The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auttapon_tepsong, 2022-04-17 14:02:03

คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะหนี้

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

238

4. ลกู หน้ีร่วมคนใดคนหนง่ึ ชาระหน้ี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 292 วรรคแรก บัญญัติวํา “การที่

ลกู หนี้รํวมกันคนหนึง่ ชําระหน้นี ัน้ ยอํ มไดเ๎ ปน็ ประโยชนแ๑ กํลกู หน้ีคนอ่ืน ๆ ด๎วย วิธีเดียวกันนี้
ทํานให๎ใช๎บังคับแกํการ ใด ๆ อันพึงกระทําแทนชําระหนี้ วางทรัพย๑สินแทนชําระหน้ี และ
หักกลบลบหนี้ด๎วย”

บทบัญญัติที่วํา “การที่ลูกหน้ีรํวมกันคนหน่ึงชําระหน้ีนั้น ยํอมได๎เป็นประโยชน๑แกํ
ลกู หนีค้ นอื่น ๆ ด๎วย” หมายความวํา ถ๎าลกู หนี้รํวมกันคนใดคนหน่ึงชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหน้ี ไมํ
วําจะเป็นการชําระหนี้สิ้นเชิงหรือแตํบางสํวน การชําระหนี้น้ันยํอมเป็นประโยชน๑แกํลูกหนี้
รํวมคนอ่ืน ๆ ด๎วย ซึ่งถ๎าเป็นการชําระหน้ีส้ินเชิงแล๎ว หน้ีก็จะระงับไป อันมีผลทําให๎ลูกหนี้
รวํ มคนอื่น ๆ ก็ไมํต๎องชําระหน้อี กี แตถํ า๎ เปน็ การชําระหน้ีบางสํวน หนี้ก็จะลดจาํ นวนลง อันมี
ผลทําใหล๎ ูกหน้รี ํวมคนอื่น ๆ ผูกพันต๎องชําระหน้ีเพยี งแตํสวํ นทีเ่ หลือเทําน้ัน

ตัวอย่าง นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กูย๎ มื เงนิ ไปจาํ นวน 100,000 บาท ในฐานะ
ลกู หน้รี ํวม ตอํ มานาย ข. ได๎ชาํ ระหนจี้ าํ นวน 100,000 บาท ดังน้ี หนย้ี ํอมระงับไป อันมีผลทํา
ให๎นาย ค. ไมํตอ๎ งชาํ ระหน้ีอีก แตํถา๎ นาย ข. ได๎ชําระหนี้จํานวน 50,000 บาท หนี้จะคงเหลือ
จาํ นวน 50,000 บาท และมีผลทาํ ให๎นาย ค. ผูกพันต๎องชําระหนี้เพียงแตํสํวนท่ีเหลือจํานวน
50,000 บาท เทาํ นนั้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 292 วรรคแรก

สํวนบทบัญญัติท่ีวํา “วิธีเดียวกันน้ีทํานให๎ใช๎บังคับแกํการใด ๆ อันพึงกระทําแทน
ชาํ ระหนี้ วางทรัพย๑สนิ แทนชาํ ระหนี้ และหกั กลบลบหน้ีด๎วย” อธบิ ายได๎ดังน้ี

1. การที่ลูกหน้ีรํวมกันคนใดคนหน่ึงได๎กระทาการใด ๆ แทนชาระหน้ี ยํอมได๎เป็น
ประโยชน๑แกํลูกหน้ีคนอื่น ๆ ด๎วย เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน
100,000 บาท ในฐานะลูกหนี้รํวม ตํอมานาย ข. ได๎นํารถยนต๑ 1 คัน ไปชําระหนี้แทนเงิน
จํานวน 100,000 บาท ดงั น้ี หนีย้ ํอมระงบั ไป อันมีผลทาํ ใหน๎ าย ค. ไมํต๎องชําระหนี้อีก แตํถ๎า
นาย ข. ได๎นาํ รถยนต๑ 1 คนั ไปชําระหนี้แทนเงินจํานวน 50,000 บาท หน้ีจะคงเหลือจํานวน
50,000 บาท และมผี ลทาํ ให๎นาย ค. ผูกพนั ต๎องชําระหนี้เพียงแตํสํวนท่ีเหลือจํานวน 50,000
บาท เทาํ นน้ั ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคแรก

2. การท่ีลูกหนี้รํวมกันคนใดคนหน่ึงได๎วางทรัพย์สินแทนชาระหน้ี ยํอมได๎เป็น
ประโยชน๑แกํลูกหนี้คนอ่ืน ๆ ด๎วย เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน
100,000 บาท ในฐานะลูกหนร้ี ํวม ตอํ มานาย ข. ได๎ขอปฏิบัติตกิ ารชําระหนี้ แตํนาย ก. บอก
ปด๓ ไมํยอมรบั ชาํ ระหน้ี นาย ข. จึงเอาเงินจํานวน 100,000 บาท ไปวางไว๎ ณ สํานักงานวาง
ทรัพย๑ อันมีผลทําให๎นาย ข. หลุดพ๎นจากการชําระหนี้นั้น ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 331 และเป็นประโยชน๑แกํลูกหนี้รํวมคนอื่น ๆ ด๎วย คือ มีผลทําให๎นาย ค.
หลุดพน๎ จากการชําระหนี้น้ันด๎วย แตํถ๎านาย ข. เอาเงินเพียงจํานวน 70,000 บาท ไปวางไว๎

239

ณ สํานักงานวางทรัพย๑ หน้ีจะคงเหลือจํานวน 30,000 บาท และมีผลทําให๎นาย ค. ผูกพัน
ต๎องชําระหนี้เพียงแตํสํวนที่เหลือจํานวน 30,000 บาท เทํานั้น ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคแรก

3. การทีล่ ูกหน้ีรํวมกันคนใดคนหนงึ่ ได๎หักกลบลบหนี้ ยํอมไดเ๎ ปน็ ประโยชน๑แกํลูกหน้ี
คน อื่น ๆ ด๎วย เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท ใน
ฐานะลูกหนี้รํวม ตํอมานาย ก. ได๎เป็นหนี้คําซื้อสินค๎าจากนาย ข. จํานวน 100,000 บาท
นาย ข. จึงได๎ใช๎สิทธิหักกลบลบหนี้ กับนาย ก. อันมีผลทําให๎นาย ข. หลุดพ๎นจากการชําระ
หนนี้ ัน้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 341 และเป็นประโยชน๑แกํลูกหนี้รํวม
คนอื่น ๆ ดว๎ ย คอื มผี ลทําใหน๎ าย ค. หลุดพ๎นจากการชําระหน้ีนั้นด๎วย แตํถ๎านาย ก. ได๎เป็น
หนคี้ าํ ซ้ือสนิ ค๎าจากนาย ข. จํานวน 50,000 บาท นาย ข. จึงได๎ใชส๎ ิทธิหักกลบลบหน้ี กับนาย
ก. หนีก้ จ็ ะคงเหลือจาํ นวน 50,000 บาท และมีผลทําให๎นาย ค. ผูกพันต๎องชําระหนี้เพียงแตํ
สํวนท่ีเหลือจํานวน 50,000 บาท เทํานั้น เป็นต๎น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 292 วรรคแรก

อยํางไรก็ดี เจ๎าหนี้ก็สามารถใช๎สิทธิหักกลบลบหนี้ได๎โดยการแสดงเจตนาแกํลูกหน้ี
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 342 ซึ่งหากเจ๎าหนี้ใช๎สิทธิหักกลบลบหน้ีกับ
ลูกหนี้รํวมคนใดคนหน่ึง หนี้ระหวํางเจ๎าหนี้และลูกหน้ีรํวมคนนั้นก็จะระงับไปทั้งหมดหรือ
บางสํวน และจะเป็นประโยชนแ๑ กลํ ูกหน้รี ํวมคนอ่ืน ๆ ดว๎ ย

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 292 วรรคสอง บัญญัติวํา “ลูกหนี้
รวํ มกันคนหนึ่งมีสทิ ธิเรยี กรอ๎ งอยํางไร ลูกหนี้คนอ่ืน ๆ จะเอาสิทธิอันน้ันไปใช๎หักกลบลบหนี้
หาไดไ๎ มํ”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคสอง หมายความวํา หาก
ลูกหนีร้ ํวมกนั คนใดคนหนง่ึ มีสทิ ธกิ ารหกั กลบลบหน้ี ลูกหน้ีรํวมคนอืน่ ๆ จะเอาสิทธิอันน้ันไป
ใช๎หักกลบลบหนี้ไมํได๎ เพราะการใช๎สิทธิหักกลบลบหน้ีน้ัน ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 342 บัญญัติวํา “ หักกลบลบหนี้นั้น ทําได๎ด๎วยคูํกรณีฝ่ายหน่ึงแสดงเจตนา
แกอํ กี ฝ่ายหน่งึ ” ดงั นัน้ จึงเหน็ ได๎วําการหักกลบลบหนี้เป็นสิทธิสํวนตัวของลูกหน้ีรํวมคนท่ีมี
สทิ ธิเทําน้ัน ทีจ่ ะแสดงเจตนาหกั กลบลบหนไ้ี ด๎ ลูกหนี้รํวมคนอื่น ๆ จะใชส๎ ทิ ธแิ ทนไมไํ ด๎

ตวั อยา่ ง นาย ก. ใหน๎ าย ข. และนาย ค. กูย๎ ืมเงินไปจาํ นวน 100,000 บาท ในฐานะ
ลูกหน้ีรํวม ตํอมานาย ก. ได๎เป็นหน้ีคําซ้ือสินค๎าจากนาย ข. จํานวน 100,000 บาท นาย ค.
จึงไดแ๎ สดงเจตนาแกํนาย ก. เพอื่ ใช๎สิทธหิ ักกลบลบหน้ีกับนาย ก. ดงั นี้ นาย ค. ไมํสามารถจะ
ใช๎สทิ ธิหกั กลบลบหน้ีได๎ เน่อื งจากนาย ก. และนาย ค. ไมไํ ด๎มคี วามผูกพันในหน้ซี ่ึงกันและกัน
ตามมาตรา 341 และเนื่องจากหากลูกหน้ีรํวมกันคนใดคนหนึ่งมีสิทธิการหักกลบลบหน้ี
ลูกหนี้รํวมคนอ่ืน ๆ จะเอาสิทธิอันน้ันไปใช๎หักกลบลบหนี้ไมํได๎ ตามมาตรา 292 วรรคสอง

240

ประกอบมาตรา 342 ดังนั้น นาย ข. และนาย ค. จึงยังคงผูกพันต๎องชําระหนี้ให๎แกํนาย ก.
จาํ นวน 100,000 บาท

5. การปลดหนใี้ ห้แกล่ กู หนรี้ ่วมคนหนึ่งคนใด
การปลดหน้ี หมายถึง การท่ีเจา๎ หนแี้ สดงเจตนาตํอลกู หนี้วําจะปลดหน้ีให๎ คือ ยกหนี้

ให๎โดยเสนํหา ซ่งึ มผี ลให๎หนร้ี ะงับ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 โดยใน
กรณีที่เป็นลูกหนี้ธรรมดา เม่ือเจ๎าหนี้ปลดหน้ีให๎ลูกหน้ีธรรมดาคนใด หนี้ของลูกหนี้คนน้ัน
ยอํ มระงบั ไป

สํวนกรณีลูกหน้ีรํวม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 293 บัญญัติวํา
“การปลดหน้ีให๎แกํลูกหน้ีรํวมกันคนหนึ่งนั้น ยํอมเป็นไปเพ่ือประโยชน๑แกํลูกหนี้คนอ่ืน ๆ
เพียงเทําสํวนของลูกหนท้ี ไี่ ดป๎ ลดให๎ เวน๎ แตํจะได๎ตกลงกันเปน็ อยํางอ่ืน”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ยม๑ าตรา 293 อธบิ ายไดด๎ งั น้ี
1. บทบัญญัติที่วํา “การปลดหนี้ให๎แกํลูกหน้ีรํวมกันคนหนึ่งนั้น ยํอมเป็นไปเพื่อ
ประโยชน๑แกํลกู หนคี้ นอน่ื ๆ เพียงเทําสํวนของลูกหนี้ที่ได๎ปลดให๎” หมายความวํา ถ๎าเจ๎าหน้ี
ปลดหน้ใี ห๎แกํลูกหน้ีรํวมคนหน่ึง ลูกหน้ีผู๎ได๎รับการปลดหน้ียํอมหลุดพ๎นหรือได๎รับประโยชน๑
ตามจาํ นวนทเ่ี จ๎าหนปี้ ลดหน้ใี ห๎ แตํสําหรับลกู หนรี้ วํ มคนอื่น ๆ จะหลดุ พน๎ หรือได๎รบั ประโยชน๑
จากการปลดหนี้เพียงใดให๎พิจารณาวําลูกหน้ีผู๎ได๎รับการปลดหน้ีมีสํวนต๎องรับผิดในระหวําง
กนั เอง ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 296 เป็นจํานวนเทําไร ลูกหน้ีรํวมคน
อ่ืน ๆ กห็ ลดุ พ๎นไปเพยี งเทาํ น้ัน81

ตัวอย่างท่ี 1 นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหน้ีรํวม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหน้ีในสํวนของนาย ข. ให๎แกํนาย ข. ทั้งหมด หนี้
ระหวาํ งนาย ก. และนาย ข. จงึ ระงบั ไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340
และการปลดหนีน้ ้นั ยอํ มเป็นประโยชน๑แกํลูกหนี้รํวมคนอืน่ ๆ คอื นาย ค. ดว๎ ย แตํนาย ค. จะ
ได๎รับประโยชน๑เพียงเทําสํวนของนาย ข. ที่ได๎ปลดหนี้ไปเทําน้ัน หากหนี้ในระหวํางลูกหน้ี
รวํ มกนั นั้น มไิ ดก๎ ําหนดไวว๎ าํ ตอ๎ งรับผิดคนละเทําใด ลูกหน้ีรํวมแตํละคนก็ต๎องรับผิดเป็นสํวน
เทํา ๆ กัน คือ คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296
ดังน้ัน หนี้ระหวํางนาย ก. และนาย ค. จึงระงับไป 50,000 บาท และนาย ค. ต๎องผูกพัน
ชาํ ระหน้ตี อํ ไปอกี 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 293

ตัวอย่างที่ 2 นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหน้ีรํวม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหนี้ในสํวนของนาย ข. ให๎แกํนาย ข. ท้ังหมด
นาย ข. จงึ หลุดพน๎ จากการชาํ ระหน้นี ้นั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340

81วิชยั วิวิตเสวี, “การปลดหนใ้ี ห๎ลูกหนร้ี ํวม,” วารสารนติ ศิ าสตร๑ 3, 2 (2514): หน๎า
128.

241

และการปลดหนน้ี ัน้ ยอํ มเป็นประโยชน๑แกํลูกหนร้ี ํวมคนอ่ืน ๆ คือ นาย ค. ด๎วย แตนํ าย ค. จะ
ได๎รับประโยชน๑เพียงเทําสํวนของนาย ข. ที่ได๎ปลดหนี้ไปเทํานั้น หากหนี้ในระหวํางลูกหน้ี
รํวมกันนั้นได๎กําหนดไว๎วํานาย ข. ต๎องรับผิด 70,000 บาท สํวนนาย ค. ต๎องรับผิด 30,000
บาท สวํ นท่ีลกู หนร้ี ํวมแตลํ ะคนจะต๎องรบั ผดิ ก็ตอ๎ งเปน็ ไปตามทไ่ี ดก๎ ําหนดไว๎น้ัน ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296 ดังนั้น หน้ีระหวํางนาย ก. และนาย ค. จึงระงับไป
70,000 บาท และนาย ค. ตอ๎ งผกู พนั ชาํ ระหนี้ตํอไปอีก 30,000 บาท ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 293

ขอ้ สงั เกต เจ๎าหน้ีจะปลดหนใ้ี หแ๎ กลํ ูกหนี้รวํ มคนหน่งึ แตํเพยี งบางสวํ นกไ็ ด๎
ตวั อยา่ งที่ 1 นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหนีร้ วํ ม ตํอมานาย ก. ไดป๎ ลดหน้ีให๎แกํนาย ข. จํานวน 50,000 บาท หน้ีระหวําง
นาย ก. และนาย ข. จึงระงับไป 50,000 บาท โดยนาย ข. ต๎องผูกพันชําระหนี้ตํอไปอีก
50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 และการปลดหนี้นั้นยํอม
เป็นประโยชน๑แกลํ ูกหน้ีรวํ มคนอ่นื ๆ คือ นาย ค. ดว๎ ย แตนํ าย ค. จะได๎รับประโยชน๑เพียงเทํา
สวํ นของนาย ข. ทไ่ี ดป๎ ลดหนไ้ี ปเทาํ นัน้ หากหนใ้ี นระหวํางลกู หนี้รํวมกันนั้น มิได๎กําหนดไว๎วํา
ต๎องรับผิดคนละเทําใด ลูกหน้ีรํวมแตํละคนจึงต๎องรับผิดเป็นสํวนเทํา ๆ กัน คือ คนละ
50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296 ดังนี้ หนี้ระหวํางนาย ก.
และนาย ค. จึงระงับไป 50,000 บาท และนาย ค. จึงต๎องผูกพันชําระหนี้ตํอไปอีก 50,000
บาท ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 293
ตัวอยา่ งที่ 2 นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลกู หนรี้ วํ ม ตอํ มานาย ก. ได๎ปลดหน้ีให๎แกํนาย ข. จํานวน 50,000 บาท หน้ีระหวําง
นาย ก. และนาย ข. จึงระงับไป 50,000 บาท โดยนาย ข. ต๎องผูกพันชําระหนี้ตํอไปอีก
50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 และการปลดหนี้น้ันยํอม
เป็นประโยชนแ๑ กลํ ูกหนรี้ ํวมคนอน่ื ๆ คอื นาย ค. ดว๎ ย แตํนาย ค. จะได๎รบั ประโยชน๑เพียงเทํา
สํวนของนาย ข. ที่ได๎ปลดหน้ีไปเทําน้ัน หากหน้ีในระหวํางลูกหน้ีรํวมกันน้ันได๎กําหนดไว๎วํา
นาย ข. ต๎องรับผิด 70,000 บาท สํวนนาย ค. ต๎องรับผิด 30,000 บาท สํวนที่ลูกหนี้รํวมแตํ
ละคนจะต๎องรับผิดก็ต๎องเป็นไปตามที่ได๎กําหนดไว๎นั้น ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 296 ดังนี้ หน้ีระหวํางนาย ก. และนาย ค. จึงระงับไป 50,000 บาท และ
นาย ค. ต๎องผูกพันชําระหน้ีตํอไปอีก 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 293

242

ตวั อยา่ งที่ 3 นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหน้รี ํวม ตอํ มานาย ก. ได๎ปลดหน้ีให๎แกํนาย ข. จํานวน 50,000 บาท หนี้ระหวําง
นาย ก. และนาย ข. จึงระงับไป 50,000 บาท โดยนาย ข. ต๎องผูกพันชําระหน้ีตํอไปอีก
50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 และการปลดหน้ีน้ันยํอม
เปน็ ประโยชน๑แกํลูกหนี้รวํ มคนอื่น ๆ คือ นาย ค. ด๎วย แตํนาย ค. จะได๎รบั ประโยชน๑เพียงเทํา
สํวนของนาย ข. ท่ีได๎ปลดหน้ีไปเทําน้ัน หากหน้ีในระหวํางลูกหน้ีรํวมกันนั้นได๎กําหนดไว๎วํา
นาย ข. ต๎องรับผิด 30,000 บาท สํวนนาย ค. ต๎องรับผิด 70,000 บาท สํวนที่ลูกหน้ีรํวมแตํ
ละคนจะต๎องรับผิดก็ต๎องเป็นไปตามที่ได๎กําหนดไว๎น้ัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 296 ดังน้ี หน้ีระหวํางนาย ก. และนาย ค. จึงระงับไป 30,000 บาท และ
นาย ค. ต๎องผูกพันชําระหนี้ตํอไปอีก 70,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 293

2. บทบัญญัติท่ีวํา “เว๎นแตํจะได๎ตกลงกันเป็นอยํางอื่น” หมายความวํา ถ๎าเจ๎าหน้ี
และลูกหนี้รํวมทุกคนได๎ตกลงกันวํา ให๎การปลดหน้ีแกํลูกหน้ีคนใดคนหน่ึงเป็นประโยชน๑แกํ
ลกู หน้คี นน้ันเทํานั้น มิให๎เป็นประโยชน๑แกํลูกหนี้รํวมคนอื่น ๆ หรือให๎การปลดหนี้แกํลูกหน้ี
คนใดคนหน่งึ เป็นประโยชน๑แกลํ กู หนี้รวํ มคนอื่น ๆ เสมือนกบั ลกู หน้ีรํวมคนท่ีได๎ปลดหนี้น้ัน ก็
ให๎เปน็ ไปตามนน้ั

ตวั อยา่ งที่ 1 นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหนี้รํวม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหน้ีให๎แกํนาย ข. ทั้งหมด นาย ข. จึงหลุดพ๎นจาก
การชําระหน้ีนั้น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 และเม่ือการปลดหน้ี
นั้น เจ๎าหน้ีและลูกหน้ีรํวมทุกคนได๎ตกลงกันวํา ให๎การปลดหนี้แกํลูกหน้ีคนใดคนหน่ึงเป็น
ประโยชนแ๑ กํลกู หนค้ี นน้นั เทํานั้น มิให๎เป็นประโยชน๑แกํลูกหน้ีรํวมคนอื่น ๆ นาย ค. จึงไมํได๎
รับประโยชน๑จากการปลดหน้ีน้ัน และต๎องผูกพันชําระหนี้ตํอไปอีก 100,000 บาท ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 293

ตวั อย่างที่ 2 นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหน้ีรํวม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหนี้ให๎แกํนาย ข. ทั้งหมด นาย ข. จึงหลุดพ๎นจาก
การชําระหนี้นั้น ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 และเม่ือการปลดหนี้
น้ัน เจ๎าหน้ีและลูกหนี้รํวมทุกคนได๎ตกลงกันวําให๎การปลดหน้ีแกํลูกหน้ีคนใดคนหนึ่งเป็น
ประโยชน๑แกํลูกหนี้รํวมคนอ่ืน ๆ เสมือนกับลูกหนี้รํวมคนท่ีได๎ปลดหน้ีนั้น นาย ค. จึงได๎รับ
ประโยชน๑จากการปลดหน้ีน้ันเสมือนกับนาย ข. คือ หลุดพ๎นจากการชําระหนี้น้ันด๎วย ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 293

243

6. เจ้าหนผ้ี ิดนดั ต่อลกู หนี้รว่ มคนใดคนหนงึ่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 294 บัญญัติวํา “การที่เจ๎าหนี้ผิดนัด

ตอํ ลกู หนร้ี ํวมกันคนหนึง่ นน้ั ยํอมได๎เป็นคณุ ประโยชนแ๑ กํลูกหนค้ี นอ่นื ๆ ด๎วย”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 294 หมายความวาํ การที่เจ๎าหนี้ผิด

นดั ตอํ ลูกหน้ีรวํ มกันคนใดคนหนึ่ง ยํอมได๎เป็นคุณประโยชน๑แกํลูกหนี้คนอื่น ๆ ด๎วย ไมํวําจะ
เป็นการที่เจ๎าหนี้ผิดนัดตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 207 หรือมาตรา
210 เชนํ นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท ในฐานะลูกหน้ี
รํวม ตํอมาเม่อื ถึงกําหนดชาํ ระหน้ี นาย ข. ได๎ขอปฏิบัติชําระหนี้ แตํนาย ก. ไมํยอมรับชําระ
หน้ีโดยปราศจากมูลเหตุอันจะอ๎างได๎ตามกฎหมาย นาย ก. ตกเป็นผ๎ูผิดนัดตาม ประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 207 ซึ่งการที่เจ๎าหน้ีผิดนัดแกํนาย ข. น้ียํอมได๎เป็น
คุณประโยชนแ๑ กนํ าย ค. ด๎วย อันมีผลคือ ทําให๎ลูกหนี้รํวมทุกคนหลุดพ๎นจากความรับผิดอัน
เกิดแตํการไมํชาํ ระหนี้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 330 และเจ๎าหน้ีจะคิด
ดอกเบยี้ ในระหวาํ งท่เี จา๎ หน้ผี ดิ นดั ไมไํ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 221

7. การทเ่ี ป็นเร่อื งเฉพาะตัวของลกู หนี้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 295 บัญญัติวํา “ข๎อความจริงอื่นใด

นอกจากทร่ี ะบไุ ว๎ในมาตรา 292 ถงึ 294 นนั้ เมอ่ื เปน็ เรือ่ งเท๎าถึงตวั ลูกหน้ีรํวมกันคนใดก็ยํอม
เป็นไปเพื่อคุณและโทษแตํเฉพาะแกํลูกหนี้คนนั้น เว๎นแตํจะปรากฏวําขัดกับสภาพแหํงหนี้
นั้นเอง

ความท่วี ํามานี้ เมือ่ จะกลําวโดยเฉพาะกค็ อื วําใหใ๎ ช๎แกํการใหค๎ าํ บอกกลําว การผิดนัด
การท่หี ยิบยกอา๎ งความผิด การชาํ ระหนอ้ี ันเป็นพ๎นวิสัยแกํฝ่ายลูกหนี้รํวมกันคนหน่ึง กําหนด
อายุความหรือการท่ีอายุความสะดุดหยุดลง และการท่ีสิทธิเรียกร๎องเกลื่อนกลืนกันไปกับ
หน้สี นิ ”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 295 วรรคแรก อธบิ ายไดด๎ ังนี้
1. กรณีตามมาตรา 292 ถึง 294 น้ัน เม่ือเป็นเรื่องของลูกหนี้รํวมคนใดคนหนึ่งก็
ยํอมคุณและโทษแกํลกู หนีค้ นอ่ืน ๆ ด๎วย
2. กรณีอ่ืน ๆ ที่มิใชํกรณีตามมาตรา 292 ถึง 294 น้ัน เม่ือเป็นเร่ืองของลูกหน้ีรํวม
คนใดคนหนึ่งก็ยํอมเป็นไปเพื่อคุณและโทษแตํเฉพาะแกํลูกหนี้รํวมคนนั้น ซ่ึงกรณีน้ีจะ
เช่ือมโยงไปยังประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 295 วรรคสอง
3. เมอ่ื เปน็ เรือ่ งของลกู หนี้รวํ มคนใดคนหนึ่งก็ยํอมเป็นไปเพ่ือคุณและโทษแตํเฉพาะ
แกลํ กู หนคี้ นนน้ั เว๎นแตํจะปรากฏวาํ ขดั กบั สภาพแหงํ หน้ีน้ัน หมายความวํา ถ๎าสภาพแหํงหน้ี
เป็นเรื่องที่ลูกหนี้รํวมทุกคนต๎องชําระหนี้รํวมกัน ก็ต๎องถือวําข๎อความจริงท่ีเป็นเร่ืองของ
ลูกหน้ีรํวมคนใดคนหน่ึงน้ัน เป็นคุณและโทษแกํลูกหน้ีรํวมคนอ่ืน ๆ ด๎วย เชํน นาย ก. จ๎าง

244

นาย ข. และนาย ค. ในฐานะลูกหนรี้ ํวม ให๎เป็นลกู คํูร๎องเพลงประสานเสียง แตํเม่ือถึงกําหนด
ตอ๎ งร๎องเพลง ปรากฏวํานาย ข. ไมํมาตามทไ่ี ดต๎ กลงกนั ไว๎ ดังน้ี นาย ก. และนาย ข. ยํอมตก
เป็นผู๎ผิดนัดท้ังสองคน เพราะสภาพแหงํ หน้นี ัน้ ตอ๎ งกระทาํ รวํ มกัน เปน็ ตน๎

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 295 วรรคสอง ได๎ยกตัวอยําง
บางประการ ท่หี ากเป็นเรื่องของลูกหนี้รํวมคนใดคนหนึ่ง ก็จะเป็นคุณและโทษแตํเฉพาะแกํ
ลูกหนีค้ นนนั้ เทําน้ัน ดงั นี้

1. คําบอกกลําว เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000
บาท ในฐานะลกู หนี้รํวม โดยไมํได๎กําหนดเวลาชําระหน้ีไว๎ ตํอมานาย ก. ได๎ให๎คําบอกกลําว
(เตือน) ให๎นาย ข. ชําระหนี้ ดังนี้ ถือวํานาย ข. ได๎รับคําบอกกลําว (เตือน) ให๎ชําระหนี้แล๎ว
แตํนาย ค. ยังไมไํ ดร๎ ับคาํ บอกกลําว (เตือน) ให๎ชําระหน้ี เป็นต๎น นอกจากนั้น การให๎คําบอก
กลําว เชํน การบอกกลําวในเร่ืองการโอนสิทธิเรียกร๎องตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 306 การบอกกลําวบังคับจํานอง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 728 เป็นตน๎

2. การผดิ นัด เชนํ นาย ก. ใหน๎ าย ข. และนาย ค. กย๎ู มื เงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลกู หน้ีรวํ ม โดยไมไํ ดก๎ าํ หนดเวลาชําระหน้ไี ว๎ ตํอมานาย ก. ได๎ใหค๎ าํ บอกกลําว (เตือน)
ให๎นาย ข. ชําระหนี้ แตํนาย ข. มิได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. นาย ข. จึงตกเป็นผ๎ูผิดนัดเพราะ
เจ๎าหนีเ้ ตอื นแลว๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 204 วรรคแรก แตํนาย ค.
ยงั ไมํตกเปน็ ผู๎ผิดนัด เป็นต๎น

3. การท่ีหยิบยกอา๎ งความผิด เชนํ นาย ก. จ๎างนาย ข. และนาย ค. ขนสํงสินค๎า ใน
ฐานะลูกหนี้รํวม โดยนาย ข. และนาย ค. ขับรถคนละคันกัน ตํอมานาย ข. เมาสุราและขับ
รถยนต๑นั้นด๎วยความประมาท เป็นเหตุให๎สินค๎าเสียหายท้ังหมด ดังนี้ นาย ข. ต๎องชดใช๎คํา
สินไหมทดแทนให๎แกํนาย ก. ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 218 โดยนาย
ค. ไมตํ ๎องรับผดิ ด๎วย เป็นตน๎

4. การชําระหน้ีอนั เป็นพน๎ วิสัยแกํฝา่ ยลูกหน้รี ํวมกนั คนหน่ึง เชนํ นาย ก. จา๎ งนาย ข.
และนาย ค. ขนสํงสินค๎า ในฐานะลูกหน้ีรํวม โดยนาย ข. และนาย ค. ขับรถคนละคันกัน
ตอํ มานาย ง. ขบั รถยนต๑ด๎วยความประมาทชนรถยนตท๑ ี่นาย ข. ขับ เป็นเหตุให๎สินค๎าเสียหาย
ท้ังหมด ดังนี้ นาย ข. จึงหลุดพ๎นจากการชําระหนี้ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 219 แตํนาย ค. ยังคงต๎องผกู พนั ชาํ ระหนี้ตํอไป เปน็ ตน๎

5. กําหนดอายุความ หมายความวํา ถ๎าเจ๎าหน้ีนําเอาหนี้ที่ขาดอายุความมาฟ้องคดี
แลว๎ ลูกหนีร้ ํวมคนใดยกหรือไมํยกอายุความขึ้นตํอสู๎ ก็จะเป็นคุณหรือเป็นโทษเฉพาะตัวของ
ลกู หนรี้ ํวมคนน้ันเทํานั้น ไมํรํวมถึงลูกหน้ีคนอ่ืนด๎วย เชํน โจทก๑ฟ้องลูกหน้ีรํวมหลายคนเป็น
จําเลยในหน้ีท่ีขาดอายคุ วาม จําเลยทยี่ กอายคุ วามขนึ้ ตํอส๎ู ศาลต๎องยกฟอ้ ง สํวนจําเลยท่ีไมํได๎
ยกอายคุ วามขึ้นตํอสู๎ คงต๎องรับผดิ ตํอไป

245

6. การทีอ่ ายคุ วามสะดุดหยุดลง หมายถึง การที่ลูกหน้ีรํวมคนใดคนหนึ่งทําหนังสือ
รบั สภาพหน้ี หรือใชเ๎ งนิ ให๎แกเํ จา๎ หนี้บางสํวน หรือเจ๎าหน้ีฟ้องคดีแกํลูกหนี้รํวมคนใดคนหน่ึง
ยํอมทําให๎อายุความสะดุดหยุดลง และเม่ืออายุความสะดุดหยุดลงแล๎ว ระยะเวลาท่ีลํวงไป
กํอนน้นั ยอํ มไมํนบั เข๎าในอายคุ วาม กลาํ วคอื ให๎เริ่มนบั อายุความข้ึนใหมํแตํเวลานั้นสืบไป ซึ่ง
การท่ีอายุความสะดุดหยุดลงนี้ ยํอมมีผลเป็นคุณหรือเป็นโทษเฉพาะตัวลูกหน้ีรํวมคนนั้น
เทาํ นัน้ ไมํมผี ลถึงลูกหนี้รํวมคนอ่นื ๆ ดว๎ ย เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปใน
ฐานะลูกหนี้รวํ ม เม่อื หนี้กาํ หนดเวลาชําระหน้ี จนลํวงเลยมาได๎ 9 ปนี าย ก. ก็ไมํได๎ฟ้องคดีตํอ
ศาลเพื่อบงั คับชาํ ระหน้ี แตํ นาย ข. ได๎ไปทาํ หนังสือรับสภาพหนี้ไว๎ อันทําให๎อายุความสะดุด
หยุดลง จึงต๎องเริ่มนับอายุความข้ึนใหมํแตํเวลานั้นสืบไปอีก 10 ปี สํวนนาย ค. อายุความก็
จะคงเหลอื 1 ปี เชนํ เดิม เปน็ ตน๎

7. การท่ีสิทธิเรียกร๎องเกล่ือนกลืนกันไปกับหน้ีสิน หน้ีเกล่ือนกลืนหมายความวํา
บุคคลคนเดียวกันได๎เป็นทั้งเจ๎าหนี้และลูกหน้ีในหน้ีรายเดียวกัน หนี้น้ันจึงระงับไป ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 353 ซึ่งหนี้เกลื่อนกลืนน้ี ยํอมเป็นคุณหรือเป็น
โทษเฉพาะตัวของลูกหน้ีรวํ มคนน้ันเทําน้นั ไมรํ ํวมถงึ ลูกหน้คี นอ่นื ดว๎ ย เชํน นาย ก. ให๎นาย ข.
และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท ในฐานะลูกหนี้รํวม ตํอมานาย ก. ได๎ถึงแกํ
ความตาย โดยไดท๎ าํ พินัยกรรมยกมรดกของตนท้งั หมดให๎แกนํ าย ข. หนี้ระหวํางนาย ก. และ
นาย ข. จึงระงับไปด๎วยหนี้เกลื่อนกลืนกัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
353 ซึ่งหนี้เกลื่อนกลืนน้ี ยํอมเป็นคุณหรือเป็นโทษเฉพาะตัวของนาย ข. เทําน้ัน ไมํรํวมถึง
นาย ค. ดว๎ ย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 295

ดงั นี้ ในฐานะทนี่ าย ข. เป็นเจ๎าหน้ี นาย ข. จึงมีสิทธิเรียกให๎นาย ค. ชําระหนี้ให๎แกํ
ตนส้ินเชิง คือ 100,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 291 แตํใน
ขณะเดียวกัน ในฐานะท่ีนาย ข. เป็นลูกหน้ีรํวม เม่ือในระหวํางนาย ข. และนาย ค. มิได๎
กําหนดไว๎วําต๎องรับผิดคนละเทําใด นาย ข. และนาย ค. ก็จะต๎องรับผิดเป็นสํวนเทํา ๆ กัน
คอื คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296 ดังนั้น นาย ข.
จงึ มสี ทิ ธเิ รยี กให๎นาย ค. ชาํ ระหนไ้ี ด๎เพียง 50,000 บาท

8. ความรบั ผิดระหวา่ งลกู หน้รี ่วมด้วยกนั เอง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 296 บัญญัติวํา “ในระหวํางลูกหน้ี

รวํ มกนั ทั้งหลายนั้น ทํานวําตํางคนตํางต๎องรับผิดเป็นสํวนเทํา ๆ กัน เว๎นแตํจะได๎กําหนดไว๎
เป็นอยํางอื่น ถา๎ สํวนทีล่ กู หนี้รํวมกันคนใดคนหน่ึงจะพึงชําระน้ัน เป็นอันจะเรียกเอาจากคน
นั้นไมํได๎ไซร๎ ยังขาดจํานวนอยํูเทําไรลูกหนี้คนอื่น ๆ ซึ่งจําต๎องออกสํวนด๎วยนั้นก็ต๎องรับใช๎
แตถํ ๎าลกู หนรี้ วํ มกันคนใดเจ๎าหน้ีได๎ปลดใหห๎ ลุดพน๎ จากหนี้อันรํวมกันนั้นแล๎ว สํวนท่ีลูกหนี้คน
นน้ั จะพึงต๎องชําระหนี้ก็ตกเปน็ พับแกํเจา๎ หนีไ้ ป”

246

ความรับผิดระหวํางลูกหนี้รํวมด๎วยกันนั้นเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 296 ซึ่งอธบิ ายได๎ดังนี้

1. “ในระหวํางลูกหนี้รํวมกันท้ังหลายนั้น ทํานวําตํางคนตํางต๎องรับผิดเป็นสํวน
เทาํ ๆ กัน” หมายความวํา ถ๎าในระหวํางลูกหนี้รํวมกันท้ังหลายนั้นมิได๎กําหนดไว๎วําต๎องรับ
ผิดคนละเทําใด ลกู หน้ีรํวมแตลํ ะคนกจ็ ะต๎องรับผดิ เปน็ สวํ นเทาํ ๆ กนั เชนํ นาย ก. ให๎นาย ข.
และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท ในฐานะลูกหนี้รํวม เม่ือในระหวํางลูกหน้ี
รํวมกันนั้น มไิ ด๎กําหนดไว๎วาํ ต๎องรบั ผดิ คนละเทาํ ใด ลูกหนีร้ ํวมแตํละคนจึงต๎องรับผิดเป็นสํวน
เทํา ๆ กัน คือ คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296
ตํอมานาย ข. ได๎ชําระหน้ีให๎แกํนาย ก. ไปจํานวน 100,000 บาท ดังนี้ นาย ข. จึงได๎รับชํวง
สิทธิมาไลํเบ้ียจากนาย ค. ได๎ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
229 (3) เปน็ ต๎น

2. “เว๎นแตจํ ะไดก๎ ําหนดไวเ๎ ปน็ อยํางอื่น” หมายความวาํ ถา๎ ในระหวํางลูกหนี้รํวมกัน
ทัง้ หลายน้นั ได๎มกี ารกําหนดกนั ไว๎วาํ ตอ๎ งรบั ผิดคนละเทําใด กต็ อ๎ งเป็นไปตามนั้น เชํน นาย ก.
ใหน๎ าย ข. และนาย ค. กู๎ยมื เงนิ ไปจํานวน 100,000 บาท ในฐานะลูกหน้ีรํวม เม่ือในระหวําง
ลกู หนีร้ ํวมกันนน้ั ไดม๎ กี ารกาํ หนดไว๎วํานาย ข. ต๎องรับผิด 70,000 บาท สํวนนาย ค. ต๎องรับ
ผิด 30,000 บาท ก็ต๎องเป็นไปตามที่ได๎มีการกําหนดไว๎น้ัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 296 ตํอมานาย ข. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปจํานวน 100,000 บาท ดังน้ี
นาย ข. จึงได๎รับชํวงสิทธิมาไลํเบี้ยจากนาย ค. ได๎ 30,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 229 (3) เป็นต๎น

ขอ้ สงั เกต
ก. เจ๎าหนี้มีสิทธิจะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้แตํคนใดคนหนึ่งสิ้นเชิงหรือแตํโดย
สํวนก็ไดต๎ ามแตํจะเลอื ก ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 291 แตํความรับผิด
ระหวํางลูกหนี้รํวมด๎วยกันน้ัน เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
296 กําหนดไว๎
ข. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296 เป็นเร่ืองท่ีกลําวถึงความรับ
ผิดระหวํางลูกหน้ีรํวมเทําน้ัน แตํลูกหนี้รํวมจะเรียกหรือไลํเบี้ยจากลูกหน้ีรํวมคนอื่น ต๎อง
อาศัยอาํ นาจแหงํ การรบั ชวํ งสิทธิ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 229 (3)82
ค. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296 เป็นเพียงกฎหมายท่ัวไป
เทําน้ัน ถ๎ามีกฎหมายเฉพาะ ก็ต๎องบังคับตามกฎหมายเฉพาะนั้น เชํน นายจ๎างซึ่งได๎ใช๎
คําสินไหมทดแทนให๎แกํบุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ๎างได๎ทํานั้นไปเทําใด ชอบที่จะได๎
ชดใช๎จากลูกจา๎ งนัน้ ทง้ั หมด ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 426 เป็นตน๎

82ไพโรจน๑ วายภุ าพ, เร่อื งเดมิ , หน๎า 389.

247

3. “ถา๎ สํวนท่ีลูกหน้ีรํวมกันคนใดคนหน่ึงจะพึงชําระนั้น เป็นอันจะเรียกเอาจากคน
น้ันไมไํ ดไ๎ ซร๎ ยงั ขาดจาํ นวนอยํูเทําไร ลกู หน้ีคนอ่ืน ๆ ซึ่งจําต๎องออกสํวนด๎วยน้ันก็ต๎องรับใช๎”
หมายความวํา ถ๎าลูกหน้ีรํวมกันคนใดคนหนึ่งไมํสามารถชําระหนี้ได๎ เชํน เป็นคนล๎มละลาย
เป็นคนหายสาบสญู ถงึ แกคํ วามตาย โดยไมํมีทรัพย๑สินใด ๆ เลย ฯลฯ ลูกหน้ีรํวมคนอื่น ๆ ก็
ต๎องเฉล่ียกันรับผิดตามสํวนแทน เชํน นาย ง. ให๎นาย ก. นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไป
จํานวน 100,000 บาท ในฐานะลูกหนรี้ วํ ม ตอํ มานาย ก. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ง. ไปจํานวน
100,000 บาท เม่ือในกรณีน้ี หน้ีในระหวํางลูกหนี้รํวมกันน้ัน ได๎มีการกําหนดไว๎วํานาย ก.
ต๎องรับผิด 40,000 บาท สํวนนาย ข. ต๎องรับผิด 40,000 บาท และนาย ค. ต๎องรับผิด
20,000 บาท ก็ต๎องเป็นไปตามน้ัน และเมื่อนาย ค. ถึงแกํความตาย โดยไมํมีทรัพย๑สินใด ๆ
เลย ลูกหนี้รํวมคนอื่น ๆ ก็ต๎องเฉล่ียกันรับผิดตามสํวนแทน ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 296 ดังนี้ นาย ก. จึงได๎รับชํวงสิทธิมาไลํเบี้ยจากนาย ข. ได๎ 50,000 บาท
(40,000 + 10,000) ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 229 (3) เป็นตน๎

4. “ถ๎าลูกหน้ีรํวมกนั คนใดเจา๎ หนีไ้ ดป๎ ลดใหห๎ ลุดพ๎นจากหนอ้ี ันรวํ มกันนั้นแล๎ว สํวนท่ี
ลกู หนีค้ นน้ันจะพึงต๎องชําระหน้ีกต็ กเปน็ พับแกเํ จา๎ หนไ้ี ป” หมายความวาํ ลกู หน้ีรวํ มคนนัน้ ไมํ
ตอ๎ งรบั ผดิ ชําระหน้อี กี ตอํ ไป เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืมเงินไปจาํ นวน 100,000
บาท ในฐานะลกู หนี้รวํ ม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหน้ีให๎แกํนาย ข. ท้ังหมด นาย ข. จึงหลุดพ๎น
จากการชาํ ระหน้นี นั้ และการปลดหน้ีน้ันยํอมเป็นประโยชน๑แกํนาย ค. ด๎วย โดยนาย ค. จะ
ได๎รับประโยชน๑จากการปลดหนี้จํานวน 50,000 บาท ดงั นั้น นาย ก. จึงมสี ทิ ธิเรียกให๎นาย ค.
ชําระหน้ีได๎เพียง 50,000 บาท ตํอมานาย ค. ได๎ชําระหน้ีให๎แกํนาย ก. ไปจํานวน 50,000
บาท ดงั นี้ นาย ค. ไมมํ ีสิทธิมาไลเํ บี้ยจากนาย ข. เป็นตน๎

9. บุคคลหลายคนรว่ มกันผูกพนั ตนในอันจะทาการชาระหนี้
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 297 บัญญัติวํา “ถ๎าในสัญญาอันหนึ่ง

อันใดมีบุคคลหลายคนรํวมกันผูกพันตนในอันจะทําการชําระหน้ีไซร๎ หากกรณีเป็นท่ีสงสัย
ทาํ นวาํ บคุ คลเหลํานัน้ จะต๎องรับผดิ เชํนอยํางเป็นลกู หนีร้ ํวมกัน แมถ๎ งึ วาํ เปน็ การอันจะแบํงกัน
ชาํ ระหนไ้ี ด๎”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 297 หมายความวํา ถ๎าในสัญญา
อนั หน่ึงอันใดมีบุคคลหลายคนรํวมกันผูกพันตนในอนั จะทาํ การชาํ ระหน้ี หากกรณีเปน็ ทส่ี งสัย
คือ สงสยั วาํ บคุ คลหลายคนนน้ั เปน็ ลกู หนรี้ วํ มกันหรอื ไมํ กฎหมายให๎ถอื วําบุคคลเหลํานั้นเป็น
ลูกหน้ีรํวม ถึงแม๎วาํ หน้ีน้ันจะแบํงชําระหน้ีได๎ก็ตาม เชํน นาย ก. และนาย ข. ไปก๎ูยืมเงินมา
จากนาย ค. จํานวน 100,000 บาท โดยตกลงกนั วาํ นาย ก. และนาย ข. จะรํวมกันชําระหนี้
ให๎แกํเจ๎าหนี้ ดังน้ี เม่ือกรณีเป็นท่ีสงสัยวํานาย ก. และนาย ข. เป็นลูกหน้ีรํวมกันหรือไมํ

248

นาย ก. และนาย ข. จึงต๎องรับผิดอยํางลูกหนี้รํวม ถึงแม๎วําหนี้นั้นจะแบํงชําระหน้ีได๎ก็ตาม
เป็นตน๎

10. เจ้าหน้รี ว่ มและผลบงั คับท่ัวไป
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 298 บัญญัติวํา “ถ๎าบุคคลหลายคนมี

สทิ ธิเรยี กร๎องการชําระหน้ี โดยทาํ นองซ่ึงแตํละคนอาจจะเรียกให๎ชาํ ระหนสี้ ิน้ เชงิ ได๎ไซร๎ แม๎ถึง
วาํ ลกู หนี้จําต๎องชาํ ระหน้สี น้ิ เชงิ แตํเพยี งคร้ังเดยี ว (กลําวคือเจ๎าหน้ีรํวมกัน) ก็ดี ทํานวําลูกหน้ี
จะชําระหน้ีใหแ๎ กํเจา๎ หน้ีแตํคนใดคนหนึ่งก็ได๎ตามแตํจะเลือก ความข๎อน้ีให๎ใช๎บังคับได๎ แม๎ท้ัง
ทเ่ี จา๎ หน้คี นหนง่ึ จะไดย๎ น่ื ฟ้องเรยี กชําระหนีไ้ วแ๎ ล๎ว”

บทบัญญัตติ ามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 298 ซ่ึงบัญญัติวํา “ถ๎า
บุคคลหลายคนมีสิทธิเรียกร๎องการชําระหน้ี โดยทํานองซึ่งแตํละคนอาจจะเรียกให๎ชําระหน้ี
สิ้นเชงิ ได๎ไซร๎… (กลาํ วคือเจา๎ หนีร้ ํวมกัน)” น้ัน เจ๎าหน้ีรํวม หมายถึง กรณีท่ีมีเจ๎าหนี้หลายคน
และเจ๎าหนี้แตํละคนมสี ิทธิเรยี กร๎องใหล๎ กู หนช้ี าํ ระหนสี้ ิน้ เชิง

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
โดยตกลงกันวํา นาย ก. และนาย ข. เป็นเจ๎าหน้ีรํวม ดังนี้ นาย ก. และนาย ข. แตํละคนมี
สทิ ธเิ รียกร๎องให๎นาย ค. ชาํ ระหน้สี ้ินเชิงคอื จํานวน 100,000 บาท

ตวั อยา่ งที่ 2 นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
โดยตกลงกันวํา นาย ก. และนาย ข. มสี ิทธิเรียกรอ๎ งให๎นาย ค. ชําระหนี้แกํตนส้ินเชิงได๎ ดังนี้
นาย ก. และนาย ข. เปน็ เจ๎าหน้ีรวํ มกนั โดยนาย ก. และนาย ข. แตํละคนมีสิทธิเรียกร๎องให๎
นาย ค. ชาํ ระหนสี้ ิ้นเชิงคือ จํานวน 100,000 บาท

ท้ังน้ี การเปน็ เจ๎าหนรี้ วํ มนัน้ เจ๎าหน้ีแตํละคนมสี ทิ ธิเรียกร๎องให๎ลูกหนี้ชําระหนี้ได๎
โดยลําพงั ไมตํ ๎องไดร๎ บั ความเห็นชอบจากเจา๎ หนี้คนอ่นื 83 และไมตํ อ๎ งฟอ้ งรํวมกนั

สวํ นบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 298 ซ่ึงบัญญัติวํา
“แมถ๎ งึ วาํ ลกู หนีจ้ ําตอ๎ งชาํ ระหนสี้ ้ินเชงิ แตเํ พยี งคร้ังเดยี ว (กลาํ วคือเจ๎าหน้ีรํวมกัน) ก็ดี ทํานวํา
ลกู หน้ีจะชําระหน้ีให๎แกํเจ๎าหนี้แตํคนใดคนหนึ่งก็ได๎ตามแตํจะเลือก ความข๎อน้ีให๎ใช๎บังคับได๎
แมท๎ ้ังท่เี จา๎ หน้ีคนหนึ่งจะได๎ยื่นฟ้องเรียกชําระหนี้ไว๎แล๎ว” นั้น หมายความวํา แม๎ลูกหนี้ควร
จะชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหน้ีรํวมทุกคนพร๎อมกัน แตํลูกหน้ีจะชําระหน้ีให๎แกํเจ๎าหนี้แตํคนใดคน
หน่งึ กไ็ ด๎ตามแตํจะเลอื ก เชนํ นาย ก. และนาย ข. ใหน๎ าย ค. ก๎ูยืมเงินไป ในฐานะเจ๎าหนี้รํวม
ตํอมาเม่อื หนีถ้ งึ กาํ หนดชําระ นาย ค. มีสิทธิจะชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. หรือนาย ข. ก็ได๎ เป็น
ต๎น และแม๎เจ๎าหนี้รํวมคนใดคนหน่ึงจะได๎ยื่นฟ้องคดีไว๎แล๎ว ลูกหนี้จะชําระหน้ีให๎แกํเจ๎าหน้ี

83เรื่องเดียวกนั , หน๎า 396.

249

รํวมคนอื่น ๆ กไ็ ด๎ เชํน แม๎นาย ก. จะได๎ยื่นฟ้องคดีไว๎แล๎ว นาย ค. จะชําระหน้ีให๎แกํนาย ข.
ก็ได๎ เป็นต๎น

ข้อสังเกต การเป็นเจ๎าหน้ีรํวมน้ันกํอให๎เกิดประโยชน๑แกํเจ๎าหน้ีมากกวําเจ๎าหน้ี
ธรรมดา เชนํ นาย ก. และนาย ข. ในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม ให๎นาย ค. ก๎ูยืมเงินไป 100,000 บาท
ดังน้ี นาย ก. มีสิทธิเรียกให๎นาย ค. ชําระหน้ี 100,000 บาท แตํถ๎านาย ก. ให๎นาย ค. ก๎ูยืม
เงินไป 50,000 บาท และนาย ข. ให๎นาย ค. ก๎ูยืมเงินไป 50,000 บาท ดังน้ี นาย ก. มีสิทธิ
เรียกใหน๎ าย ค. ชาํ ระหนี้ 50,000 บาท เทํานัน้

คาพิพากษาศาลฎีกาท่เี กยี่ วขอ้ ง
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 174/2491 ผู๎ขายทําสัญญาจะขายทรัพย๑สินแกํผ๎ูซ้ือซึ่ง
รวํ มกนั หลายคน ดงั นี้ ถอื วําผซ๎ู อ้ื แตลํ ะคนเป็นเจ๎าหนี้รํวมกัน ผ๎ูซ้ือซึ่งเป็นเจ๎าหนี้รํวมเพียงคน
เดยี วจงึ มีสิทธิท่ีจะฟ้องผ๎ูขายซ่ึงเป็นลูกหนี้ให๎ชําระหนี้ท้ังหมดได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑มาตรา 298
คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 426/2526 สิทธิเรียกร๎องคําชดเชยซ่ึงเป็นมรดกตกทอด
แกํทายาทของลูกจ๎างผู๎ถึงแกํความตายนั้น ทายาทแตํละคนมีสิทธิเรียกให๎ชําระหนี้ส้ินเชิงได๎
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 298 โจทก๑ซึ่งเป็นทายาทคนหนึ่ง จึงมีสิทธิ
เรยี กร๎องคําชดเชยท้ังหมดจากจาํ เลยได๎ โดยไมํจําตอ๎ งไดร๎ บั ความยินยอมจากทายาทคนอื่น
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7846/2543 จําเลยตกลงจะขายที่ดินให๎แกํโจทก๑และ
จําเลยรํวม โจทกแ๑ ละจําเลยรํวมจึงมีฐานะเป็นเจ๎าหนี้รํวม ดังนั้น โจทก๑แตํผู๎เดียวจึงมีอํานาจ
ฟอ้ งจําเลยให๎โอนท่ีดนิ ใหแ๎ กํโจทก๑ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 298
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6040/2545 จําเลยเป็นผ๎ูวําจ๎าง สํวนจําเลยรํวมและ
โจทก๑เปน็ ผ๎ูรับจ๎าง เม่ือโจทก๑และจําเลยรํวมมีฐานะเป็นเจ๎าหน้ีรํวมในหนี้คําจ๎าง จําเลยจึงมี
สทิ ธทิ ี่จะชาํ ระหนใ้ี ห๎แกํโจทก๑หรือจําเลยรํวมคนใดคนหน่ึงก็ได๎ตามแตํจะเลือก ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 298

11. ผลของการเปน็ เจ้าหน้รี ่วมต่อลกู หน้ี
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 299 บัญญัติวํา “การที่เจ๎าหน้ีรํวมกัน

คนหนึง่ ผดิ นัดนน้ั ยํอมเป็นโทษแกเํ จา๎ หนี้คนอนื่ ๆ ด๎วย”
ถ๎าสิทธิเรียกร๎องและหน้ีสินนั้นเป็นอันเกลื่อนกลืนกันไปในเจ๎าหนี้รํวมกันคนหนึ่ง

สิทธขิ องเจ๎าหนีค้ นอืน่ ๆ อันมีตํอลูกหน้กี ็ยอํ มเป็นอนั ระงับสิ้นไป
นอกจากน้ี ทํานให๎นําบทบัญญัติแหํงมาตรา 292, 293 และ 295 มาใช๎บังคับด๎วย

โดยอนุโลม กลําวโดยเฉพาะก็คือ แม๎เจ๎าหนี้รํวมกันคนหน่ึงจะโอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกํบุคคล
อน่ื ไปกห็ ากระทบกระท่ังถึงสิทธิของเจา๎ หนค้ี นอ่นื ๆ ด๎วยไมํ”

250

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 299 วรรคแรก หมายความวํา การที่
เจ๎าหนี้รํวมกันคนคนใดหน่ึงผิดนัด ยํอมเป็นโทษแกํเจ๎าหนี้รํวมคนอื่น ๆ ด๎วย เชํน นาย ก.
และนาย ข. ใหน๎ าย ค. ก๎ูยืมเงนิ ไป ในฐานะเจา๎ หนรี้ ํวม ตํอมาเมื่อถึงกําหนดชําระหน้ี นาย ค.
มีสิทธิเลือกวําจะชําระหน้ีให๎แกํนาย ก. และนาย ข. ก็ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 298 เม่ือนาย ค. เลือกที่จะชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. โดยได๎ขอปฏิบัติชําระหน้ี
ตํอนาย ก. แตํนาย ก. ไมํยอมรับชําระหนี้โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอ๎างได๎ตามกฎหมาย
นาย ก. จงึ ตกเป็นผผ๎ู ิดนดั ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 207 ซ่ึงการนาย ก.
ตกเปน็ ผผ๎ู ิดนดั นยี้ ํอมเป็นโทษแกนํ าย ข. ดว๎ ย ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา
299 วรรคแรก อันมีผลคือ ทําให๎นาย ค. หลุดพ๎นจากความรับผิดอันเกิดแตํการไมํชําระหน้ี
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 330 และเจ๎าหน้ีรํวมทุกคนจะคิดดอกเบี้ยใน
ระหวํางท่เี จา๎ หนผ้ี ดิ นดั ไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 221

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 299 วรรคสอง หมายความวํา ถ๎า
สิทธิเรยี กรอ๎ งและหนส้ี ินน้นั เป็นอันเกลอ่ื นกลืนกนั ไปในเจ๎าหน้ีรํวมกนั คนหนึ่ง สิทธิของเจา๎ หนี้
คนอนื่ ๆ อันมีตํอลูกหน้ีก็ยํอมเป็นอันระงับส้ินไป เชํน นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. กู๎ยืม
เงินไป ในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม ตํอมา นาย ก. ได๎ถึงแกํความตาย โดยได๎ทําพินัยกรรมยกมรดก
ของตนท้ังหมดใหแ๎ กนํ าย ค. หนี้ระหวํางนาย ก. และนาย ค. จึงระงับไปด๎วยหน้ีเกล่ือนกลืน
กนั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 353 และหนรี้ ะหวาํ งนาย ข. และนาย ค.
ก็ระงับไปด๎วย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 299 วรรคสอง แตํอยํางไรก็ดี
ในระหวํางนาย ข. และนาย ค. ในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม นาย ข. มีสิทธิเรียกร๎องจากนาย ค. ได๎
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 300

ข้อสังเกต ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 299 วรรคสอง บัญญัติ
แตกตํางจากประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 295 ซึ่งกําหนดวําถ๎าหนี้ของลูกหน้ี
รํวมคนใดคนหนง่ึ เกล่อื นกลนื กนั จะเป็นคุณแตเํ ฉพาะแกํลกู หนคี้ นน้ันเทํานนั้

ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 299 วรรคสาม อธิบายได๎ดังนี้
1. ให๎นาํ บทบญั ญัตแิ หํงมาตรา 292 มาใช๎บังคับด๎วยโดยอนุโลม หมายความวํา การ
ท่ีลูกหน้ีชําระหน้ีให๎แกํเจ๎าหนี้คนใดคนหนึ่ง หรือได๎กระทําการใด ๆ แทนชําระหนี้ให๎แกํ
เจ๎าหนค้ี นใดคนหนึง่ หรอื ได๎วางทรพั ย๑สนิ แทนชําระหนี้ หรอื ไดห๎ ักกลบลบหนี้กับเจ๎าหนี้คนใด
คนหนึ่ง ยํอมมีผลให๎หน้ีระงับ และเจ๎าหนี้รํวมคนอ่ืน ๆ จะเรียกให๎ลูกหนี้ชําระหน้ีอีกไมํได๎
นอกจากนัน้ ถา๎ ลูกหนมี้ ีสทิ ธหิ กั กลบลบหนี้กับเจา๎ หน้รี ํวมคนใด ลูกหน้ีจะเอาสิทธิอันนั้นไปใช๎
หกั กลบลบหนีก้ บั เจ๎าหนี้คนอน่ื หาได๎ไมํ

251

2. ให๎นําบทบัญญัติแหํงมาตรา 293 มาใช๎บังคับด๎วยโดยอนุโลม หมายความวํา ถ๎า
เจา๎ หนร้ี วํ มคนใดปลดหนใี้ หแ๎ กํลกู หนี้ ยํอมเปน็ โทษแกํเจ๎าหน้ีรํวมคนอื่น ๆ เพียงเทําสํวนของ
เจ๎าหนร้ี วํ มทไ่ี ด๎ปลดให๎ เวน๎ แตจํ ะได๎ตกลงกนั เปน็ อยํางอืน่

ตัวอยา่ งที่ 1 นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหนี้ให๎แกํนาย ค. หน้ีระหวํางนาย ก. และนาย ค.
จงึ ระงับ และการปลดหนนี้ ี้ยํอมเป็นโทษแกํเจ๎าหนรี้ วํ มคนอ่ืน ๆ เพียงเทําสํวนของเจ๎าหนี้รํวม
ทไี่ ดป๎ ลดให๎ เมื่อในกรณนี ้ี หนใ้ี นระหวาํ งเจา๎ หนร้ี วํ มกันน้ัน มิได๎กําหนดไว๎วําเจ๎าหน้ีรํวมแตํละ
คนชอบท่ีจะได๎รับชําระหน้ีคนละเทําใด เจ๎าหนี้รํวมแตํละคนจึงชอบท่ีจะได๎รับชําระหน้ีเป็น
สวํ นเทํา ๆ กนั คอื คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 300
ดังน้ี นาย ค. จึงต๎องผูกพันชําระหน้ีให๎แกํนาย ข. ตํอไปอีก 50,000 บาท ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 299 ประกอบมาตรา 293

ตวั อย่างที่ 2 นาย ก. และนาย ข. ใหน๎ าย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหนร้ี วํ ม ตอํ มานาย ก. ไดป๎ ลดหน้ีใหแ๎ กนํ าย ข. หน้ีระหวาํ งนาย ก. และนาย ค. จึง
ระงับ และเม่อื การปลดหนีน้ ้นั เจ๎าหนร้ี ํวมและลกู หนไ้ี ด๎ตกลงกันวาํ การท่เี จ๎าหนรี้ วํ มคนใดคน
หนง่ึ ปลดหนี้ให๎แกํลูกหนี้นั้น ให๎เป็นโทษแกํเจ๎าหนี้คนน้ันเทําน้ัน มิให๎เป็นโทษแกํเจ๎าหน้ีรํวม
คนอื่น ๆ ดังนี้ นาย ค. ก็ต๎องผูกพันชําระหนี้ให๎แกํนาย ข. ตํอไปอีก 100,000 บาท ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 299 ประกอบมาตรา 293

3. ใหน๎ ําบทบัญญัติแหงํ มาตรา 295 มาใช๎บังคับด๎วยโดยอนุโลม หมายความวํา เม่ือ
เป็นเรื่องของเจ๎าหน้ีรํวมคนใดคนหน่ึงก็ยํอมคุณและโทษแตํเฉพาะแกํเจ๎าหน้ีคนนั้นเทําน้ัน
เชํน การให๎คําบอกกลําว การทห่ี ยิบยกอา๎ งความผิด กําหนดอายุความ การที่อายุความสะดุด
หยุดลง ฯลฯ

ข้อสงั เกต การผดิ นัดและหนี้เกลื่อนกลืนกันมีกําหนดไว๎แล๎วในประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 299 วรรคแรก และวรรคสอง จึงไมํนําประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 295 มาใชโ๎ ดยอนุโลมอกี

4. แม๎เจ๎าหน้ีรํวมกันคนหน่ึงจะโอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกํบุคคลอื่นไป ก็หา
กระทบกระทง่ั ถงึ สิทธขิ องเจ๎าหน้ีคนอ่ืน ๆ ด๎วยไมํ กลําวคือ ผ๎ูรับโอนสิทธิเรียกร๎องจะเข๎ามา
เป็นเจา๎ หนรี้ ํวมแทนผู๎โอนสทิ ธเิ รยี กรอ๎ ง โดยจะอยูใํ นฐานะเดยี วกับผู๎โอนสิทธิเรียกร๎อง ดังน้ัน
การโอนสทิ ธิเรยี กรอ๎ งใหแ๎ กบํ ุคคลอนื่ ไป จงึ ไมํกระทบกระทั่งถงึ สิทธิของเจ๎าหนรี้ วํ มคนอ่ืน ๆ

12. การแบง่ สว่ นระหว่างเจา้ หนร้ี ว่ มด้วยกันเอง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 300 บัญญัติวํา “ในระหวํางเจ๎าหนี้

รวํ มกันนนั้ ทาํ นวําตาํ งคนชอบที่จะได๎รับชําระหน้ีเป็นสํวนเทํา ๆ กัน เว๎นแตํจะได๎กําหนดไว๎
เปน็ อยํางอ่ืน”

252

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 300 เป็นผลที่เกิดข้ึนหลังจากท่ี
ลูกหนี้ได๎ชาํ ระหน้ใี ห๎แกํเจ๎าหนี้แล๎ว ซึง่ อธิบายไดด๎ ังน้ี

1. “ในระหวํางเจ๎าหนี้รํวมกันนั้น ทํานวําตํางคนชอบที่จะได๎รับชําระหน้ีเป็นสํวน
เทํา ๆ กนั ” หมายความวํา ถ๎าในระหวํางเจ๎าหนี้รํวมกันทั้งหลายนั้นมิได๎กําหนดไว๎วําเจ๎าหนี้
รํวมแตํละคนชอบท่ีจะได๎รับชําระหน้ีคนละเทําใด เจ๎าหนี้รํวมแตํละคนชอบท่ีจะได๎รับชําระ
หน้เี ปน็ สํวนเทาํ ๆ กัน เชนํ นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. กูย๎ มื เงนิ ไปจาํ นวน 100,000 บาท
ในฐานะเจ๎าหนี้รํวม โดยในระหวํางเจ๎าหน้ีรํวมกันทั้งหลายนั้นมิได๎กําหนดไว๎วําเจ๎าหนี้รํวม
แตํละคนชอบทจี่ ะไดร๎ ับชําระหนีค้ นละเทําใด เจ๎าหน้ีรํวมแตํละคนจึงชอบที่จะได๎รับชําระหน้ี
เป็นสํวนเทาํ ๆ กนั คือ คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
300 ตอํ มานาย ค. ไดช๎ าํ ระหน้ีใหแ๎ กํนาย ก. ไปจาํ นวน 100,000 บาท ดงั นี้ นาย ข. จึงมีสิทธิ
เรยี กสํวนแบงํ จากนาย ก. ได๎ 50,000 บาท เปน็ ต๎น

2. “เวน๎ แตํจะไดก๎ าํ หนดไว๎เป็นอยาํ งอ่นื ” หมายความวาํ ถ๎าในระหวํางเจา๎ หน้ีรํวมกัน
ทั้งหลายนั้น ได๎มีการกําหนดกันไว๎วําเจ๎าหน้ีรํวมแตํละคนชอบที่จะได๎รับชําระหนี้คนละ
เทาํ ใด กต็ ๎องเป็นไปตามนั้น เชํน นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. กยู๎ ืมเงินไปจํานวน 100,000
บาท ในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม โดยในระหวํางเจ๎าหนี้รํวมกันนั้น ได๎มีการกําหนดไว๎วํา
นาย ก. มีสิทธิได๎รับชําระหน้ี 70,000 บาท สํวนนาย ข. มีสิทธิได๎รับชําระหนี้ 30,000 บาท
นาย ก. และนาย ข. จึงมีสิทธิได๎รับชําระหน้ีตามท่ีได๎มีการกําหนดไว๎นั้น ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 300 ตํอมานาย ค. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปจํานวน
100,000 บาทดังน้ี นาย ข. จึงมีสิทธเิ รียกสวํ นแบํงจากนาย ก. ได๎ 30,000 บาท เปน็ ตน๎

ข้อสังเกต ลกู หนี้จะชําระหนใี้ ห๎แกเํ จ๎าหนี้รํวมคนใดคนหน่ึงก็ได๎ตามแตํจะเลือก ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 298 แตสํ ิทธิในการได๎รับชําระหนี้ของเจ๎าหนี้รํวม
แตํละคนนั้น จะเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 300 ข๎อ 1-2 ท่ีได๎
อธบิ ายไปข๎างตน๎

13. หนอ้ี ันจะแบ่งกนั ชาระมไิ ด้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 301 บัญญัติวํา “ถ๎าบุคคลหลายคน

เป็นหนอ้ี นั จะแบงํ กนั ชําระมิได๎ ทาํ นวําบุคคลเหลํานั้นตอ๎ งรบั ผิดเชํนอยํางลูกหนร้ี ํวมกนั ”
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 301 หมายความวํา ถ๎าบุคคลหลาย

คนเป็นหน้ีอันจะแบํงกันชําระมิได๎ บุคคลเหลํานั้นต๎องรับผิดเชํนอยํางลูกหน้ีรํวมกัน โดยหน้ี
อนั จะแบงํ กันชําระมิได๎ อาจเกดิ ไดจ๎ ากกรณดี งั ตอํ ไปนี้

1. สภาพแหํงทรัพย๑ เชํน นาย ก. และนาย ข. รํวมกันทําสัญญาขายควายให๎แกํ
นาย ค. 1 ตัว เปน็ ต๎น

253

2. บทบัญญตั ขิ องกฎหมาย เชํน กฎหมายลักษณะห๎ุนสวํ นบรษิ ัทกําหนดวําห๎ุนนั้นจะ
แบํงแยกมิได๎ เปน็ ตน๎

3. ข๎อตกลงระหวํางคูํกรณี เชํน นาย ก. จ๎างนาย ข. และนางสาว ค. มาร๎องเพลง
คูํกัน เป็นตน๎

ผลของการเป็นลูกหน้ีรํวม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 301 น้ี
แตกตํางจากการเป็นลูกหนี้รํวม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 291
เนอ่ื งจากผลของการเป็นลูกหนีร้ ํวม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 301 น้ัน
โดยสภาพแหงํ หนีเ้ ปน็ หน้ีท่ีแบํงกนั ชาํ ระมไิ ด๎ ลกู หน้ีรํวมทุกคนจึงต๎องรํวมกันชําระหนี้ ลูกหนี้
รํวมคนใดคนหนึ่งยอํ มชาํ ระหนี้โดยส้นิ เชงิ ไมํได๎84

14. เจา้ หนี้หลายคนในหนอี้ ันจะแบ่งกันชาระมไิ ด้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 302 บัญญัติวํา “ถ๎าการชําระหน้ีเป็น

การอันจะแบํงกันชําระมิได๎ และมีบุคคลหลายคนเป็นเจ๎าหนี้ ถ๎าบุคคลเหลําน้ันมิได๎เป็น
เจ๎าหน้ีรํวมกันไซร๎ ทํานวําลูกหน้ีได๎แตํจะชําระหนี้ให๎ได๎ประโยชน๑แกํบุคคลเหลํานั้นทั้งหมด
ด๎วยกัน และเจ๎าหนี้แตํละคนจะเรียกชําระหน้ีได๎ก็แตํเพ่ือได๎ประโยชน๑ด๎วยกันหมดทุกคน
เทําน้ัน อน่ึง เจ๎าหน้ีแตํละคนจะเรียกให๎ลูกหน้ีวางทรัพย๑ที่เป็นหน้ีน้ันไว๎ เพ่ือประโยชน๑แหํง
เจ๎าหนี้หมดทุกคนด๎วยกันก็ได๎ หรือถ๎าทรัพย๑น้ันไมํควรแกํการจะวางไว๎ก็ให๎สํงแกํผ๎ูพิทักษ๑
ทรัพย๑ซ่ึงศาลจะไดต๎ ้งั แตงํ ขนึ้

นอกจากน้ี ข๎อความจรงิ ใดที่เทา๎ ถึงเจา๎ หน้ีคนหนึ่งเทําน้ัน หาเป็นไปเพื่อคุณหรือโทษ
แกํเจ๎าหนี้คนอื่น ๆ ด๎วยไมํ”

ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 302 วรรคแรก หมายความวํา กรณี
ที่มีเจ๎าหนี้หลายคนในหนี้อันจะแบํงกันชําระมิได๎ โดยเจ๎าหน้ีแตํละคนนั้นมิใชํเจ๎าหน้ีรํวม
ลูกหน้ีต๎องชาํ ระหน้ใี ห๎ไดป๎ ระโยชน๑แกํบุคคลเหลําน้ันทั้งหมดด๎วยกัน และเจ๎าหนี้แตํละคนจะ
เรียกชําระหนี้ได๎ก็แตํเพ่ือได๎ประโยชน๑ด๎วยกันหมดทุกคนเทํานั้น โดยหากไมํสามารถที่จะ
ตกลงกันได๎ เจ๎าหนี้แตํละคนจะเรียกให๎ลูกหน้ีวางทรัพย๑ที่เป็นหน้ีน้ันไว๎เพ่ือประโยชน๑แหํง
เจ๎าหนี้หมดทุกคนด๎วยกันก็ได๎ หรือถ๎าทรัพย๑นั้นไมํควรแกํการจะวางไว๎ก็ให๎สํงแกํผ๎ูพิทักษ๑
ทรพั ยซ๑ ึ่งศาลจะได๎ตั้งแตํงขนึ้ ก็ได๎

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 302 วรรคสอง หมายความวํา เมื่อ
เจ๎าหนี้หลายคนในหนอ้ี นั จะแบํงกันชาํ ระมิได๎น้ัน มิใชเํ จา๎ หน้รี ํวม ข๎อความจริงที่เป็นเรื่องของ
เจ๎าหน้ีคนหน่ึงคนใด ยอํ มไมเํ ปน็ คุณหรือเป็นโทษแกํเจ๎าหน้คี นอน่ื ๆ ดว๎ ย

84เร่อื งเดียวกัน, หนา๎ 395.

254

15. บทสรุป
15.1 ลกู หนี้และเจา้ หนี้หลายรายในหนแี้ บ่งชาระได้ ถ๎าการชําระหน้เี ป็นการอันจะ

แบงํ กนั ชําระได๎ และมีบุคคลหลายคนเป็นลูกหนี้ หรือมีบุคคลหลายคนเป็นเจ๎าหนี้ เมื่อกรณี
เป็นทสี่ งสยั ลกู หนแ้ี ตํละคนจะต๎องรับผิดเพยี งเปน็ สวํ นเทํา ๆ กัน และเจ๎าหน้ีแตํละคนก็ชอบ
ที่จะได๎รับแตํเพียงเป็นสํวนเทํา ๆ กัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
290 เชํน นาย ก. และนาย ข. ไปกู๎ยืมเงินมาจากนาย ค. จํานวน 100,000 บาท โดยมิได๎มี
การตกลงกันไว๎วํานาย ก. และนาย ข. จะตอ๎ งรํวมกนั ชําระหน้ใี ห๎แกํเจ๎าหนใี้ นฐานะลูกหน้ีรํวม
เปน็ กรณีท่ีการชําระหนี้เป็นการอันจะแบํงกันชําระได๎ และมีบุคคลหลายคนเป็นลูกหนี้ เมื่อ
กรณีเป็นที่สงสัย ลูกหน้ีแตํละคนจึงต๎องรับผิดเพียงเป็นสํวนเทํา ๆ กัน ดังนั้น นาย ก. และ
นาย ข. จึงตอ๎ งชําระหนีเ้ พียงคนละ 50,000 บาท

15.2 ลกู หน้รี ว่ มและผลบังคับท่ัวไป ถ๎าบุคคลหลายคนจะต๎องทําการชําระหนี้โดย
ทํานองซงึ่ แตํละคนจาํ ต๎องชาํ ระหนี้สนิ้ เชิง แม๎ถงึ วาํ เจา๎ หน้ีชอบทจี่ ะไดร๎ ับชาํ ระหน้ีสิ้นเชิงได๎แตํ
เพียงคร้ังเดียว (กลําวคือลูกหน้ีรํวมกัน) เจ๎าหนี้จะเรียกชําระหน้ีจากลูกหนี้แตํคนใดคนหน่ึง
ส้ินเชิงหรือแตํโดยสํวนก็ได๎ตามแตํจะเลือก แตํลูกหน้ีท้ังปวงก็ยังคงต๎องผูกพันอยูํท่ัวทุกคน
จนกวําหน้ีน้นั จะไดช๎ าํ ระเสร็จส้นิ เชงิ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 291
เชํน นาย ก. และนาย ข. ไปกู๎ยืมเงินมาจากนาย ค. 100,000 บาท โดยตกลงกันไว๎วํานาย ก.
และนาย ข. จะรํวมกันชําระหน้ีให๎แกํนาย ค. ในฐานะลูกหน้ีรํวม ดังน้ี นาย ค. จะเรียกให๎
นาย ก. ชําระหนี้ 30,000 บาท ก็ได๎ และถ๎านาย ก. ชําระหนี้ไป 30,000 บาท แล๎ว ลูกหน้ีท้ัง
ปวงก็ยังคงต๎องผูกพันอยํูท่ัวทุกคนจนกวําหน้ีนั้นจะได๎ชําระเสร็จสิ้นเชิง ดังน้ัน นาย ค. จะ
เรียกชําระหน้จี ากนาย ก. อีก 70,000 บาท กไ็ ด๎ เปน็ ต๎น

15.3 ลูกหน้ีร่วมคนใดคนหน่ึงชาระหน้ี การที่ลูกหนี้รํวมกันคนหนึ่งชําระหน้ีน้ัน
ยอํ มได๎เป็นประโยชน๑แกํลูกหนี้คนอ่ืน ๆ ด๎วย วิธีเดียวกันน้ีทํานให๎ใช๎บังคับแกํการ ใด ๆ อัน
พึงกระทําแทนชําระหน้ี วางทรัพย๑สินแทนชําระหนี้ และหักกลบลบหนี้ด๎วย ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคแรก เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. กู๎ยืม
เงินไปในฐานะลกู หนี้รวํ ม ตอํ มาหากนาย ข. ได๎ชําระหน้ี หรือกระทําการใด ๆ แทนการชําระ
หน้ี หรอื วางทรัพย๑สินแทนชําระหนี้ หรือหักกลบลบหน้ี การกระทําของนาย ก. นั้น ยํอมได๎
เป็นประโยชนแ๑ กํนาย ค. ดว๎ ย

15.4 การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ร่วมคนหน่ึงคนใด การปลดหนี้ให๎แกํลูกหนี้รํวมกัน
คนหน่งึ น้นั ยํอมเปน็ ไปเพ่อื ประโยชนแ๑ กลํ กู หนี้คนอ่ืน ๆ เพียงเทําสํวนของลูกหน้ีที่ได๎ปลดให๎
เวน๎ แตจํ ะไดต๎ กลงกนั เป็นอยาํ งอืน่ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑มาตรา 293

ตัวอยา่ งท่ี 1 นาย ก. ใหน๎ าย ข. และนาย ค. ก๎ยู ืมเงนิ ไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหน้ีรํวม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหน้ีในสํวนของนาย ข. ให๎แกํนาย ข. ท้ังหมด หน้ี
ระหวาํ งนาย ก. และนาย ข. จึงระงบั ไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340

255

และการปลดหน้ีนน้ั ยอํ มเป็นประโยชนแ๑ กํลูกหนี้รํวมคนอ่นื ๆ คือ นาย ค. ดว๎ ย แตํนาย ค. จะ
ได๎รับประโยชน๑เพียงเทําสํวนของนาย ข. ท่ีได๎ปลดหนี้ไปเทํานั้น หากหน้ีในระหวํางลูกหนี้
รํวมกนั น้ัน มไิ ด๎กําหนดไว๎วําตอ๎ งรับผิดคนละเทําใด ลูกหน้ีรํวมแตํละคนก็ต๎องรับผิดเป็นสํวน
เทํา ๆ กัน คือ คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 296
ดังนั้น หน้ีระหวํางนาย ก. และนาย ค. จึงระงับไป 50,000 บาท และนาย ค. ต๎องผูกพัน
ชาํ ระหนีต้ อํ ไปอกี 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 293

ตัวอยา่ งที่ 2 นาย ก. ใหน๎ าย ข. และนาย ค. ก๎ยู ืมเงนิ ไปจํานวน 100,000 บาท
ในฐานะลูกหน้ีรํวม ตํอมานาย ก. ได๎ปลดหนี้ให๎แกํนาย ข. ท้ังหมด นาย ข. จึงหลุดพ๎นจาก
การชําระหน้ีน้ัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 และเมื่อการปลดหน้ี
น้ัน เจ๎าหนี้และลูกหนี้รํวมทุกคนได๎ตกลงกันวํา ให๎การปลดหนี้แกํลูกหนี้คนใดคนหน่ึงเป็น
ประโยชนแ๑ กํลูกหน้คี นน้ันเทําน้ัน มิให๎เป็นประโยชน๑แกํลูกหน้ีรํวมคนอื่น ๆ นาย ค. จึงไมํได๎
รับประโยชน๑จากการปลดหนี้นั้น และต๎องผูกพันชําระหน้ีตํอไปอีก 100,000 บาท ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 293

15.5 เจ้าหนผ้ี ิดนัดตอ่ ลูกหน้รี ว่ มคนใดคนหนง่ึ การท่ีเจา๎ หนผี้ ิดนดั ตํอลูกหน้ีรํวมกัน
คนหนึ่งนัน้ ยํอมไดเ๎ ปน็ คณุ ประโยชนแ๑ กลํ ูกหนีค้ นอ่ืน ๆ ด๎วย ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 294

15.6 การท่ีเป็นเรื่องเฉพาะตัวของลูกหนี้ ข๎อความจริงอ่ืนใด นอกจากท่ีระบุไว๎ใน
มาตรา 292 ถึง 294 นนั้ เมือ่ เปน็ เรื่องเท๎าถึงตัวลูกหน้ีรํวมกันคนใดก็ยํอมเป็นไปเพ่ือคุณและ
โทษแตเํ ฉพาะแกํลูกหนค้ี นน้ัน เว๎นแตํจะปรากฏวําขัดกับสภาพแหํงหนี้นั้นเอง ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 295

15.7 ความรับผดิ ระหว่างลูกหน้รี ว่ มดว้ ยกนั เอง เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 296 ซ่งึ อธบิ ายไดด๎ ังนี้

1. ถ๎าในระหวํางลูกหนี้รํวมกันทั้งหลายนั้นมิได๎กําหนดไว๎วําต๎องรับผิดคนละ
เทําใด ลูกหน้ีรํวมแตํละคนก็จะต๎องรับผิดเป็นสํวนเทํา ๆ กัน เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และ
นาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท ในฐานะลูกหน้ีรํวม เมื่อในระหวํางลูกหน้ีรํวมกัน
น้ัน มิไดก๎ าํ หนดไว๎วาํ ตอ๎ งรับผดิ คนละเทําใด ลูกหนี้รํวมแตํละคนจึงต๎องรับผิดเป็นสํวนเทํา ๆ
กัน คือ คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 296 เปน็ ต๎น

2. ถา๎ ในระหวาํ งลูกหนรี้ ํวมกันท้ังหลายนั้นได๎มีการกําหนดกันไว๎วําต๎องรับผิด
คนละเทําใด ก็ต๎องเป็นไปตามน้ัน เชํน นาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน
100,000 บาท ในฐานะลกู หน้ีรวํ ม เม่อื ในระหวํางลูกหนรี้ วํ มกนั นัน้ ไดม๎ ีการกําหนดไว๎วํานาย
ข. ต๎องรบั ผดิ 70,000 บาท สํวนนาย ค. ต๎องรับผดิ 30,000 บาท ก็ต๎องเป็นไปตามที่ได๎มีการ
กําหนดไว๎น้นั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 296 เปน็ ต๎น

256

3. ถา๎ ลูกหนีร้ วํ มกันคนใดคนหนงึ่ ไมํสามารถชาํ ระหนี้ได๎ เชํน เป็นคนล๎มละลาย
เปน็ คนหายสาบสูญ ถงึ แกคํ วามตาย โดยไมํมีทรัพย๑สินใด ๆ เลย ฯลฯ ลูกหนี้รํวมคนอื่น ๆ ก็
ตอ๎ งเฉลี่ยกนั รับผดิ ตามสวํ นแทน

4. ถ๎าลูกหน้ีรํวมกันคนใดเจ๎าหนี้ได๎ปลดให๎หลุดพ๎นจากหน้ีอันรํวมกันนั้นแล๎ว
สวํ นท่ลี ูกหน้คี นนน้ั จะพงึ ต๎องชาํ ระหนก้ี ็ตกเป็นพบั แกํเจ๎าหนไี้ ป

15.8 บุคคลหลายคนร่วมกันผูกพันตนในอันจะทาการชาระหน้ี ถ๎าในสัญญา
อนั หนง่ึ อนั ใดมบี ุคคลหลายคนรํวมกันผกู พันตนในอันจะทาํ การชาํ ระหนี้ หากกรณีเป็นทสี่ งสัย
ทํานวาํ บุคคลเหลาํ นน้ั จะตอ๎ งรบั ผิดเชํนอยาํ งเป็นลกู หนร้ี ํวมกนั แมถ๎ งึ วําเปน็ การอันจะแบํงกัน
ชําระหนีไ้ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 297 เชํน นาย ก. และนาย ข. ไป
ก๎ูยืมเงินมาจากนาย ค. จํานวน 100,000 บาท โดยตกลงกันวํา นาย ก. และนาย ข. จะ
รํวมกันชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหนี้ ดังนี้ เม่ือกรณีเป็นที่สงสัยวํานาย ก. และนาย ข. เป็นลูกหน้ี
รํวมกันหรอื ไมํ นาย ก. และนาย ข. จงึ ต๎องรับผดิ อยํางลกู หน้ีรวํ ม ถงึ แมว๎ ําหนน้ี น้ั จะแบํงชําระ
หนไี้ ดก๎ ็ตาม เปน็ ตน๎

15.9 เจ้าหนี้รว่ มและผลบงั คบั ท่วั ไป ถ๎าบุคคลหลายคนมสี ทิ ธิเรยี กร๎องการชําระหน้ี
โดยทํานองซึ่งแตํละคนอาจจะเรียกให๎ชําระหน้ีส้ินเชิงได๎ แม๎ถึงวําลูกหนี้จําต๎องชําระหน้ี
ส้ินเชิงแตเํ พยี งครง้ั เดียว (กลําวคือเจา๎ หนี้รวํ มกนั ) กด็ ี ลูกหน้จี ะชําระหน้ใี หแ๎ กํเจ๎าหน้ีแตํคนใด
คนหนึ่งกไ็ ด๎ตามแตจํ ะเลือก ความขอ๎ น้ใี หใ๎ ชบ๎ งั คบั ได๎ แมท๎ ัง้ ที่เจ๎าหน้ีคนหนงึ่ จะได๎ยื่นฟ้องเรียก
ชําระหน้ีไว๎แล๎ว ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 298 เชํน นาย ก. และ
นาย ข. ให๎นาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000 บาท โดยตกลงกันวํา นาย ก. และนาย ข.
เป็นเจ๎าหนี้รํวม ดงั น้ี นาย ก. และนาย ข. แตลํ ะคนมีสิทธิเรยี กรอ๎ งให๎นาย ค. ชําระหน้ีส้ินเชิง
คือ จํานวน 100,000 บาท และนาย ค. มีสิทธิจะชําระหน้ีให๎แกํนาย ก. หรือนาย ข. ก็ได๎
และแมเ๎ จ๎าหน้รี วํ มคนใดคนหนง่ึ จะไดย๎ ่ืนฟ้องคดีไว๎แลว๎

15.10 ผลของการเป็นเจ้าหนี้ร่วมต่อลูกหน้ี ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 299 อธิบายไดด๎ ังนี้

1. การท่ีเจ๎าหน้ีรํวมกันคนคนใดหน่ึงผิดนัด ยํอมเป็นโทษแกํเจ๎าหนี้รํวมคน
อน่ื ๆ ดว๎ ย

2. ถ๎าสิทธิเรยี กรอ๎ งและหน้ีสินน้ันเป็นอันเกล่ือนกลืนกันไปในเจ๎าหนี้รํวมกัน
คนหนึ่ง สทิ ธิของเจา๎ หนค้ี นอ่นื ๆ อนั มตี อํ ลูกหน้กี ็ยอํ มเป็นอันระงับส้ินไป

3. การที่ลูกหนี้ชําระหน้ีให๎แกํเจ๎าหน้ีคนใดคนหนึ่ง หรือได๎กระทําการใด ๆ
แทนชําระหนใี้ หแ๎ กเํ จา๎ หนี้คนใดคนหนงึ่ หรือไดว๎ างทรพั ย๑สนิ แทนชําระหนี้ หรือได๎หักกลบลบ
หนก้ี บั เจา๎ หนี้คนใดคนหน่ึง ยํอมมีผลให๎หน้ีระงับ และเจ๎าหนี้รํวมคนอ่ืน ๆ จะเรียกให๎ลูกหนี้
ชําระหนีอ้ กี ไมํได๎

257

4. ถ๎าเจ๎าหน้ีรํวมคนใดปลดหน้ีให๎แกํลูกหน้ี ยํอมเป็นโทษแกํเจ๎าหน้ีรํวมคน
อ่นื ๆ เพียงเทําสํวนของเจา๎ หนีร้ วํ มทไี่ ดป๎ ลดให๎ เวน๎ แตจํ ะไดต๎ กลงกันเป็นอยาํ งอ่นื

5. เมือ่ เป็นเร่อื งของเจ๎าหนี้รํวมคนใดคนหน่ึงก็ยํอมคุณและโทษแตํเฉพาะแกํ
เจา๎ หนี้คนน้ันเทํานน้ั เชํน การให๎คําบอกกลําว การท่ีหยิบยกอ๎างความผิด กําหนดอายุความ
การที่อายุความสะดดุ หยดุ ลง ฯลฯ

6. แม๎เจ๎าหนี้รํวมกันคนหน่ึงจะโอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกํบุคคลอื่นไป ก็หา
กระทบกระทัง่ ถงึ สทิ ธิของเจ๎าหนี้คนอ่นื ๆ ด๎วยไมํ

15.11 การแบ่งส่วนระหว่างเจ้าหนี้ร่วมด้วยกันเอง ในระหวํางเจ๎าหนี้รํวมกันน้ัน
เจ๎าหน้ีแตลํ ะคนชอบที่จะได๎รับชําระหนี้เป็นสํวนเทํา ๆ กัน เว๎นแตํจะได๎กําหนดไว๎เป็นอยําง
อื่น ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 300

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. กู๎ยืมเงินไปจํานวน 100,000
บาท ในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม โดยในระหวํางเจ๎าหนี้รํวมกันท้ังหลายนั้นมิได๎กําหนดไว๎วําเจ๎าหนี้
รํวมแตลํ ะคนชอบทีจ่ ะไดร๎ บั ชําระหน้คี นละเทําใด เจ๎าหน้ีรวํ มแตํละคนจึงชอบท่ีจะได๎รับชําระ
หน้ีเป็นสํวนเทํา ๆ กัน คือ คนละ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 300 ตํอมานาย ค. ได๎ชําระหน้ีให๎แกํนาย ก. ไปจํานวน 100,000 บาท ดังน้ี นาย ข.
จงึ มสี ิทธิเรยี กสวํ นแบํงจากนาย ก. ได๎ 50,000 บาท

ตัวอย่างที่ 2 นาย ก. และนาย ข. ให๎นาย ค. ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 100,000
บาท ในฐานะเจ๎าหน้ีรํวม โดยในระหวํางเจ๎าหนี้รํวมกันนั้น ได๎มีการกําหนดไว๎วํา
นาย ก. มีสิทธิได๎รับชําระหน้ี 70,000 บาท สํวนนาย ข. มีสิทธิได๎รับชําระหน้ี 30,000 บาท
นาย ก. และนาย ข. จึงมีสิทธิได๎รับชําระหน้ีตามที่ได๎มีการกําหนดไว๎น้ัน ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 300 ตํอมานาย ค. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปจํานวน
100,000 บาทดงั นี้ นาย ข. จงึ มีสทิ ธิเรียกสวํ นแบํงจากนาย ก. ได๎ 30,000 บาท

15.12 หน้ีอันจะแบง่ กนั ชาระมไิ ด้ ถ๎าบุคคลหลายคนเปน็ หนอ้ี ันจะแบงํ กันชําระมิได๎
ทํานวําบุคคลเหลํานั้นต๎องรับผิดเชํนอยํางลูกหนี้รํวมกัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 301 เชํน นาย ก. จ๎างนาย ข. และนางสาว ค. มาร๎องเพลงคํูกัน นาย ก.
และนาย ข. ต๎องรวํ มกนั ชาํ ระหนีใ้ หแ๎ กนํ าย ค. โดยการรอ๎ งเพลงคูกํ นั เป็นต๎น

15.13 เจ้าหน้ีหลายคนในหน้ีอันจะแบ่งกันชาระมิได้ กรณีท่ีมีเจ๎าหน้ีหลายคนใน
หนี้อันจะแบํงกันชําระมิได๎ โดยเจ๎าหน้ีแตํละคนนั้นมิใชํเจ๎าหน้ีรํวม ลูกหน้ีต๎องชําระหน้ีให๎ได๎
ประโยชนแ๑ กํบคุ คลเหลาํ นัน้ ทงั้ หมดดว๎ ยกนั และเจ๎าหน้ีแตํละคนจะเรียกชําระหน้ีได๎ก็แตํเพ่ือ
ไดป๎ ระโยชน๑ดว๎ ยกันหมดทุกคนเทําน้ัน และข๎อความจริงท่ีเป็นเร่ืองของเจ๎าหน้ีคนหนึ่งคนใด
ยํอมไมํเป็นคุณหรือเป็นโทษแกํเจ๎าหนี้คน ๆ ด๎วย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 302

258

16. คาถามท้ายบท
ข๎อ 1. นายเอก นายโท และนายตรี รํวมกันกู๎ยืมเงินจากนายธนากรในฐานะลูกหนี้

รํวม จํานวน 3,000,000 บาท มกี ําหนดชาํ ระหนวี้ ันท่ี 1 มกราคม 2562 โดยนายเอก นายโท
และนายตรี ได๎ตกลงกันไว๎วํานายเอกต๎องรับผิดชอบในหน้ีจํานวนน้ี 500,000 บาท นายโท
ต๎องรับผิดชอบในหน้ีจํานวนน้ี 1,500,000 บาท และนายตรีต๎องรับผิดชอบในหน้ีจํานวนน้ี
500,000 บาท ตํอมา นายธนากรได๎ไปฟ้องคดีเรียกให๎นายเอกชําระหน้ีให๎แกํตนจํานวน
3,000,000 บาท นายเอกตํอส๎ูวําตนต๎องรับผิดชอบในหน้ีจํานวนน้ีเพียง 500,000 บาท
เทาํ นนั้

ดังน้ี นายธนากรจะฟ้องคดีเรียกให๎นายเอกชําระหน้ีให๎แกํตนจํานวน 3,000,000
บาท ไดห๎ รือไมํ

หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 291
วินิจฉยั นายธนากรซึง่ เปน็ เจา๎ หนจ้ี ะเรยี กชาํ ระหนี้จากนายเอก นายโท และนายตรี
ซึ่งเปน็ ลกู หน้ีรํวม แตํคนใดคนหนึ่งสิ้นเชิงหรือแตํโดยสํวนก็ได๎ตามแตํจะเลือก ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 291 ซึ่งขอ๎ ตกลงระหวํางนายเอก นายโท และนายตรี ท่ีได๎
ตกลงกันไว๎วํานายเอกต๎องรับผิดชอบในหนี้จํานวนนี้ 500,000 บาท นั้น เป็นเพียงข๎อตกลง
ระหวาํ งลูกหน้ีรํวมเทําน้นั ไมสํ ามารถยกข้ึนเป็นข๎อตํอสูํเจ๎าหนี้ได๎ ดังน้ัน นายธนากรจึงฟ้อง
คดีเรียกให๎นายเอกชําระหนี้ให๎แกํตนจํานวน 3,000,000 บาท ได๎
สรุป นายธนากรจะฟ้องคดีเรียกให๎นายเอกชําระหนี้ให๎แกํตนจํานวน 3,000,000
บาท ได๎

259

ข๎อ 2. นายเดชา นายดนัย และนายดาว เป็นเจ๎าหนี้รํวมของนายโดํง ในหนี้เงินก๎ู
จํานวน 300,000 บาท โดยหนี้มีกําหนดชําระในวันที่ 1 มกราคม 2563 และในระหวําง
นายเดชา นายดนัย และนายดาว ซึ่งเป็นเจ๎าหนี้รํวมกันนั้น ได๎มีการกําหนดไว๎วํานายเดชามี
สิทธิได๎รับชําระหน้ี 100,000 บาท สํวนนายดนัยมีสิทธิได๎รับชําระหน้ี 150,000 บาท และ
นายดาวมีสิทธิได๎รับชําระหน้ี 50,000 บาท ตํอมาเม่ือหน้ีมีกําหนดชําระนายโดํงได๎นําเงิน
จํานวน 300,000 บาท ไปชําระหนใ้ี หแ๎ กํนายดนัย

ดงั น้ี ใหว๎ นิ ิจฉัยวาํ
1. นายเดชาจะเรียกรอ๎ งให๎นายโดงํ ชําระหนี้ใหแ๎ กตํ นได๎อีกหรือไมํ
2. นายเดชาจะเรยี กรอ๎ งสํวนแบํงจากนายดนยั ได๎หรอื ไมํ เพยี งใด
หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 292, มาตรา 299 วรรค
สาม, มาตรา 300
วนิ จิ ฉัย
1. การท่ีนายเดชา นายดนัย และนายดาว เป็นเจ๎าหน้ีรํวมของนายโดํง ในหน้ีเงิน
จาํ นวน 3 แสนบาท ตํอมาเมือ่ หนี้มีกาํ หนดชาํ ระ นายโดํงได๎นาํ เงินจํานวน 300,000 บาท ไป
ชาํ ระหนใี้ หแ๎ กนํ ายดนัยน้นั เป็นกรณีท่นี ายโดํงซ่ึงเป็นลกู หนี้ได๎ชําระหน้ีให๎แกํนายดนัยซึ่งเป็น
เจ๎าหนี้คนใดคนหนึ่งไป ซ่ึงมีผลให๎หน้ีระงับ และการชําระหน้ีน้ันยํอมผูกพันนายเดชาและ
นายดาวซ่ึงเป็นเจ๎าหนี้รํวมคนอื่น ๆ ด๎วย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
292, มาตรา 299 วรรคสาม ดังน้ัน นายเดชาจะเรียกร๎องให๎นายโดํงชําระหนี้ให๎แกํตนอีก
ไมํได๎
2. การทน่ี ายเดชา นายดนยั และนายดาว ซ่ึงเปน็ เจา๎ หนีร้ ํวมได๎มีการกําหนดกันไว๎วํา
นายเดชามีสิทธิได๎รับชําระหนี้ 100,000 บาท น้ัน เม่ือประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 300 กําหนดวําในระหวํางเจ๎าหน้ีรํวมกันทั้งหลายนั้น หากได๎มีการกําหนดกันไว๎วํา
เจ๎าหนร้ี ํวมแตํละคนชอบทจ่ี ะได๎รับชําระหน้ีคนละเทําใด ก็ต๎องเป็นไปตามน้ัน นายเดชาจึงมี
สิทธิเรียกรอ๎ งสํวนแบํงจากนายดนัยได๎จาํ นวน 100,000 บาท
สรปุ
1. นายเดชาจะเรยี กร๎องใหน๎ ายโดํงชาํ ระหนี้ใหแ๎ กํตนได๎อีกไมํได๎
2. นายเดชาจะเรยี กรอ๎ งสวํ นแบงํ จากนายดนยั ไดจ๎ ํานวน 100,000 บาท

260

บทที่ 9
การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ้ ง
1. บทนา
การโอนสิทธิเรียกร๎องกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 303
ถึงมาตรา 313 โดยการโอนสิทธิเรียกร๎องเป็นความสัมพันธ๑ระหวํางเจ๎าหนี้ ลูกหนี้ และ
บุคคลภายนอก กลําวคือ เจ๎าหนี้มีสิทธิโอนสิทธิเรียกร๎องของตนที่มีอยํูเหนือลูกหน้ีให๎แกํ
บุคคลภายนอกได๎ โดยบุคคลภายนอกผ๎ูรับโอนสิทธิเรียกร๎องน้ีจะเข๎ามาเป็นเจ๎าหน้ีคนใหมํ
แทนเจา๎ หน้ีคนเดิม เชนํ นาย ก. เปน็ ลูกหน้ขี องนาย ข. ตํอมานาย ข. ได๎โอนสิทธิของตนที่จะ
เรียกรอ๎ งให๎นาย ก. ชําระหนี้ ใหแ๎ กนํ าย ค. เปน็ ต๎น

2. การเปรยี บเทยี บการรบั ชว่ งสทิ ธิ การโอนสิทธิเรียกร้อง และการแปลงหน้ีใหม่โดยการ
เปลยี่ นตัวเจา้ หนี้

การรับชํวงสิทธิ การโอนสิทธิเรียกร๎อง และการแปลงหนี้ใหมํโดยการเปลี่ยนตัว
เจ๎าหนี้ มลี กั ษณะคลา๎ ยกนั มาก แตํกฎหมายทัง้ 3 เรอื่ ง มีความแตกตํางกัน กลาํ วคือ

การรบั ชวํ งสิทธิ หมายถงึ การท่ผี ูม๎ ีสํวนไดเ๎ สียในการชําระหน้ีตามที่กฎหมายกําหนด
เข๎าชําระหน้ีแกํเจ๎าหนี้แทนลูกหน้ี อันมีผลทําให๎ผ๎ูน้ันได๎รับชํวงสิทธิตํอมาจากเจ๎าหนี้
เชนํ นาย ก. กย๎ู มื เงนิ มาจากนาย ข. โดยมีนาย ค. เปน็ ผค๎ู ้าํ ประกัน ตํอมานาย ก. ไมํชําระหนี้
นาย ข. จึงเรียกให๎นาย ค. ชําระหน้ีแทน เมื่อนาย ค. ชําระหนี้แล๎ว นาย ค. ยํอมได๎
รับชํวงสิทธิตํอมาจากนาย ข. ที่จะไปเรียกให๎นาย ก. ชําระหนี้เงินกู๎แกํตนได๎ ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 229 (3) หรือนาย ก. ให๎นาย ข. และนาย ค. ก๎ูยืมเงินไป
จํานวน 100,000 บาท ในฐานะลูกหนีร้ ํวม โดยในระหวาํ งลกู หนี้รํวมมิได๎กําหนดไว๎วําต๎องรับ
ผิดคนละเทําใด ตํอมานาย ข. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปจํานวน 100,000 บาท ดังน้ี
นาย ข. จงึ ไดร๎ บั ชํวงสทิ ธิมาไลเํ บี้ยจากนาย ค. ได๎ 50,000 บาท ตามมาตรา 229 (3) เป็นต๎น

การโอนสิทธิเรียกร๎อง หมายถึง การตกลงโอนสิทธิเรียกร๎องระหวํางเจ๎าหน้ีกับ
บุคคลภายนอก ซ่งึ เป็นผ๎ูโอนสทิ ธิเรยี กร๎องกบั ผรู๎ บั โอนสทิ ธิเรียกร๎อง โดยลูกหน้ีไมํจําเป็นต๎อง
ตกลงยนิ ยอมดว๎ ย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 303

การแปลงหนี้ใหมํโดยการเปล่ียนตัวเจ๎าหน้ี หมายถึง การตกลงกันระหวํางคูํกรณีท่ี
เก่ียวข๎องท้ังสามฝ่ายเพ่ือเปล่ียนตัวเจ๎าหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
349

สําหรับการโอนสิทธิเรียกร๎องและการรับชํวงสิทธิ ผู๎รับโอนสิทธิเรียกร๎องและ
ผู๎รับชํวงสิทธิมีสิทธิเพียงเทําท่ีเจ๎าหน้ีมีอยํูเทําน้ัน เชํน อายุความมูลหนี้เดิมมีอยํูเทําไร
ผร๎ู บั โอนสิทธิเรยี กรอ๎ งและผ๎ูรบั ชวํ งสิทธกิ ็มีสทิ ธิในอายุความเทํานั้น เป็นต๎น แตํการแปลงหนี้

261

ใหมํโดยการเปล่ียนตัวเจ๎าหนี้ เป็นผลให๎หน้ีเดิมระงับไปและเกิดเป็นหน้ีใหมํข้ึนมา เชํน
อายุความเดมิ สิ้นสุดไป สํวนหน้ีใหมํก็เรม่ิ นบั อายคุ วามใหมํเป็นตน๎

3. สทิ ธิเรียกร้องที่ห้ามโอน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 303 บญั ญัตวิ าํ “สิทธิเรยี กร๎องน้ันทําน

วําจะพงึ โอนกันได๎ เวน๎ ไว๎แตํสภาพแหงํ สทิ ธินนั้ เองจะไมํเปดิ ชอํ งให๎โอนกันได๎
ความท่ีกลําวมานี้ยอํ มไมํใช๎บงั คับ หากคํูกรณีได๎แสดงเจตนาเป็นอยํางอ่ืน การแสดง

เจตนาเชนํ วําน้ี ทํานห๎ามมใิ ห๎ยกขน้ึ เปน็ ขอ๎ ตํอสู๎บุคคลภายนอกผูก๎ ระทําการโดยสุจรติ ”
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 304 บัญญัติวํา “สิทธิเรียกร๎องเชํนใด

ตามกฎหมายศาลจะสั่งยึดไมํได๎ สทิ ธเิ รียกร๎องเชนํ นั้น ทํานวําจะโอนกนั หาไดไ๎ มํ”
หลัก ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 303 ตอนต๎น บัญญัติวํา “สิทธิ

เรียกรอ๎ งน้นั ทาํ นวาํ จะพงึ โอนกันได๎” หมายความวํา สิทธิเรียกร๎องน้ันยํอมโอนแกํกันได๎ด๎วย
ความตกลงระหวํางเจา๎ หนี้ (ผ๎ูโอนสิทธเิ รยี กร๎อง) กับบุคคลภายนอก (ผ๎ูรับโอนสิทธิเรียกร๎อง)
โดยลกู หน้ีไมํจําเป็นตอ๎ งตกลงยินยอมด๎วย

ทัง้ น้ี สทิ ธิเรียกร๎องจากมูลหน้ีใด ๆ ก็ตาม หากเจ๎าหน้ีมีสิทธิเรียกให๎ลูกหน้ีชําระหนี้
ได๎ ก็ยํอมโอนได๎ท้ังส้ิน ไมวําจะเป็นสิทธิเรียกร๎องที่มีมูลหน้ีจากนิติกรรมสัญญา ละเมิด
จัดการงานนอกส่ัง ลาภมิควรได๎ บทบัญญัติของกฎหมาย และไมํวําสิทธิเรียกร๎องน้ันจะมี
วัตถุแหํงหนี้เป็นการกระทําการหรือการงดเว๎นกระทําการหรือการสํงมอบทรัพย๑สิน ก็
สามารถที่จะโอนสิทธเิ รียกรอ๎ งได๎ทัง้ ส้ิน

นอกจากนัน้ การโอนสทิ ธเิ รียกร๎องจะโอนตอํ ๆ กันไปก่ที อดก็ได๎
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1996/2527 ล. เจ๎าของที่ดินทําสัญญาจะขายท่ีดินให๎แกํ
ม. ตํอมา ม. โอนสิทธิตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินดังกลําวให๎แกํ ก. ดังน้ี ก. จะโอนขายสิทธิ
ตามสญั ญาจะซือ้ ขายท่ดี นิ ดงั กลาํ วใหแ๎ กํ ว. อกี ทอดหนึง่ กไ็ ด๎

ข้อยกเว้น สทิ ธิเรยี กรอ๎ งนนั้ ไมํสามารถโอนได๎ ถา๎ เปน็ กรณีดังตอํ ไปนี้
1. ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 303 วรรคแรกตอนท้าย บัญญัติวํา
“สภาพแหงํ สิทธนิ ้นั เองจะไมเํ ปิดชอํ งให๎โอนกันได๎” หมายความวํา สภาพแหํงสทิ ธนิ ้ันเป็นการ
เฉพาะตัวของเจ๎าหน้ีโดยแท๎ เชํน สิทธิถอนคืนการให๎เพราะเหตุผู๎รับประพฤติเนรคุณ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 531 สิทธิในการเรยี กคําสินไหมทดแทนเพ่ือความ
เสียหายอยํางอื่นอันมิใชํตัวเงิน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 446 วรรค
แรก หมายถึง คําเสียหายท่ีไมอํ าจคํานวณเปน็ เงินได๎ เชนํ คําทนทกุ ข๑ทรมานจากการเจ็บป่วย
หรือกลายเป็นคนพิการหรือเสียโฉม เป็นต๎น สิทธิในการเรียกคําสินไหมทดแทนเพื่อความ
เสยี หายของผู๎หญิงท่ีถูกทําผิดอาญาเป็นทุรศีลธรรม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 446 วรรคสอง สิทธิที่จะได๎รับคําอุปการะเล้ียงดู ตามประมวลกฎหมายแพํงและ

262

พาณิชย๑ มาตรา 1598/38, 1598/41 สิทธิเรียกร๎องคําทดแทนเก่ียวกับสัญญาหมั้น ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 1440 (2), 1447 วรรคสอง

2. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 303 วรรคสองตอนต้น บัญญัติวํา
“คกูํ รณีได๎แสดงเจตนาเปน็ อยํางอ่ืน” หมายความวาํ “ถ๎าคูํกรณี” คือ เจ๎าหนี้และลูกหน้ี “ได๎
แสดงเจตนาไวเ๎ ปน็ อยาํ งอื่น” คอื ไดต๎ กลงหา๎ มโอนสทิ ธิเรยี กร๎อง เจ๎าหน้ีจะโอนสิทธิเรียกร๎อง
นนั้ ไมํได๎

หากเจ๎าหนี้ฝ่าฝืนข๎อตกลงห๎ามโอนสิทธิเรียกร๎องดังกลําว จะเกิดผลดังน้ี
1. ผลในระหวํางเจ๎าหนีแ้ ละบุคคลภายนอก เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 303 วรรคสองตอนท๎าย ซ่งึ บญั ญตั วิ ํา “การแสดงเจตนาเชํนวําน้ี ทํานห๎ามมิ
ให๎ยกข้ึนเป็นข๎อตํอสู๎บุคคลภายนอกผ๎ูกระทําการโดยสุจริต” หมายความวํา หาก
บุคคลภายนอกไมรํ ู๎ถึงขอ๎ ตกลงหา๎ มโอนสิทธิเรียกร๎องระหวํางเจ๎าหนี้และลูกหนี้ ลูกหนี้จะยก
ข๎อตกลงห๎ามโอนสิทธเิ รียกร๎องนน้ั ขึ้นเป็นขอ๎ ตอํ สบู๎ คุ คลภายนอกไมํได๎ แตํหากบุคคลภายนอก
รถ๎ู ึงขอ๎ ตกลงหา๎ มโอนสิทธิเรียกร๎องระหวํางเจ๎าหนี้และลูกหน้ี ลูกหนี้จะยกข๎อตกลงห๎ามโอน
สิทธเิ รียกร๎องน้ันขึ้นเป็นข๎อตํอส๎บู คุ คลภายนอกได๎
ตัวอย่าง นาย ก. ใหน๎ าย ข. กู๎ยืมเงนิ ไป 100,000 บาท โดยนาย ก. และนาย ข.
ได๎ตกลงกันไว๎วาํ หา๎ มโอนสิทธเิ รยี กร๎องนใ้ี ห๎แกบํ ุคคลอ่นื ถา๎ ตํอมานาย ก. ได๎โอนสทิ ธิเรียกร๎อง
นี้ให๎แกํนาย ค. ถ๎านาย ค. รับโอนสิทธิเรียกร๎องนี้มาโดยสุจริต คือ ไมํร๎ูถึงข๎อตกลงห๎ามโอน
สทิ ธเิ รยี กร๎องระหวํางนาย ก. และนาย ข. ดังน้ี นาย ค. มีสิทธิเรียกร๎องให๎นาย ข. ชําระหนี้
ให๎แกํตนได๎ แตํถ๎านาย ค. รับโอนสิทธิเรียกร๎องนี้มาโดยไมํสุจริต คือ รู๎ถึงข๎อตกลงห๎ามโอน
สทิ ธเิ รยี กร๎องระหวาํ งนาย ก. และนาย ข. ดังน้ี นาย ค. ไมํมสี ิทธิเรยี กรอ๎ งให๎นาย ข. ชําระหน้ี
ให๎แกตํ น เปน็ ต๎น
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2230/2558 สัญญาระหวํางจําเลยและบริษัท ค. มี
ขอ๎ ตกลงห๎ามโอนสิทธิเรยี กรอ๎ ง จึงเป็นกรณที ค่ี กูํ รณีได๎แสดงเจตนาเปน็ อยํางอ่นื ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 303 วรรคสอง เมื่อโจทก๑ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกรับโอน
สทิ ธเิ รยี กรอ๎ งโดยไมํสจุ ริต จําเลยจึงไมํต๎องรับผดิ ชําระหนี้ใหแ๎ กโํ จทก๑
ข้อสังเกต ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 303 วรรคสอง
ตอนท๎าย ให๎พิจารณาแตํวําบุคคลภายนอกผ๎ูรับโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นสุจริตหรือไมํเทํานั้น
ไมํตอ๎ งพจิ ารณาวําการโอนสิทธเิ รยี กรอ๎ งนน้ั จะมีการชาํ ระคําตอบแทนหรอื ไมํ
2. ผลในระหวํางเจ๎าหนี้และลูกหน้ี ถ๎าบุคคลภายนอกรับโอนสิทธิเรียกร๎องน้ีมา
โดยสุจริต สิทธิเรียกร๎องก็จะโอนไปยังบุคคลภายนอก หนี้ระหวํางเจ๎าหนี้และลูกหนี้ก็ระงับ
แตํลูกหน้ีสามารถเรยี กคาํ เสียหายจากเจ๎าหน้ไี ด๎

263

3. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 304 บญั ญตั ิวํา “สิทธิเรียกร๎องเชํนใด
ตามกฎหมายศาลจะสั่งยึดไมไํ ด๎ สทิ ธิเรียกรอ๎ งเชํนน้ัน ทํานวาํ จะโอนกนั หาได๎ไมํ” หมายความ
วํา สิทธิเรยี กร๎องใดตามกฎหมายศาลจะสงั่ ยดึ ไมไํ ด๎ สิทธเิ รยี กรอ๎ งน้ันยํอมโอนกนั ไมไํ ด๎

สิทธิเรยี กรอ๎ งที่ตามกฎหมายศาลจะสงั่ ยึดไมไํ ด๎ เชํน
3.1 สิทธิท่ีจะได๎รับคําอุปการะเลี้ยงดู ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 1598/41
3.2 เคร่ืองนุํงหํมหลับนอน เคร่ืองใช๎ในครัวเรือน เครื่องใช๎สอยสํวนตัว
โดยประมาณรวมกันราคาไมํเกินประเภทละสองหมื่นบาท หรือสัตว๑ สิ่งของ เครื่องมือ
เคร่อื งใช๎ ในการประกอบอาชีพเทําที่จําเป็นในการเล้ียงชีพของลูกหน้ีตามคําพิพากษา ราคา
รวมกันโดยประมาณไมํเกินหนึ่งแสนบาท หรือสัตว๑ สิ่งของ เคร่ืองใช๎ และอุปกรณ๑ที่
จําเปน็ ต๎องใช๎ทําหน๎าที่ชํวยหรือแทนอวัยวะ หรือทรัพย๑สินอันมีลักษณะเป็นของสํวนตัวโดย
แท๎ เชํน หนงั สือสาํ หรบั วงศต๑ ระกลู โดยเฉพาะ จดหมาย หรือสมุดบัญชีตําง ๆ หรือทรัพย๑สิน
อยํางใดทีโ่ อนกนั ไมไํ ด๎ตามกฎหมาย หรอื ตามกฎหมายยํอมไมํอยใํู นความรับผิดแหงํ การบังคับ
คดี ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพํง มาตรา 301
3.3 เบย้ี เลยี้ งชีพตามกฎหมาย หรือเงินรายได๎เป็นคราว ๆ ซ่ึงบุคคลภายนอกได๎
ยกให๎เพื่อเลี้ยงชีพ จํานวนไมํเกินเดือนละสองหม่ืนบาท หรือเงินเดือน คําจ๎าง บํานาญ
บาํ เหน็จ เบ้ียหวัด หรือรายไดอ๎ ่นื ในลักษณะเดียวกนั ของข๎าราชการ เจา๎ หน๎าท่ี หรอื ลูกจ๎างใน
หนวํ ยราชการ และเงินสงเคราะห๑ บาํ นาญ หรือบําเหน็จท่ีหนํวยราชการได๎จํายให๎แกํคูํสมรส
หรือญาติท่ียังมีชีวิตของบุคคลเหลํานั้น หรือเงินเดือน คําจ๎าง บํานาญ คําชดใช๎ เงิน
สงเคราะห๑ หรือรายได๎อื่นในลักษณะเดียวกันของพนักงาน ลูกจ๎าง หรือคนงาน ท่ีมิใชํ
ข๎าราชการ เจ๎าหน๎าท่ี หรือลูกจ๎างในหนํวยราชการ ที่นายจ๎างหรือบุคคลอื่นใดได๎จํายให๎แกํ
บุคคลเหลําน้ัน หรือคูํสมรส หรือญาติที่ยังมีชีวิตของบุคคลเหลํานั้น จํานวนไมํเกินเดือนละ
สองหม่ืนบาท หรือบําเหน็จหรือคําชดเชยหรือรายได๎อ่ืนในลักษณะเดียวกันของพนักงาน
ลูกจ๎าง หรือคนงาน ท่ีมิใชํข๎าราชการ เจ๎าหน๎าที่ หรือลูกจ๎างในหนํวยราชการ จํานวนไมํเกิน
สามแสนบาท เงนิ ฌาปนกิจสงเคราะหท๑ ลี่ ูกหนี้ตามคาํ พิพากษาได๎รับอันเนื่องมาแตํความตาย
ของบุคคลอนื่ ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพงํ มาตรา 302 เปน็ ต๎น
ทั้งนี้ เพราะกฎหมายมุํงจะให๎สิทธิเรียกร๎องน้ันเป็นของเจ๎าหนี้น้ันโดยเฉพาะ
ไมํตอ๎ งการใหม๎ กี ารโอนสทิ ธิเรียกร๎องนั้นไปยังบคุ คลอนื่
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3793/2535 การที่ ส. ซึ่งเป็นข๎าราชการทําหนังสือ
ยินยอมให๎หนํวยงานของตนหักเงินเดือนของตนสํงชดใช๎หน้ีให๎แกํเจ๎าหน้ีนั้น มีผลเทํากับ ส.
มอบอํานาจให๎เจา๎ หนี้รับเงนิ เดอื นแทนตนเทํานน้ั ไมํใชํเปน็ การโอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกํเจ๎าหน้ี
เพราะสิทธทิ จี่ ะรบั เงินเดอื นของขา๎ ราชการน้ันจะโอนสทิ ธเิ รียกรอ๎ งกนั ไมไํ ด๎

264

4. ผลของการโอนสิทธเิ รยี กร้อง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 305 บัญญัตวิ ํา “เมอ่ื โอนสทิ ธิเรียกร๎อง

ไปสทิ ธจิ าํ นอง จํานาํ หรือหลักประกันทางธุรกิจที่มีอยํูเกี่ยวพันกับสิทธิเรียกร๎องน้ันก็ดี สิทธิ
อันเกิดขึ้นแตกํ ารค้าํ ประกันท่ใี ห๎ไวเ๎ พือ่ สทิ ธิเรยี กร๎องน้ันกด็ ี ยอํ มตกไปได๎แกผํ รู๎ บั โอนด๎วย

อนึ่ง ผูร๎ บั โอนจะใชบ๎ ุริมสทิ ธใิ ด ๆ ท่ีตนมีอยูํเก่ียวด๎วยสิทธิเรียกร๎องในกรณีบังคับยึด
ทรัพย๑หรอื ลม๎ ละลายนัน้ ก็ได๎”

เม่ือมีการโอนสิทธิเรียกร๎อง จะเกิดผลคือ สิทธิเรียกร๎องของเจ๎าหน้ี (ผู๎โอน) ก็จะ
ระงบั ไป และบคุ คลภายนอก (ผ๎รู ับโอน) ยํอมเข๎ามาเปน็ เจ๎าหนี้แทน โดยเจ๎าหนี้คนใหมํยํอมมี
สิทธิเชํนเดียวกับเจ๎าหน้ีคนเดิม กลําวคือ สิทธิในการเรียกให๎ชําระหนี้ประธานรวมทั้งหน้ี
อปุ กรณ๑ตําง ๆ เชนํ จํานอง จาํ นํา คา้ํ ประกนั หนี้บุริมสิทธิ ยํอมโอนไปยังเจ๎าหนี้คนใหมํ โดย
ผลของกฎหมาย คอื ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 305 แม๎จะไมํมีการตกลงกัน
ไว๎กอํ นในระหวํางเจ๎าหน้ี (ผูโ๎ อน) และบคุ คลภายนอก (ผร๎ู ับโอน) กต็ าม

ตวั อย่างที่ 1 นาย ก. ก๎ูยืมเงินไปจากนาย ข. โดยได๎จํานองที่ดินไว๎เป็นประกันด๎วย
ตํอมานาย ข. โอนสิทธิเรียกร๎องในเงินท่ีได๎ให๎กู๎ยืมไปดังกลําวให๎แกํนาย ค. ดังนี้ นาย ค.
ยํอมจะได๎รับสิทธิจํานองน้ันไปด๎วย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 305
วรรคแรก

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 531/2537 เม่ือการโอนสิทธิเรียกร๎องมีผลสมบูรณ๑ ผลของ
การโอนสิทธิเรียกร๎องยํอมเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 305
กลาํ วคือ สทิ ธิจาํ นองยอํ มตกไปยังผ๎ูรบั โอนดว๎ ย

ตัวอย่างท่ี 2 นาย ก. ขายท่ีดินให๎แกํนาย ข. โดยนาย ข. ได๎ชําระราคาท้ังหมดแล๎ว
แตํนาย ก. ยงั มไิ ดโ๎ อนกรรมสิทธิ์ในท่ีดนิ นน้ั ใหแ๎ กํนาย ข. นาย ข. จึงเปน็ เจา๎ หนี้บุริมสิทธเิ หนือ
อสงั หารมิ ทรพั ยค๑ ือท่ีดินนน้ั โดยมีสิทธิได๎รับชําระหน้ีจากที่ดินน้ันกํอนเจ๎าหนี้รายอ่ืน ๆ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 273 (3) ถ๎าตํอมา นาย ข. ได๎โอนสิทธิเรียกร๎องใน
หนี้ซ้ือขายท่ีดินนี้ให๎แกํนาย ค. ดังน้ี นาย ค. ยํอมจะได๎รับบุริมสิทธิเหนือที่ดินน้ันด๎วย ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 305 วรรคสอง

5. แบบของการโอนสทิ ธเิ รียกรอ้ ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 306 บัญญัติวํา “การโอนหนี้อันจะพึง

ตอ๎ งชําระแกํเจ๎าหนี้คนหนงึ่ โดยเฉพาะเจาะจงน้นั ถ๎าไมํทาํ เป็นหนังสือ ทาํ นวาํ ไมํสมบูรณ๑ อนึ่ง
การโอนหน้ีน้นั ทํานวําจะยกขนึ้ เปน็ ขอ๎ ตอํ ส๎ูลกู หนี้หรือบุคคลภายนอกได๎ แตํเม่ือได๎บอกกลําว
การโอนไปยังลูกหน้ี หรือลูกหนี้จะได๎ยินยอมด๎วยในการโอนนั้น คําบอกกลําวหรือความ
ยินยอมเชนํ วํานท้ี าํ นวําต๎องทาํ เป็นหนังสือ

265

ถ๎าลูกหน้ีทําให๎พอแกํใจผ๎ูโอนด๎วยการใช๎เงิน หรือด๎วยประการอื่นเสียแตํกํอนได๎รับ
บอกกลาํ ว หรอื กอํ นไดต๎ กลงใหโ๎ อนไซร๎ ลกู หนน้ี นั้ ก็เป็นอนั หลุดพน๎ จากหน้ี”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 306 อธบิ าย ได๎ดังนี้
1. บทบญั ญตั ทิ ว่ี าํ “เจ๎าหน้คี นหนงึ่ โดยเฉพาะเจาะจง” หมายความถึงกรณีท่ีลูกหนี้ร๎ู
แนนํ อนวาํ บคุ คลใดคือเจ๎าหน้ี เชํน นาย ก. ก๎ูยืมเงินไปจากนาย ข. ดังน้ี นาย ข. เป็นเจ๎าหนี้
โดยเฉพาะเจาะจง เป็นต๎น สํวนเจ๎าหนี้โดยไมํเฉพาะเจาะจง คือ เจ๎าหน้ีในหนี้ซึ่งต๎องชําระ
ตามเขาส่ัง เชํน ต๋ัวแลกเงิน เป็นต๎น ซ่ึงหลักเกณฑ๑เกี่ยวกับหน้ีซึ่งต๎องชําระตามเขาสั่งได๎
กาํ หนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 309 -313
2. บทบัญญตั ิท่ีวํา “ถา๎ ไมทํ าํ เปน็ หนงั สือ ทํานวาํ ไมสํ มบูรณ๑” หมายความวํา การโอน
สิทธิเรียกร๎องต๎องตามแบบ คือ ต๎องทําเป็นหนังสือระหวํางเจ๎าหน้ี (ผ๎ูโอน) และ
บคุ คลภายนอก (ผู๎รับโอน) ถ๎าการโอนสิทธิเรียกร๎องไมํทําเป็นหนังสือ การโอนสิทธิเรียกร๎อง
น้ันไมํสมบูรณ๑ หรือตกเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306
ประกอบมาตรา 152

ท้ังนี้ คําวํา “ทําเป็นหนังสือ” น้ัน ควรจะต๎องลงลายมือชื่อท้ังสองฝ่าย คือ
ฝ่ายผู๎โอนและผู๎รับโอน แตํศาลฎีกาได๎เคยวินิจฉัยไว๎วํา แม๎ผ๎ูโอนลงลายมือช่ือฝ่ายเดียว
ผ๎รู ับโอนไมํได๎ลงลายมอื ช่อื ดว๎ ย กถ็ ือวาํ มกี ารโอนสทิ ธิเรยี กร๎องโดยทาํ เปน็ หนงั สือแลว๎

คาพิพากษาฎีกาท่ี 1893/2512 การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้น เพียงแตํผ๎ูโอน
ลงลายมอื ชอื่ ฝา่ ยเดยี วก็สมบูรณ๑ ไมํจําตอ๎ งลงลายมือชอื่ ผ๎รู ับโอนด๎วย

คาพพิ ากษาฎีกาที่ 4139/2532 เมื่อประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
306 กําหนดวําการโอนสิทธิเรียกร๎องต๎องทําเป็นหนังสือจึงจะสมบูรณ๑ โดยมิได๎กําหนดวํา
หนังสือโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นจะต๎องลงลายมือช่ือทั้งผ๎ูโอนและผู๎รับโอน ดังนั้น หนังสือโอน
สิทธเิ รียกร๎องที่ได๎ลงลายมอื ชอ่ื เฉพาะผูโ๎ อนฝา่ ยเดียวจึงสมบูรณ๑

ขอ้ สงั เกต การโอนสทิ ธเิ รยี กร๎อง คือ การโอนสิทธิในการรับชําระหนี้ของเจ๎าหน้ี
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 303 -313 สวํ นการโอนหน๎าทใ่ี นการชําระหนี้
ของลกู หนน้ี นั้ จะนําบทบญั ญัติวาํ ด๎วยการโอนสทิ ธิเรยี กรอ๎ งมาใชบ๎ ังคบั โดยอนุโลม คือ ตกลง
กนั เองระหวํางลกู หน้ี (ผโู๎ อน) และบคุ คลภายนอก (ผร๎ู ับโอน) ไมไํ ด๎ ต๎องนําเร่ืองการแปลงหนี้
ใหมดํ ๎วยการเปลี่ยนตัวลกู หน้ีตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 349 และมาตรา
350 มาใช๎บังคับ กลําวคือ ต๎องตกลงกันระหวํางคํูกรณีท่ีเก่ียวข๎องท้ังสามฝ่าย อันได๎แกํ
เจ๎าหน้ี ลูกหน้ี บุคคลภายนอก

3. บทบัญญัติท่ีวํา “การโอนหน้ีนั้นทํานวําจะยกขึ้นเป็นข๎อตํอสู๎ลูกหน้ีหรือ
บุคคลภายนอกได๎ แตํเมื่อได๎บอกกลําวการโอนไปยังลูกหน้ี หรือลูกหนี้จะได๎ยินยอมด๎วยใน
การโอนนั้น คําบอกกลําวหรอื ความยินยอมเชํนวํานี้ทํานวําต๎องทําเป็นหนังสือ” หมายความ
วํา การโอนสิทธเิ รียกรอ๎ งเปน็ สิทธิของเจา๎ หนีท้ ่ีจะโอนสิทธเิ รยี กร๎องให๎แกํบุคคลใดก็ได๎ โดยไมํ

266

ต๎องขอความยินยอมจากลูกหน้ี และแม๎ลูกหนี้จะไมํยินยอม เจ๎าหนี้ก็สามารถท่ีจะโอนสิทธิ
เรียกร๎องได๎ เพราะการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้น ลูกหนี้ไมํได๎รับความเสียหายอยํางใด ๆ เลย
กลําวคือ ลูกหน้ียังคงมีหน๎าที่ในการชําระหนี้เทําเดิมมิได๎เพ่ิมขึ้น เพียงแตํเปลี่ยนตัวเจ๎าหนี้
เทําน้ัน เชํน นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ี นาย ข. จํานวน 1,000,000 บาท ตํอมานาย ก. โอนสิทธิ
เรียกร๎องของตนให๎แกํนาย ค. ดังนี้ นาย ข. ก็มีหน๎าที่ต๎องชําระหนี้เพียง 1,000,000 บาท
เทําเดมิ มิได๎เพม่ิ ข้นึ เปน็ ตน๎

แตอํ ยาํ งไรกด็ ี การโอนสิทธิเรียกร๎องจะยกเป็นข๎อตํอสู๎ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอก
ได๎ เมอื่ 1. ได๎บอกกลําวการโอนไปยังลูกหน้ี หรือ 2. ลูกหนี้จะได๎ยินยอมด๎วยในการโอนน้ัน
โดยคาํ บอกกลาํ วหรอื ความยินยอมนัน้ ตอ๎ งทาํ เป็นหนังสอื ดว๎ ย

กลาํ วคือ หากการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ๎ งได๎ทําเป็นหนังสือระหวํางผู๎โอน (เจ๎าหนี้) และ
ผ๎ูรับโอน (บุคคลภายนอก) แตํไมํได๎มีการบอกกลําวการโอนไปยังลูกหน้ีเป็นหนังสือ หรือ
ลกู หน้ีไมไํ ด๎ยนิ ยอมดว๎ ยในการโอนเป็นหนังสือ การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นสมบูรณ๑ มีผลผูกพัน
ระหวาํ งผโ๎ู อนและผู๎รับโอน แตจํ ะยกการโอนสทิ ธิเรยี กร๎องน้ันขน้ึ เป็นขอ๎ ตํอสลู๎ กู หน้ีไมํได๎ หรือ
การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ๎ งน้ันไมมํ ผี ลผูกพันลกู หนี้นั่นเอง

ตัวอย่างที่ 1 นายหน่ึงเป็นเจ๎าหน้ีเงินกู๎นายสองจํานวน 200,000 บาท
ตอํ มา นายหนงึ่ ได๎ตกลงโอนสิทธเิ รียกร๎องนั้นให๎แกํนายสาม โดยทําสัญญาโอนสิทธิเรียกร๎อง
เป็นหนงั สือ ตอํ มา นายสามได๎บอกกลําวแกํนายสองด๎วยวาจาถึงเรื่องการโอนสิทธิเรียกร๎อง
น้ัน ดังน้ี การโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันสมบูรณ๑ แตํการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันจะยกเป็นข๎อตํอส๎ู
นายสองไมํได๎ กลําวคือ การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นไมํมีผลผูกพันนายสอง ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 306 วรรคแรก นายสองจงึ ต๎องชําระหน้ีให๎แกํนายหน่ึง ไมํ
ตอ๎ งชําระหนใี้ ห๎แกนํ ายสาม

ตัวอย่างที่ 2 นายหน่ึงเป็นเจ๎าหน้ีเงินกู๎นายสองจํานวน 200,000 บาท
ตํอมา นายหนง่ึ ไดต๎ กลงโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นให๎แกํนายสาม โดยทําสัญญาโอนสิทธิเรียกร๎อง
เป็นหนังสือ ตํอมา นายสามได๎บอกกลําวเป็นหนังสือไปยังนายสองถึงเรื่องการโอนสิทธิ
เรยี กร๎องนน้ั ดังน้ี การโอนสิทธิเรยี กร๎องนนั้ สมบูรณ๑ และการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันยกเป็นข๎อ
ตํอสู๎นายสองได๎ กลําวคือ การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นมีผลผูกพันนายสอง ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 306 วรรคแรก นายสองจงึ ต๎องชาํ ระหนใ้ี หแ๎ กํนายสาม

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 290/2518 การโอนสิทธิเรียกร๎องโดยไมํได๎บอกกลําว
การโอนไปยังลกู หนี้ หรอื ลกู หน้ไี มํได๎ยนิ ยอมดว๎ ย มิใชํวําการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นไมํสมบูรณ๑
เป็นแตํจะยกข้นึ ตอํ ส๎ลู ูกหน้มี ไิ ดเ๎ ทาํ น้ัน

267

คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1840/2547 บรษิ ัท ภ. เปน็ เจา๎ หนขี้ องจําเลย บริษัท ภ.
โอนสิทธิเรยี กร๎องใหแ๎ กโํ จทก๑ แตํบริษทั ภ. มิไดบ๎ อกกลาํ วการโอนสิทธิเรียกร๎องดงั กลําวให๎แกํ
จําเลยทราบ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306 วรรคแรก การโอนสิทธิ
เรยี กร๎องดังกลําวจึงไมมํ ีผลผูกพันจําเลย โจทกจ๑ ึงฟอ้ งให๎จําเลยชําระหน้ีไมไํ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4247/2549 จําเลยไดท๎ ําสญั ญาโอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกํ
โจทก๑แลว๎ สวํ นการบอกกลําวการโอนสิทธเิ รยี กร๎องนั้น มผี ลเพียงวาํ หากยงั ไมบํ อกกลําวไปยัง
ลูกหน้ี โจทก๑ก็จะยกเป็นข๎อตํอส๎ูลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกไมํได๎เทํานั้น มิได๎ทําให๎สัญญา
ระหวํางโจทกแ๑ ละจําเลยไมํเป็นการโอนสทิ ธิเรยี กร๎อง

สําหรับการบอกกลําวนั้น กฎหมายไมํได๎กําหนดวําบุคคลใดต๎องเป็นผ๎ูบอกกลําว
ดังน้ัน ผูโ๎ อน (เจา๎ หน้ี) จะเป็นผ๎ูบอกกลําวก็ได๎ หรือผู๎รับโอน (บุคคลภายนอก) จะเป็นผู๎บอก
กลําวก็ได๎ และเม่ือได๎มีการบอกกลําวแกํลูกหนี้แล๎ว การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นก็มีผลผูกพัน
ลูกหนี้ โดยท่ลี กู หนี้ไมํต๎องใหค๎ วามยินยอม

คาพิพากษาฎีกาที่ 228/2482 การโอนสิทธิเรียกร๎องน้ัน ผู๎รับโอน (บุคคล
ภายนอก) จะบอกกลาํ วการโอนเป็นหนังสอื ไปยงั ลกู หนี้กไ็ ด๎

คาพิพากษาฎีกาท่ี 315/2494 เม่ือเจ๎าหนี้ได๎แจ๎งการโอนสิทธิเรียกร๎องไปยัง
ลกู หนีแ้ ลว๎ ยํอมถือไดว๎ าํ บคุ คลภายนอกไดร๎ บั โอนสทิ ธเิ รียกร๎องไปจากเจา๎ หน้แี ล๎ว

คาพิพากษาฎีกาท่ี 446/2495 เจ๎าหนี้ได๎โอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกํบุคคลภายนอก
ดังน้ี บคุ คลภายนอกจะแจ๎งการโอนสทิ ธเิ รยี กร๎องน้นั แกลํ ูกหน้ีกไ็ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 5561/2530 เจ๎าหนี้ได๎โอนสิทธิเรียกร๎องให๎ผ๎ูร๎องโดยทํา
เป็นหนังสือ และผู๎ร๎องได๎บอกกลําวแจ๎งการโอนสิทธิเรียกร๎องไปยังลูกหนี้เป็นหนังสือแล๎ว
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 306 การโอนสิทธเิ รียกร๎องระหวํางเจ๎าหน้ีกับ
ผร๎ู ๎องจงึ เป็นอนั สมบูรณ๑ สทิ ธิเรียกร๎องของเจา๎ หนีย้ ํอมหลุดจากจาํ เลยไปสํูผ๎ูร๎องแล๎ว และยํอม
ใช๎ยนั ลกู หนีไ้ ด๎ โดยไมํต๎องคาํ นึงวําลกู หนี้จะไดย๎ นิ ยอมในการโอนสทิ ธิเรยี กรอ๎ งนนั้ ด๎วยหรือไมํ

สํวนความยินยอมน้ัน กฎหมายไมํได๎กําหนดวําลูกหนี้จะต๎องให๎ความยินยอมแกํ
บุคคลใด ดังน้ัน ลูกหน้ีจะให๎ความยินยอมแกํ ผ๎ูโอน (เจ๎าหน้ี) หรือแกํผู๎รับโอน
(บุคคลภายนอก) กไ็ ด๎

ท้ังนี้ จากบทบัญญัติท่ีวํา “การโอนหน้ีนั้นทํานวําจะยกข้ึนเป็นข๎อตํอส๎ูลูกหนี้หรือ
บุคคลภายนอกได๎” คําวํา “บุคคลภายนอก” หมายถึง บุคคลที่ถูกกระทบสิทธิจากการโอน
สิทธเิ รียกรอ๎ งน้ี เชํน เจา๎ หนี้ของผ๎โู อน เป็นตน๎

268

5. ในกรณีท่ีไมํได๎มีการบอกกลําวการโอนไปยังลูกหนี้เป็นหนังสือ หรือลูกหน้ีไมํได๎
ยินยอมด๎วยในการโอนเป็นหนังสือ การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นจะยกเป็นข๎อตํอส๎ูลูกหน้ีหรือ
บุคคลภายนอกมิได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306 วรรคแรก และ
สํงผลตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306 วรรคสอง

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306 วรรคสอง บัญญัติวํา “ถ๎า
ลูกหน้ีทําให๎พอแกํใจผู๎โอนด๎วยการใช๎เงิน หรือด๎วยประการอื่นเสียแตํกํอนได๎รับบอกกลําว
หรอื กํอนได๎ตกลงใหโ๎ อนไซร๎ ลูกหนี้นั้นก็เป็นอันหลุดพ๎นจากหน้ี” หมายความวํา หากมีการ
ทําหนังสือโอนสิทธิเรียกร๎องระหวํางเจ๎าหนี้และบุคคลภายนอกแล๎ว แตํยังไมํได๎มีการบอก
กลําวการโอนไปยังลกู หนเ้ี ปน็ หนังสอื หรอื ลกู หนไี้ มํได๎ยนิ ยอมด๎วยในการโอนเป็นหนงั สอื การ
โอนสิทธิเรียกร๎องนั้นจะยกข้ึนตํอส๎ูลูกหน้ีมิได๎ กลําวคือ การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นไมํมีผล
ผกู พันระหวํางผู๎รับโอนและลกู หนี้ ลูกหนีจ้ งึ ยังคงมีหน๎าท่ตี ๎องชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหนี้อยูํ ดังน้ัน
ถ๎าลูกหนี้ได๎ชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหน้ี หรือกระทําการอยํางอื่นในทํานองเดียวกัน เชํน นํา
ทรพั ย๑สนิ อยํางอน่ื มาชําระหนแ้ี ทน เปน็ ต๎น ลูกหนย้ี ํอมเปน็ อันหลดุ พ๎นจากหน้นี ้ัน

ตัวอย่าง นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีของนาย ข. ตํอมานาย ก. ได๎ทําหนังสือโอนสิทธิ
เรียกร๎องของตนให๎แกํนาย ค. ตํอมา นาย ข. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. กํอนที่จะมีการบอก
กลาํ วเป็นหนังสือเก่ียวกับการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้น หรือกํอนที่นาย ข. ได๎ตกลงยินยอมเป็น
หนังสือในการโอนสทิ ธิเรียกรอ๎ งนัน้ ดังนี้ นาย ข. เปน็ อันหลุดพน๎ จากหนีน้ น้ั

6. กรณพี พิ าทอา้ งสิทธใิ นการโอนสิทธิเรียกร้องตา่ งราย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 307 บัญญัติวํา “ถ๎าพิพาทอ๎างสิทธิใน

การโอนตาํ งราย โอนรายใดได๎บอกกลําวหรือตกลงกันกํอน โอนรายน้ันมีสิทธิดีกวําโอนราย
อ่นื ๆ”

ในกรณีท่ีมีการทําหนังสือโอนสิทธิเรียกร๎องกันแล๎วในระหวํางเจ๎าหนี้ (ผ๎ูโอน) และ
บุคคลภายนอก (ผู๎รับโอน) แตํยังมิได๎มีการบอกกลําวการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันไปยังลูกหนี้
หรือลูกหน้ียังมิได๎ตกลงยินยอมด๎วยในการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้น แล๎วเจ๎าหน้ีได๎โอนสิทธิ
เรียกร๎องในหน้ีรายเดยี วกันนัน้ ไปใหบ๎ คุ คลอ่ืนอีก ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
307 กําหนดวําเจ๎าหน้ีได๎โอนสิทธิเรียกร๎องในหน้ีรายเดียวกันน้ันไปให๎บุคคลหลายราย การ
โอนสิทธิเรียกร๎องของบุคคลภายนอก (ผ๎ูรับโอน) รายใดได๎มีการบอกกลําวการโอนสิทธิ
เรียกร๎องนั้นไปยังลูกหนี้ หรือลูกหน้ีได๎ตกลงยินยอมด๎วยในการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นกํอน
บุคคลภายนอก (ผู๎รับโอน) ผ๎นู น้ั มสี ทิ ธิดีกวําบคุ คลภายนอก (ผรู๎ บั โอน) รายอื่น ๆ

269

ตวั อยา่ งที่ 1 นาย ก. เปน็ เจา๎ หน้ี นาย ข. ตํอมานาย ก. ได๎โอนสิทธิเรียกร๎องของตน
ให๎แกํนายหนงึ่ แลว๎ ตอํ มา นาย ก. โอนสทิ ธเิ รียกร๎องของตนให๎แกํนายสอง หลังจากนั้น นาย
ก. ได๎บอกกลาํ วไปยงั นาย ข. วาํ ตนได๎โอนสทิ ธิเรียกรอ๎ งให๎แกนํ ายสองแล๎ว ดงั น้ี นายสองยํอม
มีสิทธิดีกวาํ นายหนงึ่ และมีสิทธิได๎รับชําระหนี้จากนาย ข.

ตวั อย่างท่ี 2 นาย ก. เป็นเจา๎ หน้ี นาย ข. ตอํ มานาย ก. ได๎โอนสิทธิเรียกร๎องของตน
ให๎แกํนายหน่ึง แล๎วตํอมา นาย ก. โอนสิทธิเรียกร๎องของตนให๎แกํนายสอง หลังจากนั้น
นาย ข. ได๎ตกลงยินยอมดว๎ ยในการโอนสทิ ธิเรยี กร๎องระหวาํ งนาย ก. และนายสอง ดังนี้ นาย
สองยํอมมสี ิทธดิ ีกวาํ นายหน่ึง และมสี ิทธไิ ด๎รบั ชาํ ระหน้จี ากนาย ข.

ข้อสังเกต
1. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 307 ให๎พิจารณาวําการโอนสิทธิ
เรยี กรอ๎ งของบคุ คลภายนอก (ผรู๎ บั โอน) รายใดได๎มีการบอกกลาํ วการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นไป
ยงั ลูกหน้ี หรือลกู หนไ้ี ดต๎ กลงยนิ ยอมดว๎ ยในการโอนสทิ ธิเรยี กร๎องนั้นกํอน มิได๎พิจารณาวําใน
ระหวาํ งเจา๎ หนี้ (ผ๎โู อน) และบุคคลภายนอก (ผู๎รับโอน) บุคคลภายนอก (ผ๎ูรับโอน) รายใดได๎
ตกลงโอนสทิ ธเิ รียกร๎องกบั เจ๎าหนกี้ อํ น
2. สําหรบั ผ๎ูรบั โอนสทิ ธิเรยี กรอ๎ งรายอืน่ ทไ่ี มไํ ด๎รับการชําระหนี้นั้น ก็ต๎องไปเรียกร๎อง
เอาจากผโู๎ อนสิทธเิ รียกร๎องเอง

7. ลกู หนีย้ กขอ้ ต่อสผู้ ู้รับโอน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 308 บัญญัติวํา “ถ๎าลูกหน้ีได๎ให๎ความ

ยินยอมดังกลําวมาในมาตรา 306 โดยมิไดอ๎ ิดเอ้ือน ทํานวําจะยกข๎อตํอสู๎ที่มีตํอผ๎ูโอนขึ้นตํอสู๎
ผู๎รบั โอนน้ันหาไดไ๎ มํ แตํถา๎ เพือ่ จะระงบั หนนี้ นั้ ลกู หน้ีไดใ๎ ชเ๎ งนิ ใหแ๎ กํผู๎โอนไปไซร๎ ลกู หน้จี ะเรียก
คืนเงินนั้นก็ได๎ หรือถ๎าเพื่อการเชํนกลําวมานั้น ลูกหน้ีรับภาระเป็นหน้ีอยํางใดอยํางหน่ึงขึ้น
ใหมตํ อํ ผโู๎ อน จะถอื เสมือนหนงึ่ วําหนน้ี ้ันมไิ ดก๎ อํ ขึน้ เลยก็ได๎

ถา๎ ลกู หนเ้ี ปน็ แตํได๎รบั คําบอกกลําวการโอน ทํานวําลูกหนี้มีข๎อตํอส๎ูผู๎โอนกํอนเวลาที่
ได๎รับคําบอกกลําวน้ันฉันใด ก็จะยกข้ึนเป็นข๎อตํอส๎ูแกํผู๎รับโอนได๎ฉันนั้น ถ๎าลูกหนี้มีสิทธิ
เรียกร๎องจากผ๎ูโอน แตํสิทธินั้นยังไมํถึงกําหนดในเวลาบอกกลําวไซร๎ ทํานวําจะเอาสิทธิ
เรียกร๎องนั้นมาหักกลบลบกันก็ได๎ หากวําสิทธิน้ันจะได๎ถึงกําหนดไมํช๎ากวําเวลาถึงกําหนด
แหํงสิทธเิ รียกรอ๎ งอนั ไดโ๎ อนไปน้นั ”

ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 น้ี เป็นเรื่องสิทธิของลูกหนี้ท่ีจะ
ยกขอ๎ ตอํ ส๎ทู ี่ตนมีตํอผ๎โู อนข้ึนตํอสผ๎ู ู๎รบั โอน ซึง่ แบํงออกเป็น 2 สํวน คอื ดงั น้ี

1. การที่ลูกหนี้ได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นแล๎ว ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคแรก ซงึ่ บัญญตั ิวาํ “ถ๎าลูกหนี้ได๎ให๎ความยินยอม

270

ดังกลําวมาในมาตรา 306 โดยมไิ ดอ๎ ดิ เอื้อน ทาํ นวาํ จะยกข๎อตํอสทู๎ ีม่ ีตํอผ๎ูโอนขึ้นตํอส๎ูผ๎ูรับโอน
น้นั หาได๎ไมํ...” นัน้

สําหรับข๎อตํอสู๎ของลูกหน้ีนั้น เชํน ลูกหน้ีได๎มีการชําระหน้ีแล๎วทั้งหมดหรือ
บางสํวน เจ๎าหน้ีได๎ปลดหน้ีให๎แกํลูกหน้ีแล๎ว มีการหักกลบลบหน้ีระหวํางเจ๎าหน้ีและลูกหน้ี
แลว๎ เป็นต๎น

สํวนบทบญั ญัติที่วํา “มิไดอ๎ ิดเออื้ น” หมายความวาํ ลูกหน้ีไดใ๎ ห๎ความยินยอมโดย
ไมํได๎โต๎แย๎งเร่ืองใด ๆ เลย ซึ่งการให๎ความยินยอมน้ัน ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 306 วรรคแรก กาํ หนดวําต๎องทําเปน็ หนังสือ ดังนั้น หากลกู หน้จี ะ “อดิ เอื้อน” ลกู หนี้
กต็ อ๎ งโต๎แย๎งเปน็ หนังสือ

ทั้งนี้ กรณีที่ลูกหนี้ได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันแล๎ว ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 308 วรรคแรก แบํงออกเปน็ 2 กรณี คือ

1.1 กรณีลูกหนี้ได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องโดยมิได๎อิดเอ้ือน
ลกู หนีจ้ ะยกข๎อตํอส๎ูทตี่ นมีตํอผู๎โอนขึ้นตอํ สผู๎ ๎ูรบั โอนไมไํ ด๎

1.2 กรณีลกู หนี้ไดใ๎ หค๎ วามยนิ ยอมในการโอนสิทธเิ รียกรอ๎ งโดยได๎อิดเอื้อน ลูกหน้ี
จะยกข๎อตํอส๎ทู ต่ี นมตี ํอผู๎โอนข้นึ ตํอส๎ผู ร๎ู บั โอนได๎

ตวั อยา่ ง นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ขี องนาย ข. 100,000 บาท ตํอมา นาย ข. ได๎ชําระ
หนี้ให๎แกํนาย ก. 50,000 บาท แล๎วหลังจากน้ัน นาย ก. ได๎โอนสิทธิเรียกร๎องของตนให๎แกํ
นาย ค. ดังน้ี ถ๎านาย ข.ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ัน โดยมิได๎อิดเอ้ือน คือ
มิไดโ๎ ตแ๎ ยง๎ วาํ ตนได๎ชาํ ระหนีใ้ หแ๎ กํนาย ก. ไปแล๎ว 50,000 บาท นาย ข. จะยกข๎อตํอสู๎ที่ตนมี
ตํอนาย ก. ข้นึ ตํอสู๎นาย ค. ไมไํ ด๎ ดงั น้ัน นาย ข. จึงตอ๎ งชําระหน้ีให๎แกํนาย ค. 100,000 บาท
แตํถา๎ นาย ข.ให๎ความยนิ ยอมในการโอนสิทธิเรยี กรอ๎ งนน้ั โดยอิดเอื้อน คือ ได๎โต๎แย๎งวําตนได๎
ชาํ ระหนี้ใหแ๎ กํนาย ก. ไปแลว๎ 50,000 บาท นาย ข. ยํอมจะยกข๎อตํอส๎ูที่ตนมีตํอนาย ก. ขึ้น
ตอํ ส๎ูนาย ค. ได๎ ดังน้ัน นาย ข. จงึ ต๎องชําระหนี้ใหแ๎ กนํ าย ค. 50,000 บาท เทาํ น้ัน

สํวนบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคแรก
ตอนท๎าย ซ่ึงบัญญัติวํา “แตํถ๎าเพ่ือระงับหนี้น้ัน ลูกหนี้ได๎ใช๎เงินให๎แกํผ๎ูโอนไปไซร๎ ลูกหน้ีจะ
เรียกคืนเงินนนั้ ก็ได๎ หรอื ถ๎าเพ่อื การเชํนกลาํ วมานน้ั ลกู หน้ีรับภาระเป็นหนี้อยํางใดอยํางหน่ึง
ข้ึนใหมํตํอผ๎ูโอน จะถือเสมือนหนึ่งวําหนี้นั้นมิได๎กํอข้ึนเลยก็ได๎” หมายความวํา ในกรณีที่
ลูกหน้ีได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎อง อันทําให๎การโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันมีผล
ผกู พนั ลกู หนแ้ี ลว๎ ลูกหนี้มหี น๎าที่ต๎องชําระหน้ีให๎แกํผู๎รับโอน เพ่ือให๎หน้ีนั้นระงับ ลูกหนี้ได๎ใช๎
เงนิ ให๎แกผํ โ๎ู อนไป ลกู หน้ีจึงเรียกคืนเงินน้ันก็ได๎ หรือถ๎าลูกหนี้รับภาระเป็นหนี้อยํางใดอยําง
หน่ึงข้ึนใหมํตํอผ๎ูโอน เชํน ลูกหนี้ตกลงชําระหน้ีด๎วยทรัพย๑สินอยํางอื่นแทน เป็นต๎น ให๎ถือ
เสมือนหนง่ึ วําหน้นี ัน้ มไิ ด๎กอํ ข้นึ เลย คอื ลกู หนไี้ มตํ อ๎ งชาํ ระหน้ใี หแ๎ กผํ ู๎โอนแลว๎

271

ขอ้ สงั เกต
(1) ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคแรก เป็นกรณีท่ี

ลกู หนี้ไดใ๎ ช๎เงินใหแ๎ กผํ โู๎ อนไป หรอื ลกู หน้ีได๎รบั ภาระเป็นหน้ีอยาํ งใดอยํางหนง่ึ ข้ึนใหมํตํอผ๎ูโอน
ภายหลงั ทล่ี กู หน้ีได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันไปแล๎ว เพราะถ๎าเป็นกรณีท่ี
ลูกหนี้ไดใ๎ ชเ๎ งนิ ให๎แกํผ๎โู อนไป กอํ นที่ลูกหนี้จะได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้น
ลกู หนจ้ี ึงจะหลุดพ๎นจากการชาํ ระหนนี้ น้ั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 306
วรรคสอง

(2) ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคแรกตอนท๎ายนี้
ต๎องเปน็ กรณที ีล่ กู หนไ้ี ดใ๎ ช๎เงนิ ใหแ๎ กํผู๎โอนไป หรือลูกหน้ีตกลงรับภาระเป็นหน้ีอยํางใดอยําง
หนึ่งขึน้ ใหมํตอํ ผ๎โู อน โดยสจุ รติ คอื ลูกหนี้เข๎าใจวํากระทํานั้นจะทําให๎หน้ีนั้นระงับ ลูกหนี้จึง
จะหลดุ พน๎ จากการชําระหนี้น้ัน แตํถ๎าลูกหน้ีรู๎อยูํแล๎ววําตนต๎องชําระหนี้ให๎แกํผ๎ูรับโอน แล๎ว
ยังไปชําระหน้ีให๎แกํผ๎ูโอนอีก ถือวําลูกหนี้ได๎ชําระหน้ีตามอําเภอใจโดยร๎ูอยูํแล๎ววําตนไมํมี
ความผกู พันที่ตอ๎ งชําระหนี้ อันเปน็ เหตุให๎ลูกหนี้ไมํมีสิทธิได๎รับทรัพย๑สินนั้นคืน ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 407

2. การที่ลูกหนี้เพียงแตํได๎รับการบอกกลําวการโอนสิทธิเรียกร๎อง ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคสอง กลําวคือ ถ๎าลูกหนี้เพียงแตํได๎รับ
คําบอกกลําวการโอนสทิ ธิเรยี กร๎อง โดยลูกหนี้ไมํได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎อง
น้ัน ลูกหนม้ี ีข๎อตํอส๎ูผู๎โอนกอํ นเวลาทไ่ี ดร๎ ับคาํ บอกกลําวนั้นอยํางไร ลูกหนี้ก็สามารถจะยกข้ึน
เป็นข๎อตํอสู๎แกํผู๎รับโอนได๎ท้ังสิ้น อันเป็นไปตามหลัก “ผ๎ูรับโอนไมํมีสิทธิดีกวําผ๎ูโอน” แตํถ๎า
ลูกหนี้มีข๎อตํอส๎ูผ๎ูโอนภายหลังจากที่ได๎รับคําบอกกลําวไปแล๎ว ลูกหน้ีก็ไมํสามารถจะยกข้ึน
เป็นข๎อตอํ ส๎ูแกํผ๎ูรบั โอนได๎

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้ของนาย ข. ตํอมา นาย ก. ได๎โอนสิทธิ
เรียกร๎องให๎แกํนาย ค. หลังจากนั้น นาย ข. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ทั้งหมด แล๎วตํอมา
นาย ข. ได๎รบั คาํ บอกกลําวถึงเรื่องการโอนสิทธเิ รียกรอ๎ งนน้ั จากนาย ค. ดังน้ี นาย ข. สามารถ
จะยกข๎อตอํ สท๎ู ่วี ําตนไดช๎ ําระหนี้ใหแ๎ กนํ าย ก. ไปแล๎ว ขึน้ ตํอสู๎นาย ค. ได๎ สรุปคือ นาย ข. ไมํ
ต๎องชาํ ระหน้ใี หแ๎ กนํ าย ค.

ตัวอย่างที่ 2 นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีของนาย ข. 50,000 บาท ตํอมา นาย ก.
ไดโ๎ อนสทิ ธิเรยี กรอ๎ งใหแ๎ กํนาย ค. หลังจากน้ัน นาย ข. ได๎ชําระหนีใ้ หแ๎ กํนาย ก. 10,000 บาท
แล๎วตํอมา นาย ข. ได๎รับคําบอกกลําวถึงเร่ืองการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นจากนาย ค. ดังน้ี
นาย ข. สามารถจะยกขอ๎ ตํอสท๎ู ี่วาํ ตนได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปแล๎ว 10,000 บาท ข้ึนตํอสู๎
นาย ค. ได๎ สรุปคอื นาย ข. ตอ๎ งชาํ ระหน้ีให๎แกนํ าย ค. 40,000 บาท

272

ตัวอย่างท่ี 3 นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้ของนาย ข. ตํอมา นาย ก. ได๎โอนสิทธิ
เรียกรอ๎ งให๎แกํนาย ค. และนาย ข. ได๎รับคําบอกกลําวถึงเรื่องการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นจาก
นาย ค. แล๎ว หลงั จากนนั้ นาย ข. ได๎ชําระหนีใ้ ห๎แกํนาย ก. ท้ังหมด ดังน้ี นาย ข. ไมํสามารถ
จะยกข๎อตํอส๎ูท่ีวําตนได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปแล๎ว ขึ้นตํอส๎ูนาย ค. ได๎ สรุปคือ นาย ข.
ตอ๎ งชาํ ระหนใ้ี ห๎แกํนาย ค.

ตวั อย่างที่ 4 นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีของนาย ข. 50,000 บาท ตํอมา นาย ก. ได๎
โอนสิทธเิ รยี กรอ๎ งใหแ๎ กํนาย ค. และนาย ข. ได๎รับคําบอกกลําวถึงเรื่องการโอนสิทธิเรียกร๎อง
น้ันจากนาย ค. แล๎ว หลังจากน้ัน นาย ข. ได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. 10,000 บาท ดังน้ี
นาย ข. ไมํสามารถจะยกข๎อตํอสู๎ท่ีวําตนได๎ชําระหน้ีให๎แกํนาย ก. ไปแล๎ว 10,000 บาท
ข้ึนตอํ สน๎ู าย ค. ได๎ สรปุ คอื นาย ข. ตอ๎ งชาํ ระหน้ีให๎แกนํ าย ค. 50,000 บาท

ตัวอย่างท่ี 5 นาย ก. เป็นเจ๎าหน้ีของนาย ข. จํานวน 50,000 บาท ตํอมา
นาย ก. ไดโ๎ อนสทิ ธเิ รยี กร๎องให๎แกํนาย ค. หลงั จากนั้น นาย ข. ได๎รับคาํ บอกกลาํ วถึงเร่ืองการ
โอนสิทธิเรียกร๎องน้ันจากนาย ค. นาย ข. จึงไปหานาย ก. และนาย ก. ได๎ปลดหน้ีให๎แกํ
นาย ข. ทั้งหมด ดงั นี้ นาย ข. สามารถจะยกข๎อตํอส๎ูท่ีวําตนได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปแล๎ว
10,000 บาท ขึ้นตอํ สู๎นาย ค. ได๎ แตํนาย ข. ไมํสามารถจะยกข๎อตํอส๎ูท่ีวํานาย ก. ได๎ปลดหน้ี
ใหแ๎ กํนาย ข. ท้งั หมด ขนึ้ ตอํ สนู๎ าย ค. ได๎ สรุปคอื นาย ข. ต๎องชาํ ระหนี้ให๎แกํนาย ค. 40,000
บาท

สํวนบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคสอง
ตอนท๎าย ซึ่งบัญญัติวํา “ถ๎าลูกหน้ีมีสิทธิเรียกร๎องจากผ๎ูโอน แตํสิทธินั้นยังไมํถึงกําหนดใน
เวลาบอกกลาํ วไซร๎ ทาํ นวําจะเอาสทิ ธิเรียกร๎องนั้นมาหักกลบลบกันก็ได๎ หากวําสิทธิน้ันจะได๎
ถึงกําหนดไมํช๎ากวําเวลาถึงกําหนดแหํงสิทธิเรียกร๎องอันได๎โอนไปนั้น” หมายความวํา ถ๎า
ลกู หนีม้ ีสทิ ธหิ กั กลบลบหนก้ี ับผ๎ูโอน แมส๎ ทิ ธิของลกู หนนี้ ้ันยังไมํถึงกําหนดชําระหน้ี ในเวลาที่
ได๎มีการบอกกลําวโอนสิทธิเรียกร๎องน้ัน ลูกหนี้จะใช๎สิทธิหักกลบลบหน้ีทันทีท่ีมีการบอก
กลาํ วโอนสทิ ธเิ รยี กรอ๎ งก็ได๎ แตํสิทธขิ องลูกหนนี้ ้ันตอ๎ งถึงกาํ หนดชาํ ระหน้กี ํอนที่สิทธิเรียกร๎อง
ที่ได๎โอนไปน้นั จะถงึ กาํ หนดชําระหนี้

ตวั อย่าง นาย ก. เปน็ เจ๎าหนเ้ี งนิ กขู๎ องนาย ข. จํานวน 10,000 บาท มีกําหนดชําระ
หน้ีในวันท่ี 10 มกราคม 2562 แล๎วตํอมา นาย ข. ได๎เป็นเจ๎าหนี้คําซ้ือสินค๎าของนาย ก.
จํานวน 10,000 บาท มีกําหนดชําระหน้ีในวันที่ 5 มกราคม 2562 หลังจากน้ัน นาย ก. ได๎
โอนสิทธิเรียกร๎องในหนี้เงินก๎ูให๎แกํนาย ค. และนาย ค. ได๎บอกกลําวถึงเรื่องการโอนสิทธิ
เรียกร๎องนั้นไปยังนาย ข. ในวันท่ี 2 มกราคม 2562 ดังนี้ เป็นกรณีท่ีสิทธิของนาย ข. ท่ีจะ
เรียกให๎นาย ก. ชําระหนี้ จะยังไมํถึงกําหนดชําระหนี้ ในเวลาที่ได๎มีการบอกกลําวโอนสิทธิ
เรยี กร๎องนนั้ แตสํ ทิ ธิของนาย ข. จะถงึ กาํ หนดชําระหนี้กํอนที่สิทธิเรียกร๎องที่ได๎โอนไปนั้นจะ

273

ถึงกาํ หนดชาํ ระหนี้ นาย ข. จึงใชส๎ ิทธิหกั กลบลบหน้ีได๎ในวันท่ี 2 มกราคม 2562 ไมํต๎อรอให๎
ถงึ วนั ที่ 10 มกราคม 2562 กอํ น

ข้อสังเกต โดยปกติการหักกลบลบหนี้ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 341 นั้น จะหักกลบลบหนี้กันได๎ก็แตํเฉพาะเมื่อหน้ีท้ังสองรายน้ันได๎ถึงกําหนดชําระ
แล๎วเทําน้ัน แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคสองตอนท๎าย ได๎
กาํ หนดไวเ๎ ปน็ กรณีพิเศษ เพื่ออํานวยความสะดวกให๎แกํลูกหน้ี นอกจากน้ัน การหักกลบลบ
หนี้ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคสองตอนท๎ายน้ี เป็นกรณีที่
ลูกหน้ีใชส๎ ิทธหิ ักกลบลบหน้กี ับผูร๎ บั โอนสทิ ธเิ รยี กร๎อง มิใชํกรณีที่ลูกหนี้ใช๎สิทธิหักกลบลบหนี้
กบั ผโู๎ อนสทิ ธิเรยี กรอ๎ ง

8. แบบของการโอนสิทธเิ รยี กร้องตามเขาสง่ั
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 309 บัญญัติวํา “การโอนหนี้อันพึง

ต๎องชําระตามเขาสงั่ นั้น ทํานวําจะยกขึ้นเป็นข๎อตํอสู๎ลูกหน้ีหรือบุคคลภายนอกคนอื่นได๎ แตํ
เฉพาะเม่อื การโอนนั้นได๎สลักหลังไวใ๎ นตราสาร และตัวตราสารน้ันได๎สงํ มอบให๎แกํผ๎ูรับโอนไป
ดว๎ ย”

หน้ีอันพึงต๎องชําระตามเขาสั่งซ่ึงกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 309 หมายถงึ หนที้ ่ลี ูกหน้ีไมํร๎ูตัวเจ๎าหน้ีทแ่ี นํนอน กลาํ วคือ หากเจ๎าหนี้ท่ีแท๎จริงสั่งให๎
ลกู หนชี้ าํ ระหนีใ้ หแ๎ กํบุคคลใด ลกู หนีก้ ต็ ๎องชาํ ระหน้ีให๎แกํบุคคลน้ัน เชํน ใบตราสํง ใบรับของ
คลังสินค๎า ประทวนสินค๎า กรมธรรม๑ประกันชีวิต ต๋ัวเงิน (ต๋ัวแลกเงิน ต๋ัวสัญญาใช๎เงิน เช็ค)
ห๎ุนผ๎ูถือ เป็นต๎น สํวนหนี้อันพึงต๎องชําระตามเขาสั่งซึ่งกําหนดไว๎ในกฎหมายอื่น เชํน
พันธบัตรรัฐบาล เปน็ ตน๎

สําหรับการโอนสิทธิเรียกร๎องในหนี้อันพึงต๎องชําระตามเขาส่ังนั้น จะยกข้ึนเป็นข๎อ
ตํอส๎ูลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกคนอ่ืนได๎ แตํเฉพาะเมื่อการโอนน้ันได๎สลักหลังไว๎ในตราสาร
และตัวตราสารนั้นได๎สํงมอบให๎แกผํ ๎รู ับโอนไปด๎วย เชํน นาย ก. ออกตั๋วแลกเงินสั่งให๎นาย ข.
จาํ ยเงนิ 20,000 บาท ให๎แกนํ าย ค. ดังน้ี ถ๎านาย ค. ต๎องการจะโอนสิทธิเรียกร๎องในต๋ัวแลก
เงนิ นน้ั ให๎แกํนาย ง. นาย ค. กต็ ๎องสลกั หลังไว๎ในต๋ัวแลกเงิน และสํงมอบตั๋วแลกเงินน้ันให๎แกํ
นาย ง. ไป

คาํ วํา “สลกั หลัง” หมายความถงึ การเขียนข๎อความท่ีแสดงถึงการโอนสิทธิเรียกร๎อง
ในหนนี้ ้ันไวท๎ ีด่ า๎ นหลังของตราสาร โดยวธิ กี ารสลักหลงั ตราสารนั้น อาจทาํ ได๎ 2 วิธี คือ

1. เขยี นชอ่ื ผร๎ู ับโอนสทิ ธิเรยี กร๎องและลงลายมอื ช่ือผโู๎ อนสทิ ธเิ รียกร๎อง เชนํ ให๎ใช๎เงิน
แกํหรือโอนใหแ๎ กํนาย ง. ลงชือ่ นาย ค. เปน็ ตน๎

2. ลงลายมือช่อื ผูโ๎ อนสิทธเิ รียกรอ๎ งเทาํ น้นั ซง่ึ เรยี กวาํ “การสลักหลงั ลอย”

274

ทั้งน้ี หนี้อันพึงต๎องชําระตามเขาสั่งซึ่งกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 309 – 313 เป็นเพียงหลักกฎหมายท่ัวไปเทําน้ัน ดังน้ัน ถ๎ากรณีใดมี
กฎหมายบัญญัติไวโ๎ ดยเฉพาะกต็ ๎องบงั คบั ตามกฎหมายเฉพาะนั้น เชํน ต๋ัวแลกเงินอันส่ังให๎ใช๎
เงินแกํผ๎ูถือนั้น ยํอมโอนสิทธิเรียกร๎องได๎โดยการสํงมอบให๎แกํกันเทํานั้น ไมํต๎องมีการสลัก
หลงั ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 918เปน็ ตน๎

9. สิทธขิ องลูกหนี้ที่จะสอบสวนถงึ ตวั ผ้ทู รงตราสาร
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 310 บัญญัติวํา “ในมูลหนี้อันพึงต๎อง

ชําระตามเขาสงั่ นน้ั ลกู หน้ีมสี ิทธิที่จะสอบสวนถงึ ตวั ผท๎ู รงตราสาร หรือสอบสวนความถูกต๎อง
แทจ๎ รงิ แหงํ ลายมือชือ่ หรือดวงตราของผ๎ูทรงได๎ แตํก็หามีความผูกพันท่ีจะต๎องทําถึงเพียงนั้น
ไมํ แตํถา๎ ลกู หนที้ าํ การโดยทจุ รติ หรือประมาทเลินเลํออยํางร๎ายแรงไซร๎ การชําระหนี้นั้นก็ไมํ
เปน็ อันสมบรู ณ๑”

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 311 บัญญัติวํา “บทบัญญัติแหํง
มาตรากํอนนี้ ทํานให๎ใช๎บังคับตลอดถึงกรณีที่มีกําหนดตัวเจ๎าหน้ีระบุไว๎ในตราสาร ซึ่งมี
ขอ๎ ความจดไวด๎ ว๎ ยวาํ ให๎ชาํ ระหน้แี กํผ๎ูทรงตราสาร”

เน่อื งจากหนี้อันพงึ ตอ๎ งชําระตามเขาส่ังน้ัน สามารถโอนสทิ ธิเรียกร๎องไดเ๎ พยี งแตํสลัก
หลังตราสารและสงํ มอบ โดยไมํต๎องบอกกลําวการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นแกํลูกหนี้เลย ดังน้ัน
เพื่อให๎ลูกหน้ีได๎ชําระหนี้ได๎ถูกต๎อง กฎหมายจึงกําหนดให๎ลูกหน้ีมีสิทธิที่จะสอบสวนถึงตัว
ผู๎ทรงตราสาร หรือสอบสวนความถกู ต๎องแท๎จรงิ แหํงลายมอื ช่อื หรอื ดวงตราของผ๎ูทรงได๎ แตํก็
เป็นสทิ ธขิ องลกู หนี้ คือ ลกู หนี้จะไมํสอบสวนกไ็ ด๎ แตํถ๎าลูกหนี้ทําการโดยทุจริตหรือประมาท
เลินเลํออยํางร๎ายแรง เชํน เจ๎าหนี้ได๎แจ๎งแกํลูกหนี้แล๎ววําตั๋วแลกเงินได๎หายไป เป็นต๎น ดังน้ี
ถือวาํ การชาํ ระหนีน้ นั้ ไมํสมบูรณ๑ ลูกหนจี้ ึงรบั ผิดชําระหนีน้ ัน้ ให๎แกเํ จา๎ หนอ้ี กี ครง้ั

นอกจากนน้ั ในกรณที ีต่ ราสารไดม๎ ีการระบุตัวเจา๎ หนไี้ ว๎ในตราสาร และมีข๎อความจด
ไว๎ด๎วยวําให๎ชําระหนี้แกํผู๎ทรงตราสาร ซ่ึงตราสารน้ันสามารถโอนสิทธิเรียกร๎องกันได๎โดย
เพยี งแตสํ งํ มอบตราสารน้นั เทาํ นั้น ไมํตอ๎ งมกี ารสลักหลัง เชํน นาย ก. ออกเช็คสั่งให๎ธนาคาร
จาํ ยเงนิ ใหแ๎ กนํ าย ข. หรือผ๎ูถือ เป็นตน๎ ลูกหน้ีก็มสี ิทธิท่จี ะสอบสวนถึงตวั ผ๎ูทรงตราสารได๎ แตํ
ก็หามีความผูกพันที่จะต๎องทําถึงเพียงนั้นไมํ แตํถ๎าลูกหน้ีทําการโดยทุจริตหรือประมาท
เลินเลํออยํางร๎ายแรง การชําระหนี้น้ันก็ไมํเป็นอันสมบูรณ๑ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 310 ประกอบมาตรา 311

275

10. การยกขอ้ ต่อสู้ผ้รู ับโอน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 312 บัญญัติวํา “ในมูลหน้ีอันพึงต๎อง

ชาํ ระตามเขาสง่ั นนั้ ลูกหน้ีจะยกข๎อตํอส๎ูซึ่งมีตํอเจ๎าหน้ีเดิมข้ึนเป็นข๎อตํอส๎ูผ๎ูรับโอนโดยสุจริต
นนั้ หาไดไ๎ มํ เว๎นแตํท่ปี รากฏในตวั ตราสารนนั้ เอง หรือทีม่ ขี นึ้ เป็นธรรมดาสืบจากลักษณะแหํง
ตราสารนัน้ ”

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 313 บัญญัติวํา “บทบัญญัติแหํง
มาตรากอํ นน้ี ทํานให๎ใช๎บังคับตลอดถึงหนอี้ นั พึงตอ๎ งชําระแกผํ ถ๎ู อื นนั้ ด๎วย แลว๎ แตกํ รณี”

ก า ร โ อ น สิ ท ธิ เ รี ย ก ร๎ อ ง ใ น ห น้ี อั น พึ ง ต๎ อ ง ชํ า ร ะ แ กํ เ จ๎ า ห น้ี ค น ใ ด ค น ห น่ึ ง โ ด ย
เฉพาะเจาะจง กฎหมายกําหนดวําผู๎รับโอนไมํมีสิทธิดีกวําผู๎โอน ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 308 แตํการโอนสิทธิเรียกร๎องในหน้ีอันพึงต๎องชําระตามเขาสั่งนั้น
กฎหมายกําหนดวาํ ผูร๎ ับโอนมีสิทธดิ ีกวาํ ผ๎ูโอน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
312 เชํน นาย ก. ออกตั๋วแลกเงินส่ังให๎นาย ข. จํายเงินให๎แกํนาย ค. แล๎วนาย ค. ได๎สลัก
หลงั และสํงมอบต๋ัวแลกเงินนั้นให๎แกํนาย ง. ถ๎านาย ง. ได๎รับตั๋วแลกเงินน้ันไว๎โดยสุจริต คือ
ไมรํ ๎วู ํามีข๎อตํอสใู๎ ด ๆ อยรํู ะหวาํ ง นาย ข. และนาย ค. ดังน้ัน แม๎นาย ข. จะมีข๎อตํอสู๎นาย ค.
ในเรอ่ื งการหักกลบลบหนี้ นาย ข. กไ็ มมํ ีสิทธยิ กขนึ้ เปน็ ข๎อตํอสน๎ู าย ง. ได๎ เป็นตน๎

อยํางไรกด็ ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 312 ลูกหนี้มีสิทธิยกข๎อ
ตอํ สดู๎ งั ตอํ ไปนี้ขึน้ ตํอส๎ูผรู๎ ับโอนได๎

1. ข๎อตํอส๎ูท่ีปรากฏในตัวตราสารนั้นเอง เชํน มีการออกตั๋วแลกเงิน แตํไมํมีการลง
ลายมือชอื่ ผส๎ู ่งั จําย ดังนี้ ลูกหนย้ี อํ มมีสิทธยิ กข๎อตํอสผู๎ ร๎ู บั โอนได๎ คอื ลกู หน้ไี มํต๎องชาํ ระหนี้

2. ข๎อตํอสู๎ท่ีมีข้ึนเป็นธรรมดาสืบจากลักษณะแหํงตราสารนั้น ซ่ึงต๎องพิจารณาจาก
กฎหมายเฉพาะเป็นกรณี ๆ ไป เชํน ลูกหน้ีผู๎ท่ีทําการขนสํงสินค๎ามีสิทธิท่ีจะตํอส๎ูผู๎รับใบตรา
สงํ สนิ คา๎ ในการยดึ หนํวงสนิ คา๎ ไวไ๎ ด๎ จนกวําผ๎ทู รงสิทธิในใบตราสงํ สินค๎าน้ัน จะชําระคําระวาง
พาหนะและอุปกรณ๑ เป็นตน๎

ข้อสังเกต ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 313 กําหนดวําให๎นํา
บทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 312 มาใช๎บงั คบั ตลอดถึงหนี้อันพึง
ตอ๎ งชําระแกผํ ถู๎ ือด๎วย ดังน้ัน หน้อี นั พงึ ต๎องชําระแกํผ๎ูถือ เชํน นาย ก. ออกเช็คส่ังให๎ธนาคาร
จํายเงนิ ให๎แกผํ ูถ๎ อื เป็นตน๎ ลูกหนจ้ี ะยกขอ๎ ตอํ สซู๎ ่งึ มตี ํอเจ๎าหน้ีเดิมขึ้นเป็นข๎อตํอสู๎ผ๎ูรับโอนโดย
สุจริตนั้นหาได๎ไมํ เว๎นแตํที่ปรากฏในตัวตราสารนั้นเอง หรือท่ีมีขึ้นเป็นธรรมดาสืบจาก
ลกั ษณะแหงํ ตราสารน้ัน

276

11. บทสรปุ
11.1 สิทธิเรยี กร้องทห่ี ้ามโอน
หลัก สิทธิเรียกร๎องจากมูลหน้ีใด ๆ ก็ตาม ยํอมโอนแกํกันได๎ด๎วยความตกลง

ระหวาํ งเจ๎าหน้ี (ผ๎ูโอน) กับบุคคลภายนอก (ผู๎รับโอน) โดยลูกหน้ีไมํจําเป็นต๎องตกลงยินยอม
ดว๎ ย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 303 ตอนตน๎

ข้อยกเว้น สทิ ธิเรยี กรอ๎ งน้นั ไมสํ ามารถโอนได๎ ถา๎ เป็นกรณดี ังตํอไปนี้
1. สภาพแหํงสิทธิน้ันเป็นการเฉพาะตัวของเจ๎าหน้ีโดยแท๎ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 303 วรรคแรกตอนท๎าย เชํน สิทธิถอนคืนการให๎เพราะ
เหตุผู๎รบั ประพฤตเิ นรคณุ เป็นตน๎
2. ถ๎าเจ๎าหน้ีและลูกหน้ีได๎ตกลงห๎ามโอนสิทธิเรียกร๎อง เจ๎าหนี้จะโอนสิทธิ
เรยี กรอ๎ งนัน้ ไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 303 วรรคสองตอนตน๎
3. สทิ ธิเรียกร๎องใดตามกฎหมายศาลจะสั่งยึดไมํได๎ สิทธิเรียกร๎องน้ันยํอมโอน
กันไมไํ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 304 เชนํ สทิ ธิที่จะได๎รับคําอุปการะ
เลีย้ งดู เปน็ ตน๎
11.2 ผลของการโอนสิทธิเรียกร้อง เมื่อมีการโอนสิทธิเรียกร๎อง จะเกิดผลคือสิทธิ
เรียกร๎องของเจ๎าหนี้ (ผ๎ูโอน) ก็จะระงับไป และบุคคลภายนอก (ผู๎รับโอน) ยํอมเข๎ามาเป็น
เจ๎าหนี้แทน โดยเจ๎าหนี้คนใหมํยํอมมีสิทธิเชํนเดียวกับเจ๎าหน้ีคนเดิม กลําวคือ สิทธิในการ
เรียกให๎ชําระหน้ีประธานรวมท้ังหนี้อุปกรณ๑ตําง ๆ เชํน จํานอง จํานํา คํ้าประกัน หน้ี
บรุ มิ สทิ ธิ ยอํ มโอนไปยงั เจ๎าหนี้คนใหมํ โดยผลของกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 305 แม๎จะไมํมีการตกลงกันไว๎กํอนในระหวํางเจ๎าหนี้ (ผู๎โอน) และ
บคุ คลภายนอก (ผ๎รู ับโอน) ก็ตาม
11.3 แบบของการโอนสิทธิเรียกร้อง ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 306 การโอนหนี้อันจะพึงต๎องชําระแกํเจ๎าหน้ีคนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงนั้น ต๎องทํา
เป็นหนงั สอื ระหวาํ งเจ๎าหนี้ (ผู๎โอน) และบุคคลภายนอก (ผู๎รับโอน) ถ๎าไมํทําเป็นหนังสือ การ
โอนสิทธิเรียกร๎องนั้นไมํสมบูรณ๑ หรือตกเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 306 ประกอบมาตรา 152 โดยศาลฎีกาไดเ๎ คยวินจิ ฉัยไวว๎ าํ แม๎ผ๎ูโอนลงลายมือช่ือฝ่าย
เดยี ว ผูร๎ บั โอนไมไํ ด๎ลงลายมือชอื่ ด๎วย ก็ถอื วํามีการโอนสทิ ธิเรียกร๎องโดยทาํ เปน็ หนงั สือแลว๎
แตํอยํางไรก็ดี การโอนสิทธิเรียกร๎องจะยกเป็นข๎อตํอส๎ูลูกหน้ีหรือ
บุคคลภายนอกได๎ เมื่อ 1. ไดบ๎ อกกลําวการโอนไปยังลูกหนี้ หรือ 2. ลูกหน้ีจะได๎ยินยอมด๎วย
ในการโอนน้ัน โดยคําบอกกลําวหรือความยินยอมน้ันต๎องทําเป็นหนังสือด๎วย ซึ่งผ๎ูโอน
(เจ๎าหนี)้ จะเป็นผ๎บู อกกลาํ วกไ็ ด๎ หรอื ผ๎รู ับโอน (บคุ คลภายนอก) จะเป็นผู๎บอกกลําวก็ได๎ และ
เมื่อได๎มีการบอกกลําวแกํลูกหนี้แล๎ว การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นก็มีผลผูกพันลูกหน้ี โดยที่

277

ลูกหนี้ไมํต๎องให๎ความยินยอม สํวนความยินยอมน้ัน ลูกหน้ีจะให๎ความยินยอมแกํผ๎ูโอน
(เจ๎าหนี้) หรือแกํผู๎รบั โอน (บคุ คลภายนอก) กไ็ ด๎

11.4 กรณีพพิ าทอ้างสทิ ธใิ นการโอนสิทธเิ รยี กรอ้ งต่างราย ถ๎าเจ๎าหน้ีได๎โอนสิทธิ
เรียกร๎องในหน้ีรายเดียวกันนั้นไปให๎บุคคลหลายราย การโอนสิทธิเรียกร๎องของ
บุคคลภายนอก (ผ๎ูรับโอน) รายใดได๎มีการบอกกลําวการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันไปยังลูกหนี้
หรอื ลูกหนี้ได๎ตกลงยินยอมด๎วยในการโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันกํอน บุคคลภายนอก (ผู๎รับโอน)
ผน๎ู ้นั มีสทิ ธิดีกวาํ บคุ คลภายนอก (ผรู๎ บั โอน) รายอืน่ ๆ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑
มาตรา 307

11.5 ลูกหนีย้ กขอ้ ตอ่ ส้ผู ู้รบั โอน แบํงออกเปน็ 2 สํวน คือ ดังน้ี
1. ลูกหนี้ได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้นแล๎ว ตามประมวล

กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคแรก แบํงออกเปน็ 2 กรณี คือ
1.1 กรณลี กู หน้ีได๎ให๎ความยนิ ยอมในการโอนสทิ ธิเรยี กร๎องโดยมิได๎อิดเอื้อน

ลกู หน้ีจะยกข๎อตํอสูท๎ ต่ี นมีตํอผโ๎ู อนขึน้ ตอํ ส๎ูผ๎ูรับโอนไมไํ ด๎
1.2 กรณลี ูกหน้ไี ดใ๎ ห๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องโดยได๎อิดเอื้อน

ลกู หนจ้ี ะยกขอ๎ ตํอสท๎ู ต่ี นมตี อํ ผ๎โู อนข้นึ ตํอสผ๎ู ร๎ู ับโอนได๎
ตัวอย่าง นาย ก. เปน็ เจา๎ หนี้ของนาย ข. 100,000 บาท ตํอมา นาย ข. ได๎

ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. 50,000 บาท แล๎วหลังจากน้ัน นาย ก. ได๎โอนสิทธิเรียกร๎องของตน
ให๎แกํนาย ค. ดังน้ี ถ๎านาย ข.ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎องนั้น โดยมิได๎อิดเอื้อน
คือ มิได๎โต๎แย๎งวําตนได๎ชําระหน้ีให๎แกํนาย ก. ไปแล๎ว 50,000 บาท นาย ข. จะยกข๎อตํอส๎ูท่ี
ตนมีตํอนาย ก. ขึ้นตอํ สู๎นาย ค. ไมํได๎ ดังน้ัน นาย ข. จึงต๎องชําระหนี้ให๎แกํนาย ค. 100,000
บาท แตถํ า๎ นาย ข.ใหค๎ วามยนิ ยอมในการโอนสทิ ธเิ รียกร๎องน้ัน โดยอิดเอื้อน คือ ได๎โต๎แย๎งวํา
ตนได๎ชําระหนี้ให๎แกํนาย ก. ไปแลว๎ 50,000 บาท นาย ข. ยอํ มจะยกขอ๎ ตํอส๎ูทีต่ นมตี อํ นาย ก.
ขึ้นตอํ ส๎ูนาย ค. ได๎ ดังนน้ั นาย ข. จึงต๎องชาํ ระหนี้ให๎แกํนาย ค. 50,000 บาท เทําน้ัน

2. การท่ลี ูกหนเี้ พียงแตไํ ดร๎ บั การบอกกลาํ วการโอนสทิ ธิเรียกร๎อง ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 308 วรรคสอง กลําวคือ ถ๎าลูกหนี้เพียงแตํได๎รับ
คาํ บอกกลําวการโอนสิทธิเรียกรอ๎ ง โดยลูกหน้ีไมํได๎ให๎ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร๎อง
น้ัน ลูกหนม้ี ีขอ๎ ตอํ สู๎ผ๎ูโอนกํอนเวลาทีไ่ ดร๎ บั คําบอกกลําวน้ันอยํางไร ลูกหน้ีก็สามารถจะยกขึ้น
เปน็ ข๎อตํอส๎ูแกํผู๎รับโอนได๎ท้ังส้ิน อันเป็นไปตามหลัก “ผ๎ูรับโอนไมํมีสิทธิดีกวําผ๎ูโอน” แตํถ๎า
ลูกหน้ีมีข๎อตํอสู๎ผู๎โอนภายหลังจากท่ีได๎รับคําบอกกลําวไปแล๎ว ลูกหน้ีก็ไมํสามารถจะยกข้ึน
เปน็ ข๎อตํอสู๎แกผํ รู๎ ับโอนได๎

278

11.6 แบบของการโอนสทิ ธิเรียกร้องตามเขาสั่ง การโอนสิทธิเรียกร๎องในหน้ีอันพึง
ตอ๎ งชาํ ระตามเขาส่ังน้ัน จะยกขึ้นเป็นข๎อตํอส๎ูลูกหน้ีหรือบุคคลภายนอกคนอ่ืนได๎ แตํเฉพาะ
เมื่อการโอนนั้นได๎สลักหลังไว๎ในตราสาร และตัวตราสารนั้นได๎สํงมอบให๎แกํผ๎ูรับโอนไปด๎วย
ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 309

11.7 สิทธิของลูกหน้ีท่ีจะสอบสวนถึงตัวผู้ทรงตราสาร ในมูลหนี้อันพึงต๎องชําระ
ตามเขาส่ังนั้น ลูกหน้ีมีสิทธิที่จะสอบสวนถึงตัวผ๎ูทรงตราสาร หรือสอบสวนความถูกต๎อง
แทจ๎ ริงแหงํ ลายมือชือ่ หรือดวงตราของผู๎ทรงได๎ แตํก็หามีความผูกพันท่ีจะต๎องทําถึงเพียงนั้น
ไมํ แตํถา๎ ลกู หนที้ ําการโดยทุจริตหรอื ประมาทเลนิ เลํออยํางร๎ายแรง การชําระหนี้น้ันก็ไมํเป็น
อนั สมบูรณ๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 311

11.8 การยกข้อต่อสู้ผู้รับโอน ในมูลหน้ีอันพึงต๎องชําระตามเขาสั่งน้ัน ลูกหนี้จะ
ยกข๎อตํอสซ๎ู ่ึงมตี อํ เจ๎าหน้ีเดมิ ขึ้นเปน็ ข๎อตํอสูผ๎ ๎ูรบั โอนโดยสุจริตน้ันหาได๎ไมํ เว๎นแตํท่ีปรากฏใน
ตัวตราสารนั้นเอง หรือที่มีข้ึนเป็นธรรมดาสืบจากลักษณะแหํงตราสารนั้น ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 312

279

12. คาถามทา้ ยบท
ข๎อ 1. นายหนึ่งเป็นเจ๎าหนี้เงินก๎ูนายสองจํานวน 100,000 บาท และนายสามเป็น

เจ๎าหนี้เงินก๎ูนายหนึ่งจํานวน 100,000 บาท ตํอมา นายหนึ่งและนายสามได๎ตกลงกันด๎วย
วาจาวํานายหนง่ึ ตกลงโอนสทิ ธเิ รยี กรอ๎ งท่ีนายหนง่ึ เป็นเจา๎ หนเ้ี งินกู๎นายสองจํานวน 100,000
บาท ให๎แกํนายสาม หลังจากน้ัน นายหน่ึงได๎สํงหนังสือบอกกลําวแกํนายสองถึงเรื่องที่
นายหน่ึงไดต๎ กลงโอนสิทธเิ รยี กรอ๎ งที่นายหน่ึงเป็นเจ๎าหนีเ้ งินกนู๎ ายสองจํานวน 100,000 บาท
ให๎แกนํ ายสาม

ดงั นี้ ใหว๎ นิ ิจฉยั วาํ นายสองตอ๎ งชําระหน้ใี ห๎แกํนายสามหรอื ไมํ
หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306 วรรคแรก, มาตรา
152
วินิจฉยั การที่นายหนงึ่ และนายสามไดต๎ กลงกันด๎วยวาจาวํานายหนึ่งตกลงโอนสิทธิ
เรียกร๎องท่ีนายหน่ึงเป็นเจ๎าหนี้เงินก๎ูนายสองจํานวน 100,000 บาท ให๎แกํนายสามน้ัน เป็น
กรณีการการโอนหน้ีอนั จะพงึ ต๎องชําระแกํเจ๎าหนี้คนหน่ึงโดยเฉพาะเจาะจง ซ่ึงเมื่อนายหนึ่ง
และนายสามได๎โทรศัพท๑คุยกันและตกลงกันด๎วยวาจา มิได๎ทําเป็นหนังสือ การโอนสิทธิ
เรียกร๎องนั้นจึงตกเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑มาตรา 306 วรรคแรก
ประกอบมาตรา 152 ดังน้ัน นายสองจึงไมํต๎องชําระหน้ีให๎แกํนายสาม แม๎นายหนึ่งจะได๎สํง
หนังสือบอกกลําวแกํนายสองถึงเร่ืองที่นายหนึ่งได๎ตกลงโอนสิทธิเรียกร๎องท่ีนายหนึ่งเป็น
เจ๎าหนี้เงนิ กนู๎ ายสองจํานวน 100,000 บาท ใหแ๎ กนํ ายสามแล๎วกต็ าม
สรปุ นายสองไมํตอ๎ งชาํ ระหน้ใี หแ๎ กนํ ายสาม

280

ข๎อ 2 นายหน่ึงเป็นเจ๎าหนี้เงินกู๎นายสองจํานวน 100,000 บาท และนายสามเป็น
เจา๎ หน้เี งินกูน๎ ายหนึง่ จาํ นวน 100,000 บาท ตอํ มา นายหนึ่งและนายสามได๎ตกลงกนั โอนสิทธิ
เรียกร๎องที่นายหน่ึงเป็นเจ๎าหน้ีเงินกู๎นายสองจํานวน 100,000 บาท ให๎แกํนายสาม โดย
นายหน่ึงลายมือช่ือฝ่ายเดียว นายสามไมํได๎ลงลายมือช่ือด๎วย หลังจากนั้น นายหน่ึงได๎สํง
หนังสือบอกกลําวแกํนายสองถึงเรื่องที่นายหนึ่งได๎ตกลงโอนสิทธิเรียกร๎องที่นายหน่ึงเป็น
เจา๎ หน้ีเงนิ กู๎นายสองจํานวน 100,000 บาท ให๎แกํนายสาม

ดังน้ี ให๎วนิ ิจฉยั วาํ นายสองตอ๎ งชําระหน้ีใหแ๎ กนํ ายสามหรือไมํ
หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 306 วรรคแรก
วนิ ิจฉัย แมน๎ ายหนึ่งผ๎โู อนสิทธิเรยี กรอ๎ งจะลงลายมอื ช่อื ฝา่ ยเดียว นายสามผ๎ูรบั โอน
สิทธิเรียกรอ๎ งไมไํ ด๎ลงลายมอื ชือ่ ด๎วย กถ็ ือวาํ มกี ารโอนสิทธิเรียกร๎องโดยทําเปน็ หนงั สอื แลว๎
ตามมาตรา 306 การโอนสิทธเิ รียกรอ๎ งจงึ สมบูรณ๑ (คําพิพากษาฎกี าที่ 1893/2512,
4139/2532) และเมอื่ นายหน่ึงได๎สํงหนงั สอื บอกกลําวแกํนายสองถงึ เรอ่ื งทน่ี ายหนึง่ ไดต๎ กลง
โอนสิทธเิ รียกร๎องที่นายหน่งึ เป็นเจ๎าหนเี้ งนิ กนู๎ ายสองจาํ นวน 100,000 บาท ใหแ๎ กํนายสาม
แล๎ว การโอนสทิ ธิเรยี กร๎องนัน้ จงึ ยกขน้ึ เปน็ ขอ๎ ตอํ สนู๎ ายสองไดด๎ งั นั้น นายสองจงึ ต๎องชําระหนี้
ให๎แกนํ ายสาม
สรปุ นายสองต๎องชาํ ระหน้ีใหแ๎ กํนายสาม

281

ข๎อ 3. นายสองทําสัญญากู๎ยืมเงินจากนายหนึ่งจํานวน 100,000 บาท และได๎มอบ
รถจักรยานยนต๑ไว๎เป็นการจํานํา ตํอมา นายหนึ่งได๎ตกลงโอนสิทธิเรียกร๎องท่ีนายหนึ่งเป็น
เจา๎ หน้ีเงินกู๎นายสองจํานวน 100,000 บาท ให๎แกํนายสาม โดยทําสัญญาโอนสิทธิเรียกร๎อง
เป็นหนังสือ และได๎สํงมอบรถจักรยานยนต๑ท่ีนายสองได๎จํานําไว๎กับตนให๎แกํนายสามด๎วย
ตํอมา นายหน่ึงได๎สํงหนังสือบอกกลําวแกํนายสองถึงเร่ืองท่ีนายหน่ึงได๎ตกลงโอนสิทธิ
เรียกร๎องท่ีนายหนง่ึ เปน็ เจา๎ หนี้เงินกู๎นายสองจํานวน 100,000 บาท ให๎แกํนายสาม หลังจาก
นน้ั นายสามไดฟ๎ ้องคดเี รียกให๎นายสองชําระหน้ีเงินกู๎และขอบังคับจํานํา แตํนายสองให๎การ
ตํอสูว๎ าํ การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ๎ งนัน้ ยงั มิไดร๎ บั ความยินยอมจากนายสอง นายสามจึงไมมํ สี ทิ ธิฟ้อง
คดเี รยี กให๎นายสองชาํ ระหนเี้ งินกู๎ และสัญญาโอนสิทธิเรยี กร๎องเป็นหนงั สือดังกลําวมิได๎มีการ
ตกลงเรอื่ งการจาํ นําไวด๎ ว๎ ย นายสามจงึ ไมํมีสทิ ธบิ งั คบั จํานาํ

ดงั น้ี ให๎วินิจฉยั วาํ ขอ๎ ตอํ ส๎ขู องนายสองฟ๓งขนึ้ หรือไมํ เพราะเหตุใด
หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306 วรรคแรก, มาตรา
305 วรรคแรก
วนิ ิจฉยั การทีน่ ายสองทําสัญญากยู๎ มื เงินจากนายหนึ่ง แล๎วตํอมานายหน่ึงได๎ตกลง
โอนสิทธิเรียกร๎องที่นายหน่ึงเป็นเจ๎าหนี้เงินก๎ูนายสองให๎แกํนายสาม โดยทําสัญญาโอนสิทธิ
เรียกรอ๎ งเปน็ หนงั สอื และนายสามได๎สํงหนงั สอื บอกกลาํ วแกํนายสองถงึ เรือ่ งที่นายหน่ึงได๎ตก
ลงโอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกนํ ายสามแล๎วนัน้ เป็นกรณีการโอนหนี้อันจะพึงต๎องชําระแกํเจ๎าหน้ี
คนหนงึ่ โดยเฉพาะเจาะจง ซ่ึงเมื่อได๎มีการโอนสิทธิเรียกร๎องโดยทําเป็นหนังสือ และได๎มีการ
บอกกลําวการโอนไปยังลูกหน้ีแล๎ว การโอนสิทธิเรียกร๎องน้ันจึงสมบูรณ๑และสามารถยกข้ึน
เปน็ ขอ๎ ตอํ สู๎ลูกหนไ้ี ด๎ โดยมิต๎องไดร๎ ับความยินยอมจากนายสองกํอนแตํอยํางใด ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 306 วรรคแรก ขอ๎ ตํอสู๎ของนายสองจึงฟ๓งไมขํ ึ้น
สํวนกรณีการขอบังคับจํานําน้ัน ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
305 กาํ หนดวําเมื่อมกี ารโอนสิทธิเรยี กรอ๎ งไป สทิ ธิจํานําที่ให๎ไว๎เพื่อสิทธิเรียกร๎องน้ัน ยํอมตก
ไปได๎แกํผู๎รับโอนด๎วย ดังน้ัน ข๎อตํอสู๎ของนายสองจึงฟ๓งไมํข้ึน เพราะนายสามมีสิทธิบังคับ
จํานาํ ได๎ แม๎วาํ สญั ญาโอนสิทธิเรียกร๎องเปน็ หนงั สอื ดังกลาํ วมไิ ด๎มีการตกลงเรื่องการจํานําไว๎ก็
ตาม
สรุป ข๎อตอํ สขู๎ องนายสองทั้งสองข๎อจึงฟ๓งไมํข้ึน

282

ข๎อ 4. นายสองทําสัญญากู๎ยืมเงินจากนายหนึ่งจํานวน 100,000 บาท ตํอมา
นายหนึ่งไดต๎ กลงโอนสิทธเิ รยี กร๎องท่ีนายหนง่ึ เปน็ เจา๎ หนเี้ งินกน๎ู ายสองจํานวน 100,000 บาท
ให๎แกํนายสาม โดยทําสัญญาโอนสิทธิเรียกร๎องเป็นหนังสือ ตํอมา นายสามได๎สํงหนังสือ
บอกกลาํ วแกํนายสองถึงเรือ่ งทีน่ ายหนึ่งไดต๎ กลงโอนสิทธเิ รยี กรอ๎ งท่ีนายหนึ่งเป็นเจ๎าหน้ีเงินกู๎
นายสองจํานวน 100,000 บาท ให๎แกํนายสาม หลังจากน้ัน นายสามได๎ฟ้องคดีเรียกให๎
นายสองชําระหนี้เงินก๎ู แตํนายสองให๎การตํอสู๎วําการที่นายสามได๎สํงหนังสือบอกกลําวแกํ
นายสองถึงเรื่องที่นายหนึ่งได๎โอนสิทธิเรียกร๎องให๎แกํนายสามน้ัน การบอกกลําวดังกลําวไมํ
ชอบ เพราะหน๎าทบี่ อกกลาํ วดังกลําวตอ๎ งเปน็ หน๎าทข่ี องเจ๎าหน้คี ือนายหน่งึ

ดงั นี้ ให๎วินิจฉัยวํานายสองต๎องชําระหน้ใี หแ๎ กนํ ายสามหรอื ไมํ
หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 306 วรรคแรก
วินิจฉัย
การทน่ี ายหนง่ึ ไดต๎ กลงโอนสทิ ธิเรียกรอ๎ งใหแ๎ กนํ ายสาม โดยทําสัญญาเป็นหนังสือน้ัน
การโอนสทิ ธเิ รียกรอ๎ งสมบรู ณ๑ ตามมาตรา 306 วรรคแรก
สวํ นการบอกกลาํ วการโอนสทิ ธเิ รียกรอ๎ งนน้ั เมือ่ ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 306 วรรคแรก มิได๎กําหนดไว๎วําผู๎โอนหรือผ๎ูรับโอนต๎องเป็นผ๎ูบอกกลําว นายสามจึง
สามารถบอกกลาํ วการโอนสิทธิเรียกรอ๎ งได๎ (คําพิพากษาฎกี าที่ 228/2482, 446/2495) และ
เมอ่ื นายสามไดบ๎ อกกลาํ วการโอนสิทธิเรียกร๎องไปยังนายสองแล๎ว การโอนสิทธิเรียกร๎องนั้น
จงึ ยกขน้ึ เปน็ ข๎อตอํ สู๎นายสองได๎ดังนนั้ นายสองจึงต๎องชาํ ระหนใี้ ห๎แกํนายสาม
สรุป นายสองต๎องชําระหนใี้ ห๎แกนํ ายสาม

283

บทท่ี 10
ความระงบั แหง่ หนี้
1. บทนา
ความระงับแหํงหนี้ทําให๎หน้ีที่มีอยูํส้ินผลบังคับไป เจ๎าหนี้จึงไมํอาจอ๎างสิทธิใด ๆ
เหนือหน้ีน้ันอีก เชํน เจ๎าหน้ีไมํมีสิทธิฟ้องร๎องตํอศาลเพื่อบังคับชําระหน้ี เจ๎าหน้ีไมํมีสิทธิ
ยึดหนวํ ง เจ๎าหนไ้ี มํมีสทิ ธโิ อนสิทธเิ รียกรอ๎ ง เป็นตน๎
ทั้งนี้ แม๎ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ บรรพ 2 วําด๎วยหนี้ ลักษณะ 1
บทเบ็ดเสร็จทั่วไป หมวด 5 ความระงับแหํงหนี้ จะแบํงความระงับแหํงหนี้ออกเป็น
5 ประการ คือ 1. การชําระหนี้ 2. การปลดหนี้ 3. การหักกลบลบหนี้ 4. การแปลงหนี้ใหมํ
5. หนี้เกลื่อนกลืนกัน แตํความระงับแหํงหน้ีก็อาจเกิดจากสาเหตุอ่ืนได๎อีก เชํน ถ๎าการชําระ
หน้กี ลายเป็นพน๎ วสิ ัยโดยมิใชํความผิดของลูกหน้ี ลูกหนี้เป็นอันหลุดพ๎นจากการชําระหน้ีนั้น
(มาตรา 219) นติ กิ รรมที่เปน็ โมฆียะเมื่อถกู บอกล๎าง ให๎ถือวําเป็นโมฆะมาแตํเริ่มแรก และให๎
ผ๎ูเป็นคํูกรณีกลับคืนสํูฐานะเดิม แตํถ๎าเป็นการพ๎นวิสัยจะให๎กลับคืนเชํนนั้นได๎ ก็ให๎ได๎รับ
คําเสียหายชดใช๎ให๎แทน (มาตรา 176) เมื่อคูํสัญญาฝ่ายหน่ึงได๎ใช๎สิทธิเลิกสัญญาแล๎ว
คสํู ญั ญาแตํละฝ่ายจาํ ต๎องให๎อกี ฝ่ายหน่ึงได๎กลับคืนสํูฐานะดังท่ีเป็นอยํูเดิม แตํการใช๎สิทธิเลิก
สัญญานัน้ หากระทบ กระทั่งถงึ สิทธเิ รียกร๎องคาํ เสยี หายไมํ (มาตรา 391) เป็นตน๎
อยํางไรก็ดี อาจมีบางกรณีที่เกิดความเข๎าใจคลาดเคล่ือนวําเกิดความระงับแหํงหนี้
แลว๎ แตํแท๎ท่จี ริงหนยี้ ังไมํระงับ เชนํ กรณีหนที้ ่ขี าดอายคุ วามน้ันหนี้ไมํระงับ กลําวคือ ลูกหนี้
มีสิทธิที่จะปฏิเสธการชําระหนี้ตามสิทธิเรียกร๎องนั้นได๎ (มาตรา 193/10) แตํหากลูกหนี้ได๎
ชําระหนซี้ ง่ึ ขาดอายคุ วามแล๎ว ลูกหน้ีไมํมีสิทธิจะได๎รับคืนทรัพย๑ (มาตรา 408 (2)) และหาก
เจา๎ หนใี้ ช๎สทิ ธิฟอ้ งรอ๎ งตอํ ศาลเพอื่ บังคบั ชําระหนี้ แล๎วลกู หนีไ้ มไํ ดย๎ กอายุความขึ้นเป็นข๎อตํอสู๎
ศาลจะอ๎างเอาอายุความมาเป็นเหตุยกฟ้องไมํได๎ (มาตรา 193/29) กรณีเจ๎าหน้ีหรือลูกหนี้
ตายน้ันหน้ีไมํระงับ กลําวคือ เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลน้ันตกทอดแกํทายาท
(มาตรา 1599) โดยทายาทต๎องรับไปทั้งทรัพย๑สิน สิทธิหน๎าที่และความรับผิดตําง ๆ ของ
เจ๎ามรดก (มาตรา 1600) แตํทายาทไมํจําต๎องรับผิดเกินกวําทรัพย๑มรดกท่ีตกทอดได๎แกํตน
(มาตรา 1601) เปน็ ตน๎
นอกจากนัน้ ในบางกรณีหน้อี าจมไิ ด๎ระงบั โดยสิ้นเชงิ กไ็ ด๎ เชํน กรณีการแปลงหนใี้ หมํ
โดยการเปลี่ยนตวั เจ๎าหนี้ ซึ่งแมห๎ นขี้ องเจ๎าหน้ีเดิมจะระงับไป แตํหน้ีของเจ๎าหนี้คนใหมํยังไมํ
ระงบั ไป เปน็ ต๎น

284

2. การชาระหนี้
การชาํ ระหนี้เปน็ เหตุทท่ี าํ ให๎หนร้ี ะงับไปที่เป็นกรณีปกติของความสัมพันธ๑ในทางหน้ี

กลําวคือ เม่ือมีหน้ีเกิดขึ้น โดยปกติแล๎วเจ๎าหน้ียํอมมุํงหวังจะได๎รับการชําระหน้ี สํวนความ
ระงบั แหํงหนด้ี ๎วยเหตอุ ื่นนั้นถอื เป็นกรณพี ิเศษของความสัมพันธ๑ในทางหน้ที ่ีอาจเกดิ ข้นึ

อยํางไรก็ดี การชําระหนี้ท่ีจะมีผลทําให๎หนี้ระงับไปนั้น ไมํใชํวําลูกหน้ีจะดําเนินการ
อยํางไรกไ็ ด๎ แตํลูกหน้ีต๎องดําเนินการชําระหนี้ตามหลักเกณฑ๑ที่กฎหมายกําหนดไว๎ประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 314 - 339 ดงั น้ี

2.1 ผ้ชู าระหนี้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 314 บัญญัติวํา “อันการชําระหนี้

น้ัน ทํานวําบุคคลภายนอกจะเป็นผ๎ูชําระก็ได๎ เว๎นแตํสภาพแหํงหนี้จะไมํเปิดชํองให๎
บคุ คลภายนอกชําระ หรอื จะขัดกับเจตนาอันคกํู รณไี ดแ๎ สดงไว๎

บุคคลผู๎ไมํมีสํวนได๎เสียด๎วยในการชําระหนี้น้ัน จะเข๎าชําระหนี้โดยขืนใจลูกหนี้
หาได๎ไมํ”

ผู้ชาระหน้ี สามารถแบํงออกเปน็ 3 ประเภท
1. ลูกหน้ี โดยปกติลูกหน้ีมีหน๎าที่โดยตรงในการชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหนี้ เพราะ
ลูกหน้ีเป็นผ๎กู ํอหน้ขี ึ้น
2. บคุ คลภายนอกผูม้ สี ่วนได้เสียในการชาระหน้ี เชํน ผู๎คํ้าประกัน ลูกหน้ีรํวม
เป็นต๎น แตํมีข๎อยกเว๎นซ่ึงกําหนดห๎ามบุคคลภายนอกผู๎มีสํวนได๎เสียในการชําระหน้ีชําระหน้ี
แทนอยูํ 2 กรณี คอื
1. สภาพแหํงหนี้ไมํเปดิ ชํองให๎บคุ คลภายนอกชาํ ระหนี้ กลําวคือ การชําระหน้ี
เป็นเรื่องเฉพาะตัวของลูกหน้ีท่ีจะต๎องชําระหน้ีเอง จะให๎บุคคลอ่ืนชําระหน้ีแทนไมํได๎ โดย
อาจเป็นหน้ีกระทําการ เชํน สัญญาจ๎างวาดรูป สัญญาจ๎างร๎องเพลง สัญญาจ๎างทําอาหาร
สญั ญาจา๎ งสอนภาษาอังกฤษ เป็นต๎น หรือเป็นหนี้งดเว๎นกระทําการ เชํน นาย ก. สัญญากับ
นาย ข. วําจะไมํเปิดร๎านขายอาหารแขํงกับนาย ข. ในบริเวณนี้ ดังน้ี นาย ก. ก็ต๎องงดเว๎น
กระทําการเอง คือ นาย ก. จะต๎องไมํเปิดร๎านขายอาหารแขํงกับนาย ข. เอง จะให๎
บคุ คลภายนอกไมํเปิดรา๎ นขายอาหารแขํงกบั นาย ข. แทนตนไมไํ ด๎ เป็นตน๎
2. ขดั กบั เจตนาอันคํกู รณีไดแ๎ สดงไว๎ กลาํ วคอื เจ๎าหน้ีและลูกหนี้ได๎ตกลงกันไว๎
วําลูกหน้ีต๎องเปน็ ผ๎ูชาํ ระหน้ีเองเทําน้ัน ห๎ามมิให๎บุคคลภายนอกชําระหนี้แทน ทั้งน้ี อาจเป็น
การตกลงในขณะทไ่ี ดก๎ ํอหน้ีหรือภายหลังทีไ่ ด๎กํอหน้ีแล๎วกไ็ ด๎

285

ขอ้ สงั เกต
1. ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 314 วรรคแรก กําหนดวําถ๎า
ขัดกับเจตนาอันคํูกรณีได๎แสดงไว๎ ซ่ึงคําวํา “คํูกรณี” น้ี หมายความวํา เจ๎าหนี้และลูกหน้ี
ดงั นนั้ ถ๎าเพยี งแตํเจา๎ หน้ีฝ่ายเดยี วไดแ๎ สดงเจตนาไว๎วาํ ลูกหน้ีต๎องชําระหน้ีเอง จะให๎บุคคลอื่น
ชาํ ระหน้แี ทนไมไํ ด๎ บุคคลภายนอกยอํ มชาํ ระหน้ีแทนลูกหน้ีได๎
2. สาํ หรับบุคคลภายนอกผู๎มีสํวนได๎เสียในการชําระหนี้นั้น ถ๎าสภาพแหํงหนี้
เปิดชํองให๎บุคคลภายนอกชําระหนี้แทนได๎ หรือไมํขัดกับเจตนาอันคํูกรณีได๎แสดงไว๎
บคุ คลภายนอกผม๎ู สี ํวนได๎เสยี สามารถชําระหนแี้ ทนลกู หนี้ได๎ แม๎จะเป็นการขืนใจลกู หน้ีกต็ าม
3. บุคคลภายนอกผู้ไม่มีส่วนได้เสียในการชาระหน้ี หากบุคคลภายนอกผู๎ไมํมี
สวํ นได๎เสยี ในการชาํ ระหน้ีมีความประสงค๑จะเข๎าชําระหน้ีแทน กฎหมายก็อนุญาตให๎กระทํา
ได๎ ซ่งึ การเขา๎ ชาํ ระหนีแ้ ทนนมี้ ักไมํคอํ ยพบปญ๓ หาในทางปฏบิ ตั ิ เนอื่ งจากในทางความเป็นจริง
คงไมมํ เี จ๎าหน้ีคนใดท่ีไมํอยากได๎รับการชําระหนี้ รวมถึงคงไมํมีบุคคลภายนอกคนใดท่ีอยาก
ชาํ ระหนแ้ี ทนดว๎ ย
อยํางไรก็ดี มีข๎อยกเว๎นซึ่งกําหนดห๎ามบุคคลภายนอกผ๎ูไมํมีสํวนได๎เสียในการ
ชาํ ระหน้ชี าํ ระหน้ีแทนมีอยํู 3 กรณี คือ
1. สภาพแหํงหน้ีไมํเปดิ ชอํ งใหบ๎ คุ คลภายนอกชําระหนี้
2. ขดั กับเจตนาอนั คูํกรณไี ดแ๎ สดงไว๎
3. เป็นการขืนใจลูกหน้ี กลําวคือ ลูกหน้ีไมํยินยอมให๎บุคคลภายนอกชําระหนี้
แทน ทงั้ น้ี เหตทุ กี่ ฎหมายห๎ามมิใหบ๎ คุ คลภายนอกผ๎ูไมมํ สี ํวนไดเ๎ สยี ชําระหนโ้ี ดยขนื ใจลูกหนี้ ก็
เพราะการชาํ ระหน้ีโดยขืนใจลูกหน้ีอาจกระทบกระเทือนถึงชื่อเสียงเกียรติคุณหรือจิตใจของ
ลูกหนี้ นอกจากน้ัน การที่บุคคลภายนอกชําระหน้ีแทนลูกหน้ีน้ันอาจเป็นผลร๎ายแกํลูกหนี้
เพราะมีผลเปน็ การรับสภาพหน้ี หรือทําให๎อายุความสะดุดหยุดลง หรือเป็นการให๎สัตยาบัน
โมฆียกรรมก็ได๎85 เชํน ถ๎าลูกหน้ียินยอมให๎บุคคลภายนอกชําระหน้ีบางสํวนแทน อายุความ
ยอํ มสะดุดหยุดลง แตถํ า๎ ลกู หนล้ี ูกหน้ีไมยํ นิ ยอมให๎บุคคลภายนอกชาํ ระหน้ีบางสํวนแทน อายุ
ความยอํ มไมํสะดุดหยดุ ลง เปน็ ต๎น

ขอ้ สงั เกต
1. ถา๎ บุคคลภายนอกได๎ขอปฏบิ ัตกิ ารชําระหน้ีตํอเจ๎าหนี้โดยชอบตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 314 หากเจ๎าหน้ีไมํรับชําระหน้ีโดยอ๎างวําบุคคลภายนอก
นั้นมใิ ชลํ ูกหนขี้ องตน ก็จะถือวําเจ๎าหนี้ไมํรับชําระหนี้ปราศจากมูลเหตุอันจะอ๎างกฎหมายได๎
เจ๎าหนจี้ ึงตกเปน็ ผูผ๎ ิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ 207

85โสภณ รัตนากร, เร่ืองเดิม, หนา๎ 471.

286

2. ถ๎าบุคคลภายนอกได๎ขอปฏิบัติการชําระหนี้ตํอเจ๎าหนี้โดยไมํชอบตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 314 คือ การชําระหน้ีนั้นเป็นกรณีท่ี 1. สภาพ
แหงํ หนี้ไมํเปิดชํองให๎บุคคลภายนอกชําระ 2. ขัดกับเจตนาอันคูํกรณีได๎แสดงไว๎ 3. เป็นการ
ขืนใจลูกหน้ี เจา๎ หน้ียอํ มไมํรับชําระหน้ีได๎ เพราะเจ๎าหน้ีมีเหตุท่ีจะอ๎างกฎหมายได๎ เจ๎าหนี้จึง
ไมํตกเปน็ ผผ๎ู ิดนดั ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 207

ปัญหา ถ๎าบุคคลภายนอกผ๎ูไมํมีสํวนได๎เสียในการชําระหน้ีได๎ชําระหน้ีแทน
โดยขืนใจลูกหน้ี แลว๎ เจา๎ หนไี้ ด๎รับชาํ ระหนีไ้ ว๎ หนน้ี ้ันกจ็ ะระงับไปหรอื ไมํ ในเรื่องนี้มีความเห็น
แตกตาํ งกนั โดยแบงํ ออกเปน็ 2 ฝ่าย ดงั น้ี

ฝ่ายแรก ถ๎าเจ๎าหน้ีได๎รับชําระหนี้ไว๎ หน้ีน้ันก็จะระงับไป86 เจ๎าหน้ีจะมา
เรียกจากลูกหนี้อีกไมไํ ด๎ และบุคคลภายนอกนัน้ ก็จะมาเรียกทรัพยค๑ ืนจากเจ๎าหน้ีไมํได๎ เพราะ
เป็นการชําระหนี้ตามอําเภอใจโดยร๎ูอยํูวําตนเองไมํมีหน๎าท่ีที่ต๎องชําระหน้ี ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 40787

ฝ่ายที่สอง ถ๎าบุคคลภายนอกผ๎ูไมํมีสํวนได๎เสียในการชําระหน้ีได๎ชําระหนี้
แทนโดยขืนใจลูกหน้ี แล๎วเจ๎าหน้ีได๎รับชําระหน้ีไว๎ ยํอมเป็นการชําระหนี้ที่ไมํชอบด๎วย
กฎหมาย ดงั นั้น หนี้จงึ ไมํระงบั 88

สําหรับผ๎ูเขียนมีความเห็นวํา เมื่อประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 314 กําหนดไว๎ชดั เจนแล๎ววาํ บคุ คลภายนอกผ๎ไู มมํ ีสํวนไดเ๎ สียในการชาํ ระหน้ีไมํมีสิทธิ
ชําระหน้ีแทนโดยขืนใจลูกหนี้ เพราะการท่ีบุคคลภายนอกชําระหน้ีแทนลูกหน้ีนั้นอาจเป็น
ผลร๎ายแกํลูกหน้ี เชํน ทําให๎อายุความสะดุดหยุดลง เป็นต๎น ดังน้ัน ถ๎าบุคคลภายนอกผู๎ไมํมี
สํวนได๎เสียในการชําระหนี้ได๎ชําระหนี้แทนโดยขืนใจลูกหนี้ หน้ีจึงไมํระงับ โดยใน
ความสัมพันธ๑ระหวํางเจ๎าหน้ีและลูกหนี้ ลูกหน้ีก็ยังคงมีหน๎าที่ต๎องชําระหนี้ตํอไป สํวนใน
ความสัมพันธ๑ระหวํางเจา๎ หนแ้ี ละบุคคลภายนอกน้ัน บุคคลภายนอกจะมีสิทธิได๎รับทรัพย๑นั้น
คืนหรือไมํ ต๎องพิจารณาตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 406 และมาตรา
407 และในความสมั พนั ธร๑ ะหวํางลกู หน้แี ละบคุ คลภายนอกนั้น บุคคลภายนอกยํอมไมํได๎รับ
ชวํ งสทิ ธมิ าจากเจ๎าหน้โี ดยผลของกฎหมาย และเม่ือลูกหน้ีและบุคคลภายนอกไมํได๎ตกลงกัน
วําให๎บุคคลภายนอกชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหน้ีกํอน แล๎วลูกหนี้จะชําระหนี้ชดใช๎ให๎แกํ
บุคคลภายนอก บุคคลจงึ ไมํมีสทิ ธเิ รยี กรอ๎ งให๎ลกู หนชี้ าํ ระหน้ใี ห๎แกตํ น

86เสนยี ๑ ปราโมช (ปรับปรุงแก๎ไขโดยมุนินทร๑ พงศาปาน), เรื่องเดิม, หน๎า 979-980,
โสภณ รตั นากร, เรอื่ งเดมิ , หนา๎ 471-472.

87สุนทร มณสี วสั ด์ิ, เรือ่ งเดิม, หนา๎ 301.
88ไพโรจน๑ วายภุ าพ, เรื่องเดมิ , หน๎า 457.

287

2.2 ผรู้ ับชาระหน้ี
2.2.1 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 315
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 315 บัญญัติวํา “อันการ

ชําระหน้นี นั้ ต๎องทําให๎แกตํ วั เจา๎ หนหี้ รอื แกํบคุ คลผู๎มอี ํานาจรับชาํ ระหนีแ้ ทนเจ๎าหน้ี การชําระ
หนใี้ ห๎แกํบคุ คลผูไ๎ มํมีอาํ นาจรบั ชาํ ระหนน้ี นั้ ถ๎าเจ๎าหนี้ให๎สตั ยาบนั ก็นับวําสมบรู ณ๑”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 315 การชําระหน้ีจะ
สมบรู ณ๑และมีผลทําให๎หนร้ี ะงับ เม่อื ได๎ชาํ ระหนีใ้ ห๎แกํบคุ คลดังตอํ ไปน้ี

1. เจา้ หน้ี
2. บุคคลผู้มอี านาจรับชาระหนแ้ี ทนเจา้ หนี้ กล่าวคอื

2.1 บุคคลผู้มีอานาจรับชาระหน้ีแทนเจ้าหน้ีโดยนิติกรรมที่เจ้าหนี้
ไดท้ าไว้ หมายถึง บุคคลทเี่ จ๎าหนี้มอบอาํ นาจให๎เปน็ รบั ชําระหนแ้ี ทน

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 747/2510 เจ๎าหน้ีมอบอํานาจให๎ภริยา
รบั ชําระหนี้แทนตนเอง การท่ีลูกหนี้ชําระหน้ีตํอภริยาของเจ๎าหน้ี จึงถือวําเป็นการชําระหน้ี
แกํบุคคลผู๎มีอํานาจรับชําระหนี้แทนเจ๎าหน้ี ชอบด๎วยบทบัญญัติแหํงประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 315 แลว๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2113/2522 ส. เป็นตัวแทนของโจทก๑
จาํ เลยชําระหนใ้ี หแ๎ กํ ส. ถือวาํ จาํ เลยชาํ ระแกผํ ูม๎ ีอํานาจรับชาํ ระหนี้

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1647/2524 จําเลยได๎ชําระหนี้ให๎โจทก๑
ผาํ น ช. ตลอดมา โจทกเ๑ องกร็ เ๎ู รื่องน้ีและยินยอมให๎ ช. รับชําระหนี้แทนโจทก๑ จึงถือวําโจทก๑
เชิด ช. ให๎เปน็ ตัวแทนรับชาํ ระหน้ี

2.2 บุคคลผู้มีอานาจรับชาระหนี้แทนเจ้าหน้ีโดยบทบัญญัติของ
กฎหมาย เชํน บิดามารดาหรือผู๎ปกครองยํอมมีอํานาจรับชําระหนี้แทนผู๎เยาว๑ซึ่งเป็นเจ๎าหน้ี
ได๎ หรือผู๎อนุบาลยํอมมีอํานาจรับชําระหนี้แทนคนไร๎ความสามารถซึ่งเป็นเจ๎าหนี้ได๎
หรือผ๎ูพิทักษ๑ยํอมมีอํานาจรับชําระหน้ีแทนคนเสมือนไร๎ความสามารถซ่ึงเป็นเจ๎าหนี้ได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 1571 ซึ่งบัญญัติวํา “อํานาจปกครองนั้น รวมท้ัง
การจัดการทรพั ย๑สนิ ของบตุ รด๎วย และให๎จัดการทรัพย๑สินน้ันด๎วยความระมัดระวังเชํนวิญ๒ู
ชนจะพึงกระทํา”

หรอื ผ๎ูจดั การมรดกยํอมมอี าํ นาจรับชําระหน้ีแทนเจ๎ามรดกซ่ึงเป็น
เจา๎ หนไ้ี ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 1736 วรรคท๎าย ซึ่งบัญญัติวํา “...
อนึ่ง ผูจ๎ ัดการมรดกต๎องทําการทุกอยํางตามท่ีจําเป็น เพื่อเรียกเก็บหนี้สินซึ่งค๎างชําระอยํูแกํ
กองมรดกภายในเวลาอันเร็วที่สุดท่ีจะทําได๎ และเม่ือเจ๎าหน้ีกองมรดกได๎รับชําระหน้ีแล๎ว
ผู๎จัดการมรดกตอ๎ งทาํ การแบํงปน๓ มรดก”


Click to View FlipBook Version