The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2020-04-14 22:03:00

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  319 

ไสยศาสตร์และการใช้เวทมนตร์คาถา เช่น พระไวยถูกเสน่ห์
นางสร้อยฟ้าจนหลงใหลเลอะเลือนไป กวีบรรยายวิธีทําเสน่ห์
ของเถรขวาดท่เี รยี กวา่ ฝังรปู ฝังรอย ดงั นี้

“คราน้ันเถรขวาดราชครู พเิ คราะหด์ ปู รีด์ิเปรมเกษมศานต์
หยบิ ขี้ผง้ึ ปากผีมามนิ าน เอาเถา้ พรายมาประสานประสมพลนั
ลงอักษรเสกซ้อมแลว้ ยอ้ มผม เปา่ ด้วยอาคมแลว้ จึงปนั้
เปน็ สองรปู วางเรยี งไว้เคยี งกัน ชกั ยนั ตล์ งชอื่ ศรีมาลา
อีกรูปหน่ึงลงชือ่ คอื พระไวย เอาหลังติดกันไวใ้ ห้ห่างหน้า
ปักหนามแทงตัวท่วั กายา แลว้ ผูกตราสังมน่ั ขนันไว้
ซำ้� ลงยนั ต์พนั ด้วยใบเตา่ รั้ง ใหเ้ ณรจวิ๋ ไปฝังป่าชา้ ใหญ่
แลว้ ป้นั รปู สร้อยฟ้ากับพระไวย เอาใบรักซอ้ นใสก่ บั เลขยันต์
เถรนั่งบรกิ รรมแลว้ ซำ้� เป่า พอตอ้ งสองรปู เข้าก็พลิกฝัน
หันหนา้ คว้ากอดกนั พลั วัน เอาสายสญิ จนเ์ ขา้ กระสนั ไวต้ รงึ ตรา
รปู นีจ้ งฝังไวใ้ ต้ที่นอน ไมข่ า้ มวนั ก็จะรอ่ นลงมาหา
แลว้ เสกแปง้ น�้ำมันจันทนท์ า ประสมดว้ ยวา่ นยาน้ำ� มันพราย”

(ขุนช้างขุนแผน หน้า ๙๒๙)

เถรขวาดสามารถทําเสน่ห์ให้พระไวยลุ่มหลงนางสร้อยฟ้า
จนถึงกับทุบตีศรีมาลา เพราะเถรชวาดทําให้พระไวยเกลียด 
ศรีมาลา นอกจากนั้นรูปร่างหน้าตาของพระไวยก็หมองคล้�ำ 
ดําไหม มีกิริยาอาการเพ้อพกผิดปรกติ ขุนแผนจึงจับเสน่ห ์
โดยการเอากระจกทพ่ี ระไวยสอ่ งหนา้ มาทําพธิ ี ดงั คําประพนั ธว์ า่

320  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

“ขนุ แผนดินรบั จับกระจก พลางหยบิ ยกกระดานชนวนใหญ่
มาขดี เขียนเลขยันตใ์ นทนั ใด แลว้ ลบผงลงใสก่ ระจกพลัน
โอมอา่ นมนตรค์ รบจบศรี ษะ ขอเดชะพระเวทวเิ ศษขยนั
ถ้าใครทาํ มนตร์ยาใจอาธรรม์ จงปรากฏเหน็ กนั ให้ทนั ตา
กเ็ กิดเป็นรปู นมิ ิตตดิ กระจก อกตอ่ อกถงึ แอบเขา้ แนบหน้า
ใบรักรดั กระสนั กันสองเรา ขนุ แผนฮาดังลน่ั นนั้ เปน็ ไร”

(ขุนชา้ งขนุ แผน หน้า ๙๖๓)

ดว้ ยอํานาจเวทมนตรข์ องขนุ แผนจงึ ทําใหจ้ บั เสนห่ ไ์ ดจ้ าก
การดภู าพการฝงั รปู ฝงั รอยทปี่ รากฏในกระจก ขนุ แผนจงึ แกเ้ สนห่ ์ 
ด้วยการเสกน้�ำประพรมรูปให้ละลายไป ก็เป็นอันว่าแก้เสน่ห์
ไดช้ ่ัวคราว

เรื่องของการทําเสน่ห์ แล้วทําให้ผู้อื่นเดือดร้อนเป็นการ
ทําผิดกฎหมายในสมัยโบราณ ซ่ึงปรากฏข้อความในกฎหมาย
ลกั ษณะเบด็ เสรจ็ โบราณมใี จความว่า

“มาตราหนง่ึ ผใู้ ดจะใหผ้ อู้ นื่ พศิ วงงงงวยในตนและประกอบ 
กฤษติยาคุณปนยาแฝดด้วยส่ิงใดๆ ให้ท่านกินก็ได้ ใส่ให้ท่าน
ด้วยประการใดๆ ก็ดี แลปั้นรูป ฝังรูปด้วยวิทยาคุณประกอบ
ใดๆ กด็ ี พจิ ารณาเปน็ สจั ใหท้ วน ๖๐ ที เอาขนึ้ มายา่ งประจาน
และตระเวนบก ๓ วนั เรือ ๓ วนั แล้วฆ่ามนั เสยี ๘

๘ ขนุ วจิ ติ รมาตรา, เลา่ เรอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผน, (พระนคร : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๐๔)
หนา้ ๓๖๓.

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร  •  321 

การที่กฎหมายลงโทษผู้ทําเสน่ห์เพราะทําให้ผู้อื่นเดือด
ร้อน เม่ือเป็นเช่นน้ี การทําเสน่ห์จึงต้องลักลอบกระทํา ไม่ให้
ใครรู้เห็น อีกอย่างหน่ึงวิธีการทําเสน่ห์เท่าที่กล่าวไว้ในขุนช้าง
ขนุ แผนกด็ ยู งุ่ ยากซบั ซอ้ น กวา่ จะทําไดส้ ําเรจ็ ดว้ ยเหตนุ ก้ี ารทํา
เสน่ห์จึงไม่มีความจําเป็นในสังคมปัจจุบัน เสน่ห์สําหรับผู้หญิง 
ยุคปัจจุบัน ก็คือเสน่ห์ถ้อยคําและเสน่ห์ปลายจวัก ซึ่งคงจะ
ใชไ้ ดท้ กุ ยคุ ทกุ สมยั ซงึ่ เปน็ วฒั นธรรมไทยทดี่ งี าม สมควรชว่ ยกนั  
อนุรักษ์ไว้ตลอดไป

ภาพ นางสรอ้ ยฟ้ามาหาเถรขวาดที่วัดพระยาแมน

322  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

ภาพ นางสรอ้ ยฟา้ มาหาเถรขวาดทวี่ ดั พระยาแมน เพอื่ ท�ำ
เสน่ห์ให้พระไวยหลงใหลแสดงถงึ ความเช่อื มัน่ ในคาถาอาคมใน
ยคุ นน้ั วา่ สามารถทจี่ ะท�ำใหต้ นเองประสบผลส�ำเรจ็ ตามตอ้ งการ
ได้ ไมว่ า่ จะเปน็ ทางดหี รอื ไมด่ ี วชิ าท�ำเสนห่ ใ์ หค้ นหลงใหลไรส้ ติ
ความรสู้ กึ นกึ คดิ แบง่ แยกชว่ั ดี ไมไ่ ดถ้ อื เปน็ ไสยด�ำ การท�ำเสนห่ ์
ในสมยั โบราณมโี ทษหนกั ถงึ กบั โบยตแี หป่ ระจานและประหาร
ชีวิตในท่สี ุด

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  323 

ภาพ เถรขวาดท�ำเสน่ห์ เร่ืองของความรักมักมีปัญหา
รกั ซ้อน นางสร้อยฟา้ ปรกึ ษาใครไม่ได้ จงึ ไปปรึกษาเถรขวาดให้

324  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร

ใชไ้ สยด�ำ ท�ำเสน่ห์ใหพ้ ระไวยหลงใหลตน เอาขผี้ ง้ึ ปากผีมาปัน้
เป็นหุ่นหญิงชายแล้วลงคาถาอาคมกรรมวิธีต่างๆ มัดหันหน้า 
รวมกันไว้ไปฝังในป่าช้า ซึ่งถือว่าเป็นการใช้วิชาในทางที่ผิด
สดุ ทา้ ยเถรขวาด ผใู้ ชไ้ สยด�ำท�ำเสนห่ ก์ ถ็ กู ประหารชวี ติ ทต่ี ะแลง
แกงตามประเพณีทที่ �ำตอ่ กนั มา

ความเช่ือเรอื่ งเครอ่ื งรางของขลงั

ในเสภาขุนช้างขุนแผน สะท้อนให้เห็นความเช่ือเรื่องส่ิง
ศักด์ิสิทธิ์ที่เป็นเคร่ืองรางของขลังมากมาย พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้นิยามคําว่าเคร่ืองรางของ
ขลงั ไว้ดงั น้ี

เครื่องราง๙ น. ของทีน่ ับถือว่าปอ้ งกนั อนั ตรายยิงไม่ออก
ฟันไมเ่ ข้า เชน่ ตะกรุด ผา้ ยันต์ เหล็กไหล

ของขลัง๑๐ น. ของท่ีมีอํานาจศักดิ์สิทธ์ิท่ีเช่ือกันว่าอาจ 
บนั ดาลใหส้ ําเร็จไดด้ ังประสงค์

๙ พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ๒๕๒๕, หนา้ ๑๙๖
๑๐ เล่มเดมิ , หนา้ ๑๓๕.

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  325 

เครือ่ งรางของขุนแผน

ตอนขุนแผนจะไปลักพาวันทองจากขุนช้าง มีเคร่ืองราง 
ตดิ ตวั ไปดว้ ย เชน่ เสอื้ ยนั ต์ แหวนพริ อด ผงพราย และดาบฟา้ ฟน้ื  
ดังคําประพนั ธว์ ่า

“ขนุ แผนรับพรอภิวาท คําประสาทประสิทธ์สิ ถาผล
กาํ เรบิ ฤทธยิ์ นิ ดีโดยมงคล ประทกั ษิณสามหนแลว้ ลามา
ขึ้นหอพระนารายณ์ระงับจิต เอาเทียนตดิ รูปถวายท้งั ซา้ ยขวา
ลงหนิ ฝนจนั ทน์น้ำ� มันทา ใครเหน็ กายาใหย้ วนใจ
สอดสนบั เพลามว่ งดวงวหิ ค นุง่ ยกแยง่ ทองผอ่ งใส
รอยจีบกลีบกระหวัดรดั ละไม เส้ือส้นั ชน้ั ในล้วนเลขยันต์
เสอื้ นอกดอกชอ่ ฉลทุ อง ตระพองทับเจยี ระบาดคาดม่นั
แหวนถกั พระพริ อดสอดพัน สังวาลคัน่ เครื่องสลับกับผงพราย
จบั ประเจียดประจุประจงโพก ไดม้ หาสิทธิโชคสาํ คญั หมาย
จบจับฟ้าฟื้นแลว้ ยนื กราย บา่ ยเลย่ี งผีหลวงกาละทยั ”

(ขุนช้างขนุ แผน หน้า ๓๖๗-๓๖๘)

ของขลังที่ขุนแผนพยายามเสาะแสวงหาท่ีสําคัญมี ๓ 
อยา่ ง คอื กุมารทอง ดาบฟา้ ฟืน้ และม้าสีหมอก

กมุ ารทอง เปน็ ลกู ของขนุ แผนกบั บวั คลี่ ขนุ แผนทราบวา่  
บัวคล่ีคิดวางยาพิษในอาหาร จึงอุบายขอลูกในท้องจากบัวคลี
บัวคลีก็บอกว่า “มาคอนขอได้แคะแหวะเอาดี ว่าเออให้เป็น
สิทธ์ิ” คืนน้ันขุนแผนก็ผ่าท้องบัวคล่ี อุ้มเอาทารกซ่ึงเป็นชาย 

326  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

หอ่ ผ้าสะพาย ดว้ ยการย่างให้แห้งเกราะ แลว้ ปลกุ เสกลงคาถา 
อาคมปดิ ทองเกบ็ ไวบ้ ชู า ซง่ึ พวกหมอผเี ลน่ ไสยศาสตรถ์ อื วา่ เดก็
ทต่ี ายในครรภน์ แี้ รง ถา้ เอาไปเลยี้ งไวแ้ ลว้ จะใหค้ ณุ กมุ ารทองที่
วิหารวดั ใต้ ดงั คํากลอนวา่

“ปิดประตูวิหารล่ันดาลใน ลิม่ กลอนซ้อนใส่ไว้ตรงึ ตรา
วางย่ามเปดิ กลักแล้วชักชุด ตเี หลก็ ไฟจุดเทียนขน้ึ แดงรา่
เอาไม้ชัยพฤกษพ์ ระยายา ปักเปน็ ขาพาดกันกมุ ารวาง
ยันต์นารายณ์แผลงฤทธ์ปิ ดิ ศีรษะ เอายันตร์ าชะปะพ้ืนล่าง
ยันตน์ ารายณฉ์ ีกอกปกปดิ กลาง ลงยันตน์ างพระธรณีทพ่ี ืน้ ดนิ
เอาไมร้ กั ปกั เสาขึน้ ส่ีทศิ ยันต์ปิดปักธงวงสายสญิ จน์
ลงเพดานยันต์สังวาลอมรนิ ทร์ กพ็ รอ้ มสน้ิ ในตาํ ราถูกท่าทาง
เอาไมม้ ะรดิ กนั เกราเถากนั ภัย ก่อชุดจดุ ไฟใส่พนื้ ลา่ ง
ตง้ั จิตสนิทดไี ว้ที่ทาง ภาวนานั่งย่างกุมารทอง
รอ้ นทง้ั ตัวท่วั กันน้าํ มนั ฉา่ กลบั หนา้ กลับหลงั ไปท้งั สอง
เกราะแกร่งแห้งไดด้ ังใจปอง พอร่งุ แจง้ แสงทองข้นึ ทนั ใด”

(ขนุ ช้างขนุ แผน หน้า ๓๕๔)

พอปลุกเสกกุมารทองสําเร็จ พวกหม่ืนหาญตามขุนแผน
มา กุมารทองได้ช่วยเหลือขุนแผนไว้ ถ้าขุนแผนจะทําอะไรที่
ผิดพลาด กุมารทองก็ช่วยตักเตือน เช่น ตอนขุนแผนข้ึนเรือน
ขุนช้างและจะฆ่าขุนช้าง กุมารทองห้ามปรามไว้เพราะกลัวว่า
จะถกู อาญาแผน่ ดนิ ชว่ ยหา้ มพรายของขนุ ชา้ ง ชว่ ยระวงั ภยั ให้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  327 

ขุนแผน และนางวันทองขณะที่อย่ใู นปา่ ถ้ามีใครยกไพร่พลมา
ตามขนุ แผน กมุ ารทองจะรบี มาบอกใหร้ ลู้ ว่ งหนา้ ทกุ ครงั้ ตลอด
จนคอยชว่ ยเหลอื ขนุ แผน พลายงามเมอ่ื ไปตเี ชยี งใหมแ่ ละระวงั
ภัยให้พลายชุมพลลูกของขุนแผนด้วย นับว่ากุมารทองให้คุณ
แก่ขุนแผนมาก ทําให้ขุนแผนเป็นผู้เก่งกล้าสามารถมากยิ่งข้ึน
ขุนแผนจึงเป็นพระเอกที่มีความเพียบพร้อมสมบูรณ์ ถึงแม้จะ
มกี ําเนดิ เป็นคนธรรมดาสามญั กต็ าม

ภาพ ก�ำเนดิ กมุ ารทองบุตรนางบัวคลี่

328  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร


ภาพ ก�ำเนิดกมุ ารทองบุตรนางบวั คล่ี ขนุ แผนทราบจาก
โหงพรายกระซิบบอกว่านางบัวคล่ี จะวางยาพิษขุนแผนจึงคิด
จะฆา่ นางบวั คล่ี และเอาบตุ รในทอ้ ง จงึ เอย่ ปากขอบตุ รในทอ้ ง
ของนางบัวคล่ีอันเป็นส่วนหน่ึงของการข้ันตอนทางไสยศาสตร์
จนสดุ ทา้ ยขนุ แผนไดใ้ ชม้ ดี แทงอกจนนางบวั คลต่ี าย แลว้ ผา่ ทอ้ ง
อ้มุ บตุ รชายเอาผ้าหอ่ ใสย่ า่ มสะพายเดินออกมา

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  329 
ภาพ ขนุ แผนท�ำพิธยี ่างกุมารทอง 

ทว่ี ิหารวัดใต้ จนรา่ งแหง้ จวบจนรงุ่ เชา้ ได้ดงั ใจปอง

330  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

ดาบฟ้าฟน้ื

ขนุ แผนมดี าบคใู่ จชอื่ วา่ ดาบฟา้ ฟน้ื ซงึ่ ทําจากเหลก็ ตา่ งๆ
หลายชนิด ได้แก่เหล็กจากยอดพระเจดีย์มหาธาตุ เหล็กจาก
ยอดปราสาททวารา (หมายถึงเหล็กที่เป็นนภศูลยอดปราสาท
และยอดประตู) เหล็กขนัน ผีพรายตายทั้งกลม (เหล็กตัวปลิง
หรือเหล็กตะปูท่ีตอกโลงใส่ศพหญิงตายท้ังกลม) เหล็กตรึงโลง
(ตะปูตอกโลง) (เหล็ก) ตรงปั้นลม (เหล็กท่ีติดยอดจั่วเหมือน
ช่อฟ้า) (เหล็ก) สลักเพชร (เป็นเหล็กล่ิมหรือ กลอนที่สลักให้
หัวเป็นปุม่ เวลาขัดใหถ้ อดยาก เรียกวา่ สลกั เพชร) หอกสัมฤทธิ์
กริชทองแดง พระแสงหัก (สัมฤทธิ์หรือสําริด เป็นโลหะผสม
ส่วนมากมีทองแดง สังกะสี ดีบุก ตะกั่วขาว) เหล็กปฏักสลัก
ประตู ตะปเู หด็ (ตะปเู หด็ คอื ตะปหู วั ใหญ)่ เหลก็ เบญจพรรณกลั
เม็ด (แร่เหลก็ ตา่ งๆ ๕ ชนดิ ) เหลก็ บ้าน (มดี , พรา้ ) เหล็กไหล
เหลก็ หลอ่ บอ่ พระแสง เหลก็ กําแพงนำ�้ พี้ ทง้ั เหลก็ แร่ (เหลก็ เมอื ง 
กําแพงเพชร) ทองคําสัมฤทธิ์ นากอะแจ (อะแจ เปน็ ชอ่ื เมือง)
เงินทีแ่ ท้ชาติเหลก็ ทองแดงดง (แรท่ องแดงทีด่ งพระยาไฟ เช่น
เมอื งจนั ทกึ มแี รท่ องแดงมาก) เปน็ ตน้ แรโ่ ลหะตา่ งๆ ทขี่ นุ แผน
หามาตามตํารานํามาหลอมให้ละลายเข้ากัน ดังคําประพันธ์
บรรยายการตีดาบฟ้าฟืน้ ไว้อยา่ งละเอยี ด ดังน้ี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  331 

“เอามาสุมคุมควบเข้าเป็นแทง่ เผาให้แดงตแี ผแ่ ช่ยาผง
ไว้สามวนั ซดั เหลก็ นั้นเลก็ ลง ยงั คงแต่พองามตามตาํ รา
ซดั เหล็กครบเสร็จถงึ เจ็ดคร้งั พอกระทงั่ ฤกษ์เขา้ เสาร์สิบห้า
กต็ ัดไม้ปลกู ศาลข้นึ เพยี งตา แล้วจดั หาสารพัดเคร่อื งบัดพลี
--------------- ---------------
คร้นั ไดพ้ ิชยั ฤกษ์ราชฤทธิ์ พระอาทิตย์เทยี่ งฤกษร์ าชสีห์
ขุนแผนสูบเหลก็ ให้แดงดี นายชา่ งทีร่ ีดรูปให้เรยี วปลาย
------------- ----------------
คร้นั เสร็จสรรพจบั แกวง่ แสงวะวับ เกดิ โกลาฟา้ พยบั โพยมหน
เสียงอ้ือองึ เอิกเกริกได้ฤกษบ์ น ฟา้ คาํ รนฝนพยับอยคู่ รั่นครน้ื
ฟา้ ผา่ เปรีย้ งเปรี้ยงเสียงโดง่ ดัง ขุนแผนฟงั จติ ฟูให้ชูชนื่
ไดน้ ิมติ เปร่ียงเสยี งดังปืน ให้ชอ่ื ว่าฟ้าพื้นอนั เกรยี งไกร”

(ขนุ ชา้ งขุนแผน หนา้ ๓๕๙-๓๖๐)

จะเห็นได้ว่าเหล็กจากแหล่งต่างๆ ที่นํามาหลอมทําดาบ
ฟ้าฟื้นนั้นมีมากมาย สะท้อนให้เห็นความอุดมสมบูรณ์ทาง 
แร่ธาตุของเมืองไทยสมัยก่อน ซ่ึงสามารถคัดเลือกมาทําดาบที่
คุณภาพดที สี่ ดุ และสามารถใช้งานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

332  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร
ภาพ ขนุ แผนตีดาบฟา้ ฟน้ื

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร  •  333 

ภาพ ขุนแผนตีดาบฟ้าฟื้น เหล็กท่ีส�ำคัญท่ีคนไทยคุ้นหู
และรจู้ กั กนั ดคี อื เหลก็ ไหล รจู้ กั กนั วา่ เปน็ วสั ดธุ รรมชาตมิ อี �ำนาจ
เหนอื ธรรมชาตคิ งทนตอ่ ศาสตราวธุ ทกุ ประเภท คงกะพนั ชาตรี
มหี ลายประเภทหลายสี แยกเปน็ เหลก็ ไหลตวั ผเู้ หลก็ ไหลตวั เมยี
และยงั มผี ทู้ เี่ ชอื่ ถอื และแสวงหากนั ตามปา่ ตามเขาตามถำ้� ตา่ งๆ
ในปัจจุบันการตีดาบถือเป็นความช�ำนาญและเป็นอาวุธระยะ
ประชิดทีส่ �ำคญั ต่อการสู้รบ

ม้าสีหมอก

ขนุ แผนเทย่ี วตระเวนหามา้ ทม่ี ลี กั ษณะดตี ามตํารา ไปพบ
ม้าสีหมอก ซึ่งแม่ของสีหมอกไปผสมกับม้าน้�ำ ทําให้สีหมอก
เป็นม้าพันทางท่ีมีความเก่งกาจมาก ขุนแผนไปพบเข้าเห็นว่า
ลกั ษณะ “ถกู ตอ้ งตามตําราสนิ้ ดงั องคอ์ นิ ทรเ์ ทวราชประสาทให”้  
จึงขอชื่อจากหลวงทรงพลเป็นราคาห้าตําลึง แสดงให้เห็นว่า
สมัยก่อนคนนิยมเล้ียงม้ามาก จึงมีตําราดูลักษณะม้า ปัจจุบัน
การเล้ียงมา้ มนี ้อยมาก ความสนใจเร่อื งลักษณะมา้ จึงสญู หาย
ไปดว้ ย ขนุ แผนมเี ครอื่ งรางของขลงั ทสี่ ามารถใชป้ ระโยชนค์ มุ้ กนั
ตนเอง ซ่ึงเปน็ ส่วนเสริมให้ขนุ แผนมีความเก่งกลา้ สามารถไมม่ ี
ใครเทียบได้

334  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร
ภาพ ขุนแผนพานางวนั ทองหนี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  335 

ภาพ ขนุ แผนพานางวนั ทอง มา้ สหี มอกถกู ตอ้ งตามลกั ษณะ 
ของม้าดี ซ่ึงในสมัยก่อนมีความส�ำคัญท้ังต่อการเดินทางและ 
การสงคราม จึงมีผู้ค้าและผู้หาซื้อม้าสายพันธุ์ดีไว้ครอบครอง
ขุนแผนก็เช่นกันซื้อม้าสีหมอก สายพันธุ์ม้าน้�ำมาจากหลวง
ชุมพลด้วยราคาห้าต�ำลึง ถือว่าม้าสีหมอกเป็นหน่ึงในสามของ
วิเศษของขนุ แผน และไดใ้ ชม้ ากที่สดุ ในตอนทีข่ ุนแผนกับนาง
วนั ทอง ขมี่ า้ สหี มอกจากสพุ รรณ บกุ ปา่ ฝา่ เขาล�ำเนาธารไปจนถงึ  
เมอื งพิจติ ร

เครอื่ งรางของขนุ ช้าง

สมัยก่อนนิยมเครื่องรางมาก ไม่เพียงแต่ขุนแผนเท่านั้น
ที่มีเครื่องรางของขลัง แม้แต่คนทั่วไปก็มีเคร่ืองรางของขลัง
ไว้ป้องกันตัว ตอนท่ีขุนช้างออกตามนางวันทอง มีเคร่ืองราง
ปอ้ งกนั ตวั ดงั ค�ำประพันธว์ ่า

“จดั แจงแตง่ ตวั บง่ ยก เขม็ ขัดรัดอกแลว้ โจงหาง
ผกู ตัวเขา้ เป็นพรวนลว้ นเครอ่ื งราง พระปรอทขอดหวา่ งมงคลวง
ลูกไมด่ ันทองแดงกําแพงเพชร ไขเ่ ปด็ เป็นหนิ ขมน้ิ ผง
ตะกรดุ ๑๑ โทนของท่านอาจารย์คง แลว้ อมองคพ์ ระภควัมลำ้� จังงัง
ลงยันตราชะปะท้ายทอย ยังทยอมแหยมหยอกหยอยเหมือนหอยสังข์
จับถอื ของา้ วกา้ วเก้กัง ข้นึ น่งั คอช้างพลายกางพลัน

(ขุนช้างขุนแผน หนา้ ๑๑๔)

๑๑ ตะกรุด คอื แผ่นโลหะลงคาถาอาคม แล้วมว้ นกลมๆ ร้อยด้ายเอามาผูกเอว

336  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

เครอ่ื งรางของขนุ ชา้ งมี ปรอท ลกู ไขด่ นั ทองแดง ไขเ่ ปด็ หนิ  
ขม้ินผง ตะกรุด ยันต์ พระภควัม (พระเคร่ืองรางชนิดหน่ึง)
เป็นตน้

ภาพ ขุนช้างตามหานางวันทอง

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  337 

ภาพ ขุนช้างตามหานางวันทอง แสดงให้เห็นว่าขุนช้าง
ไม่มีวิชาอาคมเวทมนตร์ทางไสยศาสตร์ แต่เพราะความแค้น
จึงเกณฑ์คนเพื่อติดตามนางวันทอง ทั้งที่รู้ว่าไม่มีทางต่อสู้กับ
ขนุ แผนได้ ถงึ ไมม่ วี ชิ าอาคม แตข่ นุ ชา้ งกย็ งั คงพกเครอ่ื งรางของ
ขลังเป็นเคร่ืองป้องกันตัวแบบชายไทยทั่วไป เช่น พระปรอท
ไปจนถึงตะกรุดอาจารย์คง อาจารย์ของขุนแผน ขุนช้างถือง้าว 
เดินเก้กังข้ึนน่ังบนหลังช้าง เพราะไม่ได้เรียนวิชามาเพื่อเป็น
ทหาร แต่อย่างไรก็ดีการนั่งบนหลังช้างก็มีประโยชน์เพราะจะ
ท�ำให้มองเห็นในระยะไกลๆ ในบริเวณมีป่าหญ้าสูง เหมือน
กับขุนทัพโบราณออกศึกต้องน่ังบนหลังช้างจะท�ำให้มองเห็น
สถานการณร์ บ และทหารราบไดม้ องเหน็ รหสั สญั ญาณบนหลงั
ชา้ งวา่ จะรกุ รบั หรอื ถอย ขนุ ชา้ งนง่ั บนหลงั ชา้ งกจ็ ะไดป้ ระโยชน์
จากตรงนี้เช่นกนั

เคร่อื งรางของแสนตรเี พชรกลา้

ตอนแสนตรีเพชรกล้าจะยกทัพมารบกับขุนแผนก็ใช้
เคร่อื งรางของขลังเสกเส่ียงทายว่า ชนะหรอื แพ้ ปรากฏว่าเกดิ
ลางรา้ ยแสดงว่าชะตาขาด ดังคําประพนั ธว์ า่

“จะไปทพั จงึ หาบรรดาวา่ น มาเสกอ่านอาคมถมถนํา
เครอ่ื งรางตะกรดุ องค์ภควัม บรกิ รรมเสกเป่าเข้าทนั ใด
แล้วตักน้ำ� ตนี ท่ามาใสข่ ัน หยิบเคร่ืองอานวา่ นนนั้ เอาลงใส่
เสกเดอื ดพล่านดงั ตั้งไฟ เหน็ ประจกั ษว์ กั ได้ใส่หวั พลนั ”

338  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร

แลว้ อธษิ ฐานว่า

“ถา้ จะเกดิ อันตรายวายชวี ติ ในนมิ ติ นำ้� แดงเป็นแสงฝาง
ถ้าไม่ชนะไม่แพแ้ ตป่ านกลาง นำ้� เปน็ อยา่ งสีรงลงละลาย
ถ้าจะไปมชี ัยแกข่ ้าศึก น้ำ� เล่อื มดว้ ยผลกึ วเิ ชียรฉาย
ครง้ั นนั้ ขาดชนั ษาชะตาตาย นิมติ สายชลธเี ป็นสีแดง

(ขุนชา้ งขุนแผน หน้า ๖๙๓-๖๙๔)

นำ้� ทใี่ ชเ้ สยี่ งทายกลายเปน็ สแี ดง แสนตรเี พชรกลา้ มอี าการ 
“เปน็ สดุ ทกุ ขล์ กุ ออกมาผลดั ผา้ ประหนง่ึ วา่ ไมด่ ํารงทรงกายได”้  
แต่ด้วยความเป็นทหารจึงตัดใจไม่เสียดายชีวิตแต่งตัวเตรียม 
ไปรบ พรอ้ มกบั มเี ครอื่ งรางประจําตวั เชน่ ตะกรดุ ปรอท ประคํา๑๒ 
ดงั คําประพนั ธ์วา่

“คาดตะกรุดเครอ่ื งรางปรอทวาว ใสแ่ หวนเพชรเม็ดพราวเหมือนดาวราย
ประเจยี ดประจงจบั ตะแบงมาน สอดสังวาลสะอ้ิงรดั จาํ รัสฉาย
โพกผ้าขลบิ พื้นขาวดาวกระจาย เข็มขัดสายทองถกั ล้วนอักขรา
จบจบั ประคาํ ทองเข้าคลอ้ งคอ ผงดนิ สอเสกเสริมแลว้ เจิมหนา้
ถืองา้ วก้าวย่างสามขุมมา เผ่นข้นึ หลังม้าสงา่ งาม”

(ขุนชา้ งขุนแผน หนา้ ๖๙๔)

๑๒ ประค�ำ คือลกู กลมสดี �ำรอ้ ยดว้ ยเชือกเปน็ วงชกั คะแนน มอี ยู่ ๑๐๘ ลกู

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  339 

เคร่อื งรางของเถรขวาด

เถรขวาดมีความอาฆาตแค้นพลายชุมพลมาก จึงกลับมา 
แกแ้ คน้ เตรยี มเครอื่ งรางของขลงั มามากมาย เชน่ ตะกรดุ ประคํา 
มงคล ปรอท ดังคําประพันธ์วา่

“จึงหยบิ เครอ่ื งรณรงค์ยงยุทธ สายตะกรดุ ประคาํ ทองของเก่าแก่
มงคลคุ้มเสนียดประเจียดแพร ปรอทแร่เคร่ืองรางอย่างสําคญั ”

(ขนุ ชา้ งขุนแผน หน้า ๑๐๖๐)

จะเหน็ ไดว้ า่ เครอ่ื งรางของขลงั ทมี่ เี หมอื นๆ กนั คอื ตะกรดุ
“เครอื่ งรางนน้ั มอี ยมู่ ากมาย อะไรทที่ ําใหอ้ ยยู่ งคงกระพนั กเ็ รยี ก
ว่าเครอื่ งรางไดท้ ัง้ นัน้ ”๑๓

เคร่อื งรางทม่ี ใี นสมัยก่อนพอประมวลไดด้ ังน้ี

๑. ขม้ินผง ๕. ธง ๙. พสิ มร ๑๓. ลกู ไขด่ นั ทองแดง
๒. เขม็ ๖. ปรอท ๑๐. เพชร ๑๔. วา่ น
๓. ไข่เปด็ หนิ ๗. ประคํา ๑๑. มงคล ๑๕. เหล็กไหล
๔. ตะกรุด ๘. พระเครื่อง ๑๒. ยันต์ ๑๖. อ้ายขกิ

ชื่อเครื่องรางข้างต้นแทบจะไม่มีความสําคัญสําหรับคน
รนุ่ หลงั อาจจะเปน็ เพราะเป็นของหายาก คนจงึ ไม่สนใจกเ็ ป็น
ได้ ปจั จบุ นั คนทมี่ คี วามรทู้ างเวทมนตรค์ าถาหรอื เครอ่ื งรางของ
ขลังหายากเต็มท่ี ความเช่ือเร่อื งน้กี จ็ ะค่อยจางหายไป

๑๓ เจือ สตะเวทิน, ต�ำรับวรรณคดี, (กรุงเทพมหานคร : อมรการพิมพ์, ๒๕๑๖)
หน้า ๒๙๖.

340  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

สรุป

ความเชอ่ื ตา่ งๆ ทป่ี รากฏในวรรณคดเี รอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผน
สะท้อนมาจากชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านในยุคนั้น ซึ่งต้อง 
พงึ่ เวทมนตรค์ าถาอาคมอยมู่ าก ใครมวี ชิ าความรทู้ างไสยศาสตร์
ก็จะได้รับความนิยมว่าเป็นคนเก่งและชายชาตรีก็จําเป็นต้อง
รู้วิชาเหล่าน้ีไว้ป้องกันตัวด้วย ค่านิยมเช่นนี้หลงเหลืออยู่ใน
ปัจจุบันน้อยมาก และคงจะหมดความนิยมไปในที่สุด สภาพ
ความเปน็ อยขู่ องคนไทยในขนุ ชา้ งขนุ แผนนอกเหนอื จากประเพณี
ตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วกบั ชวี ติ และความเชอื่ แลว้ ในเสภาขนุ ชา้ งขนุ แผน
ยังกล่าวถึงวิถีการดําเนินชีวิตของคนในสังคม ซึ่งแสดงให้เห็น
วฒั นธรรมตา่ งๆ ดังน้ี

ลกั ษณะบา้ นเรือน

การสรา้ งบา้ นเรอื นในสมยั กอ่ นตอ้ งมฤี กษย์ าม และมกี าร
ทําขวัญเสาตอนพลายแก้วกับเรือนหอ กวีบรรยายว่า “ตีสิบ
เอ็ดใกล้รุ่งฤกษส์ ําคญั กท็ ําขวญั เสาเสร็จเจ็ดนาท”ี บ้านเศรษฐี
จะมกี ารตกแตง่ บา้ นอยา่ งรม่ รน่ื สวยงาม ปลกู ไมด้ อกไมป้ ระดบั
ภายในบ้านกว้างขวางแบบบ้านสมัยโบราณ มีหอกลาง หอนั่ง
แต่ละห้องประดับประดาอย่างสวยงาม ดังคําประพันธ์ตอน
ขนุ แผนข้นึ เรอื นขนุ ช้างวา่

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  341 

“โจนลงกลางชานร้านดอกไม้ ของขนุ ช้างปลกู ไว้อยู่ดาษด่นื

รวยรสเกสรเมอื่ คอ่ นคนื ชน่ื ช่นื ลมชายสบายใจ

กระถางแถวแกว้ เกดพกิ ุลแกม ยีส่ ่นุ แซมมะสงั คดั คไู สว

สมอรดั ดดั ทรงสมละไม ตะขบข่อยคดั ไวจ้ งั หวะกัน

ตะโกนาทง้ิ กิง่ ประกับยอด แทงทวยทอดอนิ พรมนมสวรรค์

บา้ งผลิดอกออกช่อขน้ึ ชชู ัน แสงพระจันทร์จับแจ่มกระจา่ งตา

........................................ ...............................................

เดินถอื ฟา้ ฟ้นื ขน้ึ หอกลาง ของขนุ ช้างสร้างขน้ึ ไวใ้ หมใ่ หม่

หอนัง่ ต้ังฉากพบั ไว ้ ขนุ ทองกรงทองใส่สะอาดตา

กระจกใหญใ่ สร่ ปู ฝร่ังนั่ง นัยน์ตาต้ังคอ้ นคมดูสมหนา้

........................................ ...............................................

เครอื่ งแกว้ แพรวพรายอยกู่ า่ ยกอง ฉากสองช้นั มา่ นมู่ลมี่ ี

ม่านนี้ฝมี ือวนั ทองทาํ จาํ ไดไ้ มผ่ ิดนยั นต์ตาพี่

เส้นไหมแมน้ เขียนแนบเนียนดี สิน้ ฝมี อื แลว้ แต่นางเดียว

(ขุนชา้ งขุนแผน หน้า ๓๗๒-๓๗๙)

342  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร
ภาพ ขุนแผนถงึ เตียงขุนช้างกับวันทอง

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  343 

ภาพ ขนุ แผนถงึ เตยี งขนุ ชา้ งกบั วนั ทอง ลกั ษณะบา้ นเรอื น 
สมัยนั้นมีหอกลาง หอนั่ง และสร้างเสร็จประกอบเป็นตัวบ้าน
ภายในวันเดียวตามฤกษ์ยามท่ีก�ำหนด บ่งบอกถึงฐานะ และ
รสนยิ มการจดั บา้ น บง่ บอกฐานะคอื เรอื นหอของขนุ แผนทส่ี รา้ ง 
เพื่อแต่งงานกับนางพิม เป็นเรือนหอห้าห้อง หมายถึงช่องว่าง
ระหว่างคู่เสา หน่ึงห้องคือ สองคู่เสา (เสาสี่ต้น) สองห้องคือ
สามคเู่ สา เรอื นหอของขนุ แผนหา้ หอ้ งคอื หกคเู่ สา เรอื นหอของ 
ขนุ ชา้ ง สร้างเพอื่ แต่งงานกบั นางวันทอง เปน็ บา้ นเกา้ หอ้ ง สิบ
คเู่ สา นอกจากนน้ั ขนุ ชา้ งยงั มกี ารจดั บา้ นดว้ ยไมด้ อกไมป้ ระดบั
และไมด้ ดั “ทงั้ ยงั รว่ มสมยั กระจกใหญใ่ สร่ ปู ฝรงั่ นงั่ ของขนุ ชา้ ง
สร้างข้ึนไว้ใหม่ใหม่” ส่วนนางวันทองฝีมือเป็นเลิศทางเย็บปัก 
ถักร้อย “ปักเป็นมยุราลงเร่ร่อน” ขุนแผนถึงกับเดือดดาลฟัน
ม่านท้งิ เพราะร้วู ่าเป็นฝีมอื นางวนั ทอง

การต้อนรับแขก

ภาษิตไทยที่ว่า “ธรรมเนียมไทยแท้แต่โบราณ ใครมาถึง
เรือนชานต้องต้อนรับ” การต้อนรับแขกน้ัน นอกจากเชื้อเชิญ
ใหเ้ ขา้ มานงั่ ในบา้ นแลว้ ยงั มหี มากพลู หรอื เชย่ี นหมากไวส้ ําหรบั
รบั แขก กอ่ นถามถงึ สารทุกข์สุกดบิ กัน ดังคํากลอนท่วี า่

344  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร

“ศรีประจันครั้นเห็นขนุ ช้างมา กต็ อ้ นรบั เรยี กหาเข้ามาพลัน
แลว้ ปราศรยั ไตถ่ ามฉนั เพอ่ื นบา้ น เสอื กพานหมากเชญิ กินหมากนน้ั
ธุระอะไรวา่ ไปอยา่ เกรงกัน แมน่ ้นั อยู่ดดี อกหรอื นา

(ขนุ ชา้ งขนุ แผน หน้า ๑๒๔)

ปจั จบุ นั การตอ้ นรบั แขกดว้ ยหมากพลลู ดนอ้ ยลง เพราะคน 
เลิกกินหมาก จึงต้อนรับด้วยน้าร้อน น้�ำเย็น หรือขนมนมเนย 
แลว้ แต่เวลาและโอกาส

การแตง่ กาย

ตัวละครในขุนช้างขุนแผนต้ังแต่รุ่นเด็ก-หนุ่มสาว คนแก่
ทงั้ ชายและหญงิ แตง่ กายไปในงานเทศกาลตา่ งๆ เชน่ ตรษุ สงกรานต์ 
สารท วันแต่งงาน หรือเวลาไปทําบุญที่วัด กวีได้บรรยายการ
แตง่ กายในลกั ษณะตา่ งๆ กนั ไวอ้ ยา่ งละเอยี ด ทําใหเ้ ราทราบวา่  
วัฒนธรรมการแต่งกายของชาวบ้านในสมัยกรุงศรีอยุธยา 
แตกตา่ งจากปจั จบุ นั อย่างไร

ตวั อยา่ ง การแตง่ กายของขนุ ชา้ งเมอ่ื จะไปวดั ในประเพณี
เทศนม์ หาชาติ

“เจา้ ขุนชา้ งอาบนา้ํ สําราญใจ ข้าไทเขา้ กลมุ้ รุมกันสี

เอาขมนิ้ ถูตัวใหท้ วั่ ดี ข้ไี คลไหลรีอ่ อกมา

ผิวหนงั ยงั เขียวเหมอื นผักตบ น่จี วนจบมหาพนแล้วสิหวา่

เข้าหอ้ งดินสอพองละลายทา ประท่วั กายาจนพงุ ลาย

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  345 

ควกั เอามุหนา่ ยขนึ้ ปา้ ยปกี ฉีกผมปกกบาลให้ล้านหาย
ยงั โลง่ เลยี่ นเตยี นกลางอยา่ งแปลงกาย หัวกฉู บิ หายน่าอายใจ
นงุ่ ยกลายกระหนกเหมหงส์ เหมอื นผา้ ทรงใครใครหามไี ม่
เกยี่ วสา่ นปักทองกรองดอกไม้ ผา้ เช็ดเหงอ่ื ไคลใส่ชมพู
ครงั้ นีจ้ ะแตง่ ไปใหย้ ่งิ ยวด จะไปอวดนางพมิ ให้ยมิ้ อยู่
น้ิวกอ้ ยใสร่ ังแตนแหวนงู น้วิ ช้ีเชดิ ชูน้ันแหวนเพชร”

(ขนุ ชา้ งขนุ แผน หน้า ๕๗-๕๘)

ขอ้ สงั เกต คําวา่ มหุ นา่ ย หมายถงึ นำ้� มนั ตานี หรอื นำ�้ มนั
เหนียว เป็นเครื่องหอมสําหรับใส่ผม ปัจจุบันคําน้ีไม่มีใช้แล้ว
เพราะมีน�้ำมันชนิดอื่นเข้ามาแทน

การแตง่ กายของนางพมิ พลิ าไลยเมอ่ื ไปวดั ในงานประเพณี
เทศน์มหาชาติ

“คราน้ันนางพมิ พิลาไลย วา่ จวนกณั ฑเ์ ราไปเถิดแม่ขา
แล้วกล็ ุกไปพลันมิทนั ช้า อาบน�้ำผลัดผ้าดว้ ยฉบั พลนั
จึงเอาขมน้ิ มารินทา ลูบทวั่ กายาขมีขมัน
ทาแปง้ แตง่ ไรใส่น�้ำมัน ผดั หนา้ เฉิดฉันดงั นวลแตง
เอาชส่ี ฟี นั เป็นมันขลับ กระจกสอ่ งเงาวบั ดูรบั แสง
นุง่ ยกลายกระหนกพ้นื แดง กา้ นแยง่ ทองระยบั จับตาพราย
ช้ันในหม่ สไบชมพูนิม่ สที บั ทิมนอกดูเฉิดฉาย

ร้วิ ทองกรองดอกพรรณราย ชายเหน็ เปน็ ทีเ่ จริญใจ

ใส่แหวนเพชรประดบั ทับทมิ พลอย สอดกอ้ ยแหวนงูดลู ้ินไหว

อเี ด็กเอ๋ยหบี หมากเคร่อื งนากใน ขันถมยาเอาไปอย่าได้ชา้ ”

(ขนุ ช้างขนุ แผน หนา้ ๕๙)

346  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

หญิงสาวสมัยก่อนนิยมฟันดําเป็นมัน จึงต้องใช้“ชี่”
(ยาสฟี นั โบราณ ใชส้ เี พอ่ื ใหฟ้ นั ดํา) สฟี นั นอกจากน้ี ยงั กนิ หมาก 
เพื่อให้ฟันดํา การแต่งกายใช้ชุดไทย ห่มสไบและผ้าห่มทับช้ัน
นอกอีกชั้นหน่ึง มีเคร่ืองเพชรนิลจินดาประดับมากมาย เวลา
ไปไหนก็มีเด็กถือหีบหมากตามหลังไปด้วยท้ังผู้หญิงและผู้ชาย
เวลาอาบน�้ำแล้วจะใช้ขมิ้นทาตัว ความนิยมเร่ืองใช้ขมิ้นทาตัว
ไมม่ แี ล้วในปจั จบุ นั

ภาพ นางสายทอง กบั นางวันทอง ลอยเรอื รอใส่บาตรเณรแกว้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร  •  347 

การเล่นของเดก็

สมัยก่อนเด็กจะเล่นของเล่นตามมีตามเกิดที่หาได้ใน 
ขณะนนั้ “เดก็ ไทยสว่ นมากเคยเลน่ และแมใ้ นปจั จบุ นั ” เชน่ เดก็ หญงิ  
ชอบเล่นเกบ็ ดอกไม้ เลน่ ขายของ เลน่ หมอ้ ข้าวหมอ้ แกง เด็กๆ
เลน่ จดั บา้ น นอกจากนนั้ กม็ กี ารสมมตติ นเองใหม้ บี ทบาทตา่ งๆ
จะหาดไู ดจ้ ากเดก็ ในชนบท แตเ่ ดก็ ในเมอื งเลน่ ของเลน่ ทพ่ี อ่ แม่
หาซื้อมาให้ ท้ังน้ีเพราะไม่มีที่สําหรับให้เด็กเล่น เพราะสภาพ
สังคมในเมืองแออัด กวีกล่าวถึงการเล่นของ นางพิม ขุนช้าง
และขนุ แผน เมอ่ื ยงั เป็นเดก็ วา่

“แลว้ นางเล่นหงุ ข้าวต้มแกง กวาดทรายจัดแจงเปน็ รั้วบา้ น
นางเลน่ ทําบุญใหท้ าน ไปนมิ นต์สมภารมาเรว็ ไว
ขุนช้างนน้ั เปน็ สมภารมอญ ไม่พกั โกนหวั กล้อนสวดมนต์ใหญ ่
พลายแก้วนัน้ เป็นสมภารไทย จัดแจงแต่งใหย้ กเอามา”

(ขุนช้างขนุ แผน หน้า ๑๑)

เด็กสมัยก่อนจะขนขวายหาของเล่นเอง เท่าที่จะหาได้
เด็กต้องใช้ความพยายามมากกว่าเด็กปัจจุบัน และมีความคิด
สร้างสรรค์ว่าจะใช้อะไรเล่นจึงจะดี การที่เด็กติดเล่นเป็นอะไร
น้ันขน้ึ อยู่กบั สภาพแวดลอ้ มรอบตัวเดก็ ด้วย

348  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร

การทําบญุ

คนสมัยก่อนมีจิตใจเลื่อมใสศรัทธาพระพุทธศาสนามาก
งานต่างๆ ทํากันท่ีวัด วัดจึงเป็นศูนย์กลางของการนัดพบปะ
พดู จากนั ของหนมุ่ สาวไปโดยปรยิ าย ในเวลามงี านบญุ เชน่ เทศน์
มหาชาติ หรอื เทศกาลตรษุ สงกรานต์ หนมุ่ สาวจงึ จะมโี อกาสได้
พบกนั ชาวบา้ นจะเตรยี มอาหารหวานคาวไปทําบญุ ทวี่ ดั ดงั คํา 
ประพันธ์ทีว่ ่า

“ที่นีจ้ ะกล่าวเรอ่ื งเมอื งสุพรรณ ยามสงกรานต์คนน้นั กพ็ รอ้ มหนา้

จะทาํ บุญใหท้ านการศรัทธา ต่างมาท่วี ดั ปา่ เลไลยก์

................................. .................................

ทาํ น้ำ� ยาแกงขมตม้ แกง ผ่าฟักรักแฟงพะแนงไก่

บา้ งทาํ ห่อหมกปกปิดไว้ ตม้ ไขผ่ ัดปลาแหง้ ทงั้ แกงบวน

บ้างก็ทาํ วนั ชาสาคู ข้าวเหนียวหนา้ หมไู วถ้ ถ่ี ว้ น

หนา้ เตยี งเรียงเล็ดขา้ วเม่ากวน ของสวนสม้ ลกู ท้ังลูกไม้

มะปรางลางสาดลกู หวายหวา้ ส้มโอส้มซ่าท้ังกล้วยไข่

ทุกหมู่บ้านอลหม่านกนั ท่ัวไป จนดึกด่นื หลับใหลไปฉับพลนั ”

(ขนุ ช้างขุนแผน หนา้ ๕๑-๕๒)

อาหารไทยๆ เชน่ ขนมจนี นำ้� ยา แกงขม พะแนงไก่ ตม้ จดื  
ฟกั หอ่ หมก ผดั ปลาแหง้ แกงบวน วนั สาคู ขา้ วเหนยี วหนา้ หม ู
หนา้ เตยี ง ขนมนางเลด็ (เรยี งเลด็ ) ขา้ วเมา่ กวน ฯลฯ อาหารบาง
อยา่ งเชน่ หนา้ เตยี ง แทบจะไมไ่ ดย้ นิ ชอ่ื ในปจั จบุ นั อาหารเหลา่ น้ี 

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  349 

นิยมทําไปถวายพระในเวลามีงานบุญ เช่นเดียวกับอาหารท่ี
ชาวชนบทบางท้องถิ่นที่อยู่ในปัจจุบัน ในงานบุญต่างๆ ได้แก่
แกงเนื้อ แกงไก่ ขนมจีนน้ํายา ต้มจืด ทองหยิบ ทองหยอด 
ฝอยทอง เม็ดขนุน และ ข้าวเหนียวหน้าสังขยา เป็นต้น ซึ่ง
วิวัฒนาการไปตามยุคสมัยและแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถ่ิน
อีกดว้ ย

ภาพ นางพมิ เปล้ืองผา้ สไบบชู ากณั ฑเ์ ทศน์

350  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร

ภาพ นางพมิ เปลอ้ื งผา้ สไบบชู ากณั ฑเ์ ทศน์ วดั คอื ศนู ยก์ ลาง 
ของชมุ ชน และเทศกาลต่างๆ นอกจากคนได้พกั ผอ่ นหย่อนใจ
จากการท�ำงานท�ำไร่ไถนาแล้ว หนุ่มสาวยังได้มีโอกาสพบปะ
พูดจาดูตัวกัน คนสมัยก่อนเลื่อมใสในศาสนา นางพิมเปล้ือง
ผ้าสไบสีทับทิมวางบนพานบูชากัณฑ์เทศน์เณรแก้ว แล้วนาง
อธษิ ฐานใหต้ นเองสมประสงค์ สว่ นขนุ ชา้ งไมร่ อชา้ ถวายผา้ วาง
ทพ่ี านใกลก้ บั ผา้ ของนางพมิ พรอ้ มกบั อธษิ ฐานใหไ้ ดน้ างพมิ เปน็
คคู่ รอง

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  351 

การศึกษา

สงั คมไทยสมยั โบราณ การศกึ ษายงั ไมแ่ พรห่ ลาย เดก็ ผชู้ าย 
เท่านั้นจึงจะมีโอกาสได้เรียนหนังสือ สถานท่ีเรียนคือวัด ครู
ผู้สอนคือพระภิกษุ วิชาท่ีเรียนก็มีท้ังหนังสือไทย ขอม บาลี
วิชาเก่ียวกับการป้องกันตัว การใช้อาวุธต่างๆ และตําราพิชัย
สงคราม ตลอดจนความรู้ทางเวทมนตร์คาถาอาคมต่างๆ ดังที่ 
พลายแกว้ พลายงาม และพลายชมุ พลไดร้ ำ�่ เรยี น สว่ นเดก็ ผหู้ ญงิ
จะเรยี นวชิ าแมบ่ า้ น การเรอื น การฝมี อื การแกะสลกั และการ
เยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย ดงั ทก่ี วไี ดบ้ รรยายฝมี อื ปกั มา่ นของนางลาวทองวา่

“ปกั เขาสุทัศนส์ ตั ตภณั ฑ์ วนิ นั ตกการวกิ ยุคนธร
ถัดมาหา้ แถวแนวสมุทร คงคาใสสุดแลสลอน
เป็นระลอกกระฉอกชโลทร ฝูงกนิ นรวิทยามาอาบกนิ
ปักเป็นบัวบานตระการตา ภุมราบินรอ่ นกระพอื ผิน
ปักเปน็ สตั วจ์ ตั บุ าทดาดดนิ กินรนิ ร่อนร่าอยู่เรียงราย

(ขนุ ช้างขนุ แผน หน้า ๒๒๖)

นางลาวทองปกั มา่ นเปน็ รปู ภเู ขา แมน่ ำ�้ ดอกบวั แมลงผง้ึ
กนิ นร กนิ รี และสตั วต์ า่ งๆ สวยงาม ถงึ แมน้ างลาวทองจะไมใ่ ช่
หญงิ ไทย แต่ก็มคี วามรูว้ ชิ าเยบ็ ปกั ถกั ร้อยเชน่ เดยี วกัน

นางวันทองไดแ้ สดงฝมี อื ปกั ม่านอย่างประณีต ราวกับจะ
สอดแทรกอารมณแ์ ละความรสู้ กึ ลงไปดว้ ย จงึ ดรู าวกบั วา่ มชี วี ติ
จติ ใจ ดงั ท่ขี นุ แผนชมว่า

352  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

“มา่ นน้ีฝมี ือวันทองทาํ จาํ ได้ไม่ผดิ นัยนต์ าพ่ี

เส้นไหมแมน้ เขยี นแนบเนยี นดี สนิ้ ฝีมือแล้วแต่นางเดยี ว

เจ้าปักเป็นป่าพนาเวศ ขอบเขตเขาคลมุ้ ชอุ่มเขียว

รกุ ขชาตดิ าดใบระบดั เรยี ว พร้งิ เพรียวดอกดกระดะดวง

ปกั เปน็ มยรุ าลงร�ำรอ่ น ฟา้ ยฟ้อนอยบู่ นยอดภูเขาหลวง

แผห่ างกางปีกเปน็ พ่มุ พวง ชะนีหน่วงเหนีย่ วไดช้ ม้อยตา

--------------------- ---------------------

เจ้าปักเปน็ พระลอดลิ กโลก ถงึ กาหลงทรงโศกกาํ สรดสดุ

แสนคะนึงถึงองคอ์ นงคน์ ุช พระทรงเสยี งสายสมุทรมาเปน็ ลาง

--------------------- ---------------------

ถึงมา่ นชนั้ สามดงู ามพร้อม ฝีมอื พมิ เจา้ ทาํ พจ่ี าํ ได้

ยนื พศิ มา่ นน้องต้องติดใจ ฉลาดนักปกั ไว้เปน็ คาวี”

(ขนุ ชา้ งขุนแผน หนา้ ๓๗๙-๓๘๐)

นอกจากนางวนั ทองจะมฝี มี อื เปน็ เลศิ ในทางเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย 
แลว้ นางศรมี าลากม็ ฝี มี อื ในการทําอาหาร โดยเฉพาะขนมเบอื้ ง
นค่ี อื ภาพสะทอ้ นสว่ นหนงึ่ ของหญงิ ไทยเปน็ กลุ สตรใี นสมยั กอ่ น
ความรูท้ างแม่บ้านการเรอื นยงั คงตกทอดมาถึงปจั จบุ นั

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  353 
ภาพ นางสรอ้ ยฟา้ และนางศรีมาลา ละเลงขนมเบอ้ื ง

354  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

ภาพ นางสรอ้ ยฟา้ นางศรมี าลาละเลงขนมเบอื้ ง แสดงถงึ  
การศึกษาสมัยโบราณ ผู้หญิงต้องมีความสามารถทางแม่บ้าน
การเรือน นางศรีมาลามีฝีมือในการทําอาหาร เช่น ขนมเบื้อง
ถือเปน็ คณุ สมบัตสิ �ำคัญของสตรี

อาชีพ

ผู้ชายที่ได้รับการศึกษาส่วนมากจะเข้ารับราชการ เช่น
ขุนช้างและขุนแผน ถ้าไม่ได้เรียนหนังสือ ก็ทําอาชีพหลักคือ
การทําไรไ่ ถนา ดงั เชน่ นางทองประศรมี ารดาของขนุ แผนมอี าชพี  
ทํานา ดงั คํากลอนว่า

“ครานั้นท่านยายทองประศรี ใหพ้ วกเหลา่ บา่ วไพร่ไปไรน่ า
กับยายปลยี ายเปลอยเู่ คหา ตามประสาเพศบ้านกาญจนบรุ ี

(ขนุ ชา้ งขนุ แผน หน้า ๕๒๕)

เม่ือว่างจากการทํานาก็จะปั่นฝ้าย “ประตูหับยับยั้งยืน 
ฟงั ไป เสยี งแตใ่ นออดแอดแรดแรแร รวู้ า่ คนบนนน้ั นง่ั ปน่ั ฝา้ ย”
นางศรีประจันมารดาของนางพิมก็มีไร่ฝ้าย ส่วนนางเทพทอง 
มีอาชีพ “เกิดมาแต่น้อยจนฟันหัก รู้จักแต่ทํานากับทําสวน
ปลกู เผอื กปลกู มนั นน้ั รดพรวน” นค่ี อื อาชพี ของชาวบา้ นสมยั กอ่ น

ตอนพลายงามเรยี นวชิ ากบั ยา่ ทองประศรจี บแลว้ ขนุ แผน 
ก็พาพลายงามไปหาจมื่นศรีบอกว่า “ถ้ากระไรได้ช่องเห็น
ชอบกล ช่วยผ่อนปรนโปรดถวายเจ้าพลายงาม” จม่ืนศรีก็รับ
คําขนุ แผนพรอ้ มกบั ส่ังสอนพลายงามว่า

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  355 
“จะเป็นข้าจอมนรินทรปน่ิ นคร อย่านั่งนอนเปล่าเปลา่ ไม่เขา้ การ
พระกาํ หนดกฎหมายมหี ลายเลม่ เก็บไวเ้ ต็มตใู้ หญไ่ ขออกอ่าน
กรมศักดหิ์ ลักชยั พระอยั การ มนเทยี รบาลพระบญั ญตั ติ ดั สาํ นวน
แลว้ ใหร้ สู้ ภุ าษติ บณั ฑติ พระรว่ ง ตามกระทรวงผดิ ชอบคดิ สอบสวน
ราชาศพั ท์รับสงั่ ให้บังควร รจู้ งถว้ นถีไ่ วจ้ งึ ไดก้ าร”

(ขนุ ชา้ งขนุ แผน หน้า ๕๓๘)

จะเห็นได้ว่าการรับราชการทหารจะสืบทอดต่อจากพ่อ 
ซึ่งเคยรับราชการอยู่ ลูกก็มักจะได้เป็นทหารเช่นกัน อาชีพน้ี 
ยงั คงสบื ทอดมาจนถงึ ปัจจบุ ัน

ภาพ พลายแกว้ เป็นชกู้ บั นางพมิ ในไรฝ่ า้ ย

356  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

ภาพ พลายแก้วเป็นชู้กับนางพิมในไร่ฝ้าย อาชีพในสมัย
ก่อนก็ท�ำนาท�ำสวนท�ำไร่ ฝ่ายชายถ้ามีพื้นฐานการศึกษาดีก็ไป
รบั ราชการ หมดหนา้ นากม็ าท�ำไรฝ่ า้ ย ปน่ั ฝา้ ยท�ำเครอ่ื งนงุ่ หม่ ไว้ 
ใช้เอง นางศรีประจันแม่ของนางพิมก็มีไร่ฝ้ายเป็นของตนเอง 
ในค�ำกลอนวา่ ขอไปไรฝ่ า้ ยเหนอื คอื ทนี่ ดั พบกนั ระหวา่ งเณรแกว้
ทสี่ กึ มาชว่ั คราวกบั นางพมิ

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  357 
ภาพ พลายงามชนะศกึ
เชยี งใหม่ ได้รบั พระราชทาน
ความดีความชอบตั้งใหเ้ ปน็
จมนื่ ไวยวรนาถ

ภาพ พลายงามอาสา

358  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

ภาพ พลายงามอาสาไปรบศกึ เชยี งใหม่ โดยขอพระราชทาน
ใหข้ นุ แผนไปรว่ มท�ำศกึ ดว้ ยการรบั ราชการเปน็ เรอ่ื งสบื ทอดกนั
มาในตระกลู ของพลายงาม เปน็ ทหารมาตงั้ แตข่ นุ ไกรพลพา่ ย ผ ู้
เปน็ ปมู่ าถงึ ขนุ แผนสะทา้ น จนมาถงึ รนุ่ พลายงาม ไดท้ �ำราชการ
อยกู่ ับพระศรเี สาวรกั ษ์ สบโอกาสได้แสดงฝมี ือรบชนะพระเจา้
เชียงใหม่ได้รับพระราชทานความดีความชอบต้ังให้เป็นจมื่น
ไวยวรนาถ

การคมนาคม

สภาพภูมิประเทศของไทยสมัยโบราณเต็มไปด้วยป่าเขา
ลําเนาไพร ซงึ่ กวที กุ ยคุ ทกุ สมยั จะบรรยายธรรมชาตจิ รงิ ๆ สอด
แทรกไว้ในวรรณคดีเสมอๆ ในเรื่องขุนช้างขุนแผนสะท้อนให้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  359 

เห็นสภาพบ้านเมืองที่ยังเป็นป่า การเดินทางท่ีสะดวกคือทาง
เรอื ถา้ เดนิ ทางบกจะตอ้ งเดนิ เทา้ ดงั ทก่ี วบี รรยายการเดนิ ทาง
ของนางทองประศรีกับพลายแก้วท่ีต้องหนีจากสุพรรณบุรีไป
กาญจนบรุ วี ่า

“ว่าแลว้ ก็พากนั คลาไคล ตามทางหว่างไมไ้ พรพฤกษา
เหน็ ลกู รอ้ นแดดนั้นแผดกลา้ เอาผา้ คลมุ หวั ใหล้ กู ชาย
พลายแกว้ เดินหลงั รัง้ เอาแม่ หอ้ แห้หนา้ น้วิ หวิ กระหาย
ร้อนเท้าเจา้ เดนิ เหยียบกรวดทราย เจ้าพลายเหนอื่ ยออ่ นวอนมารดา
แม่ขาสุดปัญญาของลูกน้ี เหลอื ทจ่ี ะลา้ เลอ่ื ยเหนอ่ื ยหนกั หนา
คอแหง้ คร่องแครง่ แขง็ ใจมา แม่เดินชา้ ชา้ อยา่ ให้เร็ว”

(ขนุ ชา้ งขุนแผน หน้า ๓๔)

การเดนิ ทางบกนอกจากเดนิ เทา้ กอ็ าจขช่ี า้ งมา้ ไป หรอื ใช ้
ววั ควายเทยี มเกวยี นเพอ่ื บรรทกุ สมั ภาระตา่ งๆ เชน่ ตอนท่ีนาง
ทองประศรซี อ้ื ไมจ้ ากกาญจนบรุ ี เพอ่ื ไปปลกู เรอื นหอทสี่ พุ รรณบรุ ี
เป็นตน้

ปัจจุบันการคมนาคมสะดวกท้ังทางน�้ำทางบก และทาง
อากาศ การตดิ ตอ่ กนั สะดวกรวดเรว็ และมเี ครอ่ื งอํานวยความ
สะดวกมากมาย ทั้งจดหมาย วิทยุ โทรเลข โทรศัพท์ ฯลฯ
สังคมปัจจุบันจึงเจริญรุดหน้าไปไกลมาก ถึงแม้สมัยก่อนการ
คมนาคมยงั ไมเ่ จรญิ แตค่ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเพอ่ื นบา้ นใกลช้ ดิ
กนั ซง่ึ ไมใ่ ชญ่ าตพิ น่ี อ้ งสบื สายโลหติ เดยี วกนั ไมใ่ ชญ่ าตกิ เ็ หมอื น

360  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

ญาติ สภาพเช่นนี้หาได้ยากในสังคมปัจจุบัน โดยเฉพาะใน 
เมืองหลวง เพราะต่างคนต่างมีความสะดวกสบายจึงไม่จําเป็น
ตอ้ งพงึ่ พาเพอ่ื นบา้ นเหมอื นสมยั กอ่ น ดว้ ยเหตนุ ี้ วฒั นธรรมไทย
จึงเจรญิ แต่ทางวัตถุ ส่วนจติ ใจเสื่อมถอยลงทุกวนั

ภาพ นางพมิ ใสบ่ าตรเณรแกว้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  361 

ภาพ นางพมิ ใสบ่ าตรเณรแกว้ แสดงถงึ การคมนาคมสมยั
ก่อนยึดถือทางน้�ำเป็นส�ำคัญมาก การสร้างวัดวาอารามและท่ี
อยู่อาศัยล้วนแล้วแต่สร้างอยู่ใกล้แม่น้�ำล�ำคลอง เพื่อสะดวก
ตอ่ การเดนิ ทางไปมาหาสกู่ นั และการท�ำงานตา่ งๆ อนั เนอ่ื งจาก
การเดนิ ทางทางบกไมส่ ะดวกเพราะยงั ไมม่ ถี นนหนทาง เดนิ ทาง
ด้วยเท้ากล็ �ำบาก ลว้ นเป็นปา่ ตอ้ งอาศยั ช้างมา้ ววั ควาย หรอื ไป
ทางดว้ ยเกวยี น การคมนาคมทางนำ้� โดยอาศยั เรอื จงึ ถอื เปน็ วถิ ี
ชวี ิตทส่ี �ำคัญในสมยั นัน้

362  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร
ภาพ พลายแก้วได้เปน็ ขนุ แผน

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  363 

ภาพ พลายแก้วได้เป็นขุนแผน ได้แสดงให้เห็นถึงการ
คมนาคม ทสี่ �ำคญั ในสมยั ขนุ ชา้ งขนุ แผนกค็ อื การเดนิ ทางทางนำ้�  
เมอื่ ขนุ แผนท�ำความชอบชนะศกึ กลบั มาไดพ้ ระราชทานต�ำแหนง่
ใหเ้ ปน็ “ขนุ แผน”พรอ้ มทง้ั พระราชทานเรอื ยาวเกา้ วา ใหข้ นุ แผน
พร้อมกับไพร่ห้าร้อยคนคอยตระเวนดูเหตุการณ์ทางชายแดน
แสดงถึงว่าเรือยาวเก้าวาของขุนแผน คือเรือยาวลาดตระเวน
ไปตามแม่น้�ำล�ำคลองนั้นสะดวกรวดเร็วมีความส�ำคัญต่อการ
สง่ ข่าวคราวเร่ืองราวของบ้านเมอื งต่างๆ

สรุป

จากหนงั สอื ขุนช้างขุนแผนเพียงเล่มเดียว เราก็ไดซ้ าบซึง้ ถงึ
ความเปน็ ไทยไดเ้ ตม็ ท่ี เพราะวรรณคดเี ลม่ นเี้ ปน็ เสมอื นตาํ รบั ใหญ่
ในวิชาสังคมศาสตร์ คนไทยจะอยู่จะกินอย่างไร มีขนบประเพณี
อะไรบ้าง ต้ังแต่เกิดจนตาย มีอยู่ครบครันทุกประการ และเป็น
คนไทยธรรมดาๆ ระดับชาวบา้ น ระดับอีมา อีมี ไอพ้ รม อยา่ งสงู
แค่เศรษฐีบ้านนอกอย่างขุนช้าง วัฒนธรรมไทยในระดับชาวบ้าน
เช่นนั้น ในปัจจุบันนี้ได้เปล่ียนแปลงไปแล้ว เพราะคนไทยได้นํา
เอาวฒั นธรรมตะวนั ตกเขา้ มาผสมกบั วฒั นธรรมไทย เปลยี่ นแปลง
ไปให้เหมาะกับยุคสมัย โดยเลือกรับแต่ส่ิงท่ีดีเข้ามาผสมผสาน
กับวัฒนธรรมเดิม ปัจจุบันวัฒนธรรมทางวัตถุเจริญมาก เรารับ
เทคโนโลยีใหม่ๆ รถยนต์ เครอ่ื งบนิ รถไฟ วทิ ยุ โทรเลข โทรศพั ท์
โทรทศั น์ วดิ โี อ คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ ทาํ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทาง

364  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

จิตใจตามมา คนในสังคมต่างขวนขวายแสวงหาสิ่งอํานวยความ
สะดวกตา่ งๆ จนลมื คาํ วา่ ความมนี ำ�้ ใจ ความเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่ และ
ความมีเมตตาต่อกัน ด้วยเหตุนี้วัฒนธรรมทางจิตใจของคนไทย
จึงลดนอ้ ยลงตามลาํ ดบั

(บทความเรอ่ื งคณุ ค่าของวัฒนธรรมไทยในขนุ ช้างขนุ แผน
อยู่ในหนงั สอื “ภาษากบั วัฒนธรรม” เปน็ ส่วนหนง่ึ ของต�ำรา-
เอกสารทางวิชาการ ฉบับที่ ๕๘ หน่วยศึกษานิเทศก์กรมการ 
ฝกึ หดั ครู จดั พมิ พเ์ มอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๓๔ เขยี นโดย ผศ.ทพิ ยส์ ดุ า นยั
ทรพั ย์ (ขา้ ราชการบ�ำนาญ ต�ำแหนง่ ทางวชิ าการ รองศาสตรา-
จารย์ทิพย์สุดา นัยทรัพย์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาภาษาไทย
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พิบูลสงคราม) ดร.ถนัด ยันต์ทอง ผู้รวบรวมเอกสารเห็นว่า 
เป็นบทความท่ีมีคุณค่าต่อประเพณีและวัฒนธรรมของไทย 
จงึ ได้น�ำมาพิมพเ์ ผยแพร่เปน็ ความร้สู ู่ประชาชน โดยยึดเน้ือหา
สาระที่ท่าน รศ.ทิพย์สุดา นัยทรัพย์ ไว้คงเดิม ท่ีเพิ่มเติม 
คือการน�ำภาพวาดจิตรกรรมบนฝาผนังระเบียงคดรอบวิหาร 
หลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์ใส่เข้าไปประกอบเนื้อเรือ่ งและมีค�ำ 
อธิบายในบางส่วน เพ่ือเป็นการเผยแพร่ภาพจิตรกรรมเรื่อง 
ขุนช้างขุนแผน ของวัดป่าเลไลยก์ไปในตัว กุศลใดอันเกิดจาก
การศึกษาในบทความ ขอมอบแด่ทา่ น รศ.ทพิ ย์สดุ า นัยทรพั ย์
เป็นส�ำคญั ต่อวิทยาทานครั้งนี)้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  365 

รราายยชช่ืออ่ื พพระรขภะอิกภงษกิวุ สดัษาปุมา สเเณลาไรมลยอเกณบุ วารรสวิกหิอาาบุแรลาะสศิกษิ ยาว ดัและศษิ ย์วัด
วดั ป่าเตลาํ บไลลยร้วั กใหว์ ญรว หิปอราาํ ะปเรภจรอําตะปเมจำ�พ ือ�ำบทุ งปลธสพีศพุรักัว้รทุ รรใาธหณชศญบ๒กัรุ ่ี๕รอจ๖าำ�งั๒ชหเภว๒ดัอ๕สเมพุ๖รอื๒รงณบจรุ ังี หวัดสุพรรณบรุ ี

พระภกิ ษุ จํานวน ๕๗ รูป ฉายา นามสกลุ อายุ พรรษา วิทยฐานะ
ท่ี สมณศกั ด/์ิ ชื่อ สิรนิ นฺโท อาสนส ถติ ย ป.ธ. น.ธ. สามัญ
๑ พระธรรมพุทธิมงคล ธมฺมทนิ โฺ น สนธิเณร ๘๕ ๖๔ ๘ เอก ป. ๔
๒ พระฉนวน วิจติ โฺ ต ทวมทวยหาญ ๘๐ ๕๖ - เอก ป. ๔
๓ พระสริ สิ พุ รรณาภรณ มหาปโฺ ชา งกลึงเหมาะ ๗๔ ๕๒ ๕ เอก ป. ๔
๔ พระศรปี ริยตั โิ กศล มหาอตฺโถ น้ําทพิ ย ๗๕ ๕๒ ๙ เอก ป. ๔
๕ พระครูศรีอรรถศาสก,ดร. ปภสฺสโร โฉมสุข ๕๙ ๓๙ ๗ เอก พธ.ด.
๖ พระครูอมรศภุ กิจ ธรี ปโฺ คุณฑี ๕๖ ๓๕ ๓ เอก พธ.บ.
๗ พระครพู ิพัฒนว ฒุ ิกร นาคเสโน พมุ พันธม วง ๕๔ ๓๔ ๓ เอก พธ.ม.
๘ พระนาวา ปฺ าพโล วงศข วัญเมือง ๗๒ ๓๓ - - ป. ๑
๙ พระดิเรก ปฺ าทโี ป เภาเสน ๕๒ ๓๒ - เอก ป. ๖
๑๐ พระสมุหอาคม นาควโร ศรีบญุ เพ็ง ๕๒ ๓๑ - เอก ม. ๖
๑๑ พระมหากาว ธมมฺ วโร จีนสขุ แสง ๔๘ ๒๘ ๗ เอก ป. ๖
๑๒ พระปลดั ประเสรฐิ ณฏ วโร เกตคุ ง ๔๖ ๒๗ ๑-๒. เอก น.ม.
๑๓ พระครูโสภณวีรานุวัตร,ดร. วฑุ ฺฒวิ โํ ส รอดบํารุง ๔๗ ๒๖ ๔ เอก รป.ด.
๑๔ พระมหาวฒุ ิพงษ,ดร. อภโย จนั ทพร ๔๗ ๒๖ ๗ เอก Ph.D.
๑๕ พระมหาบญุ เลศิ สขุ ิโต เอยี่ มม่ัน ๔๗ ๒๖ ๓ เอก พธ.ม.
๑๖ พระใบฎีกาขวัญ กนตฺ สโี ล อาจหาญ ๕๓ ๒๓ - เอก ปวส.
๑๗ พระมหาบูรพา ณฏ กโร ดวงแกว ๔๕ ๒๓ ๕ เอก พธ.ม.
๑๘ พระมหาณัฏฐกานต วโิ รจโน โรจนส น ๔๔ ๒๓ ๔ เอก ม. ๖
๑๙ พระปลดั วิโรจน ชุติมนโฺ ต พงษส ุพรรณ ๔๔ ๒๓ ๓ เอก พธ.ม.
๒๐ พระมหาสมมาส ปณฺฑโิ ต สุทนต ๔๕ ๒๓ ๓ เอก รป.ม.
๒๑ พระมหาเชิด อธปิ โฺ เศรษฐสถิต ๗๗ ๒๒ ๔ เอก ม.๓
๒๒ พระมหารัฐ คนฺธสีโล โพธข์ิ ี ๕๒ ๒๑ ๓ เอก ปวช.
๒๓ พระมหากมล านจาโร แซตัน ๔๓ ๒๑ ๕ เอก พธ.บ.
๒๔ พระมหาณรงค เอกวฑฒฺ โน หลาํ่ สขุ ๔๐ ๒๑ ๔ เอก ป.ตรี
๒๕ พระมหาเอกวตั ร ชยวฑุ ฺโฒ เข็มทอง ๔๑ ๒๐ ๗ เอก ศษ.ม.
๒๖ พระมหาชัชวาลย สิริจนโฺ ท หงษเ วยี งจนั ทร ๕๙ ๑๙ ๓ เอก ม.๖
๒๗ พระมหาสมโภชน สุรเตโช ชา งเรอื นกุล ๓๙ ๑๘ ๘ เอก พธ.บ.
๒๘ พระมหาธรรมวรรณ ๓๘ ๑๘ ๔ เอก น.ม.

366  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

ที่ สมณศักด/ิ์ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วิทยฐานะ
๒๙ พระมหาสมพงษ ป.ธ. น.ธ. สามัญ
๓๐ พระสุรศักดิ์ ฐติ สโี ล ศรหี มากสุก ๓๗ ๑๘ ๕ เอก ม.๖
๓๑ พระมานิตย สุรสทฺโธ ทวียศ ๔๖ ๑๘ ๑-๒ เอก วศ.บ.
๓๒ พระสมบรู ณ อาภสสฺ โร เรืองศรี ๖๗ ๑๘ - เอก ป.๔
๓๓ พระสุเทพ สารโท เอกนัส ๗๕ ๑๗ - ตรี ป.๔
๓๔ พระมหาอนุภาพ ธมมฺ ทโี ป คาํ ดี ๖๑ ๑๔ - เอก ป.๖
๓๕ พระมหาทรงศักด์ิ ปฺ าวชิโร ทองสขุ ๓๓ ๑๓ ๔ เอก ป.โท
๓๖ พระสมหุ ป ุณภณ วิสทุ โฺ ธ ดวงแกว ๓๖ ๑๒ ๓ เอก ปวส.
๓๗ พระปยะ สุภสโี ล นิธิกาญจนจินดา ๔๘ ๑๒ - เอก พธ.บ.
๓๘ พระมหาวรทสั ทนิ นฺ วโร ปน วิเศษ ๓๑ ๑๐ เอก พธ.บ.
๓๙ พระมหาปรัชญกวินท วรทสฺสโน เดชาทศิ านทุ ิศ ๔๓ ๘ ๘ เอก พธ.บ.
๔๐ พระคมศร ภูรสิ ทิ ฺโธ เดชาภสิ ทิ ธว รกลุ ๔๓ ๘ ๘ เอก พธ.บ.
๔๑ พระใบฎีกาวนั ชัย ชุตปิ โฺ สรุ ะเวช ๒๘ ๘ ๑-๒. เอก ม.๖
๔๒ พระสินชัย ปฺ าวชโิ ร เซี่ยงฉนิ ๓๔ ๗ - เอก ม.๓
๔๓ พระครใู บฎกี าศักดดิ์ นยั มหพฺพโล ประเสริฐ ๒๘ ๖ - เอก ป.๖
๔๔ พระเอ็ม สนฺตจิตโฺ ต เนตรพระ ๒๙ ๖ - เอก รป.ม.
๔๕ พระอรชนุ านสิ สฺ โร หวังคกู ลาง ๒๘ ๖ - เอก พธ.บ.
๔๖ พระชานน โคตมปุตโฺ ต พลายจติ ๒๗ ๖ - เอก พธ.บ.
๔๗ พระวิชัย นนทฺ โก วีระวรรณ ๒๗ ๖ - เอก ม.๖
๔๘ พระกฤชนนั ต ป. วิสุทฺโธ หมายม่นั ๕๐ ๖ เอก ม.๓
๔๙ พระอนุชา สวุ ฑฒฺ โน เกรยี งไกร ๕๔ ๕ ๗ เอก ม. ๖
๕๐ พระจักรกริช อนชุ าโต เดชบญุ ๒๖ ๔ - โท ม. ๓
๕๑ พระชัยสทิ ธิ์ จกกฺ วโร สสี ุขสาม ๒๓ ๔ - ตรี ม. ๓
๕๒ พระบัว อคคฺ ปโฺ สุจิตรม นัส ๔๙ ๔ - ตรี ป.ตรี
๕๓ พระสิทธิศักดิ์ ปภากโร ใจบุญ ๗๐ ๔ - -
๕๔ พระสุทชั สทุ ฺธิจิตฺโต จิ๋วเจรญิ ๒๗ ๓ ๑-๒. เอก น.บ.
๕๕ พระอรรคเดช ภทฺรธมโฺ ม หอมสคุ นธ ๒๔ ๒ - เอก ป.๖
๕๖ พระบญั ชา อคฺคธมโฺ ม ทองแทง ใหญ ๒๒ ๑ - ตรี ม.๓
๕๗ พระธีระ อนุโช คลา ยสบุ รรณ ๖๒ ๑ - ตรี ป.๔
ธรี ปฺโญ ฉายแสง ๓๗ - - - ม.๖

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  367 

สามเณร จาํ นวน ๓ รูป นามสกลุ อายุ ป.ธ. วิทยฐานะ
ที่ ชือ่ พะงา ๑๗ น.ธ. สามญั
๑ สามเณรภานวุ ฒั น ทองยาน ๑๗ เอก ป.๖
๒ สามเณรณัฐวฒุ ิ นพวงศ ๑๔ ตรี ม.๓
๓ สามเณรปฏิภาณ
ป.๖

อุบาสิกา จํานวน ๒ คน นามสกุล อายุ วทิ ยฐานะ
ที่ ชื่อ สีถาวร ๖๒ ธ.ศ. สามัญ
๑ อุบาสกิ าลาวลั ย ศรีรงุ เรือง ๔๔
๒ อุบาสิกาสุนสิ า ป.๔
เอก ม.๖

ศษิ ยว ดั จํานวน ๗ คน วทิ ยฐานะ
ทางธรรม
ที่ ชอ่ื นามสกุล อายุ สามญั
Ph.D.
๑ ดร.ณัฐกร ปงละออ ๔๖ น.ธ.เอก, ป.ธ.๓ พธ.บ.
๒ นายกานต จนั ทรศรี ๓๐ พธ.บ.
๓ นายพีรวัส วงศทา ขาม ๓๑ น.ธ.เอก ม.๖
๔ นายอตั ชัย อินสวา ง ๓๒ น.ธ.เอก, ประโยค ๑-๒ ป.๖
๕ นายเรอื งเดช เสวคิ าร ๒๐ ม.๓
๖ นายทวีชัย แสงวนั ๑๙ ม.๖
๗ นายทนิ ภัทร ทฤษฎี ๑๗

รวมพระภิกษุ สามเณร อบุ าสิกา และศษิ ยวัด

ที่ รายการ จํานวน หมายเหตุ
๑ พระภิกษุ (รูป) ๕๗
๒ สามเณร (รปู ) ๓
๓ อบุ าสิกา (คน) ๒
๔ ศษิ ยวัด (คน) ๗
๖๙
รวม (รูป / คน)

368  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

รายชอื่ บุคลากร เจ้าหน้าท่ี และพนักงาน
วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร ต�ำบลรัว้ ใหญ่ อำ� เภอเมือง จังหวัดสุพรรณบรุ ี

ประจ�ำปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๒

๑. นายสดุ ยอด ค�ำด ี ไวยาจกั ร
๒. นายอานนท์ รักผล ไวยาจักร
๓. นายสุวรรณ จันทรัตน์ ไวยาจักร
๔. นายสมศกั ดิ์ มีแสงเพชร เจ้าหนา้ ท่ีเอกสาร
๕. นายวฒั นา เผือกเสริฐ พนกั งานขบั รถ, ทว่ั ไป
๖. นายจรัญ ภาตะนันท ์ พนักงานขบั รถเจ้าอาวาส
๗. นายธานินทร์ แสงสวุ รรณ เจา้ หน้าทีจ่ �ำหนา่ ยวัตถมุ งคล
๘. นายสมภพ ทองฤทธ์ิ พนักงานขับรถ, ท่วั ไป
๙. นายเปี๊ยก หงส์โต พนักงานขับรถ, ท่ัวไป
๑๐. นายไพศาล ธรรมกูล พนักงานขบั รถ, ท่วั ไป
๑๑. นายไพโรจน์ สวุ รรณมณี พนกั งานขับรถรองเจ้าอาวาส
๑๒. ด.ต.นครนิ ทร์ คชชะ เจ้าหน้าท่ีดแู ลรักษาความสงบ
๑๓. นายบญุ เชิด สาลีวฒั นผล ท�ำความสะอาดกฏุ เิ จา้ อาวาส
๑๔. นางสาววรรณวรทั ย์ พงษส์ งฆ ์ เก็บกวาดหน้าศาลาสมเด็จฯ
๑๕. นางนำ�้ ฝน โมอุ่น เก็บกวาดหนา้ ศาลาสมเด็จฯ
๑๖. นายวทิ ยา กันตะวงษ์ ดแู ลสขุ าดา้ นหลังพระวิหาร
๑๗. นางอทุ ยั พิมพ์พันธุ์ เจา้ หนา้ ท่ีเก็บขยะ
๑๘. นางจ�ำเรญิ คงสงฆ ์ เจา้ หนา้ ทดี่ แู ลสวนหยอ่ ม ร.๕, โรงครวั
๑๙. นางสวย ขวญั เมือง     ท�ำความสะอาดบริเวณรอบนอกวหิ ารคด
๒๐. นางสมหมาย สาลีวฒั นผล เจา้ หนา้ ทจ่ี �ำหนา่ ยสงั ฆทาน, ทว่ั ไป
๒๑. นางจ�ำนง พรหมศรี เจา้ หนา้ ทจ่ี �ำหนา่ ย ดอกไม้ ธปู เทยี น
๒๒. นางสมหมาย ธรรมกูล เจา้ หนา้ ทจ่ี �ำหนา่ ย ดอกไม้ ธปู เทยี น


Click to View FlipBook Version