The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2020-04-14 22:03:00

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

๑๐๐ ปี พระอารามหลวงวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  169 

พระรามตัวกลาง -๑

“รวิอย่กู ลางบูรพาทิศ พระทรงฤทธ์ิเสยี สีดาเพยี งอาสัญ
ตกไร้ได้ยากล�ำบากครนั ทงั้ พงศพ์ นั ธพ์ุ วกพอ้ งตอ้ งพลดั พราย
จะเสียทรพั ยค์ ับแคน้ แน่นในอก เลือดจะตกฟกซ�ำ้ ระส�ำ่ ระสาย
ถา้ ไปจากเคหาต�ำราทาย ว่าแทบตายจริงนะเจา้ อย่าเบาใจ”

พระรามตวั นอก -๖

“พระศุกร์อยู่บรู พานอกราศี พระจักรีเลศิ ลบสบสมยั
เสดจ็ สงครามขา้ มหว้ งสมทุ รไท รับสีดามาได้ดังใจปอง
หาส่งิ ใดจะได้ดงั ใจนึก พวกข้าศกึ ห่อหดสยดสยอง
ทายว่าจะได้กบั คูค่ รอง การประคองเตา้ คลำ� เลน่ สำ� ราญ”

พิมพสิ ารตวั ใน -๓

“องั คารในไขความตามโวหาร ขา้ งทศิ าอาคเนย์โดยช�ำนาญ
ได้แก่กรุงพิมพสิ ารกษัตรา โอรสรกั หกั ชิงมิง่ มไห
ต�ำราทายว่าเคราะหน์ นั้ หนกั หนา จะเสียทรพั ย์โภคยั และไรน่ า
ลูกหลานจะมาปล้นเอาจนเตยี น จะเกิดทุกขฉ์ ุกเฉาใหเ้ ศรา้ จติ
จะเสือ่ มฤทธ์ถิ อยถดทรพั ยห์ ดเหยี้ น หมนั่ ระลกึ ถงึ คณุ พระอยา่ ละเพยี ร
โทษหนกั คงจะเห้ยี นบรรเทาลง”

พมิ พิสารตัวกลาง -๓

“พระจันทร์กลางขา้ งทศิ อาคเนย พิมพสิ ารราชหวังบุญสง่
ระลึกถงึ คุณพระพุทธองค์ พระทัยตรงตอ่ ธรรมพระทศพล

170  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร

ทายไวใ้ หเ้ หน็ เป็นเอกเทศ เกดิ เหตุแล้วจะให้ไดม้ รรคผล
เดชะเจริญคณุ พทุ ธมนต์ จะผ่านพ้นภยันอันตราย
จะไดแ้ ก้วเงินทองของมคี ่า ทงั้ เรือนรถคชามามากหลาย
จงพากเพียรภาวนาตำ� ราทาย วา่ ปลายมอื จะพนู ทรพั ยน์ บั อนนั ต”์

พมิ พสิ ารตวั นอก -๑

“ทินกรตวั นอกถัดออกไป พิมพิสารเม่อื จะใกล้อยูส่ วรรค์
ทรงพากเพยี รภาวนาเป็นนริ นั ดร์ ตดั หว่ งทั้งหลายนัน้ ใหข้ าดไป
พระหน่วงเอาผลญาณทานอทุ ศิ ทุจริตนั้นหาเป็นนิวรณไ์ ม่
ถึงเวลากล็ าโลกครรไล สูส่ วรรคช์ ้ันในดุสติ า
กลอนภิปรายทายทักไวต้ ามเหตุ ไดส้ ังเกตในตำ� รบั ตำ� ราว่า
ถา้ เจบ็ ไขไ้ ดท้ กุ ขน์ านา ใหบ้ ชู าเรง่ สะเดาะพระเคราะหไ์ ป
ให้ป้นั เปน็ รูปทรงองค์กษัตริย์ พรหัตถค์ ือตรีงามตามวสิ ยั
ปั้นปศี าจเจด็ รา่ งแลว้ วางไว้ แลว้ ปน้ั รูปเราใสต่ ่างตนลง
เสรจ็ แล้วใหไ้ ปตงั้ ยงั อาคเนย์ ทุกขจ์ ะแปรเปน็ สุขดังประสงค์
จะคอ่ ยคลายหายไดด้ ังใจจง กศุ ลสง่ ไดล้ าภโดยนิยม”

พระลกั ษณ์ตัวใน -๔

“พระพธุ ตวั ในชาญชัยศรี น้องจกั รตี วั ในภิรมยส์ ม
ได้เมื่อพระลักษณศ์ กั ด์อิ ุดม ทรงสรา้ งสมพรตเพอ่ื บำ� เพญ็ ฌาน
ทายว่าจะมลี าภอันใหญ่ย่ิง จะหาลาภสิง่ ใดๆ ไดท้ ุกสถาน
ชอบทำ� เพียรเรยี นวิชาแกอ่ าจารย์ จะเชี่ยวชาญเล่ืองชอ่ื ลอื ขจร

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร  •  171 

ระวังตนอยา่ ระคนแพศยาหญิง อยา่ แอบอิงม่ิงมอบสโมสร
อยา่ แนบชิดกนิษฐาพะงางอน เร่งสลดั ตัดรอนอยา่ ยินด”ี

พระลักษณต์ วั กลาง -๓

“องั คารกลางทักษณิ ท่านทายทัก ได้เม่อื พระลักษณ์ตอ้ งศรยกั ษี
ห้ามเม่อื เดนิ อย่าใหเ้ มินปฐมพี จงประท่นิ อินทรีย์ระวังตน
ระมดั เสยี้ นขวากหนามอสรพิษขบ หนงึ่ อยา่ คบคนด�ำอนั เดนิ หน
อย่าหลงถลำ� เชอ่ื ค�ำนรชน จงสวดมนต์ผลเพิม่ ภาวนา”

พระลักษณ์ตวั นอก -๑

“พระจนั ทร์ด้านทักษณิ ตัวสดุ ท้าย น้องนารายณ์รบรบั กับยักษา
พระลักษณ์ทรงพระขรรค์อันศักดา พิฆาตฆา่ อสูรสิน้ ชวี าลยั
ทายว่าฤทธ์ิจะรงุ่ ฟุ้งอ�ำนาจ คนจะหวาดอกสะทา้ นหวั่นไหว
จะมีลาภยศปรากฏไกล แตภ่ ายหลงั หญงิ หม้ายจะพาลา
จงเชื่อคำ� รำ�่ ว่าตำ� ราห้าม จะเกดิ ความอยา่ หลงเลห่ เ์ สน่หา
ระวังตวั อย่าใหม้ วั ด้วยมายา เร่งเจริญภาวนาทุกคืนวนั ”

ทศกัณฐต์ วั ใน -๗ ไปลอบลกั สดี าผจู้ อมขวัญ
ภายหลังนัน้ จะเกิดอันตรายลง
“เสารใ์ นหรดีทศพกั ตร์ จะเดือดเน้อื รอ้ นใจเพียงผยุ ผง
เมอื่ แรกดีมีลาภอนันตค์ รนั มักจะปลงให้เสยี ทรัพย์อัปรา”
จะเกิดอคั คภี ัยโจรภยั
หนึ่งอยา่ คบคนช่ัวจะเสยี พงศ์

172  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

ทศกัณฑต์ วั กลาง -๔ นามกรทศพกั ตร์จอมยกั ษา
มาช่วยแต่งลงกาใหถ้ าวร
“พระพุธกลางหรีดีทิศมหิสร สรรพสิ่งสโุ ขสโมสร
ได้เมือ่ หมู่เทพไทและเทวา จะได้ฐานันดรต�ำแหน่งพระยา
ทายวา่ จะมีลาภอนั ใหญย่ ่ิง ไมม่ ีขดั ดีย่ิงทกุ สิง่ สา
ถา้ เป็นขา้ เฝา้ เจา้ นคร จะพนู มาใหส้ มมโนใน”
จะทำ� ไรส่ วนนาสารพดั
ผลไมเ้ ผือกมนั และธญั ญา

ทศกัณฑต์ วั นอก -๓

“พระอังคารตัวนอกหรดี ทศพักตร์ยกั ษผี ยู้ งิ่ ใหญ่

เสียงสมบัติลงกายงิ่ อาลยั เคราะหจ์ ะรา้ ยอยา่ ไดไ้ ปแรมนาน

มกั จะใหอ้ าดรู พูนพยาธ์ิ สมบตั ิจะพินาศเสยี หลักฐาน

จะมผี อู้ าจอุกเข้ารกุ ราน เผาเรอื นชานปลน้ ทรพั ยใ์ หย้ บั ไป

ท่านให้เร่งสะเดาะพระเคราะหน์ ้นั แล้วปนั้ รปู เราใส่ตา่ งตน

เดิมเสร็จแลว้ ใหไ้ ปทิศหรดี จะมสี ญู สนิ้ ราคมี ีสุขเฉลมิ

ประกอบดว้ ยลาภหนนุ มาจนุ เจมิ โภคะเพิ่มอายยุ นื อยูน่ านปี

สีดาตัวใน -๕

“ครุในทีอ่ ยู่ประจมิ ประจำ� ทศิ ได้เมอื่ มง่ิ มติ รสีดามารศรี
ได้รว่ มเรียงพกั ตรพ์ ระจกั รี พระเคราะห์ดีมแี ต่ชนื่ ทกุ คนื วนั
ต�ำราทายวา่ จะได้ความผาสุก ไมม่ ีทุกข์ปรีด์ิเปรมเกษมสนั ต์
ปรารถนาสง่ิ ใดได้ส่ิงนน้ั ซึง่ โรคันจะนิราศจากอาตมา

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  173 

เปน็ ขา้ เฝา้ เจา้ แผ่นดินปิ่นธเรศ จะโปรดเกศาปรากฏมียศถา
ถ้าสตรคี งจะมผี ูช้ ายมา ถนอมแอบแนบหนา้ อรุ าเรียง
ถา้ เปน็ ชายไร้มิ่งสมรมติ ร จะได้ชดิ ชมนางรา่ งเกลาเกลย้ี ง
มาเปน็ คู่อยสู่ องประคองเคียง จะนั่งเรยี งแนบข้างไมห่ ่างกาย

สดี าตวั กลาง -๗

“พระเสารก์ ลางทิศปัจจมิ น้นั ทายวา่ เมื่อสีดาเศรา้ ทรวงในฤทัยหาย
ดว้ ยพลดั พรากจากองคพ์ ระนารายณ์ ตำ� ราทายวา่ เคราะหเ์ ปน็ ไมเ่ วน้ วนั
จะมชี ายเน้ือดำ� ใจอ�ำมาหติ มาผกู มิตรแลว้ จะทำ� ให้โศกศลั ย์
จะมาผิดตดิ ตวั มัวพัวพนั อยา่ เช่ือมนั่ ค�ำเขาเราจะจน”

สดี าตัวนอก -๔

“พระพุธนอกอยู่ประจิมประจำ� เมศ ไดเ้ มอื่ สดี ามานเิ วสนพ์ นู มรรคผล

เกษมสุขแล้วจะทกุ ข์ในกมล ภายหลงั จะรอ้ นรนรำ� คาญเคือง

ตำ� ราทายอภปิ รายตามโฉลก จะวโิ ยคแรมไกลไมเ่ ปน็ เรอื่ ง

สักกีป่ ีจะไดก้ ลับมานอนเมอื ง เหมอื นกบั เรอ่ื งสีดาอุรากรม

ถา้ เจบ็ ไข้ได้โรคแรงอาพาธ ผเี สอ้ื มารควานปศี าจเขา้ ทับถม

ให้แกก่ ลั บกปั้นรูปนางโดยนิยม รปู ปีศาจโดยนุกรมล�ำดบั มา

จะสน้ิ โศกโรคทบ่ี ีทา จะผอ่ ผาสุกใจไมเ่ คอื งแค้น

สรรพสิง่ โภศัยและไร่นา ทง้ั เงนิ ทองเสอื้ ผา้ และแกว้ แหวน

จะบรบิ ูรณพ์ นู สวัสด์ิไม่ขาดแคลน ประมาณแมน้ เหมอื นสดี าเมอื่ มาเมอื ง

174  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

สดายุตัวใน -๘

“ราหใู นฝา่ ยขา้ งทิศพายพั ในต�ำหรับอปั ราไมเ่ ปน็ เร่อื ง

สดายุพดู มุดว้ ยขุนเคือง วา่ แกรงแตธ่ ำ� มรงคเ์ รอื งของสดี า

ทศพักตร์ชักแหวนน้อยทกี่ ้อยนาง เอี้ยวองคข์ ว้างถกู ปกี ของปกั ษา

ปีกนน้ั หักแทบจักมรณา ต�ำราวา่ ปากอยา่ พลั้งระวงั กาย

อย่าอาจอกุ รุกรานปจั จามติ ร ระมัดตวั กลวั ผิดอยา่ มกั ง่าย

คนทีพ่ ักจกั กอ่ อันตราย ของถอนถา่ ยรบั จำ� นำ� อยา่ นำ� พา”

สดายตุ ัวกลาง -๕

“พายัพครูอยู่กลางปางจักกฤษณ์ พระทรงฤทธิ์ไดแ้ หวรนท่ีปกั ษา

ทูลทศพักตรว์ ่าองคส์ ีดามา ขนุ ปกั ษากพ็ อส้ินชวี าลัย

จักกฤษณฤ์ ทธริ งคผ์ ู้ทรงภชุ ชวนพระลกั ษณร์ บี รดุ เดนิ ปา่ ใหญ่

ทายวา่ เคราะหด์ ีจะมีชัย ทา้ วพระยาจะใหเ้ ครอ่ื งประดบั ตน

จะพูนสวัสดสิ์ มบตั อิ เนกนบั จะไดท้ รัพย์เงินตรมดงั ห่าฝน

โคกระบือกช้างมา้ และข้าคน จะเกิดผลพูนเพมิ่ สวัสด”ิ์

สดายุตวั นอก -๗

“พายัพเสารเ์ อาวสานชาญชัยศรี ทายว่าจะสบเคราะห์เพราะสตรี
ลกู สาวทรี่ กั มกจะหนีไปรว่ มชาย จะเกดิ อริววิ าทใหบ้ าดจติ
ปัจจามติ รตา่ งทศิ จะมงุ่ หมาย จะทนทุกขท์ รมานร�ำคาญกาย
จะอบั อายดว้ ยผู้หญงิ ว่ิงหนตี น ถ้าเจ็บไขใ้ ห้เสยี ผีในทีถ่ ิน่
ใหป้ ้นั รปู องค์อินทรท์ รงสร้อยสน ป้นั ปีศาจให้สำ� เร็จทง้ั เจ็ดตน
จะแผ้วพ้นเคราะหโ์ ศกโรคภยนั ต์”

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  175 

หนมุ านตวั ใน -๖

“พระศุกร์ในที่อยอู่ ุดรทศิ หนมุ านชาญฤทธแ์ิ ข็งขยัน

ส�ำแดงเดชเดชาฆา่ กมุ ภณั ฑ์ ไดร้ างวัลบ�ำเหนจ็ ลอื ขจร

ทายวา่ โชคงามยามดียิ่ง จะไดส้ ิ่งวรามิสจากอดิสร

ญาตมิ ิตรและจะช่วยอ�ำนวยพร ประชากรลอื ล่นั ทว่ั ทศิ ไป”

หนมุ านตวั กลาง -๘

“ราหกู ลางทิศอดุ รนั้นทายวา่ หนุมานชาญศักดาทหารใหญ่

ตอ้ งศรอินทรชิตฤทธไิ กร แทบบรรลัยมิใคร่พ้นื ข้นึ คืนคง

ห้ามมิใหเ้ ที่ยวไปไกลท่อี ยู่ จะอปั ยศอดสอู ย่าลืมหลง

ใหเ้ กรงศัตรูหมู่รา้ ยจะหมายปลง เรง่ ด�ำรงกายระวังสงั เกตการณ์

จะมชี ายตาใหญ่ใจลามก มักจะมาโกหกด้วยคำ� หวาน

จงใคร่ครวญดูประมวลประมาณการณ์ จงึ จะบรรหารมธรุ สให้งดงาม

หน่ึงให้เกรงเข้ยี วงาอสรพษิ หอกดาบกฤชของมคี มและขวากหนาม

จะแทงบาดมือเท้ากายเลือดชาม จะตกใจไหวหวามเม่อื ยามกลวั

สิน้ เคราะหแ์ ลว้ จะได้ชัยชนะ ศัตรูจะเกรงอำ� นาจขยาดทั่ว

จะสน้ิ ทกุ ขส์ ุขไี ม่มมี ัว รกั ษาตวั จงึ จะเปน็ สวสั ด”ี

หนมุ านตวั นอก -๔

“อุดรนอกตวั ครอู ยูป่ ระจ�ำ วายุบตุ รเลศิ ล�้ำกระบศ่ี รี

เมอื่ เสร็จศึกลงกากลับธานี พระจกั รีโปรดใหไ้ ปน่ังเมอื ง

ว่าทำ� ราชการดีจะมียศ จะปรากฏก้องชอ่ื ลือกระเดอ่ื ง

จะสมบูรณพ์ ูนสวัสด์ไิ ม่ขัดเคือง จะฟุ้งเฟ่อื งออกชือ่ ลอื ขจร

176  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

แตภ่ ายหลังจะเกิดทกุ ขไ์ ด้ยคุ เข็ญ ให้ปั้นเป็นปีศาจห่านา่ สลอน

ท้ังรูปตนรูปพระยาวานร ทศิ อุดรตงั้ ใหเ้ หน็ เปน็ ส�ำคญั ”

พเิ ภกตวั ใน -๑

“ทินกรเรืองศรีอยู่อสี าน แสนร�ำคาญภายในใหก้ ระสนั

ไดเ้ ม่อื พิเภกหมอดคู รกู ุมภัณฑ์ ทศกัณฐจ์ บั เสยี ระเหย่ี ใจ

ทา่ นทายว่าเคราะหร์ ้ายไม่วายทุกข์ จะเจบ็ จกุ รันทดระส่นั ระสาย

ใหร้ อ้ นร่นุ กลุ้มใจไม่สบาย พนี่ อ้ งญาตมิ ติ รสหายจะใสค่ วาม

มกั ให้ร่อนเร่ระเหระหน ดว้ ยพวกพอ้ งของตนทำ� หยาบหยาม

จะเสยี ทรัพย์ยบั ย่อยเปน็ ถ้อยความ จะเสอ่ื มทรามสินทรัพย์อัปรา

จะจากเมอื งจากบา้ นสถานถิ่น ทัง้ ทด่ี นิ เมียมติ รกนิษฐา

ต้องจำ� จากพรากอกอาตมา ทา่ นทายวา่ ภยั จะมาเรง่ ปรารมภ”์

พิเภกตัวกลาง -๖

พระศกุ ร์กลางทศิ อีสานส�ำราญรื่น ได้เม่อื พิเภกแชม่ ชื่นเกษมสม
เข้าป่าพระนารายณค์ ่อยวายตรม ว่างอารมณ์สมนกึ ที่ตรึกมา
เคราะห์ดีจะมชี ยั ไดย้ ศศกั ดิ์ เปน็ ขา้ เจา้ ทา้ วจะรกั เปน็ หนกั หนา
จะไดล้ าภรางวลั อนั นานา ถา้ ไปค้าคงจะได้ก�ำไรครนั ”

พิเภกตัวนอก -๘

“พระราหูอยอู่ สี านในด้านนอก ต�ำราบอกเม่อื พิเภกเกษมสนั ต์
ไดเ้ ปน็ เจ้าลงกาอาชญาครัน ยศศกั ดิ์นนั้ เฟ่ืองฟุ้งทงั้ กรงุ ไกร
วา่ เคราะห์ดมี ีชยั จะไดล้ าภ จะปลมื้ ปลาบดว้ ยเงนิ ทองของนอ้ ยใหญ่

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  177 

บรวิ ารชายหญิงวิง่ รับใช้ แสนส�ำราญบานใจดว้ ยสมปอง
แต่ภายหลังจะบังเกิดโรค จงทกุ ขโ์ ศกตรอมตรมอารมษห์ มอง
เพราะผีเรือนเชือนเลน่ เต้นคะนอง จะตรึกตรองเสยี ผพี ลีกรรม
ใหป้ ัน้ รปู พเิ ภกเอกโหรา ปน้ั รูปเราตา่ งอาตมาวางเบอ้ื งต่�ำ
ใส่ทัง้ กุ้งพล่าและปลาย�ำ ดอกไม้ธูปเทยี นธงสง่ กบาล
เชิญผภี ตู มาสูดพลีกรรม เสร็จแล้วน�ำไปตงั้ ทศิ อสี าน
จะส้นิ โศกโรคภัยหายร�ำคาญ อยูส่ ำ� ราญทำ� สิง่ ไรไดท้ รัพยเ์ อย”

คำ� ทำ� นายแบบ “ฉตั รสามชนั้ ” นค่ี อื ภมู ปิ ญั ญาโบราณ..
บรรพชนสร้างสรรค์สงั เกตมา

การเปลยี่ นช่อื “ต�ำรบั ขรวั ตาจู”

“๔ ขนั้ ตอน” ของการเปลยี่ นชอื่ “ต�ำรบั ขรวั ตาจ”ู ส�ำนกั  
วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี นางพิมพิลาไลย ช่ือใช้อักษน�ำ ตัว
“พ” ดาวพฤหสั บดี เปลีย่ นชือ่ เป็น “วันทอง” แลว้ กลบั ไปท�ำ 
พธิ ีท�ำขวญั ทีบ่ า้ น เสรจ็ จากท�ำขวญั “ผูกดา้ ยด�ำ” ทข่ี ้อมือ

เจ้าต�ำรบั การเปล่ยี นช่ือ “ขรวั ตาจ”ู ส�ำนักวดั ปา่ เลไลยก ์
“ขรัวตาจู” เปล่ียนชื่อ นางพิมพิลาไลย ท่ีป่วยเพราะชื่อมี 
ค�ำพอ้ งเสยี งทหี่ มายถงึ เจบ็ ตาย เปลย่ี นชอ่ื เปน็ “วนั ทอง” แปล
หมายรวมถงึ การมสี ขุ ภาพดีและหายปว่ ย ผ้ทู เ่ี ปลยี่ นชื่อ ต้งั ชื่อ 
ในสมัยก่อนจึงนิยมตั้งชื่อท่ีเน้น “ความหมาย” ของช่ือ ให้ม ี
ความหมายท่ีดเี ปน็ หลกั

178  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร

ภาพ นางวันทองป่วย ทรี่ ะเบียงคดวดั ป่าเลไลยก์

ในเรอื่ ง “ขนุ ชา้ งขนุ แผน” “ขรวั ตาจ”ู เปน็ พระหมอดชู อื่ ดงั  
แหง่ วดั ปา่ เลไลย์ เกง่ ในทางพยากรณโ์ ชคชะตาฤกษผ์ านาที เคย
พยากรณ์อย่างแม่นย�ำว่าพลายแก้วยังไม่ตายและจะชนะศึก
กลับมา “ขรวั ตาจู” ยืนยันหนักแนน่

การเปล่ียนช่ือมีมาอย่างน้อยสุดก็ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๒
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ไมใ่ ชพ่ งึ่ มาแพรห่ ลาย
กลายเปน็ ธรุ กิจในปจั จุบันนี้

ในวรรณคดีขุนช้างขุนแผน “ขรัวตาจู” เปลี่ยนช่ือนาง 
“พมิ พลิ าไลย” เปน็ “วนั ทอง” ทล่ี ม้ ปว่ ย เพราะชอื่ “พมิ พลิ าไลย”
มคี วามหมาย “เจบ็ ตาย” (ถา้ แยกค�ำ พมิ กบั พลิ าไลย ค�ำพอ้ ง

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  179 

เสยี ง พริ าลยั แปลวา่ ตาย) จงึ เปลยี่ นเปน็ “วนั ทอง” ทมี่ คี วาม
หมายถงึ การมี “สขุ ภาพด”ี และนางวนั ทองกห็ ายปว่ ย ตามค�ำ
แนะน�ำของขรัวตาจู หากพิจารณาการต้ังช่ือแบบโบราณน้ัน
ใช้ “ทักษา” เปน็ หลกั โดยเฉพาะแบบมอญน้นั ถอื เปน็ ทกั ษา
หลักท่ีแพร่หลายในกรุงรัตนโกสินทร์ พระยาโหราธิบดี ล้วนมี
เช้ือสายมอญ

ตอนที่ ๗ ของเสภาขุนช้าง ขุนแผน พลายแก้วกับนาง 
พมิ พลิ าไลยแตง่ งานกนั บทกลอนกลา่ วถงึ ปเี กดิ ของนางพมิ พลิ าไลย 
นางสายทองและพลายแกว้ ดังนี้

“..ฉนั ฤๅปีชวดนะหม่อมพ่ี สบิ หกปีปีนี้พ่ึงปรปิ รมิ่
ออ่ นกวา่ พี่สองปีเจียวนะพมิ เจ้าเนอื้ นิม่ พ่ีสายทองแกปไี ร
พ่สี ายทองปีมะเมยี คะหมอ่ มพี่ ไดย้ ่สี บิ สองปฉี นั จ�ำได.้ ...”

สรุปว่านางสายทองอายุยี่สิบสองปี นางพิมพิลาไลยอายุ
สิบหกปีเพ่ิงปริปร่ิม คือย่างสิบเจ็ดปี พลายแก้วอายุสิบแปดปี 
ตอนพลายแกว้ เกณฑท์ ัพ ขนุ ช้างทลู พระพนั วษาวา่ ขุนแผน

“อายุประมาณ สิบเจ็ดปี ขอจงทราบธุลพี ระบาทา ฯ”

นางพิมปว่ ย หมอทวั่ สพุ รรณรักษาไม่หาย ละเมอเพอ้ คลั่ง
ผ่ายผอม จนนางศรปี ระจนั ผู้เป็นแม่ นกึ ขน้ึ ได้ จึงพาไปหาขรวั
ตาจู วดั ปา่ ฯ ใชว้ ิชาโหราศาสตร์ ดงั นี้

๑. ขรัวตาจู ใชว้ ิชา “ฉตั รสามชั้น” ดนู างพมิ พลิ าไลย วา่
ตามอายุ ๑๗ ปี ตามทยี่ กมาตามค�ำกลอนว่า

180  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

“คราน้ันจึงทา่ นขรวั ตาจู จบั ยามดูหาชา้ ไม่

คร้ันดูรปู้ ระจักษ์ก็ทักไป ออพิมพลิ าไลยน่เี คราะห์ร้าย

มนั ตกลงที่น่งั นางสีดา เมอื่ ทศพักตรล์ ักพาไปสูญหาย

ถ้าแม้นไมจ่ ากผัวตวั จะตาย ถ้ายกั ย้ายแกไ้ ขไมเ่ ปน็ ไร

ผลัดชอื่ เสยี พลนั ว่าวันทอง จะครอบครองทรพั ยส์ นิ ท้งั ปวงได”้

๒. ขรวั ตาจู ใชห้ ลัก อักษรนำ� “นามทกั ษา”

ทกั ษา ทกั ษา (หศ.) น. ช่ืออัฐเคราะห์ หรือเทวดาทั้ง ๘
มี อาทติ ย์ จนั ทร์ องั คาร พธุ เสาร์ พฤหสั บดี ราหู ศกุ ร์ ซง่ึ ทาง
โหราศาสตร์ก�ำหนดส�ำหรับตั้งดวงชะตา เทวดาเหล่าน้ันแสดง
ชะตาของบคุ คล เก่ียวกบั บริวาร อายุ เดช ศรี มูละ อุตสาหะ
มนตรีและกาลกณิ ี

ดคู �ำอนื่ ๆ ในหมวดแปล ไทย-ไทย อ.เปลอื้ ง ณ นคร

ภาพ ทักษาคูธ่ าตุ ส�ำหรับคนเกิดวนั พฤหัสบดี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  181 

ความหมายทกั ษา

บรวิ าร หมายถงึ บตุ ร สามี ภรรยา ขา้ ทาสชายหญงิ รวม
ทงั้ คนทเี่ ราตอ้ งการใหค้ วามอปุ การะภายในครอบครวั เราทกุ คน 
ดว้ ย

อายุ หมายถงึ ชวี ติ ความเปน็ อยู่ ตลอดจนวถิ ที างแหง่ การ
ด�ำเนินชวี ติ ของเรา

เดช หมายถงึ อ�ำนาจวาสนา เกยี รตยิ ศ ชอ่ื เสยี ง ต�ำแหนง่
หน้าท่กี ารงาน ตลอดจนการศกึ ษาเล่าเรียน ความรักใคร่ เกรง
กลวั

ศรี หมายถงึ หลกั ทรพั ยส์ นิ เงนิ ทอง ของใชส้ อย สริ มิ งคล
โชคลาภ ท่ไี ด้มาเป็นสิ่งของตอ้ งใชจ้ า่ ยและทจ่ี ะไดใ้ นภายหนา้

มูละ หมายถึง หลักทรัพย์เดิมท่ีได้รับเป็นมรดกตกทอด
มาถึงตน และมอี ยู่ในปปี จั จุบนั ตลอดฐานะญาติพี่นอ้ งของเรา

อุตสาหะ หมายถงึ ความขยนั หมัน่ เพยี ร การท�ำงาน ผล
ส�ำเร็จจากงาน รวมถงึ การมีหวั คดิ รเิ รมิ่ และทิฐิมานะ

มนตรี หมายถึง ผอู้ ปุ ถมั ภค์ ำ้� ชูเรา อันอาจจะไดแ้ ก่ บดิ า
มารดา อปุ ชั ฌาย์ อาจารย์ ครู เจา้ นายและผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื
เราทุกคน

กาลกิณี หมายถึง ความช่ัวร้าย ศัตรู คู่อาฆาต คนไม่
ถูกกัน ความไมด่ งี ามต่างๆ รวมท้งั อุปสรรคนานาประการทมี่ า
ในทางเลว

182  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

การเปล่ียนช่ือให้นางพิมพิลาไลย เป็น วันทอง โดยเน้น
ความหมาย ส่ือถึงสุขภาพดี การตั้งช่ือสมัยโบราณน้ัน นิยม 
ใช้หลัก “นามทักษา” โดยใช้ดาววันเกิด เป็นดาวบริวาร เป็น
ตวั อกั ษร น�ำหนา้ ชอื่ เมอ่ื มปี ญั หาดา้ นใด จงึ ใชค้ วามหมาย ดาว
คาถานั้น มาเป็นอักษรน�ำ ตามดว้ ยความหมาย ทีเ่ ราตอ้ งการ
ใหด้ ีขนึ้ ดงั ค�ำกลอน ในเสภา ขนุ ชา้ งขนุ แผน ผลดั ชือ่ เสียพลัน
ว่า “วนั ทองจะครอบครองทรพั ย์สินทง้ั ปวงได”้

๓. ขรัวตาจู ใชห้ ลักคาถา ๘ ประการ
วงจรชวี ติ มาเรม่ิ ตน้ ใหค้ วามหมายชอ่ื ไดแ้ ก่ “บรวิ าร อายุ
เดช ศรี มลู ะ อุตสาหะ มนตรี และ กาลกณิ ี”
จากชอื่ “พิมพลิ าไลย สามารถบอกไดว้ ่านางพมิ พลิ าไลย 
เกดิ วนั พฤหสั บดี เพราะชอื่ ความหมายเนน้ ทไี่ ปท่ี “เรอ่ื งสขุ ภาพ”

๓.๑ ชอ่ื “พมิ พลิ าไลย” ตวั “พ” คอื ดาวบรวิ าร ชอื่ เดมิ  
ของนางนนั้ ใช้ อกั ษร “พ” น�ำหนา้ น�ำมาจากอกั ษร ดาวพฤหสั บดี
คือ บ ป ผ ฝ พ ภ ม

๓.๒ ชอ่ื “วนั ทอง” ตวั “ว” น�ำหนา้ ชอ่ื มาจากตวั อกั ษร 
น�ำ คาถา” อายุ”คือ ดาวราหู ( ย ร ล ว) อายุ น้ันหมายถึง
สขุ ภาพ ความเปน็ อยู่ การใชต้ วั “ว” การน�ำเรอื่ งสขุ ภาพมาตงั้  
ให้สขุ ภาพดี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  183 

๓.๓ แกด้ าวเสาร์ ดาวกาลกณิ ี วนั เกดิ คอื วนั พฤหสั บดี
เพราะดาวราหู (ตวั ว) เปน็ คมู่ ติ รกบั ดาวเสาร์ (กาลกณิ วี นั เกดิ )
จึงไมใ่ หโ้ ทษ

๔. จดั พธิ ที ำ� ขวญั ท่บี ้าน ท�ำขวัญแลว้ ใช้ “ด้ายด�ำ” (คอื
สีพระราหู ตัว “ว”) หมายถึง ต่อไปใช้ชื่อ “วันทอง” ตาม 
ค�ำกลอนดงั น้ี

“จะทำ� ขวญั เจา้ พมิ พิลาไลย .... เอาด้ายดำ� ...ผูกมอื ร้ือดับเทียน
เปลย่ี นพมิ ผลัดชื่อ วนั ทองพลนั ”

ภาพ นามทกั ษา แทนค่าอกั ษร และสตั ว์แทนวนั เกิด

ใช้อักษร น�ำ ดาวอะไร ใชด้ า้ ยผกู ขอ้ มือสนี ้นั นางวันทอง
อกั ษรน�ำหนา้ คอื ตวั ว หมายถงึ พระราหู มสี ปี ระจ�ำดาวคอื สดี �ำ
รวมท้ัง อาทิตย์แดง จันทร์เหลือง อังคารเลือดนก พุธเขียว
พฤหสั บดีแสด ศุกร์ฟ้า เสารม์ ่วง ราหูด�ำ (ไมร่ ู้วนั เกดิ สีทอง)

184  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

รวมทั้งส้ิน ๔ ขั้นตอน “การเปล่ียนช่ือ” ต�ำรับขรัวตาจู
ในที่สุดนางพิมพิลาไลย แม้จะเปลี่ยนชื่อเป็น “วันทอง” และ
หายปว่ ยตามตอ้ งการ แตว่ ถิ ชี วี ติ ของนางวนั ทองกด็ �ำเนนิ ไปจน
พบจุดสดุ ทา้ ยของตนเองดังทที่ ราบกนั

บา้ นในวรรณคดี “ขุนชา้ ง ขุนแผน”

“บ้านหา้ ห้อง” ของ “ขนุ แผน”

ภาพ บ้านห้าห้องของขุนแผน ระเบยี งคดวดั ปา่ เลไลยก์

เรือนหอของขุนแผน ราคา ๓ ช่ัง ตามวรรณคดี มีแต่
สร้าง “คุ้มขุนแผน” นั้นคือ ท่ีอยู่ของเจ้าเมืองอันหมายถึงเม่ือ
ขนุ แผนเปน็ “เจา้ เมืองกาญจนบุรี” แลว้ สมัยโบราณดูฐานะกนั

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  185 

ท่ีบ้านท่ีอยู่อาศัย ว่ามีลักษณะอย่างไร? พร้อมหรือไม่จะออก
เรือน มีตัง้ แต่กระทอ่ มมุงจาก บา้ นสามห้อง บา้ นหา้ หอ้ ง บา้ น
เกา้ ห้อง บง่ บอกฐานะได้

ค�ำว่าห้อง หมายถึง ระยะหา่ งระหวา่ งคูเ่ สาหน่ึงห้อง คอื
มเี สาสองคู่ คอื เสาสตี่ น้ หากเปน็ สองหอ้ ง กค็ อื เพมิ่ เสาอกี สอง
ตน้ เปน็ หกตน้ สามคเู่ สา กม็ หี อ้ งสองหอ้ ง หากเปน็ บา้ นหา้ หอ้ ง
คอื มหี กคเู่ สา เทา่ กบั เสาสบิ สองตน้ บา้ นเกา้ หอ้ ง คอื มสี บิ คเู่ สา
เท่ากับยส่ี บิ ตน้

ภาพ คมุ้ ขนุ แผน วัดแค

วรรณคดเี สภาเรอ่ื ง “ขุนช้างขนุ แผน” ตอน “พลายแกว้
ไปสขู่ อนางพมิ พลิ าไลย นางทองประศรี ไดเ้ ตรยี มปลกู เรอื นหอ
ขนาดห้าห้องไว้ให้ลูกชาย คือ “พลายแกว้ ” ดงั นี้

186  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

“ทองประศรีเรยี กข้ามาไวไว เอ้าไปทา่ เลอ่ื ยโรงกระดาน
คดิ อ่านซ้อื เรอื นเขาทำ� ใหม่ เงินสามชั่งนเี้ อง็ เอาไป
ซ้อื เขาใหไ้ ด้มาโดยพลัน หา้ หอ้ งเสาสรา้ งใหเ้ สรจ็ สรรพ”

เรอื นหอหา้ หอ้ งของขนุ แผน ราคาสามชงั่ เมอ่ื เดนิ ทางจาก 
เมอื งกาญจนบรุ ีถึงสุพรรณบุรี โดยใชค้ วายเทยี มเกวียนบรรทุก
เรอื นหอไปถงึ สพุ รรณ ทา้ ยสวนของนางศรปี ระจนั อนั เปน็ ทดี่ นิ
ของฝ่ายหญงิ ได้ปลูกเรือนหอ “เรอื นขุนแผนห้าห้อง” ดงั นี้

“บา้ งแบกบ้างวางอยู่กร่างโกร่ง เสยี งโปกโปง้ เจาะขุดอย่ตู ึงตัง
ปักเสาเข้าพรึงกรงึ อกไก่ กลอนใสม่ ุงหลังคาท้ังหา้ หลงั ”

เป็นอันสรุปได้ว่าเรือนหอของขุนแผนมีขนาดห้าห้อง ซ่ึง
ถอื วา่ เปน็ ผมู้ อี นั จะกนิ มที รพั ยส์ นิ นอ้ ยกวา่ เรอื นหอของขนุ ชา้ ง
ทม่ี ขี นาดเกา้ หอ้ งใหญโ่ ตกวา่ วหิ าร ตระกลู ของขนุ แผนและขนุ ชา้ ง 
เดมิ มีฐานะพอกัน แต่ขนุ ไกรถกู อาญาแผน่ ดิน ถูกฟันคอและริบ 
เรอื น นางทองประศรพี าพลายแกว้ หนกี ลบั ไปเมอื งกาญจน์ สรา้ ง
ฐานะใหม่ได้อย่างน่าชมเชย ส่วนนางศรีประจันแม่นางพิมถึงแม้
จะถกู ปล้น ขุนศรีวิชยั สามีถกู ฆ่าตายแต่ยงั มีสมบตั เิ หลอื

ตามธรรมเนยี มโบราณแต่งงานแลว้ ตอ้ งออกเรือน หมาย
ถึงสร้างที่อยู่อาศัยสร้างครอบครัวใหม่ บ้านจึงเป็นสัญลักษณ ์
ใหท้ ราบถึงครอบครวั น้ัน แบ่งเปน็ ๓ ระดับดังนี้

๑. บ้านสามห้องเปน็ ครอบครัวชาวบา้ นธรรมดา

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร  •  187 

๒. บา้ นหา้ หอ้ ง “บา้ นขนุ แผน” เปน็ บา้ นของผมู้ อี นั จะกนิ  
ระดบั กลางถึงเศรษฐี

๓. บา้ นเกา้ หอ้ ง “บา้ นขนุ ชา้ ง” เปน็ บา้ นของครอบครวั ระดบั  
“มหาเศรษฐ”ี

การสรา้ งบา้ นของขนุ แผน เลยี นแบบในวรรณคดี จงึ ตอ้ ง
สร้างเปน็ สองนัย คอื

๑. ใชค้ �ำวา่ “บ้านขุนแผน” ต้องสร้างหา้ ห้อง
๒. ใช้ค�ำว่า “คุ้มขุนแผน” ต้องสร้างแบบเรือนไทยภาค
กลาง มีหอกลางดงั ท่เี หน็ กนั
เพราะค�ำว่า “คุ้ม” น้ัน ภาคกลางหมายถึงท่ีท�ำการของ
เจ้าเมอื ง ใครท่มี ี “บา้ นห้าห้อง” ก็เปรียบเทียบมฐี านะเทา่ กับ
ขุนแผน
๔ บาทเท่ากับ ๑ ต�ำลึง ๒๐ ต�ำลึงเท่ากับ ๑ ช่ัง บ้าน
ขนุ แผนราคา ๓ ชงั่ คอื ราคา ๒๔๐ บาท เมอื่ สองรอ้ ยปกี อ่ นนน้ั

188  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร

“บ้านเก้าหอ้ ง” ของ “ขุนชา้ ง”

ภาพ บ้านเก้าห้องของขนุ ช้าง ทรี่ ะเบียงคดวัดปา่ เลไลยก์

“บา้ นเกา้ หอ้ ง” ของ “ขนุ ชา้ ง” สรา้ งเปน็ เรอื นหอรอนาง 
“วนั ทอง” ท่ีสมควร “อนุรักษ์” ไว้เป็นต�ำนานสุพรรณต�ำนาน 
“บ้านเกา้ หอ้ ง” ของ “ขนุ ชา้ ง มหาเศรษฐเี มืองสุพรรณ”

เรอ่ื งของ “บา้ นเกา้ หอ้ ง” มใี นวรรณคดี “ขนุ ชา้ งขนุ แผน” 
ตอนที่ ๑๒ “นางศรีประจัน ยกนางวันทองให้ขุนช้าง” ตาม
ประเพณีไทยโบราณการแต่งงานคือการออกเรือน มีการสร้าง 
“เรือนหอ” ขุนช้างจึงรื้อเรือนหอห้าห้องของ “ขุนแผน”
สรา้ งเรอื นหอของตนใหมเ่ ปน็ หอใหญข่ นาด “เกา้ หอ้ ง” ใหญโ่ ต 
เท่าวหิ าร”

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  189 

ภาพ “บา้ นขุนช้าง” วัดป่าเลไลยก์

“คราน้ันจึงโฉมเจ้าขุนชา้ ง ความสมัครรกั นางไม่เชือนเฉย
ส่ังบา่ วเหลา่ ช่างช�ำนาญเคย ปรงุ หอเรว็ เหวยใหท้ นั การ
พวกชา่ งบ้างเล่อื ยบา้ งกถ็ าก โปกปากโผงผงึ องึ ทัง้ บ้าน
หอใหญ่ “เกา้ หอ้ ง”ทอ้ งกระดาน เท่าวหิ ารจึงจะสมกับใจกู”

“ค�ำวา่ เกา้ หอ้ งทอ้ งกระดาน ความหมายกค็ อื มชี อ่ งเสา 
๑๐ เสา เปน็ ๙ ห้องชอ่ งเสา ไมไ่ ดห้ มายถงึ สรา้ งบ้าน ท�ำห้อง
เกา้ หอ้ ง”

“หอเกา้ หอ้ ง” ของ “ขนุ ชา้ ง” ยงั ปรากฏในตอนท่ี ๑๔ เมอื่
ขนุ แผนกลบั มาจากยกทพั ไปศกึ เชยี งใหมไ่ มเ่ หน็ เรอื นหอ “ของตน
ทถี่ กู ขนุ ชา้ ง” รอื้ ไปถวายวดั กลาง จงึ ใหไ้ ปเชญิ “พนั โชต”ิ ผนู้ �ำ 
หมูบ่ า้ นมา

190  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร

“เรากับวันทองครอบครองกัน ก่ีเดือนก่ีวันท่านแจ้งใจ
คร้นั เราไปทพั กลบั ลงมา กห็ าเหน็ หอห้องของเราไม่
หอใหม่ “เกา้ ห้อง” น่ขี องใคร ทา่ นร้หู รอื ไมใ่ ห้ว่ามาฯ”

สรปุ ได้วา่ การสรา้ ง “บ้านเกา้ หอ้ ง” แตโ่ บราณน้นั ตอ้ ง
เป็นผู้ร�่ำรวยมหาเศรษฐีเพราะต้อง “ปรุงเสร็จ” ในวันเดียวใช้
ฤกษ์ชว่ งเชา้ ภายในเวลาทกี่ �ำหนดเทา่ น้ัน

บ้านเก้าห้องของ “ขุนก�ำแหงฤทธ”ิ์

“บา้ นเกา้ หอ้ ง” (๑) ทม่ี าของชอื่ “ตลาดเกา้ หอ้ งบา้ นอาถรรพ”์  
ของชุมชนไทยพวน อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี บ้านเก้าห้อง
หมายถึง อะไร? ท�ำไมไฟไหม้ ถงึ ๓ ครง้ั

ขนุ ก�ำแหงฤทธิ์ (วนั ด)ี เปน็ ผนู้ �ำของชมุ ชนบา้ นเกา้ หอ้ งและ
เป็นผู้ก่อตั้งบ้านเก้าห้อง ซ่ึงต้ังอยู่ริมฝั่งซ้ายหรือทิศตะวันออก
ของแม่น้�ำสุพรรณหรือแม่น�้ำท่าจีน มีบริเวณติดต่อปัจจุบัน 
ดา้ นทศิ ใตข้ องวดั ลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลามา้ จ.สุพรรณบุรี

เหตทุ ขี่ นุ ก�ำแหงฤทธิ์ (วนั ด)ี เกยี่ วขอ้ งกบั บา้ นเกา้ หอ้ ง เพราะ 
ตามค�ำบอกเล่าต่อๆ กันมา และหลักฐานต่างๆ โดยเฉพาะ 
หลกั ฐานบนั ทกึ ของนายเกษม วงศพ์ นั ธ์ ระบวุ า่ “ประวตั ทิ เี่ รยี ก
วา่ บา้ นเกา้ หอ้ ง มดี งั น้ี ขนุ ก�ำแหงฤทธิ์ (วนั ด)ี เปน็ ตน้ ตระกลู เดมิ อยู่
เมอื งเชียงขวาง อาณาจักรลา้ นช้าง ซึ่งปจั จบุ ันคอื สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้อพยพมาต้ังบ้านเรือนอยู่ท้องท ่ี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  191 

อ.บางปลามา้ ปลกู บา้ นอาศยั อยู่ ตอ่ มาภายหลงั บา้ นทปี่ ลกู เกา้ หอ้ ง 
ได้ผุพังจึงได้ปลูกใหม่เป็นบ้านปั้นหยาท�ำด้วยไม้ไผ่มี ๓ ห้อง 
มี ๒ หลังหันหนา้ ชนกัน

ต่อมาได้เกิดไฟไหม้เผาผลาญจนหมดส้ิน จึงได้มีการ
สรา้ งบา้ นขนึ้ ใหมม่ ี ๔ หอ้ ง ฝาบา้ นท�ำดว้ ยไมไ้ ผข่ ดั แตะ หลงั คา 
ท�ำดว้ ยจาก (มงุ หลงั คาดว้ ยจาก) ตอ่ มาเกดิ ไฟไหมอ้ กี โดยไมท่ ราบ 
สาเหตุว่าไฟไหม้น้ันเกิดขึ้นได้อย่างไร ขุนก�ำแหง (วันดี) เกิด
ความสงสยั จงึ ไปใหโ้ หรท�ำนายวา่ เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร โหรท�ำนาย
ไว้ว่า บ้านหลังน้ีต้องปลูกให้ได้ ๙ ห้อง และให้มีที่เคารพบูชา
ส�ำหรับชาวพวนในชุมชนน้ีไว้หลังหน่ึงให้ชื่อว่า “ศาลปู่เจ้า 
ยา่ เมอื ง” จงึ จะอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ เมอื่ ขนุ ก�ำแหง (วนั ด)ี ท�ำตามโหร
ท�ำนายไวแ้ ลว้ ต้ังแต่นั้นมา จนกระท่ังปจั จบุ นั น้ี เหตกุ ารณ์อัน
พิสดารตา่ งๆ นน้ั ยังไมเ่ กิดขนึ้ อกี พอถึงปกี ม็ ีประชาชนแถบนนั้
มากราบไหวท้ ุกปี ถอื วา่ เปน็ สงิ่ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ”

ครน้ั เมอ่ื กาลเวลาผา่ นไป ไดม้ กี ารปรบั เปลย่ี นบา้ นเกา้ หอ้ ง
เป็นฝากระดานไม้สัก แบบฝาปะกน และหลังคามุงกระเบ้ือง 
ซ่ึงตามหลักฐานท่ีหลังคากระเบ้ืองระบุว่า “พ.ศ.๗๐” ย่อม
หมายถึงว่าได้เปล่ียนเป็นกระเบ้ืองหลังคา (คร้ังล่าสุด) เม่ือ
พ.ศ.๒๔๗๐ฉะนนั้ จากประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ ประกอบหลกั ฐาน
ทางเอกสารและวัตถุต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น แสดงว่าการปลูก
บ้านเป็นเรือนยาวขนาดเก้าห้อง (คือมีช่องเสาสิบช่อง) และ
เรยี กชอื่ ชมุ ชนหมบู่ า้ นวา่ “บา้ นเกา้ หอ้ ง” ตอ้ งมมี ากอ่ นปี พ.ศ.

192  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร

๒๔๓๕ อย่างแน่นอน ซ่ึงนับจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ.๒๕๖๒) น่า 
จะมีอายกุ ารต้ังหมบู่ า้ นเก้าหอ้ งนีม้ านานไมน่ ้อยกว่า ๑๕๔ ปี

ปจั จบุ นั นยี้ งั มบี า้ นโบราณสบื สาน “ต�ำนานบา้ นเกา้ หอ้ ง”
ของ “ขุนช้าง” ในจังหวัดสุพรรณบุรี ให้ทุกท่านที่สนใจได้เข้า
ชมวา่ “บา้ นมหาเศรษฐ”ี เกา้ หอ้ งเปน็ แบบไหน? คอื “บา้ นเกา้
ห้อง” ตรงข้ามตลาดเก้าห้อง ของ “ขุนก�ำแหงฤทธ์ิ” ปัจจุบัน
“คณุ ชเู กยี รติ ประทปี ทอง” เปน็ ผคู้ รอบครองตอ่ จากบรรพบรุ ษุ
คือขนุ ก�ำแหงฤทธ์ิ (วนั ด)ี

สถานท่ี ในวรรณคดี “ขนุ ชา้ ง ขนุ แผน”

ภาพ บา้ นเก้าห้อง ขุนก�ำแหงฤทธ์ิ (วันดี) ฝั่งตรงขา้ มตลาดเกา้ ห้อง

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร  •  193 

ตน้ โพธิ์เสี่ยงทายสามตน้ ที่ “วัดโพธ์ิหอม”

บา้ นโพธส์ิ ามตน้ ต.โพธส์ิ ามตน้ อ.บางปะหนั จ.พระนคร-
ศรอี ยุธยา

ต้นโพธิ์เสี่ยงทายสามต้น เร่ือง “ขุนช้างขุนแผน” มีจริง 
หรือไม่? จากสุพรรณไปพระนครศรีอยุธยาตามหา “ต้นโพธ์ิ
เส่ียงทายสามต้น” ของนางทองประศรี นางพิมพิลาไลย และ
ขุนแผน “สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เขียนไว้ชัดเจน
วา่ ขนุ แผนเป็นเรอ่ื งจรงิ เกิดขน้ึ ในครง้ั กรงุ เกา่ เน้อื ความปรากฏ
จดไว้ในหนังสือค�ำให้การของชาวกรุงเก่า นับเป็นเรื่องในพระ 
ราชพงศาวดาร เกดิ ในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๒ ระหวา่ ง
พ.ศ. ๒๐๓๔ กับ พ.ศ. ๒๐๗๒ อนุโลมต่อมาได้ เน้ือเรื่องเดิม
จบท่ีไปรบชนะท่ีเชียงใหม่”จากน้ันต่อเติม หลายร้อยปีต่อมา
จนกลายเป็นนิทาน แต่สถานที่ยังมีอยู่จริงทั้งเมืองสุพรรณ
กาญจนบรุ ี และพระนครศรอี ยุธยา ดังจะกล่าวต่อไปน ้ี

โพธิ์สามต้น ที่ “บางลาง” อยุธยาเกี่ยวกบั เร่อื ง “ขนุ ชา้ ง
ขนุ แผน” เมอื งสุพรรณดงั น้ี

194  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

ภาพ ตน้ โพธิ์เสีย่ งทาย ๓ ต้น ภาพวาดโดย เหม เวชกร

เมอื่ พลายแกว้ จะตอ้ งจากไปรบ ทงั้ สามคนมคี วามกงั วลใจ
ทไ่ี มร่ อู้ นาคตขา้ งหนา้ จะเปน็ อยา่ งไร จงึ ตกลงกนั วา่ จะปลกู ตน้ โพธ์ิ 
เส่ยี งทายไว้สามต้น

“ไปทัพทางไกลไม่รู้เหตุ จะสงั เกตปลกู ต้นโพธิ์ไว้สามตน้
ถา้ แม้นยอ่ ยยับถงึ อับจน ขอใหโ้ พธ์พิ กิ ลไปเหมอื นกนั ”

เรยี กวา่ “โพธสิ์ ามตน้ ” สามารถสบื คน้ เรอ่ื ง “โพธส์ิ ามตน้ ” 
ในเรื่องขุนช้างขุนแผนเชื่อมโยงถึงสถานที่จริงท่ีกรุงศรีอยุธยา

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  195 

จากการส�ำรวจเอกสารและภมู สิ ถานอยธุ ยาพบวา่ ยา่ นโพธส์ิ ามตน้  
อยธุ ยาเปน็ ชมุ ชนใหญท่ ต่ี งั้ ดา่ น “ขนอน” บางลาง “ดา่ นเกบ็ ภาษี 
อากร เรอื ทล่ี งมาจากทางเหนอื อยบู่ นชมุ ทางแมน่ ำ้� ลพบรุ สี ายเกา่
เช่ือมตอ่ ล�ำน้�ำได้หลายทาง” โดยยึดค�ำกลอนจากเรื่อง ขนุ ช้าง 
ขุนแผน ดงั น้ี

“นางทองประศรไี ด้ฟังลกู ชายวา่ นัดกันสัญญานั้นจำ� ได้

ลงเรอื กญั ญาพรอ้ มขา้ ไท นางพมิ ก็ไปกบั มารดา

ร้องดา่ กันองึ คะนึงไป พอรงุ่ ก็ใกล้บางลางพลันฯ”

“บางลาง” เปน็ ชอ่ื บา้ น เปน็ “ดา่ นขนอน” ตอนเหนอื ของ 
กรุงศรีอยุธยา อยู่ละแวกเดียวกันกับโพธ์ิสามต้น น่าจะอยู่
บรเิ วณล�ำนำ�้ หกั ขอ้ ศอกระหวา่ งล�ำนำ้� โพธสิ์ ามตน้ ตรงบรเิ วณวดั
ดาวคะนองกับวัดโพธ์ิน้ี สอดคล้องกับการเดินทางมาทางน้�ำ
ด้วยเรือกัญญาข้ึนท่ีท่าขนอน เอกสารยืนยันว่า มีโพธ์ิสามต้น
จริง ต้นโพธ์ิตายแล้ว ๒ ต้น “เจ้าฟ้าอภัย” (พระราชโอรส
พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ) ทรงพระนิพนธ์โคลงสี่สุภาพ เรียกกัน
วา่ นริ าศเจา้ ฟา้ อภยั เรอื่ งเดนิ ทางจากอยธุ ยาไปลพบรุ ี พรรณนา
ความตามเสน้ ทางล�ำน้�ำโพธสิ์ ามตน้ ไปออกแมน่ ำ้� ลพบุรี วา่

“พศิ โพธ์สิ ามต้นเดมิ ตายสอง ยังแตเ่ ดียวดหู มอง หมน่ เศรา้ ”

แสดงให้ทราบว่าสมัยอยุธยา คนเชื่อว่าโพธิ์สามต้นน้ัน 
มอี ยจู่ รงิ แตเ่ หลอื อยเู่ พยี งตน้ เดยี วไมท่ ราบไดว้ า่ สองตน้ นนั้ ตาย
ไปตงั้ แตค่ รงั้ ใด

196  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

คา่ ยโพธ์สิ ามต้นอยู่ตรงไหน?

คา่ ยโพธสิ์ ามตน้ คอื คา่ ยทพี่ ระเจา้ ตากสนิ ชนะศกึ กอู้ สิ รภาพ
ปลายปี พ.ศ. ๒๓๑๐ แผนท่ีสมัยรัชกาลที่ ๖ ปี พ.ศ.๒๔๕๘
ระบุว่าโพธสิ์ ามตน้ คา่ ยพระนายกองอยูฟ่ ากตะวันตกของล�ำนำ�้
โพธส์ิ ามตน้ หา่ งจากคลองบา้ นแมน (คลองหนา้ วดั ชา้ งใหญ)่ ไป
ทางเหนอื ประมาณสร่ี อ้ ยเมตร หา่ งจากวดั ปากคลองดาวคะนอง
หรอื วดั ดาวคะนองปจั จบุ นั ไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ประมาณ
หา้ รอ้ ยเมตร

ในสว่ นของ “พลายแกว้ ” ทเี่ กยี่ วกบั “บางลาง” มวี า่ เมอื่
ยกทัพออกมาจากรงุ ศรอี ยุธยา แลว้ มาจุดนดั พบ

“ถึงปากบางลางอย่ขู า้ งหนงึ่ ยกพลขา้ มถงึ ข้างฟากบา้ น”

จากบทกลอนดงั กลา่ วพบวา่ สถานทที่ นี่ ดั กบั ขนุ แผนนน้ั คอื
บา้ น “บางลาง” ในเขตจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จากนน้ั ทงั้ สาม
ได้มาเจอกัน และปลูกต้นโพธิ์เส่ียงทายสามต้นจากร้อยกรอง 
บททว่ี า่ “ยกพลขา้ มถงึ ขา้ งฟากบา้ น” แสดงวา่ ขา้ มแมน่ ำ้� ลพบรุ ี 
สายเกา่ จากฝง่ั ตะวนั ตกมาตะวนั ออก วดั ฝง่ั ตะวนั ตกมวี ดั โพธริ์ า้ ง 
ส่วนวัดฝั่งตะวันออกท่ีพลายแก้วข้ามฟากไปมีสองวัดคือวัด 
ดาวคะนองและวดั โพธหิ์ อม พจิ ารณาวดั แลว้ มวี ดั สามวดั ดงั กลา่ ว
ในเขตโพธ์ิสามต้น ไม่มีใครทราบว่าต้นโพธ์ิสามต้นอยู่ตรงไหน
จะเปน็ วดั โพธ์ิ (รา้ ง) วดั ดาวคะนอง หรอื วดั โพธหิ์ อม และมโี พธิ์

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  197 

ทั้งสามต้นอยู่จริงตามท่ีกล่าวมาหรือไม่? รู้แต่เพียงชื่อบ้านว่า
โพธส์ิ ามต้นเท่าน้ัน ทีเ่ รยี กต่อๆ กันมาจากบทกลอน

“วดั ปา่ ฝ้าย ตน้ ทาง พลายแกว้ จึงสั่งพวกพหล
ใหเ้ รง่ เครอื่ งไคลคลายาตราพล ไปอยตู่ ้นทางจะคลี่คลาย
ปลงวางช้างมา้ อยูท่ ่ากู เท่ยี วอยทู่ ศี่ าลา..วัดปา่ ฝา้ ย”

วดั ปา่ ฝา้ ยคอื วดั ทพ่ี ลายแกว้ ใหไ้ พรพ่ ลไปตงั้ รอ จงึ ตดั ออก 
ได้ว่าวดั ป่าฝ้ายน้ันไมใ่ ชว่ ัดที่ปลกู ต้นโพธ์ิเสย่ี งทาย

ในสงครามพม่ายังปรากฏชื่อวัดป่าฝ้าย กองทัพเนเมียว 
สีหบดีได้มารวมท่ีเมืองนครสวรรค์เคล่ือนทัพผ่านสิงห์บุรีลงไป
ต้ังกองทัพอยู่ที่วัดป่าฝ้ายชานกรุงศรีอยุธยา (พงศาวดารฉบับ
พระราชหตั ถเลขา) เพราะฉะนน้ั วัดทปี่ ลกู ตน้ โพธ์เิ สยี่ งทาย จึง
เหลอื อยูเ่ พียง ๒ วดั คอื

๑. วัดดาวคะนอง
๒. วัดโพธห์ิ อม
วดั โพธร์ิ า้ ง ถกู ตดั ออกไปเพราะอยฝู่ ง่ั ตะวนั ตก ทพี่ ลายแกว้  
ยกพลขา้ มฟากไปแล้ว เมื่อตามดปู ระวตั ิมีดังนี้
วดั ดาวคะนองเปน็ วดั เกา่ แกเ่ ชอื่ วา่ สรา้ งมาตง้ั แตป่ ระมาณ
ปี พ.ศ. ๒๓๐๐ สมัยปลายกรุงศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า “วัด
ปากคลอง” ได้วิสุงคามสีมาเมื่อพ.ศ. ๒๓๐๘ จึงเป็นวัดใหม่
ไมท่ ันสมัยยุคขนุ ชา้ งขุนแผน ปี พ.ศ. ๒๐๓๔-๒๐๗๒ จงึ เหลอื

198  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร

“วัดโพธ์หอม” ให้พิจารณา ผลปรากฏว่า วัดโพธิ์หอมเป็นวัด
เก่าแก่วัดหน่ึงมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา บริเวณนี้เป็นที่ต้ัง
คา่ ยโพธสิ์ ามตน้ ของกองทพั พมา่ ทมี่ าตกี รงุ ศรอี ยธุ ยา เมอ่ื คราว
เสยี กรงุ ครง้ั ท่ี ๒ วดั โพธห์ิ อมนไ้ี ดร้ บั การบรู ณะสรา้ งเสรมิ ขน้ึ ใหม่
เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๓๖๒ ไดว้ ิสุงคามสมี าเม่อื พ.ศ.๒๓๖๕

ภาพ อโุ บสถวัดโพธหิ์ อม พระนครศรีอยธุ ยา

เหตทุ ไ่ี ดช้ อื่ วา่ วดั โพธห์ิ อม เพราะวา่ ทต่ี งั้ วดั นม้ี ตี น้ โพธใิ์ หญ่
เก่าแกค่ ู่มากับวัดตน้ หนงึ่ เวลาแตกใบออ่ นจะมีกลน่ิ หอมเปน็ ที่
อศั จรรย์ จงึ ไดช้ อ่ื วา่ “วดั โพธหิ์ อม” ซง่ึ มชี อ่ื สอดคลอ้ งกบั เรอ่ื ง
ราว จึงสรุปได้ว่าต้นโพธิ์เส่ียงทายสามต้นของนางทองประศรี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร  •  199 

นางพมิ พลิ าไลย พลายแกว้ นน้ั ปลกู ท่ี วดั โพธห์ิ อม บา้ นโพธส์ิ ามตน้  
ต.โพธิส์ ามต้น อ.บางปะหนั จ.พระนครศรีอยธุ ยา

ขอขอบพระคุณ “เอกสารส�ำรวจภูมิสถานอยุธยา” โดย 
คณุ พเยาว์ เขม็ นาค นกั วจิ ยั อสิ ระ ส�ำนกั ศลิ ปากรท่ี ๓ พระนคร-
ศรีอยธุ ยา

“วัดตะล่มุ โปง” กบั “ศาลขนุ แผน”

ขุนแผน กับ นางวันทอง  ภาพ ขุนแผนพานางวนั ทองหนี
ตา่ งมรี กั แทจ้ รงิ ใจใหก้ นั แตท่ งั้ ค่ ู
นั้นยังมีสิ่งที่ “เหนือความรัก” 
ทต่ี อ้ งเสยี สละ เสภาเรอื่ ง“ขนุ ชา้ ง 
ขนุ แผน” โศกนาฏกรรมแหง่ ความ 
รกั ทแี่ สดงความเปน็ ตวั ตนของ 
มนุษย์ของความมีเลือดเน้ือ 
ไม่ใช่วรรณคดีแบบจนิ ตนาการ 
โลกสวย ความรกั อลเวงกลายเปน็  
“วนั ทองสองใจ” ขนุ แผนหลาย
เมียน้ัน ถูกบรรยายถ่ายทอด
เป็นบทความร้อยแก้วเพ่ือให้
ผู้อ่านจดจ�ำง่าย “จนคนอ่าน
มองข้ามความรัก” และความ

200  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

จริงใจ ท่ีทั้งคู่มีต่อกัน อันเป็นรักแท้ท่ีก่อเกิดมาและเป็นรัก 
ครงั้ แรกของทง้ั สองคน

ความรกั ความจรงิ ใจนน้ั วดั ไดใ้ นยามทต่ี อ้ งตดั สนิ ใจยาม
ตกยาก ขุนช้างขุนแผน บรรยายตอนที่ ๑๘ ตอน ขุนแผนพา
นางวนั ทองหนี ไว้อยา่ งน่าดดู ดมื่ ประทบั ใจ

เรื่องมีอยู่ว่า ขุนแผนแค้นใจที่ขุนช้างใช้อุบายจนได้นาง
วันทอง จึงมาลักพานางวันทองให้หนีไปกับตน การเดินทาง
เข้าป่าหนีอาญาแผ่นดิน อันตราย ความล�ำบาก เหลือบไรยุง
ล้ินตอมไต่ใช้ท่อนไม้แทนหมอน ขุดเผือกมันกินอดอยากยาก
แค้น นางวันทองหวนคิดถึงความเป็นอยู่ที่สุขสบายกับขุนช้าง
ท่ีเฝ้าพะเน้าพะนอทุกเวลาบ่งบอกถึงความคิดมนุษย์ธรรมดา  
ทตี่ อ้ งการชีวติ ทส่ี ขุ สบายถูกเปรยี บเทียบกบั ขุนแผนตอนนี้ แต่
ด้วยความรักที่มีต่อกัน นางวันทองก็คิดได้ถึงความรัก กลอน
แปดตรงนบ้ี รรยายความร้สู ึกได้อารมณช์ ัดเจนว่า

“จะเคืองขนุ่ ขุนแผน กไ็ มไ่ ด้ เขารักใคร่ จรงิ จัง ไมห่ า่ งเหนิ
ไปจากกนั นานช้า นา่ จะเพลนิ หมางเมิน ลูกเมีย เขาก็มี
ส้บู ากหนา้ มาตาม ดว้ ยความรกั ลอบลกั เข้าปา่ พากันหนี
ไมก่ ลวั ความ ลามลุก คลกุ คลี เอาชวี ี แลกน้อง วันทองมา
จะท้งิ ขวา้ ง อยา่ งไร ต้องไปดว้ ย จะมอดม้วย กต็ าม แต่วาสนา
นางทอดตวั กอดผัว แล้วโศกา ซบหนา้ น่ิงหลบั ระงบั ไป ฯ”

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร  •  201 

นางวันทองสงสารขุนแผนท่ีนอนอยู่ ร้องไห้จนหลับกับ
หน้าอก จะเห็นว่า ความรักของทั้งคู่พร้อมจะตกระก�ำล�ำบาก
ไปดว้ ยกนั ทงั้ ทน่ี างวนั ทองหากอยกู่ บั ขนุ ชา้ งกส็ ขุ สบาย ขนุ แผน
รับราชการแผ่นดินก็มีอ�ำนาจราชศักด์ิ แต่ด้วยความรักทั้งสอง
จึงยอมล�ำบากไปตายดาบหน้าด้วยกัน น่าเสียดายที่ความสุข 
ความรักความจริงใจของคนท้ังสอง ต้องจบลงเพราะ “นาง 
วันทอง” นั้นมที ้องเจ็ดเดอื น

ภาพประติมากรรม ขุนแผนพานางวนั ทองหนี ทีว่ ัดไผ่โรงววั

202  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร

ขุนแผน ลูกผู้ชายท่ีเด็ดเดี่ยวไม่กลัวความตาย จึงยอม 
ทุกอยา่ งออกจากปา่ เพอ่ื ใหล้ ูกในท้องมสี ขุ ภาพดี นีค่ อื ความรัก 
ของพอ่ แมท่ เี่ หนอื สง่ิ อน่ื ใด ไมว่ า่ ในวรรณคดหี รอื ชวี ติ จรงิ ความ 
รกั ของขนุ แผนและนางวนั ทอง ทยี่ อมไปตายดาบหนา้ ตอ้ งเปลย่ี น
ใจเพราะความรักที่ยง่ิ ใหญก่ วา่ ของทั้งคคู่ ือ “ความรกั ลูก”

ขนุ แผนพานางวนั ทองหนผี า่ นเสน้ ทาง “วดั ตะลมุ่ ” ชอ่ื เดมิ  
“วดั ตะลมุ่ โปง” ต.มะขามลม้ อ.บางปลามา้ จ.สพุ รรณบรุ ี วดั ตะลมุ่  
ในปจั จบุ นั เปน็ ถนิ่ ทอี่ ยขู่ องชมุ ชนไทยพวน สมยั โบราณชอ่ื “วดั
ตะลมุ่ โปง” ปรากฏในวรรณคดเี รอื่ ง “ขนุ ชา้ ง ขนุ แผน” ตอนท่ี ๑๘ 
ขุนแผนพานางวนั ทองหนี

ภาพ ทิวทศั น์สวยงามหนา้ ศาลขนุ แผน

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  203 

“ขุนช้าง ขุนแผน” สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ
สันนิษฐานว่าเป็นเร่ืองจริงแต่จบแค่ศึกเชียงใหม่ แต่สถานที่
ท่ีเป็นฉากของเรื่องล้วนมีอยู่จริง และเป็นเส้นทางสัญจรแต่
โบราณสมัยอยธุ ยาดังค�ำกลอน “ขุนชา้ ง ขนุ แผน” ตอนที่ ๑๘
ดงั น้ี

“สั่งแล้วขบั ม้าคลาไคล ออกไปทางประตูตาจอม

ถึงวดั “ตะลุ่มโปง” หนองนำ้� ข้าม“โคกก�ำยาน” ละหานหอม

วนั ทองคลีค่ ลายคอ่ ยวายตรอม กอดหมอ่ มขนุ แผนแขนประคอง

รบี รดั ตดั ทงุ่ ม่งุ มา ชักม้าเดนิ เดาะเหยาะยอ่ ง

พน้ สุพรรณไปได้ดงั ใจปอง ถึงท้อง“นาแปลกแม”่ ชะแงไ้ กล

พ้นทงุ่ มุ่งหมายเข้าชายเลาะ เปน็ ละเมาะละมาบเหมอื งอยกู่ วา้ งใหญ่

ถงึ ลำ� นำ้� “บ้านพลบั ”เขา้ ฉับไว ฉงนใจชกั มา้ ให้หยดุ ยืน”

ค�ำกลอนชี้ให้เห็นชัดถึงเส้นทางโบราณว่า ขุนแผนพา 
นางวนั ทองขม่ี า้ สหี มอกออกมาทางประตตู าจอม ซงึ่ เปน็ ชอ่ื ประต ู
เมืองสุพรรณ ขี่ม้ามาถึงวัดตะลุ่ม ผ่านดอนก�ำยานพ้นเมือง
สพุ รรณ ผา่ นไผแ่ ปลกแม่ ผา่ นบา้ นบางพลบั อ.สองพน่ี อ้ ง ต่อ
ด้วยเข้าเขตอู่ทอง สีหมอกแล่นไล่จนลายตาเลยมาบ้านกล้วย
ยุ้งทะลาย ถงึ เขาพระท่ีเคยเขามาไหวฯ้ ลฯ

204  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร

ศาล “ขุนแผน”

ภาพ ศาลขนุ แผน บ้านตะลมุ่ ทีม่ ีอายุนบั ร้อยปี

ศาล “ขุนแผน” ตรงกับเส้นทางในวรรณคดี “ขุนช้าง
ขนุ แผน” ทว่ี ดั ตะลมุ่ อ.บางปลามา้ จ.สพุ รรณบรุ มี ที ศั นยี ภาพอนั
งดงามนกั ขนุ แผนพานางวนั ทอง ขมี่ า้ หนอี อกจากเมอื งสพุ รรณ 
ทางประตูตาจอมมาถึงท่ีแห่งนี้ วัดตะลุ่มโปง คือยุทธศาสตร์
ส�ำคัญในการเดินทัพสมัยโบราณใช้ควายเทียมเกวียน เดินทาง
ไปเมอื งกาญจนบรุ ีสองวันครง่ึ หากใช้ม้าย่อมเรว็ กว่าเท่าตวั

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  205 

ภาพ คุ้มขุนแผน ทใ่ี ชช้ อื่ ตามศาลขุนแผน แตเ่ ดิมมา

ศาล “ขนุ แผน” โบราณแหง่ แรกและแหง่ เดยี วในสพุ รรณบรุ ี
ท่ีสุดของต�ำนานท้องถิ่นที่มีอยู่จริงในประวัติศาสตร์ตรงกับ 
เส้นทางเดินทางในโบราณเร่ืองขุนช้างขุนแผนอายุกว่าหนึ่งร้อย 
แปดสบิ ปี เพราะศาลฯ แหง่ นมี้ มี ากอ่ นชมุ ชน “ลาวพวน” ชดุ แรก 
สิบสองครอบครัวอพยพจากบ้านเก้าห้อง มาต้ังหลักแหล่งที่นี้
เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๘

206  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

ปลงศพ “นางวนั ทอง”
วดั ตะไกร พระนครศรีอยธุ ยา

ภาพ ขุนช้างถวายฎกี า

คดี “จมน่ื ไวย” ลกั พานางวนั ทองจากบา้ นขนุ ชา้ ง ขนุ ชา้ ง
ถวายฎีกาพระพันวษาเรื่องยาวมาถึงขุนแผนด้วย นางวันทอง
ในใจไมไ่ ดร้ กั ขุนช้าง ดังกลอนวา่

“จะวา่ รกั ขนุ ชา้ งกระไรได้ ท่จี ริงใจ“ไมร่ กั เลยสักนดิ ”

แมน้ ทลู ผดิ จะพิโรธไมโ่ ปรดปราน”

แตน่ างวนั ทอง ไมก่ ลา้ ทลู พระพนั วษา กลวั ทา่ นไมช่ อบใจ
นางวันทองจึงตอบเปน็ กลางไวใ้ ห้ท่านทรงเลือกให้

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  207 
“อย่าเลยจะทลู เป็นกลางไว้ ตามพระทยั ทา้ วจะแยกให้แตกฉาน”

นางวันทอง มีความในใจ บอกรักท้งั สามชาย ดงั น้ี

“ความรักขุนแผนกแ็ สนรกั ดว้ ยร่วมยากมานกั ไม่เดยี จฉนั ท”์
“ขนุ ชา้ งอยรู่ ว่ มกันมา คำ� หนกั หาไดว้ า่ ใหเ้ คอื งไม่”
“จม่ืนไวยเล่ากเ็ ลอื ดทีใ่ นอก ก็หยบิ ยกรักเท่ากันกับผัว”

ท�ำให้พระพันวษาพิโรธ โดยเห็นว่าจะรักข้างไหนไม่ว่า 
แตว่ ันทองไมเ่ ลือก พระองค์กล่าวกับพระไวยวา่

“อา้ ยไวยมงึ อยา่ นับเป็นมารดา คนอนื่ ร้วู ่าแม่กข็ ายหนา้ ”

ตามเนอ้ื ความนน้ั เปน็ อนั วา่ ..ทง้ั นางวนั ทองและพระพนั วษา
มองคนละด้าน นางวันทองไม่ได้รักขุนช้าง แต่กลัวว่าจะตอบ 
ไม่ถูกใจพระพันวษา จึงให้พระพันวษาทรงเลือกให้ ข้างพระ 
พนั วษาคงไมร่ ู้จะเลอื กใครเพราะไมใ่ ช่นางวนั ทอง

ภาพ ประหารวนั ทอง มีใบตองรองเลือด

208  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร

พระพันวษาจงึ บอกใหน้ างวนั ทอง ตัดสินใจดว้ ยตวั เอง

“หรือมงึ ไมร่ ักใครใหบ้ อกมา จะรักช้ชู ังผวั มึงกลัวอาย
จะอยดู่ ้วยลูกชายก็ไม่ว่า ตามใจกจู ะใหด้ งั วาจา
แต่นีเ้ บ้อื งหน้าเด็ดขาดไป”

ภาพ ฉากประหารจ�ำลอง หอโบราณคดีเพช็ รบูรณ์อนิ ทราชัย

นางวันทองถูกพระพันวษาสั่งประหารชีวิตด้วยการตัด
ศรี ษะโดยวธิ กี ารฟนั คอทมี่ มี าตง้ั แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาจนถงึ สมยั
รัตนโกสนิ ทร์และไดม้ กี ารเปลี่ยนแปลงวิธกี ารประหาร

ในวนั ที่ ๑๙ ธนั วาคม พ.ศ.๒๔๗๘ ไดเ้ ปลย่ี นโทษประหาร
ตามมาตรา ๑๙ แหง่ ประมวลกฎหมายลกั ษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร  •  209 

วา่ ดว้ ยการประหารชวี ติ จากการ “ใหเ้ อาไปตดั ศรี ษะเสยี ” เปน็
“ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิต ให้น�ำไปยิงเสียให้ตาย” ต่อมาใน
พ.ศ. ๒๕๔๖ จงึ เปลยี่ นมาใชว้ ิธฉี ีดสารพิษแทน

ถ้าหากนางวันทอง..เลือกคนใดคนหนึ่ง เร่ืองก็คงจบลง
แบบไม่มีรสชาติ ไม่มีประเด็นจนถึงวันนี้ว่าวันทองสองใจจริง
หรือไม่ ใครผิด “ศพของนางวันทอง” ได้มาท�ำพิธีปลงศพที่
“วัดตะไกร” ดงั ค�ำกลอน ขนุ แผนตอบนางสายทอง

“ครัน้ ถงึ เขา้ ไปในท่หี ้อง ถามวา่ ศพวันทองน้องอยู่ไหน
ขุนแผนบอกวา่ ฝังวดั ตะไกร แล้วให้คนนำ� ไปโดยฉบั พลัน”

ภาพ วัดตะไกร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

210  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร

ขุนช้างขุนแผน ใช้สถานที่จริงในการเขียน สุพรรณบุรี
กาญจนบุรี พระนครศรีอยุธยา ท�ำให้มองย้อนเห็นเส้นทาง
คมนาคมทางน�้ำแต่โบราณ จากสุพรรณ คลองบางย่ีหน บ้าน
เจ้าเจด็ บ้านวัดตะไกร

จากหนังสือประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓ ตอนที่ว่าด้วย 
แผนท่ีกรุงศรีอยุธยา ฉบับพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ
พระยาโบราณราชธานนิ ทร์ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๗๙ 
หน้า ๑๖๖ ถึง ๑๖๗ ไดก้ ลา่ วถึงตลาดบกรอบกรุงวา่

“ท่ีหน้าวัดตะไกรเป็นตลาดท่าน�้ำ ท่ีหน้าวัดพระเมรุแห่ง
หน่งึ ในจ�ำนวนตลาดนอกกรุงซ่ึงมอี ยูถ่ ึง ๒๓ แหง่ ประกอบกับ 
หลกั ฐานทางดา้ นวรรณคดเี รอื่ งเสภาขนุ ชา้ งขนุ แผน ตามหลกั ฐาน 
ทางโบราณคดีได้สันนิษฐานว่า วัดตะไกรน่าจะสร้างข้ึนในช่วง 
พ.ศ. ๒๐๐๖ ถงึ พ.ศ. ๒๑๗๐ ในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระบรมไตรโลก-
นาถ ขน้ึ มาจนถงึ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม และถกู ทง้ิ รา้ ง
เมื่อคร้ังท่ีเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๑๐ และ
มีหลักฐานว่ามีการกลับมาใช้พ้ืนที่วัดอีกครั้ง เมื่อสมัยรัชกาลท่ี
๔-๕ แห่งกรงุ รัตนโกสนิ ทร”์

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวิหาร  •  211 

“คลองบางยห่ี น”

ภาพ ขุนแผนยกทพั พรอ้ มทหารเอกสามสิบห้าคน

ในวรรณคดอี มตะ “ขนุ ชา้ ง ขนุ แผน” “ไอป้ าน บา้ นชหี น” 
เจา้ ต�ำรบั “จดุ ไฟเผาขน” ขนุ โจรกลบั ใจท่ี “ขนุ แผน” เลอื กใหอ้ อก 
จากคุก เป็นทหารเอกหนึ่งในในสามสิบห้าคนของขุนแผนใน 
“ขนุ ชา้ งขนุ แผน” ตอนทยี่ สี่ บิ เจด็ “ตอนพลายงามอาสา” ขนุ แผน 
ออกจากคกุ อาสาไปรบทพั เชยี งใหมไ่ ดเ้ ลอื กนกั โทษทม่ี วี ชิ าอาคม 
ไปรบด้วย หน่งึ ในนัน้ คือไอ้ปานบา้ นชีหนดังค�ำกลอนดงั นี้

“ขา้ พเจา้ อ้ายพุกอยลู กุ แก เมยี ชือ่ อีแตพระเจา้ ข้า”
................................... ...................................
“ถดั ไปไอป้ าน บ้านชหี น เมียช่อื อีสนปล้นบางปลากด
ผูกขอตาจา่ ยกบั ยายรด เอาไฟจด“จดุ ขน”หลน่ ร่วงไป”

212  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร

ในกลอนดังกล่าวบอกไว้ว่า ไอ้ปาน บ้านชีหน แสดงว่า 
ไอ้ปาน เป็นคน “บ้านชีหน” มีเมียชื่อ “อีสน” เข้าปล้นท ่ี
บางปลากดจับเจา้ ของบ้านคอื ตาจา่ ยกบั ยายรด ผูกคอไว้แลว้
เอาไฟจดุ ขนหลน่ รว่ งไป หมายถงึ “จดุ ไฟเผาขน” นนั่ เอง แสดง
ให้เห็นว่า “ไอ้ปานบ้านชีหน” ไม่ได้มีเจตนาจะฆ่าแค่ขู่ทรมาน
เท่านน้ั

จากประวัติของวัดบางย่ีหน ชื่อเดิม ช่ือว่า “วัดชีหน”
แต่ไม่สามารถน�ำหลักฐานใดๆ มารองรับว่า “วัดชีหน” มีจริง
หรือไม่ จากวรรณคดี “ขุนช้างขุนแผน” อันเป็นท่ีทราบดีว่า
ใชส้ ถานทจ่ี รงิ ในการแตง่ ยอ่ มชช้ี ดั ไดว้ า่ “วดั บางยหี่ น” นนั้ มา
จากชอื่ เดมิ คอื “วดั ชหี น” วดั บางยหี่ นมาจากวดั ชหี น บา้ นชหี น
คือหม่บู า้ นบางยี่หนในปัจจุบัน

วัดบางย่ีหน โด่งดังคนรู้จักเพราะพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ ฯ รชั กาลท่ี ๕ เสด็จประพาสต้น

“วันที่ ๕ สงิ หาคม ๒๔๗๗ เสด็จทอดพระเนตรทว่ี ่าการ
เมืองสุพรรณบุรี วัดมหาธาตุ หลักเมือง และวัดป่าเลไลยก์
แล้วเสด็จโดยทางเรอื ล่องมาประทับแรมท่ีบางปลาม้า ทรงเรอื
พระทนี่ ง่ั เลก็ ประพาสทางใต้ ประทับเสวยพระกระยาหารค�่ำที่
วดั บางยีห่ น”

ตามประวัติวัดบางยี่หน ต้ังเม่ือปี พ.ศ. ๒๓๕๐ เดิม 
ชื่อ วัดบางชีหน ประมาณปี พ.ศ.๒๔๒๐ ได้เปล่ียนแปลงชื่อ
วัดเป็น “วัดบางย่หี น” ปัจจุบันวดั บางยีห่ น ต้งั อยู่ที ่ ต.ตะคา่
อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  213 

ตามประวตั วิ า่ วดั บางยหี่ น สรา้ ง พ.ศ.๒๓๕๐ สมยั รชั กาล
ที่ ๑ สมเด็จพระพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก วรรณคดีขุนช้าง
ขุนแผน ผู้แต่งใช้พ้ืนที่จริงเป็นฉาก วัดชีหน บ้านชีหนจึงเป็น
ชอื่ ดง้ั เดิมตง้ั แต่โบราณมากอ่ นจนมาถึงปี พ.ศ.๒๔๒๐ หลังสร้าง
วัดเจด็ สบิ ปี โดยไมท่ ราบสาเหตนุ า่ จะเป็นการเพ้ียนเสียงคลอง
“บางย่ีหน” หรือหากเป็นภาษาก็อาจจะเป็นการขุดคลองสอง
คลองเชอื่ มกัน จงึ ใช้ค�ำวา่ “ย”่ี ซ่งึ แปลวา่ สองก็เปน็ ได้ แตเ่ ดมิ
เชอื่ วา่ ชอื่ คงมาจากทวี่ ดั สรา้ งอยปู่ ากคลองบางยห่ี นจงึ น�ำเอาชอ่ื
คลองมาตั้งชอ่ื วัด

“คลองบางยหี่ น” เปน็ คลองโบราณเสน้ ทางสพุ รรณบรุ ไี ป 
อยุธยา ประวัติวัดเรียกช่ือวัดน้ีว่า “วัดชีหน” และกลายเปน็
“วดั บางยห่ี น” ในทสี่ ดุ วดั บางยหี่ นชอื่ เดมิ ชอื่ วา่ “วดั ชหี น” เพยี ง
แต่ไม่สามารถน�ำหลักฐานใดๆ มารองรับว่า “วัดชีหน” มีจริง 
หรอื ไม?่ แตจ่ ากวรรณคดี “ขนุ ชา้ งขนุ แผน” อนั เปน็ ทท่ี ราบดวี า่  
ใช้สถานที่จริงในการแต่ง ย่อมช้ีชัดได้ว่า “วัดบางย่ีหน” นั้น 
มชี อ่ื เดมิ คอื “วดั ชหี น“ สรปุ ไดว้ า่ “วดั ชหี น” คอื “วดั บางยหี่ น” 
ต.ตะคา่ อ.บางปลามา้ จ.สพุ รรณบรุ ี ทางลดั ทางนำ้� โบราณสมยั
อยุธยาปรากฏในวรรณคดเี สภาขนุ ช้าง ขุนแผน

คลองบางย่ีหน ใช้เป็นเส้นทางลัดจากสุพรรณไปอยุธยา
ท้ังยามปกติและยามสงครามต่อเนื่องกันถึง พ.ศ.๒๓๑๐ ปีท่ี
เสียกรุงศรีอยุธยา มาใช้ใหม่อีกคร้ังในสมัยรัชกาลที่ ๕ จนถึง
รัชกาลที่ ๖

214  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร

ภาพ คลองบางยห่ี น

หลกั ฐานในวรรณคดี “เสภาขนุ ชา้ ง ขนุ แผน” ตอนที่ ๓๓
“แต่งงานพระไวย” (พลายงาม) กล่าวถึง “นางวันทอง” ไป
งานแตง่ งานพระไวยบตุ รชาย โดยไปทางเรอื ลงเรอื ใหญพ่ ายลดั
มาทางคลองบางยี่หนผ่านเจ้าเจ็ดถึงอยุธยา ท่าบ้านวัดตะไกร  
ดังค�ำกลอน ต่อไปน้ี

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร  •  215 

“ใหข้ า้ คนขนของลงเรอื ใหญ่ บา่ วหลามตามไปอย่พู รอ้ มหน้า

วันทองลงเรือไดไ้ พร่จำ้� มา โยนยาวฉาวฉ่าสนั่นไป

เข้าลัดตดั ทางบางยี่หน ประเดี๋ยวดน้ ออก“บา้ นเจา้ เจด็ ”ได้

ถงึ กรุงจอดตะพานบ้านวัดตะไกร ให้บ่าวไพร่ขนของขึ้นฉบั พลนั ”

เส้นทางลัด บ่งชัด บางย่ีหน ไป “เจ้าเจ็ด” ข้ึนที่ท่าวัด 
ตะไกร ทา่ นำ้� ส�ำคญั หนง่ึ ในยสี่ บิ สามทา่ เสน้ ทางนำ�้ คลองสระบวั  
อยุธยา วัดตะไกรเป็นท่ีปลงศพนางวันทอง “คลองบางยี่หน 
จึงเป็นทางลัดมาแต่โบราณกาล อย่างน้อยก็ไม่ต่�ำกว่าต้นกรุง 
รัตนโกสินทร์ เพราะเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ได้แต่งเติมมาถึง
รัชกาลท่ี ๔ อีกหลายตอน โดยมีฉากพ้นื ท่สี ถานทีจ่ รงิ

อาหารในวรรณคดขี ุนชา้ ง ขนุ แผน

“ไกต่ ้มปลาร้า” สูตรนางศรปี ระจัน
“ไกต่ ม้ ปลารา้ ” สตู รนางศรปี ระจนั เปน็ อาหารทนี่ างท�ำให้

พันศรโยธาสามีกิน อาหารโบราณจานเด็ดเมืองสุพรรณ จาก 
วรรณคดชี อื่ ดงั ขนุ ชา้ งขนุ แผน อาหารโบราณจานนห้ี ายสาบสญู
ไปจากเมอื งสพุ รรณนานมาแลว้ สพุ รรณบรุ เี ปน็ เมอื งอดุ มสมบรู ณ์
“มปี ลามากมาย” ในนริ าศสพุ รรณ “สนุ ทรภ”ู่ ระบถุ งึ การท�ำปลา 
แหง้ ปลายา่ ง ปลารา้ สพุ รรณบรุ มี หี มบู่ า้ นชอ่ื บางปลารา้ ปลารา้
จึงเปรียบเหมือนต�ำนานอาหารเมอื งสุพรรณเลยเชียว

216  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร

ภาพ นางศรีประจนั ระเบยี งคดวดั ป่าเลไลยก์

เรอื่ งขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอน “นางวนั ทองหลงเชอื่ วา่ พลายแกว้  
ตาย” นางร้องไหจ้ นเปน็ ลมล้มพบั ไป รอ้ นถึง “นางศรปี ระจัน” 
ตอ้ งอมุ้ “นางวนั ทอง” ลงเรอื กลบั บา้ น เมอ่ื นางวนั ทองฟน้ื ขนึ้ มา 
ก็พร่�ำร�ำพันถึง “พลายแก้ว” ตลอดเวลา ท�ำให้นางศรีประจัน 
คิดถึง “พันศรโยธา” สามี เม่ือคร้ังยังสาวที่อยู่ด้วยกันแบบ
ครอบครัวท�ำอาหารเอง

“เลยรอ้ งไห้ไหลเลอ่ เพอ้ ร�ำพัน ถึงผวั ขวญั ของแกทตี่ กั ษยั
เมยี เคยปรนนิบตั ไิ ม่ขดั ใจ รบกนิ “ไก่ตม้ ปลารา้ ” ไม่ราวนั ”

“รบกนิ ” ไกต่ ม้ ปลารา้ “ไมร่ าวนั ” แสดงวา่ นางศรปี ระจนั
ต้องท�ำให้ “พันศรโยธา” กินทุกวัน มันน่าสนใจตรงนี้ไก่ต้ม

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร  •  217 

ปลารา้ ต�ำรบั นางศรปี ระจนั มวี ธิ กี ารปรงุ อยา่ งไรไมท่ ราบชดั ได้
แต่เดาเอาเองวา่ คือไก่ต้มด้วยนำ้� ปลารา้ นั่นเอง

“ไขต่ ้ม ยางมะตูม” ต�ำรบั “นางศรีมาลา”

ภาพ นางศรีมาลา ระเบียงคดวัดป่าเลไลยก์

“ไขต่ ม้ ยางมะตมู ” ต�ำรบั นางศรมี าลา ผหู้ ญงิ กนิ ได้ ผชู้ าย 
กนิ ดกี วา่ แนน่ อน ทมี่ าของไขต่ ม้ ยางมะตมู นนั้ เปน็ อาหารทน่ี าง
ศรมี าลาท�ำใหพ้ ลายงาม สามกี นิ เปน็ การบ�ำรงุ รา่ งกาย พลายงาม 
ได้น�ำมาบอกเล่าใหพ้ ลายชุมพลฟัง ดังนี้

218  •  สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร

“ยงั อกี ส่งิ หนึ่งกด็ ี จะชี้แจง อตุ สา่ หแ์ ตง่ ให้หมอ่ มพี่ กินดีครนั
พ่ีเสาะซอ้ื ไขไ่ ก่ ไขเ่ ตา่ นา ท�ำนำ้� ปลา แมงดา หัวหอมหั่น
แตล่ กั ขะณะ ตม้ ไข่ ให้สำ� คัญ ถา้ ต้มดี แล้วมีมัน ขยันนัก
ถ้าตม้ สกุ เสียสนิ้ แล้วกินจดื ต้มภอยดึ เยอะเป็น “ยางมะตมู ”ตกั
กินกะเข้า สน้ิ ชาม สกั สามพกั กนิ แต่หวั ค่�ำ แล้วคักตลอดคนื ”

คัก แปลว่า ดีท่ีสุด ยอดเยี่ยมสุดยอด เช่น “ม่วนคักๆ”
คือสนุกจรงิ ๆ จะเห็นวา่ มีรายการอาหาร ดงั น้ี

๑. ไขไ่ ก่ กับ ไข่เตา่ นา
๒. นำ้� ปลา แมงดา ห่ันหวั หอม
ตม้ ไข่ “ภอยดึ เยอะเปน็ ยางมะตมู ตกั ” ลกั ษณะ คอื พอ
เหนยี ว ตกั แลว้ ไมข่ าด ประมาณนน้ั จดุ ประสงคข์ องตม้ ไข่ นาง 
ศรมี าลา พลายงามบอกนอ้ งวา่ “กนิ กะเขา้ สนิ้ ชามสกั สามพกั กนิ  
แตห่ วั คำ�่ แลว้ คกั ตลอดคนื ” ไขต่ ม้ ยางมะตมู มแี นวทางวา่ ชายกนิ  
น่าจะมผี ลกวา่
นางศรีมาลา เป็นลูกพระพิจิตรกับ นางบุษบา นางเป็น
หญิงท่ีงดงามท้ังรูปร่างหน้าตา กิริยา มารยาท งามน้�ำใจ นาง
ไดแ้ ตง่ งามกบั พลายงามพรอ้ มกบั นางสรอ้ ยฟา้ นางเกง่ การบา้ น
การเรือน รวมทั้งการท�ำอาหาร เมื่อนางมาจากเมืองพิจิตร 
กส็ ามารถพดู ไดว้ า่ ไขต่ ม้ ตอ้ ง “ไขไ่ ก่ กบั ไขเ่ ตา่ นา” ยางมะตมู
สูตรเมืองพิจติ ร


Click to View FlipBook Version