (คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 965/2537)

ท้ังนี้ ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคสอง เป็น
บทบัญญัติทั่วไป แตํถ๎ากรณีใดมีกฎหมายเฉพาะกําหนดไว๎ ก็ต๎องบังคับตามกฎหมายเฉพาะ
นั้น

ตัวอย่าง ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ 746 บญั ญัติวํา “การชําระหนี้ไมํ
วําครั้งใด ๆ สิ้นเชิงหรือแตํบางสํวนก็ดี การระงับหน้ีอยํางใด ๆ ก็ดี การตกลงกันแก๎ไข
เปล่ียนแปลงจาํ นองหรือหนอี้ ันจํานองเป็นประกนั นั้นเป็นประการใดก็ดี ทํานวําต๎องนําความ
ไปจดทะเบียนตอํ พนกั งานเจา๎ หน๎าท่ี ในเมื่อมีคาํ ขอรอ๎ งของผูม๎ ีสวํ นไดเ๎ สยี มฉิ ะน้ัน ทํานห๎ามมิ
ให๎ยกข้ึนเป็นขอ๎ ตํอส๎ูบุคคลภายนอก”

ดังน้นั
1. ถ๎าการปลดหน้ีจํานองได๎ทําเป็นหนังสือ หรือต๎องเวนคืนเอกสารอันเป็น
หลักฐานแหํงหนี้ให๎แกํลูกหนี้ หรือขีดฆําเอกสารนั้นเสีย ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 340 วรรคสอง และได๎มีการนาํ ความนนั้ ไปจดทะเบยี นตํอพนักงานเจ๎าหน๎าท่ี
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ 746 แล๎ว การปลดหน้ีนั้นยํอมยกขึ้นเป็นข๎อตํอสู๎
บุคคลภายนอกได๎
2. ถ๎าการปลดหนี้จํานองได๎ทําเป็นหนังสือ หรือต๎องเวนคืนเอกสารอันเป็น
หลักฐานแหํงหนี้ให๎แกํลูกหนี้ หรือขีดฆําเอกสารนั้นเสีย ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคสอง และแตํมิได๎มีการนําความนั้นไปจดทะเบียนตํอพนักงาน
เจ๎าหน๎าท่ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ 746 แล๎ว การปลดหน้ีนั้นมีผลผูกพัน
ระหวํางเจา๎ หน้ีและลกู หนี้เทํานน้ั จะยกขึ้นเป็นข๎อตํอสู๎บุคคลภายนอกไมํได๎ เชํน หากเจ๎าหนี้
ได๎โอนสทิ ธิเรียกร๎องในมูลหน้ีจํานองน้ันไปให๎แกํบุคคลภายนอก ลูกหนี้จะยกเรื่องการปลด
หนนี้ ้ีขน้ึ เปน็ ขอ๎ ตํอสูบ๎ ุคคลภายนอกไมไํ ด๎ เป็นตน๎

324

3.3 ผลของการปลดหน้ี
เมอ่ื เจา๎ หนไี้ ด๎ปลดหนีใ้ หแ๎ กลํ ูกหนี้แล๎ว หน้นี ้นั ยํอมระงับสิ้นไป โดยหากเป็นการ

ปลดหน้ีให๎ทั้งหมด หน้ีก็จะระงับไปทั้งหมด กลําวคือ ถ๎าปลดหน้ีประธานและหนี้อุปกรณ๑
หน้ีก็จะระงับไปท้ังหมด ถ๎าปลดหนี้ประธาน หนี้อุปกรณ๑ก็จะระงับไปด๎วย แตํหากเป็นการ
ปลดหนี้บางสวํ น หนก้ี ็จะระงบั ไปบางสวํ น

สาํ หรับกรณเี จ๎าหน้ีจะปลดหน้ีให๎แกํลูกหนี้รํวมบางคนน้ัน การปลดหนี้น้ันยํอม
เป็นไปเพ่ือประโยชน๑แกํลูกหนี้คนอ่ืน ๆ เพียงเทําสํวนของลูกหน้ีที่ได๎ปลดให๎ เว๎นแตํจะได๎
ตกลงกนั เป็นอยํางอืน่ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 293

4. การหักกลบลบหน้ี
บทบัญญัติเก่ียวกับการหักกลบลบหน้ีกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและ

พาณิชย๑ มาตรา 341 - 348 ดังนี้
4.1 หลกั เกณฑ์การหักกลบลบหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 341 บัญญัติวํา “ถ๎าบุคคลสองคน

ตาํ งมีความผกู พนั ซงึ่ กนั และกัน โดยมลู หน้ีอนั มวี ตั ถุเปน็ อยํางเดียวกัน และหนี้ทั้งสองรายน้ัน
ถงึ กาํ หนดจะชําระไซร๎ ทํานวําลูกหน้ีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยํอมจะหลุดพ๎นจากหน้ีของตน ด๎วยหัก
กลบลบกันไดเ๎ พยี งเทําจาํ นวนทต่ี รงกันในมูลหนีท้ ้ังสองฝา่ ยน้ัน เว๎นแตํสภาพแหํงหน้ีฝ่ายหนึ่ง
จะไมเํ ปดิ ชอํ งให๎หกั กลบลบกันได๎

บทบัญญัติดังกลําวมาในวรรคกํอนนี้ทํานมิให๎ใช๎บังคับ หากเป็นการขัดกับ
เจตนาอันคูํกรณีได๎แสดงไว๎ แตํเจตนาเชํนน้ีทํานห๎ามมิให๎ยกข้ึนเป็นข๎อตํอส๎ูบุคคลภายนอก
ผกู๎ ระทําการโดยสุจริต”

หลักเกณฑ์การหักกลบลบหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
341 มีดังน้ี

1. เจา๎ หนี้และลกู หนต้ี าํ งมคี วามผกู พันในการเปน็ หน้ีซ่ึงกันและกัน
2. หนี้ทั้งสองรายนนั้ มีวัตถุเปน็ อยํางเดยี วกนั
3. หน้ีท้ังสองรายน้นั ถงึ กาํ หนดจะชาํ ระ

1. เจ้าหนี้และลูกหน้ีต่างมีความผูกพันในการเป็นหน้ีซ่ึงกันและกัน กลําวคือ
หน้ที ั้งสองรายน้ันต๎องเป็นหนี้ท่ีสมบูรณ๑สามารถฟ้องร๎องบังคับคดีกันได๎ตามกฎหมาย จึงจะ
นํามาหักกลบลบหนก้ี ันได๎98

ทั้งน้ี ในกรณีท่ีลูกหน้ีรํวมคนใดคนหน่ึงมีสิทธิเรียกร๎องตํอเจ๎าหน้ี ลูกหน้ีรํวม
คนนนั้ จะใชส๎ ทิ ธิหกั กลบลบหนกี้ ็ได๎ และการทล่ี ูกหนีร้ วํ มกันคนนนั้ ใช๎สิทธิหักกลบลบหนี้ ยํอม

98ปราโมทย๑ จารุนลิ , เรอื่ งเดมิ , หน๎า 246.

325

ไดเ๎ ปน็ ประโยชนแ๑ กลํ ูกหน้คี นอื่น ๆ ดว๎ ย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 292
วรรคแรก แตํลูกหน้ีรํวมคนอื่น ๆ จะเอาสิทธิอันน้ันไปใช๎หักกลบลบหน้ีไมํได๎ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 292 วรรคสอง

2. หน้ีทั้งสองรายน้ันมีวัตถุเป็นอย่างเดียวกัน กลําวคือ เป็นหน้ีสํงมอบ
ทรัพย๑สินอยํางใดอยํางหน่ึงที่เหมือนกัน เชํน หนี้สํงมอบเงินเหมือนกัน หนี้สํงมอบนํ้าตาล
ทรายชนิดเดียวกัน เป็นต๎น แตํถ๎าหนี้รายแรกเป็นหนี้สํงมอบเงิน แตํหนี้รายหลังเป็นหนี้สํง
มอบนา้ํ ตาลทราย หรือหนี้รายแรกเปน็ หนี้สงํ มอบน้ําตาลทรายคุณภาพดีมาก แตํหนี้รายหลัง
เปน็ หนส้ี งํ มอบนา้ํ ตาลทรายคณุ ภาพปานกลาง ดังนี้ จะนาํ มาหกั กลบลบหนีก้ นั ไมไํ ด๎

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 1,000 บาท ตํอมา
นาย ข. ได๎มาซ้ือมะพร๎าวจากนาย ก. จํานวน 1,000 บาท เม่ือนาย ข. มีหน๎าที่สํงมอบเงิน
จาํ นวน 1,000 บาท ให๎แกํ นาย ก. สํวนนาย ก. มีหน๎าที่สํงมอบมะพร๎าวให๎แกํนาย ข. ดังน้ี
หน้ที ง้ั สองรายมิได๎มีวตั ถุเป็นอยํางเดยี วกัน จงึ ไมํสามารถหกั กลบลบหนีก้ นั ได๎

ตัวอย่างที่ 2 นาย ก. ให๎นาย ข. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 1,000 บาท ตํอมา
นาย ก. ได๎มาซื้อมะพร๎าวจากนาย ข. จํานวน 1,000 บาท เมื่อนาย ข. มีหน๎าท่ีสํงมอบเงิน
จํานวน 1,000 บาท ให๎แกํ นาย ก. และนาย ก. มีหน๎าที่สํงมอบเงินจํานวน 1,000 บาท
ให๎แกํนาย ข. ดังน้ี หนที้ ัง้ สองรายมวี ตั ถุเปน็ อยาํ งเดยี วกนั จงึ สามารถหกั กลบลบหน้กี ันได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 545/2500 โจทก๑เป็นหน้ีเงินก๎ูจําเลย ดังนี้ จําเลยจะ
ขอให๎ศาลหักกลบลบหน้ีเงินก๎ู กับข๎าวเปลือกของโจทก๑ที่ฝากจําเลยไว๎ไมํได๎ เพราะมูลหน้ีไมํ
เปน็ วตั ถอุ ยํางเดยี วกัน

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1587/2526 จําเลยเปน็ หน้ีคําซื้อลูกไกํและคําอาหาร
ไกํจากโจทก๑ และโจทก๑เป็นหนี้จําเลยคําซื้อไกํใหญํ ดังนั้น โจทก๑และจําเลยจึงตํางมีหนี้อันมี
วตั ถุเป็นอยํางเดยี วกนั จงึ หักกลบลบหนี้กนั ได๎

อยํางไรก็ดี หน้ที ั้งสองรายน้ันอาจเกิดจากมูลหน้ีตํางกันก็ได๎ เชํน หนี้รายแรก
เป็นหน้ีเงินซึ่งเกิดจากสัญญาก๎ูยืม สํวนหน้ีรายหลังเป็นหน้ีเงินซึ่งเกิดจากสัญญาซ้ือขาย
เปน็ ต๎น

3. หน้ีท้ังสองรายน้นั ถงึ กาหนดจะชาระ ถา๎ หนี้ทั้งสองรายนัน้ ถึงกําหนดจะชําระ
แล๎ว ก็สามารถหักกลบลบหนี้กันได๎ โดยไมตํ ๎องคํานึงวาํ หน้ีของฝา่ ยท่ีจะขอหักกลบลบหนี้น้ัน
จะเกดิ กํอนหรอื เกิดหลงั หน้ีของอีกฝ่ายหน่งึ

ตวั อยา่ ง นาย ก. ให๎นาย ข. กย๎ู มื เงินไปจาํ นวน 1,000 บาท กําหนดชําระหนี้
วันท่ี 1 มกราคม 2562 ตํอมา นาย ก. ได๎มาซ้ือมะพร๎าวจากนาย ข. จํานวน 1 ,000 บาท
และตกลงค๎างชําระไว๎กํอน โดยกําหนดชําระหนี้วันที่ 15 มกราคม 2562 ดังน้ี ในวันที่ 15
มกราคม 2562 ซงึ่ เปน็ วนั ท่ีหน้ที ง้ั สองรายน้ันถึงกําหนดชําระแล๎ว นาย ก. และนาย ข. ยํอม

326

ใช๎สทิ ธหิ กั กลบลบหนก้ี ันได๎ แตนํ าย ก. และนาย ข. จะใชส๎ ิทธหิ กั กลบลบหน้ีกนั กํอน วันท่ี 15
มกราคม 2562 ไมไํ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3045/2545 เม่ือการฝากเงินของโจทก๑ไว๎กับ
ธนาคารจําเลย ไมํมกี ารกําหนดเวลาคืนเงินฝากไว๎แนนํ อน จึงต๎องถอื วําหนี้เงนิ ฝากดังกลําวถึง
กําหนดชําระหน้ีทันทีที่โจทก๑ได๎ฝากเงินไว๎กับจําเลย ดังน้ัน จําเลยจึงมีสิทธิที่จะนําเงินฝาก
ดงั กลาํ วไปหักกลบลบหนี้กับหนที้ ่ีโจทก๑กเ๎ู งนิ ไปจากจําเลยทีถ่ งึ กาํ หนดชําระแล๎วได๎

4.2 ผลของการหักกลบลบหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 341
วรรคแรก บญั ญัติวํา “...ลูกหนฝ้ี า่ ยใดฝ่ายหนงึ่ ยํอมจะหลุดพ๎นจากหนี้ของตน ด๎วยหกั กลบลบ
กันไดเ๎ พยี งเทําจาํ นวนทต่ี รงกนั ในมูลหนท้ี งั้ สองฝา่ ยนัน้ ...” ดงั นัน้ หากเจ๎าหนี้และลูกหน้ีได๎ใช๎
สิทธิหักกลบลบหน้ีกัน โดยถูกต๎องตามหลักเกณฑ๑ของการหักกลบลบหนี้ท่ีกําหนดไว๎ใน
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 341 แล๎ว หน้ีของแตํละฝ่ายก็จะระงับไป เทํากับ
จํานวนหน้ีที่ตรงกันในมูลหน้ีท้ังสองฝ่ายนั้น เชํน นาย ก. เป็นหน้ีเงินกู๎นาย ข. อยํู 50,000
บาท ตํอมานาย ข. ไปซ้ือสินค๎าจากรา๎ นนาย ก. 30,000 บาท ดังน้ี หาก นาย ก. และนาย ข.
ใช๎สทิ ธิหักกลบลบหนี้กัน หนี้ของนาย ก. ก็จะระงับไปบางสํวน และคงเหลือเป็นหน้ีนาย ข.
อยูํ 20,000 บาท สวํ นหนีข้ องนาย ข. ก็จะระงบั ไปทัง้ หมด เป็นต๎น

4.3 วธิ กี ารหักกลบลบหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 342 บัญญัติวํา “หักกลบลบหนี้

นั้น ทําได๎ด๎วยคูํกรณีฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาแกํอีกฝ่ายหนึ่ง การแสดงเจตนาเชํนน้ีทํานวําจะมี
เงือ่ นไขหรอื เง่ือนเวลาเร่มิ ต๎นหรือเวลาสน้ิ สุดอีกดว๎ ยหาได๎ไมํ

การแสดงเจตนาดังกลาํ วมาในวรรคกอํ นน้ี ทาํ นวาํ มีผลย๎อนหลังข้ึนไปจนถึงเวลา
ซึ่งหนี้ทง้ั สองฝ่ายนัน้ จะอาจหกั กลบลบกันไดเ๎ ปน็ ครัง้ แรก”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 342 วรรคแรก หมายความวํา
วธิ กี ารหักกลบลบหนีน้ ้ัน ทาํ ได๎ดว๎ ยคกํู รณฝี า่ ยหนงึ่ (สมมุตนิ าย ก.) แสดงเจตนาแกํอีกฝ่ายหนึ่ง
(สมมตุ ินาย ข.) วาํ จะหกั กลบลบหนีก้ นั เพยี งเทําน้กี ารหกั กลบลบหน้ีกส็ มบรู ณ๑ โดยคูํกรณีฝ่าย
นั้น (สมมุตินาย ก.) ไมํต๎องฟ้องคดีตํอศาล และแม๎คํูกรณีอีกฝ่ายหน่ึง (สมมุตินาย ข.) จะฟ้อง
คดตี อํ ศาลแล๎ว คูํกรณีฝ่ายน้ัน (สมมตุ ินาย ก.) ก็สามารถหกั กลบลบหน้ีได๎

คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 3671/2534 ถา๎ ลกู หนี้ตาย เจา๎ หนีส้ ามารถแสดงเจตนา
หักกลบลบหน้ตี อํ ทายาทของลกู หน้ีได๎

ทง้ั น้ี การแสดงเจตนาหักกลบลบหน้นี ้นั กฎหมายมไิ ด๎กําหนดแบบของการแสดง
เจตนาไว๎วําต๎องทําเป็นลายลักษณ๑อักษร ดังนั้น การหักกลบลบหนี้จึงอาจแสดงเจตนาเป็น
ลายลกั ษณอ๑ ักษรหรอื ด๎วยวาจาก็ได๎

327

ตัวอย่าง นาย ก. ก๎ูยืมเงินไปจากนาย ข. จํานวน 3,000 บาท โดยมีหลักฐาน
เปน็ หนงั สือ และตอํ มานาย ข. ได๎กู๎ยืมเงินไปจากนาย ก. จํานวน 3,000 บาท โดยมีหลักฐาน
เป็นหนังสือ ดังน้ี นาย ก. สามารถหักกลบลบหนี้ได๎โดยการแสดงเจตนาไปยังนาย ข. เป็น
ลายลกั ษณอ๑ กั ษรหรือด๎วยวาจา ก็ได๎

นอกจากน้ัน การหักกลบลบหน้ีสามารถทําได๎ โดยไมํต๎องขอความยินยอมจาก
อีกฝ่ายหน่ึง และไมํต๎องคํานึงวําอีกฝ่ายหน่ึงจะยินยอมหรือไมํ ดังน้ัน แม๎จะไมํมีข๎อตกลงไว๎
กํอนลํวงหน๎าให๎หักกลบลบหนกี้ นั ได๎ กส็ ามารถหักกลบลบหนี้ได๎

คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 843/2516 แม๎จําเลยจะแสดงเจตนาขอหักกลบลบหน้ี
ไปฝ่ายเดยี ว ก็เปน็ อนั หกั กลบลบหนกี้ นั ได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 258/2523 ผคู๎ า้ํ ประกนั ลกู หนีข้ องธนาคารมีเงินฝากใน
ธนาคาร ตํอมาลูกหนี้ผิดนัด ผ๎ูค้ําประกันต๎องรับผิดตํอธนาคาร ดังน้ี ธนาคารจะหักกลบลบ
หน้ีกับเงนิ ของผค๎ู า้ํ ประกันทฝ่ี ากไว๎กับธนาคารเมอ่ื ใดกไ็ ด๎

คาพิพากษาศาลฎกี าที่ 3742/2533 แมจ๎ ําเลยจะมไิ ดต๎ กลงหักกลบลบหนี้ตาม
ข๎อเสนอของโจทก๑ โจทก๑ก็ใชส๎ ทิ ธิหักกลบลบหน้ีได๎

อยํางไรกด็ ี การแสดงเจตนาหกั กลบลบหน้ีนี้ จะมีเงื่อนไขหรือเง่ือนเวลาเร่ิมต๎น
หรือเวลาสน้ิ สดุ ไมไํ ด๎ กลําวคอื การหกั กลบลบหน้ตี อ๎ งปราศจากเงอ่ื นไขหรือเง่อื นเวลา

ตัวอย่างท่ี 1 นาย ก. และนาย ข. ตาํ งเป็นลกู หนซ้ี ่งึ กันและกัน ดังน้ี นาย ก. จะ
แสดงเจตนาหักกลบลบหน้ี โดยกาํ หนดเง่ือนไข วาํ ให๎การหักกลบลบหน้ีมีผลบงั คบั เมื่อนาย ก.
เดินทางไปตาํ งประเทศ ไมไํ ด๎

ตวั อย่างที่ 2 นาย ก. และนาย ข. ตาํ งเป็นลูกหนซี้ ่งึ กนั และกนั ดังน้ี นาย ก. จะ
แสดงเจตนาหักกลบลบหนี้ โดยกําหนดเงื่อนเวลาเร่ิมต๎น (คือ เวลาที่กําหนดไว๎ให๎นิติกรรม
เป็นผล) วําให๎การหักกลบลบหน้ีมผี ลบังคับในอีก 3 เดือน นับตั้งแตํวันที่แสดงเจตนาหักกลบ
ลบหน้ี ไมํได๎

ตัวอย่างที่ 3 นาย ก. และนาย ข. ตํางเปน็ ลกู หนซ้ี ง่ึ กันและกนั ดงั น้ี นาย ก. จะ
แสดงเจตนาหักกลบลบหน้ี โดยกาํ หนดเง่อื นเวลาส้ินสุด (คือ เวลาที่กําหนดไว๎ให๎นิติกรรมสิ้น
ผล) วาํ ให๎การหกั กลบลบหนี้ส้ินผลบังคบั ในอกี 3 เดอื น นับต้ังแตํวันที่แสดงเจตนาหักกลบลบ
หนี้ ไมไํ ด๎

ท้ังนี้ ถ๎าการแสดงเจตนาหักกลบลบหน้ีน้ันมีเง่ือนไขหรือเงื่อนเวลา การแสดง
เจตนาหักกลบลบหน้ีซ่ึงถือเป็นนิติกรรมอยํางหน่ึงยํอมตกเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 150 เพราะเป็นนิติกรรมที่มีวัตถุประสงค๑เป็นการต๎องห๎ามชัดแจ๎ง
โดยกฎหมาย และมผี ลเทํากบั วาํ คกํู รณยี งั มไิ ด๎แสดงเจตนาหักกลบลบหน้ีกัน ดังน้ัน หน้ีจึงยัง
ไมํระงับ

328

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 342 วรรคสอง หมายความวํา
การแสดงเจตนาหักกลบลบหนี้มีผลย๎อนหลังขึ้นไปจนถึงเวลาซ่ึงหน้ีท้ังสองฝ่ายนั้นจะอาจ
หกั กลบลบกันได๎เป็นครงั้ แรก

ตัวอย่างท่ี 1 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 1,000 บาท กําหนดชําระ
หนวี้ ันท่ี 1 มกราคม 2562 ตอํ มา นาย ก. ได๎มาซื้อมะพร๎าวจากนาย ข. จํานวน 1,000 บาท
และตกลงค๎างชําระไว๎กํอน โดยกําหนดชําระหนี้วันท่ี 15 มกราคม 2562 ดังน้ี นาย ก. และ
นาย ข. จะใชส๎ ทิ ธหิ ักกลบลบหนี้กันได๎ก็ตํอเมื่อหนี้ท้ังสองรายนั้นถึงกําหนดจะชําระแล๎ว คือ
วนั ที่ 15 มกราคม 2562 ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 341 แตํปรากฏวํา
นาย ก. และนาย ข. มิได๎แสดงเจตนาหักกลบลบหน้ีกันในวันดังกลําว แล๎วหลังจากนั้น นาย
ก. ได๎แสดงเจตนาหักกลบลบหน้ีตํอนาย ข. ในวันที่ 15 มีนาคม 2562 ดังนี้ การแสดงเจตนา
หักกลบลบหน้นี นั้ มีผลย๎อนหลงั ขึน้ ไปจนถงึ เวลาซง่ึ หน้ที ง้ั สองฝา่ ยนนั้ จะอาจหักกลบลบกันได๎
เป็นคร้งั แรก คอื วันที่ 15 มกราคม 2562 อันมีผลทําให๎หนี้ระงับไปต้ังแตํวันที่ 15 มกราคม
2562 มใิ ชหํ นร้ี ะงับในวันท่ี 15 มีนาคม 2562

ตัวอย่างท่ี 2 นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 1,000 บาท กําหนดชําระ
หนี้วันที่ 1 มกราคม 2560 และได๎ตกลงกันวําถ๎าผิดนัดต๎องชําระดอกเบ้ียร๎อยละ 5 ตํอปี
ตอํ มา นาย ก. ได๎กยู๎ ืมเงินจากนาย ข. จํานวน 1,000 บาท กําหนดชําระหนี้วันที่ 1 มกราคม
2560 และได๎ตกลงกันวําถ๎าผิดนัดต๎องชําระดอกเบี้ยร๎อยละ 10 ตํอปี ดังน้ี นาย ก. และ
นาย ข. จะใช๎สทิ ธิหักกลบลบหน้ีกันได๎ก็ตํอเมื่อหน้ีท้ังสองรายน้ันถึงกําหนดจะชําระแล๎ว คือ
วันท่ี 1 มกราคม 2560 ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 341 แตํปรากฏวํา
นาย ก. และนาย ข. มิได๎แสดงเจตนาหกั กลบลบหน้กี นั ในวนั ดังกลําว

หลังจากนั้น นาย ก. ได๎แสดงเจตนาหักกลบลบหนี้ตํอนาย ข. ในวันที่ 31
ธนั วาคม 2560 ดังนี้ การแสดงเจตนาหักกลบลบหนน้ี ั้น มีผลย๎อนหลังขึ้นไปจนถึงเวลาซึ่งหนี้
ทง้ั สองฝ่ายนัน้ จะอาจหักกลบลบกนั ไดเ๎ ปน็ ครง้ั แรก คอื วันท่ี 1 มกราคม 2560 อันมีผลทําให๎
หน้ีระงับไปตั้งแตํวันท่ี 1 มกราคม 2560 เมื่อในวันที่ 1 มกราคม 2560 นาย ก. เป็นหนี้
นาย ข. จํานวน 1,000 บาท สํวนนาย ข. ก็เป็นหนี้นาย ก. จํานวน 1,000 บาท ดังนี้
เมอ่ื หกั กลบลบหนี้กันแล๎ว หนี้ของนาย ก. และนาย ข. จงึ ระงบั ไปท้ังหมด

แตถํ า๎ กฎหมายไมไํ ดก๎ ําหนดหลักเกณฑ๑การมีผลย๎อนหลังตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 342 วรรคสอง ไว๎ หนี้ของนาย ก. และนาย ข. จะไมํระงับไป
ทั้งหมด กลําวคือ ในวันท่ี 31 ธันวาคม 2560 เม่ือนาย ข. มีหนี้ท่ีต๎องชําระให๎แกํนาย ก.
คือ 1,050 บาท (เงินต๎น 1,000 บาท และดอกเบ้ีย 50 บาท) สํวนนาย ก. มีหนี้ที่ต๎องชําระ
ให๎แกํนาย ข. คือ 1,100 บาท (เงินต๎น 1,000 บาท และดอกเบ้ีย 100 บาท) ดังนี้ เม่ือ
หักกลบลบหนี้กัน หนี้ของนาย ข. จะระงับไปทั้งหมด แตํหน้ีของนาย ก. จะระงับไป 1,050
บาท และนาย ก. ตอ๎ งชําระให๎แกนํ าย ข. อกี 50 บาท

329

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 843/2516 จําเลยเป็นหน้ีเงินก๎ูโจทก๑ กําหนดชําระ
ภายในปี พ.ศ. 2497 และโจทก๑เป็นหนี้คําจ๎างจําเลยท่ีถึงกําหนดชําระในปี พ.ศ. 2504
การที่จําเลยจะได๎แสดงเจตนาขอหักกลบลบหน้ีไปยังโจทก๑เมื่อปี พ.ศ. 2505 นั้น การแสดง
เจตนาของจําเลยดังกลําว ยํอมมีผลย๎อนหลังขึ้นไปจนถึงเวลาซ่ึงหน้ีท้ังสองฝ่ายน้ันจะอาจ
หักกลบลบหนี้กันไดเ๎ ป็นคร้งั แรก ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 342 วรรค
สอง

4.4 การหกั กลบลบหน้ใี นกรณที ่สี ถานทชี่ าระหนแ้ี ตกต่างกัน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 343 บัญญัติวํา “การหักกลบลบ

หน้ีน้ัน ถึงแม๎วําสถานท่ีซึ่งจะต๎องชําระหน้ีทั้งสองจะตํางกัน ก็หักกันได๎ แตํฝ่ายผู๎ขอหักหนี้
จะต๎องใชค๎ าํ เสยี หายให๎แกํอีกฝา่ ยหนึ่ง เพื่อความเสยี หายอยาํ งหนึง่ อยาํ งใดอนั เกดิ แตกํ ารนัน้ ”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 343 หมายความวํา แม๎วํา
สถานทีซ่ ่งึ จะต๎องชําระหนท้ี ้ังสองรายจะตํางกนั กห็ กั กลบลบหนี้กันได๎

ตวั อย่าง นาย ก. เปดิ ร๎านขายสนิ ค๎าอยํางหน่ึง สํวนนาย ข. ก็เปิดร๎านขายสินค๎า
ประเภทเดียวกนั และคุณภาพเดยี วกันกับนาย ก. โดยเม่ือร๎านของนาย ก. ไมํมีสินค๎า นาย ก.
ก็จะส่งั ซื้อสินค๎าจากร๎านของนาย ข. และให๎นาย ข. สํงสินค๎านั้นให๎แกํลูกค๎าของตน และใน
ทํานองเดยี วกนั เม่ือรา๎ นของนาย ข. ไมมํ ีสินค๎า นาย ข. ก็จะส่ังซื้อสินค๎าจากร๎านของนาย ก.
และให๎นาย ก. สงํ สนิ คา๎ น้นั ให๎แกํลูกคา๎ ของตน

ในคร้ังหนึ่ง นาย ก. ได๎ซ้ือสินค๎าดังกลําวจากนาย ข. จํานวน 10 ชิ้น และให๎
นาย ข. สํงสินคา๎ นั้นไปใหแ๎ กํนาย ค. แลว๎ ตอํ นาย ข. ได๎ซ้ือสินค๎าดังกลําวจากนาย ก. จํานวน
10 ช้ิน และให๎นาย ก. สํงสินค๎านั้นไปให๎แกํนาย ง. ดังนี้ เม่ือเป็นการสํงมอบทรัพย๑อยําง
เดียวกัน แม๎วําสถานที่ซ่ึงจะต๎องสํงมอบนัน้ จะตํางกัน กห็ ักกลบลบหน้กี ันได๎

แตํอยํางไรก็ดี ฝ่ายผ๎ูขอหักกลบลบหน้ีจะต๎องใช๎คําเสียหายให๎แกํอีกฝ่ายหนึ่ง
เพื่อความเสียหายอยํางหนึ่งอยํางใดอันเกิดแตํการนั้น กลําวคือ หากมีความเสียเกิดขึ้นจาก
การหักกลบลบหนี้นั้น ฝ่ายท่ีขอหักกลบลบหน้ีต๎องใช๎คําเสียหายให๎แกํอีกฝ่ายหน่ึง เชํน จาก
ตัวอยํางข๎างต๎น ถ๎าร๎านของนาย ก. และนาย ข. อยํูท่ีกรุงเทพมหานคร แล๎วนาย ข. ต๎องสํง
สินค๎านัน้ ไปใหแ๎ กํนาย ค. ท่ีกรงุ เทพมหานคร สํวนนาย ก. ต๎องสํงสินค๎าน้ันไปให๎แกํนาย ง. ที่
จังหวดั ภูเก็ต เมอ่ื หักกลบลบหน้ีกัน หนี้ยํอมระงับ นาย ก. ก็จะต๎องไปสํงสินค๎าให๎แกํนาย ค.
ทีก่ รุงเทพมหานคร สํวนนาย ข. กต็ ๎องไปสงํ สนิ ค๎านั้นให๎แกํนาย ง. ท่ีจังหวัดภูเก็ต นาย ข. จึง
ยอํ มเปน็ ฝ่ายเสยี หายเพราะต๎องไปสงํ สนิ คา๎ ไกลกวําเดิม ดังน้ัน หากนาย ก. เป็นผ๎ูขอหักกลบ
ลบหนี้ นาย ก. ก็ต๎องใช๎คําเสียหายให๎แกํนาย ข. แตํถ๎านาย ข. เป็นผู๎ขอหักกลบลบหน้ี
นาย ข. ก็ไมํตอ๎ งใช๎คําเสยี หายให๎แกํนาย ก. เปน็ ตน๎

330

4.5 ขอ้ หา้ มในการหกั กลบลบหน้ี มีดังน้ี
4.5.1 สภาพแห่งหนท้ี ั้งสองรายนน้ั ไม่เปิดช่องใหห้ กั กลบลบกนั ได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 342 วรรคแรกตอนท้าย

บัญญัตวิ ํา “...เวน๎ แตํสภาพแหํงหนฝี้ ่ายหนง่ึ จะไมเํ ปดิ ชอํ งใหห๎ ักกลบลบกันได๎”
วัตถุแหํงหน้ีแบํงออกเป็น 3 ประการ ได๎แกํ การกระทําการ การงดเว๎น

กระทาํ การ การสงํ มอบทรพั ยส๑ นิ ซ่งึ การหักกลบลบหนี้น้นั เปน็ กรณีทส่ี ่ิงทเี่ จา๎ หนี้ต๎องชําระหนี้
ให๎แกํลูกหนี้ กับส่ิงท่ีเจ๎าหนี้จะได๎รับชําระหน้ีจากลูกหน้ี เป็นสิ่งท่ีเหมือนกันและแทนกันได๎
แตํการกระทาํ การและการงดเวน๎ กระทําการนัน้ สิ่งทเ่ี จา๎ หน้ตี อ๎ งกระทําการหรืองดเว๎นกระทํา
การ กบั สิง่ ที่ลูกหนต้ี อ๎ งกระทาํ การหรืองดเวน๎ กระทําการ ยํอมไมํเหมือนกันและแทนกันไมํได๎
เพราะบุคคลท่ีกระทําการหรืองดเว๎นกระทําการน้ันเป็นคนละบุคคลกัน ดังนั้น การกระทํา
การและการงดเว๎นกระทาํ การจงึ เปน็ กรณีทสี่ ภาพแหงํ หน้ไี มํเปิดชํองให๎หักกลบลบกันได๎ เชํน
นาย ก. จ๎างนาย ข. วาดภาพ และนาย ข. กจ็ า๎ งนาย ก. วาดภาพ ดังน้ี การทน่ี าย ก. ต๎องวาด
ภาพ และการที่นาย ข.ต๎องวาดภาพ เป็นส่ิงที่ไมํเหมือนกันและแทนกันไมํได๎ โดยสภาพแหํง
หน้ี จึงนํามาหักกลบลบหนีก้ ันไมํไดเ๎ ป็นต๎น

4.5.2 เป็นการขดั กบั เจตนาอนั คู่กรณไี ดแ้ สดงไว้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 341 วรรคสอง บัญญัติวํา

“บทบัญญัติดงั กลําวมาในวรรคกํอนนี้ทํานมิให๎ใช๎บังคับ หากเป็นการขัดกับเจตนาอันคํูกรณี
ได๎แสดงไว๎ แตํเจตนาเชํนนี้ทํานห๎ามมิให๎ยกข้ึนเป็นข๎อตํอสู๎บุคคลภายนอกผ๎ูกระทําการโดย
สุจรติ ”

แม๎เจ๎าหนี้และลูกหนี้จะมีสิทธิหักกลบลบหนี้กันได๎ เนื่องจากเป็นไปตาม
หลักเกณฑ๑ของการหักกลบลบหนี้ท่ีกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
341 วรรคแรก ก็ตาม แตํหากเจ๎าหนี้และลูกหนี้ได๎แสดงเจตนาไว๎วําห๎ามหักกลบลบหนี้
หนีน้ ัน้ กจ็ ะนาํ มาหกั กลบลบหนีก้ นั ไมํได๎ โดยการตกลงกันนี้จะตกลงกันในขณะที่เกิดหนี้หรือ
หลงั จากที่เกดิ หนแ้ี ลว๎ ก็ได๎ เพยี งแตตํ ๎องตกลงกันกํอนการหกั กลบลบหนี้เทาํ นน้ั

อยาํ งไรกด็ ี การแสดงเจตนาของเจ๎าหนี้และลูกหน้ีวําห๎ามหักกลบลบหนี้
จะยกข้ึนเปน็ ขอ๎ ตอํ สบ๎ู คุ คลภายนอกผ๎ูกระทาํ การโดยสุจรติ ไมไํ ด๎

ตัวอยา่ งท่ี 1 นาย ก. เป็นลูกหนี้เงินก๎ูของนาย ข. โดยนาย ก. และนาย
ข. ตกลงกนั วาํ หนเ้ี งนิ ทน่ี าย ก. เป็นลูกหนี้ของนาย ข. นั้น ห๎ามหักกลบลบหน้ี ตํอมานาย ข.
ได๎โอนสทิ ธเิ รยี กร๎องในหน้เี งินก๎ดู งั กลําวใหแ๎ กนํ าย ค. โดยนาย ค. ไมํทราบถึงข๎อตกลงห๎ามหัก
กลบลบหน้ีน้ัน เมื่อนาย ค. เป็นลูกหนี้ซ้ือสินค๎าของนาย ก. ดังน้ี นาย ค. จึงมีสิทธิหักกลบ
ลบหน้ีกบั นาย ก. ได๎

331

ตัวอย่างท่ี 2 นาย ก. เป็นลูกหนี้เงินกู๎ของนาย ข. โดยมีนาย ค. เป็น
ผ๎ูค้ําประกัน ตํอมานาย ก. และนาย ข. ตกลงกันวําหน้ีเงินท่ีนาย ก. เป็นลูกหน้ีของนาย ข.
นัน้ ห๎ามหกั กลบลบหนี้ โดย นาย ค. ไมํทราบถงึ ขอ๎ ตกลงห๎ามหักกลบลบหน้นี ้นั ตอํ มานาย ก.
ไมํชําระหน้ี นาย ข. จึงฟ้องให๎นาย ค. ชําระหน้ี เม่ือนาย ข. เป็นลูกหน้ีซ้ือสินค๎าของนาย ค.
ดงั นี้ นาย ค. จึงมสี ิทธิหกั กลบลบหนีก้ บั นาย ข. ได๎

4.5.3 สิทธเิ รยี กรอ้ งท่ียงั มีขอ้ ตอ่ สูอ้ ยู่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 344 บัญญัติวํา “สิทธิ

เรียกร๎องใดยงั มขี อ๎ ตอํ ส๎อู ยูํ สทิ ธเิ รียกรอ๎ งนนั้ ทาํ นวําหาอาจจะเอามาหักกลบลบหนี้ได๎ไมํ อน่ึง
อายุความยอํ มไมตํ ดั รอนการหกั กลบลบหน้ี แมส๎ ิทธเิ รยี กร๎องขาดอายุความแล๎ว แตํวําในเวลา
ท่อี าจจะหักกลบลบกบั สิทธิเรียกรอ๎ งฝา่ ยอนื่ ได๎นน้ั สิทธิยงั ไมขํ าด”

บทบัญญัติท่ีวํา “สิทธิเรียกร๎องใดยังมีข๎อตํอสู๎อยูํ สิทธิเรียกร๎องนั้น
ทํานวาํ หาอาจจะเอามาหักกลบลบหน้ีได๎ไมํ” หมายความวํา สิทธิเรียกร๎องใดที่ยังมีข๎อโต๎แย๎ง
อยูํ สิทธิเรียกร๎องนน้ั ไมสํ ามารถเอามาหกั กลบลบหนี้ได๎

สิทธิเรียกร๎องท่ียังมีข๎อตํอสู๎อยํู เชํน ตํอสู๎วําไมํเคยมีการกํอหนี้ตํอกัน
หรือหน้ีไมํสมบูรณ๑ โดยอาจเป็นโมฆะหรือโมฆียะ หรือตํอส๎ูวําหนี้ระงับไปแล๎ว ไมํวําจะด๎วย
วธิ กี ารชาํ ระหนี้หรือวิธีการอื่น ๆ ที่มีผลทําให๎หน้ีระงับไป หรือตํอสู๎วําหนี้ขาดอายุความแล๎ว
เป็นตน๎

การหักกลบลบหน้ีทําให๎หนี้ระงับไป ดังนั้น สิทธิเรียกร๎องท่ีจะนํามา
หักกลบลบหน้ีกันได๎นั้น ต๎องเป็นสิทธิเรียกร๎องท่ีปราศจากข๎อตํอสู๎หรือเป็นสิทธิเรียกร๎องท่ี
คูํกรณีอีกฝ่ายหนง่ึ ยอมรับวํามอี ยูํจรงิ เพ่ือให๎เกิดความเป็นธรรมแกํคํูกรณีอีกฝ่ายหนึ่ง เพราะ
สิทธิเรียกร๎องที่ยังมีข๎อตํอสู๎อยํูน้ัน ยังไมํยุติเป็นท่ีแนํนอนวําสิทธิเรียก ร๎องน้ันสมบูรณ๑
หรือสามารถบังคับได๎จริงหรือไมํ เชํน นาย ก. ให๎ นาย ข. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 1,000 บาท
และ นาย ก. ได๎มาซ้ือมะพร๎าวจากนาย ข. จํานวน 1,000 บาท ตํอมา นาย ข. จะใช๎สิทธิ
หักกลบลบหนี้ แตนํ าย ก. ตํอสูว๎ าํ ตนได๎ชําระคํามะพร๎าวแล๎ว ดังน้ี นาย ข. จะหักกลบลบหนี้
ไมํได๎ เป็นตน๎

คาพิพากษาศาลฎกี าท่ี 2437/2525 เม่ือสิทธิเรียกร๎องที่จําเลยฟ้อง
โจทก๑ยังอยํูในระหวํางพิจารณา สิทธิเรียกร๎องน้ันจึงยังไมํยุติหรือยังคงมีข๎อตํอสู๎อยูํ ดังนั้น
จาํ เลยจะนําเอาสทิ ธิเรียกร๎องนั้นมาหักกลบลบหนก้ี ับโจทก๑หาไดไ๎ มํ

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 6138/2538 เมื่อหน้ีตามท่ีจําเลยอ๎างเพื่อ
นํามาหักกลบลบหนี้กับโจทก๑นั้น เป็นหน้ีที่ยังมีข๎อตํอสู๎อยํูเพราะโจทก๑ปฏิเสธวําโจทก๑ไมํได๎
เป็นหน้ีจาํ เลยตามที่จาํ เลยอ๎าง ดงั นัน้ จําเลยนาํ หนีด้ ังกลาํ วมาขอหักกลบลบหนกี้ บั โจทก๑ไมํได๎

332

ข้อสงั เกต
ในเวลาที่คํูกรณีฝ่ายแรกขอหักกลบลบหน้ี หากคูํกรณีอีกฝ่ายหนึ่งยก
ข๎อตํอส๎ูวําตนได๎ชําระหน้ีอันมีผลทําให๎หน้ีระงับแล๎ว ดังนี้ จะหักกลบลบหน้ีกันไมํได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 344 แตํถ๎าตํอมาคํูกรณีฝ่ายแรกได๎ฟ้องคดีและ
ชนะคดใี นมูลหนน้ี ้ัน ก็สามารถ หักกลบลบหนี้กันได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 341 เพราะบคุ คลสองฝ่ายมีความผูกพนั ซ่งึ กันและกนั และการหกั กลบลบหนน้ี ้ี ก็จะมี
ผลย๎อนหลังข้ึนไปจนถึงเวลาซึ่งหน้ีทั้งสองฝ่ายน้ันจะอาจหักกลบลบกันได๎เป็นคร้ังแรก ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 342 วรรคสอง แตํถ๎าคํูกรณีฝ่ายแรกได๎ฟ้องคดี
และแพ๎คดี มูลหนีน้ น้ั ก็ยอํ มจะไมสํ ามารถหักกลบลบหน้ีกนั ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 341 เพราะบคุ คลสองฝา่ ยไมมํ คี วามผูกพนั ซงึ่ กันและกัน
สํวนบทบัญญตั ิทว่ี ํา “อน่ึง อายุความยํอมไมํตัดรอนการหักกลบลบหน้ี
แม๎สิทธเิ รียกรอ๎ งขาดอายุความแล๎ว แตวํ าํ ในเวลาที่อาจจะหกั กลบลบกบั สทิ ธิเรียกร๎องฝ่ายอื่น
ได๎น้ัน สิทธิยังไมํขาด” หมายความวํา ถ๎าในเวลาที่อาจจะหักกลบลบหนี้กันได๎ครั้งแรกน้ัน
สิทธิเรียกร๎องยังมิได๎ขาดอายุความ แม๎ในเวลาตํอมา สิทธิเรียกร๎องนั้นจะขาดอายุความ ก็
สามารถเอามาหกั กลบลบหนไี้ ด๎ ซึ่งบทบญั ญัตขิ องประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
344 น้ี สอดคล๎องกบั ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 342 วรรคสอง ซ่ึงบัญญัติวํา
“การแสดงเจตนาดังกลําวมาในวรรคกํอนนี้ ทํานวํามีผลย๎อนหลังข้ึนไปจนถึงเวลาซ่ึงหนี้ทั้ง
สองฝ่ายน้นั จะอาจหกั กลบลบกันไดเ๎ ปน็ ครัง้ แรก”
ตัวอย่างท่ี 1 นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีเงินก๎ูนาย ข. กําหนดชําระวันท่ี 1
เมษายน 2561 (คดีขาดอายุความวันท่ี 1 เมษายน 2571) และนาย ข. เป็นเจ๎าหน้ีเงินกู๎
นาย ก. กาํ หนดชําระวนั ท่ี 1 เมษายน 2565 (คดีขาดอายุความวันที่ 1 เมษายน 2575) ดังน้ี
เวลาทอี่ าจจะหกั กลบลบหนกี้ ันได๎ครง้ั แรก คอื วันที่ 1 เมษายน 2565 ซึ่งเป็นวันท่ีหน้ีท้ังสอง
รายได๎ถึงกําหนดชาํ ระ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 341 แม๎ตํอมา ในวันที่
1 เมษายน 2572 หนที้ ี่นาย ก. เปน็ เจา๎ หนีน้ าย ข. จะขาดอายคุ วาม นาย ก. ก็สามารถนําหน้ี
นน้ั มาหกั กลบลบหน้ีได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 344
ตัวอย่างท่ี 2 นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้เงินก๎ูนาย ข. กําหนดชําระวันที่ 1
เมษายน 2551 (คดีขาดอายุความวันท่ี 1 เมษายน 2561) และนาย ข. เป็นเจ๎าหนี้เงินกู๎
นาย ก. กาํ หนดชําระวันที่ 1 เมษายน 2565 (คดีขาดอายุความวันท่ี 1 เมษายน 2575) ดังนี้
เวลาทอี่ าจจะหักกลบลบหน้ีกนั ได๎ครงั้ แรก คือ วนั ที่ 1 เมษายน 2565 ซึ่งเป็นวันที่หน้ีทั้งสอง
รายไดถ๎ งึ กําหนดชําระ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 341 ดังนี้ เม่ือในเวลา
ที่อาจจะหักกลบลบหนี้กันไดค๎ ร้งั แรก สิทธิเรียกร๎องของนาย ก. ขาดอายุความไปแลว๎ นาย ก.
จึงไมํสามารถนําหน้ีนั้นมาหักกลบลบหนี้ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
344

333

4.5.4 หน้ีท่เี กดิ แต่การอันมชิ อบดว้ ยกฎหมายเปน็ มลู
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 345 บัญญัติวํา “หน้ี

รายใดเกดิ แตํการอันมิชอบด๎วยกฎหมายเป็นมลู ทาํ นห๎ามมิให๎ลูกหน้ีถือเอาประโยชน๑แหํงหน้ี
รายน้ัน เพอื่ หักกลบลบหน้ีกบั เจ๎าหนี้”

หน้ีรายใดเกิดแตํการอันมิชอบด๎วยกฎหมายเป็นมูล ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 345 นี้ มิได๎หมายความถึงนิติกรรมที่ตกเป็นโมฆะตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 150 เพราะนิติกรรมท่ีตกเป็นโมฆะยํอมไมํ
กอํ ใหเ๎ กิดหน้ีทจี่ ะนํามาหักกลบลบหนี้กันได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
341 แตํหมายถึงหน้ีที่เกิดจากมูลละเมิด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
42099

แตํอยํางไรก็ดี หน้ีรายใดเกิดแตํการอันมิชอบด๎วยกฎหมายเป็นมูล
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 345 น้ี ลูกหน้ีเทํานั้นที่จะขอหักกลบลบหนี้
ไมํได๎ สํวนเจ๎าหนี้สามารถขอหกั กลบลบหน้ีได๎

ตวั อย่าง นาย ก. ให๎นาย ข. กู๎ยืมเงินไป และนาย ก. ได๎ทําละเมิดแกํ
นาย ข. ดังนี้ นาย ก. จะขอหกั กลบลบหนี้ไมไํ ด๎ แตนํ าย ข. สามารถขอหักกลบลบหน้ไี ด๎

ข้อสังเกต ไมํวําหนี้อันเกิดจากมูลละเมิดน้ันจะเกิดข้ึนกํอนหรือหลัง
หน้อี ีกรายหนง่ึ กไ็ มสํ ามารถนาํ มาหักกลบลบหนีไ้ ด๎

4.5.5 สิทธิเรยี กร้องทตี่ ามกฎหมายศาลจะสง่ั ยึดมไิ ด้
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 346 บัญญัติวํา “สิทธิ

เรียกร๎องรายใดตามกฎหมายศาลจะส่ังยึดมิได๎ สิทธิเรียกร๎องรายน้ันหาอาจจะเอาไป
หักกลบลบหนไ้ี ดไ๎ มํ”

เจตนารมณ๑ของประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 346
ที่กําหนดวําห๎ามนําสิทธิเรียกร๎องท่ีตามกฎหมายศาลจะส่ังยึดมิได๎ เชํน คําอุปการะ
เล้ียงดูระหวํางบิดามารดากับบุตรหรือระหวํางคูํสมรส เงินเดือนของข๎าราชการ เป็นต๎น มา
หักกลบลบหน้ี ก็เพราะสิทธิเรียกร๎องที่ตามกฎหมายศาลจะส่ังยึดมิได๎น้ันสํวนใหญํเป็น
สิ่งจําเป็นในการดาํ รงชีพของบุคคล ถ๎าหากกฎหมายอนุญาตให๎มีการหักกลบลบหนี้ได๎ ก็อาจ
ทาํ ให๎บคุ คลนน้ั ได๎รบั ยากลาํ บาก

ตัวอย่าง นาง ก. มีสิทธิได๎รับคําอุปการะเลี้ยงดูจากนาย ข. เดือน
ละ 3,000 บาท ตอํ มานาง ก. ได๎ไปก๎ูเงินจากนาย ข. จํานวน 3,000 บาท ดังนี้ นาง ก. และ
นาย ข. จะขอหักกลบลบหนก้ี ันไมไํ ด๎

99สุนทร มณีสวัสด์ิ, เร่ืองเดิม, หน๎า 356.

334

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3765/2545 โจทก๑เป็นลูกหนี้ของจําเลย
(ธนาคาร) การท่ีจําเลยหักเงินกองทุนสํารองเล้ียงชีพของโจทก๑จากบัญชีเงินฝากของโจทก๑
เพ่อื ชําระหน้ีให๎แกํจําเลยนัน้ นอกจากจะขดั ตํอเจตนารมณข๑ องพระราชบัญญัติกองทุนสํารอง
เลี้ยงชพี พ.ศ. 2530 มาตรา 23, 24 แลว๎ ยังขัดตํอประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา
346 อกี ดว๎ ย จาํ เลยจงึ ต๎องคืนเงินนั้นแกโํ จทก๑

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 5954/2550 สิทธิเรียกร๎องเงินจากกองทุน
สํารองเล้ียงชีพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหํงประเทศไทย ไมํอาจโอนกันได๎ตามพระราชบัญญัติ
กองทุนสํารองเล้ียงชีพฯ มาตรา 23, 24 ดังน้ัน จึงไมํอาจนํามาหักกลบลบหน้ีได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 346

ปัญหา ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 346 นั้น เป็น
การห๎ามเจ๎าหน้ีแหํงสิทธิเรียกร๎อง หรือห๎ามลูกหน้ีแหํงสิทธิเรียกร๎อง หรือห๎ามทั้งเจ๎าหนี้แหํง
สิทธิเรียกร๎องและลูกหนี้แหํงสิทธิเรียกร๎อง ในเรื่องนี้นักวิชาการมีความเห็นทางกฎหมาย
แตกตาํ งกันดงั นี้

ฝ่ายแรก รองศาสตราจารย๑ ดร. สุนทร มณีสวัสด์ิ มีความเห็นวําการ
ห๎ามหักกลบลบหนี้ในสิทธิเรียกร๎องท่ีตามกฎหมายศาลจะส่ังยึดมิได๎ ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 346 นั้น เป็นการห๎ามท้ังลูกหน้ีแหํงสิทธิและเจ๎าหน้ีแหํงสิทธิ มิให๎
หักกลบลบหนี้กัน เพราะกฎหมายประสงค๑จะให๎สิทธิเรียกร๎องประเภทนี้เกิดประโยชน๑แกํผู๎
ทรงสทิ ธิตามเจตนารมณ๑ของกฎหมายโดยแท๎จริง จึงห๎ามมิให๎ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งใช๎สิทธิหักกลบ
ลบหน้ที ัง้ สน้ิ 100

ฝา่ ยท่ีสอง ศาสตราจารย๑ไพโรจน๑ วายุภาพ มีความเห็นวํา ลูกหนี้แหํง
สิทธิเรียกร๎องท่ีตามกฎหมายศาลจะส่ังยึดมิได๎จะขอหักกลบลบหนี้ไมํได๎ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 346 เพราะอาจทําให๎เจ๎าหนี้แหํงสิทธิเรียกร๎องที่ตาม
กฎหมายศาลจะสงั่ ยึดมไิ ด๎น้นั เดอื ดร๎อน แตํไมหํ ๎ามเจ๎าหนี้ดังกลําวท่ีจะเป็นฝ่ายขอหักกลบลบ
หน้ตี ามที่เจา๎ หนีด้ งั กลําวเหน็ สมควร101

สําหรับผ๎ูเขียนมีความเห็นวํา ตามเจตนารมณ๑ของประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 346 นั้น เป็นการห๎ามท้ังลูกหน้ีแหํงสิทธิดังกลําวและเจ๎าหนี้แหํง
สทิ ธดิ ังกลาํ วมใิ หห๎ ักกลบลบหนี้กนั เพราะกฎหมายประสงค๑จะให๎สิทธิดังกลําวเกิดประโยชน๑
ตํอลูกหนี้แหงํ สทิ ธิดงั กลําวเทํานั้น

100เรื่องเดียวกัน, หน๎า 357.
101ไพโรจน๑ วายภุ าพ, เร่ืองเดิม, หนา๎ 569.

335

4.5.6 สทิ ธเิ รยี กรอ้ งท่ีได้มาภายหลังศาลสง่ั ห้ามชาระหนี้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 347 บัญญัติวํา

“ลูกหนี้คนท่ีสามหากได๎รบั คาํ สั่งศาลหา๎ มมิใหใ๎ ช๎เงินแลว๎ จะยกเอาหน้ีซึ่งตนได๎มาภายหลังแตํ
นน้ั ขึ้นเป็นขอ๎ ตอํ สเ๎ู จ๎าหนผ้ี ูท๎ ี่ขอใหย๎ ดึ ทรพั ยน๑ ้ัน ทาํ นวําหาอาจจะยกไดไ๎ มํ”

เจ๎าหนี้มีลูกหน้ี หากลูกหน้ีมีลูกหน้ีด๎วย ลูกหนี้ของลูกหน้ีนี้เรียกวํา
ลกู หนี้ท่ีคนสาม โดยเม่ือเจ๎าหนี้ได๎ฟ้องบังคับชําระหนี้จากลูกหนี้ และชนะคดีแล๎ว เจ๎าหนี้มี
สทิ ธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง คือ ร๎องขอตํอศาลเพื่อบังคับชําระหนี้จาก
ทรัพย๑สินของลูกหนี้ได๎ หรือห๎ามลูกหน้ีท่ีสามชําระหนี้ให๎แกํลูกหน้ีและบังคับชําระหนี้จาก
ทรัพย๑สินของลกู หน้ที ่ีคนสามได๎

ดงั นั้น ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 347 จึงกําหนดวํา
ถา๎ ศาลมีคําส่ังห๎ามลูกหนี้คนท่ีสามชําระหน้ีให๎แกํลูกหนี้แล๎ว สิทธิเรียกร๎องท่ีลูกหนี้คนท่ีสาม
ได๎มาภายหลังน้ัน จะนําเอามาหักกลบลบหน้ีไมํได๎ เพื่อป้องกันการสมยอมกํอหนี้ขึ้นมาใหมํ
ระหวาํ งลกู หน้ีและลกู หนคี้ นที่สาม

ตัวอย่าง นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีนาย ข. จํานวน 2,000,000 บาท และ
นาย ข. เป็นเจา๎ หนน้ี าย ค. จํานวน 1,000,000 บาท ตอํ มา นาย ก. ไดฟ๎ อ้ งคดีตอํ ศาลเรียกให๎
นาย ข. ชําระหน้ี และศาลได๎มีคําพิพากษาให๎นาย ก. ชนะคดี และได๎บังคับคดีโดยการยึด
ทรพั ย๑สนิ ของนาย ข. แล๎ว แตํทรัพยส๑ ินของนาย ข. มเี พยี ง 1,000,000 บาท นาย ก. จึงขอให๎
ศาลออกหมายสง่ั หา๎ มนาย ค. ชําระหนใี้ ห๎แกํนาย ข. เพอื่ ที่นาย ก. จะได๎ดําเนินการบังคับคดี
โดยการยึดทรัพย๑สินของนาย ค. มาใช๎หน้ีให๎แกํตน แตํเม่ือนาย ค. ได๎รับคําสั่งศาลแล๎ว
ปรากฏวํานาย ค. ได๎ให๎นาย ข. กู๎เงินไปจํานวน 1,000,000 บาท ดังน้ี นาย ข. และนาย ค.
จะใช๎สิทธิหักกลบลบหนี้กันไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 347 อัน
สํงผลใหน๎ าย ก. สามารถดําเนนิ การบังคับคดีโดยการยึดทรัพย๑สินของนาย ค. มาใช๎หน้ีให๎แกํ
ตนได๎

อยํางไรก็ดี ถ๎าลูกหน้ีคนท่ีสามได๎สิทธิเรียกร๎องน้ันมากํอนศาลมีคําส่ัง
หา๎ มลูกหนีค้ นท่ีสามชาํ ระหน้ีให๎แกํลูกหนี้ สทิ ธิเรียกรอ๎ งน้นั สามารถนําเอามาหกั กลบลบหน้ีได๎

ตัวอย่าง นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้นาย ข. จํานวน 2,000,000 บาท และ
นาย ข. เปน็ เจา๎ หน้นี าย ค. จํานวน 1,000,000 บาท นอกจากนน้ั นาย ค. เป็นเจ๎าหน้ีนาย ข.
จํานวน 1,000,000 บาท ตํอมา นาย ก. ได๎ฟอ้ งคดีตอํ ศาลเรียกให๎นาย ข. ชําระหนี้ และศาล
ได๎มคี าํ พพิ ากษาใหน๎ าย ก. ชนะคดี และไดบ๎ ังคับคดีโดยการยึดทรัพย๑สินของนาย ข. แล๎ว แตํ
ทรพั ยส๑ นิ ของนาย ข. มีเพยี ง 1,000,000 บาท นาย ก. จึงขอให๎ศาลออกหมายสั่งห๎ามนาย ค.
ชําระหนใี้ หแ๎ กํนาย ข. เพื่อที่นาย ก. จะได๎ดําเนินการบังคับคดีโดยการยึดทรัพย๑สินของนาย
ค. มาใชห๎ นใี้ ห๎แกตํ น ดงั น้ี แมน๎ าย ค. จะได๎รับคําสั่งศาลแล๎ว นาย ข. และนาย ค. ก็สามารถ

336

หักกลบลบหน้ีกันได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 347 เพราะสิทธิ
เรียกรอ๎ งน้ันมากํอนศาลมคี ําส่งั ห๎ามลูกหน้ีคนที่สามชําระหนใ้ี หแ๎ กํลกู หนี้

4.6 การจัดสรรหกั กลบลบหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 348 บัญญัติวํา “ถ๎าคูํกรณีตําง

ฝา่ ยตาํ งมีสทิ ธเิ รยี กร๎องหลายรายอนั ควรแกํการทจ่ี ะใช๎หกั กลบลบหนไี้ ดไ๎ ซร๎ ฝ่ายผ๎ูท่ีขอหักหน้ี
จะระบกุ ไ็ ดว๎ าํ พึงเอาสทิ ธิเรียกร๎องรายใดบ๎างเขา๎ หกั กลบลบกัน ถ๎าการหักกลบลบหนี้ได๎แสดง
โดยมิได๎ระบุเชํนน้ันก็ดี หรือถ๎าระบุ แตํอีกฝ่ายหนึ่งท๎วงขัดข๎องโดยไมํชักช๎าก็ดี ทํานให๎นํา
บทบญั ญัตแิ หงํ มาตรา 328 วรรค 2 มาใชบ๎ ังคบั โดยอนุโลม

ถ๎าฝ่ายท่ีขอหักกลบลบหน้ียังเป็นหน้ีคําดอกเบี้ยและคําฤชาธรรมเนียมแกํอีก
ฝ่ายหนึ่งอยูํ นอกจากการชําระหนี้อันเป็นประธานน้ันด๎วยไซร๎ ทํานให๎นําบทบัญญัติแหํง
มาตรา 329 มาใชบ๎ ังคบั โดยอนโุ ลม”

ถ๎ า คํู ก ร ณี ตํ า ง ฝ่ า ย ตํ า ง มี สิ ท ธิ เ รี ย ก ร๎ อ ง ห ล า ย ร า ย อั น ค ว ร แ กํ ก า ร ที่ จ ะ ใ ช๎
หักกลบลบหนี้ได๎ กฎหมายไดก๎ าํ หนดหลกั เกณฑ๑การจดั สรรหักกลบลบหนี้ไวด๎ ังนี้

1. ถ๎าฝ่ายผู๎ที่ขอหักหนี้ได๎ระบุไว๎วําให๎เอาสิทธิเรียกร๎องรายใดบ๎างเข๎า
หกั กลบลบกัน กใ็ หเ๎ ปน็ ไปตามน้นั เชนํ นาย ก. เป็นเจ๎าหนีข้ องนาย ข. ในมูลหนี้เงินกู๎จํานวน
50,000 บาท และมลู หน้เี งินซอ้ื ขายสินค๎าจํานวน 30,000 บาท สํวนนาย ข. เป็นเจ๎าหน้ีของ
นาย ก. ในมูลหน้ีซ้ือขายสินค๎าจํานวน 30,000 บาท ดังนี้ ถ๎านาย ข. ซึ่งเป็นฝ่ายขอหักกลบ
ลบหนี้ ได๎ระบไุ วว๎ าํ ให๎เอาสทิ ธเิ รียกรอ๎ งของตนเขา๎ หักกลบลบกันกบั สทิ ธิเรียกร๎องในมูลหน้ีซ้ือ
ขายสนิ ค๎าของนาย ก. กใ็ ห๎เปน็ ไปตามนั้น เปน็ ตน๎

2. ถ๎าฝ่ายผู๎ท่ีขอหักหน้ีมิได๎ระบุไว๎วําให๎เอาสิทธิเรียกร๎องรายใดบ๎างเข๎า
หักกลบลบกัน หรือถา๎ ระบไุ ว๎ แตอํ ีกฝา่ ยหน่งึ ทว๎ งขัดข๎องโดยไมชํ ักชา๎ กด็ ี ทาํ นให๎นําบทบัญญัติ
แหงํ มาตรา 328 วรรค 2 มาใช๎บังคับโดยอนุโลม กลําวคือ หน้ีสินรายไหนถึงกําหนด ก็ให๎นํา
รายน้ันมาหักกลบลบหน้ีกํอน ในระหวํางหนี้สินหลายรายท่ีถึงกําหนดน้ัน รายใดเจ๎าหนี้มี
ประกันน๎อยที่สุด กใ็ หน๎ าํ รายน้ันมาหักกลบลบหนก้ี อํ น ในระหวํางหนี้สนิ หลายรายที่มีประกัน
เทํา ๆ กัน ให๎นํารายที่ตกหนักท่ีสุดแกํลูกหน้ีมาหักกลบลบหนี้กํอน ในระหวํางหน้ีสินหลาย
รายท่ีตกหนักแกํลูกหน้ีเทํา ๆ กัน ให๎นําหน้ีสินรายเกําที่สุดมาหักกลบลบหน้ีกํอน และถ๎ามี
หนี้สินหลายรายเกําเทํา ๆ กนั ก็ใหน๎ ําหน้สี นิ ทุกรายมาหักกลบลบหนี้ตามสํวนมากและน๎อย

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2480/2517 จําเลยเป็นลูกหน้ีคําเชํารถ
แทรกเตอร๑ของโจทก๑ และในขณะเดียวกัน โจทก๑เป็นลูกหน้ีคําข๎าวโพดของจําเลย เม่ือโจทก๑
จะนําหนคี้ ําขา๎ วโพดมาหักกลบลบกบั หนี้คาํ เชาํ ซอื้ รถแทรกเตอร๑ โดยมิได๎ระบุไว๎วําให๎เอาสิทธิ
เรียกร๎องรายใดเข๎าหักกลบลบกัน ก็ต๎องหักกลบลบหนี้กับหนี้คําข๎าวโพดท่ีเกําที่สุด ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 344 ประกอบมาตรา 328

337

3. ถา๎ ฝา่ ยที่ขอหกั กลบลบหน้ยี ังเปน็ หนี้คาํ ดอกเบี้ยและคาํ ฤชาธรรมเนียมแกํอีก
ฝา่ ยหนงึ่ อยูํ นอกจากการชาํ ระหน้ีอันเปน็ ประธานน้ันด๎วยแล๎ว ก็ให๎นําบทบัญญัติแหํงมาตรา
329 มาใชบ๎ ังคบั โดยอนุโลม กลาํ วคอื ให๎หักกลบลบหนี้กับคําฤชาธรรมเนียมกํอน แล๎วจึงหัก
กลบลบหนี้กบั ดอกเบ้ยี แล๎วสุดท๎ายจึงหักกลบลบหนก้ี บั หนปี้ ระธาน

ตัวอย่าง นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้ของนาย ข. ในมูลหน้ีเงินก๎ูจํานวน 100,000
บาท ตํอมานาย ก. ได๎ฟ้องคดีตํอศาล และศาลได๎มีคําพิพากษาให๎นาย ข. ชําระหนี้ เงินต๎น
จํานวน 100,000 บาท พรอ๎ มดอกเบย้ี อกี จํานวน 10,000 บาท กับคําฤชาธรรมเนียมศาลอีก
จํานวน 1,000 บาท ซึ่งรวมเปน็ เงนิ ท้ังสนิ้ จาํ นวน 111,000 บาท แตนํ าย ข. ก็เป็นเจ๎าหน้ีของ
นาย ก. ในมูลหนี้ซ้ือขายสินค๎า จํานวน 51,000 บาท ดังนี้ ในจัดสรรการหักกลบลบหน้ีนั้น
จงึ ต๎องจดั หักกลบลบหนี้กับคาํ ฤชาธรรมเนียมเสยี กํอนจาํ นวน 1,000 บาท แล๎วจึงหักกลบลบ
หน้ีกับดอกเบ้ียจํานวน 10,000 บาท และท่ีเหลือจํานวน 40,000 บาท จึงนําไปหักกลบลบ
หนป้ี ระธานคอื เงนิ ต๎น อันทาํ ให๎หนป้ี ระธานยังคงค๎างชาํ ระอยํอู ีกจาํ นวน 60,000 บาท

5. การแปลงหนี้ใหม่
บทบญั ญัติเกี่ยวกบั การแปลงหนใี้ หมํกําหนดไวใ๎ นประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑

มาตรา 349- 352 ดังนี้
5.1 หลักเกณฑใ์ นการแปลงหน้ีใหม่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 349 บัญญัติวํา “เมื่อคูํกรณีท่ี

เกย่ี วขอ๎ งไดท๎ าํ สัญญาเปล่ียนสง่ิ ซึ่งเป็นสาระสําคญั แหงํ หนี้ไซร๎ ทํานวําหน้ีน้ันเป็นอันระงับส้ิน
ไปด๎วยแปลงหนี้ใหมํ

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 349 วรรคแรก การแปลงหน้ีใหมํ
หมายถึง การท่ีคกูํ รณที เ่ี กย่ี วข๎องได๎ทําสญั ญาเปลย่ี นสงิ่ ซึ่งเป็นสาระสําคัญแหํงหนี้ อันมีผลทํา
ใหห๎ นี้เดิมระงบั สนิ้ ไป และเกิดเป็นหนีใ้ หมํขน้ึ มาแทน ดงั นั้น การแปลงหนี้ใหมํจึงประกอบไป
ด๎วยหลักเกณฑ๑ 2 ประการ คือ 1. ต๎องมีหน้ีเดิมอยูํ และ 2. คํูกรณีที่เกี่ยวข๎องได๎ทําสัญญา
เปลยี่ นสงิ่ ซึ่งเปน็ สาระสาํ คัญแหงํ หน้ี

5.1.1 ตอ้ งมหี นี้เดมิ อยู่ หมายความวาํ ตอ๎ งมหี น้เี ดิมอยํู โดยหนี้เดิมน้ันอาจจะมี
บํอเกิดแหํงหนี้มาจากนติ กิ รรม หรือนิติเหตุ หรอื บทบัญญตั ิแหงํ กฎหมายก็ได๎ และหนี้เดิมนั้น
มผี ลสมบูรณบ๑ งั คบั ไดต๎ ามกฎหมาย จงึ จะสามารถนํามาแปลงหน้ีใหมํได๎ เพราะถ๎าไมํมีหนี้เดิม
อยํู กไ็ มํมหี นี้อะไรทจี่ ะนาํ มาแปลงเปน็ หน้ใี หมตํ ํอไปได๎

ข้อสงั เกต
1. นติ กิ รรมใดท่เี ปน็ โมฆะ เชํน การใดมีวัตถุประสงค๑เป็นการต๎องห๎ามชัด
แจง๎ โดยกฎหมาย เป็นการพ๎นวิสัย หรือเป็นการขัดตํอความสงบเรียบร๎อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 150 หรือการใดมิได๎ทําให๎


Click to View FlipBook Version