The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auttapon_tepsong, 2022-04-17 14:02:03

คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะหนี้

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

188

แมท๎ ั้งทย่ี งั ไมถํ งึ กาํ หนดเรยี กร๎อง...” เพราะหากลูกหน้ีมีหนี้สินล๎นพ๎นตัวก็ยํอมเป็นที่แนํนอน
แล๎ววําลูกหน้ีจะไมํสามารถชําระหน้ีอยูํน่ันเอง73 เชํน นาย ก. จ๎างนาย ข. ซํอมรถยนต๑ โดย
ตกลงกันวําเมื่อนาย ข. ซํอมรถยนต๑เสร็จ ให๎นาย ก. รับรถยนต๑ไปใช๎งานได๎เลย และให๎มา
ชําระคําซํอมในเดือนถัดไป แตํตํอมาปรากฏวํานาย ข. กลายเป็นผ๎ูท่ีมีหนี้สินล๎นพ๎นตัว ดังนี้
เม่อื นาย ข. ซํอมรถยนต๑เสรจ็ นาย ข. จะใช๎สิทธิจะยึดหนํวงรถยนตน๑ ้นั ไว๎ก็ได๎ เป็นต๎น

คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่เกย่ี วขอ้ ง
คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 693/2475 สญั ญาซื้อขายสินค๎า เมื่อผ๎ูขายสํงมอบสินค๎าให๎
ผ๎ูซอ้ื แลว๎ แม๎ผู๎ซอ้ื จะยังไมไํ ดช๎ ําระราคา ผข๎ู ายกไ็ มมํ สี ิทธิยึดหนวํ งทรพั ย๑ไว๎ได๎ การท่ีผ๎ูขายได๎รับ
สนิ ค๎ากลบั มาอยใํู นครอบครองโดยมเี ง่อื นไข ไมํถอื วําผูข๎ ายยังครอบครองสนิ ค๎าน้ัน
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 545/2504 เจ๎าหนี้ให๎ลูกหนี้ก๎ูเงิน โดยลูกหน้ีได๎มอบโฉนด
ท่ีดินให๎เจ๎าหน้ียึดไว๎เป็นประกัน ดังนี้ เจ๎าหนี้ไมํมีสิทธิยึดหนํวงโฉนดที่ดินน้ัน ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 241
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1975/2506 ผูใ๎ หก๎ ร๎ู บั มอบนาพิพาทอนั เป็นอสงั หารมิ ทรัพย๑
ไว๎เป็นประกันหน้ีและทําตํางดอกเบย้ี โดยตกลงกันเองมไิ ด๎ทาํ ให๎ชอบดว๎ ยกฎหมายวําด๎วยการ
ประกนั ดว๎ ยทรพั ย๑ จงึ ไมํมีผลทําให๎เกิดทรัพย๑สิทธิเหนือนาพิพาท อันจะทําให๎มีสิทธิยึดหนํวง
นาพพิ าท ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 241 วรรคสอง ผู๎ให๎กู๎จึงต๎องคืนนา
พิพาทใหผ๎ ูก๎ ู๎
คาพิพากษาศาลฎกี าที่ 1428 - 1429/2514 ผู๎ร๎องครอบครองโฉนดท่ีดินซึ่งจําเลย
มคี วามผกู พนั จะต๎องขายให๎ผู๎ร๎องตามสัญญาจะซ้ือจะขาย ดังน้ี ผู๎ร๎องเพียงครอบครองโฉนด
ทีด่ นิ เทาํ น้ัน ผ๎ูร๎องจงึ ไมํมีสิทธยิ ดึ หนวํ งโฉนดท่ดี นิ นัน้ ไว๎
ข้อสังเกต คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1428 - 1429/2514 ศาลมองวํามูลหน้ีท่ีเจ๎าหนี้
จะใช๎สิทธิยึดหนํวงคือสัญญาซ้ือขายท่ีดิน แตํส่ิงที่เจ๎าหน้ีครอบครองคือโฉนดท่ีดินไมํใชํที่ดิน
ดังนัน้ เจา๎ หน้ีจึงไมํมีสิทธิยึดหนวํ งโฉนดทีด่ นิ นั้นไว๎
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 229/2522 การที่โจทก๑กู๎เงินและมอบโฉนดที่ดินให๎จําเลย
ยึดถือไว๎เป็นประกันเงินกู๎ ไมํเข๎าลักษณะจํานํา จําเลยจึงไมํมีสิทธิยึดหนํวงโฉนดท่ีดินของ
โจทก๑ไว๎ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241 และต๎องคืนโฉนดที่ดินให๎แกํ
โจทก๑

73จิด๊ เศรษฐบุตร (แก๎ไขเพิ่มเตมิ โดยดาราพร ถิระวฒั น๑), หลักกฎหมายแพ่งลักษณะ
หนี้, พิมพ๑คร้ังท่ี 19 (กรุงเทพมหานคร: โครงการตําราและเอกสารประกอบการสอน คณะ
นิตศิ าสตร๑ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร๑, 2553), หนา๎ 165.

189

ข้อสังเกต คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 545/2504 คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1975/2506
และคําพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 229/2522 นั้น ศาลมองวําเมื่อมิได๎ทําให๎ถูกต๎องตามกฎหมายวํา
ดว๎ ยการประกนั ดว๎ ยทรัพย๑ จึงไมํมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน๑แกํตนเก่ียวด๎วยทรัพย๑สิน เจ๎าหน้ี
จงึ ไมมํ สี ิทธิยึดหนวํ ง

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1313/2522 โจทก๑ตกลงขายบ๎านให๎จําเลยโดยรับเงินคํา
บา๎ นมาแล๎ว ยังไมไํ ปจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธิ์ โดยขอผัดผํอนจะจดทะเบียนโอนกันวันหลัง
แตไํ ด๎มอบการครอบครองบา๎ นให๎จําเลยแลว๎ อันมีลักษณะเป็นสัญญาจะซ้ือจะขาย ซ่ึงสัญญา
จะซื้อจะขายดังกลําวนี้ยํอมผูกพันโจทก๑อยูํ จําเลยเป็นผ๎ูครอบครองบ๎านพิพาทของโจทก๑ใน
ฐานะผู๎ซื้อ และมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน๑แกํตนเก่ียวด๎วยบ๎านซ่ึงครอบครองนั้น จําเลยจึงมี
สิทธิยึดหนวํ งบ๎านหลงั น้นั ไวไ๎ ด๎

ข้อสังเกต คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1313/2522 ศาลมองวํามูลหน้ีท่ีเจ๎าหนี้จะใช๎
สิทธิยึดหนํวงคือสัญญาซื้อขายบ๎าน และสิ่งที่เจ๎าหน้ีครอบครองคือบ๎าน ดังน้ัน เจ๎าหน้ีจึงมี
สิทธยิ ดึ หนํวงบ๎านนัน้ ไวไ๎ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2176/2524 เงินคําเชําลํวงหน๎าที่จําเลยมอบให๎โจทก๑
ครอบครองไว๎โดยชอบ เมอ่ื จําเลยเปน็ ฝา่ ยผิดสัญญาไมํยอมออกไปจากทรพั ย๑สินที่เชําเมื่อการ
เชําไดส๎ ้นิ สุดลง จงึ เป็นการอยโูํ ดยละเมดิ ทาํ ให๎โจทกไ๑ ดร๎ บั ความเสียหาย โจทก๑ยํอมใช๎สิทธิยึด
หนํวงเงินจาํ นวนน้ี เพื่อรับการชดใชค๎ าํ เสยี หายจากการท่ีจําเลยอยูํในทรัพย๑สินของโจทก๑โดย
ละเมดิ ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 241 และเม่ือโจทก๑และจําเลยตําง
เป็นเจา๎ หนีแ้ ละลกู หนซ้ี งึ่ กันและกัน โดยมูลหนีอ้ ันมีวตั ถคุ ือการชําระหน้เี ปน็ เงินอยํางเดียวกัน
และตาํ งถงึ กาํ หนดชําระแลว๎ โจทกจ๑ ึงมีสิทธจิ ะหักกลบลบหนจ้ี ากเงินที่ยึดหนํวงไว๎น้ันได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 341

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 178/2526 โจทก๑นํารถคันพิพาทมาให๎จําเลยซํอม โดยตก
ลงจะชาํ ระคาํ ซอํ มรถคนั พิพาทพรอ๎ มกับคาํ ซอํ มรถคันกอํ นซึง่ ยังไมํได๎ชําระด๎วย ดังนั้น จําเลย
จงึ มสี ิทธยิ ดึ หนวํ งรถคันพิพาทไว๎สาํ หรับคาํ จา๎ งซํอมรถคันกํอนท่ีโจทก๑รับรถไปแล๎วแตํยังไมํได๎
ชาํ ระด๎วย

ข้อสังเกต คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 178/2526 ศาลมองวําแม๎หน้ีคําจ๎างซํอมรถคัน
กํอนจะไมํเก่ียวกับรถคันพิพาท แตํจําเลยก็มีสิทธิยึดหนํวงรถคันพิพาทไว๎สําหรับคําจ๎างซํอม
รถคนั กํอนได๎ ตามข๎อตกลงท่ีได๎ทํากันไว๎ในระหวํางคูํกรณี กลําวคือ คํูกรณีสามารถตกลงกัน
ให๎แตกตาํ งจากประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 241 ได๎ แตํข๎อตกลงดังกลําวนี้เป็น
เพียงบคุ คลสทิ ธริ ะหวํางคูกํ รณีเทํานน้ั ไมํผูกพนั บคุ คลภายนอก

คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 1716/2528 ผ๎ูกอู๎ นญุ าตให๎ผู๎ให๎กู๎อยูอํ าศัยในบ๎านพิพาทและ
ทาํ สัญญามอบโฉนดทด่ี ินพรอ๎ มส่งิ ปลูกสรา๎ งใหผ๎ ู๎ให๎ก๎ูยึดไว๎เป็นประกันเงินก๎ู ถ๎าผ๎ูก๎ูผิดนัด ผู๎ให๎
กู๎มีสิทธินําโฉนดไปจดทะเบียนโอนท่ีดินและส่ิงปลูกสร๎างได๎ตามใบมอบอํานาจที่ให๎ไว๎ ดังนี้

190

แมผ๎ ูใ๎ ห๎ก๎ูจะไมํมีสิทธิยึดหนํวงตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241 เพราะหนี้
เงินกู๎ไมํเกี่ยวกับตัวทรัพย๑พิพาท แตํเมื่อข๎อตกลงตามสัญญากู๎ระบุให๎ผ๎ูให๎กู๎มีสิทธิยึดทรัพย๑
พิพาทไว๎เป็นประกันจนกวําผู๎ก๎ูจะชําระหนี้นั้น เป็นข๎อตกลงที่ที่ไมํขัดตํอกฎหมายหรือความ
สงบเรยี บรอ๎ ยของประชาชน ผ๎ูให๎กู๎จึงมีสิทธิยึดทรัพย๑ที่นํามาประกันไว๎และอยูํในบ๎านพิพาท
ตอํ ไปได๎ จนกวําผกู๎ ๎ูจะชาํ ระหนี้ตามสญั ญา

คาพิพากษาศาลฎกี าท่ี 3778/2533 โจทก๑เขา๎ ยดึ ถือครอบครองท่ีพิพาทในระหวําง
ระยะเวลาแหํงการเชาํ โจทก๑ได๎ทําสัญญาจะซ้ือจะขายที่พิพาทกับจําเลย แล๎วโจทก๑ได๎เข๎าไป
ยดึ ถือครอบครองที่พิพาทในฐานะผู๎ซ้ือตลอดมา แม๎สิทธิครอบครองจะยังไมํโอนมาเป็นของ
โจทก๑ เพราะคํูสัญญาประสงค๑จะให๎มีการโอนทางทะเบียนก็ตาม แตํโจทก๑ก็ยํอมมีสิทธิยึด
หนวํ งท่พี ิพาทไวจ๎ นกวาํ จะมกี ารโอนกรรมสิทธไ์ิ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1496/2535 โจทก๑เปิดศูนย๑ภาษาข้ึนท่ีตึกแถวของจําเลย
โดยตกลงกันวําโจทก๑เป็นผู๎ออกคําใช๎จํายในการดําเนินกิจการท้ังหมด และจะจําย
ผลประโยชนเ๑ ปน็ คําตอบแทนให๎แกํจําเลยในอัตราร๎อยละ 30 ของคําจ๎างที่ได๎รับ โจทก๑ได๎ซื้อ
อุปกรณ๑ตาํ ง ๆ มาใชใ๎ นการประกอบกจิ การของศูนย๑ภาษาในตึกแถวดังกลําว ดังนี้ คํานํ้า คํา
ไฟฟ้า คําโทรศัพท๑ และคําผลประโยชน๑ท่ีโจทก๑ค๎างชําระแกํจําเลยอยูํ หาใชํเป็นหนี้อันเป็น
คุณประโยชน๑แกํจําเลยเก่ียวด๎วยอุปกรณ๑ตําง ๆ ดังกลําวซึ่งจําเลยครองอยูํไมํ จําเลยจึงไมํมี
สทิ ธยิ ดึ หนวํ งอุปกรณต๑ าํ ง ๆ ดงั กลําวไว๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 5016/2538 เมื่อหนี้ที่จําเลยอาศัยเป็นมูลเหตุให๎ยึดโฉนด
ที่ดินพิพาทไมํอาจฟ้องร๎องบังคับคดีได๎ จําเลยจึงไมํมีสิทธิยึดถือโฉนดท่ีดินพิพาทไว๎เป็น
ประกนั หนไี้ ด๎

คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 5897/2544 แม๎จําเลยทั้งสองจะจ๎างโจทก๑ทําส่ิงของหลาย
ครงั้ แตใํ นการจา๎ งแตํละครั้งสามารถแยกออกจากกันได๎ ดังนั้น หน้ีคําจ๎างตามสัญญาจ๎างทํา
สิง่ ของครัง้ ท่ี 1 ถงึ ที่ 3 จึงไมเํ กยี่ วกับการวําจ๎างทาํ สงิ่ ของคร้งั ท่ี 4 และไมํเป็นคณุ ประโยชน๑แกํ
โจทก๑เก่ียวดว๎ ยสง่ิ ของตามสญั ญาจา๎ งคร้ังท่ี 4 ท่โี จทก๑ยดึ ถือไว๎ ทั้งหนค้ี ําจ๎างทําส่ิงของครั้งท่ี 4
กย็ งั ไมถํ งึ กําหนดชาํ ระ เนื่องจากโจทก๑ใหเ๎ ครดติ แกํจําเลยท้ังสองเป็นเวลา 90 วัน โจทก๑จึงไมํ
มีสิทธิท่ีจะยึดหนํวงส่ิงของตามสัญญาจ๎างครั้งท่ี 4 ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 241

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7705/2544 เม่ือจําเลยได๎ครอบครองรถยนต๑พิพาทไว๎เพ่ือ
ตรวจเช็คสภาพ หน้ีอันเป็นคุณประโยชน๑แกํจําเลยเก่ียวด๎วยรถยนต๑พิพาทอันจะกํอสิทธิแกํ
จําเลยที่จะยึดหนํวงรถยนต๑พิพาทไว๎จึงต๎องเป็นหน้ีท่ีเกิดจากการตรวจเช็คสภาพรถยนต๑
พิพาทที่โจทก๑ต๎องรับผิดตํอจําเลยเทํานั้น สัญญาซ้ือขายรถยนต๑พิพาทหาใชํหนี้ที่จะกํอให๎
จําเลยมีสทิ ธิยดึ หนํวงรถยนต๑พิพาทไมํ ดังน้ัน จําเลยจึงไมํมีสิทธิครอบครองรถยนต๑พิพาทไว๎
เพอ่ื บังคับใหโ๎ จทกช๑ ําระหนี้ตามสัญญาซ้ือขายรถยนตพ๑ พิ าทน้ัน

191

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1894/2546 แม๎การท่ีจําเลยผู๎เป็นลูกหน้ีเงินก๎ูมอบโฉนด
ทีด่ ินให๎ผ๎ูร๎องยึดถือไว๎เป็นประกันเงินกู๎น้ัน ผ๎ูร๎องจะไมํมีสิทธิยึดหนํวงตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241 เพราะหน้ีที่ผู๎ร๎องมีเป็นเพียงหนี้เงินก๎ูที่ผ๎ูร๎องจะได๎รับชําระหน้ี
คนื เทําน้ัน หน้ีเงินกูห๎ าไดเ๎ ปน็ คณุ แกํผูร๎ อ๎ งเก่ยี วดว๎ ยโฉนดที่ดนิ ดังกลําวไมํ แตํอยาํ งไรก็ดี ผ๎ูร๎อง
ก็มีสิทธิยึดถือโฉนดที่ดินไว๎เป็นประกันการชําระหน้ีเงินก๎ูได๎จนกวําจะได๎รับชําระหน้ีคืนโดย
อาศัยข๎อตกลงดังกลําวนั้น แตํข๎อตกลงดังกลําวนั้นเป็นเพียงบุคคลสิทธิบังคับกันได๎ระหวําง
คูสํ ัญญา ไมํสามารถใชย๎ ันแกํบคุ คลอ่นื ได๎ ดังน้ัน เมือ่ เจ๎าพนกั งานบงั คับคดีทําการบังคับคดีแกํ
ท่ีดินดังกลําว ผ๎ูรอ๎ งจึงไมมํ ีสิทธิยึดหนํวงโฉนดท่ีดินไว๎

ข้อสังเกต คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1894/2546 ศาลมองวําการที่ลูกหน้ีเงินก๎ูมอบ
โฉนดทดี่ นิ ให๎เจ๎าหน้ียึดถือไว๎เป็นประกันเงินก๎ูน้ัน มิได๎ทําให๎ถูกต๎องตามกฎหมายวําด๎วยการ
ประกันด๎วยทรัพย๑ จึงไมํมีหน้ีอันเป็นคุณประโยชน๑แกํตนเก่ียวด๎วยทรัพย๑สิน เจ๎าหน้ีจึงไมํมี
สิทธิยึดหนํวง แตํข๎อตกลงดังกลาํ วนน้ั เปน็ บคุ คลสทิ ธิบังคับกนั ได๎ระหวาํ งคสํู ัญญา

3. ขอ้ ยกเว้นทีท่ าใหเ้ จ้าหน้ีไม่มสี ิทธยิ ึดหน่วง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 242 บัญญัติวํา “สิทธิยึดหนํวงอันใด

ถ๎าไมํสมกบั ลักษณะที่เจา๎ หนี้รบั ภาระในมูลหนีก้ ็ดี ไมสํ มกับคําส่ังอนั ลูกหนไ้ี ด๎ให๎ไว๎กํอนหรือให๎
ในเวลาท่ีสํงมอบทรัพย๑สินน้ันก็ดี หรือเป็นการขัดกับความสงบเรียบร๎อยของประชาชนก็ดี
สิทธิยดึ หนวํ งเชํนนั้นทํานใหถ๎ อื วําหามีไมํเลย”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 242 ข๎อยกเว๎นท่ีทําให๎เจ๎าหน้ี
ไมํมีสิทธิยึดหนํวง แบํงออกเป็น 3 กรณี คือ 1. ไมํสมกับลักษณะที่เจ๎าหน้ีรับภาระในมูลหนี้
2. ไมํสมกบั คําส่งั อนั ลกู หน้ีไดใ๎ หไ๎ ว๎กอํ นหรอื ใหใ๎ นเวลาที่สํงมอบทรัพย๑สิน และ 3. ขัดกับความ
สงบเรยี บร๎อยของประชาชน

3.1 ไม่สมกับลักษณะที่เจ้าหนี้รับภาระในมูลหน้ี หมายความวํา ถ๎าการใช๎สิทธิ
ยึดหนํวงนั้นขัดแย๎งกับหน๎าท่ีท่ีเจ๎าหนี้ต๎องกระทําเกี่ยวกับมูลหนี้น้ัน หรือถ๎าการใช๎สิทธิ
ยึดหนํวงนั้นจะทําให๎หน๎าท่ีท่ีเจ๎าหน้ีต๎องกระทําเกี่ยวกับมูลหนี้น้ันไมํสําเร็จผล ดังนี้ เจ๎าหน้ี
ยํอมไมํมีสิทธิยึดหนํวง เชํน นาย ก. จ๎างนาย ข. ขนสํงสินค๎า ดังนี้ นาย ข. จะใช๎สิทธิจะ
ยึดหนํวงสนิ ค๎านัน้ ไว๎ จนกวําจะไดร๎ ับชําระหนค้ี ําขนสํงสินคา๎ ไมไํ ด๎ เป็นตน๎

3.2 ไม่สมกับคาสั่งอันลูกหน้ีได้ให้ไว้ก่อนหรือให้ในเวลาท่ีส่งมอบทรัพย์สิน
หมายความวํา ถ๎าลูกหนี้มีคําสั่งห๎ามยึดหนํวงทรัพย๑สิน แล๎วเจ๎าหนี้ก็ได๎ตกลงจะปฏิบัติตาม
คาํ สั่งนน้ั เจา๎ หนจ้ี ะใช๎สิทธิยดึ หนํวงไมไํ ด๎ โดยคําสงั่ ของลูกหนี้ดังกลําวน้ี ต๎องเกิดข้ึนกํอนหรือ
ในเวลาที่สงํ มอบทรัพยส๑ ิน เจ๎าหน้ีจึงจะใช๎สิทธยิ ดึ หนํวงไมํได๎ แตํหากคําสั่งของลูกหนี้ดังกลําว
นี้ ต๎องเกดิ ข้ึนหลงั จากทไ่ี ด๎มีการสงํ มอบทรัพย๑สนิ แล๎ว เจ๎าหน้ีใช๎สิทธิยึดหนํวงได๎ เชํน นาย ก.
จ๎างนาย ข. ซอํ มรถยนต๑ โดยในเวลากอํ นหรอื ในเวลาท่สี ํงมอบรถยนต๑ให๎แกํนาย ข. คูํกรณีได๎

192

ตกลงกนั วําเมอื่ นาย ข. ซํอมรถยนต๑เสร็จ ให๎นาย ก. รับรถยนต๑ไปใช๎งานได๎เลย ห๎ามนาย ข.
ใช๎สิทธิยึดหนํวงรถยนต๑ไว๎ ดังนี้ นาย ข. จะใช๎สิทธิจะยึดหนํวงรถยนต๑นั้นไว๎ไมํได๎ แตํหาก
คํูกรณีมิได๎ตกลงกันวําห๎ามนาย ข. ใช๎สิทธิยึดหนํวงรถยนต๑ไว๎ แตํนาย ก. เพ่ิงมามีคําสั่งถึง
นาย ข. วําห๎ามใช๎สิทธิยึดหนํวงในภายหลังจากที่ได๎มีการสํงมอบรถยนต๑ให๎แกํนาย ข. แล๎ว
ดังน้ี นาย ข. จะใช๎สิทธจิ ะยดึ หนวํ งรถยนต๑น้นั ได๎ เปน็ ตน๎

3.3 ขัดกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน หมายความวํา หากการใช๎
สิทธิยึดหนํวงน้ันขัดกับความสงบเรียบร๎อยของประชาชน เจ๎าหนี้ยํอมไมํมีสิทธิยึดหนํวง ซ่ึง
ศาสตราจารย๑ ดร. สุนทร มณสี วสั ดิ์ ได๎ยกตัวอยาํ งวาํ เทศบาลนํารถดบั เพลิงไปจ๎างอูํซํอมรถให๎
ซํอมรถให๎ ตํอมาได๎เกิดเพลิงไหม๎ในเขตเทศบาล ดังนี้ แม๎เทศบาลจะยังไมํชําระคําซํอมรถ
อูํซํอมรถก็จะใช๎สิทธิยึดหนํวงรถน้ันไว๎ไมํได๎ เพราะขัดกับความสงบเรียบร๎อยของประชาชน
และในอุทาหรณ๑ของกรมรํางกฎหมาย ได๎ยกตัวอยํางวําร๎านซํอมได๎รับตู๎โบราณจาก
พพิ ธิ ภัณฑสถานมาซอํ ม ดังน้ี ร๎านซอํ มจะใชส๎ ทิ ธิยึดหนํวงต๎ูโบราณไว๎ไมํได๎ เพราะการที่จะให๎
ของมีคาํ เชนํ นี้ตกอยูํในมือของเอกชน ยอํ มเป็นการขัดกับความสงบเรยี บรอ๎ ยของประชาชน74

อยํางไรกด็ ี มีขอ๎ ยกเวน๎ ซ๎อนข๎อยกเว๎น อันทําให๎เจ๎าหน้ีมีสิทธิยึดหนํวง ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 243 ซงึ่ บัญญัตวิ าํ “ในกรณีที่ลูกหน้ีเป็นคนหน้ีสินล๎นพ๎น
ตัวไมํสามารถใช๎หนี้ เจ๎าหนี้มีสิทธิจะยึดหนํวงทรัพย๑สินไว๎ได๎ ... ถ๎าการที่ลูกหน้ีไมํสามารถใช๎
หน้นี ั้นไดเ๎ กิดเปน็ ขึ้นหรอื รถ๎ู ึงเจา๎ หน้ีตํอภายหลังเวลาที่ได๎สํงมอบทรัพย๑สินไซร๎ ถึงแม๎วําจะไมํ
สมกับลักษณะท่ีเจ๎าหนี้รับภาระในมูลหน้ีไว๎เดิม หรือไมํสมกับคําส่ังอันลูกหนี้ได๎ให๎ไว๎ก็ดี
เจา๎ หน้ีก็อาจจะใช๎สิทธยิ ึดหนํวงได๎”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 243 อธบิ ายไดด๎ ังนี้
1. ในกรณีท่ีไมํสมกับลักษณะท่ีเจ๎าหน้ีรับภาระในมูลหน้ี เจ๎าหนี้ยํอมจะไมํมีสิทธิ
ยึดหนํวงทรัพย๑สนิ ไว๎ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 242 แตํหากลูกหนี้เป็น
คนหน้ีสินล๎นพ๎น และการท่ีลูกหนี้ไมํสามารถใช๎หน้ีน้ันได๎เกิดขึ้นหรือรู๎ถึงเจ๎าหน้ีตํอภายหลัง
เวลาที่ได๎สํงมอบทรัพย๑สิน เจ๎าหน้ีมีสิทธิใช๎สิทธิยึดหนํวงได๎ เชํน นาย ก. จ๎างนาย ข. ขนสํง
สินคา๎ หากตอํ มานาย ก. กลายเป็นผู๎ท่ีมีหน้ีสินล๎นพ๎นตัวภายหลังจากที่ได๎มีการสํงมอบสินค๎า
ใหแ๎ กนํ าย ข. แล๎ว หรือนาย ข. เพ่ิงรู๎วํานาย ก. เป็นผ๎ูท่ีมีหน้ีสินล๎นพ๎นตัวภายหลังจากท่ีได๎มี
การสงํ มอบสนิ คา๎ ให๎แกํนาย ข. แล๎ว ดังนี้ นาย ข. จะใช๎สิทธิจะยึดหนํวงสินค๎าน้ันไว๎ จนกวํา
จะไดร๎ ับชําระหนีค้ าํ ขนสํงสินคา๎ ได๎ แตํหากนาย ข. ไดร๎ ๎วู ํานาย ก. เป็นผ๎ทู ีม่ ีหนีส้ ินล๎นพ๎นตัวอยํู
กอํ นทจ่ี ะไดม๎ ีการสํงมอบสินค๎าให๎แกํนาย ข. ดังนี้ นาย ข. จะใช๎สิทธิจะยึดหนํวงสินค๎านั้นไว๎
จนกวําจะได๎รบั ชาํ ระหนี้คําขนสํงสินค๎าไมํได๎ เปน็ ตน๎

74สุนทร มณสี วัสด์ิ, เรื่องเดิม, หนา๎ 258.

193

2. ในกรณีท่ีไมํสมกับคําส่ังอันลูกหน้ีได๎ให๎ไว๎กํอนหรือให๎ในเวลาท่ีสํงมอบทรัพย๑สิน
เจ๎าหน้ียํอมจะไมํมีสิทธิยึดหนํวงทรัพย๑สินไว๎ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
242 แตํหากลูกหน้เี ปน็ คนหน้ีสินลน๎ พ๎น และการที่ลูกหนี้ไมํสามารถใช๎หนี้นั้นได๎เกิดข้ึนหรือรู๎
ถึงเจา๎ หน้ตี ํอภายหลังเวลาที่ได๎สํงมอบทรัพยส๑ ิน เจ๎าหนมี้ ีสิทธิใช๎สิทธิยึดหนํวงได๎ เชํน นาย ก.
จา๎ งนาย ข. ซํอมรถยนต๑ โดยในเวลากํอนหรือในเวลาทสี่ งํ มอบรถยนต๑ให๎แกํนาย ข. คํูกรณีได๎
ตกลงกันวาํ หา๎ มนาย ข. ใช๎สิทธิยึดหนํวงรถยนต๑ไว๎ หากตํอมานาย ก. กลายเป็นผ๎ูที่มีหนี้สิน
ลน๎ พ๎นตวั ภายหลังจากท่ีได๎มกี ารสํงรถยนต๑ให๎แกนํ าย ข. แลว๎ หรอื นาย ข. เพง่ิ รว๎ู าํ นาย ก. เป็น
ผู๎ที่มีหนี้สินล๎นพ๎นตัวภายหลังจากที่ได๎มีการสํงมอบรถยนต๑ให๎แกํนาย ข. แล๎ว ดังน้ี นาย ข.
จะใชส๎ ทิ ธจิ ะยึดหนํวงรถยนตไ๑ ว๎ จนกวําจะได๎รบั ชําระหนค้ี าํ ซอํ มรถยนต๑ได๎ แตํหากนาย ข. ได๎
รู๎วํานาย ก. เป็นผู๎ที่มีหน้ีสินล๎นพ๎นตัวอยํูกํอนท่ีจะได๎มีการสํงมอบรถยนต๑ให๎แกํนาย ข. ดังน้ี
นาย ข. จะใช๎สิทธิจะยึดหนํวงรถยนต๑นั้นไว๎ จนกวําจะได๎รับชําระหน้ีคําซํอมรถยนต๑ไมํได๎
เป็นตน๎

ขอ้ สงั เกต หากการใช๎สิทธิยึดหนํวงนั้นเป็นเร่ืองที่ขัดกับความสงบเรียบร๎อยของ
ประชาชน แม๎ลูกหน้จี ะมีหนส้ี ินล๎นพ๎นตัว เจ๎าหน้ีก็จะใช๎สิทธิยึดหนํวงไมํได๎ เชํน นาย ก. จ๎าง
นาย ข. ซํอมรถยนต๑ ดังนี้ หากนาย ก. มาขอรับรถยนต๑เพ่ือหนีภัยธรรมชาติที่กําลังเกิดขึ้น
นาย ข. จะใช๎สิทธิจะยึดหนํวงไมํได๎ เพราะขัดกับความสงบเรียบร๎อยของประชาชน แม๎
นาย ก. จะเป็นผ๎ทู ่มี หี นี้สินล๎นพ๎นตวั กต็ าม เป็นต๎น

4. ผลของสทิ ธยิ ึดหนว่ ง
เมอื่ เจา๎ หนใี้ ชส๎ ิทธยิ ึดหนวํ ง จะกํอให๎เกดิ ผลคือสทิ ธแิ ละหนา๎ ท่แี กํเจ๎าหนี้ ดังน้ี
4.1 เจ้าหนมี้ ีสิทธิยดึ หน่วงทรัพย์สินไวจ้ นกวา่ จะชาระหนสี้ ิน้ เชิง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 241 บัญญัติวํา “ผ๎ูใดเป็นผู๎ครอง

ทรัพย๑สินของผ๎ูอ่ืน และมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน๑แกํตนเกี่ยวด๎วยทรัพย๑สินซ่ึงครองนั้นไซร๎
ทํานวาํ ผ๎นู นั้ จะยึดหนวํ งทรัพย๑สนิ นนั้ ไว๎จนกวาํ จะได๎ชําระหน้กี ไ็ ด๎...”

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 244 บัญญัติวํา “ผ๎ูทรงสิทธิ
ยึดหนํวงจะใช๎สิทธิของตนแกํทรัพย๑สินท้ังหมดท่ียึดหนํวงไว๎นั้น จนกวําจะชําระหนี้ส้ินเชิง
ก็ได๎”

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241 กําหนดให๎เจ๎าหนี้ผ๎ูทรงสิทธิ
ยึดหนํวงมีสิทธิยึดหนํวงทรัพย๑สินนั้นไว๎จนกวําจะได๎ชําระหน้ี แตํเจ๎าหนี้ผ๎ูทรงสิทธิยึดหนํวง
ไมํมีสิทธินําทรัพย๑สินน้ันออกขาดทอดตลาดเพื่อชําระหนี้ได๎ และเจ๎าหนี้ผู๎ทรงสิทธิยึดหนํวง
ไมํมสี ทิ ธิได๎รบั การชาํ ระหนก้ี อํ นเจ๎าหนรี้ ายอืน่

194

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 944/2490 เจ๎าหนี้ตามคําพิพากษามีอํานาจบังคับคดี
ยึดทรัพย๑สินอันเป็นกรรมสิทธิ์ของลูกหนี้มาใช๎หน้ีตามคําพิพากษาได๎เสมอ แม๎เจ๎าหนี้ผ๎ูทรง
สิทธยิ ึดหนวํ งในทรัพย๑น้นั ก็ร๎องขอใหป๎ ลอํ ยทรพั ยน๑ นั้ ไมไํ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 424/2509 โจทก๑เป็นเจ๎าหนี้ตามคําพิพากษา โจทก๑จึง
นํายดึ ทรพั ย๑สินเพ่ือขายทอดตลาดได๎ การที่ผู๎รอ๎ งมีสทิ ธยิ ึดหนํวงทรัพย๑สินน้ัน ไมํทําให๎ผู๎ร๎องมี
สิทธิที่จะร๎องขอให๎โจทก๑ถอนการยึดทรัพย๑สินน้ันได๎ ผู๎ร๎องชอบท่ีจะร๎องขอให๎หักใช๎หนี้ตาม
สิทธิของตน

อนงึ่ ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 241 กาํ หนดให๎เจา๎ หนี้ผ๎ูทรงสิทธิ
ยดึ หนํวงมสี ิทธิยดึ หนํวงทรพั ยส๑ ินนน้ั ไว๎จนกวําจะไดช๎ ําระหน้ี แตํไมํไดก๎ าํ หนดวําเป็นการชําระ
หน้ีส้ินเชิงหรือบางสํวน ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 244 จึงได๎ขยาย
บทบัญญตั ิของประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241 กลําวคือ กําหนดให๎เจ๎าหนี้มี
สทิ ธิยดึ หนํวงทรพั ย๑สนิ ไว๎จนกวําจะชําระหน้ีสน้ิ เชิง เชนํ นาย ก. จา๎ งนาย ข. ซํอมรถยนต๑ เป็น
จาํ นวนเงินคําซํอม 60,000 บาท ดงั น้ี แม๎นาย ก. จะชาํ ระคาํ จา๎ งซํอมรถยนต๑มาแล๎ว 20,000
บาท นาย ข. กย็ งั มีสิทธยิ ึดหนํวงทรพั ย๑สนิ ไวไ๎ ด๎จนกวํานาย ก. จะชาํ ระหน้ีส้นิ เชงิ เป็นต๎น

4.2 เจ้าหน้ีมสี ิทธิในดอกผล
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 245 บัญญัติวํา “ผู๎ทรงสิทธิ

ยดึ หนํวงจะเกบ็ ดอกผลแหํงทรัพย๑สินท่ียึดหนํวงไว๎ และจัดสรรเอาไว๎เพ่ือการชําระหนี้แกํตน
กอํ นเจา๎ หนีค้ นอนื่ ก็ได๎

ดอกผลเชํนวํานีจ้ ะต๎องจัดสรรเอาชําระดอกเบ้ียแหํงหน้ีนั้นกํอน ถ๎ายังมีเหลือจึง
ใหจ๎ ัดสรรใช๎ต๎นเงนิ ”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 245 หมายความวํา เจ๎าหนี้มี
สทิ ธิจะเกบ็ ดอกผลแหํงทรัพย๑สินทยี่ ดึ หนวํ งไว๎ ไมํวําจะเปน็ ดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย
และจดั สรรดอกผลนนั้ เอาไวเ๎ พอื่ การชาํ ระหน้ีแกตํ นกอํ นเจ๎าหนคี้ นอ่นื ได๎

ตวั อย่างท่ี 1 นาย ก. นําสุนัขมารักษาท่ีโรงพยาบาลสัตว๑แหํงหน่ึง เป็นคํารักษา
จํานวน 10,000 บาท แตํนาย ก. ไมํนําเงินมาชําระ ตํอมาสุนัขได๎เกิดลูกมา 4 ตัว ดังน้ี
โรงพยาบาลสตั วจ๑ ะเก็บดอกผลแหํงทรัพย๑สินท่ียึดหนํวงไว๎ คือ นําลูกสุนัขไปขาย และนําเงิน
มาชําระหนแ้ี กตํ นกํอนเจ๎าหน้ีคนอ่นื ก็ได๎

ตัวอย่างท่ี 2 นาย ก. จ๎างนาย ข. ซํอมรถยนต๑ เป็นจํานวนเงินคําซํอม 60,000
บาท แตนํ าย ก. ไมนํ ําเงินมาชาํ ระ ตอํ มานาย ก. และนาย ข. ตกลงกันให๎นาย ค. เชํารถยนต๑
นนั้ ดงั น้ี นาย ข. จะเก็บดอกผลแหงํ ทรัพย๑สนิ ทยี่ ึดหนวํ งไว๎ คอื เงินคําเชํารถยนต๑ และนําเงิน
คําเชํารถยนตน๑ ั้นมาชาํ ระหนี้แกํตนกอํ นเจา๎ หน้ีคนอน่ื ก็ได๎

195

ทั้งนี้ ดอกผลแหงํ ทรัพย๑สินทย่ี ึดหนวํ งไว๎ดงั กลาํ วขา๎ งตน๎ เจา๎ หน้ีจะต๎องจัดสรรเอา
ชาํ ระดอกเบี้ยแหงํ หน้ีน้นั กํอน ถา๎ ยังมีเหลือจึงให๎จัดสรรใช๎ต๎นเงิน เชํน นาย ก. นําสุนัขมาให๎
โรงพยาบาลสัตว๑แหงํ หนง่ึ เป็นคํารกั ษาจาํ นวน 10,000 บาท แตนํ าย ก. ไมํนาํ เงนิ มาชาํ ระ จึง
ทําให๎เกิดดอกเบี้ยในระหวํางผิดนัดอีกจํานวน 300 บาท ตํอมาสุนัขได๎เกิดลูกมา 4 ตัว
โรงพยาบาลสตั ว๑จึงนําลกู สนุ ัขไปขาย ไดเ๎ งินมา 20,000 บาท ดังนี้ โรงพยาบาลสัตว๑จะต๎องนํา
เงินน้ันชําระดอกเบี้ยแหํงหนี้จํานวน 300 บาท กํอน แล๎วท่ีเหลือจึงใช๎ต๎นเงิน 10,000 บาท
และสํวนที่เหลอื 9,700 บาท ต๎องคนื ให๎แกํ นาย ก. พรอ๎ มกบั สุนขั ทน่ี ํามารกั ษา

4.3 เจา้ หนี้มีหน้าทด่ี ูแลรกั ษาทรัพยส์ ินตามสมควร
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 246 วรรคแรก บัญญัติวํา

“ผ๎ทู รงสิทธิยึดหนํวงจําต๎องจดั การดแู ลรกั ษาทรัพย๑สนิ ทีย่ ดึ หนํวงไว๎น้ันตามสมควร เชํนจะพึง
คาดหมายไดจ๎ ากบคุ คลในฐานะเชํนนน้ั ”

ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 246 วรรคแรก หมายความวํา
เมือ่ เจา๎ หนี้ใช๎สทิ ธิยดึ หนํวงแล๎ว เจา๎ หนี้จาํ ตอ๎ งจดั การดแู ลรักษาทรัพย๑สินท่ียึดหนํวงไว๎น้ันตาม
สมควร เชํนจะพึงคาดหมายได๎จากบุคคลในฐานะเชํนนั้น กลําวคือ เจ๎าหน้ีท่ัว ๆ ไป นําจะ
จดั การดแู ลรักษาทรัพย๑สินท่ียึดหนํวงไว๎น้ันเชํนใด เจ๎าหนี้ก็ต๎องจัดการดูแลรักษาทรัพย๑สินที่
ยึดหนํวงไว๎นั้นเชํนใด ถ๎าเจ๎าหนี้ไมํจัดการดูแลรักษาทรัพย๑สินที่ยึดหนํวงไว๎นั้น ลูกหน้ีจะ
เรียกร๎องให๎ระงับสิทธิยึดหนํวงนั้นเสียก็ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
246 วรรคท๎าย

4.4 เจ้าหน้ีมหี น้าท่ตี ้องไมเ่ อาทรัพย์สินไปใชส้ อย ให้เชา่ หรือทาเป็นหลักประกัน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 246 วรรคสอง บัญญัติวํา “อน่ึง

ทรพั ยส๑ ินซึ่งยดึ หนํวงไว๎น้ัน ถ๎ามิได๎รับความยินยอมของลูกหน้ี ทํานวําผ๎ูทรงสิทธิยึดหนํวงหา
อาจจะใช๎สอยหรือให๎เชํา หรือเอาไปทําเป็นหลักประกันได๎ไมํ แตํความที่กลําวนี้ทํานมิให๎ใช๎
บังคบั ไปถงึ การใชส๎ อยเชํนท่ีจาํ เปน็ เพ่ือจะรกั ษาทรพั ย๑สินนัน้ เอง”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 246 วรรคสอง หมายความวํา
ทรัพย๑สินซ่ึงเจ๎าหน้ีได๎ยึดหนํวงไว๎น้ัน เจ๎าหนี้จะใช๎สอย หรือให๎เชํา หรือเอาไปทําเป็น
หลกั ประกนั ไมไํ ด๎ เวน๎ แตํ

1. ได๎รบั ความยนิ ยอมของลกู หน้ี หรอื
2. การใช๎สอยที่จําเป็นเพื่อจะรักษาทรัพย๑สินนั้นเอง เชํน เจ๎าหนี้ซึ่งยึดหนํวง
รถยนตไ๑ ว๎ ต๎องนํารถยนตน๑ ้ันออกไปขับบา๎ งเพอื่ รกั ษาสภาพของเครื่องยนต๑ เป็นตน๎
ถา๎ เจ๎าหน้ีนําทรัพย๑สินนั้นไปใช๎สอย หรือให๎เชํา หรือเอาไปทําเป็นหลักประกัน
โดยมไิ ดร๎ ับความยินยอมจากลกู หนี้ ลูกหน้ีจะเรียกร๎องให๎ระงับสิทธิยึดหนํวงน้ันเสียก็ได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 246 วรรคทา๎ ย

196

4.5 เจา้ หนีม้ ีสทิ ธไิ ดค้ ่าใช้จ่ายทจ่ี าเปน็
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 247 บัญญัติวํา “ถ๎าผู๎ทรงสิทธิ

ยึดหนํวงต๎องเสียคําใช๎จํายไป ตามที่จําเป็นเกี่ยวด๎วยทรัพย๑สินอันตนยึดหนํวงไว๎น้ันเพียงใด
จะเรียกให๎เจ๎าทรัพย๑ชดใชใ๎ ห๎ก็ได๎”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 247 หมายความวํา ถ๎าเจ๎าหนี้
ต๎องเสียคําใช๎จํายไปตามที่จําเป็นเกี่ยวด๎วยทรัพย๑สินอันตนยึดหนํวงไว๎น้ันเพียงใด เจ๎าหน้ีมี
สิทธิเรียกให๎ลูกหน้ีชดใช๎ให๎แกํเจ๎าหน้ีได๎ โดยคําใช๎จํายตามที่จําเป็นเกี่ยวด๎วยทรัพย๑สิน เชํน
ยดึ หนวํ งสตั วไ๑ ว๎ คาํ ใช๎จํายตามทีจ่ ําเปน็ คอื คําอาหาร คํายารกั ษาโรค เปน็ ต๎น

4.6 เจา้ หน้ีมีสทิ ธยิ ึดหน่วงโดยไม่มีอายคุ วาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 247 บัญญัติวํา “ภายในบังคับ

แหํงบทบัญญัติมาตรา 193/27 การใช๎สิทธิยึดหนํวงหาทําให๎อายุความแหํงหนี้สะดุดหยุดลง
ไมํ”

ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 193/27 บัญญัติวํา “ผู๎รับจํานอง
ผร๎ู บั จํานาํ ผท๎ู รงสิทธยิ ดึ หนวํ ง หรือผู๎ทรงบุรมิ สิทธิเหนือทรพั ยส๑ ินของลูกหน้ีอันตนได๎ยึดถือไว๎
ยงั คงมสี ิทธิบงั คบั ชาํ ระหน้ีจากทรัพย๑สินท่ีจํานอง จาํ นาํ หรอื ที่ได๎ยึดถอื ไว๎ แม๎วําสิทธิเรียกร๎อง
สํวนทีเ่ ปน็ ประธานจะขาดอายุความแล๎วก็ตาม แตํจะใช๎สิทธินั้นบังคับให๎ชําระดอกเบ้ียที่ค๎าง
ย๎อนหลังเกินหา๎ ปขี ึ้นไปไมํได๎”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 247 หมายความวํา ถ๎าสิทธิ
เรียกรอ๎ งสํวนที่เป็นประธานยังไมํขาดอายุความ การใช๎สิทธิยึดหนํวงหาทําให๎อายุความแหํง
หนสี้ ะดดุ หยดุ ลงไมํ กลําวคือ เจ๎าหน้ีจะต๎องฟอ้ งคดีภายในกําหนดอายุความของสทิ ธิเรยี กร๎อง
สวํ นท่ีเป็นประธาน หรือให๎นับอายุความตามสิทธิเรียกร๎องสํวนที่เป็นประธานน่ันเอง มิต๎อง
เริ่มนบั อายุความใหมตํ งั้ แตมํ กี ารใชส๎ ทิ ธยิ ดึ หนํวง

สํวนกรณตี ามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 193/27 หมายความ
วําถ๎าสิทธิเรียกร๎องสํวนท่ีเป็นประธานขาดอายุความแล๎ว เจ๎าหนี้ผู๎ทรงสิทธิยึดหนํวงยังคงมี
สิทธิฟ้องคดีตํอศาลเพ่ือบังคับชําระหนี้จากทรัพย๑สินท่ีได๎ยึดถือไว๎ แตํจะใช๎สิทธินั้นบังคับให๎
ชาํ ระดอกเบี้ยที่ค๎างย๎อนหลงั เกนิ ห๎าปขี ึ้นไปไมไํ ด๎

197

5. ความระงบั แหง่ สิทธยิ ึดหน่วง
สิทธิยดึ หนวํ งระงบั ได๎ 4 กรณี คือ
5.1 เจา้ หนไ้ี ด้รับการชาระหนี้จากลูกหนี้ หรือมีการกระทาอย่างอ่ืนซ่ึงมีผลให้หน้ี

ระงบั ไป
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 241 บัญญัติวํา “ผ๎ูใดเป็นผู๎ครอง

ทรัพย๑สินของผ๎ูอื่น และมีหน้ีอันเป็นคุณประโยชน๑แกํตนเกี่ยวด๎วยทรัพย๑สินซ่ึงครองน้ันไซร๎
ทํานวาํ ผ๎ูนนั้ จะยดึ หนํวงทรพั ย๑สินนั้นไว๎จนกวําจะได๎ชําระหน้ีก็ได๎ แตํความที่กลําวน้ีทํานมิให๎
ใช๎บังคับเมือ่ หนีน้ ัน้ ยงั ไมถํ ึงกาํ หนด

อนงึ่ บทบญั ญัติในวรรคกํอนนี้ ทํานมิให๎ใช๎บังคับถ๎าการท่ีเข๎าครอบครองนั้นเริ่ม
มาแตํทําการอันใดอนั หน่ึงซ่งึ ไมชํ อบดว๎ ยกฎหมาย”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241 เจ๎าหน้ีมีสิทธิยึดหนํวง
ทรัพย๑สินน้ันไว๎จนกวําจะได๎ชําระหนี้ ดังน้ัน หากเจ๎าหน้ีได๎รับการชําระหน้ีจากลูกหน้ีแล๎ว
สิทธิยึดหนํวงยํอมระงับไป หรือหากมีการกระทําอยํางอ่ืนซ่ึงมีผลให๎หน้ีระงับไป เชํน
การปลดหน้ี การหักกลบลบหนี้ การแปลงหนีใ้ หมํ หนี้เกล่อื นกลืนกัน เป็นต๎น สิทธิยึดหนํวงก็
ยอํ มระงับไปเชนํ เดียวกนั

5.2 เจา้ หนไ้ี ม่ทาหน้าที่เกี่ยวกบั การยดึ หน่วงทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 246 บัญญัติวํา “ผู๎ทรงสิทธิ

ยึดหนวํ งจําต๎องจดั การดูแลรักษาทรัพย๑สินที่ยึดหนํวงไว๎น้ันตามสมควร เชํนจะพึงคาดหมาย
ได๎จากบุคคลในฐานะเชนํ นน้ั

อนงึ่ ทรพั ยส๑ นิ ซ่ึงยึดหนวํ งไวน๎ ั้น ถ๎ามิได๎รับความยินยอมของลูกหนี้ ทํานวําผ๎ูทรง
สิทธิยึดหนํวงหาอาจจะใช๎สอย หรือให๎เชํา หรือเอาไปทําเป็นหลักประกันได๎ไมํ แตํความท่ี
กลําวน้ีทํานมิใหใ๎ ชบ๎ ังคับไปถงึ การใชส๎ อยเชํนทจี่ าํ เปน็ เพอื่ จะรักษาทรพั ยส๑ ินนน้ั เอง

ถ๎าผ๎ูทรงสิทธิยึดหนํวงกระทําการฝ่าฝืนบทบัญญัติใดท่ีกลําวมานี้ ทํานวําลูกหน้ี
จะเรยี กร๎องให๎ระงบั สิทธิน้ันเสียกไ็ ด๎”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 246 วรรคแรกและวรรคสอง
เจ๎าหน้ีมีหน๎าที่ดูแลรักษาทรัพย๑สินตามสมควร และมีหน๎าที่ต๎องไมํเอาทรัพย๑สินไปใช๎สอย
ให๎เชํา หรือทําเป็นหลักประกัน และตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 246
วรรคท๎าย หากเจ๎าหนี้ฝา่ ฝนื บทบญั ญัติดังกลาํ วน้ี ลูกหนม้ี สี ิทธิเรียกร๎องให๎ระงับสิทธิยึดหนํวง
นนั้ เสยี ได๎

198

5.3 ลูกหนห้ี าประกนั ให้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 249 บัญญัติวํา “ลูกหน้ีจะ

เรียกร๎องให๎ระงบั สิทธยิ ึดหนวํ งดว๎ ยหาประกนั ใหไ๎ วต๎ ามสมควรกไ็ ด๎”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 249 อธิบายได๎วํา เจ๎าหนี้ใช๎สิทธิ

ยดึ หนวํ งทรัพยส๑ ินไวก๎ เ็ พ่ือประกันการชาํ ระหน้ี ดังนน้ั หากลูกหน้ีได๎หาหลักประกันช้ินใหมํให๎
ไว๎แกเํ จา๎ หนี้ตามสมควรแทนทรัพย๑สินท่ียึดหนํวงไว๎ สิทธิยึดหนํวงยํอมระงับลง เชํน นาย ก.
จ๎างนาย ข. ซอํ มรถยนต๑ เปน็ จํานวนเงินคําซํอม 60,000 บาท แตํ นาย ก. ไมํนําเงินมาชําระ
ตอํ มานาย ข. ได๎ยดึ หนวํ งรถยนต๑ไว๎ ดังนี้ นาย ก. จะเรียกร๎องให๎ระงับสทิ ธยิ ึดหนํวงในรถยนต๑
ลง โดยการนําแหวนเพชรราคา 60,000 บาท มาเป็นหลักประกันแทนก็ได๎ เป็นตน๎

5.4 การครอบครองทรพั ยส์ นิ ทย่ี ดึ หน่วงสญู สนิ้ ไป
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 250 บัญญัติวํา “การครอง

ทรพั ยส๑ นิ สญู สน้ิ ไป สทิ ธยิ ดึ หนํวงก็เปน็ อันระงับส้นิ ไปด๎วย แตํความทก่ี ลําวน้ที าํ นมิใหใ๎ ช๎บังคับ
แกกํ รณีทที่ รัพย๑สินอันยึดหนํวงไว๎นนั้ ได๎ใหเ๎ ชาํ ไปหรอื จํานาํ ไว๎ดว๎ ยความยินยอมของลูกหน้ี”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 250 หมายความวาํ ถ๎าการครอง
ทรพั ย๑สนิ สญู ส้ินไป เชํน เจา๎ หนสี้ ละการครอบครอง โดยการคืนทรัพย๑น้ันให๎แกํลูกหน้ีไป ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 1377 เป็นต๎น สิทธิยึดหนํวงก็เป็นอันระงับสิ้นไป
ด๎วย เพราะเมื่อการครอบครองทรัพย๑สินที่ยึดหนํวงสูญสิ้นไป เจ๎าหน้ียํอมไมํได๎ครอบครอง
ทรัพย๑สินนั้น อันทําให๎ไมํสามารถใช๎สิทธิยึดหนํวงได๎ เชํน นาย ก. จ๎างนาย ข. ซํอมรถยนต๑
แตํ นาย ก. ไมํนาํ เงินมาชําระหนี้ นาย ข. จึงไดย๎ ึดหนํวงรถยนต๑น้ันไว๎ ตํอมา หากนาย ข. คืน
รถยนต๑น้ันให๎แกํนาย ก. สิทธิยึดหนํวงก็เป็นอันระงับสิ้นไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 250 เปน็ ตน๎

ข้อสังเกต กรณีท่ีเจ๎าหน้ีถูกแยํงการครอบครองไปโดยมิชอบด๎วยกฎหมาย เชํน
ถกู ขโมยทรัพย๑สินนน้ั ไป เปน็ ตน๎ เจา๎ หนย้ี งั คงมสี ิทธิจะได๎คืนซึ่งการครอบครอง ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 1375 ซ่ึงบัญญัติวํา “ถ๎าผ๎ูครอบครองถูกแยํงการ
ครอบครองโดยมชิ อบดว๎ ยกฎหมายไซร๎ ทาํ นวําผ๎ูครอบครองมีสิทธิจะไดค๎ นื ซงึ่ การครอบครอง
...” ดังน้ี หากเจ๎าหนี้ได๎คืนมาซ่ึงการครอบครองทรัพย๑สินน้ัน เจ๎าหนี้ก็ยํอมมีสิทธิยึดหนํวง
ทรัพย๑สนิ น้นั ไวไ๎ ด๎

สํวนกรณีที่ทรัพยส๑ นิ ท่ถี กู ยึดหนํวงไว๎น้ัน เจ๎าหนไี้ ดใ๎ ห๎เชําไปหรือจํานําไว๎ด๎วยความ
ยินยอมของลูกหน้ี ยํอมเป็นกรณีที่ผ๎ูเชําหรือผ๎ูรับจํานําได๎ครอบครองแทนเจ๎าหน้ี ดังน้ัน
เจา๎ หน้ีจึงยังคงมสี ทิ ธิยดึ หนวํ ง เชนํ นาย ก. จา๎ งนาย ข. ซอํ มรถยนต๑ แตํ นาย ก. ไมํนําเงนิ มา
ชาํ ระหนี้ นาย ข. จึงไดย๎ ึดหนวํ งรถยนต๑น้ันไว๎ ตํอมา หากนาย ข. ได๎นํารถยนต๑น้ันให๎นาย ค.

199

เชําไป โดยได๎รับความยินยอมจากนาย ก. สิทธิยึดหนํวงยํอมไมํเป็นอันระงับส้ินไป นาย ข.
ยังคงมีสิทธิยดึ หนํวงอยูํ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 250 เปน็ ต๎น

6. บทสรปุ
6.1 หลักเกณฑ์ของสิทธิยึดหน่วง ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา

241 กําหนดวํา เจ๎าหนี้จะใช๎สิทธิยึดหนํวงทรัพย๑สินไว๎จนกวําจะได๎ชําระหน้ีก็ได๎ หากเป็นไป
ตามหลักเกณฑ๑ดังตอํ ไปนี้

1. เจา๎ หน้ไี ดค๎ รอบครองทรพั ย๑สินของลูกหนี้โดยชอบด๎วยกฎหมายมาแตเํ รมิ่ ตน๎
2. เจ๎าหนมี้ ีหน้ีอันเปน็ คณุ ประโยชนแ๑ กํตนเกีย่ วดว๎ ยทรัพย๑สนิ ซงึ่ ครอบครองน้ัน
3. หน้นี ้นั ไดถ๎ ึงกําหนดชาํ ระแล๎ว
6.2 ขอ้ ยกเว้นท่ีทาให้เจา้ หนไี้ มม่ ีสทิ ธิยดึ หนว่ ง ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 242 กําหนดถงึ ขอ๎ ยกเวน๎ ทที่ าํ ให๎เจ๎าหนไี้ มมํ ีสิทธิยดึ หนํวงไว๎ 3 กรณี คอื
1. ไมํสมกบั ลักษณะทีเ่ จ๎าหนีร้ ับภาระในมลู หน้ี
2. ไมํสมกับคาํ สัง่ อันลูกหนไ้ี ด๎ให๎ไวก๎ อํ นหรือให๎ในเวลาท่ีสํงมอบทรัพย๑สนิ
3. ขัดกับความสงบเรยี บรอ๎ ยของประชาชน
6.3 ผลของสิทธิยึดหน่วง เมื่อเจ๎าหน้ีใช๎สิทธิยึดหนํวง จะกํอให๎เกิดผลคือสิทธิและ
หน๎าท่แี กํเจ๎าหนี้ ดังนี้
1. เจ๎าหนี้มีสิทธิยึดหนํวงทรัพย๑สินไว๎จนกวําจะชําระหนี้ส้ินเชิง ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 241, 244
2. เจ๎าหนี้มสี ิทธใิ นดอกผล ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 245
3. เจ๎าหน้ีมีหน๎าท่ีดูแลรักษาทรัพย๑สินตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 246 วรรคแรก
4. เจ๎าหนี้มีหน๎าท่ีต๎องไมํเอาทรัพย๑สินไปใช๎สอย ให๎เชําหรือทําเป็นหลักประกัน
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 246 วรรคสอง
5. เจ๎าหน้ีมีสิทธิได๎คําใช๎จํายที่จําเป็น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 247
6. เจ๎าหนี้มีสิทธิยึดหนํวงโดยไมํมีอายุความ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 247
6.4 ความระงับแหง่ สิทธยิ ดึ หนว่ ง มี 4 กรณี ดงั น้ี
1. เจา๎ หนไี้ ด๎รบั การชําระหนี้จากลูกหน้ี หรือมีการกระทําอยํางอื่นซ่ึงมีผลให๎หน้ี
ระงับไป
2. เจ๎าหนี้ไมํทําหน๎าท่ีเกี่ยวกับการยึดหนํวงทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 246

200

3. ลกู หน้ีหาประกันให๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 249
4. การครอบครองทรพั ย๑สนิ ท่ียึดหนวํ งสูญส้นิ ไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 250

7. คาถามท้ายบท
ขอ๎ 1. จงอธบิ ายหลกั เกณฑข๑ องสิทธิยึดหนํวง และข๎อยกเว๎นที่ทําให๎เจ๎าหนี้ไมํมีสิทธิ

ยึดหนวํ ง
หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 241, 242
วินิจฉัย หลักเกณฑ๑ของสิทธิยึดหนํวงถูกกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและ

พาณิชย๑ มาตรา 241 กลําวคือ เจ๎าหนี้จะใช๎สิทธิยึดหนํวงทรัพย๑สินไว๎จนกวําจะได๎ชําระหนี้ก็
ได๎ หากเปน็ ไปตามหลักเกณฑ๑ดงั ตํอไปนี้

1. เจา๎ หนไ้ี ด๎ครอบครองทรพั ย๑สนิ ของลกู หนโ้ี ดยชอบดว๎ ยกฎหมายมาแตเํ ริ่มตน๎
2. เจา๎ หน้มี หี นอ้ี ันเป็นคณุ ประโยชนแ๑ กํตนเกย่ี วดว๎ ยทรพั ยส๑ นิ ซ่งึ ครอบครองนัน้
3. หนนี้ ้ันไดถ๎ ึงกาํ หนดชําระแล๎ว
สํวนข๎อยกเว๎นท่ีทําให๎เจ๎าหนี้ไมํมีสิทธิยึดหนํวง ถูกกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 242 โดยแบํงออกเป็น 3 กรณี คือ 1. ไมํสมกับลักษณะท่ีเจ๎าหน้ี
รบั ภาระในมลู หน้ี 2. ไมํสมกับคําส่ังอันลูกหน้ีได๎ให๎ไว๎กํอนหรือให๎ในเวลาที่สํงมอบทรัพย๑สิน
และ 3. ขดั กบั ความสงบเรยี บรอ๎ ยของประชาชน

201

ข๎อ 2 นายณรงค๑นํารถยนต๑ของตนไปจ๎างนายกมลให๎ซํอมให๎ โดยตกลงกันวํา
นายกมลจะซํอมรถยนต๑น้ันให๎เสร็จและสํงมอบรถยนต๑น้ันให๎แกํนายณรงค๑ ในวันท่ี 30
มกราคม 2564 และนายณรงค๑ก็จะชําระคําจ๎างให๎แกํนายกมลในวันท่ี 30 มกราคม 2564
เชํนเดียวกนั แตํเม่อื ถึงวนั ท่ี 30 มกราคม 2564 นายกมลซํอมรถยนต๑น้ันเสร็จ แตํนายณรงค๑
ไมํยอมชําระคําจ๎างให๎แกํนายกมล ดังน้ี นายกมลมีสิทธิยึดหนํวงรถยนต๑นั้นไว๎จนกวําจะได๎
ชาํ ระหนห้ี รอื ไมํ และหากนายกมลมีสิทธิยึดหนํวงรถยนต๑น้ันไว๎ได๎ นายกมลจะอ๎างวําตนเป็น
เจา๎ หนีผ้ ู๎ทรงสทิ ธิยึดหนํวง แลว๎ นาํ รถยนต๑น้ันออกขาดทอดตลาดเพื่อนําเงินมาชําระหน้ีให๎แกํ
ตนได๎หรือไมํ

หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 241
วินิจฉัย นายณรงค๑นํารถยนต๑ของตนไปจ๎างนายกมลให๎ซํอมให๎ โดยตกลงกันวํา
นายกมลจะซํอมรถยนต๑นั้นให๎เสร็จและสํงมอบรถยนต๑นั้นให๎แกํนายณรงค๑ ในวันท่ี 30
มกราคม 2564 และนายณรงค๑ก็จะชําระคําจ๎างให๎แกํนายกมลในวันท่ี 30 มกราคม 2564
เชํนเดียวกนั แตํเม่อื ถงึ วนั ท่ี 30 มกราคม 2564 นายกมลซํอมรถยนต๑นั้นเสร็จ แตํนายณรงค๑
ไมํยอมชําระคาํ จ๎างให๎แกํนายกมลนั้น เปน็ กรณที น่ี ายกมลซ่งึ เปน็ เจา๎ หน้ีได๎ครอบครองรถยนต๑
ของนายณรงค๑ซึ่งเป็นลูกหนี้โดยชอบด๎วยกฎหมายมาแตํเร่ิมต๎น โดยนายกมลเจ๎าหน้ีมีหนี้
คําจา๎ งซอํ มรถยนตอ๑ นั เป็นคณุ ประโยชน๑แกํตนเกี่ยวดว๎ ยรถยนต๑ซ่ึงครอบครองนั้น และหนี้นั้น
ไดถ๎ งึ กาํ หนดชําระแลว๎ นายกมลจงึ มีสทิ ธิยดึ หนวํ งรถยนต๑นั้นไว๎จนกวําจะได๎ชําระหนี้ได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 241
อยาํ งไรกด็ ี แมน๎ ายกมลจะมสี ิทธิยึดหนวํ งรถยนต๑นัน้ ไว๎ได๎ แตํนายกมลก็จะอ๎างวําตน
เป็นเจ๎าหน้ีผ๎ูทรงสิทธิยึดหนํวง แล๎วนํารถยนต๑นั้นออกขาดทอดตลาดเพื่อนําเงินมาชําระหน้ี
ใหแ๎ กตํ นไมํได๎ เพราะนายกมลซึ่งเป็นเจ๎าหน้ีผู๎ทรงสิทธิยึดหนํวง มีสิทธิเพียงยึดหนํวงรถยนต๑
น้ันไวจ๎ นกวาํ จะไดช๎ ําระหน้ีเทํานน้ั
สรปุ นายกมลมีสิทธิยึดหนํวงรถยนต๑น้ันไว๎จนกวําจะได๎ชําระหนี้ได๎ แตํนายกมลจะ
อา๎ งวําตนเป็นเจา๎ หนี้ผท๎ู รงสิทธิยึดหนํวง แล๎วนํารถยนต๑น้ันออกขาดทอดตลาดเพ่ือนําเงินมา
ชําระหน้ีใหแ๎ กํตนไมไํ ด๎

202

ข๎อ 3. นายเกียรติยศจ๎างนายขจรศกั ดิ์ซํอมรถยนต๑ของตน โดยตกลงกนั วาํ ในวันที่ 31
มกราคม 2564 นายขจรศักดิ์จะซํอมรถยนต๑นั้นให๎เสร็จ และนายเกียรติยศจะมารับรถยนต๑
น้ันพร๎อมนําเงินคําจ๎าง 50,000 บาท มาชําระให๎แกํนายขจรศักดิ์ และเม่ือถึงวันท่ี 31
มกราคม 2564 นายขจรศกั ด์กิ ซ็ ํอมรถยนต๑นั้นเสร็จ ดังน้ี ถ๎านายเกียรติยศชําระคําจ๎างให๎แกํ
นายขจรศกั ดิแ์ ล๎วทั้งหมด 50,000 บาท แตนํ ายขจรศกั ดิ์ยังเป็นเจ๎าหนี้ของนายเกียรติยศตาม
สัญญากทู๎ ่ถี ึงกําหนดชําระแลว๎ อีก 50,000 บาท นายขจรศักดจ์ิ ะมีสิทธิจะยึดหนํวงรถยนต๑นั้น
ไว๎ได๎หรอื ไมํ

หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241
วินิจฉัย การที่นายขจรศักด์ิเป็นเจ๎าหน้ีของนายเกียรติยศในหนี้คําจ๎างซํอมรถยนต๑
และนายเกียรตยิ ศได๎ชาํ ระหนค้ี ําจ๎างซํอมรถยนต๑ให๎แกํนายขจรศักดิแ์ ลว๎ ท้งั หมด 50,000 บาท
นั้น เม่ือประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 241 กําหนดวํา เจ๎าหน้ีมีสิทธิยึดหนํวง
ทรัพย๑สินไว๎จนกวําจะได๎ชําระหนี้ ดังน้ัน เมื่อนายเกียรติยศซึ่งเป็นลูกหนี้ได๎ชําระหน้ีแล๎ว
ท้งั หมด หนค้ี ําซํอมรถยนตจ๑ งึ เป็นอันระงับไป นายขจรศักดิ์จงึ ไมํมีสทิ ธยิ ดึ หนวํ งรถยนต๑นั้น
สํวนการท่ีนายขจรศักดิ์ยังเป็นเจ๎าหน้ีของนายเกียรติยศตามสัญญาก๎ูท่ีถึงกําหนด
ชําระแล๎วอีก 50,000 บาท น้ัน เม่ือหนี้ตามสัญญาก๎ูนั้น นายขจรศักด์ิไมํได๎เป็นเจ๎าหนี้ท่ี
เก่ียวกับรถยนตซ๑ ึ่งครอบครอง จงึ เปน็ กรณที ีน่ ายขจรศักดิ์ไมํมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน๑แกํตน
เกี่ยวด๎วยทรัพย๑สินซ่ึงครอง นายขจรศักด์ิจึงไมํมีสิทธิจะยึดหนํวงรถยนต๑น้ันไว๎ได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 241
สรปุ นายขจรศกั ดิ์ไมมํ สี ิทธยิ ึดหนวํ งรถยนต๑นนั้

203

ข๎อ 4. นายวสันจ๎างนายวิรัตน๑ซํอมรถยนต๑ของตน โดยตกลงกันวําในวันท่ี 31
มกราคม 2564 นายวิรตั น๑จะซอํ มรถยนตน๑ ั้นให๎เสร็จ และนายวสันจะมารับรถยนต๑น้ันพร๎อม
นําเงินคาํ จา๎ ง 50,000 บาท มาชําระให๎แกํนายวิรัตน๑ ตํอมา เม่ือถึงวันที่ 31 มกราคม 2564
นายวริ ัตน๑ก็ซํอมรถยนต๑น้ันเสร็จ และนายวสันได๎ชําระคําจ๎างให๎แกํนายวิรัตน๑ 20,000 บาท
ดงั น้ี นายวริ ัตน๑จะมสี ิทธิยดึ หนวํ งรถยนต๑น้นั ไว๎ไดไ๎ มํ

หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 241, 244
วินิจฉัย นายวสันจ๎างนายวิรัตน๑ซํอมรถยนต๑ของตน โดยตกลงกันวําในวันที่ 31
มกราคม 2564 นายวิรัตน๑จะซํอมรถยนต๑น้ันให๎เสร็จ และนายวสันจะมารับรถยนต๑นั้นพร๎อม
นําเงินคําจ๎าง 50,000 บาท มาชําระให๎แกํนายวิรัตน๑ และเมื่อถึงวันท่ี 31 มกราคม 2564
นายวิรัตน๑ก็ซํอมรถยนต๑นั้นเสร็จ แตํนายวสันชําระคําจ๎างให๎แกํนายวิรัตน๑เพียงแคํ 20,000
บาท นัน้ เป็นกรณที ี่นายวิรัตน๑ซ่ึงเปน็ เจ๎าหนี้ไดค๎ รอบครองรถยนต๑ของนายวสันซ่ึงเป็นลูกหนี้
โดยชอบด๎วยกฎหมายมาแตํเริ่มต๎น โดยนายวิรัตน๑เจ๎าหน้ีมีหน้ีคําจ๎างซํอมรถยนต๑อันเป็น
คุณประโยชน๑แกํตนเกี่ยวด๎วยรถยนต๑ซึ่งครอบครองนั้น และหนี้น้ันได๎ถึงกําหนดชําระแล๎ว
นายวริ ตั น๑จงึ มสี ทิ ธยิ ดึ หนวํ งรถยนตน๑ ั้นไว๎จนกวําจะได๎ชําระหน้ีได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 241
การท่ีนายวสันต๎องชําระคําจ๎างให๎แกํนายวิรัตน๑ 50,000 บาท แตํนายวสันได๎ชําระ
คําจ๎างให๎แกํนายวิรัตน๑ไปแล๎ว 20,000 บาท น้ัน เม่ือประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 244 กาํ หนดวาํ เจา๎ หนี้มีสิทธิยึดหนํวงทรัพย๑สินไว๎ได๎จนกวําจะชําระหนี้สิ้นเชิง ดังน้ัน
แม๎นายวสันชําระคําจ๎างให๎แกํนายวิรัตน๑ไปแล๎วบางสํวน คือ 20,000 บาท นายวิรัตน๑ก็ยังมี
สิทธยิ ดึ หนํวงรถยนต๑นั้นไว๎ได๎ จนกวาํ นายวสันจะชาํ ระหน้ีส้ินเชงิ
สรุป นายวริ ตั น๑มสี ิทธิยึดหนํวงรถยนตน๑ ้ัน

204

ข๎อ 5. ในวันท่ี 1 ธันวาคม 2563 นายวิชัยนํารถยนต๑ของตนไปให๎นายโกศลซํอม
ตอํ มา ในวันที่ 10 ธันวาคม 2563 นายวชิ ัยได๎เขา๎ ไปสอบถามความคืบหนา๎ ในการซํอมรถยนต๑
น้ัน นายโกศลจึงบอกนายวิชัยวํา ให๎นายวิชัยมารับรถยนต๑นั้นพร๎อมนําเงินคําจ๎าง 30,000
บาท มาชาํ ระให๎แกํตน ในวันที่ 15 ธันวาคม 2563 นายวิชัยจึงบอกนายโกศลวําตนจะมารับ
รถยนต๑น้ัน พร๎อมนําเงินคําจ๎าง 30,000 บาท มาชําระให๎แกํนายโกศลในดังกลําว แตํห๎าม
นายโกศลใช๎สทิ ธยิ ดึ หนํวงรถยนตน๑ ั้นไว๎ ตํอมาเมื่อถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2563 นายโกศลซํอม
รถยนตเ๑ สรจ็ และนายวชิ ัยมาขอรบั รถยนตน๑ ั้น แตํนายวิชยั ไมํยอมชําระคาํ จา๎ งใหแ๎ กํนายโกศล
ดังน้ี นายโกศลมีสิทธยิ ึดหนํวงรถยนต๑น้ันไวจ๎ นกวาํ จะได๎ชาํ ระหน้ีหรอื ไมํ

หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 241, 242
วินิจฉัย การท่ีนายวิชัยนํารถยนต๑ของตนไปให๎นายโกศลซํอม แตํเมื่อถึงวันท่ี 15
ธันวาคม 2563 ซ่ึงเป็นวันท่ีหนี้ถึงกําหนดชําระแล๎ว นายวิชัยไมํยอมชําระคําจ๎างให๎แกํ
นายโกศลน้ัน เป็นกรณีที่นายโกศลซึ่งเป็นเจ๎าหนี้ได๎ครอบครองรถยนต๑ของนายวิชัยซ่ึงเป็น
ลูกหน้ีโดยชอบด๎วยกฎหมายมาแตํเร่ิมต๎น โดยนายโกศลเจ๎าหน้ีมีหนี้คําจ๎างซํอมรถยนต๑อัน
เป็นคณุ ประโยชนแ๑ กํตนเก่ยี วดว๎ ยรถยนต๑ซ่ึงครอบครองนัน้ และหนนี้ ัน้ ไดถ๎ งึ กําหนดชําระแล๎ว
นายโกศลจงึ มีสทิ ธิยดึ หนํวงรถยนตน๑ น้ั ไว๎จนกวาํ จะได๎ชําระหน้ีได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 241
สวํ นกรณที ่นี ายวชิ ยั ได๎บอกนายโกศลวํา ห๎ามนายโกศลใช๎สิทธิยึดหนํวงรถยนต๑นั้นไว๎
นั้น เมอื่ นายวิชัยไดส๎ ัง่ ไว๎หลังจากสํงมอบรถยนต๑น้ันให๎แกํนายโกศลแล๎ว จึงมิใชํกรณีที่ลูกหนี้
ได๎มีคาํ ส่ังให๎ไว๎กํอนหรือใหใ๎ นเวลาท่ีสงํ มอบทรพั ย๑สนิ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 242 นายโกศลจงึ มสี ิทธิยึดหนวํ งรถยนตน๑ ัน้ ไว๎จนกวําจะไดช๎ ําระหนี้ได๎
สรปุ นายโกศลจึงมสี ิทธยิ ึดหนํวงรถยนตน๑ ้นั ไว๎จนกวาํ จะได๎ชาํ ระหนีไ้ ด๎

205

บทท่ี 7
บรุ มิ สิทธิ

1. บทนา
ในบทน้ีผู๎เขียนจะอธิบายถึงประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ บรรพ 2 หนี้

ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จท่ัวไป หมวด 2 ผลแหํงหน้ี สํวนที่ 6 บุริมสิทธิ ตั้งแตํมาตรา 251
ถึงมาตรา 289 โดยครอบคลุมเน้ือหาท้ังหมด คือ ความหมายของคําวํา “บุริมสิทธิ”
เหตุท่ีกฎหมายกําหนดให๎มีหนี้บุริมสิทธิ ประเภทของบุริมสิทธิ ลําดับแหํงบุริมสิทธิ และ
ผลแหงํ บุริมสทิ ธิ

2. ความหมายของคาวา่ “บรุ มิ สิทธิ”
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 251 บัญญัติวํา “ผู๎ทรงบุริมสิทธิยํอม

ทรงไว๎ซ่ึงสิทธิเหนือทรัพย๑สินของลูกหน้ี ในการท่ีจะได๎รับชําระหนี้อันค๎างชําระแกํตน จาก
ทรัพย๑สินน้ันกํอนเจ๎าหนี้อ่ืน ๆ โดยนัยดังบัญญัติไว๎ในประมวลกฎหมายนี้หรือบทกฎหมาย
อื่น”

บทบัญญตั ิตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 251 ซ่งึ บัญญัติวํา “ผู๎ทรง
บรุ มิ สทิ ธยิ ํอมทรงไว๎ซ่งึ สิทธิเหนอื ทรพั ยส๑ ินของลูกหน้ี ในการท่ีจะได๎รับชําระหนี้อันค๎างชําระ
แกํตน จากทรพั ย๑สินนั้นกํอนเจ๎าหนี้อื่น ๆ” หมายความวํา เจ๎าหน้ีผ๎ูทรงบุริมสิทธิหรือเจ๎าหนี้
ที่มีบุริมสิทธิ หมายถึง เจ๎าหน้ีที่มีสิทธิได๎รับชําระหนี้จากทรัพย๑สินของลูกหนี้ กํอนเจ๎าหน้ี
รายอน่ื

สํวนบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 251 ซ่ึงบัญญัติวํา
“โดยนัยดังบัญญัติไว๎ในประมวลกฎหมายนี้หรือบทกฎหมายอ่ืน ” หมายความวํา
“บุริมสิทธิ” เกิดโดยผลของกฎหมาย ซึ่งหลักกฎหมายเรื่อง “บุริมสิทธิ” มิได๎มีเฉพาะท่ี
บญั ญตั ิไว๎ในประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ บรรพ 2 น้ีเทํานน้ั แตํยงั บญั ญตั ไิ ว๎ในประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ บรรพอ่ืนด๎วย เชํน บรรพ 5 มาตรา 1598/13 บรรพ 6
มาตรา 1739 เป็นต๎น นอกจากนั้น ยังมีที่ได๎บัญญัติไว๎ในกฎหมายอื่นอีกด๎วย เชํน
พระราชบัญญตั ลิ ม๎ ละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 130 พระราชบญั ญัตปิ ระกันสังคม พ.ศ. 2533
มาตรา 51 เป็นต๎น โดยหลักกฎหมายเรื่อง “บุริมสิทธิ” ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ บรรพ 2 น้ีเปน็ หลักกฎหมายทัว่ ไป จึงใชบ๎ งั คบั กับคดีแพํงโดยท่วั ไป แตํถ๎ามีกฎหมาย
พเิ ศษบัญญตั ถิ งึ เรือ่ ง “บรุ มิ สิทธิ” ไว๎เป็นการเฉพาะแตกตํางไปจากนี้แล๎ว ก็ต๎องนํากฎหมาย
พิเศษนั้นมาบังคบั ใช๎

บุริมสทิ ธิเป็นหน้อี ุปกรณ๑ ทํานองเดยี วกันกับสทิ ธจิ าํ นาํ จาํ นอง และสทิ ธิยดึ หนํวง
ดงั น้ัน หากหน้ีประธานระงบั ไป บรุ ิมสทิ ธซิ ึง่ เป็นหนอี้ ุปกรณ๑กย็ อํ มระงบั ไปดว๎ ย

206

3. เหตทุ ีก่ ฎหมายกาหนดใหม้ หี นี้บุริมสทิ ธิ
ในกรณีท่ีลูกหนี้มีเจ๎าหน้ีหลายคน หากลูกหน้ีมีทรัพย๑สินเพียงพอท่ีจะชําระหนี้ได๎

ท้ังหมด การกาํ หนดลําดบั กํอนหลังในการชําระหนี้ยํอมไมํมีความสําคัญ แตํถ๎าทรัพย๑สินของ
ลูกหน้ีมีไมํเพียงพอทจี่ ะชําระหน้ีท้ังหมดได๎ หากไมํมีการให๎สิทธิพิเศษแกํเจ๎าหน้ีบางประเภท
ทรพั ย๑สนิ ทัง้ หมดของลูกหน้ีก็จะต๎องนํามาแบํงเฉล่ียแกํเจ๎าหนี้ทุกคนตามสํวนแหํงหนี้ ดังน้ัน
เพ่ือเป็นการคุ๎มครองเจ๎าหนี้บางประเภท กฎหมายจึงกําหนดให๎มีการจัดลําดับหรือการให๎
สทิ ธิแกํเจ๎าหนบี้ างประเภทท่จี ะได๎รับการชําระหน้ีกอํ นเจ๎าหนอี้ ่ืน ซง่ึ เรียกวาํ “บุรมิ สทิ ธิ”75

4. ประเภทของบรุ มิ สิทธิ
บรุ ิมสิทธิแ์ บํงออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. บุริมสิทธิสามัญ เป็นสิทธิเหนือทรัพย๑สินทุกชนิดของลูกหนี้ ไมํวําจะเป็น

สงั หาริมทรพั ย๑หรืออสังหาริมทรัพย๑
2. บุริมสทิ ธพิ เิ ศษ เป็นสทิ ธิเหนือทรัพย๑สนิ เฉพาะสิ่งเฉพาะอยํางของลูกหน้ี โดยแบํง

ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. บุริมสทิ ธิพเิ ศษเหนอื สังหารมิ ทรพั ย๑ และ 2. บุริมสิทธิพิเศษเหนือ
อสงั หาริมทรพั ย๑

4.1 บรุ มิ สทิ ธสิ ามัญ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 253 บัญญัติวํา “ถ๎าหน้ีมีอยํูเป็น

คณุ แกบํ คุ คลผ๎ใู ดในมลู อยํางหนึง่ อยํางใดดังจะกลําวตํอไปนี้ บุคคลผ๎ูน้ันยํอมมีบุริมสิทธิเหนือ
ทรัพย๑สินท้งั หมดของลูกหนี้ คอื

(1) คาํ ใชจ๎ าํ ยเพอื่ ประโยชนอ๑ นั รํวมกัน
(2) คําปลงศพ
(3) คําภาษีอากร และเงินที่ลูกจ๎างมีสิทธิได๎รับเพ่ือการงานท่ีได๎ทําให๎แกํลูกหน้ี
ซ่งึ เปน็ นายจ๎าง
(4) คาํ เครื่องอุปโภคบริโภคอันจาํ เปน็ ประจําวัน”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 253 บุริมสิทธิสามัญ จึง
หมายถงึ สทิ ธขิ องเจ๎าหน้ที ่ีจะได๎รับการชําระหนี้จากทรัพย๑สินทุกชนิดของลูกหนี้กํอนเจ๎าหนี้
รายอื่น อันไดแ๎ กํ

75เรอื่ งเดยี วกนั , หน๎า 171.

207

(1) ค่าใช้จา่ ยเพ่อื ประโยชน์อนั ร่วมกนั
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 254 บัญญัติวํา “บุริมสิทธิใน

มูลคําใช๎จํายเพ่ือประโยชน๑อันรํวมกันนั้น ใช๎สําหรับเอาคําใช๎จํายอันได๎เสียไปเพื่อประโยชน๑
ของเจา๎ หนีห้ มดทุกคนรํวมกัน เกี่ยวด๎วยการรกั ษา การชาํ ระบญั ชี หรือการเฉล่ยี ทรพั ย๑สนิ ของ
ลูกหนี้

ถ๎ า คํ า ใ ช๎ จํ า ย นั้ น มิ ไ ด๎ เ สี ย ไ ป เ พ่ื อ ป ร ะ โ ย ช น๑ ข อ ง เ จ๎ า ห นี้ ห ม ด ทุ ก คน ไ ซ ร๎
บรุ มิ สทิ ธยิ ํอมจะใชไ๎ ดแ๎ ตเํ ฉพาะตํอเจา๎ หน้ีผทู๎ ่ไี ดร๎ ับประโยชนจ๑ ากการนัน้ ”

บทบัญญตั ติ ามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 254 วรรคแรก
หมายความวํา คาํ ใชจ๎ ํายเพอื่ ประโยชนอ๑ นั รํวมกัน หมายถึง คําใช๎จํายที่เจ๎าหน้ีรายใดรายหนึ่ง
ได๎เสยี ไปเพ่ือประโยชน๑ของเจา๎ หนหี้ มดทุกคนรํวมกนั เก่ียวดว๎ ยการรักษาทรัพย๑สินของลูกหนี้
เชํน การซํอมแซมทรัพย๑สินของลูกหนี้ การรักษาและเล้ียงดูสัตว๑ซึ่งเป็นทรัพย๑สินของลูกหนี้
การติดตามเอาคืนซ่ึงทรัพย๑สินของลูกหน้ี การฟ้องคดีเพ่ือเพิกถอนการฉ๎อฉลตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 237 ฯลฯ หรือการชําระบัญชี หรือการเฉลี่ยทรัพย๑สินของ
ลกู หน้ี

คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 284/2482 โจทก๑ฟอ้ งลูกหนีเ้ พอ่ื บงั คับชําระหนี้ของ
ตนเอง ตํอมา จาํ เลยตอ๎ งคาํ พพิ ากษาให๎ล๎มละลาย แล๎วหลังจากนั้น ศาลก็พิพากษาให๎จําเลย
ชําระหนี้ให๎โจทก๑ตามฟ้อง รวมทั้งคําธรรมเนียมและคําทนายด๎วย ดังนี้ โจทก๑ไมํมีสิทธิที่จะ
ได๎รับชําระหน้ีคําธรรมเนียมและคําทนายกํอนเจ๎าหนี้รายอื่น เพราะคําธรรมเนียมและ
คาํ ทนายน้นั มิใชํหน้ีทเ่ี กดิ จากการดาํ เนินการไปเพ่ือประโยชนข๑ องเจ๎าหนีห้ มดทุกคนรวํ มกนั

สวํ นบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 254 วรรค
สอง หมายความวาํ ถา๎ คําใชจ๎ ํายนั้นมเิ สยี ไปเพอ่ื ประโยชน๑ของเจา๎ หนห้ี มดทุกคน เจ๎าหน้ีผ๎ูทรง
บุรมิ สิทธินัน้ จะนาํ เร่อื งสิทธทิ จ่ี ะได๎รับชําระหนี้กํอนมาใช๎กบั เจา๎ หนี้ทุกรายไมํได๎ จะนํามาใช๎ได๎
แตํเฉพาะตอํ เจา๎ หน้ีรายอ่นื ท่ไี ด๎รบั ประโยชน๑จากคาํ ใช๎จาํ ยนั้นเทาํ นัน้

(2) ค่าปลงศพ
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 255 บัญญัติวํา “บุริมสิทธิใน

มลู คําปลงศพน้ัน ใชส๎ ําหรบั เอาคาํ ใช๎จาํ ยในการปลงศพตามควรแกํฐานานุรูปของลกู หนี้”
คําปลงศพ หมายถึง คําใช๎จํายโดยตรงในการปลงศพของลูกหนี้ เชํน

คําโลงศพ คําธรรมเนยี มของวดั ในการจัดงานศพ คาํ ใช๎จํายตําง ๆ ตามประเพณี เป็นต๎น โดย
คาํ ใช๎จํายในการปลงศพน้ีตอ๎ งสมควรแกฐํ านานุรูปของลกู หน้ี

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1761/2545 โจทก๑มีอํานาจและหน๎าที่จัดการศพ
ผ๎ูตายตามกฎหมาย เมื่อโจทก๑จัดการศพผ๎ูตายไปตามสมควร โจทก๑ยํอมมีสิทธิท่ีจะเรียกร๎อง
คาํ ใช๎จํายนั้นจากกองมรดกได๎ ซึง่ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 1650 วรรค

208

แรก กําหนดให๎คําใช๎จํายเกิดมีหนี้เป็นคุณแกํบุคคลใดในการจัดทําศพนั้น ให๎บุคคลนั้นเรียก
เอาได๎ตามบุริมสิทธิที่ระบุไว๎ในมาตรา 253 (2) ดังนั้น โจทก๑ซึ่งเป็นเจ๎าหน้ีบุริมสิทธิตาม
มาตรา 253 (2) จึงมอี าํ นาจฟอ้ งใหจ๎ าํ เลยรับผิดในคาํ ใช๎จํายนั้นได๎

ขอ้ สงั เกต การไปก๎ยู มื เงนิ เขามาเพื่อเอามาทําศพนนั้ เป็นเรอื่ งของเจ๎าหน้ีท่ี
ให๎ก๎ูยืมไปตามธรรมดาเพื่อหวังดอกเบี้ย มูลหนี้จึงเกิดจากการก๎ูยืมเงิน มิได๎เกิดจากการ
ปลงศพ จึงไมํใชํคําปลงศพ ทํานองเดียวกับการยืมเงินเขาไปชําระคําภาษีอากร ก็ไมํใชํหนี้
คําภาษอี ากร76

(3) ค่าภาษีอากร
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 256 บัญญัติวํา “บุริมสิทธิใน

มูลคําภาษีอากรน้ัน ใช๎สําหรับเอาบรรดาคําภาษีอากรในท่ีดิน ทรัพย๑สิน หรือคําภาษีอากร
อยํางอื่นท่ีลูกหน้ียังค๎างชําระอยํูในปีป๓จจุบันและกํอนน้ันขึ้นไปอีกปีหน่ึง” เหตุท่ีกฎหมาย
กําหนดให๎หน้ีคําภาษีอากรเป็นหน้ีบุริมสิทธิ ก็เพราะเป็นหน้ีท่ีจะนําไปใช๎เพื่อประโยชน๑
สาธารณะ แตหํ นีค้ ําภาษีอากรดงั กลาํ วนี้ ต๎องเป็นหน้ีท่ีลูกหน้ียังค๎างชําระอยูํในปีป๓จจุบัน คือ
ปที ่ีเจา๎ หนี้ฟอ้ งคดตี ํอศาล และกอํ นนัน้ ขึ้นไปอีกปีหนึ่ง คือ รวมสองปีเทําน้ัน มิได๎หมายความ
รวมถงึ หนี้คาํ ภาษอี ากรท้ังหมด อยํางไรกด็ ี สําหรบั หน้ีท่ีลกู หนี้ค๎างชําระคําภาษีอากรเกินกวํา
2 ปี อนั ทําให๎เจา๎ หน้คี ําภาษอี ากรไมํเปน็ เจา๎ หนผี้ ๎มู ีบุริมสิทธนิ ้นั เจา๎ หนีภ้ าษอี ากรก็ยังคงมีสิทธิ
ได๎รับชาํ ระหนใี้ นฐานะเจา๎ หน้สี ามญั

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 150/2504 แม๎ผู๎ร๎องไมํมีบุริมสิทธิ แตํสิทธิของ
ผ๎ูร๎องในอันท่ีจะเรียกร๎องเอาคําภาษีอากรหาสูญสิ้นไปไมํ ผ๎ูร๎องก็คงเป็นเจ๎าหนี้อยูํ เพียงแตํ
ผร๎ู ๎องไมมํ ีบุรมิ สิทธทิ ่จี ะไดร๎ ับชาํ ระหนี้กอํ นเจา๎ หน้ีรายอนื่ เทําน้ัน

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 692/2506 ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 256 กําหนดวําบุริมสิทธ์ิในมูลคําภาษีอากรน้ัน ใช๎สําหรับเอาบรรดาคําภาษีอากรท่ี
ลูกหนี้ยังค๎างชําระอยูํในปีป๓จจุบัน และกํอนนั้นขึ้นไปอีกปีหน่ึง ดังนั้น รัฐบาลจึงมีบุริมสิทธิ
เพียง 2 ปี เทาํ นน้ั

คาพิพากษาศาลฎกี าที่ 924/2522 บรุ มิ สทิ ธิในมลู คําภาษีอากรท่ีค๎างชําระ
ในปีป๓จจุบัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 256 นั้น คําวํา “ปีป๓จจุบัน”
หมายถึง ปที มี่ ีการฟ้องคดีตํอศาล

76เสนีย๑ ปราโมช (ปรับปรุงแก๎ไขโดยมุนินทร๑ พงศาปาน), เร่ืองเดิม, หน๎า 812.,
สุนทร มณีสวัสด์ิ, เร่ืองเดมิ , หนา๎ 175.

209

(4) เงนิ ทีล่ กู จา้ งมีสิทธไิ ดร้ ับเพ่อื การงานที่ได้ทาใหแ้ ก่ลกู หนีซ้ ึง่ เป็นนายจ้าง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 257 บญั ญัติวาํ “บุริมสิทธิใน

เงินที่ลูกจา๎ งมสี ทิ ธิได๎รบั เพอ่ื การงานที่ได๎ทําให๎แกํลูกหนซี้ ึง่ เป็นนายจา๎ งนัน้ ใหใ๎ ชส๎ าํ หรับคําจ๎าง
คาํ ลํวงเวลา คําทํางานในวันหยุด คําลํวงเวลาในวันหยุด คําชดเชย คําชดเชยพิเศษ และเงิน
อืน่ ใดท่ีลูกจา๎ งมีสิทธิไดร๎ บั เพอ่ื การงานทีไ่ ด๎ทาํ ให๎ นบั ถอยหลงั ข้ึนไปสีเ่ ดือน แตรํ วมกันแล๎วต๎อง
ไมเํ กินหนึ่งแสนบาทตอํ ลกู จ๎างคนหนึง่ ” เหตุที่กฎหมายกําหนดให๎หน้ีคําจ๎างเป็นหนี้บุริมสิทธิ
ก็เพ่ือคุ๎มครองลูกจ๎างซึ่งเป็นบุคคลที่ด๎อยโอกาสขาดอํานาจตํอรอง77 ซึ่งคําจ๎างนี้หมายถึง
คําจ๎างที่ลูกจ๎างมีสิทธิได๎รับตามกฎหมายแรงงาน โดยนับถอยหลังข้ึนไปส่ีเดือน แตํรวมกัน
แล๎วตอ๎ งไมํเกินหนึ่งแสนบาทตอํ ลกู จ๎างคนหนงึ่

ข้อสังเกต ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 253 (3) กําหนดให๎
คําภาษีอากร ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 256 อยูํในลําดับเดียวกันกับ
เงนิ ท่ีลกู จ๎างมีสิทธิได๎รับเพอ่ื การงานทไี่ ดท๎ าํ ใหแ๎ กลํ ูกหนซี้ ง่ึ เปน็ นายจ๎าง ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 257

(5) คา่ เครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภคอันจาเปน็ ประจาวนั
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 258 บัญญัติวํา “บุริมสิทธิใน

มูลคาํ เครื่องอปุ โภคบริโภคอนั จําเป็นประจาํ วันนัน้ ใช๎สําหรับเอาคาํ เคร่อื งอปุ โภคบริโภคซ่ึงยัง
คา๎ งชาํ ระอยนํู บั ถอยหลังขนึ้ ไปหกเดือน เชํน คําอาหาร เครื่องดมื่ โคมไฟ ฟืน ถําน อันจําเป็น
เพอ่ื การทรงชพี ของลกู หนี้ และบคุ คลในสกุลซึ่งอยูํกับลูกหนี้และซึ่งลูกหน้ีจําต๎องอุปการะกับ
ทง้ั คนใชข๎ องลูกหนีด้ ว๎ ย” เหตุที่กฎหมายกําหนดบุริมสิทธิในมูลคําเครื่องอุปโภคบริโภคไว๎ ก็
เพราะเป็นส่ิงจําเป็นในการดํารงชีวิตของลูกหนี้ และบุคคลในครอบครัวที่ลูกหนี้จําต๎อง
อุปการะ อันรวมถึงคนใช๎ของลูกหนี้ด๎วย โดยเคร่ืองอุปโภคบริโภคที่จําเป็นที่กําหนดไว๎ตาม
บทบัญญัติมาตรานี้ เชํน คําอาหาร เครื่องด่ืม โคมไฟ ฟืน ถําน เป็นเพียงตัวอยํางเทํานั้น
เคร่อื งอุปโภคบรโิ ภคทจ่ี าํ เป็นจึงอาจเปน็ สง่ิ อนื่ ๆ ได๎ เชํน เตาแก๏ส เป็นต๎น แตํต๎องเป็นหนี้คํา
เครื่องอุปโภคบริโภคซง่ึ ยงั คา๎ งชาํ ระอยนํู บั ถอยหลงั ขึน้ ไปหกเดือนเทาํ น้ัน

4.2 บุริมสทิ ธพิ เิ ศษ
บุริมสิทธิพิเศษ หมายถึง สิทธิของเจ๎าหน้ีที่จะได๎รับการชําระหนี้จากทรัพย๑สิน

เฉพาะส่งิ เฉพาะอยํางของลูกหน้ีกํอนเจ๎าหน้ีอื่น ๆ ซ่ึงแบํงออกเป็น 2 ประเภท คือ บุริมสิทธิ
พิเศษเหนือสังหารมิ ทรพั ย๑ และบรุ มิ สิทธิพเิ ศษเหนอื อสงั หาริมทรัพย๑

77เรือ่ งเดียวกัน, หนา๎ 171, 176.

210

4.2.1 บุรมิ สิทธพิ เิ ศษเหนือสงั หาริมทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 259 บัญญตั วิ ํา “ถ๎าหนี้มีอยูํ

เป็นคุณแกบํ ุคคลผู๎ใดในมูลอยํางหน่ึงอยํางใดดังจะกลําวตํอไปน้ี บุคคล ผู๎นั้นยํอมมีบุริมสิทธิ
เหนอื สงั หาริมทรพั ย๑เฉพาะอยํางของลูกหนี้ คือ

(1) เชาํ อสังหาริมทรพั ย๑
(2) พักอาศยั ในโรงแรม
(3) รบั ขนคนโดยสารหรือของ
(4) รกั ษาสงั หารมิ ทรพั ย๑
(5) ซอ้ื ขายสงั หารมิ ทรพั ย๑
(6) คาํ เมลด็ พันธุ๑ ไมพ๎ นั ธ๑ุ หรอื ปุ๋ย
(7) คาํ แรงงานกสิกรรม หรอื อุตสาหกรรม”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 259 บุริมสิทธิเหนือ
สังหารมิ ทรัพย๑เฉพาะอยาํ งของลกู หน้มี ี 7 ประเภท ดงั น้ี
1) เชา่ อสงั หารมิ ทรัพย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 260 บัญญัติวํา
“บุริมสทิ ธใิ นมูลเชาํ อสงั หาริมทรพั ย๑นน้ั ใชส๎ ําหรบั เอาคําเชําอสังหาริมทรัพย๑และหนี้อยํางอ่ืน
ของผู๎เชาํ อนั เกิดจากความเกยี่ วพนั ในเร่อื งเชํา และมีอยํเู หนือสงั หาริมทรพั ยข๑ องผเ๎ู ชําซ่ึงอยูํใน
หรอื บนอสังหาริมทรพั ย๑นน้ั ”

หนี้ที่มีบุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 260 ได๎แกํ คําเชําอสังหาริมทรัพย๑และหนี้
อยํางอ่ืนของผ๎เู ชําอันเกิดจากความเกี่ยวพันในเร่ืองเชํา เชํน คําเสียหายในกรณีท่ีทรัพย๑สินที่
เชําเกดิ ความเสยี หาย ฯลฯ

บรุ ิมสทิ ธิพเิ ศษเหนอื สงั หาริมทรัพย๑ในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑น้ัน จะ
มีอยํเู หนือสงั หารมิ ทรพั ย๑ของผ๎ูเชําซึ่งอยํูในหรือบนอสังหาริมทรัพย๑นั้น เชํน ลูกหนี้ค๎างชําระ
คําเชําบ๎าน เจ๎าหน้ีก็จะมีบุริมสิทธิเหนือโทรทัศน๑ ตู๎เย็น พัดลม ฯลฯ ซึ่งเป็นสังหาริมทรัพย๑
ของลูกหนี้ (ผ๎เู ชํา) ซง่ึ อยํูในบ๎านเชําน้ัน เป็นต๎น

ข้อสงั เกต
1. เจ๎าหน้ีผู๎มีบุริมสิทธิในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑ คือ ผู๎ให๎เชํา สํวน
ลกู หน้ี คอื ผ๎เู ชํา
2. บุริมสิทธิในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑จะมีอยํูเหนือสังหาริมทรัพย๑
ของผู๎เชาํ เทําน้ัน บุริมสิทธิในมลู เชาํ อสงั หารมิ ทรพั ย๑จะไมํมีอยํเู หนืออสังหาริมทรัพย๑ของผู๎เชํา
เชนํ นาย ก. เชาํ ที่ดินจากนาย ข. โดยนาย ก. ได๎รับอนุญาตจากนาย ข. ให๎ปลูกสร๎างอาคาร
ลงในที่ดินน้ันได๎ ดังน้ี แม๎อาคารน้ันจะมิได๎เป็นสํวนควบกับท่ีดิน แตํอาคารนั้นก็เป็น

211

อสังหาริมทรัพย๑ ซ่ึงผ๎ูให๎เชําอสังหาริมทรัพย๑ไมํมีบุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย๑ของผู๎เชํา
ผใ๎ู หเ๎ ชาํ อสังหาริมทรพั ย๑คงมบี ุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย๑ของผู๎เชําเทําน้ัน (คําพิพากษาศาล
ฎีกาที่ 550/2477)

3. มูลหน้ีเชําอสังหาริมทรัพย๑จะกํอให๎เกิดบุริมสิทธิพิเศษเหนือ
สังหารมิ ทรัพย๑ แตํมูลหน้ีเชําสังหาริมทรัพย๑จะไมํกอํ ให๎เกิดบรุ มิ สทิ ธิพิเศษเหนอื สังหารมิ ทรพั ย๑

อนึง่ กฎหมายได๎กําหนดจาํ กดั ทรพั ยท๑ ีอ่ ยใํู นบงั คบั แหํงบุริมสิทธิในมูล
เชาํ อสังหาริมทรัพย๑ และได๎จาํ กัดจํานวนหนบี้ ุรมิ สิทธิในมลู เชาํ อสงั หาริมทรัพย๑ ไว๎ดังน้ี

(1) การจากัดทรัพย์ที่อยู่ในบังคับแห่งบุริมสิทธิในมูลเช่า
อสังหาริมทรพั ย์

1. กรณเี ช่าท่ดี ิน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 261 วรรคแรก

บัญญตั ิวํา “บุรมิ สทิ ธขิ องผใ๎ู ห๎เชําท่ีดนิ น้ันมอี ยเํู หนือสังหาริมทรัพย๑ท้ังหลายอันผ๎ูเชําได๎นําเข๎า
มาไวบ๎ นทีด่ ินทใี่ ห๎เชํา หรือนําเข๎ามาไว๎ในเรือนโรงอันใช๎ประกอบกับท่ีดินนั้น และมีอยํูเหนือ
สังหาริมทรัพย๑เชํนสําหรับท่ีใช๎ในท่ีดินน้ัน กับท้ังเหนือดอกผลอันเกิดจากท่ีดินซ่ึงอยํูใน
ครอบครองของผเ๎ู ชําน้ันด๎วย”

บุ ริ ม สิ ท ธิ ข อ ง ผ๎ู ใ ห๎ เ ชํ า ที่ ดิ น นั้ น มี อ ยํู เ ห นื อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย๑
ท้งั หลายอันผเ๎ู ชาํ ไดน๎ ําเข๎ามาไว๎บนที่ดินทีใ่ หเ๎ ชาํ เชํน ผู๎เชําได๎สร๎างโรงเรือนไว๎บนท่ีดินท่ีให๎เชํา
โรงเรือนยอํ มเปน็ บุริมสิทธิของผูใ๎ หเ๎ ชาํ ท่ดี นิ เป็นตน๎ หรือผเู๎ ชาํ ไดน๎ าํ เข๎ามาไว๎ในเรือนโรงอันใช๎
ประกอบกับที่ดินน้ัน และมีอยํูเหนือสังหาริมทรัพย๑เชํนสําหรับท่ีใช๎ในที่ดินน้ัน กับทั้งเหนือ
ดอกผลอันเกิดจากท่ีดินซึ่งอยูํในครอบครองของผ๎ูเชํานั้นด๎วย เชํน การเชําท่ีดินเพื่อทํา
การเกษตร รถไถ เครอ่ื งมอื เกษตร รวมถงึ ผลผลติ ทางการเกษตรท่ีผู๎เชําได๎เก็บไว๎บนที่ดินที่ให๎
เชํา ยอํ มเปน็ บุริมสทิ ธิของผูใ๎ ห๎เชําทด่ี นิ เป็นตน๎

2. กรณเี ช่าโรงเรอื น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 261 วรรคสอง

บญั ญัตวิ ํา “บุริมสทิ ธิของผู๎ให๎เชาํ เรือนโรงยํอมมีอยูํเหนอื สงั หารมิ ทรพั ย๑ซ่ึงผเู๎ ชํานาํ เข๎ามาไว๎ใน
เรือนโรงนน้ั ด๎วย” เชนํ การเชาํ หอพัก สังหารมิ ทรัพยซ๑ ่งึ ผ๎ูเชํานําเขา๎ มาไว๎ในหอพกั นนั้ ไมํวําจะ
เปน็ ทน่ี อน โทรทศั น๑ พดั ลม หม๎อขา๎ ว เตาแกส็ ยอํ มเปน็ บรุ มิ สิทธขิ องผูใ๎ ห๎เชาํ หอพัก เปน็ ตน๎

212

กรณีที่มกี ารโอนสทิ ธกิ ารเชา่ หรือมีการเชา่ ชว่ งอสงั หาริมทรพั ย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 262 บัญญัติวํา “ถ๎า
การเชาํ อสังหาริมทรัพย๑ได๎โอนไปก็ดีหรือไดใ๎ หเ๎ ชาํ ชวํ งกด็ ี บุริมสิทธิของผู๎ให๎เชําเดิมยํอมครอบ
ไปถงึ สงั หาริมทรัพยซ๑ ง่ึ ผู๎รับโอนหรือผ๎ูเชาํ ชวํ งไดน๎ ําเข๎ามาไว๎ในทรัพย๑สินนั้นด๎วย ความท่ีกลําว
นีท้ าํ นให๎ใช๎ไดต๎ ลอดถงึ เงินอนั ผู๎โอนหรอื ผใู๎ หเ๎ ชําชํวงจะพึงไดร๎ บั จากผูร๎ ับโอนหรือผู๎เชําชํวงน้ัน
ดว๎ ย”
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 544 บัญญัติวํา
“ทรัพยส๑ ินซึ่งเชํานนั้ ผ๎ูเชําจะให๎เชาํ ชวํ งหรอื โอนสิทธิของตนอันมใี นทรัพย๑สินนั้นไมํวําท้ังหมด
หรือแตํบางสํวนให๎แกํบุคคลภายนอก ทํานวําหาอาจทําได๎ไมํ เว๎นแตํจะได๎ตกลงกันไว๎เป็น
อยํางอ่นื ในสญั ญาเชาํ
ถา๎ ผู๎เชําประพฤติฝ่าฝืนบทบัญญัติอันนี้ ผู๎ให๎เชําจะบอกเลิกสัญญา
เสียกไ็ ด๎”
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 545 บัญญัติวํา “ถ๎า
ผเ๎ู ชําเอาทรัพยส๑ ินซึง่ ตนเชาํ ไปให๎ผู๎อ่ืนเชําชํวงอีกทอดหนึ่งโดยชอบ ทํานวําผู๎เชําชํวงยํอมต๎อง
รับผิดตํอผู๎ให๎เชําเดิมโดยตรง ในกรณีเชํนวํานี้หากผ๎ูเชําชํวงจะได๎ใช๎คําเชําให๎แกํผู๎เชําไปกํอน
ทาํ นวาํ ผเู๎ ชําชํวงหาอาจจะยกขึน้ เปน็ ข๎อตอํ ส๎ูผ๎ูให๎เชําไดไ๎ มํ
อนง่ึ บทบัญญัติอนั น้ไี มหํ า๎ มการที่ผู๎ใหเ๎ ชาํ จะใช๎สทิ ธิของตนตํอผู๎เชาํ ”
การเชําชํวงหรอื การโอนสทิ ธกิ ารเชํา หมายถึง การท่ีผู๎เชํารายเดิมได๎
โอนสทิ ธกิ ารเชาํ ให๎แกํผูเ๎ ชาํ รายใหมํโดยมคี ําตอบแทน โดยการโอนสิทธิการเชําไปให๎บุคคลอ่ืน
นี้ ตามกฎหมายกาํ หนดวําจะทําได๎ก็ตํอเมื่อผู๎เชําได๎ตกลงยินยอมไว๎ในสัญญาเชําเทํานั้น โดย
หากผู๎เชําโอนสิทธิการเชําให๎แกํผ๎ูอ่ืนหรือให๎ผู๎อ่ืนเชําชํวงโดยผ๎ูเชําไมํยินยอม ผู๎ให๎เชํามีสิทธิ
บอกเลิกสัญญาเชําได๎ทันที ท้ังน้ี เมื่อผู๎เชํารายเดิมได๎โอนสิทธิการเชําไปให๎ผ๎ูเชํารายใหมํแล๎ว
ผ๎ูเชํารายใหมํก็เป็นผู๎เชําแทนผู๎เชํารายเดิม โดยผ๎ูเชํารายใหมํจะมีสิทธิและหน๎าท่ีโดยตรงตํอ
ผใู๎ หเ๎ ชาํ ดงั น้ัน ถา๎ มีการโอนสิทธิการเชําหรือมีการเชําชํวงอสังหาริมทรัพย๑ บุริมสิทธิของผู๎ให๎
เชํายอํ มครอบไปถงึ สังหารมิ ทรพั ย๑ซ่งึ ผรู๎ บั โอนหรือผ๎ูเชาํ ชวํ งได๎นาํ เข๎ามาไว๎ในทรัพย๑สินน้ันด๎วย
เชนํ นายแดงเชําที่ดนิ จากนายดํา แล๎วตํอมานายแดงได๎ให๎โอนสิทธิการเชําน้ันให๎แกํนายขาว
ดงั น้ี บุริมสิทธิของนายดํายํอมครอบไปถึงสังหาริมทรัพย๑ซ่ึงนายขาวได๎นําเข๎ามาไว๎ในที่ดินนั้น
ดว๎ ย เปน็ ตน๎
(2) การจากดั จานวนหน้บี ุรมิ สทิ ธใิ นมูลเช่าอสงั หาริมทรพั ย์

1. กรณีผูเ้ ช่าต้องชาระบญั ชีเฉล่ยี ทรัพยส์ นิ ทั่วไป
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 263 บัญญัติวํา

“ในกรณีที่ผู๎เชําต๎องชําระบัญชีเฉลี่ยทรัพย๑สินทั่วไปนั้น บุริมสิทธิของผู๎ให๎เชํายํอมมีอยํูแตํ
เฉพาะสําหรับเอาใช๎คําเชําและหน้ีอยํางอ่ืน เทําที่มีในระยะกําหนดสํงคําเชําเพียงสามระยะ

213

คือ ปจ๓ จบุ ันระยะหน่งึ กํอนนัน้ ขึน้ ไประยะหนง่ึ และตอํ ไปภายหน๎าอีกระยะหนึ่งเทํานั้น และ
ใช๎สําหรับเอาคําเสียหายซึ่งเกิดขึ้นในระยะกําหนดสํงคําเชําป๓จจุบัน และกํอนน้ันขึ้นไปอีก
ระยะหน่ึงด๎วย” กรณีที่ผู๎เชําต๎องชําระบัญชีเฉล่ียทรัพย๑สินท่ัวไป หมายถึง การรวบรวม
ทรพั ยส๑ ินทง้ั หมดของลกู หน้ีมาชาํ ระหน้ีให๎แกํเจ๎าหน้ีทุกรายในคราวเดียวกัน ทํานองเดียวกับ
กรณที ี่ลกู หนีล้ ๎มละลาย78 โดยในกรณนี ี้ บุริมสิทธิของผู๎ให๎เชาํ มอี ยแํู ตเํ ฉพาะ 1. คําเชําและหนี้
อยํางอื่น เทําท่ีมีในระยะกําหนดสํงคําเชําเพียงสามระยะ คือ ระยะป๓จจุบันและระยะกํอน
หน๎าอีกสองระยะ และ 2. คาํ เสยี หายซึ่งเกิดขึ้นในระยะกําหนดสํงคําเชําป๓จจุบันและกํอนน้ัน
ขน้ึ ไปอกี หน่งึ ระยะ

2. กรณีผู้ใหเ้ ชา่ ได้รับเงินประกนั ไว้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 บัญญัติวํา

“ในการเรยี กรอ๎ งของผ๎ูให๎เชํา ถ๎าผ๎ูให๎เชําได๎รับเงินประกันไว๎ ผ๎ูให๎เชํายํอมมีบุริมสิทธิแตํเพียง
ในสํวนทีไ่ มมํ เี งินประกัน” หมายความวํา หากผู๎ให๎เชําได๎รับเงินประกันในสํวนใดไว๎แล๎ว ผ๎ูให๎
เชาํ ยํอมไมํมีบุริมสิทธิในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑ในสํวนน้ันอีก เพราะผ๎ูให๎เชําได๎รับประโยชน๑
จากเงินประกนั ในสํวนนั้นอยูแํ ล๎ว

2) พักอาศัยในโรงแรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 265 บัญญัติวํา

“บรุ ิมสิทธใิ นมลู พกั อาศัยในโรงแรมน้ัน ใช๎สําหรับเอาเงินบรรดาท่ีค๎างชําระแกํเจ๎าสํานักเพ่ือ
การพักอาศัยและการอ่ืน ๆ อันได๎จัดให๎สําเร็จความปรารถนาแกํคนเดินทาง หรือแขกอาศัย
รวมทั้งการชดใช๎เงินท้ังหลายท่ีได๎ออกแทนไป และมีอยํูเหนือเครื่องเดินทาง หรือทรัพย๑สิน
อยาํ งอน่ื ของคนเดินทาง หรือแขกอาศัยอนั เอาไวใ๎ นโรงแรม โฮเต็ล หรือสถานทเ่ี ชํนนน้ั ”

หน้ที ม่ี ีบุรมิ สิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลพักอาศัยในโรงแรม
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 265 ไดแ๎ กํ

1. หน้ีเงนิ ทค่ี ๎างชําระแกํเจ๎าสํานักโรงแรมเก่ียวกับการพักอาศัยและ
การอื่น ๆ อันได๎จัดให๎สําเร็จความปรารถนาแกํคนเดินทางหรือแขกอาศัย เชํน คําห๎องพัก
คาํ อาหาร คําซกั รีดเสอื้ ผ๎า ฯลฯ

2. หนี้เงินซึ่งเจ๎าสํานักโรงแรมได๎ได๎ออกแทนไป เชํน คําโทรศัพท๑
เปน็ ตน๎

บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลพักอาศัยในโรงแรมน้ัน
จะมีอยํูเหนือสังหาริมทรัพย๑อันได๎แกํ เครื่องเดินทางหรือทรัพย๑สินอยํางอื่นของคนเดินทาง
หรือแขกอาศยั ท่ีนาํ มาไว๎ในสํานักโรงแรมเทํานัน้ เชนํ กระเป๋าเดินทาง เส้ือผ๎า เครื่องประดับ
เป็นต๎น

78โสภณ รัตนากร, เรือ่ งเดิม, หน๎า 364.

214

มาตรการพิเศษสาหรับผู้ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์และเจ้าสานัก
โรงแรม

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 266 บัญญัติวํา “ผ๎ูให๎
เชาํ อสงั หาริมทรัพย๑ หรือเจ๎าสาํ นักโรงแรม โฮเต็ล หรือสถานที่เชํนน้ัน จะใช๎บุริมสิทธิของตน
บังคับทํานองเดียวกับผู๎รับจํานําก็ได๎ บทบัญญัติท้ังหลายแหํงประมวลกฎหมายนี้วําด๎วยการ
บังคับจํานาํ นัน้ ทาํ นให๎นํามาใช๎บงั คับด๎วยโดยอนุโลม” แม๎การจํานํา ผู๎จํานําจะสมัครใจมอบ
ทรัพย๑สินบางอยํางใหแ๎ กํผูร๎ ับจาํ นาํ เพือ่ เป็นการประกันการชําระหน้ี อันตํางจากกรณีที่ลูกหนี้
นาํ ทรพั ย๑สนิ ของตนมาไว๎ในอสังหาริมทรัพยท๑ ีเ่ ชําหรอื โรงแรม แตํการเชาํ อสังหาริมทรัพย๑และ
การพักอาศัยในโรงแรม ก็มีทรัพย๑สินบางอยํางของลูกหน้ีอยํูในอสังหาริมทรัพย๑หรือโรงแรม
ของเจ๎าหนี้ ทํานองเดียวกับการจํานําท่ีจะมีทรัพย๑สินบางอยํางของลูกหนี้อยํูกับเจ๎าหนี้ผ๎ูรับ
จํานํา ดังนั้น กฎหมายจึงกําหนดให๎เจ๎าหน้ีผู๎มีบุริมสิทธิในหนี้คําเชําอสังหาริมทรัพย๑หรือ
โรงแรมมสี ทิ ธิบังคบั ชําระหนี้ทํานองเดียวกับผูร๎ ับจํานําได๎ กลําวคือ เจ๎าหน้ีผู๎มีบุริมสิทธิในหน้ี
คําเชาํ อสังหาริมทรัพย๑หรอื โรงแรมมีสิทธินําทรัพย๑สินของลูกหนี้ที่อยูํในอสังหาริมทรัพย๑หรือ
โรงแรมของตนออกขายทอดตลาด เพอ่ื นําเงนิ มาชําระหนีข้ องตนอยํางเจ๎าหน้จี าํ นําได๎

3) รบั ขนคนโดยสารหรอื ของ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 267 บัญญัติวํา

“บุริมสิทธิในมูลรับขนน้ัน ใช๎สําหรับเอาคําระวางพาหนะในการรับขนคนโดยสารหรือของ
กบั ท้งั คาํ ใช๎จํายอันเปน็ อุปกรณ๑ และเป็นบรุ มิ สิทธมิ อี ยูํเหนือของและเครื่องเดินทางทงั้ หมดอัน
อยูใํ นมือของผ๎ขู นสงํ ”

หนที้ ีม่ ีบรุ มิ สิทธิพิเศษเหนอื สังหาริมทรพั ย๑ในมลู รบั ขนคนโดยสารหรือ
ของ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 267 ไดแ๎ กํ

1. คําระวางพาหนะในการรบั ขนคนโดยสารหรือของ ซ่ึงหมายถึง คํา
โดยสารหรอื คาํ ระวางสินคา๎ น่นั เอง

2. คําใช๎จํายอันเป็นอุปกรณ๑ เชํน คําจ๎างของลูกจ๎างในการขนย๎าย
สินค๎าข้ึนลงพาหนะ เปน็ ตน๎

บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลรับขนคนโดยสารหรือของ
นนั้ จะมีอยํูเหนือสังหาริมทรัพย๑อันได๎แกํ สิ่งของและเครื่องเดินทางที่อยูํกับผ๎ูขนสํงน้ัน เชํน
นาย ก. ได๎โดยสารรถและได๎มอบกระเป๋าเดินทางไว๎กับผข๎ู นสํง ดงั น้ี ผขู๎ นสํงยอํ มมีบุริมสิทธิใน
กระเปา๋ เดินทางน้ัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 267 เปน็ ตน๎

215

4) รักษาสังหาริมทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 269 บัญญัติวํา
“บรุ มิ สทิ ธิในมูลรักษาสงั หารมิ ทรัพย๑นั้น ใช๎สําหรับเอาคาํ ใชจ๎ ํายเพอ่ื รักษาสังหารมิ ทรัพย๑ และ
มีอยํูเหนือสังหาริมทรพั ยอ๑ ันนัน้
อนึ่ง บุริมสิทธินี้ยังใช๎สําหรับเอาคําใช๎จํายท่ีจําเป็นอันได๎เสียไป
เพื่อท่ีจะสงวนสิทธิ หรือรับสภาพสิทธิ หรือบังคับสิทธิ อันเกี่ยวด๎วยสังหาริมทรัพย๑นั้นอีก
ดว๎ ย”
หนีท้ มี่ ีบุรมิ สทิ ธิพเิ ศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลรักษาสังหาริมทรัพย๑
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 269 ได๎แกํ
1. คาํ ใช๎จาํ ยเพ่ือรักษาสังหาริมทรัพย๑ไว๎ในทางกายภาพ
2. คําใช๎จํายเพ่ือรักษาสังหาริมทรัพย๑ไว๎ในทางกฎหมาย ไมํวําจะเป็น
การสงวนสทิ ธิ หรอื รับสภาพสทิ ธิ หรือบงั คบั สทิ ธิ อันเกยี่ วด๎วยสังหารมิ ทรัพยน๑ ้ัน เชํน การจัด
ใหม๎ ีการรบั สภาพหนี้ การฟอ้ งคดี เป็นตน๎
บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลรักษาสังหาริมทรัพย๑น้ัน
จะมอี ยํเู หนือสังหารมิ ทรพั ย๑ทีร่ กั ษาไว๎นน้ั
ข้อสังเกต การรักษาสังหาริมทรัพย๑นี้ ถ๎าตัวทรัพย๑นั้นเจ๎าหน้ีได๎
ครอบครองอยูํ เจา๎ หนก้ี ย็ อํ มมสี ทิ ธยิ ึดหนํวงไดด๎ ว๎ ย

5) ซื้อขายสงั หารมิ ทรพั ย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 270 บัญญัติว่า

“บุริมสิทธใิ นมูลซื้อขายสงั หาริมทรพั ย๑น้ัน ใชส๎ าํ หรับเอาราคาซื้อขายและดอกเบี้ยในราคานั้น
และมอี ยูํเหนือสงั หารมิ ทรพั ยอ๑ ันนั้น”

หน้ีท่ี มี บุริ มสิ ทธิ พิ เศ ษเห นือ สัง ห าริ ม ทรั พ ย๑ ใ น มู ลซื้อ ขา ย
สงั หารมิ ทรพั ย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 270 ได๎แกํ หน้ีท่ีผู๎ซ้ือจะต๎อง
ชําระแกํผ๎ูขาย อันได๎แกํราคาท่ีผ๎ูซ้ือยังไมํชําระและดอกเบี้ย โดยผู๎ขายจะมีบุริมสิทธิเหนือ
ทรพั ยท๑ ีข่ าย เชนํ นายดาํ ได๎ทําสัญญาขายรถยนตใ๑ หน๎ ายแดง กรรมสทิ ธิใ์ นรถยนต๑น้ันยํอมโอน
ไปเป็นของนายแดงทันที ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 458 และหาก
นายแดงได๎รับรถยนต๑ไปแล๎ว แตํไมํชําระราคารถยนต๑ นายดํายํอมมีบุริมสิทธิเหนือรถยนต๑ท่ี
ขาย ในมูลหนค้ี ํารถยนตแ๑ ละดอกเบ้ียน้นั เปน็ ต๎น

อนึ่ง หนี้บุริมสิทธิตามมาตรานี้ต๎องเป็นกรณีท่ีกรรมสิทธิ์ในทรัพย๑ได๎
โอนไปยังผ๎ูซื้อซ่ึงเป็นลูกหน้ีแล๎ว เพราะบุริมสิทธิยํอมมีอยํูเหนือทรัพย๑สินของลูกหน้ี79
กลาํ วคือ ต๎องเป็นสัญญาซอ้ื ขายเสรจ็ เด็ดขาด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา

79โสภณ รตั นากร, เร่ืองเดิม, หนา๎ 369.

216

458 จะเปน็ สญั ญาซอ้ื ขายเสร็จเด็ดขาดทมี่ เี งอ่ื นไขหรือเงื่อนเวลา ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 459 ไมไํ ด๎

นอกจากน้ัน หากทรัพย๑นี้ได๎ถูกนําไปรวมกับทรัพย๑อื่นจนไมํอาจจะ
แยกออกจากกันได๎ บุริมสิทธิก็ยํอมหายไป เชํน ซื้อน้ําตาลทรายไปทําขนม บุริมสิท ธิใน
น้าํ ตาลทรายกย็ อํ มหายไป เป็นต๎น80

บุริมสทิ ธพิ ิเศษเหนอื สังหารมิ ทรัพยใ๑ นมลู ซื้อขายสังหาริมทรพั ย๑น้ัน

จะมีอยํเู หนือสงั หารมิ ทรัพย๑ทซี่ ้ือขายน้ัน
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 757/2505 มูลหนี้ที่เกิดจากสัญญาซ้ือขาย

ไม๎แปรรูป อันเปน็ สงั หาริมทรัพยซ๑ ่ึงผ๎ขู ายมีบุรมิ สทิ ธทิ ่ีจะเอาราคาซ้ือขายเหนือไม๎แปรรูปนี้ได๎
กํอนเจ๎าหนีอ้ ื่นนัน้ หากปรากฏวําไม๎แปรรปู นี้ได๎ถูกนําไปสรา๎ งเปน็ โรงเรอื น อนั กลายสภาพจาก
สงั หาริมทรพั ย๑เป็นอสงั หาริมทรัพย๑คือโรงเรอื นเสียแล๎ว ผ๎ูขายยํอมไมํมีสิทธิท่ีจะอ๎างบุริมสิทธิ
เหนือโรงเรือนซึ่งสร๎างดว๎ ยไมแ๎ ปรรปู น้ันได๎

6) ค่าเมล็ดพนั ธุ์ ไม้พนั ธุ์ หรอื ปยุ๋
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 271 บัญญัติวํา

“บุริมสิทธิในมูลคําเมล็ดพันธุ๑ ไม๎พันธุ๑ หรือปุ๋ยน้ัน ใช๎สําหรับเอาราคาคําเมล็ดพันธุ๑ ไม๎พันธ๑ุ
หรือปุ๋ย และดอกเบี้ยในราคานั้น และมีอยํูเหนือดอกผลอันเกิดงอกในท่ีดินเพราะใช๎ส่ิง
เหลาํ นนั้ ภายในปหี นง่ึ นับแตํเวลาทใี่ ช๎”

หนี้ที่มีบุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลคําเมล็ดพันธ๑ุ ไม๎
พันธุ๑ หรือปุ๋ย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 271 ได๎แกํ คําเมล็ดพันธุ๑ ไม๎
พันธุ๑ หรอื ปุ๋ย และดอกเบย้ี

บุริมสทิ ธพิ เิ ศษเหนอื สังหาริมทรพั ย๑ในมลู คําเมลด็ พนั ธุ๑ ไมพ๎ ันธ๑ุ หรือ
ปยุ๋ น้นั จะมีอยํเู หนอื สงั หาริมทรัพย๑ อนั ไดแ๎ กํ ดอกผลอนั เกดิ งอกในที่ดนิ เพราะใชเ๎ มลด็ พันธุ๑
ไม๎พันธ๑ุ หรอื ปยุ๋ เหลํานัน้ ภายในปหี นึง่ นับแตํเวลาทใ่ี ช๎

ตัวอย่าง นายดําไปซื้อเมล็ดพันธุ๑ส๎มจากนายแดง แล๎วนายดําไมํ
ชําระราคาคําเมล็ดพันธ๑ุส๎ม นายแดงยํอมมีบุริมสิทธิผลส๎มท่ีเกิดงอกในที่ดินเพราะใช๎เมล็ด
พนั ธ๑ุส๎มน้นั ภายในปีหนงึ่ นบั แตํเวลาที่ใชเ๎ มล็ดพันธุ๑สม๎ นั้น

ข้อสังเกต บุริมสิทธิในมูลซื้อขายสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 270 เป็นบทท่ัวไป สํวนบุริมสิทธิในมูลคําเมล็ดพันธ๑ุ ไม๎
พันธุ๑ หรอื ปยุ๋ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 271 เป็นบทเฉพาะ เน่ืองจาก
แม๎เมล็ดพันธ๑ุ ไม๎พันธุ๑ หรือปุ๋ย จะเป็นสังหาริมทรัพย๑อยํางหน่ึง แตํเมื่อถูกนําไปใช๎แล๎วก็จะ

80สุนทร มณีสวัสดิ์, เร่ืองเดิม, หน๎า 181.

217

แปลงสภาพไป อันมีผลทําให๎ บุริมสิทธิตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 270
หายไปด๎วย ดังนั้น จึงจาํ เป็นต๎องกําหนดประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 271 ไว๎
เป็นบทเฉพาะ แตํอยํางไรก็ดี หากผ๎ูซ้ือยังไมํได๎นําเมล็ดพันธุ๑ ไม๎พันธุ๑ หรือปุ๋ย ไปใช๎ ผู๎ขายก็
ยอํ มมีบุรมิ สิทธิ์ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 270 ได๎

7) ค่าแรงงานกสกิ รรมหรืออตุ สาหกรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 272 บัญญัติวํา

“บุริมสิทธิในมูลคําแรงงานเพ่ือกสิกรรมและอุตสาหกรรมน้ัน ในสํวนบุคคลท่ีได๎ทําการงาน
กสิกรรม ใช๎สําหรับเอาคําจ๎างนับถอยหลังข้ึนไปปีหนึ่ง และในสํวนบุคคลท่ีได๎ทําการงาน
อุตสาหกรรม ใช๎สําหรับเอาคําจ๎างนับถอยหลังข้ึนไปสามเดือน และเป็นบุริมสิทธิมีอยํูเหนือ
ดอกผลหรอื ส่ิงของที่ประดษิ ฐ๑ข้นึ อันเกิดแตํแรงงานของบุคคลนนั้ ๆ”

หนท้ี มี่ ีบรุ ิมสทิ ธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลคําแรงงานกสิกรรม
หรืออุตสาหกรรม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 272 ได๎แกํ หน้ีของลูกจ๎าง
ในมูลคําแรงงานที่ได๎เพ่ือกสิกรรมและอุตสาหกรรม โดยในกรณีลูกจ๎างท่ีได๎ทําการงาน
กสิกรรม จะมีบุริมสิทธิในมูลหนี้คําจ๎างนับถอยหลังขึ้นไป 1 ปี สํวนลูกจ๎างที่ได๎ทําการงาน
อุตสาหกรรม จะมีบรุ ิมสทิ ธใิ นมูลหนีค้ าํ จ๎างนบั ถอยหลังขึ้นไป 3 เดอื น

บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ในมูลคําแรงงานกสิกรรมหรือ
อตุ สาหกรรมน้ัน จะมีอยํูเหนือสังหาริมทรัพย๑ อันได๎แกํ ดอกผลหรือสิ่งของท่ีประดิษฐ๑ขึ้นอัน
เกิดแตํแรงงานของลกู จา๎ งน้ัน

ข้อสงั เกต
1. ลูกจ๎างเพ่ือการกสิกรรมหรืออุตสาหกรรมเทําน้ันที่มีบุริมสิทธิ
เหนือสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 259 (7), 272 สํวน
ลูกจ๎างอื่นนั้น แม๎จะไมํมีบุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 259 (7), 272 แตํก็มีบุริมสิทธสิ ามัญ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 253 (3), 257
2. นอกจากลกู จ๎างเพื่อการกสิกรรมหรืออุตสาหกรรมจะมีสิทธิท่ีจะ
ใช๎บุริมสิทธิสามัญตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 253 (3) , 257 เหนือ
ทรัพย๑สินท่วั ไปของลกู หนแี้ ล๎ว และลกู จ๎างเพื่อการกสิกรรมหรืออุตสาหกรรมยังมีสิทธิที่จะใช๎
บุริมสิทธิเหนอื สังหารมิ ทรพั ย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 259 (7), 272
เหนือทรัพย๑สินเฉพาะสิ่งเฉพาะอยํางของลูกหนี้ ที่เป็นดอกผลหรือส่ิงของที่ประดิษฐ๑ขึ้นจาก
แรงงานของตนด๎วย

218

4.2.2 บรุ ิมสิทธิพเิ ศษเหนืออสงั หาริมทรพั ย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 273 บัญญัติวํา “ถ๎าหน้ีมี

อยูํเป็นคุณแกํบคุ คลผใ๎ู ดในมลู อยาํ งหนง่ึ อยํางใดดังจะกลาํ วตํอไปนี้ บคุ คลผ๎นู ้นั ยอํ มมีบุริมสิทธิ
เหนืออสงั หารมิ ทรพั ยเ๑ ฉพาะอยํางของลูกหนี้ คือ

(1) รกั ษาอสังหาริมทรพั ย๑
(2) จ๎างทาํ ของเปน็ การงานทําข้นึ บนอสงั หาริมทรพั ย๑
(3) ซือ้ ขายอสังหารมิ ทรัพย๑”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 273 บุริมสิทธิเหนือ
อสังหารมิ ทรพั ย๑มี 3 ประเภท ดังน้ี
(1) รักษาอสงั หารมิ ทรพั ย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 274 บัญญัติวํา
“บรุ ิมสิทธิในมูลรักษาอสังหาริมทรัพย๑นั้น ใช๎สําหรับเอาคําใช๎จํายเพ่ือรักษาอสังหาริมทรัพย๑
และมอี ยํเู หนอื อสังหาริมทรพั ยอ๑ ันนัน้

อนึง่ บทบัญญตั แิ หงํ มาตรา 269 วรรคสองน้ัน ทํานให๎นํามาใช๎บังคับ
แกกํ รณีที่กลาํ วมาในวรรคกํอนน้ดี ๎วย”

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 269 วรรคสอง บัญญัติ
วํา “อนึ่ง บุริมสิทธิน้ียังใช๎สําหรับเอาคําใช๎จํายท่ีจําเป็นอันได๎เสียไปเพื่อที่จะสงวนสิทธิ หรือ
รับสภาพสิทธิ หรอื บังคบั สิทธิ อันเกีย่ วด๎วยสังหารมิ ทรัพยน๑ ั้นอกี ดว๎ ย”

หนี้ที่ มี บุริ มสิท ธิ พิ เ ศษ เหนื อ อ สั ง หา ริ ม ทรั พ ย๑ ใน มูลรั ก ษ า
อสงั หารมิ ทรพั ย๑ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 274 ไดแ๎ กํ

1. คําใชจ๎ ํายเพ่อื รกั ษาสงั หาริมทรัพย๑ไว๎ในทางกายภาพ
2. คาํ ใช๎จํายเพ่ือรกั ษาสังหาริมทรัพย๑ไว๎ในทางกฎหมาย ไมํวําจะเป็น
การสงวนสิทธิ หรือรับสภาพสทิ ธิ หรอื บังคับสิทธิ อนั เกีย่ วด๎วยสงั หาริมทรัพยน๑ ั้น เชํน การจัด
ให๎มีการรับสภาพหน้ี การฟอ้ งคดี เป็นตน๎
บรุ ิมสทิ ธิพเิ ศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ในมูลรักษาอสังหาริมทรัพย๑นั้น
จะมอี ยํูเหนืออสังหารมิ ทรพั ย๑ทร่ี ักษาไว๎นั้น

(2) จ้างทาของเป็นการงานทาขนึ้ บนอสงั หารมิ ทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 275 บัญญัติวํา

“บุริมสิทธิในมูลจ๎างทําของเป็นการงานทําขึ้นบนอสังหาริมทรัพย๑น้ัน ใช๎สําหรับเอาสินจ๎าง
คําทําของเป็นการงานอันผู๎กํอสร๎าง สถาปนิก หรือผู๎รับจ๎างได๎ทําลงบนอสังหาริมทรัพย๑ของ
ลกู หนี้ และมีอยูเํ หนอื อสังหาริมทรัพยอ๑ นั นนั้

219

อน่ึง บุริมสิทธินี้ยํอมเกิดมีขึ้นตํอเมื่ออสังหาริมทรัพย๑น้ันมีราคา
เพิม่ ขน้ึ ในปจ๓ จุบนั เพราะการท่ไี ดท๎ ําขน้ึ นั้น และมีอยเูํ พียงเหนือราคาที่เพม่ิ ขึ้นเทํานั้น”

หนท้ี ่ีมีบุรมิ สิทธิพเิ ศษเหนอื อสังหาริมทรัพย๑ในมูลจ๎างทําของเป็นการ
งานทําข้ึนบนอสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 275 ได๎แกํ
มูลหน้ีสินจ๎างคําทําของที่ผ๎ูกํอสร๎าง สถาปนิก หรือผ๎ูรับจ๎างได๎ทําลงบนอสังหาริมทรัพย๑นั้น
โดยบุริมสทิ ธนิ ีย้ อํ มเกิดมขี น้ึ ตอํ เมื่ออสังหาริมทรัพย๑น้ันมีราคาเพิ่มขึ้นในป๓จจุบัน เพราะการท่ี
ได๎ทาํ ขึ้นน้นั เชนํ สร๎างบ๎านลงบนทดี่ นิ แลว๎ ทําให๎ราคาทดี่ ินนนั้ เพ่ิมสูงข้นึ เปน็ ตน๎

บรุ ิมสทิ ธพิ ิเศษเหนอื อสังหารมิ ทรัพย๑ในมูลจ๎างทําของเป็นการงานทํา
ข้ึนบนอสังหาริมทรัพย๑น้ัน จะมีอยูํเหนืออสังหาริมทรัพย๑น้ัน แตํจะมีอยูํเพียงเหนือราคาที่
เพิ่มขึน้ เทาํ นั้น เชํน ท่ีดินราคา 1,000,000 บาท ผกู๎ ํอสร๎างได๎สร๎างบ๎านลงบนที่ดินเป็นคําจ๎าง
ทําของ 500,000 บาท มีผลทําให๎ราคาที่ดินสูงขึ้นเป็น 1,400,000 บาท ดังน้ี ผู๎กํอสร๎างมี
บรุ มิ สทิ ธใิ นทด่ี ินนั้น 400,000 บาท เทํานัน้

ข้อสังเกต เจ๎าหน้ีผู๎มีบุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ในมูลจ๎าง
ทําของเป็นการงานทาํ ขึน้ บนอสงั หาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
275 นี้ ต๎องเป็นเจ๎าหนใี้ นมูลหน้ีการจา๎ งทําของ มิใชมํ ูลหนี้การจ๎างแรงงาน

(3) ซื้อขายอสังหาริมทรพั ย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 276 บัญญัติวํา

“บุริมสทิ ธใิ นมูลซอ้ื ขายอสังหาริมทรัพย๑นั้น ใช๎สําหรับเอาราคาอสังหาริมทรัพย๑และดอกเบี้ย
ในราคานั้น และมอี ยํเู หนืออสังหาริมทรัพยอ๑ นั น้ัน”

หนี้ท่ีมีบุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ ในมูลซ้ือขาย
อสงั หารมิ ทรพั ย๑ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 276 ไดแ๎ กํ หน้ีท่ีผ๎ูซ้ือจะต๎อง
ชาํ ระแกผํ ข๎ู าย อันไดแ๎ กํราคาทผี่ ๎ูซือ้ ยังไมํชาํ ระและดอกเบี้ย

บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ในมูลซ้ือขายอสังหาริมทรัพย๑
นน้ั จะมอี ยํูเหนืออสังหาริมทรัพย๑ทีซ่ ือ้ ขายน้นั

ตัวอย่าง นายดําไดท๎ าํ สญั ญาขายที่ดินให๎นายแดง หากนายแดงได๎รับ
โอนกรรมสิทธ์ิในที่ดินนั้นไปแล๎ว แตํไมํชําระราคาคําท่ีดิน นายดํายํอมมีบุริมสิทธิเหนือท่ีดิน
ในมูลหน้ีคาํ ท่ีดินและดอกเบ้ียน้นั เป็นต๎น

220

5. ลาดบั แหง่ บุริมสทิ ธิ
หลกั เกณฑใ๑ นการจัดลําดับแหงํ บรุ มิ สิทธมิ ีดังนี้
5.1 ระหวา่ งบรุ ิมสิทธิสามัญด้วยกนั
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 277 วรรคแรก บัญญัติวํา “เมื่อมี

บุริมสิทธิสามัญหลายรายแย๎งกัน ทํานให๎ถือวําบุริมสิทธิทั้งหลายนั้นมีลําดับที่จะให๎ผล
กํอนหลงั ดังทไ่ี ด๎เรยี งลําดบั ไว๎ในมาตรา 253”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 277 วรรคแรก และมาตรา 253
บุริมสทิ ธิสามญั เป็นไปตามลาํ ดบั กํอนหลัง ดงั น้ี

(1) คําใช๎จาํ ยเพอื่ ประโยชน๑อนั รํวมกนั
(2) คําปลงศพ
(3) คาํ ภาษีอากร และเงนิ ท่ีลกู จา๎ งมีสิทธิได๎รับเพอ่ื การงานท่ไี ดท๎ าํ ให๎แกํลกู หน้ซี ึง่
เปน็ นายจ๎าง
(4) คําเคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภคอนั จําเปน็ ประจําวนั

5.2 ระหวา่ งบุรมิ สิทธสิ ามัญกับบรุ ิมสทิ ธิพเิ ศษ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 277 วรรคสอง บัญญัติวํา “เม่ือมี

บุริมสิทธิสามัญแย๎งกับบุริมสิทธิพิเศษ ทํานวําบุริมสิทธิพิเศษยํอมอยูํในลําดับกํอน
แตบํ รุ มิ สทิ ธใิ นมลู คาํ ใช๎จํายเพือ่ ประโยชนร๑ ํวมกันนั้น ยํอมอยูํในลําดับกํอนในฐานท่ีจะใช๎สิทธิ
นน้ั ตํอเจา๎ หนผี้ ๎ไู ดร๎ บั ประโยชน๑จากการนน้ั หมดทุกคนด๎วยกนั ”

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 277 วรรคสอง หมายความวํา ใน
ระหวํางบุริมสิทธิสามัญกับบุริมสิทธิพิเศษ บุริมสิทธิพิเศษยํอมอยูํในลําดับกํอนบุริมสิทธิ
สามญั เว๎นแตํบุริมสิทธิสามัญในมูลคําใช๎จํายเพ่ือประโยชน๑รํวมกันนั้น ยํอมอยูํในลําดับกํอน
บุรมิ สทิ ธพิ เิ ศษ

ตัวอย่างที่ 1 นายดําซ่ึงเป็นเจ๎าหน้ีท่ีมีบุริมสิทธิพิเศษในมูลหนี้คําเชํา
อสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 259 (1) ยํอมมีสิทธิดีกวํา
นายขาวซ่งึ เป็นเจา๎ หน้ที มี่ ีบรุ มิ สิทธสิ ามัญในมูลหนค้ี ําปลงศพ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 253 (2)

ตัวอย่างที่ 2 นายแดงซ่ึงเป็นเจ๎าหน้ีที่มีบุริมสิทธิสามัญในมูลหน้ีคําใช๎จํายเพ่ือ
ประโยชน๑อันรํวมกัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 253 (1) ยํอมมีสิทธิ
ดีกวํานายดําซ่ึงเป็นเจ๎าหน้ีที่มีบุริมสิทธิพิเศษในมูลหน้ีคําเชําอสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 259 (1)

221

5.3 ระหว่างบุริมสิทธพิ ิเศษเหนอื สังหารมิ ทรพั ยด์ ้วยกัน
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 278 วรรคแรก บัญญัติวํา “เมื่อมี

บรุ ิมสทิ ธแิ ย๎งกันหลายรายเหนอื สงั หารมิ ทรัพย๑อันหนึ่งอันเดียวกัน ทํานให๎ถือลําดับกํอนหลัง
ดงั ที่เรียงไวต๎ ํอไปนี้ คือ

(1) บรุ มิ สทิ ธิในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑ พกั อาศยั ในโรงแรมและรับขน
(2) บรุ มิ สทิ ธใิ นมูลรกั ษาสังหาริมทรัพย๑ แตถํ ๎ามบี ุคคลหลายคนเป็นผ๎ูรักษา ทําน
วําผู๎ทร่ี ักษาภายหลงั อยํูในลาํ ดบั กอํ นผทู๎ ไี่ ดร๎ กั ษามากํอน
(3) บุริมสิทธิในมูลซื้อขายสังหาริมทรัพย๑ คําเมล็ดพันธ๑ุ ไม๎พันธ๑ุ หรือปุ๋ย และ
คาํ แรงงานกสิกรรมและอุตสาหกรรม”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 278 วรรคแรก ลําดับแหํง
บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ด๎วยกัน มิได๎เป็นไปตามลําดับกํอนหลังเหมือนกับลําดับ
แหงํ บุริมสทิ ธิสามญั ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 277 วรรคหนึง่ ประกอบ
มาตรา 253 แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 278 ได๎กําหนดลําดับแหํง
บุรมิ สทิ ธิพิเศษเหนอื สังหาริมทรพั ย๑ไวต๎ ามลําดบั กํอนหลงั ดังนี้
1. บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 259 (1), (2), (3)
2. บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 259 (4) แตํถ๎ามีบุคคลหลายคนเป็นผู๎รักษา ผ๎ูท่ีรักษาภายหลังอยํูในลําดับ
กอํ นผูท๎ ีไ่ ดร๎ กั ษามากํอน
3. บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 259 (5), (6), (7)
นอกจากน้ัน ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 278 วรรคสองและ
วรรคทา๎ ย ยังไดก๎ าํ หนดหลักเกณฑ๑ยกเวน๎ ลําดับแหํงบุริมสิทธิท้ังสามลําดับตามท่ีกําหนดไว๎ใน
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 278 วรรคแรก อีก 2 ประการ คือ
1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 278 วรรคสอง บัญญัติวํา
“ถา๎ บุคคลผูใ๎ ดมบี ุริมสิทธอิ ยใํู นลาํ ดับเป็นทห่ี น่ึง และร๎ูอยํูในขณะที่ตนได๎ประโยชน๑แหํงหนี้มา
นัน้ วํายังมีบุคคลอนื่ ซึง่ มบี รุ ิมสทิ ธิอยใํู นลาํ ดบั ทีส่ องหรือที่สามไซร๎ ทํานห๎ามมิให๎บุคคลผ๎ูน้ันใช๎
สทิ ธิในการท่ีตนอยํูในลําดับกํอนน้ันตํอบุคคลอื่นเชํนวํามา และทํานห๎ามมิให๎ใช๎สิทธินี้ตํอผู๎ที่
ไดร๎ กั ษาทรพั ย๑ไว๎เพ่อื ประโยชนแ๑ กํบุคคลผม๎ู บี รุ ิมสิทธใิ นลาํ ดบั ที่หนึ่งน้ันเองดว๎ ย”
ถ๎าผู๎ท่ีมีบุริมสิทธิอยํูในลําดับเป็นที่หน่ึง ได๎ร๎ูอยํูในขณะที่ตนได๎ประโยชน๑แหํง
หน้ีมานัน้ วาํ ยังมผี ๎อู ื่นซ่งึ มีบุรมิ สทิ ธอิ ยํูในลําดบั ท่ีสองหรอื ที่สาม ดงั น้ี ผ๎ูอ่ืนซ่ึงมีบุริมสิทธิอยูํใน
ลาํ ดบั ที่สองหรอื ทส่ี ามยํอมมสี ิทธิดกี วําผ๎ูที่มีบุริมสิทธิอยํูในลําดับที่หนึ่ง เชํน นายดําซ้ือกล๎อง
ถํายรูปจากนายแดงและยังค๎างชําระราคาแกํนายแดงอยํู ตํอมานายดําได๎ไปเชําบ๎านของ

222

นายขาวและคา๎ งชําระคาํ เชํา ดงั น้ี นายแดงยํอมมบี ุริมสิทธิในมูลซอื้ ขายสังหาริมทรัพย๑ซ่ึงเป็น
บุริมสิทธิในลําดับท่ีสาม สํวนนายขาวยํอมมีบุริมสิทธิในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑ซึ่งเป็น
บุริมสิทธิในลําดับที่หนึ่ง ซึ่งหากนายขาวได๎รู๎วํายังมีนายแดงที่มีบุริมสิทธิอยํูในลําดับท่ีสาม
นายแดงยํอมมีสิทธดิ กี วํานายขาว

นอกจากนน้ั ผทู๎ ีไ่ ด๎รกั ษาทรัพยไ๑ วเ๎ พอ่ื ประโยชน๑แกํบุคคลผ๎ูมีบุริมสิทธิในลําดับ
ท่ีหนึ่ง ยอํ มมีสทิ ธดิ ีกวาํ ผม๎ู ีบรุ มิ สิทธิในลําดับทหี่ นึง่

2. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 278 วรรคท้าย บัญญัติวํา “ใน
สํวนดอกผล ทาํ นใหบ๎ ุคคลผู๎ได๎ทําการงานกสิกรรมอยํูในลําดับที่หน่ึง ผ๎ูสํงเมล็ดพันธุ๑ ไม๎พันธุ๑
หรือปุ๋ย อยํูในลําดับท่ีสอง และให๎ผ๎ูเชําท่ีดินอยํูในลําดับท่ีสาม” เฉพาะในสํวนดอกผลของ
ทดี่ นิ ใหเ๎ รยี งลําดับบุริมสิทธิ คือ 1. ผู๎ได๎ทําการงานกสิกรรม 2. ผ๎ูสํงเมล็ดพันธ๑ุ ไม๎พันธ๑ุ หรือ
ป๋ยุ และ 3. ผเ๎ู ชาํ ทีด่ ิน

5.4 ระหว่างบุรมิ สทิ ธพิ เิ ศษเหนืออสงั หารมิ ทรพั ยด์ ว้ ยกัน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 279 บัญญัติวํา “เมื่อมีบุริมสิทธิ

พิเศษแย๎งกันหลายรายเหนืออสังหาริมทรัพย๑อันหน่ึงอันเดียวกัน ทํานให๎ถือลําดับกํอนหลัง
ดังทีไ่ ดเ๎ รียงลาํ ดบั ไว๎ในมาตรา 273

ถ๎าได๎ซื้อขายอสังหาริมทรัพย๑น้ันสืบตํอกันไปอีกไซร๎ ลําดับกํอนหลังในระหวําง
ผ๎ูขายด๎วยกันน้ัน ทาํ นใหเ๎ ปน็ ไปตามลําดบั ที่ได๎ซอ้ื ขายกํอนและหลัง”

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 279 วรรคแรก ได๎กําหนดลําดับแหํง
บุริมสิทธพิ เิ ศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ ให๎ถือลําดับกํอนหลังตามท่ีได๎เรียงลําดับไว๎ในประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 273 กลําวคอื

1. รักษาอสังหาริมทรัพย๑
2. จา๎ งทาํ ของเป็นการงานทาํ ข้นึ บนอสังหาริมทรัพย๑
3. ซอ้ื ขายอสังหาริมทรัพย๑
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 279 วรรคสอง ได๎กําหนดวําสําหรับ
การซ้อื ขายอสังหาริมทรัพย๑ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 273 (3) น้ัน ถ๎า
ไดม๎ กี ารซอื้ ขายอสังหาริมทรัพย๑น้ันสบื ตํอกนั ไปอีก ใหผ๎ ขู๎ ายลําดบั กํอนมีสิทธดิ กี วาํ ผ๎ูขายลําดับ
หลงั เชนํ นายแดงขายท่ีดินให๎แกํนายดาํ โดยนายดําคา๎ งชําระราคําอยูํ 100,000 บาท ตํอมา
นายดาํ ขายที่ดินใหแ๎ กํนายขาว โดยนายขาวค๎างชาํ ระราคาํ อยํู 100,000 บาท ตอํ มานายดําจึง
ฟอ้ งคดตี อํ ศาล และได๎มีการยดึ ท่ีดินขายทอดตลาดได๎ราคา 180,000 บาท ดังนี้ นายแดงซ่ึง
เป็นผู๎ขายลําดับกํอนยํอมมีสิทธิดีกวํานายดําผู๎ขายลําดับหลัง กลําวคือ นายแดงมีสิทธิได๎รับ
ชาํ ระหน้กี ํอน 100,000 บาท สวํ นนายดาํ มสี ิทธไิ ดร๎ ับชําระหนี้เพียง 80,000 บาท เปน็ ต๎น

223

5.5 ระหว่างบรุ ิมสิทธทิ ่ีอย่ใู นลาดบั เดยี วกัน
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 280 บัญญัติวํา “เม่ือบุคคลหลาย

คนมีบรุ ิมสิทธใิ นลาํ ดบั เสมอกันเหนอื ทรัพยอ๑ ันหนึง่ อนั เดียวกัน ทํานให๎ตํางคนตํางได๎รับชําระ
หนเ้ี ฉลย่ี ตามสํวนมากน๎อยแหงํ จํานวนทต่ี นเป็นเจ๎าหน้ี”

หลัก ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 280 เป็นกฎหมายท่ัวไป
กลําวคือ เจ๎าหนที้ ม่ี ีบรุ ิมสิทธอิ ยํูในลาํ ดับเดยี วกนั ยํอมได๎รับชําระหนี้เฉลี่ยตามสํวนมากน๎อย
แหํงจํานวนทต่ี นเปน็ เจา๎ หน้ี

ตัวอย่างท่ี 1 นาย ก. และนาย ข. ตํางเป็นเจ๎าหนี้คําเคร่ืองอุปโภคบริโภค
อนั จาํ เป็นประจําวนั นาย ก. และนาย ข. จึงเปน็ เจา๎ หนี้ที่มีบรุ ิมสทิ ธิอยํูในลําดับเดียวกัน ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 253 (4) จึงมีสิทธิได๎รับชําระหนี้เฉลี่ยตาม
สํวนมากน๎อยแหํงจํานวนท่ีตนเป็นเจ๎าหนี้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
280

ตัวอย่างที่ 2 เจ๎าหน้ีในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑ พักอาศัยในโรงแรม และรับขน
เปน็ เจา๎ หน้ที ี่มีบุริมสิทธิอยํูในลําดับเดียวกัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
278 (1) จึงมีสิทธิได๎รับชําระหนี้เฉลี่ยตามสํวนมากน๎อยแหํงจํานวนท่ีตนเป็นเจ๎าหนี้ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 280

ข้อยกเว้น หากมีกฎหมายเฉพาะท่ีกําหนดหลักเกณฑ๑แตกตํางไปจากประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 280 ก็ต๎องบังคับตามกฎหมายเฉพาะน้ัน เชํน ประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 278 (2) กาํ หนดวําบุริมสิทธิในมูลรักษาสังหาริมทรัพย๑นั้น
ถ๎ามีบุคคลหลายคนเป็นผู๎รักษา ผู๎ท่ีรักษาภายหลังอยูํในลําดับกํอนผ๎ูท่ีได๎รักษามากํอน หรือ
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑มาตรา 279 วรรคสอง กําหนดวําบุริมสิทธิในมูลซ้ือขาย
อสังหาริมทรัพย๑นั้น ถ๎ามีการซื้อขายอสังหาริมทรัพย๑น้ันสืบตํอกันไปอีก ลําดับกํอนหลังใน
ระหวาํ งผู๎ขายด๎วยกนั นัน้ ใหเ๎ ป็นไปตามลําดบั ท่ีไดซ๎ ้ือขายกอํ นและหลัง เป็นต๎น

6. ผลแหง่ บรุ ิมสิทธิ
ในเรื่องผลแหงํ บุรมิ สทิ ธสิ ามารถอธบิ ายไดด๎ งั นี้
6.1 ผลเกย่ี วกับความสมบูรณ์แห่งสทิ ธิ หมายความวาํ บุรมิ สทิ ธนิ ้ันจะมีผลสมบูรณ๑

บงั คบั ไดเ๎ ม่อื อยํูภายใต๎หลักเกณฑด๑ ังน้ี
6.1.1 กรณบี ุริมสทิ ธอิ นั มีอยเู่ หนือสงั หาริมทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 281 บัญญัติวํา “บุริมสิทธิ

อนั มอี ยํูเหนือสังหาริมทรัพย๑น้ัน ทํานห๎ามมิให๎ใช๎ เม่ือบุคคลภายนอกได๎ทรัพย๑น้ันจากลูกหนี้
และไดส๎ ํงมอบทรัพยใ๑ หก๎ นั ไปเสรจ็ แล๎ว”

224

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 281 หมายความวํา
บุริมสิทธิอันมีอยูํเหนือสังหาริมทรัพย๑นั้น ไมํวําจะเป็นบุริมสิทธิสามัญหรือบุริมสิทธิพิเศษ
เหนอื สงั หารมิ ทรพั ย๑ จะมีผลบังคับได๎ก็ตํอเมื่อกรรมสิทธ์ิในทรัพย๑สินนั้นยังคงเป็นของลูกหน้ี
อยูํ แตหํ ากบุคคลภายนอกได๎ทรัพยน๑ ั้นจากลูกหนี้ คอื กรรมสทิ ธใ์ิ นทรัพย๑สินนั้นได๎โอนไปเป็น
ของบุคคลภายนอกแลว๎ และไดม๎ ีการสงํ มอบทรัพย๑ให๎กันไปเสร็จแล๎ว บุริมสิทธิอันมีอยํูเหนือ
สงั หารมิ ทรพั ยย๑ อํ มไมํอาจบังคบั ได๎

ตวั อยา่ งท่ี 1 นายแดงทําสัญญาขายรถยนต๑ให๎แกํนายดํา โดยนายดําค๎าง
ชําระคํารถยนต๑อยูํ ตํอมานายดําทําสัญญาขายรถยนต๑คันน้ีให๎แกํนายขาว กรรมสิทธิ์ใน
รถยนต๑จงึ ไดโ๎ อนไปเป็นของนายขาวทนั ทีตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 458
และเม่ือได๎สงํ มอบรถยนต๑ให๎นายขาวแล๎ว ดงั น้ี นายแดงยอํ มไมํมีบุริมสิทธิพิเศษเหนือรถยนต๑
คนั นี้

ตัวอย่างที่ 2 นายแดงทําสัญญาขายรถยนต๑ให๎แกํนายดํา โดยนายดําค๎าง
ชําระคํารถยนต๑อยูํ ตํอมานายดําทําสัญญาขายรถยนต๑คันน้ีให๎แกํนายขาว กรรมสิทธ์ิใน
รถยนต๑จงึ ไดโ๎ อนไปเปน็ ของนายขาวทันทีตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 458
แตํเมอ่ื ยงั ไมไํ ดส๎ ํงมอบรถยนตใ๑ หน๎ ายขาว นายแดงจงึ ยังคงมีบุริมสิทธพิ ิเศษเหนอื รถยนตค๑ ันน้ี

6.1.2 กรณีบุริมสทิ ธอิ ันมีอยเู่ หนืออสังหารมิ ทรัพย์
6.1.2.1 บรุ ิมสทิ ธิสามญั เหนืออสังหารมิ ทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 284 บัญญัติวํา

“บรุ มิ สิทธสิ ามญั นั้น ถึงแม๎จะมิได๎ไปลงทะเบียนเกี่ยวด๎วยอสังหาริมทรัพย๑ก็ดี ยํอมจะยกข้ึน
เปน็ ข๎อตอํ ส๎เู จา๎ หนีใ้ ด ๆ ท่ไี มํมหี ลักประกันพิเศษน้ันได๎ แตคํ วามท่กี ลาํ วนที้ ํานมใิ ห๎ใช๎ไปถึงการ
ตอํ ส๎ูบุคคลภายนอกผไู๎ ดไ๎ ปลงทะเบยี นสิทธิไว๎”

ตามประ มว ลก ฎหมายแพํ งและ พาณิชย๑ มาตรา 2 8 4
หมายความวาํ บรุ ิมสทิ ธสิ ามัญนนั้ ยํอมมผี ลสมบรู ณ๑บงั คบั ได๎ ถึงแม๎จะมิได๎ไปลงทะเบียนเก่ียว
ด๎วยอสังหาริมทรพั ย๑น้ันกต็ าม

6.1.2.2 บุรมิ สิทธพิ เิ ศษเหนอื อสงั หาริมทรพั ย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 285 บัญญัติวํา

“บุริมสทิ ธใิ นมลู รักษาอสงั หาริมทรพั ยน๑ น้ั ถ๎าหากวําเมื่อทําการเพ่ือบํารุงรักษานั้นสําเร็จแล๎ว
ไปบอกลงทะเบียนไว๎โดยพลนั ไซร๎ บรุ ิมสทิ ธิกค็ งให๎ผลตํอไป”

ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 286 บญั ญัติวํา
“บรุ ิมสิทธใิ นมูลจ๎างทําของเปน็ การงานทาํ ข้นึ บนอสังหารมิ ทรัพยน๑ ั้น หากทํารายการ
ประมาณราคาชว่ั คราวไปบอกลงทะเบียนไว๎กอํ นเรมิ่ ลงมือการทาํ ไซร๎ บุรมิ สิทธิก็คงให๎ผล

225

ตํอไป แตํถา๎ ราคาที่ทาํ จรงิ น้นั ลํา้ ราคาทีไ่ ดป๎ ระมาณไว๎ชั่วคราว ทาํ นวาํ บุริมสิทธใิ นสวํ นจํานวน
ทล่ี ้ําอยํูน้นั หามีไมํ

สํวนการทีจ่ ะวินิจฉัยวาํ อสงั หารมิ ทรพั ยน๑ ้ันมีราคาเพิม่ ข้นึ เพราะ
การอนั ไดท๎ ําขนึ้ บนอสังหาริมทรัพย๑มากนอ๎ ยเพยี งใดนน้ั ทาํ นใหศ๎ าลตงั้ แตํงผู๎เชีย่ วชาญขึ้นเปน็
ผ๎ูกะประมาณ ในเวลาที่มแี ยง๎ ขัดในการแบงํ เฉลีย่ ”

ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 288 บัญญตั วิ ํา
“บรุ ิมสิทธใิ นมลู ซ้อื ขายอสังหาริมทรพั ยน๑ นั้ หากวําเม่ือไปลงทะเบียนสญั ญาซ้ือขายน้นั บอก
ลงทะเบียนไวด๎ ๎วยวําราคาหรือดอกเบ้ยี ในราคานน้ั ยงั มิได๎ชําระไซร๎ บรุ มิ สิทธินนั้ กค็ งใหผ๎ ล
ตํอไป”

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 289 บัญญัติวํา “วํา
ถึงผลแหํงบรุ มิ สทิ ธินอกจากที่ได๎บัญญัติไว๎ใน มาตรา 281 ถึง มาตรา 288 นี้แล๎ว ทํานให๎นํา
บทบญั ญัตทิ ั้งหลายแหงํ ลักษณะจาํ นองมาใช๎บงั คับด๎วยตามแตกํ รณี”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 285 มาตรา
286 และมาตรา 288 หมายความวํา บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 273 ท้ัง 3 ประเภท จะมีผลสมบูรณ๑ ก็ตํอเมื่อมีการจด
ทะเบยี นบรุ ิมสิทธิพิเศษเหนอื อสงั หาริมทรัพย๑แลว๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4791/2536 บุริมสิทธิพิเศษเหนือ
อสังหาริมทรัพย๑ในมูลจ๎างทําของเป็นการงานทําข้ึนบนอสังหาริมทรัพย๑ เจ๎าหน้ีต๎องทํา
ประมาณราคาชวั่ คราวไปบอกลงทะเบียนไว๎กํอนกอํ สร๎างอาคาร เพื่อให๎มีผลใช๎ยันเจ๎าหน้ีราย
อืน่ ในการทจ่ี ะได๎รบั ชําระหน้ีเหนอื ที่ดินของลูกหน้ีกํอนเจ๎าหน้ีอ่ืน หากเจ๎าหน้ีมิได๎จดทะเบียน
ไว๎ยํอมไมํมีบุริมสทิ ธพิ เิ ศษเหนือท่ีดินนน้ั

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 765/2522 บุริมสิทธ์ิพิเศษเหนือ
อสังหาริมทรัพย๑ในมูลซื้อขายอสังหาริมทรัพย๑น้ัน จะมีผลสมบูรณ๑ก็ตํอเมื่อได๎มีจดทะเบียน
บุริมสิทธิพเิ ศษเหนืออสังหารมิ ทรพั ย๑นัน้ แลว๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3241/2532 โจทก๑เป็นเจ๎าหน้ีผ๎ูมี
บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ แตํเมื่อโจทก๑ไมํได๎บอกลงทะเบียนเก่ียวกับราคาและ
ดอกเบี้ยทยี่ ังค๎างชําระในชัน้ ลงทะเบยี นสัญญาซ้อื ขายท่ีดิน บุรมิ สิทธิน้ันจึงไมํมีผลบังคับ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 288

สํวนประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 289 ที่กําหนดวํา
ให๎นําบทบัญญัติท้ังหลายแหํงลักษณะจํานองมาใช๎บังคับด๎วยตามแตํกรณี เชํน เมื่อได๎จด
ทะเบียนบรุ ิมสทิ ธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพยต๑ ามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
285 มาตรา 286 และมาตรา 288 แล๎ว แม๎ทรัพย๑นั้นจะโอนไปเป็นกรรมสิทธิ์ของ

226

บุคคลภายนอกแล๎ว ก็ยังนําบุริมสิทธิมาบังคับได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 702 วรรคสอง เปน็ ตน๎

ตัวอย่าง นายแดงขายที่ดินให๎แกํนายดํา โดยนายดําค๎างชําระรา
คําอยํู 100,000 บาท ตํอมานายดําขายท่ีดินให๎แกํนายเหลือง ดังนี้ หากนายแดงได๎ไปบอก
ลงทะเบียนไว๎ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 288 แล๎ว บุริมสิทธิพิเศษเหนือ
อสังหาริมทรัพย๑ของนายแดงยํอมสมบูรณ๑มีผลบังคับได๎ แตํหากนายแดงยังไมํได๎บอก
ลงทะเบียนไว๎ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 288 เม่ือนายดําขายท่ีดินน้ัน
ตํอไปยังนายเหลอื ง นายแดงกจ็ ะไมํมบี ุริมสิทธใิ นทดี่ ินนั้นอีกตอํ ไป

6.2 ผลในการบงั คบั ชาระหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 283 บัญญัติวํา “บุคคลผ๎ูมี

บรุ มิ สิทธิสามัญต๎องรับชําระหนี้เอาจากสังหาริมทรัพย๑ของลูกหน้ีกํอน ตํอเม่ือยังไมํพอจึงให๎
เอาชําระหนี้จาก อสังหาริมทรัพย๑ได๎

ในสํวนอสังหาริมทรัพย๑น้ัน ก็ต๎องรับชําระหนี้เอาจากอสังหาริมทรัพย๑อันมิได๎
ตกอยํูในฐานเป็นหลักประกนั พิเศษเสยี กํอน

ถ๎าบุคคลใดมีบุริมสิทธิสามัญและละเลยด๎วยความประมาทเลินเลํอ ไมํสอดเข๎า
แยง๎ ขดั ในการแบงํ เฉลีย่ ทรพั ย๑ ตามความที่กลําวมาในวรรคทั้งสองข๎างบนน้ีไซร๎ อันบุคคลนั้น
จะใช๎บุรมิ สิทธขิ องตนตอํ บุคคลภายนอกผ๎ูได๎จดทะเบียนสิทธิไว๎แล๎วเพ่ือจะเอาใช๎จนถึงขนาด
เชํนทต่ี นจะหากไดร๎ บั เพราะไดส๎ อดเขา๎ แยง๎ ขัดน้นั ทํานวําหาอาจจะใชไ๎ ด๎ไมํ

อนง่ึ บทบญั ญตั ิทก่ี ลาํ วมาในวรรคท้ังสามข๎างต๎นนี้ ทํานมิให๎ใช๎บังคับ หากวําเงิน
ท่ีขายอสังหาริมทรัพย๑ได๎น้ัน จะพึงต๎องเอามาแบํงเฉล่ียกํอนเงินท่ีขายทรัพย๑สินอยํางอื่นก็ดี
หรอื หากวาํ เงนิ ท่ีขายอสงั หารมิ ทรพั ย๑อนั ตกอยใํู นฐานเป็นหลักประกันพิเศษนั้นจะพึงต๎องเอา
มาแบํงเฉลย่ี กํอนเงินทขี่ ายอสังหารมิ ทรพั ย๑อยาํ งอ่นื ก็ดจุ กัน”

ในกรณีการบังคับชําระหนี้ของผ๎ูมีบุริมสิทธิพิเศษนั้น ผ๎ูมีบุริมสิทธิพิเศษยํอม
บังคับเอาจากทรัพย๑สินเฉพาะส่ิงเฉพาะอยํางของลูกหน้ี แตํกรณีของผู๎มีบุริมสิทธิสามัญน้ัน
แม๎โดยหลักแล๎ว ผ๎ูมีบุริมสิทธิสามัญจะมีสิทธิบังคับชําระหนี้ได๎จากทรัพย๑สินทุกชนิดของ
ลกู หนี้ แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 283 ก็ได๎กําหนดลําดับของการบังคับ
ชําระหนจี้ ากทรัพยส๑ ินของลกู หนี้ไว๎ ดงั น้ี

1. ผู๎มีบุริมสิทธิสามัญต๎องบังคับชําระหนี้เอาจากสังหาริมทรัพย๑ของลูกหน้ีกํอน
เมอ่ื ยังไมํพอจงึ บงั คับชาํ ระหนี้เอาจากอสังหาริมทรพั ย๑ได๎

2. ในสํวนอสังหาริมทรัพย๑นั้น ผ๎ูมีบุริมสิทธิสามัญต๎องบังคับชําระหนี้เอาจาก
อสังหาริมทรัพย๑ท่ีมิได๎ตกอยูํในฐานเป็นหลักประกันพิเศษ คือ การจําน อง เสียกํอน เชํน

227

ลูกหน้ีมีท่ีดิน 2 แปลง แปลงหน่ึงติดจํานองสํวนอีกแปลงหน่ึงไมํได๎ติดจํานอง ดังน้ี ก็ต๎อง
บงั คบั ชําระหน้ีเอาจากท่ดี ินทไี่ มํได๎ติดจาํ นองกอํ น เป็นต๎น

3. ในกรณีที่มีการบังคับคดีตามที่เจ๎าหน้ีรายอื่นได๎ฟ้องคดีไว๎ ถ๎าผ๎ูมีบุริมสิทธิ
สามัญละเลยดว๎ ยความประมาทเลนิ เลอํ ไมสํ อดเข๎าแย๎งขัดในการแบํงเฉลย่ี ทรพั ยเ๑ พอื่ ขอรบั
ชาํ ระหน้ีของตน ผม๎ู บี ุรมิ สิทธิสามัญน้ันจะใชบ๎ ุรมิ สิทธิของตนตํอเจา๎ หนร้ี ายอ่ืนท่ีไดจ๎ ด
ทะเบยี นสิทธิไว๎แล๎วไมํได๎

4. ในกรณที ่มี ีการบงั คับคดจี ากอสงั หาริมทรัพย๑หรืออสังหารมิ ทรพั ย๑ท่ีติดจํานอง
ตามทีเ่ จา๎ หนี้รายอื่นได๎ฟ้องคดไี ว๎ ผ๎ูมบี รุ ิมสิทธิสามัญไมํตอ๎ งใช๎บุริมสิทธเิ รยี งตามลําดับดงั กลําว
ข๎างตน๎ แตํสามารถขอรับการเฉลีย่ ทรัพย๑จากอสงั หารมิ ทรัพย๑น้นั ไดท๎ ันที

6.3 ผลในการใชย้ ันเจ้าหน้ีผู้มีหลกั ประกนั พิเศษ
การเป็นเจ๎าหน้ีผู๎มีบุริมสิทธิเกิดจากผลของกฎหมาย สํวนการเป็นเจ๎าหนี้ผ๎ูมี

หลักประกันพิเศษ เชํน จํานํา จํานอง ฯลฯ เกิดขึ้นจากสัญญา แตํอยํางไรก็ดี ทั้งเจ๎าหนี้ผ๎ูมี
บุริมสิทธิและเจ๎าหนี้ผู๎มีหลักประกันพิเศษตํางก็มีสิทธิได๎รับชําระหน้ีกํอนเจ๎าหน้ีสามัญ
เชํนเดียวกนั ดงั นั้น ในสํวนนีจ้ ะเปน็ การอธบิ ายวําในระหวํางเจ๎าหนี้ผู๎มีบุริมสิทธิและเจ๎าหนี้ผู๎
มีหลกั ประกันพเิ ศษใครมีสทิ ธิดีกวํากนั

6.3.1 กรณจี านา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 282 บัญญัติวํา “เมื่อมี

บุริมสทิ ธแิ ย๎งกับสิทธิจํานําสังหาริมทรัพย๑ ทํานวําผู๎รับจํานํายํอมมีสิทธิเป็นอยํางเดียวกันกับ
ผ๎ูทรงบุริมสิทธิในลําดับที่หน่ึงดังที่เรียงไว๎ในมาตรา 278 นั้น” ดังนั้น ผู๎รับจํานําจึงมีสิทธิ
เทาํ กับผ๎ูที่มีบุริมสิทธิในมูลเชําอสังหาริมทรัพย๑ พักอาศัยในโรงแรมและรับขน และเมื่อผ๎ูที่มี
บรุ มิ สทิ ธิในมูลเชาํ อสงั หาริมทรพั ย๑ พักอาศัยในโรงแรมและรับขนซึ่งเป็นผ๎ูมีบุริมสิทธิพิเศษมี
สทิ ธดิ ีกวําผมู๎ บี รุ ิมสทิ ธสิ ามญั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 277 วรรคสอง
ผู๎รับจํานาํ จึงมสี ทิ ธดิ ีกวําผู๎ท่ีมบี ุริมสิทธสิ ามัญ

6.3.2 กรณีจานอง
6.3.2.1 บุริมสทิ ธสิ ามัญ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 284 บัญญัติวํา

“บรุ มิ สทิ ธสิ ามญั นั้น ถึงแม๎จะมิได๎ไปลงทะเบียนเกี่ยวด๎วยอสังหาริมทรัพย๑ก็ดี ยํอมจะยกขึ้น
เป็นข๎อตํอสู๎เจ๎าหน้ีใด ๆ ที่ ไมํมีหลักประกันพิเศษนั้นได๎ แตํความท่ีกลําวน้ีทํานมิให๎ใช๎ไปถึง
การตํอส๎บู ุคคลภายนอกผ๎ูไดไ๎ ปลงทะเบยี นสทิ ธิไว๎” ดังน้ัน เจา๎ หนจี้ าํ นองจึงมีสิทธิดีกวําเจ๎าหนี้
ผูม๎ ีบุรมิ สิทธสิ ามญั

228

6. 3. 2. 2 บุริมสิ ทธิพิเศษเ หนือ อสั งหาริมทรัพย์ ใน มูล รักษ า
อสังหาริมทรพั ย์และในมลู จ้างทาของเป็นการงานทาขน้ึ บนอสังหารมิ ทรัพย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 287 บัญญัติวํา
“บรุ ิมสทิ ธใิ ดได๎ไปจดลงทะเบยี นแล๎วตามบทบญั ญตั ิแหํงมาตราทั้งสองข๎างบนนี้ บุริมสิทธินั้น
ทํานวําอาจจะใชไ๎ ด๎กอํ นสิทธจิ าํ นอง”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 287
หมายความวํา บรุ ิมสิทธพิ ิเศษเหนืออสังหารมิ ทรัพยใ๑ นมลู รักษาอสงั หารมิ ทรัพย๑และในมูลจ๎าง
ทําของเป็นการงานทําขึ้นบนอสังหาริมทรัพย๑ ท่ีได๎ไปจดลงทะเบียนแล๎วตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 285 และมาตรา 286 นน้ั มสี ทิ ธิดกี วําสทิ ธจิ าํ นอง ไมํวําจะ
บรุ มิ สทิ ธิพเิ ศษน้ันจะไดไ๎ ปจดทะเบียนกํอนหรือหลังการจดทะเบยี นจาํ นองกต็ าม

6.3.2.3 บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ในมูลซ้ือขาย
อสังหารมิ ทรพั ย์ สําหรับในกรณีนเี้ มอื่ ไมํมบี ทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 281 ถงึ มาตรา 288 กาํ หนดไว๎โดยเฉพาะ จึงต๎องนําบทบัญญัติทั้งหลายแหํงลักษณะ
จํานองมาใช๎บังคับ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 289 กลําวคือ ต๎องนํา
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 730 ซึง่ บญั ญัติวาํ “เมอื่ ทรัพย๑สินอันหน่ึงอันเดียว
ได๎จํานองแกํผู๎รับจํานองหลายคนด๎วยกัน ทํานให๎ถือลําดับผ๎ูรับจํานองเรียงตามวันและเวลา
จดทะเบียน และผู๎รับจํานองคนกํอนจักได๎รับใช๎หนี้กํอนผ๎ูรับจํานองคนหลัง” ดังน้ัน จึงต๎อง
พิจารณาวาํ เจ๎าหน้ีผู๎มีบุรมิ สิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพยใ๑ นมูลซ้อื ขายอสังหาริมทรัพย๑ หรือ
เจา๎ หนี้ผ๎ูรบั จํานอง ไดจ๎ ดทะเบยี นสิทธิกํอนกัน

7. บทสรุป
7.1 ความหมายของคาว่า “บรุ มิ สิทธิ” ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา

251 กําหนดวํา เจ๎าหน้ีผ๎ูทรงบุริมสิทธิ หมายถึง เจ๎าหน้ีท่ีมีสิทธิได๎รับชําระหนี้จากทรัพย๑สิน
ของลูกหน้ีกํอนเจ๎าหนี้รายอ่ืน ซ่ึงบุริมสิทธิต๎องเกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย ไมํวําจะเป็น
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑หรอื กฎหมายอน่ื

7.2 ประเภทของบรุ ิมสทิ ธิ บุรมิ สทิ ธิแ์ บํงออกเป็น 2 ประเภท คอื
1. บุริมสิทธิสามัญ เป็นสิทธิเหนือทรัพย๑สินทุกชนิดของลูกหนี้ ไมํวําจะเป็น

สังหาริมทรัพยห๑ รอื อสงั หารมิ ทรัพย๑
2. บรุ ิมสิทธิพิเศษ เปน็ สิทธิเหนอื ทรพั ย๑สินเฉพาะสิ่งเฉพาะอยํางของลูกหนี้ โดย

แบงํ ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ และ 2. บุริมสิทธิพิเศษ
เหนืออสังหารมิ ทรัพย๑

229

7.3 บุรมิ สทิ ธิสามญั มดี งั น้ี
1. คําใช๎จํายเพื่อประโยชน๑อันรํวมกัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑

มาตรา 254
2. คาํ ปลงศพ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 255
3. คําภาษอี ากร ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 256
4. เงนิ ท่ีลกู จ๎างมีสิทธิได๎รับเพื่อการงานที่ได๎ทําให๎แกํลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ๎าง ตาม

ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 257
5. คาํ เครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภคอนั จําเป็นประจําวัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและ

พาณชิ ย๑ มาตรา 258
7.4 บรุ ิมสทิ ธพิ ิเศษ มีดงั นี้
1. บรุ มิ สิทธิพิเศษเหนอื สังหารมิ ทรพั ย์ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑

มาตรา 259 มีดังน้ี
1.1 เชําอสงั หารมิ ทรพั ย๑
1.2 พักอาศัยในโรงแรม
1.3 รบั ขนคนโดยสารหรอื ของ
1.4 รักษาสงั หารมิ ทรัพย๑
1.5 ซ้อื ขายสังหารมิ ทรพั ย๑
1.6 คําเมลด็ พันธ๑ุ ไม๎พนั ธ๑ุ หรอื ป๋ยุ
1.7 คาํ แรงงานกสิกรรม หรอื อุตสาหกรรม

2. บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 273 มีดังนี้

1. รกั ษาอสงั หาริมทรพั ย๑
2. จา๎ งทําของเป็นการงานทาํ ขึ้นบนอสงั หาริมทรัพย๑
3. ซอ้ื ขายอสงั หารมิ ทรัพย๑
7.5 ลาดบั แหง่ บรุ ิมสทิ ธิ หลักเกณฑ๑ในการจัดลาํ ดบั แหํงบรุ ิมสิทธิมดี งั นี้
1. ระหวา่ งบรุ มิ สทิ ธสิ ามัญดว้ ยกัน ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา
277 วรรคแรก และมาตรา 253 กําหนดวาํ บุรมิ สิทธิสามญั เปน็ ไปตามลาํ ดบั กํอนหลงั ดังนี้
1.1 คาํ ใชจ๎ ํายเพอ่ื ประโยชนอ๑ ันรํวมกนั
1.2 คําปลงศพ
1.3 คําภาษีอากร และเงินทล่ี ูกจ๎างมีสิทธิไดร๎ ับเพอื่ การงานทีไ่ ดท๎ ําให๎แกํ
ลกู หน้ีซง่ึ เปน็ นายจ๎าง
1.4 คาํ เครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภคอันจาํ เปน็ ประจาํ วัน

230

2. ระหว่างบุริมสิทธิสามัญกับบุริมสิทธิพิเศษ ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 277 วรรคสอง กําหนดวําในระหวํางบุริมสิทธิสามัญกับบุริมสิทธิพิเศษ
บุริมสิทธิพิเศษยํอมอยํูในลําดับกํอนบุริมสิทธิสามัญ เว๎นแตํบุริมสิทธิสามัญในมูลคําใช๎จําย
เพ่อื ประโยชน๑รํวมกันนัน้ ยอํ มอยูํในลาํ ดับกอํ นบรุ มิ สทิ ธิพเิ ศษ

3. ระหว่างบรุ มิ สทิ ธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์ด้วยกัน ประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 278 วรรคแรก กําหนดวําในระหวํางบุริมสทิ ธพิ ิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑
ดว๎ ยกนั ใหถ๎ อื ลําดบั กํอนหลังดังนี้

3.1 บุรมิ สทิ ธใิ นมูลเชาํ อสงั หาริมทรพั ย๑ พกั อาศยั ในโรงแรมและรับขน
3.2 บุริมสิทธิในมูลรักษาสังหาริมทรัพย๑ แตํถ๎ามีบุคคลหลายคนเป็นผ๎ูรักษา
ทํานวําผทู๎ รี่ ักษาภายหลงั อยใูํ นลําดับกํอนผูท๎ ่ีไดร๎ ักษามากํอน
3.3 บุริมสทิ ธิในมูลซ้อื ขายสังหารมิ ทรัพย๑ คําเมล็ดพันธุ๑ ไม๎พนั ธ๑ุ หรือปุ๋ย และ
คาํ แรงงานกสกิ รรมและอตุ สาหกรรม
4. ระหว่างบุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ด้วยกัน ประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 279 วรรคแรก และมาตรา 273 กําหนดวําบุริมสิทธิพิเศษเหนือ
อสังหารมิ ทรัพยใ๑ หถ๎ ือลาํ ดบั กํอนหลงั ดงั นี้
4.1 รักษาอสงั หารมิ ทรพั ย๑
4.2 จ๎างทาํ ของเปน็ การงานทาํ ขน้ึ บนอสังหาริมทรัพย๑
4.3 ซื้อขายอสงั หาริมทรพั ย๑
5. ระหว่างบุรมิ สิทธิท่ีอยู่ในลาดับเดยี วกนั ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 280 กาํ หนดวาํ เจ๎าหนี้ท่ีมีบุริมสิทธิอยํูในลําดับเดียวกัน ยํอมได๎รับชําระหน้ีเฉล่ียตาม
สวํ นมากน๎อยแหํงจาํ นวนทตี่ นเป็นเจ๎าหน้ี
7.6 ผลแหง่ บรุ ิมสทิ ธิ
1. ผลเก่ยี วกับความสมบรู ณ์แหง่ สิทธิ
1.1 กรณีบุริมสิทธิอันมีอยู่เหนือสังหาริมทรัพย์ บุริมสิทธิอันมีอยํูเหนือ
สงั หารมิ ทรพั ย๑น้นั ไมํวาํ จะเป็นบุริมสิทธิสามัญหรือบุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย๑ จะมี
ผลบงั คบั ได๎กต็ อํ เมื่อกรรมสทิ ธิ์ในทรัพยส๑ ินน้ันยงั คงเป็นของลูกหนี้อยํู แตํหากบุคคลภายนอก
ได๎ทรัพย๑น้ันจากลูกหนี้ คือ กรรมสิทธ์ิในทรัพย๑สินน้ันได๎โอนไปเป็นของบุคคลภายนอกแล๎ว
และไดม๎ ีการสงํ มอบทรพั ยใ๑ หก๎ นั ไปเสร็จแล๎ว บรุ ิมสทิ ธอิ นั มอี ยูเํ หนอื สงั หาริมทรัพย๑ยํอมไมํอาจ
บังคบั ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 281
1.2 กรณบี รุ มิ สิทธิอนั มอี ยู่เหนอื อสงั หาริมทรัพย์

1.2.1 บุริมสิทธิสามัญเหนืออสังหาริมทรัพย์ บุริมสิทธิสามัญน้ันยํอมมี
ผลสมบูรณ๑บังคับได๎ ถึงแม๎จะมิได๎ไปลงทะเบียนเกี่ยวด๎วยอสังหาริมทรัพย๑นั้นก็ตาม ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 284

231

1.2.2 บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ บุริมสิทธิพิเศษเหนือ
อสังหาริมทรัพย๑จะมีผลสมบูรณ๑ ก็ตํอเมื่อมีการจดทะเบียนบุริมสิทธิพิเศษเหนือ
อสังหาริมทรัพย๑แล๎ว ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 285 มาตรา 286 และ
มาตรา 288

2. ผลในการบงั คับชาระหนี้ ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 283
กไ็ ด๎กําหนดผ๎ูมบี ุริมสิทธิสามัญบงั คบั ชําระหนีจ้ ากทรพั ยส๑ ินของลกู หน้ีตามลาํ ดับดังน้ี

2.1 บังคับชําระหนี้เอาจากสังหาริมทรัพย๑ของลูกหนี้กํอน เมื่อยังไมํพอจึง
บงั คับชําระหนี้เอาจากอสงั หาริมทรพั ยไ๑ ด๎

2.2 ในสํวนอสังหาริมทรัพย๑น้ัน ผ๎ูมีบุริมสิทธิสามัญต๎องบังคับชําระหน้ีเอา
จากอสงั หาริมทรัพย๑ท่มี ไิ ดต๎ กอยใํู นฐานเปน็ หลกั ประกันพิเศษ คือ การจํานอง เสยี กอํ น

2.3 ในกรณีท่ีมีการบังคับคดีตามท่ีเจ๎าหน้ีรายอ่ืนได๎ฟ้องคดีไว๎ ถ๎าผ๎ูมี
บุริมสิทธิสามัญละเลยด๎วยความประมาทเลินเลํอ ไมํสอดเข๎าแย๎งขัดในการแบํงเฉล่ียทรัพย๑
เพอ่ื ขอรบั ชําระหนขี้ องตน ผม๎ู ีบรุ มิ สิทธิสามัญน้ันจะใช๎บุริมสิทธิของตนตํอเจ๎าหนี้รายอ่ืนท่ีได๎
จดทะเบียนสิทธิไว๎แล๎วไมไํ ด๎

2.4 ในกรณีที่มีการบังคับคดีจากอสังหาริมทรัพย๑หรืออสังหาริมทรัพย๑ท่ีติด
จาํ นองตามท่ีเจา๎ หนีร้ ายอนื่ ได๎ฟอ้ งคดีไว๎ ผ๎มู ีบรุ ิมสิทธิสามัญไมํต๎องใช๎บุริมสิทธิเรียงตามลําดับ
ดังกลาํ วขา๎ งต๎น แตํสามารถขอรบั การเฉล่ียทรัพย๑จากอสงั หารมิ ทรัพย๑น้นั ได๎ทันที

3. ผลในการใช้ยนั เจ้าหนี้ผูม้ ีหลกั ประกันพเิ ศษ
3.1 กรณีจา นา ผู๎รับจํานํามีสิทธิเทํากับผู๎ท่ีมีบุริมสิทธิใน มูลเชํา

อสังหาริมทรัพย๑ พักอาศัยในโรงแรมและรับขน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 282

3.2 กรณีจานอง
3.2.1 เจ๎าหนี้จํานองจึงมีสิทธิดีกวําเจ๎าหน้ีผู๎มีบุริมสิทธิสามัญ ตาม

ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 284
3.2.2 บุรมิ สทิ ธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ในมูลรักษาอสังหาริมทรัพย๑

และในมูลจ๎างทําของเป็นการงานทําขึ้นบนอสังหาริมทรัพย๑ ท่ีได๎ไปจดลงทะเบียนแล๎วตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 285 และมาตรา 286 นนั้ มสี ิทธิดกี วําสิทธิจํานอง
ไมวํ ําจะบรุ ิมสิทธิพเิ ศษนั้นจะไดไ๎ ปจดทะเบยี นกอํ นหรือหลงั การจดทะเบียนจํานองก็ตามตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 287

3.2.3 ในระหวํางเจ๎าหนี้ผู๎มีบุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย๑ในมูล
ซ้ือขายอสงั หาริมทรัพย๑ และเจ๎าหนี้ผู๎รับจํานอง เจ๎าหน้ีใดได๎จดทะเบียนสิทธิกํอนกัน เจ๎าหน้ี
น้นั มสี ิทธดิ ีกวาํ

232

8. คาถามทา้ ยบท
ข๎อ 1. นายเอกชัยเชําที่ดินจากนายบรรจง โดยนายเอกชัยได๎รับอนุญาตจาก

นายบรรจงใหป๎ ลูกสร๎างอาคารลงในท่ีดินน้ันได๎ ตํอมานายเอกชัยได๎ค๎างชําระคําเชําที่ดินน้ัน
ในระหวํางท่ีนายเอกชัยกําลังจะใช๎สิทธิทางศาล ก็ปรากฏวํานายคํานึงซ่ึงเป็นเจ๎าหนี้ตาม
คําพิพากษาของนายเอกชัยได๎ยึดอาคารน้ันออกขายทอดตลาดชําระหน้ี นายบรรจงจึงย่ืน
คําร๎องขอรับชําระหนี้ โดยอ๎างวําอาคารน้ันมิได๎เป็นสํวนควบกับที่ดิน อาคารนั้นจึงเป็น
สังหาริมทรัพย๑ เมื่อตนเป็นเจ๎าหน้ีในมูลเชําเป็นอสังหาริมทรัพย๑ ตนจึงมีบุริมสิทธิเหนือ
สังหาริมทรัพย๑ของผ๎ูเชําซึ่งอยํูบนอสังหาริมทรัพย๑นั้น ดังนั้น ตนจึงมีสิทธิได๎รับการชําระหน้ี
จากอาคารนัน้ กํอนเจ๎าหนี้รายอน่ื

ดงั นี้ ให๎วินจิ ฉยั วํา นายเอกชยั มสี ทิ ธิได๎รบั การชําระหนจ้ี ากอาคารนัน้ กํอนเจ๎าหน้ีราย
อืน่ หรือไมํ

หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 259, 260
วินจิ ฉยั การที่นายเอกชัยเชําทีด่ ินจากนายบรรจง โดยนายเอกชัยได๎รับอนุญาตจาก
นายบรรจงให๎ปลูกสร๎างอาคารลงในที่ดินได๎ แล๎วตํอมานายเอกชัยได๎ค๎างชําระคําเชําน้ัน
แม๎อาคารน้นั จะมไิ ดเ๎ ปน็ สวํ นควบกบั ที่ดิน แตํอาคารนน้ั ก็เป็นอสังหาริมทรัพย๑ ซ่ึงบุริมสิทธิใน
มูลเชําอสงั หารมิ ทรพั ย๑นน้ั ผใ๎ู หเ๎ ชาํ อสังหาริมทรัพย๑จะมีบุริมสิทธิอยํูเหนือสังหาริมทรัพย๑ของ
ผ๎ูเชําซ่ึงอยํูในหรือบนอสังหาริมทรัพย๑เทํานั้น ไมํมีบุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย๑ของผู๎เชํา
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 259, 260 ดังน้ัน นายเอกชัยจึงไมํมีสิทธิ
ได๎รบั การชาํ ระหนีจ้ ากอาคารนั้นกํอนเจ๎าหน้ีรายอืน่ (คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 550/2477)
สรุป นายเอกชัยไมมํ สี ทิ ธิไดร๎ บั การชาํ ระหนีจ้ ากอาคารนนั้ กํอนเจา๎ หนี้รายอืน่

233

บทที่ 8
ลูกหน้แี ละเจ้าหนีห้ ลายราย
1. บทนา
“หนี้” หมายถึง ความสัมพันธ๑ในทางกฎหมายระหวํางฝ่ายเจ๎าหนี้และลูกหน้ี
ซึ่งแตํละฝ่ายอาจมีบุคคลเพียงคนเดียวหรือมีบุคคลหลายคนรํวมกันก็ได๎ ซึ่งในหนี้รายใดที่มี
เจ๎าหนี้รํวมหรือลูกหนี้รํวมยํอมกํอให๎เกิดความสัมพันธ๑ในทางกฎหมายระหวํางเจ๎าหนี้และ
ลูกหน้ีข้ึนเปน็ พเิ ศษ แตกตํางจากกรณกี ารมเี จา๎ หน้หี รอื ลกู หน้เี พียงคนเดียว
อน่ึง การเป็นเจ๎าหน้ีรํวมหรือลูกหนี้รํวมน้ัน หมายความวํา การท่ีมีบุคคลหลายคน
ในฝ่ายของเจ๎าหนี้หรือลูกหนี้น้ัน และบุคคลเหลําน้ันมีความเกี่ยวข๎องสัมพันธ๑กันในทางสิทธิ
และหน๎าที่รํวมกัน หรือมีหน้ีรํวมกัน แตํในกรณีท่ีบุคคลหลายคนนั้นมีหนี้แยกออก
เป็นการเฉพาะตัวของแตํละคน ดังน้ี ไมํใชํกรณีของการเป็นลูกหนี้รํวมหรือเจ๎าหนี้รํวม เชํน
นาย ก. และ นาย ข. ตํางคนตํางไปก๎ูยืมเงินมาจาก นาย ค. โดยไมํเกี่ยวข๎องกัน หรือ
นาย ก. ไปก๎ยู ืมเงินจากนาย ข. และนาย ค. โดยแยกกูย๎ ืมไมเํ กย่ี วขอ๎ งกัน เป็นตน๎

2. ลูกหนแี้ ละเจา้ หน้หี ลายรายในหน้ีแบง่ ชาระได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 290 บัญญัติวํา “ถ๎าการชําระหนี้เป็น

การอันจะแบํงกันชําระได๎และมบี ุคคลหลายคนเป็นลูกหน้ีก็ดี มีบุคคลหลายคนเป็นเจ๎าหน้ีก็ดี
เม่อื กรณเี ปน็ ท่ีสงสยั ทาํ นวาํ ลกู หน้ีแตลํ ะคนจะตอ๎ งรบั ผดิ เพยี งเปน็ สํวนเทํา ๆ กัน และเจ๎าหนี้
แตลํ ะคนก็ชอบทจ่ี ะไดร๎ ับแตเํ พียงเป็นสวํ นเทํา ๆ กัน”

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 290 อธบิ ายได้ดังน้ี
1. ถา้ การชาระหนีเ้ ป็นการอันจะแบง่ กันชาระได้ และมีบุคคลหลายคนเป็นลูกหนี้
หรือเจ้าหน้ี คําวํา “หนี้เป็นการอันจะแบํงกันชําระได๎” นี้หมายความวํา การชําระหนี้น้ัน
สามารถแบงํ ออกเป็นสํวน ๆ ได๎ กลาํ วคอื

1) ถ๎าวัตถุแหํงหนี้เป็นการกระทําการ ให๎พิจารณาวําลูกหนี้แตํละคนนั้นสามารถ
ชําระหนีโ้ ดยการแยกกันกระทาํ การได๎หรอื ไมํ โดยพิจารณาจากสภาพแหํงหนี้ กฎหมาย และ
เจตนาของคูํกรณี เชํน เจ๎าหน้ีจ๎างลกู หน้ีคนที่ 1 และลกู หนี้คนที่ 2 รํวมกันสร๎างบ๎านหน่ึงหลัง
โดยตกลงกันวาํ ถา๎ คนใดคนหน่ึงไมกํ ระทาํ การ อกี คนกต็ ๎องรบั ผดิ ชอบด๎วย ลูกหน้ีคนท่ี 1 และ
ลกู หน้ีคนท่ี 2 จงึ ตอ๎ งรวํ มกันกระทําการ ดังนี้ เป็นกรณีท่ีการชําระหนี้เป็นการอันจะแบํงกัน
ชําระไมไํ ด๎ แตํถ๎าเจ๎าหน้ีจ๎างลูกหน้ีคนที่ 1 และลูกหน้ีคนท่ี 2 สร๎างบ๎านสองหลัง ลูกหนี้คนท่ี
1 และลูกหนคี้ นที่ 2 ก็สามารถแยกกนั กระทําการได๎ ดังนี้ เปน็ กรณีทก่ี ารชําระหน้ีเปน็ การอัน
จะแบํงกันชําระได๎ เป็นต๎น

234

2) ถ๎าวัตถุแหํงหน้ีเป็นการงดเว๎นกระทําการ ให๎พิจารณาวําลูกหนี้แตํละคนนั้น
สามารถชาํ ระหนีโ้ ดยการแยกกนั งดเว๎นกระทําการได๎หรือไมํ โดยพิจารณาจากสภาพแหํงหนี้
กฎหมาย และเจตนาของคํูกรณี เชํน เจ๎าหนี้ขายที่ดินของตน 1 แปลงให๎แกํลูกหน้ีคนท่ี 1
และลกู หนี้คนที่ 2 โดยตกลงกันวําห๎ามลูกหนี้ท้ังสองปลูกตึกสูงในที่ดินแปลงนั้น ลูกหนี้คนที่
1 และลูกหน้คี นท่ี 2 จึงต๎องรํวมกันงดเว๎นกระทําการ ดังน้ี เป็นกรณีที่การชําระหน้ีเป็นการ
อันจะแบํงกันชาํ ระไมไํ ด๎ แตํถา๎ เจา๎ หนีข้ ายที่ดินของตนให๎แกํลูกหนี้คนท่ี 1 และลูกหน้ีคนท่ี 2
คนละ 1 แปลง โดยตกลงกันวําห๎ามลูกหน้ีท้ังสองปลูกตึกสูงในที่ดินแปลงนั้น ลูกหนี้คนท่ี 1
และลูกหนี้คนที่ 2 ก็สามารถแยกกันงดเว๎นกระทําการได๎ ดังน้ี เป็นกรณีที่การชําระหนี้เป็น
การอนั จะแบํงกันชาํ ระได๎ เปน็ ต๎น

3) ถ๎าวัตถุแหํงหน้ีเป็นการสํงมอบทรัพย๑สิน ให๎พิจารณาวําลูกหน้ีแตํละคนน้ัน
สามารถชาํ ระหนโี้ ดยการแยกกันสํงมอบทรพั ย๑สินได๎หรือไมํ ซึ่งทรัพย๑สินจะสามารถแบํงแยก
ได๎หรือไมํให๎พิจารณาตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 141 ซึ่งบัญญัติวํา
“ทรพั ย๑แบํงได๎ หมายความวํา ทรัพย๑อันอาจแยกออกจากกันเป็นสํวน ๆ ได๎จริงถนัดชัดแจ๎ง
แตํละสํวนได๎รูปบริบูรณ๑ลําพังตัว” และมาตรา 142 ซึ่งบัญญัติวํา “ทรัพย๑แบํงไมํได๎
หมายความวํา ทรัพยอ๑ นั จะแยกออกจากกนั ไมไํ ด๎นอกจากเปล่ียนแปลงภาวะของทรัพย๑ และ
หมายความรวมถึงทรัพย๑ที่มีกฎหมายบัญญัติวําแบํงไมํได๎ด๎วย” เชํน ข๎าวสาร น้ําตาล เกลือ
สามารถแบํงออกเป็นกิโลกรัมได๎ หรือหน้ีเงินสามารถแบํงได๎ ก็เป็นทรัพย๑แบํงได๎ สํวนช๎าง 1
ตัว แยกขาแยกตัวออกจากกนั ไมํได๎ กเ็ ป็นทรัพย๑แบงํ ไมไํ ด๎ เปน็ ตน๎

2. เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย ลูกหน้ีแต่ละคนจะต้องรับผิดเพียงเป็นส่วนเท่า ๆ กัน
และเจ้าหน้ีแต่ละคนก็ชอบท่ีจะได้รับแต่เพียงเป็นส่วนเท่า ๆ กัน หมายความวํา ถ๎ากรณี
เป็นท่ีสงสัยวําบุคคลหลายคนซ่ึงเป็นลูกหนี้หรือเจ๎าหนี้น้ัน เป็นลูกหนี้รํวมหรือเจ๎าหนี้รํวม
หรือไมํ กลําวคือ ไมํปรากฏวํามีการตกลงกันไว๎อยํางชัดแจ๎ง ดังน้ี กฎหมายให๎ถือวํา “มิใชํ
ลกู หน้ีรวํ มหรือเจ๎าหนี้รํวม” และกําหนดให๎ลูกหน้ีแตํละคนจะต๎องรับผิดเพียงเป็นสํวนเทําๆ
กนั และเจา๎ หนแ้ี ตลํ ะคนกช็ อบทีจ่ ะไดร๎ บั แตเํ พียงเป็นสํวนเทาํ ๆ กนั

ตวั อยา่ งท่ี 1 นาย ก. และนาย ข. ไปก๎ยู มื เงินมาจากนาย ค. จํานวน 100,000 บาท
โดยมไิ ด๎มีการตกลงกันไวว๎ าํ นาย ก. และนาย ข. จะตอ๎ งรํวมกันชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหนี้ในฐานะ
ลูกหนรี้ วํ ม เปน็ กรณีท่ีการชําระหน้ีเป็นการอันจะแบํงกันชําระได๎ และมีบุคคลหลายคนเป็น
ลูกหน้ี เมื่อกรณีเป็นท่ีสงสัย ลูกหน้ีแตํละคนจึงต๎องรับผิดเพียงเป็นสํวนเทํา ๆ กัน ดังน้ั น
นาย ก. และนาย ข. จึงตอ๎ งชําระหนี้เพียงคนละ 50,000 บาท

ตัวอยา่ งที่ 2 นาย ก. และนาย ข. ใหน๎ าย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท โดย
มิได๎มีการตกลงกันไว๎วํานาย ก. และนาย ข. ให๎ก๎ูยืมเงินในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม เป็นกรณีท่ีการ
ชําระหน้ีเป็นการอันจะแบงํ กันชาํ ระได๎ และมบี ุคคลหลายคนเปน็ เจ๎าหน้ี เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย
เจ๎าหน้แี ตํละคนก็ชอบทีจ่ ะไดร๎ บั แตํเพยี งเปน็ สวํ นเทาํ ๆ กนั ดงั นั้น นาย ก. จึงมีสิทธิเรียกให๎

235

นาย ค. ชาํ ระหนี้ได๎เพียง 50,000 บาท และนาย ข. มีสิทธิเรียกให๎นาย ค. ชําระหนี้ได๎เพียง
50,000 บาท

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2242/2523 หน้ีตามสัญญาดังกลําวเป็นหนี้อันจะแบํงกัน
ชําระได๎ และมีบคุ คลหลายคนเปน็ ลกู หนี้ เมื่อไมํปรากฏวําได๎มีการกําหนดไว๎วําลูกหนี้ทั้งสาม
จะตอ๎ งรับผิดรวํ มกนั ในจํานวนหน้ีทงั้ หมด ถึงแมจ๎ ะทําสัญญาเป็นฉบับเดียวกันก็ตาม กรณีจึง
ต๎องด๎วยประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 290 คือ ลูกหนี้แตํละคนต๎องรับผิดเพียง
เป็นสวํ นละเทาํ ๆ กนั

ขอ้ สงั เกต
1. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 290 เป็นเรื่องลูกหนี้และเจ๎าหนี้
หลายคน มใิ ชเํ รอื่ งลกู หน้ีรวํ มและเจา๎ หนร้ี วํ ม
2. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 290 เป็นกรณที เี่ ป็นที่สงสัย กฎหมาย
จึงยกประโยชน๑ให๎แกลํ ูกหน้ี เพราะการเปน็ ลกู หน้ีรํวมและเจ๎าหนี้รํวมนั้น ลูกหน้ีต๎องรับไปซ่ึง
ความรบั ผิดมากกวําลูกหนีธ้ รรมดา

3. ลูกหนี้ร่วมและผลบงั คบั ทว่ั ไป
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 291 บัญญัติวํา “ถ๎าบุคคลหลายคน

จะต๎องทาํ การชาํ ระหน้ีโดยทํานองซงึ่ แตลํ ะคนจาํ ตอ๎ งชําระหน้สี ิ้นเชิงไซร๎ แม๎ถึงวําเจ๎าหนี้ชอบ
ที่จะได๎รับชําระหนี้ส้ินเชิงได๎แตํเพียงคร้ังเดียว (กลําวคือลูกหน้ีรํวมกัน) ก็ดี เจ๎าหนี้จะเรียก
ชาํ ระหนีจ้ ากลูกหน้ีแตํคนใดคนหน่ึงสิ้นเชิงหรือแตํโดยสํวนก็ได๎ตามแตํจะเลือก แตํลูกหน้ีทั้ง
ปวงก็ยงั คงต๎องผกู พนั อยทูํ ั่วทกุ คนจนกวําหนีน้ ัน้ จะได๎ชําระเสร็จส้ินเชิง”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 291 อธบิ ายไดด๎ งั น้ี
1. บทบัญญัติทว่ี ํา “ถา๎ บุคคลหลายคนจะต๎องทาํ การชาํ ระหน้ีโดยทํานองซึ่งแตํละคน
จําต๎องชําระหนี้ส้ินเชิงไซร๎ ... (กลําวคือลูกหนี้รํวมกัน)” นั้น หมายความวํา ลูกหนี้รํวม
หมายถึง กรณีท่มี ีลกู หนีห้ ลายคน และลกู หนแี้ ตลํ ะคนจาํ ต๎องชาํ ระหน้สี ้ินเชงิ

ตัวอย่างท่ี 1 นาย ก. และนาย ข. ไปกู๎ยืมเงินมาจากนาย ค. จํานวน 100,000
บาท โดยตกลงกนั ไวว๎ าํ นาย ก. และนาย ข. เป็นลูกหน้ีรํวม ดังนี้ นาย ก. และนาย ข. แตํละ
คนมีหน๎าท่ีจะต๎องชาํ ระหน้โี ดยสิน้ เชงิ คือ จาํ นวน 100,000 บาท

ตัวอย่างท่ี 2 นาย ก. และนาย ข. ไปกู๎ยืมเงินมาจากนาย ค. จํานวน 100,000
บาท โดยตกลงกนั ไวว๎ าํ นาย ก. และนาย ข. แตํละคนมีหน๎าที่จะต๎องชําระหน้ีโดยส้ินเชิง คือ
จํานวน 100,000 บาท ดังน้ี นาย ก. และนาย ข. เป็นลูกหนี้รํวม โดยนาย ก. และนาย ข.
แตํละคนมีหน๎าท่ีจะต๎องชาํ ระหนีโ้ ดยสิ้นเชงิ คอื จํานวน 100,000 บาท

ตัวอย่างที่ 3 นาย ก. และนาย ข. ไปก๎ูยืมเงินมาจากนาย ค. จํานวน 100,000
บาท โดยตกลงกันไว๎วํานาย ก. มหี นา๎ ท่จี ะตอ๎ งชาํ ระหนี้ 50,000 บาท นาย ข. มีหน๎าที่จะต๎อง

236

ชําระหนี้ 50,000 บาท ดังน้ี นาย ก. และนาย ข. มิได๎เป็นลูกหนี้รํวม โดยนาย ก. มีหน๎าที่
จะต๎องชําระหนี้ 50,000 บาท นาย ข. มีหนา๎ ทีจ่ ะต๎องชําระหน้ี 50,000 บาท

ท้ังน้ี การเป็นลูกหนรี้ ํวมนัน้ อาจเกดิ จากนิติกรรมสัญญา โดยมีข๎อตกลงวําลูกหน้ี
หลายคนน้ันยํอมผูกพันในฐานะลูกหนี้รํวม หรืออาจเกิดจากบทบัญญัติของกฎหมาย เชํน
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 425, มาตรา 427, มาตรา 430, มาตรา 432,
มาตรา 618, มาตรา 682, มาตรา 967, มาตรา 1050, มาตรา 1365, มาตรา 1490 เปน็ ต๎น

2. บทบัญญัติที่วํา “แม๎ถึงวําเจ๎าหนี้ชอบที่จะได๎รับชําระหนี้ส้ินเชิงได๎แตํเพียงคร้ัง
เดียว (กลําวคือลูกหน้รี วํ มกนั ) ก็ดี เจา๎ หน้ีจะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้แตํคนใดคนหน่ึงส้ินเชิง
หรือแตโํ ดยสํวนกไ็ ดต๎ ามแตํจะเลือก แตํลูกหนี้ทั้งปวงกย็ ังคงต๎องผูกพันอยูํทวั่ ทกุ คนจนกวําหน้ี
นั้นจะได๎ชําระเสร็จสิน้ เชิง” หมายความวํา แม๎เจ๎าหน้ีควรจะเรียกให๎ลูกหนี้รํวมทุกคนรํวมกัน
ชําระหนีใ้ ห๎แกตํ นพร๎อมกัน แตํเจ๎าหนี้จะเรียกชําระหนี้จากลูกหน้ีแตํคนใดคนหนึ่งส้ินเชิงหรือ
แตโํ ดยสํวนกไ็ ด๎ตามแตํจะเลือก แตํลูกหนท้ี ัง้ ปวงก็ยงั คงต๎องผูกพันอยูํทั่วทุกคนจนกวําหนี้น้ัน
จะได๎ชําระเสร็จสนิ้ เชงิ

ตวั อยา่ ง นาย ก. และนาย ข. ไปก๎ูยืมเงินมาจากนาย ค. จํานวน 100,000 บาท
โดยตกลงกันไว๎วํานาย ก. และนาย ข. จะรํวมกันชําระหน้ีให๎แกํนาย ค. ในฐานะลูกหน้ีรํวม
ดังนี้ นาย ค. จะเรยี กให๎นาย ก. และนาย ข. รวํ มกนั ชาํ ระหนีใ้ ห๎แกํตนจํานวน 100,000 บาท
ก็ได๎ หรือนาย ค. จะเรียกชําระหนี้จากนาย ก. หรือนาย ข. คนใดคนหนึ่งชําระหนี้ให๎แกํตน
จาํ นวน 100,000 บาท ก็ได๎ หรอื นาย ค. จะเรยี กชําระหน้ีจากนาย ก. หรือนาย ข. คนใดคน
หน่ึงชําระหนใ้ี หแ๎ กตํ นโดยสวํ นก็ไดต๎ ามแตจํ ะเลอื ก เชํน นาย ค. จะเรียกชําระหน้ีจากนาย ก.
จาํ นวน 30,000 บาท ก็ได๎ หรอื นาย ค. จะเรียกชําระหน้จี ากนาย ก. จํานวน 70,000 บาท ก็
ได๎ เป็นต๎น แตํลูกหนี้ท้ังปวงก็ยังคงต๎องผูกพันอยํูทั่วทุกคนจนกวําหน้ีน้ันจะได๎ชําระเสร็จ
ส้ินเชิง เชํน ถ๎านาย ค. เรียกชําระหนี้จากนาย ก. จํานวน 30,000 บาท ทั้งนาย ก. และ
นาย ข. ยงั คงตอ๎ งผกู พนั ในหนท้ี ่ีเหลอื จาํ นวน 70,000 บาท จนกวําจะไดช๎ ําระเสรจ็ สนิ้ เชิง

ข้อสังเกต การเป็นลูกหน้ีรํวมน้ันกํอให๎เกิดประโยชน๑แกํเจ๎าหนี้มากกวําลูกหนี้
ธรรมดา เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. ก๎ูยืมเงินไป 50,000 บาท และให๎นาย ค. กู๎ยืมเงินไป
50,000 บาท ดังนี้ นาย ก. มสี ิทธิเรียกให๎นาย ข. ชําระหนี้ 50,000 บาท และนาย ก. มีสิทธิ
เรียกใหใ๎ หน๎ าย ค. ชาํ ระหน้ี 50,000 บาท ซึ่งถ๎านาย ข. ไมํยอมชําระหน้ี นาย ก. จะไปเรียก
ใหใ๎ ห๎นาย ค. ชําระหน้ีแทนไมํได๎ แตํถ๎านาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไป 100,000
บาท ในฐานะลูกหนี้รํวม ถ๎านาย ก. เรียกให๎นาย ข. ชําระหนี้ 50,000 บาท แล๎วนาย ข. ไมํ
ยอมชําระหนี้ นาย ก. มีสิทธิเรียกนาย ค. ชําระหน้ีท้ัง 100,000 บาท ก็ได๎ เป็นต๎น ดังน้ัน
การเป็นลูกหนีร้ วํ มจงึ เปน็ การบรหิ ารความเส่ียงของเจ๎าหนี้ ซ่ึงในป๓จจุบันมีหลายหนํวยงานท่ี
กาํ หนดใหม๎ กี ารก๎ยู ืมแบบลูกหน้รี วํ ม เชํน สหกรณ๑ครูตําง ๆ หรือธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ๑การเกษตร (ธ.ก.ส.) เปน็ ตน๎

237

คาพพิ ากษาศาลฎกี าทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1414/2509 โจทก๑ซ่ึงเป็นเจ๎าหน้ีจะเรียกชําระหนี้จาก
ลกู หนี้รวํ มแตํคนใดคนหนงึ่ สิน้ เชิง หรอื แตํโดยสวํ นกไ็ ด๎ตามแตจํ ะเลอื ก ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 291 ดังน้นั จําเลยจะอ๎างวําหน้ีรายน้ีเป็นหน้ีรํวม โจทก๑จึงต๎องฟ้อง
ลกู หน้ีรํวมทุกคนไปคราวเดียวกนั ไมํได๎
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2217/2533 แม๎หน้ีท่ีให๎จําเลยท้ังสามรํวมกันรับผิดตํอ
โจทก๑ มกี ารจํากัดวงเงินให๎จําเลยท่ี 3 รํวมรับผิด แตํจําเลยท่ี 3 ก็ต๎องผูกพันชําระหนี้จนกวํา
โจทก๑จะได๎รับการชําระหนี้ทั้งหมดเสร็จส้ิน เมื่อปรากฏวําโจทก๑ยังมิได๎รับชําระหน้ีทั้งหมด
เสร็จส้ิน จาํ เลยที่ 3 ซึง่ เปน็ ลกู หนี้รวํ มจงึ ต๎องชําระหนี้ให๎แกํโจทก๑ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 291
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 524/2536 โจทกแ๑ ละจําเลยเป็นลกู หนี้รํวมกัน โจทก๑และ
จําเลยจึงต๎องผกู พนั ตํอเจ๎าหนี้ จนกวําหนีน้ ้ันจะได๎รบั การชาํ ระเสรจ็ สิน้ ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชยม๑ าตรา 291
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3744/2537 จําเลยท่ี 1 จําเลยท่ี 2 และจําเลยท่ี 3
ต๎องรับผิดรํวมกันในฐานะลูกหน้ีรํวม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 430
โจทก๑ซ่งึ เปน็ เจา๎ หน้จี ึงมีสทิ ธิเรียกชําระหนีจ้ ากจําเลยคนใดคนหน่ึงส้ินเชิงหรือแตํโดยสํวนก็ได๎
ตามแตจํ ะเลอื ก แตํลกู หน้ีทัง้ ปวงกย็ ังคงต๎องผูกพันอยํทู ั่วทกุ คน จนกวาํ หน้ีนั้นจะไดช๎ าํ ระเสร็จ
ส้ินเชิง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 291 ดังน้นั การที่โจทก๑ได๎รับชําระหนี้
คําเสียหายจากจาํ เลยท่ี 3 จํานวน 40,000 บาท แล๎ว โจทก๑จึงได๎ถอนฟ้องจําเลยท่ี 3 น้ัน จึง
หาใชํกรณีโจทก๑สละสทิ ธิเรียกคําเสียหายจากจาํ เลยคนอน่ื ไมํ
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 5444/2537 เมื่อ ส. และจําเลยท่ี 1 เป็นลูกหน้ีรํวมกัน
โดย ส. เป็นผ๎ทู ําละเมิดตํอโจทก๑ สํวนจําเลยท่ี 1 เป็นนายจ๎างของ ส. ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 425 โจทก๑จงึ จะเลือกฟอ้ งจาํ เลยท่ี 1 หรือ ส. คนใดคนหนึ่งเพียงคน
เดียวกไ็ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 291
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7328/2540 โจทก๑ซ่ึงเป็นเจ๎าหน้ีจะเรียกให๎จําเลยที่ 2
ชําระหน้สี ิ้นเชงิ หรือแตํโดยสวํ นก็ไดต๎ ามแตํจะเลือก เพราะเป็นสทิ ธิของโจทก๑ โจทก๑ไมํจําต๎อง
เรยี กให๎จาํ เลยที่ 1 และท่ี 2 ซ่งึ เปน็ ลกู หนีร้ วํ ม ชําระหน้ีพรอ๎ มกัน
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 624/2545 จําเลยนายจ๎างเป็นลูกหนี้รํวมกับ ธ. ลูกจ๎าง
ผท๎ู าํ ละเมดิ ตํอโจทก๑ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 425 ซึ่งโจทก๑มีสิทธิฟ้อง
จาํ เลยหรือ ธ. คนใดคนหนง่ึ ก็ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 291


Click to View FlipBook Version