The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auttapon_tepsong, 2022-04-17 14:02:03

คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะหนี้

คำอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะหนี้

338

ถูกต๎องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 152
เปน็ ต๎น ยํอมเป็นอนั เสยี เปลาํ จงึ ไมํมหี น้ีเดมิ ดงั น้ัน จึงไมํสามารถนํามาแปลงหนี้ใหมํได๎ สํวน
นิติกรรมใดที่เป็นโมฆียะ ยํอมสมบูรณ๑จนกวําจะถูกบอกล๎าง จึงมีหน้ีเดิม ดังนั้น จึงสามารถ
นํามาแปลงหน้ใี หมไํ ด๎ โดยประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 180 (3) กําหนดวํานิติ
กรรมท่ีเป็นโมฆยี ะทไี่ ด๎มกี ารแปลงหนใ้ี หมํให๎ถือวาํ เปน็ การใหส๎ ตั ยาบนั

2. หนี้ที่ขาดอายุความแล๎วน้ัน หากเจ๎าหน้ีเรียกร๎องให๎ลูกหนี้ชําระหนี้
แมล๎ กู หนี้จะมีสิทธทิ ีป่ ฏเิ สธการชําระหนี้ตามสิทธิเรียกร๎องนั้นได๎ ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 193/10 แตํหนี้น้ันมอี ยูํจริง จึงถือวํามีหนี้เดิม ดังนั้น จึงสามารถนํามาแปลง
หนใี้ หมํได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5329/2538 การท่ีจําเลยทําหนังสือสัญญา
แปลงหนีจ้ ากหนี้ตามตว๋ั สัญญาใช๎เงินเป็นหนี้เงินก๎ูน้ัน แม๎หนี้ตามต๋ัวสัญญาใช๎เงินจะขาดอายุ
ความแล๎ว แตํเม่ือมีการแปลงหนี้ โจทก๑จําเลยจึงต๎องผูกพันกันตามหนังสือสัญญาแปลงหนี้
ดังกลําว จาํ เลยจะยกอายุความตามต๋วั สัญญาใชเ๎ งินขน้ึ ตํอส๎ูโจทก๑ไมไํ ด๎

3. หน้ีที่ขาดหลักฐานในการฟ้องคดี เพียงแตํฟ้องร๎องไมํได๎เทําน้ัน
แตํ เป็นหน้ีทม่ี อี ยํจู รงิ จึงถือวํามีหน้ีเดิม ดังนั้น จงึ สามารถนํามาแปลงหน้ีใหมํได๎ เชํน นาย ก.
ให๎นาย ข. กยู๎ ืมเงนิ จํานวน 500,000 บาท โดยมิได๎มีหลักฐานเปน็ หนงั สือ ดังน้ี เมื่อหนี้เงินกู๎มี
อยจํู ริง การทีน่ าย ข. ทําสัญญาขายฝากเทําจํานวนหนี้ท่ีค๎างชําระอยูํ ยํอมเป็นการแปลงหน้ี
ใหมํได๎ (คําพิพากษาฎกี าท่ี 405/2498) เป็นต๎น

5.1.2. คู่กรณีท่ีเกี่ยวข้องได้ทาสัญญาเปลี่ยนส่ิงซ่ึงเป็นสาระสาคัญแห่งหนี้
การแปลงหนใ้ี หมํ ต๎องเป็นการทําสัญญาเปล่ียนส่ิงซ่ึงเป็นสาระสําคัญแหํงหน้ี ซึ่งการเปล่ียน
สงิ่ ซ่งึ เปน็ สาระสาํ คญั แหํงหน้ี มดี งั นี้

5.1.2.1 การเปล่ียนตัวเจ้าหนี้ การแปลงหน้ีใหมํโดยการเปล่ียนตัว
เจา๎ หน้ี หมายถึง การท่ีคํูกรณีท่ีเก่ียวข๎องท้ังสามฝ่าย คือ เจ๎าหน้ีเดิม เจ๎าหน้ีใหมํ และลูกหนี้
ได๎ตกลงกันเปล่ียนตัวเจ๎าหนี้ เชํน นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้ของนาย ข. ตํอมา คํูกรณีท่ีเก่ียวข๎อง
อนั ไดแ๎ กํ นาย ก. นาย ข. และนาย ค. ได๎ตกลงกันแปลงหนี้ใหมํ โดยการให๎นาย ค. เข๎าเป็น
เจ๎าหน้ีแทนนาย ก. เป็นต๎น ดังน้ี หนี้ระหวํางนาย ก. และนาย ข. เป็นอันระงับไป และเกิด
เป็นหน้ีใหมํระหวํางนาย ค. และนาย ข.

ท้ังนี้ การโอนสิทธิเรียกร๎องและการแปลงหนี้ใหมํโดยการ
เปลย่ี นตวั เจา๎ หน้ีมีความแตกตาํ งกัน กลาํ วคือ การโอนสิทธิเรียกร๎อง หมายถึง การตกลงโอน
สิทธิเรียกร๎องระหวํางเจ๎าหน้ีซึ่งเป็นผ๎ูโอนกับผ๎ูรับโอนสิทธิ โดยลูกหนี้ไมํจําเป็นต๎องตกลง
ยินยอมดว๎ ย สํวนการแปลงหน้ีใหมํโดยการเปล่ียนตัวเจ๎าหนี้ หมายถึง การตกลงกันระหวําง
คูกํ รณีท่ีเก่ยี วข๎องทั้งสามฝ่ายคือ เจา๎ หน้เี ดมิ เจ๎าหนใ้ี หมํ และลกู หน้ี

339

อยํางไรก็ดี ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 349
วรรคสาม บัญญัติวํา “ถ๎าแปลงหน้ีใหมํด๎วยเปลี่ยนตัวเจ๎าหน้ี ทํานให๎บังคับด๎วยบทบัญญัติ
ทง้ั หลายแหํงประมวลกฎหมายนวี้ าํ ดว๎ ยโอนสทิ ธิเรียกร๎อง” ดังนั้น การแปลงหนี้ใหมํโดยการ
เปล่ียนตัวเจ๎าหน้ี จึงต๎องนําเร่ืองแบบของการโอนสิทธิเรียกร๎อง ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 306 มาใช๎บงั คับโดยอนุโลม คอื การตกลงระหวํางเจา๎ หน้เี ดิมและเจ๎าหนี้
ใหมํต๎องทาํ เปน็ หนังสอื และการตกลงของลูกหนกี้ ็ต๎องทําเป็นหนงั สือ

5.1.2.1.2 การเปล่ียนตัวลูกหนี้ การแปลงหน้ีใหมํโดยการเปล่ียนตัว
ลูกหนี้ หมายถึง การทค่ี ูกํ รณที ่ีเกีย่ วขอ๎ งท้ังสามฝา่ ย คือ เจา๎ หน้ี ลูกหนเี้ ดมิ และลูกหน้ีใหมํ ได๎
ตกลงกนั เปลี่ยนตัวลูกหน้ี เชํน นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้ของนาย ข. ตํอมา คูํกรณีที่เกี่ยวข๎อง อัน
ได๎แกํ นาย ก. นาย ข. และนาย ค. ได๎ตกลงกันแปลงหนี้ใหมํ โดยการให๎นาย ค. เข๎าเป็น
ลูกหนี้แทนนาย ข. เป็นต๎น ดังน้ี หน้ีระหวํางนาย ก. และนาย ข. เป็นอันระงับไป และเกิด
เป็นหนีใ้ หมรํ ะหวาํ งนาย ก. และนาย ค.

อยํางไรก็ดี ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 350
บัญญัติวํา “แปลงหนใ้ี หมํด๎วยเปลี่ยนตัวลูกหนี้นั้น จะทําเป็นสัญญาระหวํางเจ๎าหน้ีกับลูกหน้ี
คนใหมํก็ได๎ แตํจะทําโดยขืนใจลูกหนี้เดิมหาได๎ไมํ” ซ่ึงหมายความวํา การแปลงหน้ีใหมํโดย
การเปล่ียนตัวลกู หนี้น้ัน จะทําเป็นสัญญาระหวํางเจ๎าหนี้กับลูกหนี้คนใหมํเทํานั้น โดยลูกหนี้
คนเดิมไมํได๎ทําสัญญาด๎วยก็ได๎ เพราะการเปลี่ยนตัวลูกหนี้ ไมํได๎กํอให๎เกิดความเสียหายตํอ
ลกู หนเ้ี ดมิ อีกท้ังยังทาํ ใหล๎ กู หนี้เดมิ ไดร๎ บั ประโยชน๑คือหลุดพน๎ จากการชาํ ระหน้ีอีกด๎วย ดงั น้ัน
กฎหมายจึงสันนิษฐานวําลูกหนี้เดิมก็คงนําจะยินยอม แตํอยํางไรก็ดี การแปลงหน้ีใหมํโดย
การเปลย่ี นตัวเจา๎ หนี้น้นั จะทําโดยขนื ใจลูกหนเี้ ดมิ ไมไํ ด๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 451/2507 ภริยาของจําเลยไปกู๎ยืม
เงนิ โจทก๑มา ตํอมาจําเลยเข๎ามารับเป็นลูกหน้แี ทน โดยทําเปน็ สัญญาระหวํางเจ๎าหนี้กับลูกหนี้
คนใหมํ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 350 ได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5894/2531 จําเลยทําบันทึก
ขอ๎ ตกลงกับโจทกย๑ อมชําระหน้แี ทนมารดาจําเลย ดังน้ี บันทึกดังกลําวเป็นการแปลงหนี้ใหมํ
ดว๎ ยการเปล่ยี นตวั ลูกหนี้จากมารดาจาํ เลยเปน็ จาํ เลย

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1715/2518 จําเลยออกเช็คชําระหนี้
แกโํ จทก๑ เช็คข้นึ เงินไมํได๎ โจทก๑รับเช็คท่ีผู๎อ่ืนส่ังจํายแทนเช็คเดิม ดังนี้ เป็นการแปลงหน้ีใหมํ
หน้ีตามเชค็ เดิมระงบั ไป

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 703/2535 ลูกหน้ีเดิมได๎ตกลงกับ

ลูกหน้ีใหมํเพื่อเปลี่ยนตัวลูกหน้ี ดังนี้ ไมํถือเป็นการแปลงหน้ีใหมํโดยการเปล่ียนตัวลูกหนี้

340

เพราะการแปลงหนี้ใหมํจะต๎องมีการทําสัญญาระหวํางเจ๎าหนี้กับลูกหนี้ใหมํ ตามประมวล

กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 350

5.1.2.1.3 การเปล่ยี นตัวหน้ี
1) การเปล่ียนมูลหน้ี หมายถึง การที่คํูกรณีท่ีเก่ียวข๎อง คือ

เจ๎าหนีแ้ ละลกู หนี้ ไดต๎ กลงกันเปล่ียนมลู หน้ี เชนํ หน้ีเดิมเป็นหนี้ละเมดิ แล๎วไดต๎ กลงกนั เปล่ียน
หนใ้ี หมเํ ปน็ หน้ีสญั ญาก๎ู หรือหนีเ้ ดิมเป็นหน้ีคาํ จ๎างแรงงานแลว๎ ไดต๎ กลงกันเปล่ียนหน้ีใหมํเป็น
หน้ีสัญญาก๎ู หรือหนี้เดิมเป็นหนี้คําจ๎างทําของแล๎วได๎ตกลงกันเปลี่ยนหนี้ใหมํเป็นหนี้สัญญา
ประนีประนอมยอมความ หรอื หนเ้ี ดิมเป็นหนี้ตามเช็คแล๎วได๎ตกลงกันเปล่ียนหนี้ใหมํเป็นหนี้
สัญญากู๎ หรอื หนี้เดมิ เปน็ หนี้สัญญาซือ้ ขายสินคา๎ แล๎วได๎ตกลงกันเปล่ียนหน้ใี หมเํ ปน็ หน้ีสัญญา
กู๎ เปน็ ตน๎

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2044/2514 คํูกรณีสามารถ
แปลงหนใ้ี หมํ โดยการตกลงทําสญั ญาขายฝากทด่ี ิน โดยถอื เอาหน้เี งนิ กูเ๎ ป็นราคาท่ีขายฝากได๎

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 315/2522 การที่จําเลยกู๎เงิน
โจทก๑ 5,000 บาท แล๎วตํอมาจาํ เลยตกลงโอนที่พิพาทให๎แกํโจทก๑เป็นการชําระหนี้เงินกู๎ โดย
ทําเป็นหนังสอื สัญญาจะซ้ือขายท่ีพพิ าทนั้น ถอื เป็นการแปลงหนีใ้ หมํ

2) การเปลี่ยนวัตถุแหง่ หน้ี หมายถงึ การท่คี ํกู รณีท่ีเก่ียวข๎อง
คอื เจ๎าหนแี้ ละลูกหน้ี ได๎ตกลงกนั เปลย่ี นวัตถุแหํงหนี้

ตัวอย่างท่ี 1 หนี้เดิมเป็นหนี้กระทําการแล๎วได๎ตกลงกัน
เปล่ียนหน้ใี หมํเป็นหนี้สงํ มอบทรัพย๑สิน เชํน หนี้เดิมเป็นหนี้สัญญากํอสร๎างบ๎านแล๎วได๎ตกลง
กันเปลยี่ นหน้ใี หมํเป็นหนส้ี ัญญาก๎ู เป็นต๎น

ตัวอย่างที่ 2 หน้ีเดิมเป็นหนี้สํงมอบทรัพย๑สินแล๎วได๎ตก
ลงกันเปลี่ยนหนี้ใหมเํ ป็นหน้ีกระทาํ การ เชนํ หน้ีเดิมเป็นหน้ีสัญญาซื้อขายสินค๎าแล๎วได๎ตกลง
กันเปลี่ยนหนี้ใหมํเป็นหนี้ถํายภาพยนตร๑โฆษณาแทน (คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1008/2520)
เปน็ ตน๎

3) การเปล่ียนทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ หมายถึง การท่ี
คูํกรณีท่ีเก่ียวข๎อง คือ เจ๎าหนี้และลูกหนี้ ได๎ตกลงกันเปลี่ยนทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงหน้ี
กลาํ วคอื หนเี้ ดมิ เปน็ หนส้ี ํงมอบทรัพย๑สินอยํางหนึ่งแล๎วได๎ตกลงกันเปล่ียนหน้ีใหมํเป็นหนี้สํง
มอบทรัพย๑สินอีกอยํางหนึ่ง เชํน หน้ีเดิมเป็นหนี้สัญญาซื้อขายม๎า 2 ตัว แล๎วได๎ตกลงกัน
เปลย่ี นหนใ้ี หมเํ ป็นหน้ีสัญญาซ้ือขายรถยนต๑ 1 คนั แทน เปน็ ต๎น

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 394/2488 เดิมโจทก๑จําเลยทํา
สัญญาจะซ้ือท่ีดินกันราคาเงิน 1,550 บาท โจทก๑จําเลยได๎ตกลงทําสัญญากันใหมํ โดยข้ึน
ราคาที่ดินท่ีจะซื้อขายกันน้ันอีก 200 บาท เป็นราคาที่ดิน 1,750 บาท ดังน้ี ถือวําข๎อความ

341

หนังสอื สัญญาฉบบั ใหมไํ ด๎เปลี่ยนแปลงขอ๎ สญั ญาเดมิ ในสาระสําคัญ อันเป็นการแปลงหนี้ใหมํ
ดังนัน้ จึงต๎องบงั คบั คดีตามสัญญาฉบบั ใหมํ

4) การทาหน้ีมีเง่ือนไขให้กลายเป็นหน้ีปราศจากเงื่อนไข
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 349 วรรคสอง บัญญัติวํา “ถ๎าทําหนี้มีเงื่อนไขให๎
กลายเป็นหนี้ปราศจากเงื่อนไขก็ดี... ทํานถือวําเป็นอันเปล่ียนส่ิงซึ่งเป็นสาระสําคัญแหํงหนี้
นั้น”เชนํ นาย ก. ทาํ สญั ญาจะซ้ือรถยนต๑จากนาย ข. โดยมีเง่ือนไขวํานาย ข. ต๎องไปทําสีรถ
ใหมํกํอน ตํอมานาย ก. และนาย ข. ได๎ตกลงทําสัญญาจะซ้ือรถยนต๑น้ันกันใหมํโดยยกเลิก
เง่ือนไขดงั กลาํ ว เปน็ ต๎น

5) การเพิ่มเติมเงื่อนไข ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 349 วรรคสอง บัญญัติวํา “ถ๎า...เพ่ิมเติมเง่ือนไขเข๎าในหนี้อันปราศจาก
เง่ือนไขก็ดี... ทํานถือวําเป็นอันเปล่ียนส่ิงซึ่งเป็นสาระสําคัญแหํงหน้ีน้ัน”เชํน นาย ก. ทํา
สญั ญาจะซ้ือรถยนต๑จากนาย ข. ตํอมานาย ก. และนาย ข. ได๎ตกลงทําสัญญาจะซื้อรถยนต๑
นัน้ กนั ใหมํโดยมีเง่ือนไขวํานาย ข. ตอ๎ งไปทาํ สีรถใหมํกอํ น เปน็ ต๎น

6) การเปล่ียนเง่ือนไข ประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 349 วรรคสอง บัญญตั ิวาํ “ถ๎า...เปลี่ยนเง่ือนไขก็ดี ทํานถือวําเป็นอันเปลี่ยน
ส่ิงซ่ึงเป็นสาระสําคัญแหํงหนี้น้ัน” เชํน นาย ก. ทําสัญญาจะซื้อรถยนต๑จากนาย ข. โดยมี
เงอ่ื นไขวาํ นาย ข. ต๎องไปทําสีรถใหมํกํอน ตํอมานาย ก. และนาย ข. ได๎ตกลงทําสัญญาจะซื้อ
รถยนต๑น้ันกนั ใหมํ โดยเปลยี่ นเง่ือนไขวํานาย ข. ต๎องไปเปลย่ี นยางล๎อรถกํอน เป็นตน๎

ข้อสงั เกต กรณีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงบางสิ่งเกยี่ วกับหน้ี แตํมิใชํการ
เปลยี่ นสง่ิ ซึง่ เป็นสาระสาํ คญั แหํงหน้ี ยํอมไมํถือเปน็ การแปลงหน้ีใหมํ เชํน

1. การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับดอกเบี้ย เชํน หนี้ซ่ึงไมํมีดอกเบ้ีย
ตอํ มาไดต๎ กลงกันใหม๎ ดี อกเบ้ีย หรือหนีซ้ ึง่ มดี อกเบี้ย ตํอมาได๎ตกลงกันให๎ไมํมีดอกเบี้ย หรือมี
การเพ่มิ หรือลดอตั ราดอกเบย้ี ในหน้นี ้นั

2. การเปล่ียนแปลงหนี้อุปกรณ๑ เชํน หนี้ไมํมีผ๎ูคํ้าประกัน จํานํา
จาํ นอง ตํอมาไดต๎ กลงกนั ให๎มผี คู๎ ํา้ ประกนั จาํ นาํ จํานอง หรือหน้ีมีผ๎ูคํ้าประกัน จํานํา จํานอง
ตํอมาได๎ตกลงกันใหไ๎ มํมีผู๎คํ้าประกัน จํานํา จํานอง หรือการเพิ่มหรือลดหลักประกันแหํงหน้ี
น้ัน เป็นต๎น

3. การเปลยี่ นแปลงสถานที่ในการชําระหน้ี
4. การเปลยี่ นแปลงกาํ หนดเวลาในการชําระหน้ี
5. การรับสภาพหนี้
6. การรวมหนเ้ี ข๎าด๎วยกนั หรือการแบงํ แยกหนอ้ี อกเปน็ สวํ น ๆ
7. การทล่ี ูกหน้ีนาํ เชค็ ชําระหน้ี

342

8. การขอผอํ นชําระหน้ี

5.2 หน้ีใหมไ่ ม่เปน็ ผล หน้เี ดิมจงึ ไม่ระงับ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 351 บัญญัติวํา “ถ๎าหน้ีอันจะพึง

เกิดข้ึนเพราะแปลงหน้ีใหมํนั้นมิได๎เกิดมีขึ้นก็ดี ได๎ยกเลิกเสียเพราะมูลแหํงหนี้ไมํชอบด๎วย
กฎหมาย หรือเพราะเหตุอยาํ งใดอยํางหนงึ่ อันมริ ู๎ถงึ คกํู รณีก็ดี ทํานวําหน้ีเดิมน้ันก็ยังหาระงับ
ส้นิ ไปไมํ”

ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 351 หมายความวํา ถ๎าหน้ีใหมํ
ไมเํ ป็นผล หนเ้ี ดิมยอํ มไมํระงับไป ดังนี้

1. ถ๎าหนี้อันจะพึงเกิดข้ึนเพราะแปลงหน้ีใหมํน้ันมิได๎เกิดมีข้ึน เชํน นาย ก. ได๎
กูย๎ ืมเงนิ ไปจากนาย ข. ตํอมานาย ก. ไมมํ เี งนิ ชําระหน้ี นาย ก. และนาย ข. จึงได๎ตกลงกันให๎
นาย ก. ขายท่ีดินให๎แกํนาย ข. แทน แตํปรากฏวําการซ้ือขายน้ันมิได๎ทําเป็นหนังสือและจด
ทะเบียนตํอพนกั งานเจา๎ หน๎าที่ จึงตกเป็นโมฆะ ดังน้ี เมื่อหน้ีอันจะพึงเกิดข้ึนเพราะแปลงหน้ี
ใหมํ คือ หนี้ตามสัญญาซื้อขาย มิได๎เกิดมีขึ้น หนี้เดิม คือ หนี้ตามสัญญากู๎ยืม จึงไมํระงับไป
เปน็ ต๎น

2. ถ๎าหนี้อันจะพึงเกิดข้ึนได๎ยกเลิกเสียเพราะมูลแหํงหนี้ไมํชอบด๎วยกฎหมาย
เชนํ นาย ก. ได๎ก๎ูยืมเงินไปจากนาย ข. ตํอมานาย ก. ไมํมีเงินชําระหนี้ นาย ก. และนาย ข.
จึงได๎ตกลงกันให๎นาย ก. ขายยาเสพติดให๎แกํนาย ข. แทน ซ่ึงการซื้อขายยาเสพติดนั้นมี
วัตถุประสงค๑ต๎องห๎ามชัดแจ๎งโดยกฎหมาย จึงตกเป็นโมฆะ ดังนี้ เมื่อหนี้อันจะพึงเกิดขึ้น
เพราะแปลงหนี้ใหมํ คือ หนี้ตามสัญญาซ้ือขาย ได๎ยกเลิกเสียเพราะมูลแหํงหน้ีไมํชอบด๎วย
กฎหมาย หน้ีเดมิ คือ หนีต้ ามสญั ญากูย๎ ืม จงึ ไมรํ ะงบั ไป

3. ถ๎าหนี้อันจะพึงเกิดข้ึนได๎ยกเลิกเสียเพราะเหตุอยํางใดอยํางหน่ึงอันมิรู๎ถึง
คกํู รณี เชํน นาย ก. ได๎กู๎ยืมเงินไปจากนาย ข. ตํอมานาย ก. ไมํมีเงินชําระหน้ี นาย ก. และ
นาย ข. จงึ ได๎ตกลงกนั วําให๎นาย ก. ขายแหวนประจําตระกูลให๎แกํนาย ข. แทน โดยนาย ก.
และนาย ข. คิดวํามีตระกูลของนาย ก. มีแหวนประจําตระกูล แตํความจริงตระกูลของนาย
ก. ไมมํ แี หวนประจาํ ตระกลู สัญญาซ้อื ขายแหวนประจําตระกูลจึงไมํอาจเกิดขึ้นได๎ ดังนี้ เม่ือ
หนี้อันจะพึงเกิดข้ึนเพราะแปลงหนี้ใหมํ คือ หน้ีตามสัญญาซื้อขาย ได๎ยกเลิกเสียเพราะเหตุ
อยาํ งใดอยาํ งหนง่ึ อันมิรถ๎ู ึงคกํู รณี หนเี้ ดมิ คอื หนี้ตามสัญญากยู๎ ืม จงึ ไมํระงบั ไป เป็นต๎น

343

5.3 การโอนสิทธิจานาหรือจานองท่ีได้ให้ไว้เป็นประกันหนี้เดิมนั้นไปเป็นประกัน
หนร้ี ายใหมไ่ ด้

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 352 บัญญัติวํา “คูํกรณีในการ
แปลงหนใ้ี หมอํ าจโอนสทิ ธิจํานําหรอื จาํ นองทไ่ี ดใ๎ หไ๎ ว๎เปน็ ประกันหน้ีเดิมน้ันไปเป็นประกันหนี้
รายใหมํได๎ เพียงเทําท่เี ปน็ ประกันวัตถแุ หงํ หนี้เดิม แตํหลักประกันเชนํ วาํ น้ี ถ๎าบุคคลภายนอก
เปน็ ผูใ๎ หไ๎ วไ๎ ซร๎ ทาํ นวาํ จาํ ตอ๎ งได๎รับความยินยอมของบุคคลภายนอกน้นั ดว๎ ยจึงโอนได๎”

โดยปกตเิ มือ่ มีการแปลงหน้ีใหมํ หน้ีเดิมยํอมระงับ และสิทธิจํานําหรือจํานองท่ี
ไดใ๎ หไ๎ ว๎เป็นประกนั หนี้เดิมกย็ อํ มระงับไปด๎วย แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
352 ได๎กําหนดไว๎เพ่ิมเติมวาํ แมห๎ นีเ้ ดมิ จะระงบั อนั สํงผลทาํ ให๎จํานําหรือจํานองระงับไปด๎วย
แตคํ ํูกรณีในการแปลงหนี้ใหมํอาจโอนสิทธิจํานําหรือจํานองที่ได๎ให๎ไว๎เป็นประกันหน้ีเดิมนั้น
ไปเปน็ ประกันหนีร้ ายใหมไํ ด๎ เพียงเทําทเี่ ป็นประกันวัตถุแหํงหนี้เดิม แตํหลักประกันเชํนวํานี้
ถา๎ บคุ คลภายนอกเป็นผ๎ใู ห๎ไว๎ จําต๎องไดร๎ บั ความยินยอมของบุคคลภายนอกน้ันด๎วยจงึ โอนได๎

ข้อสงั เกต
1. หากคูกํ รณีในการแปลงหน้ีใหมํไมไํ ด๎ตกลงโอนสิทธิจํานําหรือจํานองท่ีได๎ให๎ไว๎
เป็นประกันหนี้เดิมนั้นไปเป็นประกันหนี้รายใหมํ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 352 เม่อื หนี้เดิมระงับ สิทธจิ ํานําหรือจํานองท่ีได๎ให๎ไว๎เป็นประกันหน้ีเดิมก็ยํอมระงับ
ไปดว๎ ย แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 349 วรรคสาม กําหนดวําในเรื่องการ
แปลงหน้ีใหมํโดยการเปล่ียนตัวเจ๎าหนี้ ให๎นําหลักเกณฑ๑การโอนสิทธิเรียกร๎องมาใช๎บังคับ
และประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 305 กําหนดวาํ เมือ่ โอนสิทธิเรียกร๎องไป สิทธิ
จาํ นองหรอื จํานําทีม่ ีอยํูเกยี่ วพนั กับสทิ ธเิ รยี กร๎องนั้น ยํอมตกแกผํ รู๎ ับโอนด๎วย

ดงั นั้น การแปลงหนี้ใหมํโดยการเปลี่ยนตัวเจ๎าหน้ี ในสํวนของสิทธิจํานําหรือ
จาํ นอง จึงตอ๎ งนาํ ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 305 มาใชบ๎ ังคับ102

2. บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 352 นี้ ดูจะไมํมี
ประโยชน๑มากนัก เพราะการโอนสิทธิจํานําหรือจํานองก็เป็นเรื่องที่คํูกรณีต๎องตกลงกันใหมํ
อยแูํ ลว๎ 103 แตํกม็ ีประโยชน๑ คอื ไมตํ อ๎ งมีการสํงมอบทรพั ย๑ที่จาํ นาํ หรือต๎องจดทะเบียนจํานอง
ใหมํ (คําพิพากษาฎกี าที่ 1949/2516)

102ณฐั ภรณ๑ ธราสุวรรณ, “ปญ๓ หากฎหมายเกยี่ วกบั การแปลงหนใี้ หมํ,” (วิทยานิพนธ๑
นติ ิศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ๑มหาวทิ ยาลัย, 2546), หน๎า 46, 217.

103สุนทร มณีสวัสดิ์, เรอ่ื งเดมิ , หนา๎ 378.

344

6. หนี้เกลอื่ นกลืนกนั
บทบัญญัติเก่ียวกับหน้ีเกลื่อนกลืนกันกําหนดไว๎ในประมวลกฎหมายแพํงและ

พาณิชย๑ มาตรา 353 ดงั นี้
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 353 บญั ญัตวิ าํ “ถ๎าสิทธิและความรับ

ผิดในหนีร้ ายใดตกอยูํแกบํ ุคคลคนเดียวกัน ทํานวําหนี้รายน้ันเป็นอันระงับสิ้นไป เว๎นแตํเมื่อ
หน้ีนั้นตกไปอยํูในบังคับแหํงสิทธิของบุคคลภายนอก หรือเม่ือสลักหลังตั๋วเงินกลับคืนตาม
ความในมาตรา 917 วรรค 3”

หน้ีเกลื่อนกลืนกัน หมายความวํา ถ๎าสิทธิและความรับผิดในหนี้รายใดตกอยูํแกํ
บุคคลคนเดยี วกัน หน้ีน้นั ยอํ มระงับส้ินไป เชํน นาย ก. เป็นเจ๎าหนี้นาย ข. จํานวน 100,000
บาท ตอํ มานาย ก. ไดถ๎ งึ แกคํ วามตาย โดยได๎ทาํ พินยั กรรมยกมรดกทง้ั หมดใหแ๎ กนํ าย ข. หรือ
นาย ก. ไมํได๎ทําพินัยกรรมไว๎ และมีนาย ข. เป็นทายาทโดยธรรมเพียงคนเดียวท่ีมีสิทธิรับ
มรดกของนาย ก. ดังนี้ สิทธิท่ีจะได๎รับการชําระหนี้และความรับผิดในหน้ีน้ัน ยํอมตกอยํูแกํ
บคุ คลคนเดียวกนั คอื นาย ข. หนรี้ ายนีจ้ งึ เป็นอันระงบั ไปดว๎ ยหนีเ้ กลอ่ื นกลนื กัน

อยาํ งไรก็ดี กฎหมายได๎กําหนดข๎อยกเว๎นไว๎ 2 ประการ กลําวคือ แม๎สิทธิและความ
รบั ผดิ ในหนี้รายใดจะตกอยแูํ กํบคุ คลคนเดียวกัน หนีร้ ายนัน้ ก็ไมํเปน็ อันระงบั สน้ิ ไป ดังน้ี

1. หน้ีน้ันตกไปอยูํในบังคับแหํงสิทธิของบุคคลภายนอก เชํน นาย ก. เป็นนาย
คลงั สนิ คา๎ นาย ข. ไดน๎ าํ สนิ ค๎าไปฝากไว๎ นาย ก. จึงเปน็ ลูกหนีม้ คี วามรับผิดต๎องสํงมอบสินค๎า
คืน สวํ นนาย ข. เป็นเจ๎าหน้มี สี ทิ ธไิ ด๎รบั มอบสนิ ค๎าคืน ตํอมา นาย ข. นําใบประทวนสินค๎าไป
จาํ นําไว๎กับนาย ค. แลว๎ หลงั จากน้นั นาย ข. ไดถ๎ ึงแกคํ วามตาย โดยได๎ทําพินัยกรรมยกมรดก
ทั้งหมดใหแ๎ กนํ าย ก. ดังนี้ แม๎สิทธิที่จะได๎รับมอบสินค๎าและความรับผิดในการสํงมอบสินค๎า
นน้ั จะตกอยํูแกํบุคคลคนเดียวกัน คือ นาย ก. แตํเมื่อหน้ีนั้นตกไปอยํูในบังคับแหํงสิทธิของ
บุคคลภายนอก เชํน นาย ค. หนี้ระหวํางนาย ก. และนาย ข. จึงไมํเป็นอันระงับไปด๎วยหนี้
เกลือ่ นกลืนกัน และนาย ก. ตอ๎ งสํงมอบทรพั ย๑สนิ นน้ั ใหแ๎ กํนาย ค. เป็นตน๎

2. เมื่อสลักหลังตั๋วเงินกลับคืนตามความในประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 917 วรรคสาม

ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 917 วรรคสาม บัญญัติวํา “อนึ่ง ตั๋ว
เงนิ จะสลักหลังใหแ๎ กผํ จ๎ู าํ ยก็ได๎ ไมํวําผจู๎ าํ ยจะได๎รับรองตั๋วน้ันหรือไมํ หรือจะสลักหลังให๎แกํผู๎
สั่งจําย หรือให๎แกํคํูสัญญาฝ่ายอ่ืนใดแหํงตั๋วเงินน้ันก็ได๎ สํวนบุคคลทั้งหลายเหลํานี้ก็ยํอมจะ
สลกั หลังตั๋วเงนิ น้ันตํอไปอีกได๎”

ตัวอย่าง นาย ก. ออกต๋ัวแลกเงินฉบับหน่ึงสั่งให๎นาย ข. จํายเงินจํานวน
100,000 บาท ให๎แกนํ าย ค. ดังนี้ นาย ก. เปน็ ผูส๎ ั่งจําย นาย ข. เปน็ ผจู๎ ําย และนาย ค. เป็นผ๎ู
ทรง ถ๎าหากนาย ค. ไปขอรับเงินจากนาย ข. นาย ข. ก็จะต๎องจํายเงินให๎แกํนาย ค. ถ๎านาย
ข. ไมํจําย นาย ก. ก็ตอ๎ งจํายให๎แกํนาย ค. ดังนนั้ หากมีการสลกั หลังตว๋ั แลกเงินนั้นกลบั คืนมา

345

ทนี่ าย ก. หรอื นาย ข. โดยหลักแล๎ว เม่ือสิทธิและความรับผิดในหน้ีตามต๋ัวแลกเงินนั้นตกอยูํ
แกํบุคคลคนเดียวกัน หนี้ตามต๋ัวแลกเงินน้ันยํอมเป็นอันระงับไปด๎วยหนี้เกลื่อนกลืนกัน แตํ
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 353 ประกอบกับมาตรา 917 วรรคสาม กําหนด
เป็นขอ๎ ยกเว๎นไว๎วําหนตี้ ามตัว๋ เงินนั้นยํอมไมํระงบั ไป และนาย ก. หรือนาย ข. ก็สามารถสลัก
หลงั ต๋ัวเงนิ นนั้ ตอํ ไปอีกได๎

7. บทสรปุ
ความระงับแหงํ หนี้แบงํ ออกเปน็ 5 ประการ ดังน้ี
7.1 การชาระหน้ี
1. ผู้ชาระหน้ี บคุ คลภายนอกจะเปน็ ผ๎ูชําระก็ได๎ เว๎นแตํสภาพแหํงหนี้จะไมํเปิด

ชํองให๎บุคคลภายนอกชําระ หรือจะขัดกับเจตนาอันคํูกรณีได๎แสดงไว๎ และบุคคลภายนอก
ผู๎ไมํมีสํวนได๎เสียด๎วยในการชําระหน้ีนั้น จะเข๎าชําระหน้ีโดยขืนใจลูกหน้ีไมํได๎ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 314

2. ผู้รับชาระหนี้ การชําระหน้ีจะสมบูรณ๑และมีผลทําให๎หนี้ระงับ เมื่อได๎ชําระ
หนี้ให๎แกํเจ๎าหน้ี หรือบุคคลผ๎ูมีอํานาจรับชําระหน้ีแทนเจ๎าหน้ี หรือบุคคลผ๎ูไมํมีอํานาจรับ
ชําระหน้ีแทนเจ๎าหน้ี แตํตํอมาเจ๎าหนี้ได๎ให๎สัตยาบันแกํการรับชําระหน้ีนั้น ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 315

3. ศาลส่ังให้ลูกหนี้คนท่ีสามงดเว้นทาการชาระหนี้ ถ๎าศาลส่ังให๎ลูกหนี้คนที่
สามงดเวน๎ ทาํ การชาํ ระหน้ีแกํลูกหนี้แล๎ว ลูกหน้ีคนท่ีสามน้ันยังขืนชําระหน้ีให๎แกํเจ๎าหน้ีของ
ตนเองอีก เจ๎าหน้ีจะเรียกให๎ลูกหน้ีคนที่สามนั้นทําการชําระหนี้ให๎แกํเจ๎าหน้ีอีกครั้งให๎คุ๎มกับ
ความเสียหายอนั ตนไดร๎ บั กไ็ ด๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 319

4. ต้องชาระหนี้ตามความประสงค์แห่งหน้ี ลูกหน้ีจะขอชําระหน้ีแตํเพียง
บางสํวน หรือขอชําระหน้ีเป็นอยํางอื่นผิดไปจากที่จะต๎องชําระแกํเจ๎าหน้ีนั้นไมํได๎ ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 320

5. เจา้ หน้ียอมรบั การชาระหนอี้ ยา่ งอ่นื แทนการชาระหนี้ทีไ่ ดต้ กลงกนั ไว้
ถ๎าลกู หน้ีขอชาํ ระหนี้อยํางอน่ื แทนการชาํ ระหนี้ท่ีได๎ตกลงกันไว๎ แล๎วเจ๎าหน้ีตกลงยอมรับการ
ชาํ ระหน้ีน้นั หนนี้ ั้นก็เป็นอันระงับสิ้นไป แตํการชําระหนี้ด๎วยตั๋วเงินหรือประทวนสินค๎าแทน
การชาํ ระหน้ที ่ีได๎ตกลงกนั ไว๎ หนี้นั้นจะระงับสิ้นไปตํอเมื่อต๋ัวเงินหรือประทวนสินค๎าน้ันได๎ใช๎
เงินแล๎ว ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321

6. ความรับผิดเพอื่ ชารุดบกพรอ่ งและเพื่อการรอนสทิ ธิ การชําระหน้ีอยํางอื่น
แทนการชาํ ระหน้ีทีไ่ ดต๎ กลงกันไว๎ ลกู หน้จี ะต๎องรบั ผิดเพอ่ื ชํารุดบกพรํองและเพอื่ การรอนสิทธิ
ทาํ นองเดียวกับผข๎ู าย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 322

346

7. วัตถุแห่งหน้เี ปน็ อันให้ส่งมอบทรัพย์เฉพาะส่ิง ถ๎าวัตถุแหํงหน้ีเป็นอันให๎สํง
มอบทรัพย๑เฉพาะสิ่ง ลูกหนี้จะต๎องสํงมอบทรัพย๑ตามสภาพที่เป็นอยูํในเวลาท่ีจะพึงสํงมอบ
และลูกหนี้จําต๎องรักษาทรัพย๑น้ันไว๎ด๎วยความระมัดระวังเชํนอยํางวิญ๒ูชนจะพึงสงวน
ทรพั ย๑สนิ ของตนเอง จนกวําจะได๎สํงมอบทรัพย๑น้ัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 323

8. สถานท่ีชาระหนี้ เมื่อมิได๎มีแสดงเจตนาไว๎โดยเฉพาะเจาะจงวําจะพึงชําระ
หน้ี ณ สถานท่ีใด หากจะต๎องสงํ มอบทรัพยเ๑ ฉพาะสิ่ง ต๎องสํงมอบกัน ณ สถานท่ีซ่ึงทรัพย๑น้ัน
ไดอ๎ ยูํในเวลาเมื่อกํอให๎เกิดหน้นี ้ัน สํวนการชําระหน้ีโดยประการอ่ืน ต๎องชําระ ณ สถานที่ซ่ึง
เปน็ ภูมิลาํ เนาปจ๓ จุบนั ของเจ๎าหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 324

9. ค่าใช้จา่ ยในการชาระหน้ี เว๎นแตํจะตกลงกันไว๎เป็นอยํางอ่ืน ฝ่ายลูกหนี้พึง
เป็นผู๎ออกคาํ ใชจ๎ าํ ย แตถํ า๎ คาํ ใชจ๎ ํายน้ันมจี ํานวนเพ่ิมข้ึนเพราะเจ๎าหน้ี คําใช๎จํายเพิ่มขึ้นเทําใด
เจา๎ หนตี้ อ๎ งเปน็ ผอู๎ อก ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 325

10. หลักฐานแห่งการชาระหน้ี บุคคลผู๎ชําระหนี้ชอบท่ีจะได๎รับใบเสร็จเป็น
สําคญั จากผ๎ูรับชาํ ระหนีน้ ั้น และถา๎ หน้ีน้ันได๎ชาํ ระสนิ้ เชงิ แล๎ว ผู๎ชําระหนีช้ อบท่ีจะได๎รับเวนคืน
เอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหน้ี หรือให๎ขีดฆําเอกสารนั้นเสีย ถ๎าและเอกสารนั้นสูญหาย
บุคคล ผช๎ู ําระหนี้ชอบที่จะใหจ๎ ดแจง๎ ความข๎อระงับหน้ีลงไว๎ในใบเสร็จหรือในเอกสารอีกฉบับ
หนึง่ ตํางหากก็ได๎ และถา๎ หน้ีนั้นได๎ชําระแตํบางสํวน หรือถ๎าเอกสารน้ันยังให๎สิทธิอยํางอื่นใด
แกํเจ๎าหน้อี ยํู ลูกหนี้ชอบแตํที่จะได๎รับใบเสร็จไว๎เปน็ คมํู อื และให๎จดแจ๎งการชําระหนี้นั้นลงไว๎
ในเอกสาร ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 326

11. ข้อสันนิษฐานเก่ียวกับหลักฐานแห่งการชาระหนี้ ในกรณีชําระดอกเบ้ีย
หรือชําระหนีอ้ ยํางอื่นอันมกี าํ หนดชําระเป็นระยะเวลาน้นั ถ๎าเจา๎ หน้ีออกใบเสร็จให๎เพ่ือระยะ
หนึ่งแล๎วโดยมไิ ดอ๎ ดิ เออ้ื น ให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวําเจ๎าหน้ีได๎รับชําระหนี้เพ่ือระยะกํอน ๆ นั้น
ด๎วยแล๎ว ถ๎าเจ๎าหน้ีออกใบเสร็จให๎เพ่ือการชําระต๎นเงิน ให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวําเจ๎าหนี้ได๎รับ
ดอกเบี้ยแล๎ว ถา๎ เอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหน้ไี ด๎เวนคืนแลว๎ ให๎สันนิษฐานไว๎กํอนวําหน้ีนั้น
เป็นอันระงับส้ินไปแล๎ว ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 327

12. การจัดสรรชาระหนี้ ถา๎ ลูกหน้ตี ๎องผกู พนั ตอํ เจ๎าหนีใ้ นอันจะกระทําการเพ่ือ
ชําระหน้ีเป็นการอยํางเดียวกันโดยมูลหนี้หลายราย และถ๎าการที่ลูกหน้ีชําระหน้ีน้ันไมํ
เพยี งพอจะเปล้ืองหนี้สนิ ได๎หมดทกุ ราย เม่อื ทาํ การชําระหนี้ ลูกหนี้ระบุวําชําระหน้ีสินรายใด
กใ็ หห๎ นี้สินรายนั้นเป็นอันไดเ๎ ปลื้องไป ถ๎าลกู หน้ไี มรํ ะบุ หน้ีสินรายไหนถึงกําหนด ก็ให๎รายน้ัน
เป็นอันได๎เปลื้องไปกํอน ในระหวํางหนี้สินหลายรายท่ีถึงกําหนดน้ัน รายใดเจ๎าหนี้มีประกัน
นอ๎ ยที่สุด ก็ให๎รายน้ันเป็นอันได๎เปลื้องไปกํอน ในระหวํางหน้ีสินหลายรายที่มีประกันเทํา ๆ
กัน ให๎รายที่ตกหนักท่ีสุดแกํลูกหน้ีเป็นอันได๎เปล้ืองไปกํอน ในระหวํางหน้ีสินหลายรายที่
ตกหนักแกํลูกหนี้เทํา ๆ กัน ให๎หน้ีสินรายเกําท่ีสุดเป็นอันได๎เปลื้องไปกํอน และถ๎ามีหน้ีสิน

347

หลายรายเกําเทํา ๆ กัน ก็ให๎หน้ีสินทุกรายเป็นอันได๎เปลื้องไปตามสํวนมากและน๎อย
ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 328

13. การจัดสรรชาระหนี้ประธานและหน้ีอุปกรณ์ หากการชําระหน้ีในครั้ง
หนึ่ง ๆ ไมํได๎ราคาเพียงพอจะเปลื้องหน้ีสินได๎ทั้งหมด ให๎เอาจัดใช๎เป็นคําฤชาธรรมเนียม
เสยี กอํ น แลว๎ จึงใช๎ดอกเบยี้ และในท่ีสุดจึงให๎ใช๎ในการชาํ ระหนอี้ ันเป็นประธาน ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 329

14. ผลของการขอปฏิบัติการชาระหนโี้ ดยชอบ เม่ือขอปฏิบัติการชําระหนี้โดย
ชอบแล๎ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแตํการไมํชําระหน้ีก็เป็นอันปลดเปล้ืองไป นับแตํ
เวลาท่ีขอปฏิบัติการชาํ ระหน้นี น้ั ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 330

15. วางทรัพย์ ถา๎ เจ๎าหนี้บอกปด๓ ไมํยอมรับชําระหน้ีหรือไมํสามารถจะรับชําระ
หนีไ้ ด๎ หรือบุคคลผู๎ชําระหน้ีไมํสามารถจะหยั่งรู๎ถึงสิทธิหรือไมํรู๎ตัวเจ๎าหน้ีได๎แนํนอนโดยมิใชํ
เป็นความผิดของตน หากบุคคลผ๎ูชําระหนี้วางทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงหนี้ไว๎เพ่ือประโยชน๑แกํ
เจ๎าหนี้แล๎ว ก็ยํอมจะเป็นอันหลุดพ๎นจากหน้ีได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 331

16. การวางทรพั ย์โดยกาหนดเง่อื นไข ถ๎าลกู หนี้จําต๎องชําระหนี้ตํอเม่ือเจ๎าหน้ี
จะต๎องชําระหน้ีตอบแทนด๎วย ลูกหน้ีจะกําหนดวําตํอเม่ือเจ๎าหน้ีชําระหนี้ตอบแทนจึงให๎มี
สิทธิรบั เอาทรพั ย๑ท่ีวางไวน๎ ้ันก็ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 332

17. สานักงานวางทรัพยแ์ ละการบอกกลา่ วใหเ้ จ้าหนที้ ราบ การวางทรพั ย๑นั้น
ต๎องวาง ณ สํานักงานวางทรัพย๑ประจําตําบลที่จะต๎องชําระหน้ี และผู๎วางต๎องบอกกลําวให๎
เจ๎าหนี้ทราบการที่ได๎วางทรัพย๑นั้นโดยพลัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา
333

18. สิทธิถอนทรัพย์ ลูกหนี้มีสิทธิจะถอนทรัพย๑ที่วางน้ันได๎ ถ๎าลูกหน้ีถอน
ทรพั ยน๑ ้นั ให๎ถอื เสมอื นวาํ มิไดว๎ างทรพั ยไ๑ ว๎เลย แตํสทิ ธิถอนทรพั ย๑นี้เป็นอนั ขาดในกรณตี ํอไปน้ี
(1) ถา๎ ลกู หน้ีแสดงตอํ สํานกั งานวางทรัพย๑วําตนยอมละสิทธิที่จะถอน (2) ถ๎าเจ๎าหนี้แสดงตํอ
สํานักงานวางทรัพย๑วําจะรับเอาทรัพย๑น้ัน (3) ถ๎าการวางทรัพย๑นั้นได๎เป็นไปโดยคําสั่งหรือ
อนุมัติของศาลและไดบ๎ อกกลําวความนั้นแกํสํานักงานวางทรัพย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 334

19. ศาลจะสัง่ ยึดสิทธถิ อนทรพั ยไ์ ม่ได้ สิทธิถอนทรพั ยน๑ นั้ ศาลจะส่ังยดึ ไมํได๎
และเมอ่ื ได๎ฟอ้ งคดีล๎มละลายเกี่ยวกับทรัพย๑สินของลูกหนี้แล๎ว ห๎ามมิให๎ใช๎สิทธิถอนทรัพย๑ใน
ระหวาํ งพิจารณาคดีล๎มละลาย ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 335

20. ค่าฤชาธรรมเนียมในการวางทรัพย์หรือขายทอดตลาด คําฤชาธรรม
เนียมในการวางทรัพย๑หรือขายทอดตลาดนั้น ให๎ฝ่ายเจ๎าหน้ีเป็นผู๎ออก เว๎นแตํลูกหน้ีจะได๎
ถอนทรัพย๑ที่วาง ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 338

348

21. ก า รขา ย ทอ ดต ล า ดทรั พ ย์ ที่ไม่ ควรแ ก่กา รจ ะวา งท รัพ ย์ ไ ว้
เมือ่ บคุ คลผ๎ูชาํ ระหนี้ได๎ขออนญุ าตจากศาล และศาลได๎พิจารณาแล๎วเห็นสมควรอนุญาต บุคคล
ผู๎ชําระหน้ีจะเอาทรัพย๑อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหน้ี ซึ่งเป็นทรัพย๑ที่ไมํควรแกํการจะวาง
ทรพั ยไ๑ ว๎ ออกขายทอดตลาด แล๎วเอาเงินที่ได๎จากการขายทอดตลาดนั้นไปวางไว๎แทนทรัพย๑
อันเป็นวัตถุแหํงการชําระหนกี้ ็ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 336

22. ความระงับแห่งสิทธิของเจ้าหนี้เหนือทรัพย์ที่วางไว้ สิทธิของเจ๎าหน้ี
เหนอื ทรพั ย๑ท่ีวางไวน๎ ั้นเป็นอันระงบั สนิ้ ไป เมือ่ พ๎นเวลาสิบปีนับแตํได๎รับคําบอกกลําวการวาง
ทรพั ย๑ และเมื่อสิทธขิ องเจา๎ หน้ีระงบั ส้ินไปแลว๎ ถึงแม๎ลูกหนี้จะได๎ละสิทธิถอนทรัพย๑ก็ยังชอบ
ท่ีจะถอนทรพั ยน๑ ้นั ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 339

7.2 การปลดหน้ี เมอื่ เจา๎ หนีแ้ สดงเจตนาตํอลูกหนี้วําจะปลดหน้ีให๎ หนี้น้ันก็เป็นอัน
ระงับส้ินไป แตํหากหน้มี หี นงั สอื เปน็ หลกั ฐาน การปลดหนกี้ ็ต๎องทําเป็นหนังสือด๎วย หรือต๎อง
เวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแหํงหนี้ให๎แกํลูกหนี้ หรือขีดฆําเอกสารน้ันเสีย ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคสอง

7.3 การหกั กลบลบหนี้
1. หลักเกณฑก์ ารหกั กลบลบหน้ีและผลของการหักกลบลบหน้ี ถ๎าบุคคลสอง

คนตาํ งมีความผกู พันซง่ึ กันและกนั โดยมลู หนี้อนั มวี ตั ถุเป็นอยํางเดียวกัน และหน้ีท้ังสองราย
นั้นถึงกําหนดจะชาํ ระ ลูกหน้ีฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงยํอมจะหลุดพ๎นจากหนี้ของตน ด๎วยหักกลบลบ
กันได๎เพียงเทําจํานวนที่ตรงกันในมูลหนี้ทั้งสองฝ่ายนั้น ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ มาตรา 341

2. วิธีการหักกลบลบหน้ี วิธีการหักกลบลบหนี้น้ัน ทําได๎ด๎วยคูํกรณีฝ่ายหนึ่ง
แสดงเจตนาแกํอกี ฝ่ายหนึ่งวาํ จะหักกลบลบหน้ีกัน โดยอาจแสดงเจตนาเป็นลายลักษณ๑อักษร
หรอื ด๎วยวาจาก็ได๎ และการแสดงเจตนาหักกลบลบหน้ีน้ัน มีผลย๎อนหลังขึ้นไปจนถึงเวลาซึ่ง
หน้ีทั้งสองฝ่ายนั้นจะอาจหักกลบลบกันได๎เป็นคร้ังแรก ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 342

3. การหักกลบลบหนี้ในกรณีท่ีสถานทชี่ าระหนี้แตกต่างกัน การหักกลบลบหนี้
นัน้ ถึงแม๎วําสถานที่ซ่ึงจะต๎องชําระหนี้ทั้งสองจะตํางกัน ก็หักกลบลบหน้ีกันได๎ แตํฝ่ายผ๎ูขอ
หกั กลบลบหนจี้ ะตอ๎ งใช๎คาํ เสยี หายให๎แกํอีกฝา่ ยหน่ึง เพื่อความเสียหายอยํางหน่ึงอยํางใดอัน
เกดิ แตํการนัน้ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 343

4. ขอ้ หา้ มในการหกั กลบลบหนี้ มดี ังน้ี
1. สภาพแหํงหนีท้ ้งั สองรายนั้นไมํเปิดชํองให๎หักกลบลบกันได๎ ตามประมวล

กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 342 วรรคแรกตอนท๎าย
2. เป็นการขัดกบั เจตนาอันคกํู รณีได๎แสดงไว๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ

พาณิชย๑ มาตรา 341 วรรคสอง

349

3. สทิ ธิเรยี กร๎องทย่ี ังมขี อ๎ ตอํ สอู๎ ยํู ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 344

4. หนี้ที่เกิดแตํการอันมิชอบด๎วยกฎหมายเป็นมูล ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 345

5. สทิ ธิเรียกรอ๎ งที่ตามกฎหมายศาลจะส่ังยึดมิได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 346

6. สทิ ธเิ รียกร๎องทไี่ ดม๎ าภายหลังศาลสั่งห๎ามชําระหนี้ ตามประมวลกฎหมาย
แพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 347

5. การจัดสรรหักกลบลบหน้ี ให๎นําประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา
328 และมาตรา 329 มาใช๎บังคบั โดยอนโุ ลม ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑
มาตรา 348

7.4 การแปลงหนใี้ หม่
1. หลกั เกณฑใ์ นการแปลงหน้ีใหม่ เมอื่ คูกํ รณที ี่เกี่ยวข๎องได๎ทําสัญญาเปลี่ยนส่ิง

ซ่ึงเป็นสาระสําคัญแหํงหนี้ หนี้เดิมจะระงับสิ้นไป และเกิดเป็นหน้ีใหมํขึ้นมาแทน ประมวล
กฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 349

2. หนี้ใหมไ่ ม่เป็นผล หน้ีเดิมจงึ ไมร่ ะงับ ถ๎าหนี้อันจะพึงเกิดขึ้นเพราะแปลงหน้ี
ใหมนํ ้นั มิได๎เกิดมีข้นึ หรอื ไดย๎ กเลิกเสียเพราะมูลแหงํ หน้ไี มํชอบด๎วยกฎหมาย หรือเพราะเหตุ
อยาํ งใดอยาํ งหนง่ึ อันมิร๎ูถงึ คูกํ รณี หนีเ้ ดิมนัน้ ก็ยงั หาระงับสิ้นไปไมํ ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณชิ ย๑ มาตรา 351

3. การโอนสิทธิจานาหรือจานองที่ได้ให้ไว้เป็นประกันหนี้เดิมนั้นไปเป็น
ประกนั หนีร้ ายใหมไ่ ด้ โดยปกตเิ ม่ือมกี ารแปลงหนใี้ หมํ หน้เี ดิมยํอมระงับ และสิทธิจํานําหรือ
จาํ นองที่ได๎ใหไ๎ ว๎เป็นประกนั หนเ้ี ดมิ ก็ยํอมระงบั ไปดว๎ ย แตํประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 352 ไดก๎ ําหนดไว๎วํา แม๎หนี้เดมิ จะระงับ อันสํงผลทาํ ให๎จํานําหรือจํานองระงับไปด๎วย
แตคํ ูํกรณใี นการแปลงหนี้ใหมํอาจโอนสิทธิจํานําหรือจํานองที่ได๎ให๎ไว๎เป็นประกันหนี้เดิมน้ัน
ไปเปน็ ประกันหนร้ี ายใหมไํ ด๎ เพียงเทาํ ท่ีเป็นประกันวัตถุแหํงหน้ีเดิม แตํหลักประกันเชํนวํานี้
ถ๎าบคุ คลภายนอกเป็นผูใ๎ หไ๎ ว๎ จําต๎องได๎รบั ความยินยอมของบุคคลภายนอกนั้นด๎วยจึงโอนได๎

7.5 หนี้เกลื่อนกลืนกัน ถ๎าสิทธิและความรับผิดในหน้ีรายใดตกอยูํแกํบุคคลคน
เดียวกัน หน้ีรายน้ันเป็นอันระงับสิ้นไป เว๎นแตํเม่ือหน้ีนั้นตกไปอยูํในบังคับแหํงสิทธิของ
บุคคลภายนอก หรือเมื่อสลักหลังต๋ัวเงินกลับคืนตามความในมาตรา 917 วรรค 3 ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 353

350

7. คาถามท้ายบท
ข๎อ 1. นายกล๎าเป็นเจ๎าหน้ขี องนายขุนพล จาํ นวน 100,000 บาท ตํอมา นายขุนพล

ไปชาํ ระหน้ีให๎แกํนายกล๎าท่ีบ๎านของนายกล๎า แตํนายกล๎าไมํอยํูบ๎าน นายขุนพลจึงได๎นําเงิน
จาํ นวน 100,000 บาท ชําระหนีใ้ หแ๎ กํภริยาของนายกล๎าแทน ตํอมา เม่ือนายกล๎ากลับมาถึง
บา๎ น นายกล๎าก็รีบไปถามภริยาของตนวําเงินท่ีได๎รับชําระหนี้มาจากนายขุนพลนั้นอยํูท่ีไหน
ภริยาของนายกลา๎ จงึ ไดน๎ าํ เงินมามอบใหแ๎ กํนายกล๎า จาํ นวน 50,000 บาท สํวนที่เหลือภริยา
ของนายกล๎าบอกกวําตนได๎รับชําระหนี้จาก นายขุนพลไว๎แล๎วจริง ๆ แตํเอาไปทําบุญ
หมดแลว๎ นายกลา๎ จึงไปเรยี กใหน๎ ายขุนพลต๎องชาํ ระหนีใ้ ห๎แกตํ นอกี จํานวน 50,000 บาท

ดงั นี้ นายขนุ พลต๎องชําระหนี้ให๎แกนํ ายกลา๎ อีกจาํ นวน 50,000 บาท หรอื ไมํ
หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 315, 317
วินิจฉัย นายกล๎าเป็นเจ๎าหนี้ของนายขุนพล จํานวน 100,000 บาท ตํอมา
นายขุนพลได๎นาํ เงินจํานวน 100,000 บาท ไปชําระหน้ีให๎แกํภริยาของนายกล๎า ดังน้ี ภริยา
ของนายกล๎ามิใชํผู๎มีสิทธิรับชําระหน้ี เพราะภริยาของนายกล๎ามิใชํเจ๎าหน้ี หรือบุคคลผ๎ูมี
อาํ นาจรับชาํ ระหน้แี ทนเจา๎ หนี้ หรือบคุ คลผ๎ไู มํมีอํานาจรับชําระหนี้แตเํ จ๎าหน้ใี หส๎ ัตยาบัน ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 315
นอกจากน้ัน ภริยาของนายกล๎ามใิ ชํผทู๎ ่ไี มํมีสิทธิรับชําระหน้ี แตํได๎ครอบครองทรัพย๑
ตามมูลหนี้ และบุคคลผู๎ชําระหนไ้ี ด๎กระทําการชาํ ระหน้ีโดยสุจริต ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 316
ดังน้ัน เมื่อภริยาของนายกล๎าเป็นบุคคลผ๎ูไมํมีสิทธิรับชําระหนี้ ได๎นําเงินมอบให๎
นายกล๎า จํานวน 50,000 บาท จึงเป็นกรณีท่ีนายกล๎าได๎รับลาภงอกจากการชําระหนี้น้ัน
จาํ นวน 50,000 บาท การชาํ ระหนี้จึงสมบูรณ๑จํานวน 50,000 บาท และมีผลทําให๎หน้ีระงับ
ไปจํานวน 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 317 ดังนั้น
นายขนุ พลจึงต๎องชาํ ระหนีใ้ หแ๎ กํนายกล๎าอกี จํานวน 50,000 บาท
สรปุ นายขนุ พลตอ๎ งชําระหนใี้ ห๎แกนํ ายกล๎าอกี จาํ นวน 50,000 บาท

351

ข๎อ 2. นายชาติตกลงขายแตงโมให๎แกํนายชัย กิโลกรัมละ 20 บาท จํานวน 500
กิโลกรัม โดยนายชัยได๎ชําระราคาเรียบร๎อยแล๎ว และสํงมอบแตงโมในวันท่ี 15 สิงหาคม
2562 แตกํ อํ นถึงกําหนด เวลาสํงมอบแตงโม นายชาติได๎ขายแตงโมให๎กับนายชินกิโลกรัมละ
50 บาท จํานวน 300 กิโลกรัม ตํอมาในวันท่ี 15 สิงหาคม 2562 นายชาติจึงนําแตงโมท่ี
เหลือ 200 กิโลกรัมไปสํงมอบให๎แกํนายชัย และแจ๎งแกํนายชัยวํานายชัยต๎องรับแตงโมนี้ไว๎
เพราะมีคุณภาพตามที่ได๎ตกลงกันไว๎ต้ังแตํต๎น และตํอมานายชินไมํยอมชําระหน้ีคําแตงโม
จํานวน 15,000 บาท ให๎แกํนายชาติ เมื่อนายชาติทวงถาม นายชินจึงขอมอบแหวนเพชร 1
วง ให๎แทน ซึ่งนายชาตกิ ต็ กลงยอมรับการชําระหนี้ด๎วยแหวนเพชรน้ันแทนการชําระหนี้เป็น
เงินจํานวน 15,000 บาท แตตํ ํอมา นายชาติได๎นําแหวนเพชรน้ันไปประเมินราคา ปรากฏวํา
แหวนเพชรนนั้ มีราคาประเมนิ เพียง 10,000 บาท เทําน้ัน

ดังน้ี ใหว๎ นิ ิจฉยั วํา
1. นายชัยจะปฏิเสธไมํรับแตงโมที่เหลือ 200 กิโลกรัม ที่นายชาติสํงมอบให๎ได๎
หรอื ไมํ
2. นายชาตจิ ะเรียกใหน๎ ายชินชําระหนเ้ี พม่ิ อีกจํานวน 5,000 บาท ได๎หรือไมํ
หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 320, มาตรา 321 วรรค
แรก
วนิ ิจฉัย
1. การท่ีนายชาติตกลงขายแตงโมให๎แกํนายชัย จํานวน 500 กิโลกรัม แตํเม่ือถึง
กําหนดเวลาสํงมอบแตงโม นายชาติได๎นําแตงโมมาสํงให๎แกํนายชัยเพียง 200 กิโลกรัม นั้น
เป็นกรณีท่ีนายชาติขอชําระหน้ีบางสํวน ซึ่งกฎหมายกําหนดวําลูกหนี้จะบังคับให๎เจ๎าหนี้รับ
ชําระหนี้แตํเพียงบางสํวนไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 320 ดังนั้น
นายชยั ยอํ มปฏิเสธไมรํ ับแตงโมท่เี หลอื 200 กิโลกรมั ทน่ี ายชาติสํงมอบใหไ๎ ด๎
2. การที่นายชินได๎ขอมอบแหวนเพชร 1 วง ให๎แทน และนายชาติได๎ตกลงยอมรับ
การชาํ ระหน้ดี ๎วยแหวนเพชรนน้ั แทนการชาํ ระหนี้เปน็ เงนิ จํานวน 15,000 บาท น้ัน เป็นกรณี
ท่นี ายชาตไิ ด๎ยอมรับการชําระหนีอ้ ยํางอื่นแทนการชาํ ระหน้ีที่ได๎ตกลงกันไว๎ หน้ีนั้นจึงเป็นอัน
ระงบั ส้ินไป ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 321 วรรคแรก และเมื่อหน้ีเงิน
จาํ นวน 15,000 บาท ได๎ระงับไปแล๎ว แม๎ตํอมา นายชาติจะได๎นําแหวนเพชรน้ันไปประเมิน
ราคาและปรากฏวําแหวนเพชรนั้นมีราคาประเมินเพียง 10,000 บาท นายชาติก็จะเรียกให๎
นายชินชําระหน้เี พ่ิมอีกจาํ นวน 5,000 บาท ไมํได๎
สรุป
1. นายชยั ปฏิเสธไมํรบั แตงโมที่เหลอื 200 กโิ ลกรมั ที่นายชาตสิ ํงมอบใหไ๎ ด๎
2. นายชาติจะเรียกให๎นายชนิ ชาํ ระหนีเ้ พิม่ อกี จํานวน 5,000 บาท ไมํได๎

352

ข๎อ 3. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562 นายกนกได๎ทําสัญญากู๎ยืมเงินจากนายสนัน
เป็นหนังสือ และลงลายมือช่ือท้ังนายกนกและนายสนัน ซึ่งสัญญาก๎ูยืมเงินดังกลําวระบุวํา
นายกนกได๎กู๎ยืมเงินจากนายสนันจํานวน 500,000 บาท มีกําหนดชําระหนี้ในวันที่
1 มกราคม 2565 ตํอมา ในวันที่ 1 มกราคม 2563 นายสนันได๎บอกกลําวด๎วยวาจาไปยัง
นายกนกวํา นายสนันขอปลดหน้ีให๎แกํนายกนกจํานวน 300,000 บาท ตํอมาในวันที่
1 มกราคม 2565 ซ่ึงเป็นวันท่ีหนี้ถึงกําหนดชําระ นายกนกได๎ขอปฏิบัติการชําระหน้ีให๎แกํ
นายสนันจํานวน 200,000 บาท โดยขอชําระหนี้ด๎วยเช็ค แตํนายสนันปฏิเสธไมํรับชําระหน้ี
ด๎วยเช็ค และเรียกให๎นายกนกชําระหน้ีเป็นเงินให๎แกํตนจํานวน 500,000 บาท ดังน้ี
นายกนกต๎องชําระหน้ีเป็นเงินให๎แกํนายสนันหรือไมํ และถ๎านายกนกต๎องชําระหนี้เป็นเงิน
ใหแ๎ กนํ ายสนนั นายกนกต๎องชําระหน้ีเปน็ เงินให๎แกนํ ายสนนั เทําใด

หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 320, 340 วรรคสอง
วนิ จิ ฉัย การที่นายกนกไดท๎ าํ สญั ญากู๎ยืมเงินจากนายสนันเป็นหนังสือ และลงลายมือ
ช่ือท้ังนายกนกและนายสนัน แล๎วตํอมานายสนันได๎บอกกลําวด๎วยวาจาไปยังนายกนกวํา
นายสนนั ขอปลดหนใ้ี ห๎แกนํ ายกนกน้นั เมื่อหน้ดี งั กลําวมีหนังสือเป็นหลกั ฐาน แตํการปลดหน้ี
กลบั ทาํ ด๎วยวาจา มไิ ดท๎ ําเปน็ หนงั สอื หรือเวนคืนเอกสารอนั เป็นหลักฐานแหํงหน้ีให๎แกํลูกหนี้
หรือขีดฆําเอกสารนั้นเสีย การปลดหน้ีจึงไมํสมบูรณ๑ หนี้จึงไมํระงับ ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 340 วรรคสอง
การท่นี ายกนกได๎ขอปฏิบัติการชําระหนี้ให๎แกํนายสนันจํานวน 200,000 บาท โดย
ขอชาํ ระหนดี้ ๎วยเช็ค แตนํ ายสนนั ปฏิเสธไมํรับชําระหน้ีดว๎ ยเช็ค และเรียกใหน๎ ายกนกชําระหนี้
เป็นเงินให๎แกตํ นจาํ นวน 500,000 บาท นัน้ ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 320
กําหนดวํา ลูกหน้ีจะบังคับให๎เจ๎าหน้ีรับชําระหนี้เป็นอยํางอ่ืนผิดไปจากท่ีจะต๎องชําระแกํ
เจา๎ หน้ีนน้ั ไมํได๎ ดังน้ัน นายสนนั จงึ ปฏิเสธไมรํ ับชาํ ระหนี้ดว๎ ยเช็คได๎ นายกนกจึงต๎องชําระหนี้
เป็นเงนิ ให๎แกํนายสนันจาํ นวน 500,000 บาท
สรปุ นายกนกต๎องชาํ ระหนี้เป็นเงินใหแ๎ กํนายสนันจาํ นวน 500,000 บาท

353

ข๎อ 4. นายโดงํ เป็นเจ๎าหนี้ นายขุนและนายน้าํ เปน็ ลกู หน้ีรวํ มในหนี้จํานวน 100,000
บาท ตํอมา นายนํ้าไดน๎ าํ เงนิ จาํ นวน 100,000 บาท ไปขอปฏิบตั ชิ ําระหนโ้ี ดยชอบ แตํปรากฏ
วาํ นายโดํงบอกป๓ดไมํยอมรับการชําระหนี้ โดยปราศจากมูลเหตอุ นั จะอ๎างกฎหมายได๎ นายนํ้า
จงึ นาํ เงินจํานวน 100,000 บาท ไปวางท่สี าํ นกั งานวางทรัพย๑

ดงั น้ี ให๎วนิ จิ ฉยั วํา
1. นายน้าํ มสี ิทธิวางทรัพย๑หรือไมํ และนายนํ้ายังคงต๎องชําระหนี้ให๎แกํนายโดํงอีก
หรอื ไมํ
2. นายขุนยังคงตอ๎ งชาํ ระหน้ีใหแ๎ กํนายโดงํ อีกหรือไมํ
หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคหน่ึง, มาตรา
331
วินิจฉยั เม่ือนายน้ําได๎นําเงนิ จํานวน 100,000 บาท ไปขอปฏบิ ัติชําระหนี้โดยชอบ
แตปํ รากฏวํานายโดงํ บอกปด๓ ไมยํ อมรับการชําระหน้ี โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอ๎างกฎหมาย
ได๎ นายน้ําจึงมีสิทธินําเงินจํานวน 100,000 บาท ไปวางทรัพย๑เพื่อประโยชน๑แกํนายโดํงได๎
และสํงผลใหน๎ ายน้าํ หลุดพ๎นจากหนี้นั้น ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 331
การท่นี ายนํ้าซึ่งเป็นลูกหน้ีรํวมวางทรัพย๑สินแทนชําระหน้ี ยํอมได๎เป็นประโยชน๑
แกํลูกหน้ีคนอื่น ๆ คือ นายขุนด๎วย ดังนั้น นายขุนจึงหลุดพ๎นจากหน้ีนั้นด๎วย ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคแรก
สรุป
1. นายน้าํ มสี ทิ ธิวางทรัพยไ๑ ด๎ และนายน้ําไมํต๎องชําระหนใ้ี หแ๎ กนํ ายโดงํ อีก
2. นายขนุ ไมตํ อ๎ งชําระหนใ้ี ห๎แกํนายโดํงอีก

354

ข๎อ 5. นายแดงกู๎ยมื เงนิ มาจากนายขาวจํานวน 50,000 บาท โดยมีกําหนดชําระหน้ี
ในวันที่ 15 กุมภาพันธ๑ 2562 ตํอมานายแดงได๎นําเงินไปชําระให๎แกํนายขาวในวันท่ี 1
มกราคม 2562 แตํนายขาวปฏิเสธไมํยอมรบั ชาํ ระหน้ี โดยอ๎างวําตนกําลังจัดงานเล้ียงฉลองปี
ใหมํอยํู ไมวํ าํ งทจ่ี ะรับชาํ ระหน้ี นายแดงจึงนําเงินจํานวน 50,000 บาท ไปวาง ณ สํานักงาน
วางทรัพย๑ ตํอมาในวันท่ี 15 มีนาคม 2562 นายขาวได๎ทวงถามให๎นายแดงชําระหน้ี แตํนาย
แดงตํอส๎ูวําตนเองได๎วางทรัพย๑เพ่ือชําระหน้ีแล๎ว จึงหลุดพ๎นจากหน้ีน้ัน ดังน้ีข๎ออ๎างของแดง
ฟง๓ ข้นึ หรือไมํ

หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 331
วินิจฉัย กรณีเจ๎าหนี้บอกป๓ดไมํยอมรับชําระหน้ี อันเป็นเง่ือนไขให๎ลูกหนี้มีสิทธิวาง
ทรพั ย๑ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 331 น้ัน ต๎องเป็นกรณีที่เจ๎าหน้ีบอก
ปด๓ ไมยํ อมรบั ชาํ ระหน้ี โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอ๎างกฎหมายได๎ แตํการท่ีนายแดงกู๎ยืมเงิน
มาจากนายขาวจํานวน 50,000 บาท โดยมีกําหนดชําระหน้ีในวันที่ 15 กุมภาพันธ๑ 2562
เป็นกรณีท่ีหน้ีมีกําหนดเวลาชําระหนี้ไว๎ตามวันแหํงปฏิทิน เม่ือนายแดงได๎นําเงินไปชําระ
ให๎แกํนายขาวในวันท่ี 1 มกราคม 2562 ซ่ึงเป็นวันที่หนี้ยังไมํถึงกําหนดชําระน้ัน นายขาว
ยํอมมีสิทธิบอกปด๓ ไมรํ บั ชาํ ระหน้โี ดยมีมูลเหตุอันจะอ๎างกฎหมายได๎ ดังน้ัน การท่ีนายแดงได๎
นําเงินจํานวน 50,000 บาท ไปวาง ณ สํานักงานวางทรัพย๑ จึงเป็นการวางทรัพย๑ที่ไมํชอบ
ด๎วยกฎหมาย นายแดงจึงยงั ไมหํ ลุดพ๎นการชําระหนี้
สรปุ ข๎ออ๎างของแดงฟง๓ ไมํข้นึ

355

ข๎อ 6. นายหน่ึงได๎ให๎นายสอง นายสาม และนายส่ี กู๎ยืมเงินไปจํานวน 300,000
บาท ในฐานะลกู หนร้ี วํ ม ตํอมานายหนง่ึ ไดเ๎ ป็นหนคี้ าํ ซ้อื สินค๎าจากนายสอง จํานวน 200,000
บาท นายสองจึงได๎ใช๎สิทธิหักกลบลบหนี้กับนายหน่ึง จํานวน 100,000 บาท แล๎วตํอมา
นายสามได๎นําเงินไปชําระหนีใ้ หแ๎ กนํ ายหนึ่งจํานวน 100,000 บาท นายหนึ่งจึงได๎มาเรียกให๎
นายส่ีชําระหน้ีอีก 200,000 บาท นายส่ีจึงตํอส๎ูวําหน้ีคงเหลือเพียงแคํ 100,000 บาท
เทําน้ัน และนายหนึ่งยังเป็นหน้ีนายสองอยํูอีกจํานวน 100,000 บาท นายสี่จึงขอใช๎สิทธิ
หักกลบลบหนี้

ดงั นี้ ให๎วินจิ ฉยั วํา
1. หนคี้ งเหลอื เทําใด
2. นายส่จี ะใชส๎ ทิ ธิหกั กลบลบหนี้ได๎หรือไมํ

นายหนึ่ง (เจา๎ หนี้)

300,000 บาท

นายสอง นายสาม นายส่ี ------ (ลูกหนรี้ ํวม)

หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 292 วรรคแรก,
มาตรา 341, มาตรา 342

วินิจฉัย นายหน่ึงได๎ให๎นายสอง นายสาม และนายส่ี ก๎ูยืมเงินไปจํานวน 300,000
บาท ในฐานะลูกหนี้รํวม การที่นายสองได๎ใช๎สิทธิหักกลบลบหนี้กับนายหนึ่ง จํานวน
100,000 บาท นัน้ เป็นกรณีที่บุคคลสองคนตํางมีความผูกพันซึ่งกันและกัน โดยมูลหน้ีอันมี
วตั ถุเป็นอยํางเดยี วกนั และหนี้ทั้งสองรายนนั้ ถึงกาํ หนดชาํ ระแล๎ว ดังนั้น นายสองจึงหลุดพ๎น
จากหน้ีของตนด๎วยหักกลบลบกันได๎เพียงเทําจํานวนท่ีตรงกันในมูลหน้ีท้ังสองฝ่าย คือ
จํานวน 100,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 341

การทนี่ ายสองไดใ๎ ช๎สิทธหิ ักกลบลบหนี้กับนายหน่ึง จํานวน 100,000 บาท น้ัน เป็น
กรณลี กู หน้รี ํวมคนใดคนหน่งึ ใชส๎ ิทธิหักกลบลบหนี้ อันยอํ มจะเป็นประโยชน๑แกํลูกหน้ีรํวมคน
อื่น ๆ ด๎วย ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคแรก ดังนั้น หน้ีจึง
คงเหลอื จาํ นวน 200,000 บาท

ตอํ มานายสามได๎นําเงนิ ไปชาํ ระหนใี้ ห๎แกํนายหนง่ึ จํานวน 100,000 บาท เป็นกรณีที่
ลูกหนี้รวํ มคนใดคนหนึ่งชําระหนี้ อันยํอมจะเป็นประโยชน๑แกํลูกหน้ีรํวมคนอ่ืน ๆ ด๎วย ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคแรก ดังน้ัน หน้ีจึงคงเหลือจํานวน
100,000 บาท

356

สํวนการท่ีนายหน่ึงยังเป็นหน้ีนายสองอยํูอีกจํานวน 100,000 บาท นายส่ีจึงขอใช๎
สิทธิหักกลบลบหน้ีน้ัน นายหนึง่ ไมํสามารถจะใชส๎ ิทธิหกั กลบลบหน้ีได๎ เน่ืองจากนายหน่ึงและ
นายส่ีไมํได๎มีความผูกพันในหน้ีซ่ึงกันและกัน ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 341 และเนื่องจากหากลูกหนี้รํวมกันคนใดคนหน่ึงมีสิทธิการหักกลบลบหน้ี ลูกหนี้
รํวมคนอ่ืน ๆ จะเอาสิทธิอันนั้นไปใช๎หักกลบลบหน้ีไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณิชย๑ และมาตรา 292 วรรคสอง ประกอบมาตรา 342

สรุป
1. หน้ีคงเหลือจํานวน 100,000 บาท
2. นายสีจ่ ะใชส๎ ิทธิหกั กลบลบหน้ไี มํได๎

357

ข๎อ 7. นายเอก นายโท และนายตรี รํวมกันก๎ูยืมเงินจากนายเนวิน ในฐานะลูกหนี้
รวํ ม จาํ นวน 300,000 บาท ตํอมาเมื่อถึงกําหนดชําระหนี้ นายเนวินได๎ทวงให๎นายเอกชําระ
หน้ี จํานวน 100,000 บาท นายเอกจึงได๎บอกกลําวด๎วยวาจาไปยังนายเนวิน วําขอ
หกั กลบลบหนี้กับหนที้ ี่นายเนวินค๎างชําระคําซ้ือสินค๎าจากตน จํานวน 100,000 บาท ซ่ึงหน้ี
น้ันถึงกาํ หนดชําระแล๎ว แตนํ ายเนวินไมํยินยอมที่จะหักกลบลบหน้ี และได๎ไปฟ้องคดีเรียกให๎
นายโทชําระหนี้ให๎แกํตนจํานวน 200,000 บาท นายโทตํอสู๎วําตนต๎องรับผิดแคํ 100,000
บาท เทาํ นัน้

ดงั น้ี นายโทต๎องชาํ ระหน้ีให๎แกนํ ายเนวินหรอื ไมํ อยาํ งไร
หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 291, มาตรา 292 วรรค
แรก, มาตรา 341, มาตรา 342
วินิจฉยั การทีน่ ายเอกเป็นหนีน้ ายเนวิน และนายเนวินก็เป็นหน้ีนายเอก โดยหนี้ทั้ง
สองรายได๎ถึงกําหนดชําระแล๎วน้ัน เป็นกรณีท่ีบุคคลสองคนตํางมีความผูกพันซ่ึงกันและกัน
โดยมลู หน้ีอันมวี ตั ถเุ ป็นอยาํ งเดียวกัน (หนี้เงนิ ) หน้ีท้ังสองรายนั้นถึงกําหนดชําระแล๎ว ดังนั้น
จึงหกั กลบลบหน้ีกันได๎เพียงเทําจํานวนท่ีตรงกันในมูลหนี้ทั้งสองฝ่ายนั้น คือ หักกลบลบหน้ี
กันได๎จํานวน 100,000 บาท และคงเหลือหน้ีที่ต๎องชําระจํานวน 200,000 บาท ตาม
ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 341
สําหรบั วธิ กี ารหักกลบลบหน้นี ้ัน ทาํ ได๎ด๎วยคํูกรณฝี ่ายหนึ่งแสดงเจตนาแกํอีกฝ่ายหน่ึง
โดยกฎหมายมิได๎กําหนดแบบของการแสดงเจตนาไว๎วําต๎องทําเป็นลายลักษณ๑อักษร ดังนั้น
การท่ีนายเอกไดบ๎ อกกลาํ วดว๎ ยวาจาไปยังนายเนวินวําขอหักกลบลบหนี้ จึงเป็นวิธีการแสดง
เจตนาหกั กลบลบหน้ที ถี่ กู ตอ๎ งตามกฎหมายแล๎ว และการหกั กลบลบหน้ีสามารถทําได๎ โดยไมํ
ต๎องคํานึงวาํ อกี ฝ่ายหน่งึ จะยินยอมหรือไมํ ดังนั้น แม๎นายเนวินจะไมํยินยอมท่ีจะหักกลบลบ
หน้ี นายเอกก็สามารถหักกลบลบหนี้ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 342
การที่นายเอกซึ่งเป็นลูกหน้ีรํวมคนหน่ึงได๎หักกลบลบหนี้ ยํอมได๎เป็นประโยชน๑แกํ
ลกู หนค้ี นอนื่ ๆ ดว๎ ย ดังนน้ั หนีข้ องนายโทและนายตรจี ึงระงับไปจาํ นวน 100,000 บาท และ
คงเหลือหนี้ท่ีต๎องชําระจํานวน 200,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 292 วรรคแรก
นายเนวินซ่ึงเป็นเจ๎าหน้ีจะเรียกชําระหน้ีจากนายเอก นายโท และนายตรี ซึ่งเป็น
ลูกหนี้รํวม แตคํ นใดคนหนงึ่ สิน้ เชิงหรือแตโํ ดยสวํ นก็ไดต๎ ามแตํจะเลอื ก ตามประมวลกฎหมาย
แพํงและพาณิชย๑ มาตรา 291 เม่ือนายเนวินได๎ฟ้องคดีเรียกให๎นายโทชําระหนี้ให๎แกํตน
จํานวน 200,000 บาท นายโทจงึ ต๎องชาํ ระหน้ีให๎แกนํ ายเนวินจํานวน 200,000 บาท
สรุป นายโทต๎องชาํ ระหน้ีใหแ๎ กํนายเนวินจาํ นวน 200,000 บาท

358

ข๎อ 8. นายหนึ่ง นายสอง และนายสาม รํวมกันกู๎ยืมเงินจากนางชฎาในฐานะ
ลูกหน้ีรํวม จํานวน 3,000,000 บาท มีกําหนดชําระหน้ีวันที่ 1 มกราคม 2562 ตํอมา
นางชฎาได๎ไปซ้ือรถยนต๑จากนายสองจํานวน 1,000,000 บาท มีกําหนดชําระหนี้วันที่ 1
มกราคม 2562 หลังจากนั้น ในวันท่ี 1 มีนาคม 2562 นางชฎาได๎ทวงถามให๎นายสองชําระ
หน้ี จาํ นวน 100,000 บาท นายสองจึงขอหักกลบลบหนี้กบั หนที้ ีน่ างชฎาค๎างชําระคํารถยนต๑
จากตน จํานวน 100,000 บาท แตํนางชฎาไมํยินยอมท่ีจะหักกลบลบหนี้ และได๎ไปฟ้องคดี
เรยี กใหน๎ ายหน่งึ ชาํ ระหนใ้ี ห๎แกํตนจํานวน 3,000,000 บาท นายหนึ่งจึงตํอสู๎วําตนต๎องใช๎หน้ี
ใหแ๎ กนํ ายนางชฎาเพยี งจํานวน 2,000,000 บาท เทําน้ัน

ดงั น้ี นายหนง่ึ ตอ๎ งใช๎หนใี้ หแ๎ กนํ ายนางชฎาเทําใด
หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 291, มาตรา 292 วรรค
แรก, มาตรา 341, มาตรา 342
วินิจฉัย การที่นายสองเป็นหน้ีนางชฎา และนางชฎาก็เป็นหน้ีนายสอง โดยหน้ีท้ัง
สองรายได๎ถึงกําหนดชําระแล๎วน้ัน เป็นกรณีที่บุคคลสองคนตํางมีความผูกพันซึ่งกันและกัน
โดยมลู หนอ้ี นั มีวัตถเุ ป็นอยาํ งเดียวกัน (หนเี้ งนิ ) หนที้ ัง้ สองรายนั้นถึงกําหนดชําระแล๎ว ดังนั้น
จึงหกั กลบลบหน้ีกันได๎เพียงเทําจํานวนท่ีตรงกันในมูลหนี้ท้ังสองฝ่ายน้ัน คือ หักกลบลบหน้ี
กันได๎จํานวน 1,000,000 บาท และคงเหลือหนี้ที่ต๎องชําระจํานวน 2,000,000 บาท ตาม
ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 341
สาํ หรบั วธิ ีการหักกลบลบหนนี้ ้ัน ทาํ ไดด๎ ๎วยคูํกรณีฝา่ ยหนึ่งแสดงเจตนาแกํอีกฝ่ายหนึ่ง
โดยไมํต๎องคํานึงวําอีกฝ่ายหนึ่งจะยินยอมหรือไมํ ดังน้ัน แม๎นางชฎาจะไมํยินยอมท่ีจะ
หักกลบลบหนี้ นายสองก็สามารถหักกลบลบหนี้ได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑
มาตรา 342
การที่นายสองซึ่งเป็นลูกหนี้รํวมคนหนึ่งได๎หักกลบลบหนี้ ยํอมได๎เป็นประโยชน๑แกํ
ลูกหนคี้ นอ่ืน ๆ ด๎วย ดังนั้น หน้ีของนายหนึ่งและนายสามจึงระงับไปจํานวน 100,000 บาท
และคงเหลือหน้ีท่ตี ๎องชาํ ระจํานวน 2,000,000 บาท เชนํ เดยี วกัน ตามประมวลกฎหมายแพํง
และพาณิชย๑ มาตรา 292 วรรคแรก
การที่นางชฎาได๎ไปฟ้องคดีเรียกให๎นายหนึ่งชําระหน้ีให๎แกํตนจํานวน 3,000,000
บาท นน้ั แมน๎ างชฎาจะมสี ทิ ธิฟ้องคดเี รียกให๎นายหนึง่ ชําระหนไี้ ด๎ เพราะเจา๎ หนี้จะเรียกชําระ
หนี้จากลูกหนี้แตํคนใดคนหนึ่งสิ้นเชิงหรือแตํโดยสํวนก็ได๎ตามแตํจะเลือก ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 291 แตํนายหนงึ่ ตอ๎ งใช๎หน้ีใหแ๎ กนํ ายนางชฎาเพียงจํานวน
2,000,000 บาท เทาํ นนั้
สรปุ นายหน่ึงต๎องใชห๎ น้ใี หแ๎ กํนายนางชฎาเพยี งจํานวน 2,000,000 บาท เทาํ น้ัน

359

ข๎อ 9. นายตะวันได๎กู๎ยมื เงินจากนายต๎นนํา้ จาํ นวน 10,000 บาท เมอ่ื ถึงกาํ หนดชําระ
หน้ี นายตะวนั ไมยํ อมชําระหนี้ วันหนง่ึ นายตะวันได๎พบกับนายต๎นนํ้า นายต๎นนํ้าได๎ทวงถาม
นายตะวันตอบวําทวงมากนัก ไมํจํายแล๎ว นายต๎นนํ้าโกรธมาก จึงได๎ชกหน๎านายตะวันไป
หนึ่งที แล๎วนายตะวันกับนายต๎นนํ้าก็ตกลงคําเสียหายกันจํานวน 3,000 บาท หลังจากน้ัน
นายต๎นนา้ํ ได๎ขอหักกลบลบหนรี้ ะหวํางหน้ีเงนิ ก๎ูกบั หน้ลี ะเมิดดงั กลําว แตนํ ายตะวนั ไมํยอมหัก
กลบลบหน้ีโดยอ๎างวาํ มูลหน้ีตาํ งกัน

ดังน้ี ให๎วินิจฉัยวํานายต๎นน้ําจะขอหักกลบลบหน้ีระหวํางหนี้เงินกู๎กับหน้ีละเมิด
ดงั กลาํ วได๎หรือไมํ เทาํ ใด

หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 341, มาตรา 345
วินิจฉัย การท่ีนายตะวันเป็นลูกหนี้ของนายต๎นนํ้าในมูลหนี้เงินกู๎จํานวน 10,000
บาท และนายต๎นนํ้าเปน็ ลกู หนขี้ องนายตะวนั ในมูลหนี้ละเมิดจํานวน 3,000 บาท โดยหนี้ท้ัง
สองรายถงึ กําหนดชาํ ระแล๎วน้ัน เปน็ กรณีท่บี คุ คลสองคนตาํ งมีความผูกพันซ่ึงกันและกัน โดย
มูลหนีอ้ ันมีวัตถุเป็นอยํางเดียวกัน และหน้ีท้ังสองรายน้ันถึงกําหนดจะชําระแล๎ว จึงหักกลบ
ลบหน้ีกันได๎ ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 341 แม๎มูลหน้ตี าํ งกันกต็ าม
แตํอยํางไรก็ดี การที่นายต๎นนํ้าได๎ชกหน๎านายตะวันนั้น เป็นการกระทําละเมิด ซ่ึง
กฎหมายกําหนดวําหนี้รายใดเกิดแตํการอันมิชอบด๎วยกฎหมายเป็นมูล ลูกหน้ีจะถือเอา
ประโยชน๑แหํงหนร้ี ายนั้น เพ่ือหักกลบลบหนี้กับเจ๎าหนี้ไมํได๎ ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 341 ดังนัน้ นายตน๎ น้ําจะขอหกั กลบลบหนไ้ี มํได๎
สรุป นายตน๎ นา้ํ จะขอหักกลบลบหนี้ไมํได๎

360

ขอ๎ 10. นางฟ้าเปน็ ลูกหน้เี งินกนู๎ างนํ้าอยํูจํานวน 500,000 บาท ตํอมานางนํ้าได๎มา
ทวงถามให๎นางฟ้าชําระหน้ี แตํนางฟ้าไมํมีเงินชําระหน้ี และเกิดการโต๎เถียงกันอยํางรุนแรง
นางรุ๎งจึงเข๎าตกลงกับนางน้ําวําจะชําระหนี้แทนให๎เอง หลังจากน้ัน เมื่อถึงกําหนดชําระหน้ี
นางรง๎ุ กไ็ มยํ อมชําระหน้ี โดยอ๎างวาํ นางฟ้าไมไํ ด๎ตกลงดว๎ ยในการทีน่ างรุ๎งจะชําระหน้ีแทน

ดังนี้ ใหว๎ นิ จิ ฉยั วาํ นางน้าํ จะเรยี กให๎นางฟา้ หรอื นางรุง๎ ชาํ ระหนไี้ ด๎หรือไมํ
หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 349, มาตรา 350
วนิ จิ ฉยั การท่นี างฟา้ เป็นลูกหน้ีเงินกู๎นางน้ํา แล๎วตํอมานางร๎ุงได๎ตกลงกับนางน้ําวํา
จะชําระหนแ้ี ทนให๎เองน้ัน เป็นกรณที ี่คํูกรณที ี่เก่ยี วข๎องไดท๎ าํ สญั ญาเปลีย่ นสิ่งซง่ึ เป็นสาระสําคัญ
แหํงหน้ี คือ เปลี่ยนตัวลูกหนี้ หน้ีนั้นจึงเป็นอันระงับส้ินไปด๎วยแปลงหน้ีใหมํ ตามประมวล
กฎหมายแพํงและพาณชิ ย๑ มาตรา 349
การทน่ี างรุ๎งไดต๎ กลงกบั นางนา้ํ วาํ จะชาํ ระหน้ีแทนนางน้ํา แตํนางรุ๎งไมํยอมชําระหนี้
โดยอา๎ งวาํ นางฟา้ ไมไํ ดต๎ กลงด๎วยในการท่นี างรุง๎ จะชาํ ระหน้ีแทนนนั้ เมอ่ื ขอ๎ เท็จจริงไมํปรากฏ
วํานางฟ้าได๎คัดค๎านแตํอยํางใด การแปลงหนี้จึงสมบูรณ๑ เพราะการแปลงหน้ีใหมํด๎วย
เปลี่ยนตัวลกู หน้ีน้นั จะทาํ เปน็ สญั ญาระหวาํ งเจ๎าหน้ีกบั ลูกหน้ีคนใหมํก็ได๎ แตํจะทําโดยขืนใจ
ลูกหนเี้ ดิมหาไดไ๎ มํ ตามประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 350
ดงั นั้น หนี้เดมิ คือหนีเ้ งนิ กู๎ระหวํางนางฟา้ และนางนาํ้ เปน็ อนั ระงับไป และเกดิ หนี้ใหมํ
คือหน้ีเงินกู๎ระหวํางนางร๎ุงและนางนํ้า นางน้ําจึงเรียกให๎นางฟ้าชําระหน้ีไมํได๎ แตํเรียกให๎
นางร๎งุ ชําระหนีไ้ ด๎
สรุป นางนาํ้ เรียกใหน๎ างฟา้ ชาํ ระหนไี้ มไํ ด๎ แตเํ รยี กใหน๎ างร๎ุงชําระหนไ้ี ด๎

361

ข๎อ 11. นายเดชา นายดนัย และนายดาว เป็นเจ๎าหน้ีรํวมของนายโดํง ในหนี้เงิน
จํานวน 300,000 บาท ตอํ มานายดาวไดถ๎ งึ แกํความตาย และนายโดํงเป็นผู๎ที่ได๎รับมรดกของ
นายดาวท้งั หมด

ดังน้ี ให๎วินจิ ฉยั วํา
1. นายเดชาจะเรียกรอ๎ งให๎นายโดงํ ชาํ ระหน้ใี ห๎แกํตนได๎หรือไมํ เพยี งใด
2. นายดนัยจะเรยี กร๎องสวํ นแบํงจากนายโดงํ ในฐานะเจ๎าหน้รี วํ มได๎หรือไมํ เพียงใด
หลกั กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย๑ มาตรา 353, มาตรา 299 วรรค
สอง, มาตรา 300
วนิ ิจฉัย
1. การที่นายเดชา นายดนัย และนายดาว เป็นเจ๎าหน้ีรํวมของนายโดํง ในหนี้เงิน
จํานวน 3 แสนบาท ตํอมานายดาวได๎ถึงแกํความตาย และนายโดํงเป็นผู๎ท่ีได๎รับมรดกของ
นายดาวท้ังหมดนั้น เป็นกรณีที่สิทธิท่ีจะได๎รับการชําระหนี้และความรับผิดในหน้ีนั้น ตกอยํู
แกํบุคคลคนเดียวกัน หน้ีรายนี้จึงเป็นอันระงับไปด๎วยหน้ีเกลื่อนกลืนกัน ตามประมวล
กฎหมายแพงํ และพาณิชย๑ มาตรา 353

ดงั น้ัน นายเดชาเจ๎าหนร้ี วํ มอีกคนหนง่ึ จึงเรยี กร๎องให๎นายโดํงชําระหน้ีไมํได๎ เพราะ
เมือ่ สทิ ธิเรียกร๎องและหนี้สินน้ันเป็นอันเกล่ือนกลืนกันไปในเจ๎าหนี้รํวมกันคนหนึ่ง สิทธิของ
เจา๎ หนี้คนอื่น ๆ อนั มีตํอลูกหนี้ กย็ อํ มเป็นอนั ระงับสน้ิ ไปดว๎ ย ตามประมวลกฎหมายแพํงและ
พาณชิ ย๑ มาตรา 299 วรรคสอง

2. ในระหวํางเจ๎าหน้ีรวํ มกันนัน้ เมื่อมไิ ด๎กําหนดไว๎เป็นอยํางอ่ืน เจ๎าหน้ีรํวมแตํละคน
ยํอมมสี ทิ ธิที่จะได๎รบั ชําระหนี้เป็นสํวนเทํา ๆ กัน ดังน้ัน นายดนัยจึงมีสิทธิเรียกร๎องสํวนแบํง
จากนายโดงํ ได๎จํานวน 100,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพงํ และพาณชิ ย๑ มาตรา 300

สรปุ
1. นายเดชาจะเรยี กรอ๎ งให๎นายโดงํ ชาํ ระหน้ีไมไํ ด๎
2. นายดนยั มสี ิทธิเรยี กร๎องสํวนแบํงจากนายโดํงไดจ๎ ํานวน 100,000 บาท

362

บรรณานุกรม

หนังสือ
จรญั ภักดีธนากุล. กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ วา่ ดว้ ย ผลและความระงับแห่งหน้ี. พิมพ์

คร้งั ท่ี 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พี. เพรส จากัด, 2561.
จ๊ดิ เศรษฐบตุ ร (แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยดาราพร ถิระวัฒน์). หลกั กฎหมายแพง่ ลักษณะหน้ี.

พมิ พ์ครง้ั ท่ี 19. กรงุ เทพมหานคร: โครงการตาราและเอกสารประกอบการสอน
คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, 2553.
ปราโมทย์ จารนุ ิล. กฎหมายแพ่งและพาณชิ ยว์ ่าด้วยหนี้. พิมพค์ ร้ังที่ 9. กรุงเทพมหานคร:
สานักพิมพม์ หาวทิ ยาลยั รามคาแหง, 2556.
ไพโรจน์ วายภุ าพ. คาอธบิ ายประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยว์ ่าดว้ ยหนี้. พิมพค์ ร้งั ท่ี 12.
กรงุ เทพมหานคร: สานกั อบรมศึกษากฎหมายแหง่ เนติบัณฑติ ยสภา, 2561
ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครง้ั ท่ี 2.
กรงุ เทพมหานคร: ราชบัณฑติ ยสถาน, 2556.
วิเชียร ดิเรกอดุ มศักด.์ิ ว.ิ แพง่ พสิ ดาร เลม่ 1 (ฉบับปรับปรงุ ใหม่ ปี 2564).
กรงุ เทพมหานคร: หจก. แสงจันทรก์ ารพิมพ์, 2563.
…………………………….. วิ.แพ่งพิสดาร เลม่ 2 (ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ ปี 2564).
กรุงเทพมหานคร: หจก. แสงจันทร์การพมิ พ์, 2563.
ศกั ด์ิ สนองชาติ. คาอธิบายนติ กิ รรมและสญั ญา. พมิ พ์ครัง้ ที่ 7. กรงุ เทพมหานคร:
สานักพิมพ์นติ บิ รรณาการ, 2545.
ศนันทก์ รณ์ โสตถิพนั ธ์ุ. คาอธิบายกฎหมายลกั ษณะหนี้ (ผลแหง่ หนี้). พมิ พ์คร้งั ท่ี 3.
กรุงเทพมหานคร: วญิ ญชู น, 2560.
สุนทร มณีสวัสดิ.์ คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์: หนี้. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2.
กรงุ เทพมหานคร: วญิ ญชู น, 2553.
เสนยี ์ ปราโมช (ปรบั ปรุงแก้ไขโดยมุนินทร์ พงศาปาน). ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
ว่าดว้ ยนิติกรรมและหน้ี เลม่ 2 (ภาคจบบรบิ ูรณ์). พิมพค์ รั้งที่ 4.
กรงุ เทพมหานคร: วิญญูชน, 2562.
โสภณ รตั นากร. คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าดว้ ยหนี้. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 11.
กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพน์ ติ ิบรรณาการ, 2556

363

บทความ
ปรุ มิ พร นวลปาน. “ปัญหาในการใช้สทิ ธทิ วงถามหน้ีของเจา้ หนต้ี ามกฎหมาย

ว่าดว้ ยการทวงถามหน้ี.”วารสารบัณฑติ ศึกษานติ ิศาสตร์ 13, 2 (เมษายน –
มิถนุ ายน 2563): หน้า 154 - 171.
วรวุฒิ เทพทอง. “หนี้ถงึ กาหนดชาระกับลูกหน้ผี ิดนดั ชาระหน้ี.” จลุ นิติ 14, 1 (มกราคม –
กมุ ภาพนั ธ์ 2560): หน้า 46-57.
วชิ ยั ววิ ิตเสวี. “การปลดหน้ีใหล้ ูกหนี้ร่วม.” วารสารนติ ิศาสตร์ 3, 2 (2514): หน้า 122-132.
อรรถพร พานแกว้ . “แนวคดิ เกี่ยวกับหนีธ้ รรมดาในกฎหมายต่างประเทศ.”
วารสารบัณฑติ ศึกษานติ ศิ าสตร์ 12, 4 (ตุลาคม – ธนั วาคม 2562): หน้า 720-
732.

งานวิจยั
สธุ รรม อย่ใู นธรรมและคณะ. รายงานการวจิ ยั เร่อื ง ปัญหาในกระบวนการบังคบั คดอี ัน

เกดิ มาจากขอ้ ตกลงยกเวน้ มาตรา 733 แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์.
กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยหอการค้าไทย, 2558.

วทิ ยานพิ นธ์
ณฐั ภรณ์ ธราสุวรรณ. “ปญั หากฎหมายเกีย่ วกบั การแปลงหนี้ใหม่.” วทิ ยานพิ นธน์ ิตศิ าสตร

มหาบณั ฑติ . จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2546.
อโนชา ชวี ติ โสภณ. “การเพิกถอนนิตกิ รรมซงึ่ ฉอ้ ฉลเจา้ หน้ี.” (วทิ ยานิพนธน์ ติ ศิ าสตร

มหาบัณฑติ . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527.

สัมภาษณ์
ธนากร โกมลวานชิ . อาจารยป์ ระจาคณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ. สมั ภาษณ์,

1 มกราคม 2565.
ศุภวรี ์ เกลย้ี งจนั ทร์. รองคณบดี คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ. สมั ภาษณ,์

24 มกราคม 2565.

364 หนา้

ดชั นคี น้ คำ 52
308
ก 336
การขอปฏบิ ตั กิ ารชาระหน้ี 284
การจัดสรรชาระหนี้ 84
การจดั สรรหักกลบลบหน้ี 148
การชาระหนี้ 168
การชาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย 61
การใชส้ ิทธิเรียกร้องของลูกหน้ี 75
การฉ้อฉล 320
การบงั คับชาระหนี้ 337
การบงั คับเอาค่าสนิ ไหมทดแทน 52
การปลดหน้ี 39
การแปลงหนใ้ี หม่ 166
การผดิ นดั ของเจา้ หนี้ 33
การผิดนดั ของลูกหนี้ 137
การเพิกถอนการฉ้อฉล 128
การไมช่ าระหน้ี 109
การรบั ช่วงทรัพย์ 104
การรบั ช่วงสิทธิ 324
การเรียกดอกเบี้ยจากค่าสนิ ไหมทดแทน 260
การเรยี กดอกเบีย้ ในระหวา่ งเวลาผิดนัด
การหกั กลบลบหนี้ 5
การโอนสิทธเิ รยี กร้อง 168
กระทาการ 33
กลฉอ้ ฉล
กาหนดชาระหน้ี 191
330

ขอ้ ยกเวน้ ทที่ าให้เจา้ หนไี้ มม่ สี ิทธยิ ึดหนว่ ง
ข้อห้ามในการหกั กลบลบหนี้

365 หนา้

ค 207
ค่าใช้จา่ ยเพ่อื ประโยชนอ์ ันรว่ มกัน 302
ค่าใช้จ่ายในการชาระหน้ี 207
คา่ ปลงศพ 208
ค่าภาษอี ากร 216
ค่าเมล็ดพนั ธุ์ ไมพ้ นั ธ์ุ หรือปุย๋ 93
คา่ สนิ ไหมทดแทน 101
ค่าสนิ ไหมทดแทนกรณีที่ผู้เสียหายมีส่วนผิด 95
คา่ สนิ ไหมทดแทนตามปกติ 98
ค่าสินไหมทดแทนในพฤติการณ์พิเศษ 209
ค่าเคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภคอันจาเป็นประจาวนั 319
คา่ ฤชาธรรมเนียมในการวางทรพั ยห์ รือขายทอดตลาด 197
ความระงบั แหง่ สทิ ธยิ ึดหน่วง 283
ความระงบั แหง่ หนี้ 245
ความรบั ผิดระหวา่ งลูกหนี้รว่ มดว้ ยกันเอง
5
ง 16
งดเวน้ กระทาการ 16
เงินต่างประเทศ 19
เงินตรา
เงนิ ทยี่ กเลิกไมใ่ ชก้ ันแลว้ 248
227
จ 227
เจา้ หนีร้ ่วม
จานา 12
จานอง 5
265

ทรพั ยซ์ งึ่ เป็นวัตถแุ ห่งหน้ี 4
ทรพั ยสิทธิ 5
ทาเปน็ หนังสือ


บอ่ เกดิ แห่งหนี้
บุคคลสทิ ธิ

366 หนา้
205
บรุ มิ สิทธิ 209
บุรมิ สิทธพิ ิเศษ 206
บรุ มิ สิทธิสามญั 264
แบบของการโอนสิทธิเรยี กร้อง
311
ผ 60
ผลของการขอปฏิบัติการชาระหนโ้ี ดยชอบ 81
ผลของการท่ีเจา้ หนผ้ี ิดนดั 324
ผลของการท่ีลกู หน้ผี ิดนัด 129
ผลของการปลดหน้ี 326
ผลของการรบั ช่วงสิทธิ 264
ผลของการหักกลบลบหนี้ 193
ผลของการโอนสิทธิเรียกร้อง 223
ผลของสิทธิยดึ หนว่ ง 284
ผลแหง่ บรุ มิ สิทธิ 287
ผชู้ าระหน้ี
ผู้รับชาระหนี้ 86
88
พ 213
พฤติการณท์ ี่ลูกหนี้ต้องรบั ผดิ ชอบ
พฤติการณท์ ี่ลูกหนี้ไม่ตอ้ งรับผิดชอบ 50
พกั อาศยั ในโรงแรม 235
233
ล 220
ละเมดิ
ลกู หน้รี ่วม 4,9
ลูกหนแ้ี ละเจา้ หนี้หลายราย 313
ลาดับแหง่ บุริมสิทธิ 322
326

วตั ถุแห่งหนี้
วางทรัพย์
วิธกี ารปลดหน้ี
วธิ ีการหกั กลบลบหน้ี

367

ส่งมอบทรัพย์สนิ ส หนา้
สถานท่ีชาระหน้ี ห
สิทธิยดึ หนว่ ง อ 5
สทิ ธิถอนทรพั ย์ 300
สทิ ธิเรียกร้องท่หี ้ามโอน 184
สานักงานวางทรพั ย์ 315
261
หนเ้ี กล่ือนกลนื กัน 314
หนี้ทางแพ่ง
หนท้ี างศีลธรรม 344
หนี้อนั จะแบ่งกันชาระมไิ ด้ 6
หลกั ฐานแหง่ การชาระหนี้ 6
เหตสุ ุดวิสยั
252
อุบัติเหตุ 304
อานาจแห่งมลู หน้ี 48

82
9

368
ประวตั ิผ้เู ขียน

ประวตั ิส่วนตัว
ชอ่ื นางกนกลกั ษณ์ จยุ๋ มณี
เกิดวนั ที่ 22 มิถุนายน 2526 สญั ชาติไทย เช้ือชาตไิ ทย ศาสนาพุทธ

ประวตั กิ ารศกึ ษา
พ.ศ. 2549 นิตศิ าสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (เกยี รตนิ ิยมอันดับสอง)
พ.ศ. 2551 เนติบัณฑิตไทยสมยั ที่ 61 สานกั อบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
พ.ศ. 2554 นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต สาขาบรหิ ารงานยุตธิ รรม มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง
พ.ศ. 2562 นิติศาสตรดุษฎบี ัณฑิต มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง

การอบรม
ประกาศนียบตั รวชิ าวา่ ความ สภาทนายความ

ประวัติการทางาน
1. นิติกร มหาวิทยาลยั ราชภัฎสงขลา พ.ศ. 2549 – 2550
2. อาจารยป์ ระจาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ จังหวดั สงขลา พ.ศ. 2550 –
ปัจจุบัน

ตาแหนง่ ทางวิชาการ
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ สาขากฎหมายเอกชน พ.ศ. 2562



ความสาเรจ็
ยอ่ มเกิดแกผ่ ทู้ ีม่ งุ่ มั่นและพยายาม


Click to View FlipBook Version