The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2020-04-14 22:03:00

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

(52)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

ก�ำหนดการ
พิธีเจรญิ พระพุทธมนตส์ มโภชพระอารามหลวงครบ ๑๐๐ ปี
วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร ณ พระวหิ ารหลวงพอ่ โตวดั ปา่ เลไลยก์
ตำ� บลรัว้ ใหญ่ อ�ำเภอเมอื งสุพรรณบุรี จังหวดั สพุ รรณบุรี

วนั ที่ ๒๐ - ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒

********

วันเสารท์ ี่ ๒๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒

เวลา ๑๕.๐๐ น. พรอ้ มกนั ณ พระวิหารหลวงพ่อโตวัดปา่ เลไลยก์
เวลา ๑๖.๐๙ น. ประธานในพิธี จุดธปู เทยี นบูชาพระรตั นตรัย
- ประธานในพธิ ีถวายพดั รองแดพ่ ระสงฆ์ ตามล�ำ ดบั
- เจ้าหนา้ ท่อี าราธนาศลี
- ประธานสงฆใ์ ห้ศีล
- เจา้ หน้าทอี่ าราธนาพระปรติ ร
- พระสงฆท์ รงสมณศักดิ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์
(เม่ือพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตถ์ งึ บทเสกนํา้ พระพุทธมนต์)
- ประธานจดุ เทียนที่ครอบนา้ํ พระพุทธมนต์ และประเคนครอบนาํ้ พระ 
พุทธมนต์ แดป่ ระธานสงฆ์
- เม่อื พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ จบ
- ประธานในพธิ ี และ ผู้มีเกยี รติถวายจตปุ จั จยั ไทยธรรม
- กรวดนํา้
(พระสงฆ์ถวายอนโุ มทนา ถวายอดิเรก)
- เสร็จพธิ ี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  (53) 

วันอาทิตยท์ ่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒
เวลา ๑๗.๐๐ น. พรอ้ มกนั ณ พระวหิ ารหลวงพ่อโตวัดป่าเลไลยก์
เวลา ๑๘.๐๙ น. ประธานในพธิ ี จดุ ธปู เทียนบชู าพระรตั นตรัย
- ประธานในพิธี ถวายพัดรองแดพ่ ระสงฆ์ ตามล�ำ ดบั
- เจา้ หน้าท่ีอาราธนาศลี
- ประธานสงฆใ์ ห้ศลี จบ
- เจา้ หน้าทอ่ี าราธนาพระปรติ ร
- พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ ๑๐ รปู และ พระสงฆ์ ๕๐๐ รูป เจริญพระ 
พุทธมนต์มหาสมยั สตู ร
(เมื่อพระสงฆ์เจรญิ พระพุทธมนตถ์ งึ บทเสกน้ําพระพุทธมนต)์
- ประธานจุดเทยี นท่คี รอบนา้ํ พระพทุ ธมนต์ และประเคนครอบนํ้าพระ 
พุทธมนต์ แด่ประธานสงฆ์
- เม่อื พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ จบ
- ประธานในพิธี และ ผู้มเี กยี รตถิ วายจตุปจั จัยไทยธรรม
- กรวดน้าํ
(พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก)
- เสรจ็ พิธี

วันจันทรท์ ่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒
เวลา ๑๕.๐๐ น. พร้อมกนั ณ พระวิหารหลวงพ่อโตวัดปา่ เลไลยก์
เวลา ๑๖.๐๙ น. ประธานในพธิ ี จดุ ธปู เทยี นบูชาพระรัตนตรยั
- จดุ เคร่ืองทองน้อย บูชาอดตี เจา้ อาวาส และบรุ พาจารย์
- จุดเครอ่ื งทองนอ้ ย ถวายราชสกั การะ เบอ้ื งหนา้ พระบรมฉายาลักษณ์
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๔
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๖

(54)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี ๙
- ประธานในพธิ ถี วายพดั รองแดพ่ ระสงฆ์ ตามลำ�ดบั
- เจ้าหน้าทีอ่ าราธนาศลี
- ประธานสงฆ์ใหศ้ ลี จบ
- เจ้าหนา้ ท่ลี าดผ้าพระภษู าโยง
- ประธานทอดผา้ ไตร ๑๐ ไตร พระสงฆ์ ๑๐ รปู สดับปกรณ์
- กรวดน้าํ
(พระสงฆถ์ วายอนุโมทนา)
- เจา้ หนา้ ท่อี าราธนาพระปริตร
- พระสงฆ์ ๑๐ รูป เจรญิ พระพุทธมนต์
(เม่อื พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนตถ์ งึ บทเสกนาํ้ พระพุทธมนต์)
- ประธานจดุ เทียนทคี่ รอบนา้ํ พระพทุ ธมนต์ และประเคนครอบนํา้ พระ 
พทุ ธมนตแ์ ด่ประธานสงฆ์
- เมื่อพระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์ จบ
- ประธานในพิธี และผ้มู ีเกยี รติถวายจตุปจั จยั ไทยธรรม
- กรวดนํ้า
(พระสงฆถ์ วายอนุโมทนา ถวายอดเิ รก)
- เสรจ็ พิธี

.................................................

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  (55) 

ค�ำปรารภ

นบั แตเ่ จา้ พระยาธรรมศกั ดม์ิ นตรี จางวางเอก เสนาบดี ลงประกาศ 
แจ้งความยกวัดป่าเลไลยกข์ น้ึ เป็นพระอารามหลวง เม่ือวนั ที่ ๒๑
เมษายน พทุ ธศักราช ๒๔๖๒ ลุมาถงึ วนั ท่ี ๒๐-๒๑-๒๒ เมษายน
๒๕๖๒ นบั เป็นเวลา ๑๐๐ ปพี อดี คณะสงฆว์ ดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร
พรอ้ มทายกทายกิ า เหน็ พอ้ งกนั ในการจดั งานสมโภชพระอารามหลวง
ครบ ๑๐๐ ปวี ดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร เพอ่ื รวบรวมหลกั ฐานทางประวตั -ิ
ศาสตร์ของบคุ คลและสถานที่ ถอื ว่าเปน็ หมุดหมายส�ำ คัญยงิ่ ในการ 
ศกึ ษาคน้ ควา้ ทางดา้ นประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี และวรรณคดี สบื ตอ่ ไป

วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร ตง้ั อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของแมน่ า้ํ สพุ รรณ
หรือแมน่ า้ํ ท่าจีน ประมาณ ๒ กิโลเมตร ด้ังเดิมเปน็ ท่ีมผี ู้คนอยอู่ าศัย 
น้อย มีต�ำ นานวา่ เปน็ ลานมะขวิด ถือว่าเปน็ วดั นอก วัดป่า ตงั้ อยู่
นอกเมอื งสพุ รรณบรุ ี ซึ่งตามธรรมเนียมวัดปา่ จะคูก่ บั วัดเมอื ง ซง่ึ
ตง้ั อยู่ในตวั เมอื ง เรียกว่าเป็นวดั ใน

ปชู นยี วัตถทุ ส่ี �ำ คญั มากทสี่ ุด คือหลวงพ่อโต ทมี่ ีขนาดใหญ่โต 
มาก สงู ๒๓.๔๘ เมตร เทยี บเท่าตกึ ๘ ชนั้ มีอายเุ กินกว่า ๖๐๐ ป ี
ขน้ึ ไป ตามหลกั ฐานเดิมสันนษิ ฐานกนั ว่า มีอายุในราวสมัยอทู่ อง
มีอายุเป็นพันปขี ึน้ ไป

วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร เปน็ พระอารามหลวงแหง่ แรกในจงั หวดั
สุพรรณบรุ ี ใช้เวลาร่วม ๑๐๐ ปี จงึ เกดิ พระอารามหลวงแหง่ ทีส่ อง

(56)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

คอื วัดสองพนี่ ้อง ดงั นั้น จงึ ถือวา่ เป็นวัดคู่บา้ นคู่เมืองสำ�คัญของชาว 
สพุ รรณบรุ แี ละของประเทศไทย ดงั จะเหน็ ไดใ้ นพระราชพธิ บี รมราชา-
ภิเษก ทหี่ ลงั จากตกั นํ้าจากสระทง้ั ส่ี คือ สระแก้ว สระคา สระยมนา 
และสระเกษแลว้ ไดน้ �ำ มายงั พระวิหารหลวงพ่อโต พักรกั ษาไวเ้ พ่อื  
ประกอบพธิ ที �ำ นา้ํ อภเิ ษกตอ่ ไป

พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์เกือบทุกพระองค์
เสด็จพระราชดำ�เนินมานมัสการหลวงพอ่ โต วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร 
และทางวดั จดั ใหม้ เี ทศกาลปดิ ทองไหวพ้ ระตามประเพณโี บราณ ปลี ะ 
๒ คร้งั คือ เทศกาลเดือน ๕ และเดอื น ๑๒ ข้นึ ๕-๖-๗-๘-๙ ค่ํา
ทางจันทรคตทิ ุกปี

ขออนโุ มทนาพระเถรานเุ ถระวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร คณะศษิ ยา- 
นศุ ษิ ยแ์ ละพทุ ธศาสนกิ ชนทง้ั หลาย ทไ่ี ดส้ ละแรงกายและแรงใจ รว่ มกนั  
จดั งานสมโภชพระอารามหลวง ๑๐๐ ปีคร้ังน้ี และขอน้อมอุทศิ ผล 
บญุ กศุ ลทัง้ มวลนี้ แด่บรุ พมหากษัตรยิ ไ์ ทยทกุ พระองค์ ทก่ี อบกชู้ าติ 
บา้ นเมอื งและรกั ษาเอกราชของชาตไิ ทย แดส่ มเดจ็ พระอรยิ วงศาคต-
ญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ี่ ๑๗ (ปุน่ ปุณณฺ สริ มิ หาเถร) วดั
พระเชตุพน แดอ่ ดตี เจา้ อาวาสวดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ ารทกุ รูป และ
แด่ผบู้ �ำ เพ็ญประโยชน์ใหว้ ดั ป่าเลไลยก์วรวิหารทุกท่าน

ขอใหง้ านสมโภชจงสำ�เรจ็ เรยี บร้อยด้วยดี ขอความสขุ ความ
เจรญิ จงบังเกิดมแี ก่ท่านท้งั หลายโดยทวั่ กนั

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  (57) 

จริ ํ ตฏิ ฺ ตุ พทุ ธฺ สาสนํ - ขอพระพทุ ธศาสนาจงสถติ มน่ั คง ตลอด
กาลนานเทอญ

หลวงพ่อโตประทานพร ประชากรจงสมหวงั
หวงั ลาภลาภไหลหล่ัง ได้ลาภดงั เจตจำ�นง
หวังยศเสรมิ ศกั ด์ิศร ี ยศทวยี งิ่ ยนื ยง
หวงั คนสรรเสรญิ จง- สมประสงคป์ ราชญ์สรรเสริญ
หวังสขุ ทัง้ กายใจ กายสบายใจเพลิดเพลิน
ลาภยศสขุ สรรเสรญิ จงเจรญิ ตลอดกาล

อยเู่ พอื่ ตวั อยู่แคส่ ้ินลม
อยู่เพ่อื สงั คม อยคู่ ่ฟู ้าดิน

ภูมิ เว สปปฺ รุ สิ าน ํ กตญฺญูกตเวทิตา
ร้จู กั บพุ การ ี ทำ�ความดีตอบแทนทา่ น
ธรรมนี้เป็นพื้นฐาน ของคนดีศรแี ผ่นดนิ

พระธรรมพุทธมิ งคล
เจ้าอาวาสวดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร
ทป่ี รกึ ษาเจ้าคณะจังหวดั สพุ รรณบุรี
ประธานดำ�เนนิ การสรา้ งพระแกะสลักใหญ ่

ทพ่ี ทุ ธปุษยคีรี อ�ำ เภออู่ทอง
๑๙ เมษายน ๒๕๖๒

(58)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

ค�ำน�ำ

หนงั สอื งานสมโภชพระอารามหลวงครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์ 
วรวหิ าร เลม่ น้ี เปน็ สว่ นหนง่ึ ของสง่ิ ของทร่ี ะลกึ ทท่ี างวดั จดั ขน้ึ ในวาระ 
ครบศตวรรษแห่งการได้รับการยกวัดป่าเลไลยก์ขึ้นเป็นพระอาราม
หลวง ประกอบดว้ ยเนอ้ื หาทางประวตั ศิ าสตรบ์ คุ คล และโบราณสถาน
โบราณวัตถุ ๒ เร่อื ง พทุ ธศลิ ป์ ๑ เร่ือง และวรรณคดไี ทยเกี่ยวกบั
ขุนช้าง ขนุ แผน ทีม่ คี วามเก่ียวข้องกับวัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร

(๑) ประวตั เิ จา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร มรี ายชอ่ื เจา้ อาวาส 
ทไ่ี ดร้ บั การจดบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรไว้ แตจ่ ากหลกั ฐานทช่ี ดั เจน
และรวบรวมไดจ้ ะเรม่ิ ในสมยั พระครโู พธาภริ ตั (หลวงพอ่ สอน สะอาดดี 
ฉายา สวุ ณณฺ สโุ ข) ซง่ึ วดั ปา่ เลไลยกไ์ ดร้ บั การยกขน้ึ เปน็ พระอารามหลวง 
ในยคุ นี้ นบั ว่าเป็นยุคแรกๆ

พระครโู พธาภริ ตั (หลวงพอ่ สอน) ไดป้ กครองวดั เปน็ เวลา ๑๙ ป ี
จนถงึ ยคุ พระครรู กั ขติ วนั มนุ ี (พระสมหุ พ์ ร กนั มาก) เปน็ เจา้ อาวาสอย ู่
๕ ปี (๒๔๗๕-๒๔๘๐) และพระครูโพธาภิรัต (หลวงพอ่ โตะ๊ บุญศิริ 
ฉายา บญุ ศริ )ิ เปน็ เจา้ อาวาสอยู่ ๓ ปี (๒๔๘๐-๒๔๘๓) ในยคุ แรกของ
พระอารามหลวง๑๐๐ปีนบั เจา้ อาวาสทง้ั ๓รปู ดงั กลา่ วเปน็ เวลา ๒๘ป ี
(-๒๔๘๓), ในยคุ กลางของพระอารามหลวงถอื ไดว้ า่ พระวสิ ทุ ธสิ ารเถร 
(หลวงพ่อถิร ปญฺาปโชโต นามสกลุ พ่งึ เจริญ) ครองเปน็ เจา้ อาวาส 
ยาวนานมากทส่ี ดุ ถึง ๔๔ ปี (๒๔๘๓-๒๕๒๗) และในยุคปลายของ 

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  (59) 

พระอารามหลวงซึ่งถือว่าเป็นยุคทองอยู่ในช่วงยุคพระธรรมมหา- 
วรี านวุ ตั ร (หลวงพอ่ ฉลอง จนิ ตฺ าอนิ โฺ ท นามสกุล จนิ ดาอนิ ทร)์ เปน็  
เจา้ อาวาส ๒๖ ปี (๒๕๒๗-๒๕๕๓) และพระธรรมพทุ ธมิ งคล (หลวงพอ่
สอิ้ง สริ ินนฺโท นามสกุล อาสน์สถติ ย)์ เป็นเจา้ อาวาสจากปี ๒๕๕๓-
ปจั จุบัน

(๒) ประวตั ิพระปา่ เลไลยกก์ ับสมมตฐิ านทางเลอื กใหม่ ผู้
เขยี นไดต้ งั้ ขอ้ สังเกต ทบทวนเอกสารเก่าๆ เท่าทีต่ รวจสอบได้ และ
สรา้ งล�ำ ดับเวลา ลำ�ดบั เหตกุ ารณ์ เพือ่ ปรบั ปีศักราชให้สอดคล้องกนั  
และใหข้ อ้ สมมตฐิ านทางเลอื กใหม่ ในเรอ่ื งหลวงพอ่ โตวา่ เปน็ พระปาง 
ปาลไิ ลยกะดง้ั เดมิ ไมใ่ ชเ่ ปน็ พระปางปฐมเทศนา และสรปุ อายหุ ลวงพอ่ โต 
วา่ “สรา้ งขน้ึ เปน็ ปางปา่ เลไลยกต์ ง้ั แตแ่ รกในชว่ งตน้ ของพทุ ธศตวรรษ
ท่ี๑๙กอ่ นการสถาปนาหลวงพอ่ โตวดั พนญั เชงิ ในปีพ.ศ.๑๘๖๗และ 
กอ่ นการสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยา” นน่ั คอื อายหุ ลวงพอ่ โตวดั ปา่ เลไลยก์
มอี ายุราว ๗๐๐ ปีเป็นอย่างนอ้ ย

(๓) พทุ ธศลิ ปก์ บั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาของวดั ปา่ เลไลยก์
ผ้เู ขียนเป็นผู้สนั ทดั เกีย่ วกบั วัตถุมงคลต่างๆ โดยเฉพาะที่จัดสร้างโดย 
อดตี เจา้ อาวาสและเจา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ ารรปู ปจั จบุ นั วา่ เปน็  
ศาสตร์และเป็นศิลป์ในด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแบบไทยๆ
เปน็ กลวิธีชกั จูงให้คนเขา้ วดั ศลิ ปวตั ถุทจี่ ดั เป็นพุทธศิลป์ท่ถี ูกสรา้ ง
ขน้ึ นน้ั เปน็ การบนั ทกึ เหตกุ ารณ์สถานท่ีและบคุ คลของยคุ นนั้ ๆ ถ อื วา่  
เปน็ ประวัตศิ าสตรข์ องชมุ ชน และเป็นสุนทรยี ศาสตร์ เป็นสงิ่ ของ
ล้าํ คา่ กอ่ ให้เกิดความดี ความงาม และความสุขใจแกป่ ระชาชน

(60)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

(๔) ขนุ ชา้ งขนุ แผน ฉบบั ชาวบา้ น และคณุ คา่ ทางวฒั นธรรม
ผู้เขียนได้ย่อยวรรณคดไี ทยเร่อื งขุนชา้ ง ขุนแผน ใหช้ าวบา้ นธรรมดา
และนสิ ติ นกั ศกึ ษา อา่ นเปน็ รอ้ ยแกว้ งา่ ยๆ อา้ งองิ บทรอ้ ยกรองตา่ งๆ
พรรณนาบคุ คลและเหตกุ ารณ์ ท�ำ ใหเ้ รอ่ื งยากกลายเปน็ เรอ่ื งงา่ ย สนกุ  
สนาน เพลดิ เพลนิ โดยเฉพาะเน้นทเ่ี ช่ือมโยงเก่ียวกับวัดปา่ เลไลยก ์
วรวิหาร ซึง่ เปน็ วัดทีม่ ีรปู วาดจิตรกรรมฝาผนงั เรอ่ื งขนุ ชา้ ง ขุนแผน
ตามระเบยี งคต ทอ่ี ยรู่ อบพระวหิ ารหลวงพอ่ โต ถอื วา่ เปน็ คมู่ อื ส�ำ หรบั
นกั ทอ่ งเท่ียวท่ีสำ�คญั

หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะออกมาสสู่ ายตาผอู้ า่ นไมไ่ ดเ้ ลยถา้ ปราศจากทา่ น 
ที่เขยี นบทความตา่ งๆขออนโุ มทนา นายปัญชลติ โชตกิ เสถียรชมรม 
นักโบราณคดี (สมคั รเล่น) เมืองสุพรรณ, พระครูโสภณวรี านวุ ตั ร,ดร. 
(นคิ มเกตคุ ง) วทิ ยาลยั สงฆส์ พุ รรณบรุ ศี รสี วุ รรณภมู ,ิ ดร.ถนดั ยนั ตท์ อง, 
รองศาสตราจารย์ทพิ ยส์ ดุ า นัยทรัพย์ และกองบรรณาธกิ ารทที่ �ำ งาน
หามรงุ่ หามคา่ํ พยายามท�ำ หนงั สอื เลม่ นใ้ี หอ้ อกมาดที ส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะท�ำ ได้

ขออ�ำ นาจคุณพระศรรี ตั นตรัย มีหลวงพอ่ โต วัดปา่ เลไลยก์ 
วรวหิ าร เปน็ ตน้ เปน็ ประธาน จงอ�ำ นวยพรใหท้ า่ นทง้ั หลาย จงประสบ
แตจ่ ตรุ พิธพรชยั มีอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ เพยี บพร้อมด้วยปฏภิ าณ
ธรรมสารสมบตั ิ ธนสารสมบตั ิ ตลอดกาลนาน

พระศรธี วชั เมธี
ผู้อ�ำ นวยการศูนย์อาเซยี นศึกษา
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

วัดราชบุรณะ
๑๙ เมษายน ๒๕๖๒

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  (61) 

กวา่ ๓๕ ปี ของขา้ พเจา้ กับวัดป่าเลไลยก์

ครง้ั พระเดชพระคณุ พระธรรมมหาวรี านวุ ตั ร (ฉลอง จนิ ตฺ าอนิ โฺ ท 
ป.ธ.๕) ไดร้ ับแตง่ ตัง้ เป็นเจา้ อาวาสพระอารามหลวงวดั ป่าเลไลยก ์
วรวหิ าร เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ท่านได้มอบหมายให้พระสริ ินนั ทเมธ ี
(พระธรรมพทุ ธมิ งคล) ชกั ชวนขา้ พเจา้ มาเปน็ พระอนจุ ร เพอ่ื ชว่ ยพฒั นา 
วัดป่าเลไลยก์ให้มีความเจริญรุ่งเรืองโดยเฉพาะด้านการศึกษาพระ
ปรยิ ัตธิ รรม เบ้อื งตน้ แตง่ ต้งั ใหเ้ ป็นอาจารย์ใหญ่ส�ำ นักเรยี นฯ ตอ่ มา 
แต่งต้ังให้เป็นพระสังฆาธิการในตำ�แหน่งรองเจ้าอาวาสและรอง 
เจา้ คณะจังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ ๒

ขา้ พเจา้ ไดส้ นองงานดว้ ยความตง้ั ใจ เตม็ ใจ เปดิ รบั สมคั รนกั เรยี น 
พระภกิ ษ-ุ สามเณร จากท่วั ประเทศ เปิดการสอนตั้งแต่ชัน้ ไวยากรณ ์
ถึง เปรยี ญธรรม ๕ ประโยค ในสว่ นธรรมศึกษาไดส้ ่งครูสอนพระ
ปรยิ ตั ธิ รรมไปสอนในโรงเรยี นสามญั เชน่ โรงเรยี นกรรณสตู ศกึ ษาลยั  
โรงเรยี นสงวนหญงิ และได้ขยายไปท่วั โรงเรยี นในจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
โดยได้รบั ความรว่ มมือจากคณะสงฆ์จังหวดั สพุ รรณบุรี เปน็ ผลให้มี
ผสู้ อบธรรมศกึ ษาในนามส�ำ นกั เรยี นคณะจงั หวดั สพุ รรณบรุ เี ปน็ อนั ดบั
ต้นๆ ของประเทศ

ขา้ พเจา้ ไดเ้ สนอพระเดชพระคณุ พระธรรมมหาวรี านวุ ตั ร ใหจ้ ดั  
สมโภชผสู้ อบเปรยี ญธรรมไดใ้ นนามส�ำ นกั เรยี นคณะจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
และผู้มีชาติภมู ชิ าวสพุ รรณฯ ท่สี อบไดเ้ ปรียญธรรม ๙ ประโยค เมื่อ

(62)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร

ท่านอนุมัติจึงได้จัดเป็นกิจกรรมของคณะสงฆ์จังหวัดสุพรรณบุรี
จนถงึ ปัจจบุ นั

ขา้ พเจา้ เคยปรกึ ษากบั พระผใู้ หญท่ จ่ี ะสง่ เสรมิ พระภกิ ษ-ุ สามเณร
ให้ได้มีโอกาสศึกษาในมหาวิทยาลัยสงฆ์โดยตั้งหน่วยวิทยบริการฯ
หรอื วิทยาเขต เพือ่ ให้ผสู้ นใจศกึ ษาไม่ตอ้ งย้ายสังกดั เขา้ ไปศกึ ษาใน
กรงุ เทพฯ ต่อมาไดม้ กี ารจัดการศกึ ษาเปน็ หน่วยวิทยบริการฯ และ
วทิ ยาลัยสงฆ์ ตงั้ อยใู่ นวดั ปา่ เลไลยก์

ในฐานะรองเจา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยก์ ไดส้ นองงานเจา้ อาวาสใน
งานสาธารณูปการปรับปรุงภูมิทัศน์เปลี่ยนแปลงสภาพวัดจากเดิม
โดยแบง่ เขตพทุ ธาวาสและสงั ฆาวาสอย่างชดั เจน

ในเขตพทุ ธาวาส ปรบั เปลย่ี นบรเิ วณหนา้ พระวหิ ารใหก้ วา้ งขวาง
รองรบั คณะศรทั ธาสาธชุ นจากทว่ั ประเทศ จดั ระเบยี บรา้ นคา้ ใหเ้ ปน็
สัดสว่ น

ร่วมกับทางราชการโดย ฯพณฯ บรรหาร ศลิ ปอาชา นายก- 
รฐั มนตรี คนท่ี ๒๑ บรู ณปฏสิ งั ขรณพ์ ระวหิ ารและปดิ ทององคห์ ลวงพอ่ โต

สรา้ งระเบยี งวหิ ารคดรอบพระวหิ ารพรอ้ มภาพจติ รกรรมฝาผนงั  
เร่ืองขุนช้าง-ขนุ แผน ตามวรรณคดีดงั ของจังหวดั

ข้าพเจ้าสนองงานอดีตเจ้าอาวาสและรูปปัจจุบันด้วยดีเสมอ
ดว้ ยเจตนาพฒั นาวดั ปา่ เลไลยกใ์ หเ้ ปน็ ทศ่ี รทั ธาของสาธชุ นทว่ั ประเทศ
นับเปน็ เวลากว่า ๓๕ ปี การพฒั นานัน้ ไมม่ ีทส่ี ้นิ สดุ เม่อื มพี ัฒนาก็
ตอ้ งมยี ุคบูรณปฏสิ งั ขรณ์ มรี ุ่งเรืองก็ต้องมีรว่ งโรย เป็นไปตามอนจิ -
ลักษณะ

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  (63) 

ปนี เ้ี ป็นวาระครบ ๑๐๐ ปี ที่วัดปา่ เลไลยกไ์ ดร้ บั ยกฐานะเปน็
พระอารามหลวง ข้าพเจ้ารู้สึกปีติยนิ ดที ่ีมีส่วนไดร้ ู้ ได้เหน็ ไดอ้ ยู่ ใน
ประวัตศิ าสตรส์ ว่ นหน่งึ ใน ๑๐๐ ปนี นั้

พระศรีปริยัติโกศล
(ปรชี า มหาปญโฺ  ป.ธ.๙)
รองเจา้ อาวาสวัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร
ท่ปี รึกษาเจ้าคณะจังหวัดสพุ รรณบุรี

(64)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร

หลวงพ่อโตองคน์ ั้นกบั ฉนั คนนี้

ผูเ้ ขียนเปน็ ชาวอำ�เภอเดมิ บางนางบวช ได้ยนิ ชอ่ื หลวงพอ่ โต 
วัดป่าเลไลยก์มานาน ต้ังแต่จ�ำ ความได้เพราะแม่ละเอยี ด เม่ือตกใจ 
หรอื ประสบเหตเุ ภทภยั อะไรขน้ึ มามกั อทุ านวา่ “หลวงพอ่ โตชว่ ยดว้ ย”
เช่นลมแรงหรือฝนตกหนกั แฝกหลังคาบา้ นกระพือพรบึ ๆ เหมอื น
จะบิน ฝนก็รัว่ แมจ่ ะเอามีดเหนบ็ ของพ่อไปปักไวท้ น่ี อกชาน แลว้
หนั หน้าไปทางทศิ ใต้ ยกมอื ไหว้ ปากก็พดู ว่าหลวงพ่อโตชว่ ยดว้ ยๆ
จากนน้ั ไมน่ านลมฝนกส็ งบ ทแี รกคดิ วา่ หลวงพอ่ โตเปน็ พระสงฆ์ ตอ่ มา 
แม่บอกว่าเปน็ พระพทุ ธรูปองคใ์ หญ่ อยวู่ ัดปา่ เลไลยก์ ในตวั จงั หวัด 
เมือ่ จบ ป.๔ ออกโรงเรียนแลว้ ได้บวชเป็นสามเณรเพ่อื เรยี นต่อทาง
ธรรม ขณะเป็นสามเณรกย็ งั มคี นท่บี นไว้กับหลวงพอ่ โตมาติดต่อให้
บวชเณรแกบ้ นแทนอกี หลายครงั้ สว่ นใหญ่จะบนบวช ๗ วนั ราคา
มาตรฐานสมัยนัน้ กค็ อื ๗ วนั ๑๐๐ บาท แตบ่ างรายกใ็ ห้ ๕๐ บาท 
คงคดิ ว่ากเ็ ปน็ เณรอยู่แล้ว ไมต่ ้องลงทนุ อะไรมาก กิจทีต่ ้องทำ�ในช่วง 
รบั บวชแกบ้ นแทนเขากค็ อื ตอ้ งสวดมนตเ์ ชา้ -เยน็ และกรวดนา้ํ พรอ้ ม 
จดุ ธูปบอกเลา่ หลวงพ่อโตทุกวัน อายุ ๑๖ ยา่ ง ๑๗ สกึ จากเณรไป
อยู่วงดนตรีลกู ทงุ่ หลายคณะ วนั หน่งึ วงดนตรีสายณั ห์ สัญญา ทอ่ี ยู่
ดว้ ย มาแสดงทว่ี ดั ปา่ เลไลยก์ จงึ ไดม้ โี อกาสเขา้ ไปกราบไหวห้ ลวงพอ่ โต 
ในพระวหิ าร ท�ำ ใหน้ กึ ถงึ ค�ำ พดู ของแม่ และตอนทบ่ี วชเณรมาก นบั วา่
เป็นครงั้ แรกในชีวิตที่ไดเ้ ห็นองค์จริงของทา่ น ซ่งึ กอ่ นหน้านนั้ เคยนั่ง
รถเมล์เข้ากรุงเทพหลายครั้งต้องผ่านหน้าวัดป่าคนขับจะบีบแตร

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  (65) 

และผ้โู ดยสารในรถตา่ งยกมอื ไหวไ้ ปในวัด กเ็ ปน็ อนั เข้าใจท่ัวกันว่า
ยกมอื ไหวห้ ลวงพอ่ โตในพระวิหาร ปฏบิ ตั ิกนั อย่างนม้ี านาน ท้งั ๆ ท่ี 
คนสว่ นใหญท่ ท่ี �ำ อยา่ งนน้ั ยงั ไมเ่ คยเหน็ หลวงพอ่ โตองคจ์ รงิ เลย ผเู้ ขยี น 
เองกเ็ ปน็ หนึง่ ในนน้ั

เม่ืออายคุ รบ ๒๐ ไดอ้ ปุ สมบททบ่ี ้านเกิด อยู่มาหลายพรรษา
รู้จกั พระเณรวัดป่าทีไ่ ปอบรมบาลที ่ีวัดไร่ขงิ หลายรปู แต่ก็ไม่ไดเ้ ยอ้ื ง 
กรายมาวดั ป่าอีกเลย เพราะพระวสิ ุทธิสารเถร (หลวงพ่อถิร) อดตี
เจ้าอาวาสวัดปา่ ทา่ นเปน็ เกจอิ าจารย์อย่างเดยี ว ไม่ได้เปน็ เจ้าหมู่
เจ้าคณะผู้ปกครอง จึงไมม่ ีการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ ของคณะสงฆ์ทีน่  ี่
ลุถึงวันที่ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๗ หลวงพ่อถิร มรณภาพ พระมหา
จนุ สิรมิ งคฺ โล ป.ธ.๗ รักษาการไดไ้ มน่ านก็มรณภาพไปอีกรูปหนึง่  
มหาเถรสมาคมจึงมีมติแต่งตั้งให้พระเดชพระคุณพระสุวรรณโมลี
(ฉลอง จนิ ตฺ าอนิ โฺ ท ป.ธ.๕) (หลวงพอ่ เจา้ คณุ ใหญ)่ รองเจา้ คณะจงั หวดั
และปฏิบัตหิ น้าทีแ่ ทนเจา้ คณะจังหวัด เจ้าอาวาสวัดศรบี ัวบาน รับ
พระบัญชาย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์ในปีเดียวกันนั่นเอง
ผเู้ ขยี นไดเ้ ปน็ ตวั แทนอาจารยพ์ ระครวู บิ ลู กติ ตวิ ฒั น์ เจา้ อาวาสวดั วมิ ล- 
โภคาราม (ปจั จบุ ันคือทา่ นเจ้าคุณพระมงคลกติ ตวิ บิ ูลย์ รองเจ้าคณะ 
จังหวดั สุพรรณบรุ ี) เข้าถวายเทยี นแพในครงั้ นั้นดว้ ย นบั แต่น้นั เปน็  
ตน้ มาผู้เขยี นกเ็ ข้า-ออกวัดปา่ บอ่ ยขนึ้ และไดเ้ ห็นความเจริญรงุ่ เรือง 
ในทกุ ๆ ดา้ นของวดั ปา่ ตามล�ำ ดบั รวมถงึ ดา้ นการศกึ ษาทง้ั แผนกธรรม
และบาลี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ธรรมศกึ ษามผี สู้ มคั รสอบ และสอบไดเ้ ปน็  
อนั ดบั หนง่ึ ของประเทศอยหู่ ลายปี โดยมที า่ นเจา้ คณุ อาจารยพ์ ระศร-ี
ปรยิ ตั โิ กศล (ปรชี า มหาปญโฺ  ป.ธ.๙) รองเจา้ อาวาส เปน็ อาจารยใ์ หญ่ 

(66)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

ใหแ้ นวคดิ สง่ พระไปสอนธรรมศกึ ษาในโรงเรยี นทง้ั ประถมและมธั ยม
ทั้งจงั หวดั

พ.ศ.๒๕๔๕ เดือนเมษา เลขานุการเจา้ คณะจังหวดั ลาสกิ ขา 
พระมหาชนะ ธมมฺ ธโช ป.ธ.๙ (ปจั จบุ นั เปน็ พระศรธี วชั เมธ ี ผอู้ �ำ นวยการ 
ศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษา) ท�ำ หนา้ ทเ่ี ลขาแทน เดอื นมถิ นุ ายนผเู้ ขยี นมาเยย่ี ม 
เพื่อนคือพระมหาดำ�รงค์ วีรยุตโฺ ต ป.ธ.๕ อาจารยใ์ หญ่วัดดอนเจดยี ์ 
เพราะไดข้ า่ ววา่ มาสอ่ งพระอยู่ท่ีน่ี ถกู รักษาการเลขานกุ ารเจ้าคณะ 
จงั หวัดใช้ใหเ้ ป็นตวั แทนไปประชุมโรงเรียนพระปริยัตธิ รรมแผนกบาลี 
ประจ�ำ จงั หวดั ทว่ี ดั ปากนา้ํ ภาษีเจรญิ ๓ วัน ประชมุ เสร็จก่อนกลบั  
สพุ รรณแวะวดั โพธ์ิ ท่าเตียน เพ่ือเย่ยี ม ดร.พระมหาเทยี บ สริ ิาโณ
/มาลยั ป.ธ.๙ (ปจั จบุ นั คอื พระราชปรยิ ตั มิ นุ )ี กอ่ นจากกนั ทา่ นพดู วา่  
“หลวงพน่ี า่ จะหาวดั อยใู่ หม”่ เมอ่ื กลบั มาถงึ วดั ปา่ เลขาพาเขา้ พบพระเดช 
พระคุณหลวงพ่อเจ้าอาวาสเพ่ือรายงานผลการเข้าประชุมให้ทราบ 
เสรจ็ แลว้ พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ใหญบ่ อกวา่ “มาอยทู่ น่ี ด่ี ว้ ยกนั ดกี วา่  
มาช่วยกนั ทำ�งาน” อยหู่ อ้ งเดยี วกบั พระมหาชนะไปกอ่ น พระมหาชนะ 
เรยี นวา่ หอ้ งด้านใต้ก็ว่างครบั เพราะอาจารย์นงค์ (พระมหาจ�ำ นงค์
วรวฑฒฺ โน ป.ธ.๙ ผจล.) โยมมารบั ไปอยวู่ ดั พงั มว่ งแลว้ ครบั ตง้ั แตว่ นั นน้ั  
เปน็ ตน้ มาผ้เู ขียนก็กลายเป็นสมาชกิ วดั ป่าไปโดยปริยาย ทกุ วันน้กี ย็ งั  
คดิ อยวู่ า่ ท�ำ ไมจๆู่ หลวงพอ่ จงึ ชวนมาอยดู่ ว้ ย หรอื วา่ ทา่ นเจา้ คณุ เทยี บ 
โทรมาบอกทา่ นไว้ก่อน ก็ไมเ่ คยถามทา่ นสกั ครั้ง อยู่ตอ่ มาจึงลาออก 
จากตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดนา้ํ พุ ต�ำ บลหวั เขา อำ�เภอเดิมบางนางบวช 
ทเ่ี ปน็ อยู่หนา้ ทห่ี ลกั ในพรรษาแรกทน่ี ค่ี อื เปน็ หมอนวดประจ�ำ ตวั หลวงพอ่  
ปลงผมให้ น�ำ กณั ฑพ์ ระปาฏโิ มกขไ์ ปถวายองคส์ วดปาฏโิ มกขท์ กุ ปกั ข์

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร  •  (67) 

พรรษาท่ี ๒ เพม่ิ งานเปน็ ครสู อนบาลอี กี อยา่ งหนง่ึ แตง่ านอน่ื ยงั เหมอื น
เดมิ โดยเฉพาะงานบีบนวดขาดไมไ่ ด้ กระทั่งพระมหาด�ำ รงค์เปล่ยี น
ราชทินนามให้ใหม่ว่า พระครูศรีหตั ถศาสตร์

พรรษาท่ี ๓ พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ มเี มตตาขอต�ำ แหนง่ ผชู้ ว่ ย
เจา้ อาวาสให้ (พ.ศ.๒๕๔๗) พร้อมกับพระมหากาว นาควโร ป.ธ.๗
ดว้ ย ไดพ้ ร้อมกัน ท่านบอกวา่ เปน็ ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง
ใหญ่กว่าเป็นเจ้าคณะอ�ำ เภออกี นะ เพราะเจา้ คณะอ�ำ เภอลายเซน็ แค่ 
เจา้ คณะภาค แต่ผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ตอ้ งผ่านมตมิ หา 
เถรสมาคม แลว้ ลงพระนามโดย สมเด็จพระสงั ฆราช จะเลก็ หรอื ใหญ่ 
อยา่ งไรไม่ทราบแต่ทรี่ ู้แนๆ่ คอื ตอนเป็นพระครูสญั ญาบัตรเม่ือวันที่ 
๕ ธันวาคม ๒๕๓๖ เปน็ เจา้ คณะตำ�บลชัน้ เอก ปรี งุ่ ขนึ้ ลาออกจาก 
เจา้ คณะต�ำ บล เพอ่ื ไปเรยี นประโยค ๗ ลดเหลอื เปน็ เจา้ อาวาสชน้ั เอก
ลาออกจากเจา้ อาวาสมาเปน็ ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ลดลงมา
เหลือชัน้ โท เพราะนิตยภตั เท่ากบั พดั จปร ออกงานราชพธิ ีต้องนง่ั
หลงั ประโยค ๗ ทง้ั ๆ ทเ่ี ราเองก็ ๗ ประโยคเหมอื นกนั แตถ่ อื พดั พระครู 
กแ็ ปลกดี แตไ่ ม่เปน็ ไร เพราะพระเดชพระคุณหลวงพ่อเจา้ อาวาส
ทง้ั อดตี และปัจจบุ ันได้ให้ความเมตตาเป็นอย่างดี กลา่ วคอื พระเดช
พระคณุ หลวงพอ่ ใหญใ่ ห้ชวี ิตใหม่ ณ ท่ีน่ี เม่ือท่านประสบอุบัตเิ หตุ
ทางรถยนต์ และอาพาธในบน้ั ปลายชวี ติ กไ็ ดม้ โี อกาสรบั ใชใ้ กลช้ ดิ เฝา้
ปรนนบิ ตั ดิ แู ลสนองพระคณุ ทา่ นตลอดเวลา ๓ เดอื นเศษ ณ โรงพยาบาล 
วชิ ยั ยทุ ธ กระทง่ั มรณภาพ สว่ นพระเดชพระคณุ หลวงพอ่ เลก็ เจา้ อาวาส
รปู ปจั จบุ นั กไ็ ดส้ ง่ ใหเ้ รยี นมหาจฬุ า ตง้ั แตป่ รญิ ญาโท กระทง่ั จบปรญิ ญา 
เอก เพ่อื รองรับวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรศี รสี ุวรรณภูมิ ซงึ่ เปิดท�ำ  

(68)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร

การเรยี นการสอนอยขู่ ณะนท้ี ว่ี ดั ปา่ เลไลยก ์ แตล่ ะเดอื นตอ้ งไปปลงผม 
ใหท้ า่ น ทกุ ครง้ั ทา่ นจะใหค้ ตธิ รรม ค�ำ คม ตลอดจนขอ้ คดิ หลายๆ เรอ่ื ง
เปน็ โจทย์ทต่ี ้องน�ำ มาขบคิดตอ่ ยอดอย่เู สมอ และทขี่ าดไมไ่ ด้คอื ถาม 
ถงึ โยมพอ่ และฝากกระเชา้ ไปใหท้ กุ ครง้ั เหน็ ทา่ นท�ำ งานแลว้ ยอมรบั วา่
เหน่อื ยแทนจรงิ ๆ เพราะภาระมากมาย ท้งั ในวัดและนอกวดั รวมถึง 
การแกะสลกั ภผู าเปน็ องคพ์ ระทเ่ี ขาท�ำ เทยี มดว้ ย ซง่ึ เปน็ งานใหญร่ ะดบั  
ประเทศ และมคี วามส�ำ คญั ระดบั โลก

ในฐานะท่ีอยูว่ ัดปา่ ฯ มา ๑๘ ปี ไปบิณฑบาตทกุ สาย ไดร้ ้จู ัก 
คนุ้ เคยกับญาติโยมรุ่นเก่าหลายคน ดงั นนั้ ตอ่ ไปน้ีเพ่อื มิให้เป็นการ
ยืดเย้อื จะขอสรุปเกร็ดความร้เู ก่ยี วกับวัดป่าเลไลยก์และผ้ทู ่เี ก่ยี วข้อง
เพอ่ื เป็นวทิ ยาทานแก่ท่านผอู้ า่ น ดงั ต่อไปนี้ :-

๑. พระครโู พธาภริ ตั (สอน) รว่ มกบั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชกั ชวน
ประชาชนสรา้ งพระอโุ บสถเพอ่ื ฉลองพระอารามหลวงสรา้ งเสรจ็ พ.ศ. 
๒๔๖๘ ร.ศ.๑๔๔ ส้นิ เงินกอ่ สรา้ งสามหมื่นบาทเศษ

๒. พระครโู พธาภริ ตั (โตะ๊ ) เหน็ วา่ ทน่ี ย่ี งั ไมม่ โี รงเรยี นจงึ ชกั ชวน
ญาตโิ ยมสร้างโรงเรียนประชาบาลวดั ปา่ เลไลยก์ แต่ชาวบา้ นไม่เอา
ด้วย น้อยใจจงึ ลาออกจากเจา้ อาวาส หลังจากเปน็ มาได้ ๓ ปี

๓. พระวิสทุ ธิสารเถร (ถริ ) สอบไดน้ กั ธรรมเอก เปน็ รูปแรก
ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เมอ่ื ครง้ั อยวู่ ดั สวุ รรณภมู ิ และตอ่ มามพี ระบญั ชา 
จากสมเดจ็ พระสังฆราช (แพ วัดสุทศั น)์ ใหย้ ้ายมาอยู่วดั ปา่ เลไลยก์ 
และดำ�รงต�ำ แหน่งเจ้าคณะอำ�เภอท่าพ่ีเล้ียง ด้วย

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร  •  (69) 

๔. ค �ำ พดู ของคนรนุ่ เกา่ บอกวา่ “เณรวดั ใหม ่ ควายวดั ปา่ หมา 
วดั ประตูสาร น่าร�ำ คาญที่สุด” เพราะเม่อื ผ่านไปในทนี่ ั้นๆ แล้ว น่า
เบอื่ มากๆ

๕. ทางเขา้ -ออกวดั ปา่ ฯ สมยั ก่อนอยดู่ า้ นทศิ ตะวนั ออก หน้า 
สำ�นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๑ เดยี๋ วน ้ี ทศิ
เหนือตดิ ทาง ไม่มกี ำ�แพง มแี ต่แนวตน้ ไม้

๖. บรเิ วณดา้ นหน้าพระวหิ ารหลวงพ่อโต แนวทีต่ ัง้ ตเู้ อทีเอม็
เด๋ยี วนี้ มที พ่ี ักแรมคนเดินทางไกล ๑ หลัง ชาวบ้านเรยี กวา่ วหิ าร ๙
หอ้ ง เพราะเปน็ โรงเรอื นยาว ๙ หอ้ งๆ ละประมาณ ๓ เมตร หนั หนา้
เขา้ หาพระวหิ าร ดา้ นหลังมสี ระน้ํา ๑ ลกู

๗. ทต่ี ง้ั โรงเรยี นอนบุ าลวดั ปา่ เลไลยก์ โดยเฉพาะอาคารหลงั
ที่ ๑ และ ๒ ด้านทิศตะวนั ตกสมัยก่อนเปน็ ป่าชา้ ฝงั ศพ

๘. เมอ่ื เลกิ การฝงั ศพโดยเปลย่ี นเปน็ เผาแลว้ ทป่ี า่ ชา้ ดงั กลา่ ว
นั้นคือโรงปั้นกระเบื้องดินเผาเอาไว้มุงหลังคาพระวิหารหลวงพ่อโต
และเป็นสถานท่ีทำ�พระเครอ่ื งรุน่ ต่างๆ ของหลวงพ่อถิรด้วย

๙. บรเิ วณตน้ โพธข์ิ า้ งอนสุ าวรยี พ์ ระบรมรปู ร.๕ ปจั จบุ นั แต่
กอ่ นเปน็ ทีเ่ ผาศพ ตอ่ จากทีเ่ ผาศพกลายมาเปน็ โรงลเิ ก และเปน็ สวน 
หยอ่ มในปัจจบุ นั

๑๐. ตงั้ แต่หอ้ งสมดุ วิทยาลัยสงฆส์ พุ รรณบรุ ศี รสี วุ รรณภมู ิ ไป 
ทางทศิ ใตเ้ ปน็ ทท่ี �ำ นาของชาวบา้ น เพราะตอนนน้ั ยงั ไมม่ กี ารวดั เขตวา่
ทว่ี ดั ตั้งแต่ไหนถงึ ไหน

(70)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

๑๑. วนั ท่ี ๕ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๑๐ พระครูรักขิตวนั มนุ ี (ถริ ) 
ได้เป็นเจา้ คณุ งานฉลองสมณศักด์ิได้จดั อย่างย่ิงใหญใ่ นปีรุง่ ข้ึน โดย 
นายจำ�รสั วิภาตะวตั แหง่ สถานีวทิ ยุยานเกราะไดจ้ ดั ใหล้ ูกทงุ่ เลือด
สพุ รรณ ๒ วง มาประชนั กนั ระหวา่ งดาวคา้ งฟา้ สรุ พล สมบตั เิ จรญิ
กับดาวรงุ่ พุง่ แรง ไวพจน์ เพชรสพุ รรณ ปรากฏวา่ ประชาชนทวั่ ทกุ
สารทิศต่างมุ่งหน้ามาวัดป่ากันอย่างเนืองแน่นตั้งแต่แดดร่มลมตก
รถไฟไมเ่ คยเตม็ กน็ ง่ั บนหลงั คากนั มาเลย บรรดาประชาชนลน้ วดั เปน็
ประวัตกิ ารณ์ นา้ํ แขง็ ไสเคยขายถงุ ละ ๕๐ สตางค์ ก็ขนึ้ เปน็ ๒ บาท
เลิกแล้วสรุปวา่ ไม่รู้ใครแพใ้ ครชนะ เพราะคนแนน่ เตม็ พื้นท่ีไปหมด
ทง้ั สองเวที รงุ่ ขน้ึ รถเมลส์ ายกรงุ เทพเทย่ี วแรกๆ ไมส่ ามารถไปได้ เพราะ 
รถติดถงึ แยกอ่ยู า ถอยหนา้ ถอยหลงั กนั ชลุ มนุ ไปหมดเพราะตา่ งคน 
ก็ตา่ งจะกลับบา้ นตัวเอง ท�ำ ใหร้ ถเมลไ์ ม่สามารถแล่นผ่านไปได้ ฟงั
คนทอ่ี ยใู่ นเหตกุ ารณเ์ ลา่ แลว้ นา่ สนกุ เขาบอกวา่ ตง้ั แตเ่ กดิ มากไ็ มเ่ คย
เหน็ งานวดั ทีไ่ หนคนมากมายขนาดนน้ั

๑๒. ศาลาการเปรยี ญวดั ปา่ ชอ่ื ศาลาสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช 
สร้างเม่ือ พ.ศ.๒๕๑๓ เหตทุ ่ชี อ่ื อย่างน้เี พราะว่าก่อนทจ่ี ะสรา้ งศาลา 
หลงั นห้ี ลวงพอ่ ถริ ไดถ้ กู นมิ นตใ์ หไ้ ปนง่ั ปรกปลกุ เสกเหรยี ญสมเดจ็ พระ 
นเรศวรทพ่ี ษิ ณโุ ลกในระหวา่ งทางเผลอหลบั ไปในหว้ งภวงั คท์ ก่ี �ำ ลงั  
หลับอย่นู น้ั จ่ๆู ก็มีเสยี งมากระซบิ ขา้ งหวู ่า ทา่ นเจา้ คณุ ตน่ื ๆ รถจะ 
ระเบดิ แลว้ หลวงพอ่ ตน่ื มาบอกใหค้ นขบั จอดตรวจดสู ภาพรถ ปรากฏ
วา่ หมอ้ นา้ํ แหง้ ควันโขมง รอพักใหญ่ใหเ้ ครื่องเย็นจงึ เตมิ น้ําเดนิ ทาง 
ตอ่ ไปได้ กลบั จากงานนน้ั มาจงึ มารเิ รม่ิ สรา้ งศาลา พรอ้ มออกเหรยี ญ

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  (71) 

สมเดจ็ พระนเรศวร มารนุ่ หนง่ึ เพอ่ื สมนาคณุ แกผ่ บู้ รจิ าคทรพั ยส์ รา้ ง
ศาลาหลงั นี้

๑๓. ศาลาพมิ พิลาไลย เป็นผลงานการก่อสร้างสง่ิ สดุ ทา้ ยท่ ี
หลวงพอ่ ถริ ท�ำ ไว้ ไมไ่ ดต้ ฝี า้ ทา่ นบอกวา่ เพอ่ื ใหม้ องเหน็ เครอ่ื งปรงุ ขา้ งบน 
วา่ เขาท�ำ กนั อยา่ งไรและสดุ ทา้ ยศพของหลวงพอ่ ในโลงแกว้ กป็ ระดษิ ฐาน 
อยใู่ นศาลานน้ี เ่ี อง กระทง่ั สรา้ งมณฑปเสรจ็ จงึ ไดย้ า้ ยไปไว้ ณ ทป่ี จั จบุ นั

สรุปโครงสร้างวดั ปา่ ฯ ตามทัศนะของผ้เู ขียนเหน็ ว่า...
๑. สมยั หลวงพอ่ ถริ เปน็ ยุคเกจเิ กรียงไกร
๒. สมยั หลวงพอ่ ใหญ่ เปน็ ยุคใสใ่ จพัฒนาเด็ก
๓. สมยั หลวงพอ่ เลก็ เป็นยคุ โปรเจ็คทอ์ นิ เตอร์
ในโอกาสสมโภช ๑๐๐ ปีพระอารามหลวงครง้ั น้ี ไดม้ ีโอกาส
เขียนเรอ่ื งส่วนตัวบ้าง และเร่อื งวัดป่าบ้าง เพ่อื เป็นจดหมายเหตใุ ห้
คนรนุ่ หลังได้รบั รู้ คอื ถ้าไมพ่ ดู ก็ไม่มใี ครรู้ เมื่อเจา้ ของเร่ืองตายกจ็ ะ
หายสาบสูญไปด้วย

พระครศู รอี รรถศาสก์
(อรรถชัย มหาอตโฺ ถ/นา้ํ ทิพย์ ป.ธ.๗, พธ.ด.)

ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร

(72)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

วดั ป่าเลไลยก์ฯ รำ� ลึก

ข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจมากที่ได้เป็นศิษย์วัดป่าเลไลยก์
วรวิหาร ไดบ้ รรพชาเป็นสามเณรแกบ้ นเม่ือปี พ.ศ.๒๕๒๘ โชคดีทม่ี ี 
ครอู ปุ ชั ฌาย์อาจารย์ทด่ี ีคอยอบรมส่งั สอน เมอื่ เดนิ ทางไปยงั สถานท่ี 
ตา่ งๆ หากเขารวู้ า่ มาจากวดั ปา่ เลไลยกฯ์ จะใหค้ วามเกรงใจและตอ้ นรบั  
อยา่ งดดี ้วยเดชะบารมีของหลวงพ่อโตวัดปา่ เลไลยกฯ์ ขออนโุ มทนา
ญาติโยมและครูบาอาจารย์ในยคุ กอ่ นท่ไี ดส้ รา้ งวัดปา่ เลไลยก์ฯ แห่งน้ี 
ขนึ้ มา

ข้าพเจ้ามาอยู่วัดป่าเลไลยก์ฯ ช ่วงที่มีการพัฒนาบูรณะและ 
ปฏิสังขรณ์วัดโดยมีหลวงพ่อพระสุวรรณโมลี (ฉลอง จินฺตาอินฺโท/
ภายหลงั เปน็ พระธรรมมหาวรี านวุ ตั ร) เปน็ เจา้ อาวาส และเปน็ เจา้ คณะ 
จังหวัดสุพรรณบุรีในสมัยน้ันทำ�การปรับภูมิทัศน์ภายในวัดโดยรื้อ 
กุฏิเรือนไทยเกา่ โดยมอี าจารยพ์ ระศรปี รยิ ตั ิโกศล (ปรีชา มหาปญฺโ 
ป.ธ.๙) เปน็ ผนู้ �ำ คณะพระภกิ ษสุ ามเณรชว่ ยกนั รอ้ื ถอนท�ำ งานกนั อยา่ ง 
ขยนั ขนั แขง็ สนกุ สนาน สมยั นน้ั มพี ระภกิ ษสุ ามเณรเกอื บรอ้ ยรปู มาเรยี น
บาลีทวี่ ัดปา่ เลไลยก์ฯ ท่องหนังสือแขง่ กันเดนิ ไปทางไหนก็เหน็ พระ
ภกิ ษุสามเณรทอ่ งหนังสือกัน ถือได้วา่ เปน็ รุ่นบกุ เบกิ อยา่ งแท้จรงิ ใน 
ปัจจุบันมีตำ�แหน่งหน้าทอ่ี ย่างเช่นพระครโู สภณวรี านุวัตรดร.(นคิ ม 
ณฏฺ วโร ) ผู้ช่วยเจา้ อาวาสวัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร เป็นตน้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร  •  (73) 

วัดป่าเลไลยกฯ์ เจรญิ ร่งุ เรืองมาโดยลำ�ดบั ไมแ่ พว้ ดั หลวงวัดอ่ืน 
ในประเทศไทยทง้ั ทางด้านการศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรมการพฒั นา การ
เผยแผ่ การสงเคราะหต์ า่ งๆ ทง้ั ทางราชการและประชาชน โดยผทู้ ม่ี  ี
ความสำ�คญั คือหลวงพ่อพระธรรมมหาวีรานวุ ตั ร ( ฉลองจินฺตาอนิ โฺ ท) 
อดีตเจา้ อาวาส และหลวงพ่อพระธรรมพุทธมิ งคล (สอิง้ สิรินนโฺ ท)
เจ้าอาวาสรปู ปจั จบุ ัน โดยใช้หลักเมตตา และความสามคั คีในการ
บริหารจดั การคณะพระภกิ ษุสามเณร แมช่ ี ศิษย์วัดและคนงานวดั
ปจั จบุ ันมีพระภกิ ษสุ ามเณรทเี่ คยเปน็ ศษิ ย์วัดปา่ เลไลยกฯ์ มากมาย
หลายรปู ไดม้ ตี �ำ แหนง่ ทางคณะสงฆ ์ เชน่ เปน็ พระครู เปน็ เจา้ คณุ เปน็  
เจา้ อาวาสเปน็ เจา้ หมเู่ จา้ คณะฯลฯทางการศกึ ษา เชน่ สอบไดเ้ ปรยี ญ 
ธรรม ๓ ประโยคจนถงึ เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค จบปรญิ ญาตรี ปรญิ ญา 
โท และปรญิ ญาเอก ไดเ้ ปน็ ดอกเตอร์ ฯลฯ

ได้รู้จักกับพระและญาติโยมท่ีเคยอาศัยอยู่ในวัดป่าเลไลยก์ฯ
ยคุ ทห่ี ลวงพอ่ ถริ (พระวสิ ทุ ธสิ ารเถร/ มรณภาพ ๒๕๒๗) เปน็ เจา้ อาวาส
ได้ดิบไดด้ ีเปน็ ใหญ่เปน็ โต ยง่ิ รู้สึกมีความภาคภูมิใจ

ในวาระครบ๑๐๐ปแี หง่ การสถาปนายกวดั ปา่ เลไลยกฯ์ ขน้ึ เปน็  
พระอารามหลวงในปีน้ี ขออำ�นาจสิ่งศักดสิ์ ิทธแ์ิ ละบญุ กศุ ลทข่ี า้ พเจา้
ได้บำ�เพ็ญมาขออุทิศถวายเป็นราชพลีแด่รัชกาลที่ ๔ ที่เคยเสด็จ 
จารกิ มาในขณะทผ่ี นวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ซึ่งเปน็ เหตุ
ให้วัดป่าเลไลยก์แห่งนี้ได้มีโอกาสยกสถานะจากวัดราษฎร์ข้ึนเป็น
วดั หลวงในกาลตอ่ มา ตลอดกระทงั่ พระสงฆแ์ ละฆราวาสญาตโิ ยม

(74)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

สาธุชนผู้ท่ีล่วงลับจากโลกนี้ไปแล้วที่ได้คอยช่วยกันคุ้มครองดูแล
ปกปกั รักษาวดั ป่าเลไลยกฯ์ ใหม้ ีความเจรญิ รุง่ เรืองตงั้ แต่อดีตจนถึง
ปัจจบุ นั ทุกรูปทกุ ท่านทกุ คนเทอญฯ

พระครพู ิพัฒนว์ ุฒกิ ร
(สุธีร์ ธีรปญฺโ น.ธ.เอก,ป.ธ.๓,พธ.บ.,พธ.ม.)

ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  (75) 

ศตวรรษา สถาปนาวดั ปา่ เลไลยก์

สวุ รรณภมู เิ มอื งสงู ลำ้� ประวตั ศิ าสตร์ ชมุ นุมปราชญเ์ ลา่ ต�ำนานผ่านสมัย

หลวงพอ่ โตแห่งวดั ปา่ เลไลยก ์ อายขุ ัยยาวนานนบั พนั ปี

พุทธศลิ ปง์ ดงามยง่ิ ในธรรมะ องค์พทุ ธปฏิมาสงา่ ศรี

ยุคอโยธยาทวารวด ี พระพักตรม์ ศี ิลปะแบบอู่ทอง

หงายพระกรหยอ่ นบาททาบบงกช องั คีรสโชตไิ ชยไมเ่ ป็นสอง

พทุ ธพิมพ์ยิง่ ล้�ำตามครรลอง ทว่ งท�ำนองเอกอุองค์สมบารมี

เบ้ืองซา้ ยขวากายาดา้ นละขา้ ง มีลิงชา้ งปรนนิบัตจิ รสั ศรี

ชูรวงผึ้งและอุทกจบมุนี สถติ ทเี่ สาวหิ ารส�ำราญใจ

อีกปูนปน้ั ลัญจกรพร้อมฉตั รคู ่ ประดบั อยหู่ นา้ บันลำ�้ สมัย

องคภ์ ูมินทร์เป็นมงิ่ ขวัญย่งิ หลักชัย ประดษิ ฐานไวค้ ราวบรู ณะพระอาราม

ทด่ี า้ นหน้ามีพระเจดยี ์ใหญ ่ ความสงู ไดเ้ ก้าเมตรเสกสถาน

สณั ฐานเหลยี่ มเปีย่ มทรวดทรงอนั โอฬาร อลงั การสรา้ งในยุคอยุธยา

จิตรกรรมฝาผนังวหิ ารคด แสนสวยสดน่าพินิจสิเนหา

วรรณคดีขนึ้ ชอ่ื เล่อื งลือชา หลายวรรษาผ่านมากวา่ รอ้ ยปี

เรื่องขุนช้างขุนแผนแดนนักรบ ต้องสยบศึกรกั ศกึ ศักดิศ์ รี

นทิ านเกา่ เลา่ มาบรรดาม ี ต่างเกดิ ท่วี ัดป่าฯ พิลาไลย

สุนทรภคู่ รกู วีศรสี ยาม ผเู้ รอื งนามกานทว์ ิจติ รพสิ มัย

ท่านศรัทธามากราบพระปา่ เลไลยก ์ ลิขติ ไว้ในนริ าศภาคสุพรรณ

สองส่ีหกสองย้อนเวลาศักราช มหาปราชญฉ์ ัฏฐมะพระมง่ิ ขวญั

(76)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

“ยกวดั ปา่ เลลยั เปนพระอารามหลวง”น�ำ ทรงอปุ ถมั ภศ์ าสนาวดั ปา่ เลไลยก ์

สองสี่เกา้ แปดเดือนกนั ยา ธ เสด็จ อดลุ ยเดชภูมพิ ลดลสมัย

ทรงห่มผา้ หลวงพอ่ โตประทานชยั พสกนิกรได้ชนื่ ชมพระบารมี

สองหา้ หกสองพฤษภาราชาภเิ ษก ธ เปน็ เอกขตั ตยิ ะศภุ ดิถี

บดนิ ทรเทพยวรางกูรวงศจ์ ักร ี พระภมู ปี รเมนทรมหาวชริ าลงกรณ

เคยเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ มาวดั ปา่ ฯ ทรงลงแปลงนาสาธิตอนสุ รณ์

เปน็ มงิ่ ขวญั สถติ ม่นั สถาพร พสกนิกรน้อมเกล้าฯ สดดุ ี

แรมหนง่ึ คำ่� เดือนห้าปหี กสอง งานฉลองพระอารามอรา่ มศรี

เป็นมงคลสมโภชครบรอ้ ยปี จัดพิธอี ยา่ งยิง่ ใหญห่ ลายคนื วัน

พระธรรมพทุ ธิมงคลเจา้ อาวาส มีประกาศเฉลิมวดั เพ่อื รบั ขวัญ

ชาวประชาทุกถว้ นหน้าพร้อมใจกัน เทพเทวัญบนชั้นฟ้าสาธกุ าร

ระตะนัตตะยานภุ าเวนะ อญั เชญิ พระตัง้ ตรงจติ อธิษฐาน

อีกทวยเทพเทวาบรุ พาจารย ์ ดลบันดาลพรพิพฒั นส์ วัสดี ฯ

พระมหาวรทัส วรทสสฺ โน ป.ธ.๘
พระมหาปรชั ญ์กวินท์ ภรู สิ ิทโฺ ธ ป.ธ.๘

ประพันธ์

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  (77) 

ปารเิ ลยยฺ การามมหกมมฺ กถา

ยตฺถ สพฺพญญฺ โุ น โสภํ ปฏิพมิ ฺพํ สิรีธรํ

นานาสปิ ปฺ วิจิตตฺ ญจฺ ปาสาทกิ ญจฺ ปสฺสตํ

สฏุ ฺฐุ มาปิตสมภฺ าเร วิหาเร สุปตฏิ ฺติ ํ

สุวณณฺ ปรุ วาสนี ํ ปชู นยี ํ มโนหรํ

นิจฺจํ สพพฺ มนุสเฺ สหิ สกกฺ ตํ ปชู ิตํ จธิ

ยตถฺ ทฏิ ฺาภินหี าโร มหามกฏุ ขตฺตโิ ย

สมฺพทุ ฺธมามโก อคฺโค ปสนโฺ น พทุ ธฺ สาสเน

ปฏสิ งฺขารยี เอตํ วิหารญจฺ อเนกธา

วชริ าวุธภูมนิ ฺโท ชินจกฺกปุ ถมฺภโก

วรวหิ ารานสมฺ ึ ยํ เปสิ ปุเร วเร

เอโส ปารเิ ลยยฺ โกติ อาราโม วสิ ฺสโุ ต สทา

วิชฺชาลยสโมธาโน ชนิ ธมฺมสมชุ ชฺ โล

สรภญฺสมากณิ ฺโณ ชนตาย สโมสโร

ถริ เสนาสนาคาโร สพพฺ กาลํ มโนรโม

วรวหิ ารานสฺม ึ โหติ วสฺสสตํ โิ ต

อิมสฺมึ สตเม วสเฺ ส สนุ กขฺ ตเฺ ต สมุ งคฺ เล

เอกฉนฺทา สมคคฺ า ว มยํ ปหฏฺมานสา

มหกมมฺ ํ มโหฬารํ กรสิ สฺ าม ยถากฺกมํ

(78)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

รตนตฺตยานภุ าเวน รตนตฺตยเตชสา
เอตมปฺ ิ โสตฺถินา เจว เขมโต จ สมิชฌฺ ตุ
ขิปปฺ ํ สพฺเพปิ อารมภฺ า ปริปูเรนฺตุ สพฺพทาติ ฯ
พทุ ธฺ ปรนิ พิ พฺ านโต ปฏฺ าย ปญจฺ สตาธกิ านํ ทวฺ นิ นฺ ํ สหสสฺ านมปุ ร ิ
เทวสฏฺมิ สฺส สํวจฺฉรสฺสจฺจเยน วรวิหารฐานสฺมึ วสฺสสตํ ติ สมเย 
ปาริเลยฺยการามมหกมฺเม ลิขิตายํ พหุสฺสุเตหิ ปาริเลยฺยกวาสีหิ เจว
สสิ เฺ สหิ จ ภกิ ขฺ ุสามเณเรหิ ฯ

ค�ำแปล
กถาว่าดว้ ยการสมโภชวดั ป่าเลไลยก์

พระรปู เปรยี บของสมเดจ็ พระสพั พญั ญใู นพระอารามใด งดงาม 
ทรงไวซ้ งึ่ ศริ ิ วจิ ติ รไปดว้ ยศลิ ปะตา่ ง ๆ น�ำความเลอ่ื มใสมาใหแ้ กห่ มชู่ น 
ผู้มองเห็น ประดิษฐานไว้ดีแล้วในพระวิหารอันสร้างไว้อย่างดี เป็น
ปชู นยี สถาน ทร่ี วมดวงใจของชาวสพุ รรณบรุ ี อนั คนทกุ ชนชน้ั จ�ำพวก
ในโลกนี้สกั การะและนับถือกนั เป็นนจิ

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ทรงเห็นอภินิหารใน
พระอารามใด ผทู้ รงเปน็ อคั รพทุ ธมามกะ มคี วามเลอ่ื มใสในพระพทุ ธ- 
ศาสนา จึงรับสั่งให้ปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปนั่นและวิหารเป็นอเนก
ประการ

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  (79) 

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้เป็นอัครศาสนูป-
ถมั ภก ทรงสถาปนาพระอารามใดเปน็ พระอารามหลวง ชนดิ วรวหิ าร
ประจ�ำเมือง

พระอารามนั้น อนั ชนท้งั หลายขนานนามกนั ทุกเม่อื ว่า “ปา่ - 
เลไลยก”์ เปน็ ทรี่ วมอยแู่ หง่ สถานศกึ ษา เปน็ ทรี่ งุ่ เรอื งของพระธรรม
แห่งองค์พระชินเจ้า อ้ืออึงด้วยเสียงสวดมนต์อันไพเราะ เป็นศูนย์
ประชมุ ของชมุ ชน มเี สนาสนาคารมนั่ คง เปน็ ทร่ี น่ื รมยใ์ จทกุ เวลา ด�ำรง 
คงม่ันอยใู่ นฐานะพระอารามหลวงมาตลอด ๑๐๐ ปี

ในปีท่ี ๑๐๐ อันเป็นมงคลฤกษ์ยามงามดีนี้ เราทั้งหลาย
พรอ้ มเพรยี งเปน็ เอกฉนั ท์ มใี จรา่ เรงิ จกั กระท�ำการสมโภชอนั มโหฬาร

ขอเดชานุภาพของพระรัตนตรัย ขอการสมโภชน้ีจงส�ำเร็จ 
เสรจ็ สนิ้ โดยปลอดภยั สวสั ดแี มบ้ รรดาความรเิ รมิ่ ทง้ั ปวง กจ็ งบรบิ รู ณ์
โดยพลนั ทุกเมื่อเทอญ ฯ

เหล่าพระภิกษุสามเณรผู้เป็นเปรียญท้ังที่เป็นผู้จ�ำพรรษาใน 
วัดป่าเลไลยก์ ท้ังที่เป็นศิษยานุศิษย์ ได้ลิขิตกถานี้ไว้เนื่องในการ 
สมโภช ๑๐๐ ปี พระอารามหลวง วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร ในปี ๒๕๖๒ 
แตพ่ ทุ ธปรนิ ิพพาน ฯ

สามเณรอาชญั สอาดเอีย่ ม ป.ธ.๘
ประพันธใ์ นนามศิษยานศุ ษิ ย์

(80)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร

ศตวรรษา ปา่ เลไลยกานสุ รณ์

ศตวรรษจดจารึกผนกึ แนน่ ทว่ั แวน่ แควน้ แดนสพุ รรณมนั่ ศกั ดศิ์ รี
มาบรรจบครบเคลอ่ื นคลอ้ ยหนง่ึ รอ้ ยป ี พระภูมสี ถาปนาวดั ปา่ เลไลยก์
พระปฏิมาอายุไดห้ ลายศตวรรษ เจดิ จรัสบนแผน่ ดินอนั ยิ่งใหญ่
หลวงพ่อโตโพธิญาณอุฬารไกล คเู่ มอื งไทยนานหนกั หนากวา่ พนั ปี
สูงสุดตาสบิ เอ็ดวากวา่ สองศอก ตามค�ำบอกคนกอ่ นเก่าเล่าดงั น้ี
ชาวสพุ รรณศรทั ธามากว่าพันปี อัญชุลีบชู าวนั ทาคุณ
พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัวคราผนวช ทรงส�ำรวจเมอื งสพุ รรณมนั่ เกอื้ หนนุ
กราบพระป่าเลไลยกเ์ รอื งจ�ำรญู บชู าคณุ องค์หลวงพ่อน้อมขอพร
หากครองราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ์ จะซ่อมวดั พัฒนาปฏสิ ังขรณ์
ให้งดงามอรา่ มรตั นจ์ รัสพร ดงั แตก่ ่อนแรกสรา้ งวางมงคล
พุทธศักราชสองพันสร่ี อ้ ยหน่งึ ครน้ั ทรงขนึ้ ครองราชยด์ งั ประสงค์
โปรดใหฯ้ พระยานกิ รบดนิ ทรร์ วบรวมพล กราบก�ำนลบรู ณะพระอาราม
ประดิษฐานพระลญั จกรพรดถิ ี มหาพชิ ยั มงกฎุ มศี รีสยาม
สวุ รรณฉัตรจรัสค่ดู ูงดงาม คู่วหิ ารหลวงพอ่ โตป่าเลไลยก์
พทุ ธศักราชสองสส่ี ี่หนงึ่ ลมุ าถึงจอมกษัตรยิ ์ขัตตยิ ะวสิ ยั
สมเด็จพระปยิ ะราชฯ คชู่ าตไิ ทย เสด็จไปส่อู ารามนามมงคล
หลอ่ ระฆงั ส�ำรดิ พศิ ษิ ฐ์คา่ ชาวประชาปรีย์เปรมเกษมผล
พระครภู ูประตสู ารสาธชุ น เจริญมนตน์ อ้ มถวายพระพรชยั
อีกลน้ เกลา้ ในหลวงรัชกาลทห่ี ก ธ ทรงยกพระอารามงามสมัย
เปน็ “พระอารามหลวง” ของปวงไทย จารกึ ไวใ้ นดวงจิตนจิ นริ นั ดร์

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  (81) 

ปีสองสห่ี กสองต้องเอ่ยอ้าง ณ ใจกลางเมืองทองปองเสกสรร
สถาปนาพระอารามงามคสู่ พุ รรณ จดจารมัน่ เกยี รติทวีศรีมงคล
รชั กาลที่เก้าคราวเสดจ็ ประพาส ยังอาวาสวัดปา่ ฯ พาสุขผล
ทรงหม่ ผา้ พระปา่ เลไลยกเ์ ปรมใจชน กราบยุคลพระบารมศี รีศักด์ิชยั
ปสี องหา้ สองศนู ยน์ กุ ลู กจิ ศุภนิมิตรวจิ ิตรพิศิษฐส์ ยั
สมเดจ็ พระยุพราชของชาติไทย เสด็จไหว้พระปฏมิ ามหารงุ่ เรอื ง
นาม “วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร” เปน็ ต�ำนานขานกล่าวเล่าลอื เลือ่ ง
หลวงพ่อโตคู่บ้านสราญเรอื ง พระคเู่ มืองคูช่ าติคู่แผน่ ดนิ
จากเร่ิมตน้ พ้นผ่านนานไม่น้อย ลหุ นง่ึ รอ้ ยวรรษาพาถวลิ

สถาปนาพระอารามงามบุรนิ ทร์ ท่ัวธานนิ ทรโ์ มทนาสาธุการ ฯ

นายณัฐพล กมุ ุท
นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖
โรงเรยี นกรรณสูตศึกษาลัย

ประพันธ์

(82)  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

สารบัญ

ภาพประวัติวดั ปา่ เลไลกว์ รวิหาร (๑)

ค�ำปรารภ (๕๕)

ค�ำน�ำ (๕๘)

กวา่ ๓๕ ปี ของข้าพเจ้ากบั วดั ป่าเลไลยก์ (๖๑)

หลวงพอ่ โตองคน์ นั้ กับฉนั คนนี้ (๖๔)

วดั ปา่ เลไลยกฯ์ ร�ำลกึ (๗๒)

ศตวรรษา สถาปนาวัดปา่ เลไลยก ์ (๗๕)

ปาริเลยฺยการามมหกมมฺ กถา (๗๗)

ศตวรรษา ปา่ เลไลยกานุสรณ์ (๘๐)

ประวตั เิ จ้าอาวาสวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร ๑

ประวัตพิ ระปา่ เลไลยก์กบั สมมตฐิ านทางเลอื กใหม ่ ๔๓

พุทธศลิ ป์กบั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาของวัดปา่ เลไลยก ์ ๗๓

ขนุ ช้างขุนแผน ฉบับชาวบ้าน ๑๐๕

คณุ ค่าทางวัฒนธรรมในขุนช้างขุนแผน ๒๕๖

รายช่อื พระภิกษุ สามเณร อุบาสกิ า และศษิ ยว์ ดั ๓๖๕
รายชอ่ื บุคลากร เจ้าหน้าที่ และพนกั งาน ๓๖๘

เจา้ อาวาสวดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร
โดย พระศรธี วชั เมธี (ชนะ ป.ธ.๙)

ประวัติเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร พอสอบได้บ้าง
หลงั จากบรู ณปฏสิ งั ขรณพ์ ระวหิ ารครงั้ หลงั สดุ เหนอื ขนึ้ ไปสอบ
ไมไ่ ด้ ถา้ จะพจิ ารณาหลกั ฐานจากวรรณคดเี รอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผน
แลว้ พอจะบอกไดว้ า่ “สมภารม”ี เปน็ เจา้ อาวาสรปู หนงึ่ ในสมยั
อยธุ ยา แตน่ น่ั เปน็ เพยี งวรรณคดี จรงิ หรอื ไมเ่ พยี งใด ทราบไมไ่ ด้

พระวสิ ทุ ธสิ ารเถร (หลวงพอ่ ถริ ) (๒๔๔๕-๒๕๒๗) ไดเ้ ขยี น
บันทึกวัดปา่ เลไลยก์ และได้แจกแก่ทา่ นท่ีมารับเสด็จพระบาท 
สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี ๙ และสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ิ์
พระบรมราชินี คราวเสด็จประพาสจังหวัดสุพรรณบุรีครั้งแรก 
และเสด็จนมัสการหลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ในพระ
วหิ ารใหญ่ เมื่อวันท่ี ๒๐ กันยายน ๒๔๙๘ มเี นื้อความวา่

การสร้างพระวิหารเดิมเป็นรูปมณฑป เฉพาะองค์พระ
เท่านั้น ในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระสีหราชเดโชไชย ได้รับ
พระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ไปสร้างพระวิหารวัดป่าฯ ได้
ต่อเสาปูนออกมาข้างละ ๓ ต้น สร้างหลังคาได้ข้างละ ๓ ชั้น
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๔ (พระจอมเกล้าฯ) ก�ำลัง

2  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

ทรงผนวช ได้เสด็จธุดงค์ประพาสจังหวัดสุพรรณบุรีทรงพบ
พระปา่ เลไลยกร์ กรา้ งไมม่ พี ระสงฆป์ กครอง นมสั การหลวงพอ่ โต
ทรงเลื่อมใสมาก ได้อธิษฐานว่า ถ้าได้ครองราชย์สมบัติจะมา
ซ่อมถวาย พอได้ครองราชย์แล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้เจา้ พระยานกิ รบดินทร์ (โต)* ไปสร้างถวายรว่ มกบั หลวงพ่อ
กล่ำ� เจา้ อาวาสวดั ประตูสาร ขุดคลองต้งั แตว่ ดั ประตสู าร ลอ่ ง
แพซุงเข้าไปวัดป่าฯ สร้างหลังคาได้ข้างละ๒ ชั้น ท�ำฝาผนัง
รอบนอก รวมหลังคาพระวิหารมีข้างละ ๕ ช้ัน แล้วซ่อมองค์
หลวงพอ่ โต สรา้ งพระพทุ ธรปู ไวใ้ นวหิ ารอกี ๒ องค์ มตี รามงกฎุ
ทห่ี น้าบันพระวิหารเปน็ เคร่อื งหมาย

สมยั รชั กาลที่ ๕ เสดจ็ ประพาสจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไดเ้ สดจ็
ไปนมัสการหลวงพ่อวัดป่าเลไลยก์ ได้ทรงแจกเหรียญพระรูป
ของพระองคท์ หี่ นา้ พระวหิ ารใหญ่ กอ่ นทจี่ ะเสดจ็ ไปวดั ปา่ ฯ ได้
ทรงเสดจ็ แสดงความเคารพเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง เมอ่ื เสดจ็ เขา้ ไปถงึ
หน้าศาล ทรงเปดิ พระมาลาถวายความเคารพ แล้วทรงตรัสวา่
“คณุ ปู่ ฟา้ ไดเ้ สวยราชยแ์ ลว้ ” คำ� นค้ี วามหมายถงึ กษตั รยิ ต์ รสั ไป
ทรงถ่อมพระองค์แก่ผู้ต่างถิ่น หรือจะมีเช้ือสายสืบสัมพันธ์กัน
อยา่ งไรไมท่ ราบ

อนงึ่ สมยั กอ่ นทล่ี ำ�่ ลอื กนั นกั วา่ เจา้ พอ่ หลกั เมอื งสพุ รรณบรุ ี
ทา่ นเฮย้ี นนกั จนเจา้ นายบางพระองคไ์ มก่ ลา้ เสดจ็ ไปเมอื งสพุ รรณ

*  ต้นสกุล กลั ยาณมิตร ผสู้ รา้ งวัดกัลยาณมิตร

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร  •  3 

บัดนี้เห็นจะไม่เป็นไร ท่านอ่านหนังสือโบราณคดี ของสมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ คงจะทราบ

ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง เปน็ รปู พระอศิ วรและพระนารายณ์
สรา้ งดว้ ยศิลาสีเขียว ตง้ั อยู่ ๒ องค์ ฝมี อื ของชา่ งทสี่ ร้างเทวรูป
กอ่ นสมยั ขอม อายใุ นราว ๑๓๐๐ ปี แตเ่ ราถอื วา่ เปน็ หลกั เมอื ง
ของเมืองสุพรรณ น่าจะมีมาคราวเดียวรุ่นเดียวกับสร้างพระ
ปรางค์ของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เป็นหลักของเมืองในคราว
ทสี่ รา้ งเมอื งขน้ึ หรอื อาจจะถกู ยา้ ยมาจากอทู่ องเมอื งเดมิ กเ็ ปน็ ได้
แตศ่ ลิ าสเี ขยี วและนายชา่ งผสู้ ลกั น้ี นา่ จะนำ� มาจากประเทศอนิ เดยี
เปน็ ฝมี ือของพราหมณม์ ากกวา่

สมัยรัชกาลที่ ๖ และสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิ์ศจี
เสด็จประพาสจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ทรงนมัสการหลวงพ่อวัด
ป่าเลไลยก์ ซ่ึงเป็นผลให้หลวงพ่อวัดป่าได้เจริญข้ึนอีก ได้ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกฐานะวัดป่าฯ ให้เป็นพระอาราม
หลวงชนั้ ตรี เมื่อวนั ท่ี ๒๑ เมษายน ๒๔๖๒

ผู้เฒา่ กล่าววา่ ทา่ นเจา้ คุณพระสังวรานุวงศ์เถร (ชุ่ม) วัด
ราชสทิ ธาราม จงั หวดั ธนบรุ ี ทา่ นเดนิ ธดุ งคไ์ ปนมสั การหลวงพอ่
วัดป่าเลไลยก์ ไปถึงวัดป่าฯ เวลาเย็นบังเอิญเลขวัดผู้เฝ้าพระ
วหิ ารกลบั เสยี กอ่ น ทา่ นเจา้ คณุ ปรารถนาจะเขา้ ไปนมสั การ ได้
ไปลองผลกั ประตดู ู รูว้ า่ ใส่ดานเขา้ ไปไม่ได้ และไมม่ ีลูกดาน จึง
กลบั ไปนง่ั พกั ขา้ งนอก ไดย้ นิ เสยี งประตใู หญเ่ ปดิ ออก จงึ เขา้ ไป

4  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

นมัสการแลว้ เที่ยวตรวจดูคนเพอ่ื ใหใ้ ส่ดาน ค้นหาก็ไมเ่ หน็ นึก
ประหลาดจึงกลับไปท่ีพักดังเก่า ได้ยินเสียงประตูปิด เข้าไปดู
อกี ไมเ่ หน็ คน ทา่ นเจา้ คณุ ไดพ้ กั อยทู่ นี่ นั่ คนื หนง่ึ รงุ่ ขน้ึ เชา้ ไดเ้ ลา่
ใหค้ นทำ� บญุ ฟงั แลว้ วา่ หลวงพอ่ วดั ปา่ ฯ นศี้ กั ดสิ์ ทิ ธนิ์ กั บอกลกู
หลานอยา่ ไดไ้ ปทำ� อจุ าดลามกสกปรกในสถานทนี่ ี้ จะเสอ่ื มเสยี
แก่ตัวและเปน็ อนั ตราย

เจา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ ารสมั พนั ธก์ บั หลวงพอ่ โตและ
พระวหิ ารอยา่ งแยกกนั ไมอ่ อก ในจดหมายเหตรุ ชั กาลที่ ๔ พ.ศ.
๒๔๐๑ พระวหิ ารพรอ้ มองคห์ ลวงพอ่ โตไดร้ บั การบรู ณปฏสิ งั ขรณ์
ครงั้ ใหญ่ ปรากฏตามจดหมายเหตทุ พี่ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้
เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ จา้ พระยานกิ รบดนิ ทร์ (โต) 
ไปซอ่ มแซม แตเ่ นอื่ งจากวดั อยหู่ า่ งไกลจากหมบู่ า้ น มสี ภาพเปน็  
ป่ารก พระภิกษุขัดสนด้วยอาหารบิณฑบาต ไม่มีพระสงฆ์อยู่
ประจ�ำแนน่ อน หาผทู้ จี่ ะอาสามาเปน็ เจา้ อาวาสไมไ่ ด้ เพราะเปน็  
วดั นอก วดั อรญั ญวาสี ทค่ี กู่ บั วดั ใน ทเ่ี ปน็ วดั คามวาสี อยใู่ นตวั เมอื ง
แตร่ ายชอื่ เจา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร ตามทไ่ี ดร้ บั การบนั ทกึ
สบื ๆ มา มีดงั นี้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  5 

๑.
พระอธิการกล�่ำ
(เลา่ กนั ว่าเปน็ เจ้าอาวาส ราวปี ๒๔๒๑)

หลังจากบูรณปฏิสังขรณ์สภาพวัดป่าเลไลยก์วรวิหารแล้ว 
หลวงพอ่ กลำ่� เปน็ เจา้ อาวาสเสยี เลย แสดงวา่ ตอนนน้ั วดั ปา่ ยงั ไมม่  ี
เจา้ อาวาส หลวงพอ่ กลำ่� มชี าตภิ มู อิ ยทู่ ตี่ �ำบลรวั้ ใหญ่ อ�ำเภอเมอื ง 
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไมห่ า่ งไกลจากวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร บางคน 
เลา่ วา่ เปน็ เจา้ อาวาสในสมยั รัชกาลท่ี ๔ ในคราวเดียวกับที่ได้รับ 
เปน็ หวั หนา้ ฝา่ ยบรรพชติ จดั การซอ่ มพระวหิ ารใหญ่ ปี พ.ศ.๒๔๐๑ 
เมอ่ื กอ่ นทา่ นอยทู่ วี่ ดั ประตสู าร และเปน็ เจา้ อาวาสองคแ์ รกของ 
วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร แตไ่ ม่รู้ว่าเขา้ ปกครองวัดเมื่อใด สิ้นสมยั  
ของทา่ นเมอื่ ใด ทราบแตว่ า่ ไดก้ ลบั ไปมรณภาพทวี่ ดั ประตสู าร
หลงั จากเจา้ อาวาสรปู นแี้ ลว้ วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ ารเสอื่ มโทรมลง
จนเกอื บเปน็ วดั รา้ ง บางปมี พี ระมาอยบู่ า้ ง ๑-๒ รปู เพงิ่ มาฟน้ื ฟู
ขนึ้ มพี ระสงฆจ์ �ำพรรษาในสมยั รชั กาลที่ ๖ เมอ่ื พระครโู พธาภริ ตั
(สอน สะอาดด)ี มาปกครอง

ขุนสุนิตย์วงศ์วิรัติ อดีตขุนคลังจังหวัดสุพรรณบุรี
ไวยาวัจกรวัดสุวรรณภูมิ เล่าว่า “เท่าที่ทราบ อาจารย์โพล้ง
ลูกศิษย์หลวงพ่อกล�่ำ (องค์เก่า) วัดประตูสาร เป็นผู้ที่สร้าง 
และซ่อมวิหารวัดป่าฯ แล้วน�ำเศษไม้ท่ีเหลือมาสร้างศาลาวัด
ประตสู าร” เรอ่ื งอาจารยโ์ พลง้ ชว่ ยสรา้ งวหิ ารวดั ปา่ แลว้ น�ำเศษไม้ 

6  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร

ทเี่ หลอื ไปสรา้ งศาลาวดั ประตสู ารน้ี เกดิ ขนึ้ ในยคุ เรม่ิ ฟน้ื ฟสู ภาพ
วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร และแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างวัด
ประตสู าร วดั เจา้ คณะจงั หวดั สพุ รรณบรุ ,ี วดั สวุ รรณภมู ิ วดั เจา้ คณะ 
อ�ำเภอเมอื ง, วดั ไชนาวาส วดั ทพ่ี ระครโู พธาภริ ตั (หลวงพอ่ สอน) 
เคยสงั กดั อยู่ กอ่ นจะยา้ ยไปเปน็ เจา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

หลวงพอ่ กลำ่� สนั นษิ ฐานกนั วา่ เปน็ เจา้ อาวาสหรอื ผรู้ กั ษา
การแทนเจา้ อาวาส ประมาณ พ.ศ.๒๔๒๑ ถงึ ปใี ดไมป่ รากฏชดั
ทราบแตว่ า่ ทา่ นกลับไปมรณภาพที่วัดประตสู าร

๒.
เจ้าอธิการสุด
(เจา้ อาวาสแต่ปี ๒๔๔๗-)

หลวงพอ่ สดุ ไดร้ บั การบนั ทกึ วา่ เปน็ เจา้ อาวาสแตป่ ี ๒๔๔๗
ถึงปีใดไม่ปรากฏ ทราบแต่ว่าในตรวจการคณะสงฆ์ ร.ศ.๑๒๑
(พ.ศ.๒๔๔๕) หลวงศริ เิ กษตรบริบาล (ม.ร.ว.เล็ก พยัฆเสนา)*
ได้น�ำความเห็นมายนื่ ตอ่ ท่ีประชุม มใี จความว่า

(๑) เร่ืองในบริเวณวัดป่าเลไลยก์ ซ่ึงเป็นหลักฐานของ
บ้านเมือง หลวงศิริเกษตรบริบาลไปตรวจราชการ เมื่อเดือน

* ตอ่ มา พระยานครพระราม (ม.ร.ว. เลก็ พยฆั เสนา) (๒๔๐๖-๒๔๖๑) ครองเมอื ง
สพุ รรณบรุ ี ๑๐ ปี (๒๔๔๖-๒๔๕๖) เคยมบี รรดาศกั ดเิ์ ปน็ หลวงศริ เิ กษตรบรบิ าล
และพระยาสุนทรสงคราม

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร  •  7 

ธันวาคม ร.ศ.๑๒๑ และได้ตรวจพื้นท่ีท้ังกุฏิ วิหาร ทรุดโทรม
รา้ งไปโดยมาก โดยเหตทุ ไี่ มม่ พี ระสงฆอ์ ยจู่ ำ� พรรษา จงึ ไดช้ ำ� รดุ
ทรดุ โทรมเชน่ นี้ การทพ่ี ระสงฆไ์ ปอยจู่ ำ� พรรษาไมไ่ ดน้ นั้ เพราะ
มคี วามฝดื เคอื งด้วยอาหารบิณฑบาต โดยเหตทุ ีม่ ีหมู่บา้ นน้อย

(๒) เห็นว่า ถ้ามีพระสงฆ์จ�ำพรรษาสัก ๕ รูปให้ประจ�ำ
อยู่เสมอ คงจะมีความเจริญได้ แล้วจะขอรับเป็นไวยาวัจกร
ถวายจตุปัจจัยค่าอาหารบิณฑบาตเดือนละ ๒๐ บาท และว่า
เมอื่ มพี ระสงฆอ์ ยปู่ ระจำ� แลว้ ถา้ มโี อกาสเปน็ อนั ดเี วลาใด จะได้
คิดจัดการปฏิสังขรณ์ขึ้นให้เป็นท่ีเจริญความเล่ือมใสศรัทธา
ของประชุมชนต่อไป ขอความด�ำริในท่ีประชุมสงฆ์จะเห็นควร
จัดการสถานใด

อาตมภาพ (พระธรรมโกศาจารย์ ต่อมาได้รับสถาปนา
เปน็ สมเด็จพระสังฆราช (แพ) วัดสุทัศนเทพวราราม) ไดก้ ล่าว
ขนึ้ วา่ ควรใหเ้ ปน็ ไปดงั ความเหน็ นนั้ แตเ่ รอื่ งทจี่ ะจดั พระสงฆใ์ ห้
ไปอยนู่ น้ั ตอ้ งเปน็ ธรุ ะของเจา้ คณะเมอื ง เจา้ คณะแขวง พระครลู ่ี
เจา้ คณะแขวง พรอ้ มดว้ ยเจา้ คณะเมอื งรบั รองวา่ จะจดั พระสงฆ์
ให้ไปอยู่ประจ�ำรักษา แล้วหลวงศิริเกษตรบริบาลได้หารืออีก
เรอ่ื งหนง่ึ วา่ การทจ่ี ะปฏสิ งั ขรณว์ ดั ปา่ เลไลยกแ์ ละทอ้ งทบ่ี รเิ วณ
น้ัน จะต้องคิดขุดคลองท่ีต้ืนให้ลึกและท�ำถนนให้เรียบร้อยให้
เป็นท่ีไปมานมัสการของประชุมชนได้โดยสะดวกก่อน แล้วจึง
จะดำ� รกิ ารปฏสิ งั ขรณว์ ดั ปา่ เลไลยกท์ วั่ ไปทง้ั บรเิ วณตอ่ ภายหลงั

8  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

แตจ่ ะตอ้ งอาศยั กำ� ลงั ของเลขสำ� หรบั วดั ปา่ เลไลยกช์ ว่ ยดว้ ย การ
จึงจะสำ� เร็จได้โดยเรว็ ถา้ พระครูวบิ ูลเมธาจารย์ เจา้ คณะเมือง
ตกลงเห็นดีด้วย มอบให้เป็นธุระเพื่อช่วยอุดหนุนก�ำลังของ
การปฏิสังขรณ์แล้ว คงจะส�ำเร็จความประสงค์ได้ อาตมภาพ
จึงได้น�ำความด�ำรินั้นมาปรึกษากับพระครูวิบูลเมธาจารย์ เจ้า
คณะเมอื งวา่ จะตกลงความเหน็ อยา่ งไร พระครวู บิ ลู เมธาจารย์
ตอบว่า เร่ืองเลขวัดป่าเลไลยก์น้ัน ถ้าท่านผู้ว่าราชการเมือง
รับเป็นธุระจัดให้เป็นผลประโยชน์ อุดหนุนในการปฏิสังขรณ์
วัดป่าเลไลยก์ได้เป็นการดีแล้ว อาตมภาพจึงได้แสดงกับผู้ว่า
ราชการเมืองว่า การที่จะปฏิสังขรณ์วัดป่าเลไลยก์น้ันมีความ
เต็มใจด้วย เพราะเป็นวัดส�ำคัญในหัวเมืองนี้ แต่เรื่องเลขน้ัน
อาตมภาพขออารักขา แล้วแต่ผู้ว่าราชการเมืองจะคิดจัดให้
เป็นไปโดยการที่ควร หลวงศิริเกษตรบริบาล จึงกล่าวขึ้นว่า
จะเป็นธุระคิดจัดการให้เป็นผลประโยชน์แก่การปฏิสังขรณ์
เม่ือปรึกษาเรื่องน้ีแล้ว ได้แจกสมุดบาญชีทะเบียนคณะสงฆ์
กบั ทง้ั หนงั สอื ลกั ษณะปกครองคณะสงฆ์ และหนงั สอื แบบเรยี น
ตา่ งๆ ท่วั ทกุ อาราม เลิกประชุมเวลาย่ำ� ค่ำ�

ในยคุ ของหลวงพอ่ กลำ�่ และหลวงพอ่ สดุ ทกี่ ลา่ วมานี้ ถอื วา่
เป็นยุคที่เมืองสุพรรณเพ่ิงจะฟื้นตัวจากสภาพถูกท้ิงร้างของ 
ฝ่ายบ้านเมือง มีเจ้าอาวาสบ้าง ไม่มีเจ้าอาวาสบ้าง ประเภท
สามวันดสี ีว่ นั ไข้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  9 

๓.
พระครูโพธาภิรัต
(สอน สะอาดด)ี (๒๔๐๘ – ๒๔๗๕)
เจา้ อาวาสชว่ ง ๒๔๕๖-๒๔๗๕

พระครูโพธาภิรัต (หลวงพ่อสอน) ฉายา สุวณฺณสุโข
เกิดวันเสาร์ข้ึน ๓ ค�่ำ เดือน ๑๒ ปีขาล พุทธศักราช ๒๔๐๘
เป็นบุตรของนายครุฑ นางปาน นามสกุล สะอาดดี ชาติภูมิ
อยู่ ณ บ้านค่ายเก่า (แถวหัวเวียง-พิหารแดง) ต�ำบลร้ัวใหญ่
อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี เดิมได้อุปสมบทท่ี
วัดประตูสาร แล้วไปจ�ำพรรษาท่ีวัดสุวรรณภูมิ และย้ายไปอยู ่
ท่ีวัดไชนาวาส ได้รับแต่งตั้งพระสอนให้เป็นพระวินัยธรสอน
ในฐานานกุ รมของทา่ นพระครวู บิ ูลเมธาจารย์ (ภ)ู วัดประตูสาร 
ซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี (ในสมัยนั้น 
เรยี กวา่ เจา้ คณะใหญว่ า่ คณะกลาง เรยี กต�ำแหนง่ เจา้ คณะจงั หวดั  
วา่ เจา้ คณะเมอื ง เรยี กต�ำแหนง่ เจา้ คณะอ�ำเภอวา่ เจา้ คณะแขวง
และเรยี กต�ำแหนง่ เจา้ คณะต�ำบลวา่ เจา้ คณะหมวด)

คร้ังเม่ือ พ.ศ.๒๔๕๖ ทางการคณะสงฆ์โดยพระครูวิบูล-
เมธาจารย์ (ภ)ู วดั ประตสู าร และทางฝา่ ยบา้ นเมอื งน�ำโดยพระ
ทวปี ระชาชน (อี้ กรรณสูต) ผูว้ ่าราชการจงั หวดั ต้องการฟืน้ ฟ ู
วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร ซงึ่ รว่ งโรยไปนานแลว้ จงึ นมิ นตพ์ ระวนิ ยั ธร 
สอนไปเปน็ เจา้ อาวาส และในปที ยี่ า้ ยนนั้ เองทา่ นไดร้ บั พระราชทานตงั้  
สมณศกั ดเิ์ ปน็ “พระครโู พธาภริ ตั ” ตอ่ มาไดเ้ ปน็ เจา้ คณะอ�ำเภอเมอื ง
(เจา้ คณะแขวง) และเปน็ พระอปุ ชั ฌายส์ อน วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

10  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

พระครูโพธาภริ ตั (สอน สะอาดดี) (๒๔๐๘ – ๒๔๗๕)
เจา้ อาวาสชว่ ง ๒๔๕๖-๒๔๗๕

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  11 

12  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  13 

มหาอ�ำมาตยน์ ายก เจา้ พระยายมราช (ปนั้ สขุ มุ )
(๑๕ ก.ค. ๒๔๐๕ - ๓๐ ธ.ค.๒๔๘๑)

14  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  15 

เริ่มมีพระสงฆ์เขา้ อยจู่ �ำพรรษาปลี ะหลายสบิ รปู หลวงพอ่ สอน
เปดิ ใหม้ กี ารเรยี นการสอนพระปรยิ ตั ธิ รรมขนึ้

ตามแจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี
ลงตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๖ ว่า “ด้วย
มณฑลนครไชยศรีมีใบบอกมาว่า วัดป่าเลไลยก์ซึ่งเป็นวัด
โบราณในเมืองสุพรรณบุรี แต่ก่อนๆ มามีพระสงฆ์อยู่จ�ำ
พรรษาเพียง ๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง แลบางปีก็ร้างไป โดย
เหตุท่ีมีความกันดาร ด้วยหมู่บ้านใกล้วัดมีน้อย บัดน้ี พระทวี-
ประชาชน ผู้ว่าราชการเมืองเป็นหัวหน้า จัดการเลือกหาได้
พระวินัยธรสอน วัดชายพนาวาส* ผู้มีความสามารถไปอยู่
เปน็ เจา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยก์ ตอ่ มากไ็ ดผ้ ลดั เปลย่ี นกนั อปุ การะ
ด้วยอาหารการบริโภคเป็นนิตย์ ในศกนี้มีความเจริญรุ่งเรืองข้ึน
มีพระสงฆจ์ �ำพรรษาถึง ๑๒ รปู ”

พระครูโพธาภิรัต (หลวงพ่อสอน) มาอยู่วัดป่าเลไลยก์ 
วรวิหาร โดยการสนับสนุนของเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี คือ 
พระครูวิบูลเมธาจารย์ (ภู) วัดประตูสาร และอยู่ในระหว่างท่ี 
พระทวีประชาชน (อี้ กรรณสูต) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าเมือง 
สุพรรณบุรี ระหว่าง พ.ศ.๒๔๕๔ ถึงวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๔๖๖ 
พระทวปี ระชาชนไดป้ ระกอบคณุ งามความดมี ากมาย ตอ่ มาไดร้ บั  
เลอ่ื นต�ำแหนง่ เปน็ พระสนุ ทรสงคราม (อี้ กรรณสตู ) เมอ่ื ปลายปี
พ.ศ.๒๔๕๖ นน่ั เอง แลว้ ไดร้ บั บรรดาศกั ดเิ์ ปน็ “พระยาสนุ ทรบรุ ”ี
ต�ำแหนง่ สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลนครไชยศรี แตห่ ลงั จากวนั ท่ี ๕

* วดั ไชนาวาส

16  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

ตลุ าคม ๒๔๖๖ พระยาสนุ ทรสงคราม (ปยุ สวุ รรณศร) เลอื ดเนอื้  
เชอื้ ไขชาวสพุ รรณ มศี กั ดเิ์ ปน็ หลานชายของมหาอ�ำมาตยน์ ายก
เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ได้เป็นเจ้าเมืองสุพรรณจนถึงปี
พ.ศ.๒๔๗๐

เม่ือปี พ.ศ.๒๔๖๗ พระครูโพธาภิรตั (หลวงพ่อสอน) ได้
นมิ นตพ์ ระฟงุ้ น.ธ.โท วดั จกั รวรรดริ าชาวาส กรงุ เทพฯ มาเปน็  
ครูสอนหนังสือ และได้จัดตั้งให้มีการเรียนภาษาไทยข้ึนที่วัด 
ป่าเลไลยก์วรวิหาร อีกทั้งจัดการก่อสร้างกุฏิเสนาสนะให้ดีข้ึน 
กว่าเดิม จนวัดป่าเลไลยก์วรวิหารได้รับสถานะยกขึ้นเป็นพระ 
อารามหลวงอยา่ งเปน็ ทางการ เมอ่ื วนั ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๒
เปน็ เหตหุ นงึ่ ทปี่ ระชาชนรกั ใครแ่ ละเคารพย�ำเกรงหลวงพอ่ สอน
เปน็ อนั มาก เพราะทา่ นเปน็ พระนกั พฒั นา จนตอ่ มาไดเ้ ปน็ เจ้าคณะ
อ�ำเภอเมอื ง

เรอื่ งการยกวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เปน็
พระอารามหลวงชน้ั ตรี มบี นั ทกึ ชน้ิ หนงึ่ จากกระทรวงธรรมการ
ลงวันท่ี ๒๔ มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๑ มีใจความว่า “ด้วยสมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระมหา
สมณะ ทรงปรารภวา่ วดั ปา่ เลไลยก์ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มณฑล
นครไชยศรี เป็นวัดส�ำคัญมีชื่อปรากฏในต�ำนานแห่งจังหวัด
สุพรรณบุรี และได้มีเงินทรงพระราชอุทิศในงบประมาณแต่
เดิมมา ทรงเห็นสมควรจะได้รับยกย่องเป็นพระอารามหลวง
รกั ษาไวเ้ ปน็ เกยี รตขิ องจงั หวดั สพุ รรณบรุ สี บื ไป จงึ โปรดเกลา้ ฯ
ให้ข้าพระพุทธเจ้าน�ำความข้ึนกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบ
ฝา่ ละอองธลุ พี ระบาท ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ยก

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  17 

วัดป่าเลไลยก์เป็นพระอารามหลวงช้ันตรี ไม่มีพระกฐินหลวง
ท้ังนี้จะควรประการใดแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ”
สองวันต่อมา มีหนังสือจากกรมราชเลขานุการ ลงวันท่ี ๒๖
มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๑ ว่า “เรียนเจ้าพระยาธรรมศักด์ิมนตรี มี
พระบรมโองการโปรดเกลา้ ใหเ้ รยี นมาวา่ เจา้ คณุ ทลู เกลา้ ถวาย
หนังสอื ท่ี ๓๑/๘๔๓๘ ลงวนั ท่ี ๒๔ เดือนน้ี วา่ สมเดจ็ พระมหา
สมณะโปรดให้ขอพระบรมราชานุญาตยกวัดป่าเลไลยก์เป็น
พระอารามหลวงชั้นตรี ไม่มีพระกฐินหลวงน้ัน พระราชทาน
พระบรมราชานญุ าตแล้ว”

พระครโู พธาภริ ตั (หลวงพอ่ สอน) เปน็ เจา้ อาวาสพระอาราม 
หลวงวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร นบั เปน็ รปู แรก ในชว่ งปที ท่ี างบา้ น 
เมอื งกม็ กี ารเปลยี่ นตวั ผวู้ า่ เมอื งสพุ รรณ จากพระยาสนุ ทรสงคราม
(อ้ี กรรณสูต) มาเป็นพระยาสุนทรสงคราม (ปุย สุวรรณศร)
พระยาสุนทรสงครามทั้งสองท่าน ได้มีส่วนร่วมแรงสนับสนุน
หลวงพ่อสอนก่อสร้างพระอุโบสถ จนเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ.
๒๔๖๙ และเร่ืองพระกฐินหลวงน้ัน คงได้รับการพิจารณาให้
มีเหมือนพระอารามหลวงทั่วไปเมื่อพระอุโบสถเสร็จสมบูรณ์
เพราะปรากฏหลกั ฐานวา่ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ มหาอ�ำมาตยน์ ายก
เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (๒๔๐๕-๒๔๘๑) ได้น�ำกฐิน
พระราชทานมาทอด ณ วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร

พระครโู พธาภริ ตั (หลวงพอ่ สอน) ไดป้ กครองวดั โดยความ
เรียบร้อย เป็นเวลา ๑๙ ปี และได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ ๑
กนั ยายน พ.ศ.๒๔๗๕ สริ อิ ายุ ๖๗ ปี พรรษา ๔๖

18  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร

๔.
พระครรู ักขิตวันมนุ ี
(พระสมุหพ์ ร กันมาก) (๒๔๓๕ – ๒๔๘๐)
เจ้าอาวาสช่วง ๒๔๗๕-๒๔๘๐

หลังสิ้นสุดยุคปกครองของพระครูโพธาภิรัต (หลวงพ่อ
สอน) ทางคณะสงฆโ์ ดยเจา้ คณุ พระวบิ ลู เมธาจารย์ (อมุ่ สรุ ทนิ โฺ น 
ป.ธ.๓) คร้ังยังด�ำรงสมณศักด์ิเป็น “พระครูวิบูลเมธาจารย์” 
เจ้าอาวาสวัดปราสาททองและเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ได้
มอบหมายใหห้ ลวงพอ่ พร หรอื พระสมหุ พ์ ร กนั มาก พระฐานา- 
นกุ รมของพระครโู พธาภริ ตั (หลวงพอ่ สอน) เปน็ ผรู้ กั ษาการแทน 
เจ้าอาวาสวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร ในปี พ.ศ.๒๔๗๕

พระสมหุ พ์ รมชี าตภิ มู อิ ยทู่ แ่ี ถวต�ำบลรวั้ ใหญ่ อ�ำเภอเมอื ง
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เกดิ ในตระกลู “กนั มาก” เปน็ เลอื ดเนอ้ื เชอื้ ไข
ชาวสพุ รรณแท้ ทา่ นยังด�ำรงต�ำแหน่งเจา้ คณะต�ำบลดอนก�ำยาน
ดว้ ย


Click to View FlipBook Version