The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การคิด มัธยม สังคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การคิด มัธยม สังคม

การคิด มัธยม สังคม

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพอื่ พัฒนาทักษะการคิด

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


กลุ่มสาระการเรียนร้


สงั คม
ศกึ ษา

ศาสนา และวฒั นธรรม


ระดบั มัธยมศกึ ษา


กลุ่มพัฒนากระบวนการเรียนรู้

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน


๒๕๕๕

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอื่ พฒั นาทกั ษะการคิด

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมธั ยมศกึ ษา





สงวนลขิ สิทธ ิ์ กล่มุ พัฒนากระบวนการเรยี นร
ู้
สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


พิมพ์ครัง้ ที่ ๒ ๒๕๕๕


จำนวนพิมพ ์ ๔,๐๐๐ เล่ม


ผจู้ ัดพมิ พ ์ กลุ่มพฒั นากระบวนการเรียนร
ู้
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร


พมิ พ์ที่ โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด

๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐

โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑

นายโชคดี ออสุวรรณ ผพู้ ิมพผ์ โู้ ฆษณา

คำนำ


ตามทีก่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใชห้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช

๒๕๕๑ การจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรดังกล่าว ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนทางด้านการคิด

และกำหนดไว้เป็นสมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรียน ด้วยถือว่าเป็นทักษะท่ีจะนำไปสู่การสร้างความร



และการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน



จึงมีนโยบายส่งเสริมให้มีการนำทักษะการคิดลงสู่การปฏิบัติในห้องเรียนอย่างเป็นรูปธรรม


ด้วยการจัดทำแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดบูรณาการใน ๘ กลุ่มสาระ


การเรียนรู้ สอดคล้องตามตัวช้ีวัดและธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลักสูตร



แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำหรับเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนำไปใช้ใน



การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในการจัดทำเอกสารได้แยกเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละกลุ่มสาระ


การเรียนรู้ จัดทำเป็น ๒ เล่ม คือ ระดับประถมศึกษา ๑ เล่ม และระดับมัธยมศึกษา ๑ เล่ม



รวมเอกสารแนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู พอื่ พฒั นาทกั ษะการคิดท้ังชดุ มี ๑๖ เล่ม


สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารแนวทาง



การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา ครู อาจารย์ และผู้ที่สนใจนำไปใช้



ในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการคิด อีกท้ังขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารน
้ี


ใหส้ ำเรจ็ ลุล่วงด้วยดี








(นายชนิ ภทั ร ภมู ริ ัตน)

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

คำช้ีแจง


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลาง


การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวทางการจัดกิจกรรม


การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ซ่ึงเป็นสมรรถนะหลักสมรรถนะหน่ึงตามหลักสูตรแกนกลางฯ


ที่สอดคล้องตามตัวชี้วัดและธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ สำหรับครูผู้สอนเลือกนำไปใช้
ในการจัดการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเกิดทักษะ
ทางด้านการคิด สำหรับเอกสารนี้ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด
กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศกึ ษา

สาระสำคัญในแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดฯ

ประกอบด้วย ๓ ส่วน ดงั นี้

๑. การวิเคราะห์ตวั ชวี้ ัดสกู่ ารพัฒนาทกั ษะการคิด มีองคป์ ระกอบดังน
ี้
๑.๑ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีกำหนด

ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๑.๒ ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได้ เป็นการวิเคราะห์จากตัวช้ีวัดให้เห็นว่าในแต่ละตัวชี้วัด


ผูเ้ รยี นควรจะมีความรอู้ ะไรบ้าง และสามารถปฏิบัติสง่ิ ใดไดบ้ า้ ง

๑.๓ ทักษะการคิด เป็นการวิเคราะห์ทักษะการคิดที่สัมพันธ์กับตัวช้ีวัดในแต่ละตัว
ซ่ึงเป็นกระบวนการสำคัญท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการคิดไปสู่การสร้างช้ินงาน/ภาระงานได้สอดคล้อง
ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด

๑.๔ ชิ้นงาน/ภาระงาน เป็นการวิเคราะห์ช้ินงาน/ภาระงานที่สะท้อนความสามารถ
ของผ้เู รยี นจากการใช้ความรู้ และทกั ษะการคดิ ที่กำหนดไวซ้ ึง่ สอดคลอ้ งตามตัวชีว้ ัด

๑.๕ แนวการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด เป็นการระบุกระบวนการ

ของการคดิ ท่ีจะนำไปจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนเกดิ ทักษะการคดิ ตามทีว่ ิเคราะหไ์ ด้จากตวั ช้วี ัด

๒. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาทักษะการคิด มีองค์ประกอบดังนี

๒.๑ ตัวชี้วัด เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์/เช่ือมโยงของแต่ละตัวชี้วัดที่สามารถ

นำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ในแต่ละชั้นปี/ภาคเรียน ซึ่งอาจมาจากกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน


หรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดบางตัวอาจต้องฝึกซ้ำ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านทักษะ
การคดิ ใหส้ อดคล้อง ตามมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด

๒.๒ ความคิดรวบยอด เป็นการวิเคราะห์แก่นความรู้แต่ละตัวช้ีวัดที่ผู้เรียนจะได้รับ
จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามตัวชี้วดั ในขอ้ ๒.๑

๒.๓ สาระการเรียนรู้ เป็นสาระการเรียนรู้ที่นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ตามตัวชีว้ ัด

๒.๔ ทักษะการคิด เป็นทักษะการคิดที่นำมาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องตามมาตรฐาน


การเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั ที่วิเคราะห์ไว้ตามขอ้ ๒.๑

๒.๕ ช้ินงาน/ภาระงาน เป็นช้ินงาน/ภาระงานท่ีสะท้อนความสามารถของผู้เรียน

และทกั ษะการคิดตามตวั ชีว้ ัดที่นำมาจดั กจิ กรรมรวมกนั

๒.๖ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นเทคนิค/วิธีการสอนท่ีจะใช้ในการพัฒนาผู้เรียน
และนำไปสู่การสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน และสอดแทรกด้วยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิด


ที่กำหนดไว้ใหค้ รบถ้วนตามขอ้ ๒.๔

อน่ึง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์/เชื่อมโยงของแต่ละตัวช้ีวัดเพ่ือจัดกลุ่มสำหรับนำมา

จัดกจิ กรรมการเรียนรู้รว่ มกนั ตามข้อ ๒ เป็นการเสนอเพือ่ เปน็ ตัวอยา่ ง ในทางปฏบิ ัติครูผสู้ อนสามารถ


ปรับเปล่ียนหรือพัฒนาเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม ท้ังนี้เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน


ในการพฒั นาทกั ษะการคดิ


๓. ตัวอย่างการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ เป็นการนำผลการวิเคราะห์การจัดกิจกรรม

การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดจากข้อ ๒.๑-๒.๖ สู่การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยวิธีการคิด

แบบย้อนกลบั (Backward Design) ใน ๓ ขั้นตอน ดังนี้

การกำหนดเป้าหมายการเรยี นรู้

การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้

การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้




สารบัญ


หนา้


คำนำ

คำช้แี จง

สารบญั


สรุปทกั ษะการคดิ จากการวเิ คราะหต์ ามตัวชวี้ ดั ท่ีนำมาใช้ในการพฒั นาผ้เู รยี นในแต่ละระดับชัน้


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑


การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ัดสกู่ ารพฒั นาทกั ษะการคดิ ๓


การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ๓๓


ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ๗๑


การวเิ คราะห์ตัวชวี้ ดั สู่การพัฒนาทกั ษะการคิด ๗๓


การจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ ๑๐๓


ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๑๓๕


การวิเคราะหต์ ัวชว้ี ดั สู่การพัฒนาทกั ษะการคดิ ๑๓๗


การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาทักษะการคดิ ๑๗๑


ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔-๖ ๒๑๑


การวเิ คราะห์ตัวชี้วดั สูก่ ารพฒั นาทักษะการคดิ ๒๑๓


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทักษะการคิด ๒๕๕


ตวั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นร ู้ ๓๑๕


ภาคผนวก ๓๓๗


คณะทำงาน ๓๔๔

สรปุ ทักษะการคดิ จากการวเิ คราะหต์ ามตวั ชวี้ ัดท่ีนำมาใช้ในการพฒั นาผูเ้ รยี นในแตล่ ะระดับชน้ั

กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ทักษะกระบวนการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ ทักษะการหาแบบแผน ทักษะการจดั ระเบยี บ
ทักษะการประเมิน ทักษะการสำรวจค้นหา ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการสำรวจ
ทักษะการรวบรวมขอ้ มลู ทักษะการเรยี งลำดับ ทกั ษะการเชื่อมโยง ทักษะการสรุปอ้างอิง

ม.๔-๖
ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทักษะการทำให้กระจ่าง ทักษะการวิเคราะห์


ทักษะการสังเคราะห์ ทักษะการสร้างความรู้ ทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจ

ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา ทักษะการสรุปลงความเห็น ทักษะการจัดโครงสร้าง
ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ *ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ทักษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์


ม.๓
ทกั ษะการจัดระเบยี บ ทกั ษะการสรุปย่อ ทกั ษะการสำรวจคน้ หา ทักษะการเปรยี บเทยี บ
ทักษะการรวบรวมข้อมูล ทักษะการเช่ือมโยง ทักษะการให้เหตุผล


ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทักษะการทำให้กระจ่าง ทักษะการวิเคราะห ์


ทักษะการสังเคราะห์ ทักษะการสร้างความรู้ ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา


*ทกั ษะกระบวนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ ทกั ษะการสำรวจ ทักษะการสรุปลงความเห็น


ทักษะการจัดโครงสร้าง ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะการปรับโครงสร้าง *
ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค


ม.๒
ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการรวบรวมข้อมูล ทักษะการตีความ ทักษะการแปลความ
ทักษะการเชอ่ื มโยง ทกั ษะการสรุปลงความเหน็ ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ ทักษะการวิเคราะห์
ทักษะการสร้างความรู้ *ทักษะการสังเคราะห์ *ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู ้

ทกั ษะการทำใหก้ ระจา่ ง ทกั ษะการจดั โครงสร้าง ทักษะการจดั ระเบยี บ ทักษะการประเมนิ
ทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจ ทักษะการให้เหตุผล ทักษะการสำรวจคน้ หา


ม.๑
ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการสำรวจค้นหา ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการรวบรวมข้อมูล
ทักษะการตีความ ทักษะการเช่ือมโยง ทักษะการสรุปย่อ ทักษะการนำความรู้ไปใช ้


*ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการสังเคราะห์ ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะการจัดโครงสร้าง

*ทกั ษะการสรุปลงความเหน็ ทกั ษะการจัดระเบยี บ ทกั ษะการพสิ จู นค์ วามจริง ทักษะการสรา้ งความรู้
*ทักษะการประเมิน ทักษะการทำให้กระจ่าง ทักษะการให้คำจำกัดความ ทักษะการให้เหตุผล
ทักษะกระบวนการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ทักษะการต้ังสมมติฐาน ทกั ษะการระบ


* ทักษะการคดิ ที่เปน็ จุดเนน้ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑


✦ การวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ดั สกู่ ารพฒั นาทกั ษะการคดิ

✦ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ



✦ การวิเคราะห์ตวั ชวี้ ดั สู่การพฒั นาทักษะการคิด


การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิดเป็นการนำตัวช้ีวัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑
จาก ๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน จำนวน ๔๕ ตัวชี้วัด มาวิเคราะห์รายตัวชี้วัด


ใน ๔ ประเด็น คือ ตัวชี้วัดแต่ละตัวผู้เรียนควรมีความรู้อะไรและทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด ชนิ้ งาน/ภาระงาน และแนวการจัดการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาทักษะ
การคิด ในแต่ละประเด็นจะมคี วามสมั พนั ธเ์ ช่ือมโยงกันและสะทอ้ นคณุ ภาพ
ผเู้ รยี นตามตัวช้ีวัด

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา


หรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติ
ตามหลักธรรม เพ่ืออยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ุข


ตัวชวี้ ัด
ผเู้ รียนรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพ่อื พัฒนาทกั ษะการคดิ


๑. อธบิ าย
ผู้เรียนรอู้ ะไร

๑. ทักษะ

๑. เส้นทาง

๑. ศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู


การเผยแผ

การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
การสรปุ

การเผยแผ

ทเ่ี กี่ยวข้องกับการเขา้ สู่
พระพทุ ธศาสนา
หรือศาสนาทตี่ นนับถอื
ลงความเหน็
พระพทุ ธศาสนา ประเทศไทยของศาสนาทตี่ น
หรือศาสนา
สู่ประเทศไทย มีผลต่อ
๒. ทกั ษะ
หรอื ศาสนา
นบั ถอื

ทต่ี นนับถอื
การนับถือศาสนา ความเช่อื การจัดระเบียบ
ทต่ี นนบั ถอื เข้าสู่ ๒. วิเคราะหค์ วามสำคญั ของ
สู่ประเทศไทย
แนวปฏิบตั ิที่เปน็ วฒั นธรรม ประเทศไทยใน ข้อมูล

และเอกลักษณ์ของ
แผนที่โครงรา่ งทวปี ๓. สรปุ สาระสำคัญของขอ้ มูล
ชาติไทย
เอเชยี และอธิบาย
ที่ศกึ ษาด้วยการเชอ่ื มโยงให้
ผเู้ รยี นทำอะไรได้
๒. บทสรปุ
เหตุผลประกอบ โดยอาศยั
๑. อธิบายการเผยแผ่ สาระสำคัญ

ความรู้ประสบการณห์ รอื
พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ของการเผยแผ
่ ขอ้ มูลอ่ืนเพ่ือใหข้ อ้ มูล

ท่ตี นนบั ถือเข้าสปู่ ระเทศไทย
พระพทุ ธศาสนา มคี วามชดั เจน ถูกต้อง

๒. อธิบายการนบั ถือ

หรือศาสนาทต่ี น ๔. จดั ลำดับข้อมูลตาม

พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา นับถือเข้าส
ู่
เหตุการณส์ ำคญั

ท่ีตนนับถือในประเทศไทย
ประเทศไทย
๕. สรุปสาระท่ีสำคญั

ของการเผยแผ่

๖. จดั ทำเส้นทางการเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา

ท่ีตนนบั ถอื เขา้ สู่ประเทศไทย
ในแผนท่โี ครงรา่ งทวีปเอเชีย


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศึกษา


กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตัวช้ีวดั
ผู้เรยี นรู้อะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคิด


๒. วิเคราะห์ ผู้เรยี นรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ
๑. การนำเสนอผล

๑. ศกึ ษาความสำคัญของ


ความสำคญั พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา
การวิเคราะห์
การวิเคราะห

พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา


ของ
ทีต่ นนับถอื มคี วามสำคญั ๒. ทกั ษะ
ความสำคัญของ ท่ตี นนบั ถือท่ีมีตอ่ สภาพ
พระพทุ ธศาสนา
ตอ่ สภาพแวดลอ้ มและ
การพิสจู น

พระพทุ ธศาสนา
แวดล้อมของสังคมไทย

หรือศาสนา
การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตน
ความจรงิ
หรอื ศาสนาทีต่ น
ในด้านตา่ ง ๆ

ทตี่ นนบั ถอื
ของคนในสังคมไทย

นับถอื ท่มี ีตอ่

๒. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของ
ท่มี ีต่อ

ผเู้ รียนทำอะไรได้

สังคมไทย

พระพุทธศาสนาที่มีต่อสภาพ

สภาพแวดลอ้ ม ๑. บอกความสำคัญของ
๒. ยกตวั อย่าง แวดล้อมของสังคมไทยแต่ละดา้ น

ในสงั คมไทย พระพุทธศาสนาหรือ


ความสำคญั ของ ๓. สรุปความสำคัญของ


รวมทง้ั
ศาสนาท่ตี นนบั ถอื ท่มี ตี ่อ
พระพุทธศาสนา พุทธศาสนาทมี่ ีตอ่ สังคมไทย
การพัฒนาตน สภาพแวดลอ้ มของ

หรอื ศาสนาทตี่ น ในแตล่ ะด้าน

และครอบครัว
สังคมไทย

นบั ถอื ในการ
๔. ศึกษาผลสรปุ ที่ได


๒. บอกหลักธรรมของ
พฒั นาตนเองและ ๕. หาข้อมลู สนบั สนนุ และ

พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา
ครอบครัว
เช่อื มโยง


ทีต่ นนบั ถือท่มี ีอิทธิพล


๖. ยนื ยนั ขอ้ มลู พร้อม


ต่อความเช่ือและแนวทาง

ยกตัวอย่างประกอบ


ปฏบิ ัตขิ องตนเองและ

๗. นำเสนอผลการวเิ คราะห



ครอบครัว


ขอ้ มลู ดว้ ยการอธิบายให้เห็น




อย่างชดั เจน







๓. วิเคราะห

ผู้เรยี นรู้อะไร
๑. ทักษะ

การนำเสนอ ๑. ศึกษาประวตั ศิ าสดาของ
พุทธประวัติ ความเพยี รพยายาม

การวเิ คราะห
์ แนวทางการนำ

ศาสนาที่นักเรยี นนับถอื

ตัง้ แต่ประสตู ิ เป็นหลักธรรมทน่ี ำไปสู่

๒. ทกั ษะ
หลกั ธรรมทไ่ี ดจ้ าก ๒. สรุปพทุ ธประวตั ิหรือ
จนถึงบำเพ็ญ เป้าหมายของชวี ิต
การประยกุ ต

การศึกษาพทุ ธประวัต

ประวัติของศาสดาของ
ทุกรกริ ยิ า ผู้เรียนทำอะไรได
้ ใช้ความร
ู้ ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิต ทนี่ กั เรียนนบั ถือ

หรือประวตั ิ ๑. สรปุ พุทธประวัติตัง้ แต่
ประจำวัน
๓. วเิ คราะห์หลักธรรมสำคัญ

ศาสดา
ประสูตจิ นถงึ บำเพญ็ ทกุ รกิริยา


จากพทุ ธประวัตหิ รือประวัติ
ทีต่ นนับถือ ๒. อธบิ ายหลกั ธรรมสำคัญ



ศาสดาของศาสนาที่นกั เรียน
ตามทีก่ ำหนด
ท่ไี ด้จากการวิเคราะห์



นบั ถือในประเดน็ ประสตู



พุทธประวตั ติ งั้ แตก่ ารประสตู


เทวฑตู การแสวงหาความรู้

จนถึงการบำเพ็ญทุกรกริ ิยา


และการบำเพ็ญทุกรกิริยา


๓. อธิบายการนำหลกั ธรรม


๔. แยกแยะหลกั ธรรม


ท่ีได้ไปเป็นแนวปฏิบตั ใิ นการ

อธิบาย และสรปุ ข้อธรรม

ดำเนินชีวิตของตนเอง


ตามความเขา้ ใจ


แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาทักษะการคิด ระดับมัธยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตวั ช้วี ดั
ผู้เรยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั การเรียนร
ู้
ภาระงาน
เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ







๕. นำเสนอหลกั ธรรม





๖. นำเสนอแนวทางการนำ




หลกั ธรรมประยุกต์ใช






ในชวี ิตประจำวนั







๔. วเิ คราะหแ์ ละ ผเู้ รียนรู้อะไร
๑. ทกั ษะ

การนำเสนอ ๑. รวบรวมและศึกษาประวัติ


ประพฤตติ น แบบอยา่ งการประพฤติ การรวบรวม ประวัตสิ าวก ชาดก สาวก ชาดก เร่อื งเล่า และ


ตามแบบอย่าง
ปฏบิ ัตแิ ละการดำเนินชวี ติ ข้อมูล
เรือ่ งเล่า และ ศาสนกิ ชนตวั อย่าง

การดำเนนิ ชีวิต
ของคนดีก่อให้เกิด
๒. ทักษะ ศาสนกิ ชนตวั อย่าง ๒. สรุปประวัติ สาวก ชาดก
และข้อคดิ ความศรทั ธาและเปน็
การนำความรู้ ตามท่สี นใจ
เรอื่ งเล่า และศาสนกิ ชน
จากประวตั ิ แรงจูงใจใหป้ ฏิบัติตาม
ไปใช
้ พรอ้ มทั้งสรุปขอ้ คดิ
ตัวอยา่ ง

สาวก ชาดก ผเู้ รียนทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ
และแบบอยา่ ง
๓. วิเคราะห์ และดึงขอ้ คดิ /

เรอ่ื งเล่า และ ๑. บอกแบบอยา่ ง

การสรุป
การดำเนินชีวติ
แบบอย่างในการดำเนนิ ชวี ติ

ศาสนิกชน
การดำเนินชีวติ และข้อคดิ

ลงความเห็น

๔. นำเสนอประวตั ิ และ

ตวั อยา่ งตาม ทไ่ี ด้จากการศึกษาประวัต



แบบอยา่ ง/ข้อคิดทไ่ี ด

ทีก่ ำหนด
สาวก ชาดก เรอื่ งเลา่



๕. เชือ่ มโยงข้อมูลกบั ชวี ติ


และศาสนิกชนตวั อย่าง


ประจำวนั ของนักเรียน


๒. บอกแนวทางการนำ

๖. สรปุ ความสัมพันธข์ อง

แบบอย่างการดำเนนิ ชีวิต

ขอ้ มูลกับการดำเนินชีวติ

ขอ้ คิดไปประพฤติปฏิบัต


ประจำวัน


ในการดำเนนิ ชวี ติ


๗. นำเสนอแนวทางการนำ





ไปใช้ในชวี ิตประจำวัน







๕. อธบิ าย
ผเู้ รียนรู้อะไร
๑. ทกั ษะ

๑. แผนผังความคดิ
๑. ทบทวนการปฏิบตั ิบูชา


พทุ ธคณุ พุทธคณุ เป็นเครื่องยดึ การสร้างความร
ู้ แสดงโครงสร้าง ด้วยการสวดมนต์บูชาพุทธคุณ

และข้อธรรม เหน่ยี วจิตใจและอริยสจั ๔

๒. ทกั ษะ

ของพทุ ธคุณ และ ๒. ศกึ ษาความหมายของ
สำคัญในกรอบ
เป็นหลกั ธรรมในการปฏบิ ัติ การประยุกต

อริยสัจ ๔
พุทธคุณและอริยสจั ๔

อรยิ สจั ๔ ของพทุ ธศาสนิกชนที่ ใชค้ วามรู้
๒. ยกตวั อย่าง
๓. สรุปเปน็ ความรขู้ อง
หรอื หลกั ธรรม สามารถนำไปใช้เปน็ แนวทาง
ผลทเ่ี กิดจาก

ตนเอง

ของศาสนา
ในการแก้ปญั หา พฒั นา
การบูชาพทุ ธคุณ ๔. เช่อื มโยงความรูใ้ หมก่ บั

ทต่ี นนบั ถือ
ตนเองและครอบครวั ได้

และการปฏบิ ัตติ าม ความรูเ้ ดมิ

ตามทก่ี ำหนด
หลกั อรยิ สัจ ๔








แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พือ่ พฒั นาทักษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั ช้ีวัด
ผูเ้ รียนรู้อะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ


เหน็ คณุ คา่ ผูเ้ รียนทำอะไรได



๕. ประยุกตใ์ ช้ความรู้ในชวี ิต
และนำไป ๑. อธบิ ายพุทธคุณ ๙



ประจำวัน

พฒั นา
และขอ้ ธรรมในกรอบ



๖. จัดทำแผนผังความคิด

แกป้ ัญหาของ อรยิ สัจ ๔


แสดงโครงสร้างพุทธคุณและ


ตนเองและ ๒. อธบิ ายข้อธรรมในกรอบ

อริยสัจ ๔

ครอบครัว
ของอรยิ สจั ๔ ในการนำไป

๗. นำเสนอแผนผังความคดิ


พฒั นา และแก้ปญั หาของ

โครงสรา้ งพุทธคุณและ


ตนเองและครอบครวั


อริยสจั ๔







๖. เห็นคณุ คา่ ของ ผ้เู รียนรู้อะไร
๑. ทกั ษะ

การแสดงบทบาท ๑. ศึกษาความรเู้ กี่ยวกบั วธิ ี
การพฒั นาจิต การพัฒนาจติ เพ่อื
การวิเคราะห์

สมมติเกยี่ วกับ

การคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร


เพือ่ การเรียนร
ู้
การเรยี นร้แู ละดำเนนิ ชวี ติ ๒. ทกั ษะ
การใชว้ ธิ คี ดิ แบบ ๒. ศึกษากรณีตวั อย่างที่

และการ ดว้ ยวธิ คี ิดแบบโยนโิ สมนสิการ

การประเมนิ
โยนิโสมนสกิ าร เกย่ี วกบั วิธีการคดิ แบบ
ดำเนินชีวิต แบบคุณค่าแท้ คุณค่าเทียม ๓. ทกั ษะ

แบบคุณคา่ แท้ โยนโิ สมนสิการ

ดว้ ยวิธคี ดิ และวิธคี ิดแบบคณุ โทษ การสรุป

คุณค่าเทยี มและ
๓. วเิ คราะหเ์ ช่ือมโยงกรณี
แบบโยนโิ ส และทางออกหรือตามแนวทาง
ลงความเหน็
วิธคี ดิ แบบคณุ โทษ ตวั อย่างว่าสอดคลอ้ งกับ

มนสิการคอื ของศาสนาทต่ี นนบั ถอื

และทางออก

วิธกี ารคดิ แบบใดของ


วิธีคดิ แบบ ผเู้ รยี นทำอะไรได

ในชวี ติ ประจำวนั โยนิโสมนสิการ

คุณคา่ แท้ ๑. อธบิ ายการพัฒนาจิตดว้ ย
และอธบิ ายคุณคา่
๔. ศึกษาและทำความเข้าใจ

คณุ ค่าเทยี ม วธิ คี ิดแบบโยนิโสมนสิการ
ทมี่ ตี ่อการเรยี นรู้ วธิ ีคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร


และวธิ คี ิด แบบคุณคา่ แท้ คุณค่าเทียม
และการดำเนนิ ชีวิต
แบบคุณค่าแท้ คุณคา่ เทียม

แบบคุณโทษ และวิธคี ดิ แบบคุณโทษ


และวิธคี ิดแบบคุณโทษและ
และทางออก และทางออกหรือตาม

ทางออก

หรอื การ แนวทางของศาสนาที่ตน

๕. อธิบายหลักการของการคดิ

พัฒนาจิตตาม นบั ถอื


ด้วยวธิ คี ดิ แบบโยนิโสมนสิการ

แนวทางของ ๒. อธบิ ายคุณคา่ ของ


แบบคุณคา่ แท้ คุณคา่ เทยี ม

ศาสนาท่ตี น การพัฒนาจิตตามแนวทาง

และวิธีคิดแบบคณุ โทษ และ

นับถือ
ของศาสนาที่ตนนบั ถือทีม่ ตี ่อ

ทางออกในชวี ิตประจำวนั

การเรยี นรูแ้ ละดำเนนิ ชีวติ


และอธบิ ายคณุ คา่ ที่มีตอ่


๓. แสดงบทบาทสมมติ


การเรยี นรแู้ ละดำเนินชีวิต


เกีย่ วกับการใชว้ ิธีคดิ แบบ


๖. แสดงบทบาทสมมต



โยนโิ สมนสิการ


แสดงวธิ ีการคดิ แกป้ ัญหา




ด้วยโยนโิ สมนสกิ าร








แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับมัธยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตวั ช้วี ดั
ผเู้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรียนร
ู้
ภาระงาน
เพื่อพฒั นาทกั ษะการคิด


๗. สวดมนต ์
ผ้เู รยี นรู้อะไร

๑. ทกั ษะ
การนำเสนอ ๑. ทบทวนวิธีการบริหารจิต


แผ่เมตตา การสวดมนตแ์ ละแผ่เมตตา การวเิ คราะห์
แนวทางการนำวิธี และเจรญิ ปัญญาตามท่เี คย


บรหิ ารจติ

บรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา ๒. ทกั ษะ
การบรหิ ารจิตและ ปฏบิ ัตมิ า

และเจรญิ ดว้ ยอานาปานสตหิ รือ
การประเมนิ
เจริญปัญญาตาม ๒. ศึกษาข้อมลู เก่ียวกบั

ปญั ญาด้วย
ตามแนวทางของศาสนา

๓. ทกั ษะ
แนวทางของศาสนา
การบริหารจติ และเจริญปญั ญา

อานาปานสติ
ท่ตี นนบั ถอื
การสรปุ
ทต่ี นนบั ถอื ไปใชใ้ น ดว้ ยอาณาปานสติหรอื ตาม
หรือตาม ผูเ้ รยี นทำอะไรได
้ ลงความเห็น
ชวี ิตประจำวนั
แนวทางของศาสนาทีต่ นนบั ถือ

แนวทาง
๑. อธิบายหลกั การของ



๓. สรปุ เช่ือมโยงความรูเ้ ดมิ
ของศาสนา

การสวดมนต์ แผเ่ มตตา

และความรู้ท่ไี ด้จากการศึกษา
ที่ตนนบั ถอื บริหารจติ และเจรญิ ปญั ญา



ให้เปน็ ความรใู้ หมข่ องตนเอง

ตามที่กำหนด
ตามแนวทางของศาสนา



๔. อธบิ ายหลกั การบรหิ ารจติ

ทต่ี นนับถอื


และเจริญปญั ญาด้วย


๒. บริหารจติ และเจริญ

อาณาปานสติ หรอื ตามวธิ กี าร

ปญั ญาตามแนวทางของ

ของศาสนาทตี่ นนบั ถือ


ศาสนาทต่ี นนบั ถอื


๕. เชื่อมโยงความรู้เพื่อนำ





ไปใชก้ บั สถานการณป์ ัจจุบนั





๖. นำเสนอแนวทางการนำ




ความร้ไู ปใช้ในชีวิตประจำวนั







๘. วิเคราะห์และ ผเู้ รียนรู้อะไร
๑. ทกั ษะ

ยกตัวอย่าง

๑. ศึกษาหลักธรรมของ
ปฏบิ ตั ิตน
การปฏิบัตติ นตาม

การจดั ระเบียบ
พฤติกรรมของ ศาสนาท่ีตนนบั ถอื และ


ตามหลักธรรม
หลักธรรม ดำรงชีวติ แบบ ๒. ทักษะ
ตนเองที่สอดคลอ้ ง หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ทางศาสนาท่ี พอเพยี งและรักษา

การสร้างความรู้
กบั หลักธรรมของ ๒. นำขอ้ มูลมาเช่ือมโยง


ตนนบั ถอื ใน สง่ิ แวดลอ้ มทำให้สงั คม

๓. ทักษะ

ศาสนาที่ตนนบั ถือ
ให้สอดคลอ้ งสมั พนั ธ์กัน

การดำรงชวี ติ เขม้ แขง็ มคี ุณภาพชวี ิตที่ดี การประยุกต

และเศรษฐกจิ
๓. สร้างความรู้ตามความเขา้ ใจ

แบบพอเพียง และอยู่ร่วมกันอย่างสันตสิ ุข
ใชค้ วามรู้
พอเพยี งเพอื่

ใหเ้ ปน็ ความหมายของตนเอง

และดูแลรักษา ผูเ้ รยี นทำอะไรได

การดแู ลรักษา

๔. นำเสนอและอธิบายความร
ู้
สิ่งแวดล้อม ๑. วเิ คราะห์หลักธรรม


สิ่งแวดลอ้ มและ ๕. เชื่อมโยงความรู้ไปใช้


เพื่อการอยู่ ทางศาสนาท่สี อดคล้องกับ
การอยู่ร่วมกนั กับการดำเนินชีวติ ประจำวนั

ร่วมกันได้ การดำรงชวี ิตแบบพอเพยี ง
อย่างสันติสขุ
๖. ยกตัวอยา่ งพฤติกรรมของ
อยา่ งสนั ติสุข
และการดแู ลรักษา


ตนเองหรอื บคุ คลทว่ั ไป


สิง่ แวดล้อม


ทส่ี อดคล้องกับหลกั ธรรม




ของศาสนาท่ีตนนับถือและ




เศรษฐกิจพอเพียงเพอื่


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาทักษะการคิด ระดบั มัธยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั ชวี้ ดั
ผูเ้ รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั การเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ




๒. เสนอแนวการปฏิบตั ติ น



การดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ มและ


ตามหลักธรรมทางศาสนา

การอยู่รว่ มกนั อย่างสันติสุข


เพือ่ การดำรงชีวติ แบบพอเพยี ง





และการอยู่รว่ มกัน





อยา่ งสันติสุข










๙. วเิ คราะห์ ผูเ้ รยี นรูอ้ ะไร
๑. ทกั ษะ

การนำเสนอ ๑. รวบรวมข้อมูลดา้ นศาสนา


เหตผุ ล
การศึกษาศาสนาอื่น

การรวบรวม

ประสบการณ์

ท่มี ีการนบั ถอื ในประเทศไทย

ความจำเปน็
ทำใหเ้ กิดความเขา้ ใจ

ข้อมูล
ท่ีมีเก่ียวกบั ศาสนา ๒. ศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลักธรรม

ท่ที กุ คนตอ้ ง ในวถิ ชี วี ิตและอยรู่ ว่ มกัน ๒. ทักษะ
อ่ืน ๆ ทน่ี กั เรียน
ของแต่ละศาสนา

ศกึ ษาเรียนรู้ อย่างมคี วามสุข
การวเิ คราะห์
มโี อกาสไดไ้ ปร่วม ๓. นำเสนอหลักธรรมของ
ศาสนาอ่นื ๆ
ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ

กิจกรรม
ศาสนาทน่ี ักเรียนสนใจ


วเิ คราะห์เหตผุ ล

การสรปุ


๔. ต้ังคำถาม “ทำไมทุกคน


ความจำเปน็ ท่ที ุกคนตอ้ ง ลงความเห็น

ต้องเรียนรูเ้ ก่ียวกับหลักธรรม

ศกึ ษาและเรยี นรศู้ าสนา


ศาสนาอ่นื ๆ”


อ่นื ๆ


๕. ศึกษาขอ้ มลู เพ่อื หาคำตอบ





๖. อธิบายเหตุผลท่คี นต้อง






มีความรอบร้เู กีย่ วกับศาสนาอน่ื ๆ





๗. นำเสนอประสบการณ์ทีม่ ี




เกย่ี วกับศาสนาอื่น ๆ







๑ ๐. ปฏิบัตติ นต่อ
ผ้เู รยี นร้อู ะไร
๑. ทักษะ

คมู่ ือการปฏบิ ัติตน ๑. ทบทวนเกีย่ วกบั การปฏิบัต

ศาสนิกชนอน่ื

การยอมรบั และปฏบิ ัตติ น

การวเิ คราะห
์ ในการเขา้ รว่ ม ตนของนกั เรยี น เมื่อเขา้ ร่วม
ในสถานการณ์ ตอ่ ศาสนกิ ชนอืน่ ทีม่ ี ๒. ทกั ษะ
กจิ กรรมทางศาสนา กิจกรรมทางศาสนากับ

ตา่ ง ๆ ได้ วัฒนธรรมตา่ งกัน ทำให

การสรปุ

กบั ศาสนิกชนอน่ื ๆ
ศาสนกิ ชนอืน่ ๆ

อย่าง
มีความเขา้ ใจอันดแี ละ

ลงความเห็น

๒. อภิปรายความเหมอื นและ


เหมาะสม
อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสขุ
๓. ทกั ษะ

ความแตกตา่ งกันของแตล่ ะ

ผูเ้ รยี นทำอะไรได
้ การนำความรู้
ศาสนา


ปฏบิ ัติตนตอ่ ศาสนกิ ชน

ไปใช

๓. สรุปความรูเ้ กีย่ วกับการ

อ่นื ๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง



ปฏบิ ตั ิตนที่ถูกตอ้ งเมอ่ื เข้าร่วม

และเหมาะสม


กจิ กรรมทางศาสนาอนื่ ๆ





๔. จดั ทำคมู่ ือการปฏิบัติตน





อย่างเหมาะสม เมอื่ ต้องร่วม




กจิ กรรมทางศาสนา


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอื่ พฒั นาทกั ษะการคิด ระดบั มัธยมศึกษา


กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตัวชี้วัด
ผเู้ รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ช้ินงาน/
แนวการจัดการเรียนรู

ภาระงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ


๑๑. วิเคราะห ์ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ
การนำเสนอผลการ ๑. สำรวจค้นหาบุคคล


การกระทำ

บุคคลท่ีเป็นแบบอย่าง การสำรวจ วิเคราะห์พฤตกิ รรม

ด้านศาสนสมั พนั ธใ์ นชุมชน

ของบคุ คลที่
ดา้ นศาสนสมั พนั ธ์ มสี ่วน คน้ หา
ของบคุ คลท่เี ป็น ๒. วเิ คราะหแ์ ละบอก
เปน็ แบบอย่าง

ทำใหเ้ กิดความเขา้ ใจอนั ดี ๒. ทักษะ
แบบอยา่ งดา้ น
คุณลักษณะคนดที ี่ตนรูจ้ ัก
ด้านศาสน- ต่อกันของศาสนิกชน
การวเิ คราะห์
ศาสนสมั พนั ธ
์ และคดั เลือกคนดใี นด้าน


สมั พันธ์ ต่างศาสนา
๓. ทกั ษะ
และนำเสนอ ตา่ ง ๆ ของคนในสังคม

และนำเสนอ ผู้เรยี นทำอะไรได
้ การสรปุ
แนวทางการปฏิบตั ิ ๓. บันทึกขอ้ มลู แผนที่คนดี

แนวทาง

๑. วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรม/

ลงความเหน็
ของตนเอง
๔. วเิ คราะห์พฤตกิ รรมของ
การปฏิบตั ิ การกระทำของบุคคลทเี่ ป็น
คนดที างด้านศาสนา

ของตนเอง
แบบอยา่ งด้านศาสนสมั พนั ธ
์ ๕. สรุปพฤติกรรมของบุคคล


๒. นำเสนอแนวทาง

ด้านศาสนสัมพันธแ์ ละ


การปฏบิ ัติตนในการเป็น

นำเสนอผลการวเิ คราะห์

ศาสนสมั พันธ
์ ๖. นำเสนอแนวทาง

การปฏบิ ตั ิของตนเอง


10 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มัธยมศกึ ษา


กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา

หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถือ


ตวั ชี้วัด

ผ้เู รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคดิ
ช้ินงาน/
แนวการจัดการเรียนร
ู้
ภาระงาน
เพือ่ พฒั นาทักษะการคิด


๑. บำเพญ็ ผ้เู รียนรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ
การปฏบิ ตั ิกิจกรรม
๑. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกบั

ประโยชนต์ ่อ การบำเพญ็ ประโยชนต์ อ่ การวิเคราะห
์ บำเพญ็ ประโยชน์

การบำเพญ็ ประโยชน์ตอ่

ศาสนสถาน ศาสนสถานของศาสนาท
่ี
๒. ทกั ษะ
ต่อศาสนสถาน

ศาสนสถานของศาสนาทต่ี นนบั ถือ

ของศาสนา
ตนนับถือเปน็ หน้าท่ขี อง
การสรปุ

ของศาสนา

๒. วเิ คราะห์โครงสรา้ งของข้อมูล

ท่ีตนนบั ถือ
ศาสนกิ ชนทุกคน
ลงความเหน็
ท่ตี นนับถอื
๓. จดั และนำเสนอโครงสรา้ งขอ้ มูล


ผู้เรียนทำอะไรได
้ ๓. ทกั ษะ

๔. สรปุ การเปลย่ี นแปลง



๑. บอกวิธแี สดงออกถึง

การประยกุ ต์

ในทางเส่ือมตง้ั แต่อดตี ถึงปัจจบุ ัน



การบำเพ็ญประโยชนต์ ่อ

ใชค้ วามร
ู้
เก่ยี วกับศาสนาทต่ี นนบั ถือ


ศาสนสถานของศาสนา



๕. อภปิ รายและสรปุ กระบวนการ



ท่ตี นนบั ถอื


บำเพ็ญประโยชนต์ ่อศาสนสถาน


๒. บำเพญ็ ประโยขน์ต่อ


๖. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการบำเพญ็

ศาสนสถานของศาสนา



ประโยชนต์ ่อศาสนสถานของ

ทต่ี นนับถอื


ศาสนาทต่ี นนบั ถอื







๒. อธิบาย ผู้เรียนรู้อะไร
๑. ทักษะ

สมดุ ภาพเกย่ี วกบั ๑. ศกึ ษาและรวบรวมข้อมูล
จรยิ วัตรของ จริยวตั รของสาวกท่ีด

การวเิ คราะห์
จริยวัตรของสาวก

เกี่ยวกับจริยวตั รของพระภิกษุ
สาวกเพื่อเป็น เปน็ แบบอยา่ งการประพฤติ ๒. ทกั ษะ
และการปฏบิ ตั ิตน หรือสาวกของศาสนาท่ีตนนบั ถือ

แบบอย่าง
ปฏบิ ัตติ นของศาสนิกชน
การสรปุ

อยา่ งเหมาะสม
๒. จำแนกข้อมูลจริยวัตรของ
ในการ ผูเ้ รียนทำอะไรได
้ ลงความเหน็
ต่อสาวก
สาวกดา้ นการศาสนาและอนื่ ๆ

ประพฤติ ๑. ระบุและอธบิ ายจริยวตั ร
๓. วเิ คราะห์จรยิ วัตรของ
ปฏิบตั ิและ ของสาวกทีเ่ หมาะสม
สาวกดา้ นการศาสนา

ปฏบิ ตั ิตน ในการปฏิบัต
ิ ๔. สรุปและอธิบายจริยวัตร
อย่างเหมาะสม
๒. ปฏบิ ัติตนอย่างถูกต้อง

ของสาวกทเ่ี ปน็ แบบอย่าง

ตอ่ สาวกของ เหมาะสมตอ่ สาวกของ

ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ

ศาสนาที่ตน
ศาสนาท่ตี นนับถอื
๕. อภิปรายและสรปุ หลักการ
นบั ถอื
ปฏบิ ัติตนอยา่ งถูกต้อง


ตอ่ สาวกของศาสนาทีต่ นนบั ถอื

๖. จดั ทำสมุดภาพเกย่ี วกบั
จริยวัตรของสาวกและการ
ปฏบิ ัตติ นอยา่ งเหมาะสมตอ่ สาวก


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่อื พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับมธั ยมศึกษา
11

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตัวช้ีวดั
ผเู้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด
ช้ินงาน/
แนวการจดั การเรยี นรู้

ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด


๓. ปฏิบัติตน ผู้เรียนรอู้ ะไร

๑. ทักษะ

๑. สมุดภาพ ๑. ทบทวนการปฏิบัติตนตาม
อยา่ งเหมาะสม
การปฏิบัติตนท่เี หมาะสม

การวิเคราะห
์ ประกอบการศกึ ษา หลักศาสนาท่ีเหมาะสมตอ่
ตอ่ บุคคล
ต่อบุคคลต่าง ๆ ตาม

๒. ทกั ษะ
การปฏบิ ัติตนอยา่ ง บุคคลตา่ ง ๆ

ตา่ ง ๆ

หลกั ศาสนาทำใหส้ ังคม
การสรุป
เหมาะสมกบั บุคคล ๒. วิเคราะหแ์ ละทำความเขา้ ใจ

ตามหลัก อยูร่ ่วมกันได้อย่างสนั ติสขุ
ลงความเหน็
ต่าง ๆ ตามหลัก
จากแบบอย่างการปฏบิ ตั จิ าก
ศาสนาท่ตี น ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ ศาสนาทีน่ ับถอื
ส่ือการเรียนรู้

นับถือตาม
๑. ปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสม
การนำความร
ู้ ๒. การสาธิต
๓. สรุปวธิ กี ารปฏบิ ัติตนท่ถี ูกตอ้ ง

ที่กำหนด
ต่อบุคคลตา่ ง ๆ ตาม
ไปใช
้ การปฏบิ ตั ิตน

และฝึกปฏบิ ัติตามขั้นตอน


หลกั ศาสนาทต่ี นนบั ถอื

อยา่ งเหมาะสม
ให้มีความถูกต้องสวยงาม


๒. จดั โตะ๊ หม่บู ูชาแบบหมู่
มีมารยาท

๔. จดั ทำสมดุ ภาพประกอบ

๔ ๕ ๗ ๙

ตามหลักศาสนา
การศกึ ษาเกยี่ วกับการปฏิบัติ



ตามทกี่ ำหนด
ตนอย่างเหมาะสมตอ่ บุคคล




ตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาทีน่ บั ถอื







๔. จดั พิธกี รรม ผูเ้ รียนรอู้ ะไร
๑. ทกั ษะ

การสาธติ การจัด
๑. รวบรวมข้อมูลเกย่ี วกบั


และปฏิบัติตน การจัดพธิ ีกรรมทถ่ี กู ต้อง

การจดั โครงสรา้ ง
ตงั้ โต๊ะหมบู่ ูชา

รปู แบบของการจัดพิธีกรรม
ในศาสนพธิ ี เกิดจากการปฏิบตั ิตน

๒. ทกั ษะ

ในการประกอบ และการปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธ

พธิ ีกรรม
อยา่ งถูกตอ้ งในศาสนพิธี การจำแนก พธิ ีกรรม
๒. จำแนกประเภทของ
ได้ถกู ต้อง
พิธีกรรมต่าง ๆ
ประเภท
ทางศาสนา
พธิ ีกรรม


ผู้เรยี นทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ

๓. จดั รปู แบบ/โครงสร้างของ

๑. จดั พธิ กี รรมในศาสนพธิ ี การนำความรู้

พิธกี รรมทางศาสนา


ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง
ไปใช้

๔. ฝกึ ปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั การจดั


๒. ปฏบิ ัติตนในการเข้าร่วม



พิธีกรรมและการปฏิบัตติ น


พธิ ีกรรมอย่างถกู ต้อง



ที่ถกู ต้อง


เหมาะสม


๕. สาธติ การจัดพธิ กี รรม





ที่ถูกตอ้ งพรอ้ มทง้ั อธบิ าย





























12 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดับมัธยมศึกษา


กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตัวชวี้ ดั
ผู้เรยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั การเรียนร
ู้
ภาระงาน
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ


๕. อธบิ าย ผู้เรยี นรอู้ ะไร

๑. ทักษะ
๑. การเลา่ ๑. รวบรวมข้อมลู เก่ียวกับ


ประวตั ิ

ประวัติ ความสำคญั และ การให้เหตุผล
ประสบการณ

การปฏิบตั ติ นของศาสนกิ ชน


ความสำคญั การปฏบิ ัตติ นอย่างถูกต้อง

๒. ทักษะ
ที่เคยเข้ารว่ ม ในวนั สำคัญทางศาสนา

และปฏบิ ตั ิตน ในวันสำคญั ทางศาสนาทต่ี น การนำความรู้ กจิ กรรมในวัน ๒. ค้นหาสาเหตุท่ีทำให้
ในวันสำคญั นับถือ
ไปใช้
สำคัญทางศาสนา
ศาสนิกชนปฏิบตั ิตนเช่นนนั้

ทางศาสนา
ผูเ้ รยี นทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ
๒. นทิ รรศการ
๓. อธบิ ายสาเหตุใหเ้ ห็น
ที่ตนนับถือ ๑. อธิบายประวัติ และ

การสรปุ

วนั สำคัญทาง ความสอดคล้องของเหต

ตามท่ีกำหนด ความสำคัญของวนั สำคญั ลงความเหน็
ศาสนาท่ตี นนับถอื
และผล

ได้ถกู ต้อง
ทางศาสนาทต่ี นนับถือ
๔. เลา่ ประสบการณท์ เี่ คย


ตามท่ีกำหนด
เขา้ รว่ มกจิ กรรมวนั สำคัญ


๒. ปฏบิ ัติตนอย่างถูกต้อง
ทางศาสนา

ในวันสำคญั ทางศาสนา

๕. จัดนทิ รรศการแสดง

ที่ตนนับถอื ตามท่กี ำหนด
วนั สำคญั ทางศาสนา


ท่ตี นนบั ถอื


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั มัธยมศกึ ษา
13

กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สาระท่ี ๒ หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คม


มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม

และธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย
และสงั คมโลกอย่างสันติสุข




ตวั ชี้วดั
ผู้เรียนรูอ้ ะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจัดการเรยี นร้

ภาระงาน
เพื่อพฒั นาทกั ษะการคดิ


๑. ปฏบิ ัติตาม
ผู้เรยี นรอู้ ะไร

ทกั ษะ

ค่มู อื การปฏบิ ตั ติ น ๑. ศกึ ษากฎหมายคุม้ ครอง
กฎหมาย

กฎหมายคมุ้ ครองสทิ ธิ การประยุกต์
ตามกฎหมาย สิทธขิ องบุคคล

ในการ

ของบคุ คลมีผลต่อ

ใช้ความรู้
คุ้มครองสทิ ธ
ิ ๒. ทบทวนความรู้เกยี่ วกบั
คุ้มครองสทิ ธิ การอย่รู ่วมกนั อย่างสงบสุข

ของบคุ คลเพ่อื

กฎหมายคุ้มครองสิทธขิ องบุคคล

ของบุคคล
ผเู้ รยี นทำอะไรได

การอยรู่ ว่ มกัน
๓. คดั เลอื กกฎหมายค้มุ ครอง

ปฏิบัติตามกฎหมาย


อยา่ งสงบสขุ
สทิ ธขิ องบคุ คลทสี่ อดคลอ้ ง



ค้มุ ครองสทิ ธิของบคุ คล


กับการดำเนนิ ชวี ิต





๔. ตรวจสอบความเหมาะสม




ระหวา่ งข้อกฎหมายในการ




คุม้ ครองสทิ ธขิ องบุคคล





กบั การดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั





๕. เสนอแนวทางการปฏบิ ัติ




ตนตามกฎหมายเพือ่ การ




ดำเนินชีวติ อยา่ งสงบสุข





๖. เขยี นคู่มอื การปฏิบัติตน




ตามกฎหมายคมุ้ ครองสิทธิ




ของบคุ คลเพอื่ การดำเนนิ




ชวี ติ อยา่ งสงบสุข







๒. ระบุความ ผ้เู รยี นรู้อะไร
ทักษะ

สมุดภาพความดี ๑. ทบทวนความรูเ้ ก่ยี วกบั
สามารถของ
การทำประโยชนต์ อ่ สังคม การนำความรู้ เพอื่ ประโยชนต์ อ่ บทบาทหนา้ ท่ขี องเยาวชนท่ีมี
ตนเองในการ และประเทศชาต
ิ ไปใช้
สังคมและ
ตอ่ สังคมและประเทศชาติ

ทำประโยชน์ ผเู้ รียนทำอะไรได

ประเทศชาต
ิ ๒. ยกตัวอยา่ งเยาวชนทท่ี ำ
ต่อสังคมและ ระบุพฤตกิ รรมหรือ


ประโยชนต์ อ่ สังคมและ
ประเทศชาต ิ
การปฏบิ ัติของตนใน



ประเทศชาติ


การทำประโยชนต์ ่อสงั คม


๓. บอก/เล่าประโยชน์ของ

และประเทศชาต


การทำดที ี่มีตอ่ สงั คมและ




ประเทศชาต







14 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับมัธยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตวั ชี้วัด
ผเู้ รียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจัดการเรียนร
ู้
ภาระงาน
เพ่ือพฒั นาทักษะการคดิ









๔. บอกพฤติกรรมการทำ




ความดีของตนเองและ




ประโยชนท์ ีม่ ตี อ่ สังคมและ




ประเทศชาต





๕. จัดทำสมดุ ภาพความดี




เพ่ือประโยชนต์ ่อสงั คม





และประเทศชาต







๓. อภปิ ราย
ผูเ้ รยี นรูอ้ ะไร
๑. ทกั ษะ

แผนผงั ความคดิ
๑. ศกึ ษาข้อมูลเก่ยี วกบั

เกีย่ วกับ
วัฒนธรรมเปน็ ปัจจัยทมี่

การวิเคราะห
์ แสดงคณุ คา่ ทาง วฒั นธรรมของประเทศ

คุณคา่ ทาง คณุ คา่ ในการสร้าง

๒. ทักษะ
วฒั นธรรมที่เปน็ ในภูมิภาคเอเชยี

วฒั นธรรม
ความสมั พันธท์ ี่ดหี รือ
การสรุป

ปัจจยั ในการสร้าง ๒. วิเคราะห์คณุ คา่ ของ

ทีเ่ ปน็ ปัจจัย ความเขา้ ใจผดิ ตอ่ กนั
ลงความเหน็
ความสัมพันธ์ที่ดี วัฒนธรรม

ในการสร้าง ผเู้ รยี นทำอะไรได

หรือความเขา้ ใจผดิ
๓. กำหนดเกณฑใ์ นการ
ความสมั พนั ธ์ ให้ความเหน็ เกย่ี วกับ

ต่อกัน
วิเคราะห์ข้อมูลทางวฒั นธรรม

ท่ดี หี รืออาจ คณุ คา่ ทางวัฒนธรรม



๔. แยกแยะขอ้ มลู ทาง

นำไปสคู่ วาม ทเี่ ปน็ ปัจจัยในการสร้าง


วัฒนธรรมในประเด็น

เข้าใจผิด
ความสัมพันธท์ ด่ี หี รอื


ความเหมอื นและความต่าง

ต่อกัน
ความเขา้ ใจผิดตอ่ กนั


๕. นำเสนอผลการวเิ คราะห์





๖. สรปุ คณุ คา่ ทางวฒั นธรรม






ทเี่ ป็นปัจจัยในการสรา้ งความ




สัมพนั ธ์ที่ดหี รอื ความเข้าใจ




ผิดตอ่ กัน





๗. จัดทำแผนผังความคิด




แสดงคุณคา่ ของวฒั นธรรมที่




เปน็ ปจั จยั ในการสรา้ งความ




สัมพนั ธท์ ี่ดีหรือความเข้าใจผิด




ต่อกนั














แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั มัธยมศึกษา
15

กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั ชวี้ ดั
ผเู้ รยี นรู้อะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั การเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด


๔. แสดงออก
ผเู้ รียนรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ

แนวทางการ ๑. รวบรวมพฤตกิ รรมท่ี
ถงึ การเคารพ บคุ คลควรให้ความเคารพ

การวิเคราะห์
แสดงออกถงึ การ แสดงถงึ การเคารพในสทิ ธิ
ในสทิ ธิ ในสิทธิเสรภี าพของ ๒. ทกั ษะ
เคารพในสทิ ธิและ เสรภี าพของตนเองและผอู้ นื่

เสรภี าพของ ตนเองและผูอ้ ่ืน
การสรุป
เสรีภาพของตนเอง ๒. วเิ คราะหว์ ธิ ปี ฏบิ ัติตน
ตนเองและ
ผู้เรยี นทำอะไรได
้ ลงความเห็น
และผู้อนื่
และผลทไี่ ดจ้ ากการเคารพ
ผู้อน่ื
แสดงออกถงึ การเคารพ

สทิ ธิเสรภี าพของตนเองและ

ในสิทธเิ สรีภาพของ ผ้อู ่นื

ตนเองและผ้อู ่ืน
๓. สรปุ ความสำคญั ของ

การปฏิบัตแิ ละผลท่เี กิดจาก
การเคารพในสทิ ธิเสรภี าพ

ของตนเองและผู้อืน่

๔. จัดทำแนวทางการ
แสดงออกถึงการเคารพ

ในสทิ ธิและเสรีภาพของ

ตนเองและผู้อน่ื


16 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู พอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สาระท่ี ๒ หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม


มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และ


ธำรงรักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย


ทรงเป็นประมุข


ตวั ชี้วัด
ผูเ้ รยี นรู้อะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจัดการเรยี นรู้

ภาระงาน
เพ่อื พฒั นาทักษะการคดิ


๑. อธบิ าย
ผูเ้ รียนรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ
แผนผงั โครงสร้าง ๑. รวบรวมขอ้ มลู ทีเ่ ก่ียวข้องกบั
หลกั การ หลักการ เจตนารมณ์ การรวบรวม แสดงหลกั การ รฐั ธรรมนูญ ด้านเจตนารมณ์
เจตนารมณ์ โครงสรา้ งและสาระสำคัญ ขอ้ มลู
เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และสาระสำคัญ

โครงสร้าง ของรฐั ธรรมนูญแห่ง
๒. ทกั ษะ
โครงสร้าง และ ๒. ศกึ ษาเชอื่ มโยงความสมั พันธ

และสาระ ราชอาณาจกั รไทย

การเช่อื มโยง
สาระสำคัญของ ระหวา่ งขอ้ มูล

สำคัญของ ฉบับปัจจุบนั
๓. ทักษะ
รฐั ธรรมนูญแห่ง
๓. จัดโครงสรา้ งความสัมพันธ

รฐั ธรรมนูญ ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ การจดั โครงสรา้ ง
ราชอาณาจักรไทย ของรัฐธรรมนูญเกย่ี วกบั

แห่งราชอาณา-
อธิบายหลักการ
ฉบบั ปจั จบุ ัน
เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง

จักรไทย
เจตนารมณ์ โครงสรา้ งและ

และสาระสำคญั

ฉบับปัจจุบัน
สาระสำคัญของรัฐธรรมนญู

๔. เขยี นแผนผงั โครงสร้าง

โดยสงั เขป
แห่งราชอาณาจักรไทย


แสดงหลกั การ เจตนารมณ์

ฉบบั ปัจจบุ ันโดยสังเขป


โครงสร้างและสาระสำคัญ




ของรัฐธรรมนญู แหง่





ราชอาณาจักรไทย





ฉบับปจั จบุ ัน







๒. วเิ คราะห์ ผเู้ รียนรู้อะไร
๑. ทักษะ

ผลการวเิ คราะห์ ๑. ศกึ ษาขอ้ มลู การใช้

บทบาท
รัฐธรรมนูญแหง่

การวเิ คราะห
์ บทบาทการถว่ งดลุ

อำนาจอธปิ ไตย

การถว่ งดลุ
ราชอาณาจักรไทย

๒. ทกั ษะ
อำนาจอธปิ ไตย

๒. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของ
อำนาจ ฉบับปัจจบุ ันมีการแบ่ง การสงั เคราะห์
ในรฐั ธรรมนูญแหง่ การถ่วงดลุ อำนาจอธิปไตย

อธิปไตย
อำนาจและการถ่วงดลุ

ราชอาณาจกั รไทย ๓. กำหนดเกณฑ์ในการ

ในรัฐธรรมนญู อำนาจของอธปิ ไตย

ฉบบั ปัจจบุ นั
วิเคราะหข์ ้อมูลการถว่ งดุล

แหง่ ราชอาณา-
๓ ฝ่าย คือ นติ บิ ัญญตั ิ

อำนาจอธปิ ไตย

จักรไทย
บริหาร และตุลาการ


๔. แยกแยะข้อมลู การใชอ้ ำนาจ

ฉบบั ปัจจบุ นั
ผูเ้ รียนทำอะไรได


อธปิ ไตยดา้ นความเหมอื นกนั

วเิ คราะห์บทบาท


ความต่างกนั ของทั้ง ๓ ฝ่าย


การถ่วงดุลอำนาจอธปิ ไตย

๕. หาความสมั พนั ธข์ อง


ของฝ่ายนติ บิ ญั ญตั ิ



การใช้อำนาจอธปิ ไตย


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พอื่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา
17

กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตัวชวี้ ดั
ผู้เรยี นรูอ้ ะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคิด
ชิน้ งาน/
แนวการจัดการเรียนรู้

ภาระงาน
เพ่ือพฒั นาทักษะการคิด




บริหาร และตุลาการ



๖. สรปุ นำเสนอผลการวิเคราะห


ในรัฐธรรมนูญแหง่



๗. จดั ทำแผนผัง โครงสร้าง

ราชอาณาจกั รไทย



การแบง่ อำนาจและ



ฉบับปัจจบุ ัน


การถว่ งดุลอำนาจอธปิ ไตย





ในรฐั ธรรมนญู แหง่






ราชอาณาจักรไทย





ฉบบั ปจั จุบัน







๓. ปฏบิ ตั ติ นตาม ผู้เรียนรู้อะไร
ทกั ษะ
การนำเสนอ
๑. ทบทวนความรเู้ ก่ยี วกับ


บทบญั ญตั ิ บทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญ
การประยุกต์
การปฏบิ ตั ิตนตาม สิทธเิ สรภี าพของตนเองตาม


ของ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
ใช้ความร
ู้ สทิ ธิ เสรีภาพ และ บทบญั ญตั ิแหง่ รฐั ธรรมนูญ

รฐั ธรรมนูญ ท่ีเกย่ี วกบั ตนเอง

หน้าท่ขี องตนตาม ๒. ศกึ ษาบทบัญญตั ิ

แหง่ ราชอาณา-

ผู้เรยี นทำอะไรได
้ บทบัญญัตขิ อง ของรัฐธรรมนญู เกย่ี วกับ

จักรไทย
๑. บอกบทบาทหนา้ ที่ของ รัฐธรรมนญู แหง่ สทิ ธิเสรีภาพ และหน้าท่ี

ฉบับปัจจุบัน ตนเองตามบทบญั ญตั ิ

ราชอาณาจักรไทย ๓. คัดเลอื กขอ้ มลู ความร้

ที่เกย่ี วข้อง ของรัฐธรรมนูญ

ฉบบั ปัจจุบัน
ทม่ี ีความสอดคลอ้ งกบั

กบั ตนเอง
แห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญเกยี่ วกบั สทิ ธิ
ฉบบั ปจั จุบนั
เสรีภาพและหนา้ ท่ี

๒. ปฏบิ ัติตนตาม ๔. ตรวจสอบความเหมาะสม
บทบัญญัติของรัฐธรรมนญู ระหวา่ งขอ้ มูลกับสถานการณ์
แห่งราชอาณาจกั รไทย
ทเี่ ก่ียวข้องกับสิทธิ เสรภี าพ
ฉบบั ปจั จบุ นั ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั และหน้าท่ี

ตนเอง
๕. นำความร้ไู ปใชใ้ น

สถานการณต์ ่าง ๆ

๖. รวบรวมและนำเสนอ

การปฏิบัติตนตามสทิ ธิ
เสรภี าพและหน้าทข่ี องตน
ตามบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญ

แห่งราชอาณาจกั รไทย

ฉบบั ปัจจุบนั




18 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั มัธยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์


มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค

การใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ

หลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการดำรงชีวติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ


ตวั ช้ีวัด
ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ช้นิ งาน/
แนวการจัดการเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ


๑. อธิบาย
ผเู้ รียนรู้อะไร

๑. ทกั ษะ

รายงานสรปุ

๑. ศึกษาความหมายและ

ความหมาย
ความหมายและความ การตีความ
ความหมายและ ความสำคญั ของเศรษฐศาสตร

และความ สำคญั ของเศรษฐศาสตร์ ๒. ทกั ษะ
ความสำคัญของ ๒. ระบุความหมายและ


สำคญั ของ
เพ่อื การดำรงชีวิตอยา่ งมี การระบุ
เศรษฐศาสตร
์ ความสำคญั ของเศรษฐศาสตร

เศรษฐศาสตร
์ ดุลยภาพ


๓. อธบิ ายความหมาย



ผู้เรยี นทำอะไรได


และความสำคญั ของ

อธบิ ายความหมาย



เศรษฐศาสตร


และความสำคัญของ

๔. นำเสนอรายงานสรุป


เศรษฐศาสตร


ความหมายและความสำคญั






ของเศรษฐศาสตร์







๒. วิเคราะห
์ ผู้เรียนรู้อะไร
๑. ทกั ษะ

แผนผงั ก้างปลา
๑. ศกึ ษาความหมายของ


ค่านิยมและ คา่ นิยมและพฤติกรรม

การวเิ คราะห์
แสดงคา่ นิยม

คา่ นยิ มและพฤตกิ รรม


พฤติกรรม การบริโภคของคนในสังคม

๒. ทักษะ
และพฤติกรรม
การบริโภคของคนในสงั คม

การบรโิ ภค มีผลต่อเศรษฐกิจของ การเปรยี บเทียบ
การบริโภคของ ๒. ตง้ั ประเดน็ คา่ นยิ มและ
ของคนใน ชุมชนและประเทศ
๓. ทกั ษะ

คนในสงั คม
พฤติกรรมการบรโิ ภคของ
สงั คม
ผเู้ รยี นทำอะไรได
้ การสรปุ

ทสี่ ง่ ผลตอ่ คนในสังคมส่งผลตอ่
ซึง่ สง่ ผลตอ่ อธิบายคา่ นิยมและ ลงความเหน็
เศรษฐกิจของ เศรษฐกจิ ของชมุ ชนและ
เศรษฐกจิ
พฤตกิ รรมการบรโิ ภคของ
ชมุ ชนและประเทศ
ประเทศอย่างไร

ของชุมชน คนในสังคมทีส่ ง่ ผล


๓. ศกึ ษาคน้ ควา้ รวบรวม

และประเทศ
ตอ่ เศรษฐกิจของชุมชน


วิเคราะหล์ ักษณะคา่ นยิ มและ

และประเทศ


พฤติกรรมการบริโภคทส่ี ง่ ผล





ต่อเศรษฐกจิ ของชุมชนและ




ประเทศ





๔. เปรยี บเทียบผลดแี ละ





ผลเสียของพฤตกิ รรมการบรโิ ภค





๕. สรุปลงความเหน็ ด้วย

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทักษะการคิด ระดับมัธยมศกึ ษา
19

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตัวชว้ี ดั
ผ้เู รียนรูอ้ ะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั การเรยี นรู้

ภาระงาน
เพื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ







ความเปน็ เหตแุ ละผล และ




ให้แนวคิดในการนำไปปรบั





ใช้ในชวี ติ ประจำวนั





๖. จัดทำและนำเสนอแผนผัง




ก้างปลาแสดงคา่ นยิ มและ




พฤตกิ รรมการบรโิ ภคของ




คนในสังคม







๓. อธิบาย
ผ้เู รยี นรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

การนำเสนอผลงาน
๑. ศึกษา/สืบค้นความเป็นมา

ความเปน็ มา
หลกั การของปรชั ญา

การทำให้ การศึกษาค้นคว้า หลักการและความสำคัญของ
หลกั การและ ของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็น กระจา่ ง
เรอื่ งความเปน็ มา ปรชั ญาของเศรษฐกิจ


ความสำคัญ แนวทางการดำเนินชวี ติ ๒. ทกั ษะ
หลักการและ
พอเพยี งท่ีมตี ่อสงั คมไทย

ของปรัชญา อย่างมคี วามสุข
การประยกุ ต
์ ความสำคัญ
๒. อภิปรายเหตุผลของ
ของเศรษฐกจิ ผู้เรียนทำอะไรได
้ ใช้ความรู้
ของปรัชญาของ การนำหลักการของปรชั ญา
พอเพียงตอ่ ๑. อธบิ ายความเป็นมา
เศรษฐกิจพอเพียง ของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช

สงั คมไทย
ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ
ต่อสังคมไทย
เพือ่ การพฒั นาสังคมไทย

พอเพียง
๓. รวบรวมกิจวตั รประจำวนั

๒. อธบิ ายความสำคญั

ของตนเองทสี่ อดคลอ้ งกบั
ของปรชั ญาของเศรษฐกิจ หลักการของเศรษฐกจิ

พอเพยี งทมี่ ตี อ่ สงั คมไทย
พอเพียง

๔. นำเสนอความเปน็ มา

หลกั การและความหมาย


ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง


และกจิ วัตรประจำวันของ
ตนเองทสี่ อดคลอ้ งกบั
เศรษฐกิจพอเพยี ง


20 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พอ่ื พฒั นาทักษะการคดิ ระดับมัธยมศึกษา


กล่มุ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์


มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ

และความจำเปน็ ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก


ตัวชี้วดั
ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชิน้ งาน/
แนวการจัดการเรยี นร้

ภาระงาน
เพื่อพฒั นาทักษะการคดิ


๑. วเิ คราะห์ ผูเ้ รยี นรอู้ ะไร

๑. ทกั ษะ

รายงานผลการ ๑. สบื คน้ ข้อมลู ด้วยวธิ ีการ
บทบาทหน้าที่ สถาบนั การเงนิ แตล่ ะ การวิเคราะห
์ วเิ คราะหค์ วาม ตา่ ง ๆ เกยี่ วกับความหมาย
และความ ประเภทและธนาคารกลาง ๒. ทักษะ

สมั พนั ธ์ระหว่าง
ประเภท และความสำคญั
แตกต่างของ มีบทบาทและหนา้ ท
่ี
การเปรียบเทียบ
ผผู้ ลิต ผูบ้ รโิ ภค ของสถาบันการเงนิ

สถาบัน
แตกตา่ งกนั ทางเศรษฐกจิ
๓. ทักษะ และสถาบนั การเงิน
๒. สรปุ และนำเสนอ


การเงนิ แต่ละ ผู้เรียนทำอะไรได
้ กระบวน


ความหมาย ประเภท และ
ประเภทและ ๑. วิเคราะหบ์ ทบาท หน้าที่ การคดิ อย่างม

ความสำคัญของสถาบนั


ธนาคารกลาง
และความแตกต่างของ วิจารณญาณ

การเงนิ ตา่ ง ๆ


สถาบันการเงนิ แต่ละ

๓. อธิบายบทบาทหนา้ ท่ี และ

ประเภทและธนาคารกลาง


ความสำคญั ของธนาคารกลาง


๒. อธบิ ายบทบาทหนา้ ท่ี

๔. เปรียบเทยี บความแตกต่าง

และความแตกต่างกนั ของ

ของสถาบันการเงินแต่ละ

สถาบนั การเงนิ แต่ละ

ประเภทและธนาคารกลาง


ประเภทและธนาคารกลาง


๕. เปรยี บเทียบรายได้ รายจา่ ย

๓. บอกความสัมพนั ธ


การออม การลงทุน ซงึ่ แสดง

ระหว่างผู้ผลิต ผบู้ รโิ ภค

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผ้ผู ลิต

สถาบนั การเงนิ และ



ผู้บรโิ ภคและสถาบนั การเงนิ


ธนาคารกลาง


๖. สรุปลงความเห็น ตัดสินใจ




ปรับใชใ้ นชวี ิตจรงิ





๗. เขียนรายงานผลการวเิ คราะห






ความสัมพันธ์ระหวา่ งผู้ผลิต





ผู้บรโิ ภคและสถาบนั การเงิน







๒. ยกตวั อยา่ ง
ผ้เู รียนรูอ้ ะไร
๑. ทกั ษะ ยกตัวอย่าง
๑. ศึกษารปู แบบการพง่ึ พา
ทส่ี ะทอ้ นให้ การพฒั นาระบบเศรษฐกิจ กระบวน

ท่ีสะท้อนให้เห็น อาศยั กันและการแข่งขนั กนั
เหน็ การพึ่งพา ของไทยแบบพึ่งพาอาศัยกนั
การคดิ อยา่ งม

การพง่ึ พาอาศยั กนั ของระบบเศรษฐกจิ ในประเทศ
อาศัยกัน และการแขง่ ขนั กนั
วจิ ารณญาณ
และการแข่งขนั กัน จากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ

และการ
ผู้เรียนทำอะไรได
้ ๒. ทักษะ
ทางเศรษฐกจิ
๒. วิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจ

แข่งขันกัน ยกตวั อยา่ งระบบเศรษฐกิจ
การเชอื่ มโยง
ในประเทศ
ชมุ ชน ประเทศ และแนวทาง
ทางเศรษฐกิจ ทส่ี ะทอ้ นให้เหน็ การพง่ึ พา

แก้ไขปญั หา

ในประเทศ
อาศยั กนั และการแขง่ ขันกนั


๓. นำเสนอระบบเศรษฐกจิ




รปู แบบการพ่ึงพาอาศัยกนั


และการแขง่ ขนั กัน




21
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู พอื่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับมธั ยมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตัวช้ีวัด
ผู้เรียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจดั การเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ







๔. ยกตัวอย่างการพัฒนาท่ี




สะท้อนถงึ การพึง่ พาอาศยั กนั




และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ








๓. ระบปุ จั จัย
ผู้เรยี นรอู้ ะไร
๑. ทกั ษะ

แผนผังความคิด ๑. สบื ค้นขอ้ มลู ดว้ ยวิธกี าร
ท่มี อี ิทธิพล ปัจจัยท่มี ีอิทธพิ ลตอ่

การจำแนก

(Mind Mapping)
ต่าง ๆ เกย่ี วกับความหมาย
ต่อการ การกำหนดอปุ สงค์และ ประเภท
ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ล และกฎของอุปสงค์ อุปทาน

กำหนด
อุปทานในระบบเศรษฐกิจ
๒. ทักษะ
ตอ่ การกำหนด
๒. สรุปและนำเสนอข้อมูล

อุปสงคแ์ ละ ผู้เรยี นทำอะไรได
้ การเชื่อมโยง
อปุ สงค์และอปุ ทาน
๓. รวบรวมขอ้ มลู ปัจจยั

อุปทาน
๑. บอกความสมั พนั ธ

๓. ทักษะ

ท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอ่ อปุ สงค์อปุ ทาน


ระหว่างอปุ สงค์ และอปุ ทาน
การสรปุ ยอ่

๔. จัดหมวดหมปู่ จั จัยทม่ี ี

ในระบบเศรษฐกจิ


อทิ ธิพลต่ออปุ สงค์และอปุ ทาน


๒. ระบุปจั จัยที่มีอิทธพิ ล


๕. หาความสมั พันธเ์ ชอ่ื มโยง

ต่อการกำหนดอปุ สงค



ปจั จัยระหว่างอปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน


และอุปทาน


๖. สรุป/จัดทำแผนผังความคิด





ปจั จัยทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการ




กำหนดอุปสงค์และอปุ ทาน




และนำเสนอแผนผังความคดิ







๔. อภปิ รายผล ผ้เู รยี นรูอ้ ะไร
ทักษะ

การอภปิ รายแสดง ๑. สืบค้น แสวงหาความรู้
ของการมี กฎหมายทรพั ย์สินทาง การสรา้ งความร
ู้ ความคดิ เหน็

ดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ เก่ยี วกบั
กฎหมาย ปัญญามีผลในการคุ้มครอง เกี่ยวกับกรณตี ัวอยา่ ง
ความหมายและความสำคญั
เกยี่ วกบั มใิ หม้ ีการละเมิดทรัพยส์ ิน การละเมิด
ของทรพั ยส์ ินทางปญั ญา

ทรัพยส์ ิน
ทางปัญญาเพอื่ ความม่ันคง ทรัพย์สนิ ทางปัญญา
๒. ศึกษากฎหมายที่เกย่ี วกับ
ทางปัญญา
ทางเศรษฐกจิ
การค้มุ ครองทรพั ย์สินทางปัญญา

ผเู้ รียนทำอะไรได
้ ๓. ศึกษาวิเคราะห์กรณีตวั อย่าง

ให้ความเหน็ เกีย่ วกบั ผล การละเมิดทรัพยส์ ินทาง
ของการมีกฎหมายเกย่ี วกับ ปญั ญา

ทรัพยส์ ินทางปัญญา
๔. อภปิ รายผลของการมี
กฎหมายเกีย่ วกับทรพั ย์สนิ

ทางปญั ญา

๕. สรุปและนำเสนอผลการ
อภิปรายแสดงความคิดเหน็

เก่ียวกบั กรณีตวั อยา่ งการ
ละเมิดทรพั ย์สินทางปญั ญา


22 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นาทักษะการคดิ ระดบั มธั ยมศึกษา


กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร


มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สามารถใชว้ ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ


ตัวชีว้ ดั
ผู้เรยี นรูอ้ ะไร/ทำอะไรได้
ทักษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด


๑. วิเคราะห์ ผเู้ รยี นรู้อะไร

๑. ทกั ษะ

ผงั มโนทศั น์แสดง ๑. คน้ หาหลักฐานที่แสดง
ความสำคญั เวลามีความสำคัญต่อ

การสำรวจคน้ หา
ความสมั พนั ธ์ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั เวลายคุ ก่อน
ของเวลา
การศึกษายุคสมัยทาง ๒. ทักษะ

ระหว่างเวลากบั ประวัตศิ าสตร์กับยคุ ประวัติศาสตร

ในการศกึ ษา ประวตั ศิ าสตร์
การวเิ คราะห์
เหตกุ ารณ์ทาง ๒. อภปิ รายเกี่ยวกับเวลา


ประวตั ิศาสตร์
ผู้เรยี นทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ

ประวตั ิศาสตร์
ในอดีต ปจั จบุ นั และอนาคต

๑. อธบิ ายความสำคญั

การสรปุ


จากหลักฐานที่ปรากฏ


ของเวลาและชว่ งเวลา
ลงความเหน็

๓. วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์

ในการศกึ ษาประวัติศาสตร์


ระหวา่ งการใช้เวลากับ

๒. อธบิ ายความสำคญั



เหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตร


ของอดีตทสี่ ง่ ผลต่อ

๔. สรปุ ความรูเ้ กี่ยวกบั ความ

พัฒนาการในปัจจุบันและ

สัมพนั ธ์ระหวา่ งเวลากับ

อนาคต


เหตุการณท์ างประวัตศิ าสตร


๓. ยกตัวอยา่ งการใช


๕. วางแผนออกแบบ


ชว่ งเวลาและยคุ สมัย



การเขยี นผงั มโนทศั น


ที่ปรากฏในเอกสารทาง

ความสมั พนั ธ์ระหว่างเวลา



ประวตั ศิ าสตร ์


กบั เหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตร





๖. เขียนผังมโนทศั นแ์ สดง




ความสัมพันธ์ระหวา่ งเวลา






กบั เหตกุ ารณ์ทางประวตั ศิ าสตร







๒. เทียบศกั ราช ผเู้ รยี นรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

ตารางเทียบศกั ราช
๑. ทบทวนความรเู้ ดมิ


ตามระบบ
การศึกษาประวตั ิศาสตรไ์ ทย การสำรวจค้นหา
(พ.ศ. ค.ศ. ฮ.ศ. เกย่ี วกับการนับศกั ราช


ต่าง ๆ

ใหเ้ กดิ ความเข้าใจทช่ี ัดเจน ๒. ทักษะ

ร.ศ. จ.ศ. ม.ศ.)
แบบไทยและสากล

ที่ใชศ้ ึกษา ตอ้ งอาศยั ความรู้เกยี่ วกบั
การวเิ คราะห์

๒. ออกแบบการสบื คน้ ท่ีมา
ประวตั ิศาสตร ์
ระบบการเทยี บศักราช
๓. ทักษะ


ของศักราชที่ปรากฏ




การสรปุ


ในเอกสารประวตั ศิ าสตร



ลงความเห็น

และการเทยี บศกั ราชโดยใช้


วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์





แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับมธั ยมศึกษา
23

กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั ชี้วัด
ผเู้ รียนร้อู ะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพื่อพฒั นาทกั ษะการคิด



๓. วเิ คราะห์ และสรุปความรู้
ผูเ้ รียนทำอะไรได
้ ๔. ทักษะ


เกย่ี วกับการเทียบศักราช

๑. บอกทมี่ าของระบบศกั ราช

การสรา้ งความร
ู้
ระหวา่ งไทยกบั สากล


ที่ใช้ในการศึกษา

๔. อธบิ ายความเชื่อมโยง

ประวัติศาสตร

จากศกั ราชกบั พัฒนาการของ

๒. เทียบศักราชตามระบบ


มนษุ ยจ์ ากตัวอยา่ งการใช้


ศักราชในเอกสารของไทย


ต่าง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการศึกษา

๕. ออกแบบและเขียน


ประวัตศิ าสตร


ตารางเปรยี บเทยี บศักราช

๓. ยกตวั อย่างของศกั ราช




ที่ใชใ้ นเอกสารทาประวัติศาสตร


๑. วางแผนการทำโครงการ



และทำโครงงานอาชพี





ในท้องถิน่ โดยใช้วิธกี าร


๓. นำวิธกี าร
ผู้เรยี นรอู้ ะไร
๑. ทกั ษะ

โครงงานอาชีพ
ทางประวัติศาสตร

ทางประวตั -ิ
วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ การสำรวจค้นหา
ในทอ้ งถน่ิ
๒. วางแผนออกแบบเก็บ
ศาสตรม์ าใช้ เปน็ เครือ่ งมอื ในการเรียนรู้ ๒. ทกั ษะ

ข้อมูลเกีย่ วกับอาชพี

ศึกษา เหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์
การวิเคราะห์
ในทอ้ งถ่นิ โดยใช้วิธกี าร

เหตุการณ
์ ผูเ้ รยี นทำอะไรได
้ ๓. ทกั ษะ
ทางประวัตศิ าสตร์

ทางประวัต-ิ
๑. อธิบายความหมาย

การใหค้ ำ

๓. ประเมินหลักฐานตาม

ศาสตร
์ ความสำคัญและ

จำกดั ความ
หลกั ฐานชนั้ ต้นและหลักฐาน


ความสมั พันธ์ของ ๔. ทกั ษะ
ชนั้ รอง

ประวตั ิศาสตร์และวิธกี าร การต้งั สมมตฐิ าน
๔. วเิ คราะห์ข้อมูลที่ได้มา
ทางประวัตศิ าสตร
์ ๕. ทักษะ

สำหรับตัง้ ประเด็นท่ีกล่มุ
๒. ยกตวั อย่างหลักฐาน
การประเมนิ
สนใจ “อาชพี ในทอ้ งถิ่น”
ทางประวัติศาสตรท์ เี่ ปน็

๖. ทักษะ
เพ่อื ศึกษาเชงิ ลึกโดยการทำ
หลักฐานชนั้ ตน้ และ

การสรา้ งความร
ู้ โครงงาน

หลักฐานช้ันรอง

๕. นำเสนอโครงงาน “อาชีพ
ในทอ้ งถ่ิน”




24 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศกึ ษา


กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร


มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ


และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบที่เกดิ ข้นึ


ตวั ช้วี ัด
ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจัดการเรยี นร้

ภาระงาน
เพอื่ พฒั นาทกั ษะการคดิ


๑. อธิบาย ผเู้ รยี นร้อู ะไร

๑. ทกั ษะ

ผงั มโนทัศน์แสดง ๑. ศกึ ษาขอ้ มลู พัฒนาการ
พฒั นาการ พฒั นาการทางสงั คม การสำรวจคน้ หา
พัฒนาการทาง ของประเทศตา่ ง ๆ ในเอเชยี


ทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งของ ๒. ทักษะ

สงั คม เศรษฐกิจ ตะวนั ออกเฉยี งใตโ้ ดยวิธกี าร

เศรษฐกิจและ ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี การวิเคราะห
์ และการเมอื งของ ทางประวัติศาสตร

การเมืองของ ตะวนั ออกเฉียงใต
้ ๓. ทกั ษะ
ประเทศในภูมิภาค - กำหนดประเดน็ ปัญหา

ประเทศต่าง ๆ ผ้เู รียนทำอะไรได
้ การสงั เคราะห
์ เอเชยี ตะวนั ออก - รวบรวมหลกั ฐาน

ในภมู ภิ าค อธิบายพฒั นาการทาง

๔. ทกั ษะ
เฉยี งใต้
- วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ

เอเชียตะวัน- สังคม เศรษฐกิจและ การสรปุ


คุณค่าข้อมลู

ออกเฉยี งใต ้
การเมืองของประเทศต่าง ๆ ลงความเห็น

- ตีความและสงั เคราะห์


ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออก

- นำเสนอ


เฉียงใต


๒. วเิ คราะห์ และสังเคราะห์




ขอ้ มลู เพ่อื สรปุ เป็นความร
ู้




๓. จัดทำผงั มโนทศั น์ แสดง





พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ




และการเมอื งของประเทศใน




ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต







๒. ระบุความ ผู้เรยี นรู้อะไร
๑. ทักษะ

การนำเสนอแหลง่ ๑. ศกึ ษาความรูเ้ กย่ี วกับ
สำคญั ของ ความสำคญั ของแหลง่ การสำรวจคน้ หา
อารยธรรม

แหล่งอารยธรรมในภูมิภาค


แหล่ง อารยธรรมในภูมภิ าคเอเชีย ๒. ทกั ษะ

ทสี่ ำคัญในกลุม่ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ดว้ ย

อารยธรรม
ตะวันออกเฉยี งใต
้ การวิเคราะห์
อาเซียนในรปู แบบ วธิ ีการทางประวัติศาสตร

ในภูมภิ าค ผู้เรยี นทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ
ทีน่ กั เรยี นถนัด
๒. วเิ คราะห์ สงั เคราะห์

เอเชียตะวนั - ๑. ระบุทตี่ ั้งของแหลง่ การสังเคราะห์
สรุปความ

ออกเฉียงใต้
อารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย

๔. ทกั ษะ
๓. นำเสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ
ตะวันออกเฉียงใต้
การสรุป

เชน่ รายงาน ผังมโนทศั น์
๒. อธิบายอทิ ธิพลของ ลงความเหน็
บทความ PowerPoint

อารยธรรมโบราณในดนิ แดนไทย


ท่มี ตี อ่ พฒั นาการของสงั คมไทย


ในปจั จุบัน


แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ ระดบั มัธยมศึกษา
25

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์


มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก

ความภมู ิใจ และธำรงความเปน็ ไทย


ตัวชี้วัด
ผ้เู รียนร้อู ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคดิ
ชิน้ งาน/
แนวการจัดการเรียนร้

ภาระงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด


๑. อธิบาย
ผเู้ รยี นร้อู ะไร

๑. ทักษะ

ผงั มโนทัศนเ์ กยี่ วกบั
๑. ศึกษาขอ้ มูลด้วยวิธกี าร


เร่อื งราวทาง เร่อื งราวทางประวตั ศิ าสตร
์ การสำรวจคน้ หา
อาณาจักรก่อนสมัย ทางประวัติศาสตร์

ประวตั ศิ าสตร
์ สมัยก่อนสโุ ขทยั ในดนิ แดน ๒. ทักษะ

สโุ ขทยั
๒. วเิ คราะห์ ตีความ


สมยั กอ่ น ไทย
การวเิ คราะห์

สรุปความ

สุโขทัยใน
ผู้เรยี นทำอะไรได
้ ๓. ทักษะ

๓. จัดทำผังมโนทัศน์

ดินแดนไทย อธบิ ายความเป็นมาของ

การตคี วาม

๔. นำเสนอพร้อมทั้งอธบิ าย

โดยสังเขป
รฐั โบราณในดินแดนไทย
๔. ทักษะ






การสรปุ






ลงความเหน็









๒. วเิ คราะห์ ผู้เรยี นรู้อะไร
๑. ทักษะ

การนำเสนอ ๑. สบื ค้นข้อมูลทาง
พัฒนาการ พัฒนาการของอาณาจกั ร การสำรวจคน้ หา
พฒั นาการในด้าน ประวัติศาสตร์สุโขทัยดว้ ย


ของ สโุ ขทัย
๒. ทักษะ

ตา่ ง ๆ ของสมยั วธิ กี ารทางประวัติศาสตร

อาณาจักร ผเู้ รียนทำอะไรได
้ การวเิ คราะห
์ สโุ ขทัยใน
๒. วิเคราะห์ ตีความ แปลความ
สุโขทยั ใน ๑. วิเคราะห์และอธิบาย ๓. ทกั ษะ
รปู แบบทีน่ กั เรียน และกระบวนการวิเคราะห์
ด้านต่าง ๆ
พฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ของ การสังเคราะห
์ สนใจ
สังเคราะห์ข้อมูล


สมัยสโุ ขทัย


๓. นำเสนอข้อมลู ในรูปแบบ


๒. อธิบายการสถาปนาและ

ตา่ ง ๆ เช่น รายงาน



ความเสอ่ื มของอาณาจกั รสุโขทยั


ผังมโนทศั น์ บทความ ฯลฯ







๓. วิเคราะห์ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร
๑. ทักษะ

๑. อภปิ รายถงึ ๑. สบื ค้นขอ้ มลู ด้วยวิธกี าร


อิทธิพลของ อทิ ธิพลของวฒั นธรรม

การสำรวจค้นหา
ปัจจัยความเส่ือม

ทางประวัติศาสตร

วัฒนธรรม และภูมิปญั ญาไทยสมยั ๒. ทกั ษะ

ของอาณาจักร ๒. วิเคราะห์ สังเคราะห


และ
สโุ ขทัยต่อสงั คมไทยปัจจบุ ัน
การวิเคราะห
์ สุโขทัย
ขอ้ มลู และอภปิ ราย

ภูมิปัญญาไทย ผู้เรียนทำอะไรได
้ ๓. ทกั ษะ
๒. นิทรรศการ
๓. นำเสนอข้อมูล

สมยั สโุ ขทัย ๑. อธบิ ายลกั ษณะวฒั นธรรม
การสังเคราะห
์ วัฒนธรรม
๔. จดั นิทรรศการแสดง

และ
และภมู ิปัญญาไทยในสมัยสโุ ขทยั
๔. ทกั ษะ
ภมู ปิ ัญญาไทยใน วฒั นธรรมภูมิปญั ญาไทย


สังคมไทย
๒. วิเคราะหแ์ ละอธิบาย การใหเ้ หตุผล
สมยั สุโขทยั
ในสมยั สุโขทยั

ในปจั จุบนั
อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมและ

ภูมิปญั ญาไทยสมัยสุโขทยั

ที่มีต่อสงั คมไทยปัจจุบัน


26 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ระดับมัธยมศึกษา


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตร ์


มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิง ซึ่งมีผล
ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์
ในการคน้ หา วิเคราะห์ สรปุ และใช้ขอ้ มลู ภมู สิ ารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ


ตัวช้ีวัด
ผเู้ รยี นรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจัดการเรียนร้

ภาระงาน
เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิด


๑. เลอื กใช้ ผเู้ รยี นรู้อะไร

๑. ทกั ษะ

รายงานลักษณะทาง ๑. ศกึ ษาความร้เู ก่ยี วกบั เคร่อื งมอื
เคร่อื งมอื ทาง เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ การประเมนิ
กายภาพ ลักษณะ ทางภูมิศาสตรช์ นิดตา่ ง ๆ

ภูมิศาสตร์ เพ่อื การสบื คน้ ขอ้ มลู ทาง ๒. ทกั ษะ
ทางสงั คมของ ๒. กำหนดคุณประโยชนข์ อง
(ลูกโลก กายภาพ และสงั คมของ การวิเคราะห์
ประเทศไทยและ
เครื่องมือทางภมู ศิ าสตรช์ นดิ
แผนท่ี กราฟ ประเทศไทยและทวปี เอเชีย
ทวปี เอเชีย
ตา่ ง ๆ

แผนภมู )ิ
ออสเตรเลียและโอเชยี เนีย

ออสเตรเลยี และ
๓. นำข้อมลู ลักษณะทาง
ในการสบื ค้น ผู้เรยี นทำอะไรได

โอเชยี เนีย โดยใช้ กายภาพและสงั คมทีต่ ้องการ
ขอ้ มลู เพ่อื เลือกใช้เครือ่ งมอื ทาง
เครอ่ื งมือทาง สบื คน้ มาเทียบกับคณุ ประโยชน

วิเคราะห์ ภูมศิ าสตร์ในการสบื ค้น
ภมู ศิ าสตร
์ ของเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์

ลกั ษณะทาง ข้อมลู ทางกายภาพและ

๔. เลอื กใช้เคร่ืองมอื ทาง
กายภาพและ สังคมของประเทศไทย

ภูมศิ าสตร์ในการสบื คน้ และ
สงั คมของ ทวีปเอเชยี ออสเตรเลยี

วเิ คราะห์ข้อมูล

ประเทศไทย และโอเชยี เนยี


๕. ตง้ั วัตถุประสงคใ์ น

และทวปี


การวเิ คราะห์ขอ้ มูล

เอเชีย


๖. กำหนดเกณฑใ์ น

ออสเตรเลยี


การแยกแยะขอ้ มลู

และ



๗. แยกแยะข้อมลู ตามเกณฑ

โอเชยี เนยี



เพือ่ ให้เหน็ องคป์ ระกอบ





๘. หาความสมั พันธ์ของ





องคป์ ระกอบ





๙. นำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล







๒. อธบิ าย
ผู้เรยี นรอู้ ะไร
๑. ทกั ษะ

การอธบิ ายผล
๑. ระบสุ ง่ิ ทีส่ งสยั เกยี่ วกบั


เส้นแบง่ เวลา เส้นแบง่ เวลาของประเทศ

การทำให้กระจา่ ง
การเปรยี บเทยี บเวลา สาเหตุทที่ ำให้เกิด


และเปรียบเทียบ ไทยกบั ประเทศในทวีป
๒. ทักษะ ของประเทศไทยกับ ความแตกตา่ งของเวลา


วัน เวลาของ ตา่ ง ๆ
การนำความรู้ ทวปี ต่าง ๆ
ในภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก


ไปใช




แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา
27

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตัวชีว้ ัด
ผูเ้ รียนรู้อะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคิด
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั การเรยี นรู้

ภาระงาน
เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิด


ประเทศไทยกบั ผ้เู รยี นทำอะไรได



๒. ศกึ ษาค้นควา้ และหาความร
ู้

ทวปี ตา่ ง ๆ
เปรียบเทียบวนั เวลาของ

เพือ่ ใหเ้ กดิ ความกระจ่าง


ประเทศไทยกบั ประเทศ



๓. อธบิ ายข้อสงั สัยให้ชดั เจน


ในทวีปต่าง ๆ


โดยมีเหตุผลและอ้างอิง




ความรู้





๔. มองเห็นความเหมือน




ความแตกต่างของความรูก้ บั




เวลาจริงของโลก





๕. นำความรทู้ มี่ ีไปใช้ใน





การเปรียบเทยี บเวลาของ




ประเทศไทยกับทวีปตา่ ง ๆ







๓. วเิ คราะห์ ผ้เู รยี นรู้อะไร
๑. ทกั ษะ

การนำเสนอผลการ ๑. ศกึ ษาภัยธรรมชาตทิ ่เี กิดขนึ้

เชอ่ื มโยง ภยั ธรรมชาติทีเ่ กิดข้ึนใน การเชอ่ื มโยง
วิเคราะหเ์ ชอ่ื มโยง ในประเทศไทย และทวีปเอเชีย
สาเหตุและ ประเทศไทย ทวีปเอเชีย ๒. ทักษะ
สาเหตุและ ออสเตรเลีย โอเชยี เนยี

แนวทาง ออสเตรเลีย

การวเิ คราะห
์ แนวทางป้องกนั ภัย ๒. วเิ คราะห์สาเหตุท่ีทำให้
ปอ้ งกนั ภยั และโอเชียเนีย
ธรรมชาตทิ ่ีเกดิ ขน้ึ เกดิ ภัยธรรมชาต

ธรรมชาติและ ผเู้ รียนทำอะไรได
้ ในประเทศไทย ๓. อภปิ รายและสรุปแนวทาง

การระวงั ภยั
วิเคราะหส์ าเหตแุ ละ

และทวีปเอเชีย ปอ้ งกันภัยตามธรรมชาต


ทเี่ กดิ ขนึ้ ใน เสนอแนวทางการปอ้ งกนั ออสเตรเลีย
ตามสาเหตกุ ารเกดิ

ประเทศไทย
และระวงั ภัยธรรมชาติที่ และโอเชียเนีย
๔. แยกแยะข้อมลู

และทวปี เกิดขึ้นในประเทศไทย
ภัยธรรมชาตติ ามเกณฑ์

เอเชยี ทวปี เอเชีย ออสเตรเลีย ๕. วิเคราะห์เชอื่ มโยง

ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย
ภัยธรรมชาติ สาเหตุ และ
และ
แนวทางป้องกนั ภัยธรรมชาติ
โอเชียเนีย
ทีเ่ กิดในประเทศไทยและ
ทวปี เอเชยี ออสเตรเลีย

และโอเชยี เนยี

๖. นำเสนอผลการวิเคราะห์
เชื่อมโยงสาเหตุและแนวทาง
ปอ้ งกนั ภยั ธรรมชาตทิ เ่ี กิดขน้ึ
ในประเทศไทย และทวปี เอเชยี
ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย


28 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดับมัธยมศึกษา


กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร์


มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
และส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อการพัฒนาท่ียงั่ ยนื


ตัวชว้ี ัด
ผู้เรียนรู้อะไร/ทำอะไรได้
ทกั ษะการคิด
ช้ินงาน/
แนวการจดั การเรียนรู้

ภาระงาน
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการคิด


๑. วเิ คราะห

ผูเ้ รียนรอู้ ะไร

๑. ทักษะ

แผนผงั ความคิด ๑. รวบรวมข้อมูลการเปลีย่ นแปลง

ผลกระทบ ๑. การเปลีย่ นแปลงทาง การวเิ คราะห์
แสดงความสมั พนั ธ

ทางธรรมชาตขิ องทวปี เอเชยี
จากการ ธรรมชาติของทวปี เอเชีย ๒. ทกั ษะ
เช่อื มโยงผลกระทบ ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย

เปล่ียนแปลง ออสเตรเลยี และ

การสรุป

ที่เกดิ จากการ ๒. วเิ คราะห์ผลกระทบทเ่ี กดิ
ทางธรรมชาติ โอเชียเนยี
ลงความเห็น
เปลี่ยนแปลง
จากการเปลย่ี นแปลงและ

ของ
๒. ผลกระทบจาก

ทางธรรมชาต
ิ นำเสนอผลกระทบท่ีเกิด

ทวีปเอเชยี การเปลย่ี นแปลงธรรมชาติ
ของทวปี เอเชีย จากการเปลย่ี นแปลง

ออสเตรเลีย ตอ่ การดำเนนิ ชวี ิตของ
ออสเตรเลีย

๓. กำหนดเกณฑ์ใน

และ
มนุษย์ในทวีปเอเชยี
และโอเชียเนยี
การจำแนกแยกแยะขอ้ มูล


โอเชยี เนีย
ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี


และแยกแยะข้อมลู


ผู้เรยี นทำอะไรได


ด้วยวิธีการต่าง ๆ ตาม


แสดงความสัมพนั ธ์



ความเหมาะสมและสรปุ


เชอ่ื มโยงผลกระทบทีเ่ กดิ

สาระสำคัญของเรื่องการ

จากการเปล่ียนแปลงทาง

เปลยี่ นแปลงทางธรรมชาต


ธรรมชาติของทวปี เอเชยี

๔. แสดงความคดิ เห็น และ

ออสเตรเลียและ


หาความสมั พันธ์ ระหวา่ ง


โอเชยี เนยี


ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง






ทางธรรมชาตทิ ม่ี ีต่อ





การดำเนนิ ชวี ิต





๕. สรปุ และอธบิ ายความคิดเหน็





โดยให้เหตุผลประกอบ





๖. จดั ทำแผนผังความคดิ




แสดงความสมั พนั ธ์ เชือ่ มโยง




ผลกระทบที่เกิดจาก





การเปลย่ี นแปลง

ทางธรรมชาตขิ องทวปี เอเชีย
ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย


แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา
29

กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตวั ช้วี ดั
ผู้เรียนรอู้ ะไร/ทำอะไรได
้ ทักษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจัดการเรยี นรู้

ภาระงาน
เพอื่ พฒั นาทกั ษะการคิด


๒. วิเคราะห์ ผู้เรียนรู้อะไร

ทักษะ

รายงานผล

๑. รวบรวมขอ้ มูลดา้ นความ
ความร่วมมือ ความรว่ มมอื ด้าน

การวเิ คราะห์
การวเิ คราะห์ รว่ มมอื ของประเทศต่าง ๆ


ของประเทศ ส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ
ความรว่ มมือ ท่ีมีต่อสิ่งแวดล้อม

ตา่ ง ๆ ท่มี ผี ล ของประเทศตา่ ง ๆ

ระหวา่ งประเทศ
๒. วเิ คราะห์ความรว่ มมือของ

ต่อสงิ่ แวดล้อม
ในทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี
ทม่ี ีผลต่อ

ประเทศตา่ ง ๆ ท่มี ีผลต่อ

ทางธรรมชาติ และโอเชยี เนยี

สิ่งแวดล้อมทาง ส่งิ แวดล้อมและวิเคราะห์ผล
ของ
ผู้เรียนทำอะไรได

ธรรมชาติของ
ท่ีเกดิ จากความรว่ มมือ
ทวีปเอเชยี ๑. ระบคุ วามร่วมมือของ
ทวปี เอเชีย ระหวา่ งประเทศ

ออสเตรเลยี ประเทศตา่ ง ๆ ที่มผี ลต่อ
ออสเตรเลยี และ
๓. กำหนดเกณฑใ์ นการจำแนก

และ
สง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ
โอเชียเนยี
แยกแยะขอ้ มูลตามเกณฑ


โอเชยี เนยี
ของทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี

ท่ีกำหนด


และโอเชยี เนยี


๔. หาความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง


๒. วเิ คราะหผ์ ลกระทบตอ่

ความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ

สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาต


กบั ผลทีเ่ กิดกบั ส่ิงแวดลอ้ ม


ที่เกิดจากความร่วมมอื ของ

๕. จัดทำรายงานและนำเสนอ

ประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย

ผลการวิเคราะห์ ความรว่ มมอื

ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี


ระหว่างประเทศท่มี ผี ลตอ่





สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาตขิ อง




ทวีปเอเชยี ออสเตรเลีย





และโอเชยี เนยี







๓. สำรวจและ ผ้เู รียนร้อู ะไร
๑. ทักษะ

การนำเสนอผล
๑. กำหนดหวั ข้อในการสำรวจ
อธบิ ายทำเล ทำเลท่ตี ้ังของกิจกรรม

การรวบรวม การสำรวจทำเล
คน้ หาเกีย่ วกบั ทำเลท่ีต้งั ของ
ที่ตั้งกิจกรรม ทางเศรษฐกจิ และสังคม

ข้อมลู
ที่ตั้งกจิ กรรมทาง กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และ
ทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชยี ออสเตรเลีย ๒. ทกั ษะ
เศรษฐกจิ และ สงั คมในภมู ิภาคเอเชีย
และสังคม
โอเชยี เนีย
การสำรวจ สังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี

ในทวีปเอเชีย ผู้เรยี นทำอะไรได้
ค้นหา
ออสเตรเลีย และ ๒. กำหนดวธิ ีการท่ีจะสำรวจ
ออสเตรเลีย สำรวจทำเลทตี่ ั้งกจิ กรรม
โอเชยี เนยี
เกบ็ ข้อมลู และสำรวจคน้ หา

และโอเชยี เนยี ทางเศรษฐกิจและสังคม



ตามวิธีการท่ีกำหนด

โดยใช
้ ในทวีปเอเชยี ออสเตรเลยี

๓. รวบรวมขอ้ มลู ที่เกยี่ วขอ้ ง

แหล่งขอ้ มลู
และโอเชียเนยี โดยใช้

๔. จัดการนำขอ้ มลู

ทีห่ ลากหลาย
แหลง่ ข้อมูลท่หี ลากหลาย


และอธบิ ายขอ้ มูล






30 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพือ่ พฒั นาทักษะการคิด ระดบั มัธยมศกึ ษา


กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตวั ช้วี ัด
ผ้เู รยี นร้อู ะไร/ทำอะไรได
้ ทกั ษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจัดการเรยี นร
ู้
ภาระงาน
เพื่อพัฒนาทกั ษะการคิด




๒. อธบิ ายปจั จยั ทาง

๕. นำเสนอผลการสำรวจ

ภูมศิ าสตรท์ ี่เอื้อต่อทำเล


ทำเลทต่ี ้งั กจิ กรรมทาง

ท่ีตงั้ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ

เศรษฐกิจและสังคมใน


และสงั คมในทวีปเอเชยี


ทวปี เอเชีย ออสเตรเลีย


ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี


และโอเชยี เนีย







๔. วเิ คราะห์ ผู้เรียนร้อู ะไร
๑. ทกั ษะ

การนำเสนอกรณี ๑. ศึกษาข้อมูลปจั จัยทาง
ปจั จัยทาง ๑. สญั ลักษณท์ างกายภาพ

การวเิ คราะห์
ตัวอยา่ งเชิงเหตุผล กายภาพและปจั จยั ทางสังคม
กายภาพและ และสงั คมในทวปี เอเชยี ๒. ทกั ษะ
ปัจจยั ทางกายภาพ ของทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี
สงั คมที่มีผล ออสเตรเลีย และ

การเชอ่ื มโยง
และสังคมทมี่ ีผล และโอเชียเนีย

ตอ่ การ
โอเชยี เนีย
ตอ่ การเลอื่ นไหล ๒. กำหนดเกณฑ์ใน


เล่อื นไหล ๒. การเคลอ่ื นไหวของ ทางความคิด
การจำแนกแยกแยะขอ้ มลู

ของความคิด ความคดิ เทคโนโลยี เทคโนโลยี สนิ คา้ ๓. พจิ ารณาแยกแยะข้อมลู
เทคโนโลยี สนิ ค้าและประชากร
และประชากรใน
ตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด
สินคา้ และ ในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย ทวีปเอเชยี ใหเ้ หน็ องคป์ ระกอบของเรอื่ ง

ประชากร
และโอเชยี เนีย
ออสเตรเลยี และ
๔. หาความสัมพนั ธ์ของ

ในทวปี เอเชยี ผู้เรียนทำอะไรได
้ โอเชยี เนยี
สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพ


ออสเตรเลยี วิเคราะห์อทิ ธิพลของ สิง่ แวดลอ้ ม ทางสงั คมกบั
และ

ปัจจยั ทางกายภาพและ การเลอื่ นไหลทางความคิด

โอเชยี เนยี
สังคมท่มี ีผลต่อการ
เทคโนโลยี สินคา้ และ
เลื่อนไหลทางความคดิ ประชากรในทวีปเอเชีย
เทคโนโลยี สินคา้ และ ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี

ประชากรในทวีปเอเชีย ๕. อธบิ ายความสัมพันธ

ออสเตรเลยี และ
และความหมายของขอ้ มลู


โอเชียเนยี
ทีม่ ีความสมั พันธ์เช่ือมโยง

๖. นำเสนอผลงาน






แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาทักษะการคิด ระดบั มธั ยมศึกษา
31

กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม



✦ การจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิด


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด เป็นการวิเคราะห์
ต่อเนื่องจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัด โดยวิเคราะห์ใน ๖ ประเด็น คือ

ความสัมพันธ์/เช่ือมโยงของตัวช้ีวัดแต่ละตัวที่จะนำมาจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ร่วมกันได้ ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ ทักษะการคิด


ชิน้ งาน/ภาระงาน และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา


หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติ
ตามหลักธรรม เพื่ออยู่รว่ มกนั อย่างสนั ติสขุ


ตัวช้ีวดั
ความคดิ
สาระ
ทกั ษะการคิด
ช้ินงาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนร
ู้


สาระท่ี ๑
การเข้าสู่ ๑. การสงั คายนา
๑. ทักษะ

๑. เส้นทาง

๑. ศกึ ษาและ
ศาสนา ศลี ธรรม
ประเทศไทยของ
๒. การเผยแผ่ การสรุป

การเผยแผ่ รวบรวมขอ้ มูลท่ี
จรยิ ธรรม
ศาสนาพทุ ธหรอื พระพุทธศาสนา ลงความเห็น
พระพุทธศาสนา เกยี่ วข้องกับการ

มาตรฐาน ส ๑.๑
ศาสนาท่ตี นนบั ถอื
เข้าสปู่ ระเทศไทย
๒. ทกั ษะ
เข้าสปู่ ระเทศไทย
เข้าสู่ประเทศไทย
๑. อธิบาย
มีความสำคญั ตอ่
๓. ความสำคัญ การจัดระเบยี บ
ในแผนท่ีโครงร่าง ของศาสนาทีน่ ับถือ

การเผยแผ่ สภาพแวดล้อม ของพระพทุ ธ- ๓. ทักษะ
ทวปี เอเชยี และ
๒. วเิ คราะหแ์ ละ

พระพทุ ธ- การพฒั นาตนเอง ศาสนาตอ่
การวิเคราะห์
อธิบาย
สรปุ สาระสำคญั ของ
ศาสนาหรือ
และครอบครวั ของ สังคมไทย
๔. ทักษะ
๒. การนำเสนอ ข้อมลู

ศาสนาที่ตน คนในสังคมไทย
ในฐานะเปน็
การพิสูจน์

ผลการวิเคราะห
์ ๓. เชอื่ มโยงขอ้ มลู

นบั ถอื

- ศาสนา
ความจริง
ความสำคญั ของ ท่ไี ดก้ ับข้อมลู อน่ื ๆ
สู่ประเทศไทย

ประจำชาติ

พระพุทธศาสนา
เพ่อื ให้ข้อมลู


๒. วเิ คราะห์
- สถาบันหลกั
ในฐานะทเ่ี ป็น มคี วามชดั เจน

ความสำคญั
ของสงั คมไทย

ศาสนาประจำชาติ ๔. จดั ลำดบั ขอ้ มูล

ของพระพทุ ธ-
- การพฒั นาตน
และสถาบนั หลัก ตามลำดบั เหตุการณ


ศาสนาหรือ
และครอบครัว

ของชาติ พรอ้ ม
ทส่ี ำคัญและการ


ศาสนาท่ีตน


ยกตัวอย่าง

เกดิ ข้ึนก่อน-หลงั

นับถอื ท่มี ตี ่อ


ประกอบ
๕. จัดทำเสน้ ทาง

สภาพแวดล้อม





การเผยแผ่


ในสงั คมไทย



พระพทุ ธศาสนาหรอื
รวมทง้ั




ศาสนาท่ตี นนบั ถอื
การพัฒนาตน



เข้าสปู่ ระเทศไทย

และครอบครัว




ในแผนทโ่ี ครงรา่ ง





ทวปี เอเชีย






๖. วเิ คราะห์อิทธพิ ล





ของศาสนาท่ีนับถือ






ที่มีต่อสภาพแวดล้อม







34 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาทักษะการคดิ ระดบั มัธยมศึกษา


กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตัวชี้วัด
ความคิด
สาระ
ทักษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรยี นรู้
ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนร
ู้






ของคนในสังคมไทย






ในแตล่ ะด้าน






๗. ศกึ ษาผล






การวเิ คราะหท์ ีไ่ ด






๘. ยืนยนั ผล






การวิเคราะหข์ อ้ มูล





ดว้ ยวธิ ีการ






ยกตวั อยา่ งประกอบ






๙. นำเสนอผล






การวเิ คราะหข์ อ้ มลู





ดว้ ยการอธบิ ายและ





ยกตวั อย่างประกอบ








สาระท่ี ๑
หลักธรรมท่ีได
้ ๑. พุทธประวตั ิ

๑. ทักษะ

๑. การแสดง

๑. ศกึ ษาและสรุป


ศาสนา ศีลธรรม
จากการศึกษา (ประสูติ เทวฑตู ๔ การวเิ คราะห์
บทบาทสมมติ

ประวตั ศิ าสดาของ
จริยธรรม
พุทธประวัตแิ ละ การแสวงหา
๒. ทกั ษะ
เกยี่ วกับ

ศาสนาท่นี บั ถือและ
มาตรฐาน ส ๑.๑
แบบอย่างการ ความร้แู ละ

การประยกุ ตใ์ ช

พุทธประวตั ิ ประวัตสิ าวก ชาดก
๓. วิเคราะห

ดำเนินชีวิตหรือ การบำเพญ็ ความร
ู้ ประวตั สิ าวก เรื่องเล่า และศาสนกิ ชน

พุทธประวัต
ิ ขอ้ คดิ ท่ีไดจ้ าก ทกุ รกริ ยิ า)
๓. ทกั ษะ
ชาดก เรื่องเล่า ตวั อยา่ งตามท่ีกำหนด

ต้ังแตป่ ระสูต

ประวัติสาวก ๒. พทุ ธสาวก
การรวบรวม และศาสนิกชน
๒. วิเคราะหแ์ ละสรุป


จนถึงบำเพญ็

ชาดก เรอ่ื งเล่า พทุ ธสาวกิ า ขอ้ มูล
ตัวอยา่ งตามท
ี่
หลักธรรมจากประวตั ิ
ทุกรกริ ยิ าหรอื
และศาสนกิ ชน (พระมหากสั สปะ ๔. ทักษะ
กำหนดพรอ้ มทั้ง ศาสดาของศาสนา

ประวัติศาสดา

ตัวอย่าง ก่อให้ พระอบุ าล

การนำความร้

สรปุ หลกั ธรรม
ทน่ี ับถือ

ทีต่ นนับถือ

เกิดความศรัทธา
อนาบณิ ฑกิ ะ
ไปใช
้ ขอ้ คิดและ

๓. วิเคราะห์และสรปุ

ตามท่กี ำหนด
และเป็นแรง และนางวิสาขา)
๕. ทกั ษะ
แบบอยา่ งการ
ข้อคดิ และแบบอย่าง
๔. วิเคราะห์และ
จูงใจในการ ๓. ชาดก
การสรุป
ดำเนนิ ชวี ิต
การดำเนินชีวิตจาก

ประพฤติตน
ปฏบิ ตั ติ นของ (อัมพชาดก และ ลงความเห็น
๒. การเสนอ ประวตั สิ าวก ชาดก

ตามแบบอย่าง

ศาสนิกชน
ตติ ตริ ชาดก)

แนวทางการนำ เรอื่ งเลา่ และ
การดำเนินชีวิต
๔. ศาสนกิ ชน
ข้อคดิ และ

ศาสนกิ ชนตัวอย่าง


และขอ้ คดิ จาก


ตัวอยา่ ง
แบบอยา่ งการ ตามท่ีกำหนด

ประวตั ิสาวก

(พระเจา้ อโศก


ดำเนนิ ชีวติ ไปใช้

ชาดก เรือ่ งเล่า
มหาราช


ในชวี ติ ประจำวัน

และศาสนิกชน






แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะการคิด ระดับมธั ยมศกึ ษา
35

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตวั ชวี้ ดั
ความคิด
สาระ
ทักษะการคดิ
ชิน้ งาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรียนรู
้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนรู้

๔. แสดงบทบาท


ตัวอย่างตาม


พระโสณะ และ


สมมตเิ พอ่ื นำเสนอ
ท่ีกำหนด

พระอตุ ตระ)


ประวัติศาสดาของ





ศาสนาทน่ี บั ถอื และ





ประวัตสิ าวก ชาดก





เร่ืองเลา่ และศาสนิกชน







ตัวอยา่ งตามที่





กำหนดและนำเสนอ





หลกั ธรรม ขอ้ คิด





และแบบอยา่ ง






การดำเนนิ ชีวิตที่





เก่ยี วข้อง






๕. หาแนวทางการ






ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้







ในชีวติ ประจำวนั






๖. เสนอแนวทาง





การนำหลกั ธรรม






แบบอย่างการ





ดำเนินชวี ติ และ





ขอ้ คิดท่ไี ด้จาก






การศึกษาพทุ ธประวตั ิ





ประวัติสาวก ชาดก






เร่อื งเลา่ และ





ศาสนิกชนตวั อยา่ ง







ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั













๑. ทบทวนความรู้
สาระท่ี ๑
พระพุทธคุณและ ๑. พระรัตนตรยั
๑. ทกั ษะ

๑. แผนผัง

ของนักเรียน


ศาสนา ศลี ธรรม
อรยิ สจั ๔ เป็น

๒. อรยิ สัจ ๔
การสร้างความรู
้ ความคิดแสดง ดว้ ยการสวดมนต

จริยธรรม
หลักธรรมท
ี่
๓. พุทธศาสน-

๒. ทกั ษะ
โครงสรา้ งของ บูชาพระรตั นตรัย

มาตรฐาน ส ๑.๑
พทุ ธศาสนกิ ชน สุภาษติ
การประยกุ ต
์ พทุ ธคุณและ

๕. อธิบาย
ยดึ ถือเป็นแนวทาง

ใช้ความร้
ู อรยิ สจั ๔

พทุ ธคณุ และ


36 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มัธยมศึกษา


กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตวั ช้วี ัด
ความคดิ
สาระ
ทักษะการคิด
ชิ้นงาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรียนร้
ู ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนรู้


ข้อธรรมสำคญั ในการดำรงชวี ติ
๓. ทกั ษะ
๒. ตวั อย่าง ๒. ศึกษาความหมาย


ในกรอบ
แบบพอเพยี ง
การสร้างความร้
ู พฤตกิ รรม

ของพทุ ธคณุ และ
อริยสัจ ๔ และดแู ลรักษา


การปฏบิ ัติตน อริยสจั ๔

หรือหลกั ธรรม สงิ่ แวดล้อม


ของนักเรียนหรอื ๓. สรปุ เปน็ ความร
ู้
ของศาสนา



บคุ คลอื่นที่ ของตนเอง

ทีต่ นนบั ถือ


สอดคล้องกบั ๔. จดั ทำแผนผงั
ตามทกี่ ำหนด



พทุ ธคณุ
ความคดิ แสดง
เหน็ คณุ คา่


อริยสัจ ๔ โครงสรา้ งของ

และนำไป


เศรษฐกิจพอเพียง
พุทธคณุ และอรยิ สจั ๔
พัฒนาแกป้ ัญหา


และการดูแล และนำเสนอ

ของตนเอง


รักษาสิง่ แวดล้อม ๕. ศึกษาปรัชญาของ
และครอบครวั



ทนี่ ักเรยี น
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๘. วเิ คราะห์และ



เคยเห็น/อ่าน/ฟงั
และสรปุ ความรู

ปฏบิ ตั ติ นตาม



พร้อมท้ังผล
๖. เชอ่ื มโยง

หลักธรรมทาง



ทีเ่ กิดจาก

ความสมั พนั ธแ์ ละ
ศาสนาทีต่ น




การปฏิบัต
ิ สอดคล้องกันของ
นบั ถือในการ




หลักธรรมกบั
ดำรงชีวิตแบบ



เศรษฐกจิ พอเพียง

พอเพียงและ



๗. จดั ระเบยี บ

ดูแลรกั ษา




ความสอดคลอ้ ง
ส่ิงแวดลอ้ ม




สัมพันธก์ นั ของขอ้ มูล

เพ่ือการอย
ู่




๘. เชือ่ มโยงความรู้
ร่วมกันได้





เพ่อื การดำรงชีวิต
อยา่ งสนั ตสิ ขุ




แบบพอเพียงและ





การรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม





เพอ่ื การอย่รู ่วมกัน





ไดอ้ ย่างสนั ตสิ ขุ






ยกตวั อย่างพฤติกรรม





การปฏบิ ตั ติ นของ





นักเรียนหรือบคุ คล





อ่ืนที่สอดคล้องกบั





พุทธคุณและอริยสัจ ๔





เศรษฐกิจพอเพียง


แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทักษะการคดิ ระดับมธั ยมศึกษา
37

กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตัวช้ีวดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคิด
ชน้ิ งาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กจิ กรรมการเรยี นรู







และการดแู ลรักษา





สงิ่ แวดลอ้ มที่





นกั เรียนเคยเหน็ /





อ่าน/ฟัง พร้อมท้ัง





ผลที่เกิดจาก






การปฏิบตั ิ








สาระท่ี ๑
การพฒั นาจติ
๑. โยนโิ สมนสิการ
๑. ทักษะ

๑. การอธิบาย ๑. ศึกษาความรู้
ศาสนา ศลี ธรรม
เพื่อการเรยี นรู้

- วิธคี ดิ แบบ การวเิ คราะห
์ หลกั การของ

เก่ยี วกบั วธิ กี ารคิด
จรยิ ธรรม
และการดำเนิน

คุณค่าแท้-

๒. ทักษะ
การคดิ ด้วยแบบ

แบบโยนิโสมนสิการ

มาตรฐาน ส ๑.๑
ชีวติ ตามหลกั การ

คณุ ค่าเทยี ม
การสรปุ

โยนโิ สมนสิการ และอานาปานสต


๖. เหน็ คณุ ค่าของ
ของพทุ ธศาสนา
- วธิ ีคิดแบบ
ลงความเห็น
แบบคณุ ค่าแท้- ๒. ศกึ ษากรณี
การพัฒนาจติ สามารถปฏิบตั ไิ ด

คุณ-โทษ และ ๓. ทักษะ
คุณค่าเทียมและ ตวั อยา่ งทเ่ี ก่ียวกับ

เพอ่ื การเรียนรู้ ด้วยการ
ทางออก
กระบวนการคิด
แบบคณุ โทษ
วธิ ีการคิดแบบ
และการ ดำเนินชวี ติ ตาม ๒. สวดมนต์แปล อย่างมวี ิจารณญาณ
และทางออก
โยนโิ สมนสิการและ

ดำเนนิ ชวี ิต
หลกั การของ และแผ่เมตตา

และอานาปานสต
ิ อานาปานสติ

ด้วยวธิ คี ิดแบบ
โยนโิ สมนสกิ าร
- วธิ ปี ฏบิ ัตแิ ละ
๒. การแสดง
๓. วเิ คราะหเ์ ช่อื มโยง

โยนโิ สมนสกิ าร
สวดมนต์ ภาวนา
ประโยชน์ของ

บทบาทสมมติ กรณตี ัวอยา่ งวา่

คอื วธิ ีคดิ แบบ และแผ่เมตตา
การบริหารจิต
เก่ยี วกบั การใช

สอดคล้องกบั


คุณค่าแท-้
และเจริญปญั ญา
วิธคี ดิ แบบ

วธิ ีการคดิ แบบใดของ


คุณคา่ เทียม
การฝึกบริหารจติ
โยนิโสมนสิการ โยนิโสมนสกิ ารและ

และวธิ คี ดิ
และเจรญิ ปัญญา
แบบคุณค่าแท-้ อานาปานสติ

แบบคุณ-โทษ
ตามหลกั

คุณคา่ เทียมและ ๔. ศึกษาและ

และทางออก
สติปัฏฐาน


แบบคณุ -โทษ ทำความเขา้ ใจ


หรอื การ
เน้นอานาปานสติ

และทางออกและ
วิธีคิดแบบคณุ คา่ แท้-

พัฒนาจิตตาม
- นำวิธกี าร

อานาปานสต

คณุ ค่าเทยี ม และ

แนวทางของ
บรหิ ารจิตและ
ในชวี ิตประจำวัน วธิ ีคิดแบบคุณ-โทษ
ศาสนาท
่ี

เจริญปญั ญาไปใช


และอธบิ าย และทางออก

ตนนับถอื

ในชีวติ ประจำวนั

คุณค่าทม่ี ีต่อ
๕. อธิบายหลักการ
๗. สวดมนต์



การเรียนรแู้ ละ ของการคิดด้วยวิธคี ิด
แผ่เมตตา


ดำเนนิ ชวี ติ
แบบโยนโิ สมนสิการ
บรหิ ารจิตและ



แบบคุณคา่ แท-้



คุณคา่ เทียมและ


38 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิด ระดบั มัธยมศึกษา


กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั ชว้ี ัด
ความคดิ
สาระ
ทักษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจัด

รวบยอด
การเรียนร้
ู ภาระงาน
กจิ กรรมการเรียนรู้


เจริญปญั ญา



วธิ คี ิดแบบคุณ-โทษ
ดว้ ยอานา-




และทางออก

ปานสติ หรือ



๖. แสดงบทบาท

ตามแนวทาง




สมมตเิ ก่ียวกบั


ของศาสนา





การใช้วิธคี ิดแบบ
ท่ีตนนับถือ



โยนิโสมนสิการ

ตามทก่ี ำหนด




แบบคณุ ค่าแท้-







คณุ คา่ เทียม และ






วธิ ีคดิ แบบคุณ-โทษ





และทางออก






ในชีวิตประจำวัน





และอธบิ ายคุณคา่






ท่ีมตี ่อการเรยี นรู้





และดำเนินชีวิต








สาระที่ ๑
คำสอนของ
๑. ศาสนิกชน

๑. ทักษะ

๑. การแสดง

๑. สำรวจค้นหาและ
ศาสนา ศีลธรรม
ศาสนาเปน็ สงิ่ ท
่ี
ของศาสนา

การรวบรวม ภาพพธิ กี รรมของ รวบรวมข้อมลู ดา้ น
จริยธรรม
ศาสนกิ ชน ต่าง ๆ มกี าร ข้อมูล
ศาสนาต่าง ๆ ศาสนาท่มี ีการนบั ถอื
มาตรฐาน ส ๑.๑
ยดึ ถือเพ่อื เปน็ ประพฤตปิ ฏิบัตติ น

๒. ทักษะ
เลา่ ประสบการณ์ ในประเทศไทย

๙. วเิ คราะห์ แนวปฏบิ ัติใน และวิถกี ารดำเนนิ การสำรวจค้นหา
ของนักเรียนท่ีมี ๒. ศึกษาหลักธรรม

เหตุผล
การดำเนินชวี ิต
ชวี ติ แตกตา่ งกนั ๓. ทักษะ
ในการเข้าร่วม คำสอนสำคญั ของ
ความจำเปน็ การเรียนรู้
ตามหลักความเชอ่ื การวิเคราะห
์ พิธกี รรมทาง แต่ละศาสนาที่
ทท่ี กุ คนต้อง หลักธรรม
และคำสอน
๔. ทักษะ
ศาสนา พรอ้ มท้ัง ศาสนิกชนยึดถือ
ศึกษาเรียนรู้ คำสอนของ ของศาสนา

การสรปุ
บอกเหตุผลและ ปฏบิ ัต

ศาสนาอื่น ๆ
ศาสนาอื่น ๆ
ทีต่ นนับถือ
ลงความเห็น
ความรสู้ ึกในการ ๓. เปรียบเทยี บ
๑๐. ปฏบิ ตั ิตนต่อ ทำให้ปฏบิ ตั ติ น
๒. การปฏบิ ตั ิ ๕. ทกั ษะ

เข้าร่วมกจิ กรรม
ความเหมือนและ
ศาสนิกชน

ต่อศาสนิกชน

อยา่ งเหมาะสม การนำความรู้

๒. การนำเสนอ ความตา่ งในการ
อนื่ ใน ของศาสนาอ่นื

ต่อศาสนกิ ชนอน่ื

ไปใช้
ผลการวิเคราะห์ ปฏบิ ัติตนตาม

สถานการณ์ อยา่ งเหมาะสม
ในสถานการณ


พฤติกรรมของ หลกั การของแตล่ ะ
ต่าง ๆ ได้ ตา่ ง ๆ
บคุ คลทเ่ี ปน็
ศาสนาและหลักการ
เหมาะสม
แบบอยา่ งด้าน ปฏบิ ัตติ นในการ

ศาสนสมั พนั ธ
์ เข้าร่วมกจิ กรรม



แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มัธยมศกึ ษา
39

กล่มุ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั ชวี้ ดั
ความคิด
สาระ
ทกั ษะการคดิ
ช้นิ งาน/
แนวการจดั

๑๑. วเิ คราะห

รวบยอด
การเรยี นร
ู้ ภาระงาน
กิจกรรมการเรยี นร
ู้
ทางศาสนาของ
การกระทำ ๓. ตวั อย่าง ศาสนาอ่นื ๆ

ของบุคคลที่ บุคคลในท้องถ่ิน รวมถงึ เหตผุ ลท
่ี
เป็นแบบอย่าง หรอื ประเทศ
ทกุ คนตอ้ งปฏบิ ตั ติ น
ด้านศาสน- ทีป่ ฏิบตั ิตนเป็น อยา่ งเหมาะสมใน
สัมพนั ธ์และ แบบอยา่ งดา้ น การเข้าร่วมกจิ กรรม

นำเสนอ ศาสนสมั พันธ์ ๔. สรปุ ผลการ
แนวทาง
หรือมผี ลงาน
อภปิ รายในประเดน็

การปฏบิ ตั ิ ด้านศาสนสัมพันธ์
- ความเหมอื นและ
ของตนเอง
ความตา่ งในการ
ปฏบิ ตั ิตนตาม

หลักการของแตล่ ะ
ศาสนา

- หลกั การปฏิบตั ิตน
ในการเขา้ ร่วม
กิจกรรมทางศาสนา
ของศาสนาอืน่ ๆ

- เหตผุ ลท่ีทกุ คน
ตอ้ งปฏบิ ัติตนอยา่ ง
เหมาะสมในการ

เขา้ ร่วมกจิ กรรม

๕. ศกึ ษาคน้ ควา้
และรวบรวมข้อมูล
เพอ่ื สนบั สนนุ

ขอ้ สรุป

๖. แสดงภาพ
พิธีกรรมทางศาสนา
ตา่ ง ๆ พร้อมเล่า
ประสบการณ์ในการ
เข้ารว่ มพธิ ีกรรม

ทางศาสนาและ



40 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อพฒั นาทกั ษะการคดิ ระดับมัธยมศกึ ษา


กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั ชี้วดั
ความคดิ
สาระ
ทักษะการคดิ
ชนิ้ งาน/
แนวการจดั

รวบยอด
การเรยี นรู้
ภาระงาน
กิจกรรมการเรียนร้

บอกเหตุผลและ
ความรู้สึกในการ

เข้ารว่ มกิจกรรม

๗. สำรวจค้นหา
บุคคลที่เปน็

แบบอย่างดา้ น

ศาสนสมั พนั ธ

๘. วเิ คราะห์
พฤตกิ รรมของบคุ คล
ที่เป็นแบบอย่าง

ด้านศาสนสัมพันธ

๙. นำเสนอผลการ

วิเคราะห์พฤตกิ รรม
ของบุคคลทีเ่ ปน็

แบบอยา่ งด้าน

ศาสนสมั พนั ธ์


แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พือ่ พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั มัธยมศกึ ษา
41

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version