The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

1

แผนการจัดการเรยี นรู้
ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551

รายวชิ าลูกเสือ กศน. สค12025
ระดบั ประถมศึกษา

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอกนั ทรลกั ษ์
สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ศรสี ะเกษ

2

คานา

หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวิชา สค12025
ลูกเสือ กศน. ระดับประถมศึกษา ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับลูกเสือกับการพัฒนา การลูกเสือไทย การ
ลูกเสือโลก คุณธรรม จริยธรรมของลูกเสือ วินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ลูกเสือ กศน.กับการพัฒนา
ลูกเสือ กศน.กับจิตอาสาและการบริการ การเขียนโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ทักษะลูกเสือ ความ
ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล การเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวค่าย
และการฝึกปฏิบัตกิ ารเดินทางไกล อยคู่ ่ายพักแรม และชวี ติ ชาวค่าย และชุดวิชานี้ มีวัตถุประสงค์เพือ่ ให้ผู้เรียน
สามารถนาส่ิงท่ีได้เรียนรู้เป็นเครื่องมือที่สาคัญในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมให้เป็นผู้ที่มี
คุณภาพ เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดีมีคุณธรรม มีระเบียบวินัย รู้จักเสียสละสร้างความสามัคคีบ าเพ็ญตนให้เป็น
ประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ื่น สามารถดารงตนอยูใ่ นสงั คม ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

แผนการเรียนรู้รายวิชา สค12025 ลูกเสือ กศน. ระดับประถมศึกษา มีท้ังหมด 18 แผน แผนการ
เรียนรู้แต่ละแผนประกอบด้วยหัวข้อรายละเอียดสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง กิจกรรมการเรียนรู้
ส่อื อปุ กรณ์และแหลง่ เรียนรู้ ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน และการวัดและประเมินผล
โดยกิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้ยดึ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

หวังว่าแผนการเรียนรู้นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหากนาไปใช้ได้ผลเป็นประการใด โปรดแจ้งให้ผู้จัดทาทราบด้วย
จะเป็นประโยชน์อยา่ งยิ่งต่อการปรับปรุงแผนการเรียนดังกลา่ วใหส้ มบูรณย์ ่ิงข้ึน

3

สารบัญ

หนา้

คานา

สารบัญ

หลกั การของหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 1

จดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 2

โครงสรา้ งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 3

การนาหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551สกู่ ารจดั การเรียนรู้ 5

ขน้ั ตอนการจัดทาแผนการเรียนร้รู ายวชิ า 8

คาอธิบายรายวชิ า สค12025 ลูกเสอื กศน. 9

รายละเอยี ดคาอธิบายรายวชิ า สค12025 ลูกเสือ กศน. 10

ตารางวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ดั รายวิชา สค12025 ลกู เสือ กศน. 14

แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรรู้ ายภาคเรยี นรายวิชา สค12025 ลูกเสอื กศน. 20

แผนการเรียนรรู้ ายสปั ดาห์ 21

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง ลูกเสอื กบั การพฒั นา 22

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่ือง การลกู เสือไทย 37

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง การลกู เสือโลก 50

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของลูกเสอื 63

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 เรือ่ ง วินยั และความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย 77

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เรอ่ื ง ลกู เสอื กศน. กบั การพัฒนา 93

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เร่อื ง ลกู เสือ กศน. กบั จติ อาสา และการบริการ 108

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 เรอ่ื ง การเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสงั คม 122

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 เร่ือง ทักษะลูกเสือ (แผนที่ - เข็มทิศ) 144

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10 เรอ่ื ง ทักษะลูกเสือ (วิธีการใช้แผนท่ี - เขม็ ทิศ) 156

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11 เรอ่ื ง ทกั ษะลูกเสือ (เงื่อนเชือก) 171

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12 เรื่อง ความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลูกเสือ 180

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 เรอ่ื ง การปฐมพยาบาล 197

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 14 เรื่อง การวัดสญั ญาณชพี และการประเมนิ เบื้องต้น 215

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 15 เรื่อง การเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรมและชวี ิตชาวค่าย 229

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรอ่ื ง การวางแผนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม 253

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 17 เรอ่ื ง กิจกรรมกลางแจ้ง นันทนาการ ชุมนุมรอบกองไฟ 263

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 18 เรื่อง การใช้ชีวิตชาวค่ายร่วมกับผอู้ ่ืนในคา่ ยพกั แรม

ไดอ้ ย่างสนุกสนานและมคี วามสขุ 4

ขอ้ สอบปลายภาค 273
คณะผจู้ ดั ทา 282
298

1

หลักการ
ของหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดหลกั การไว้ ดังน้ี
1. เป็นหลักสูตรท่ีมีโครงสร้างยืดหยุน่ ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น และการจดั การเรียนรู้ โดย เน้น
การบรู ณาการเน้ือหาให้สอดคล้องกับวิถีชวี ิต ความแตกตา่ งของบุคคล และชุมชน
2. สง่ เสรมิ ให้มกี ารเทียบโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั
3. สง่ เสริมให้ผู้เรยี นไดพ้ ัฒนาและเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ โดยตระหนกั วา่ ผู้เรยี นมีความสาคญั
สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ
4. สง่ เสริมให้ภาคีเครอื ขา่ ยมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา

2

จดุ มุง่ หมาย
ของหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน
มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพ และการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่องซงึ่ เป็นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ที่ต้องการ จึงกาหนดจุดหมาย ดงั ตอ่ ไปนี้

1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มที่ดงี าม และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอยา่ งสนั ตสิ ุข
2. มคี วามร้พู นื้ ฐานสาหรับการดารงชีวิตและการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพ ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และตามทัน
ความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมือง
4. มีทักษะการดาเนินชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกีบชีวิต ชุมชน สังคม ได้อย่างมีความสุข ตาม
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทยโดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญา ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
6. มีจิตสานักในการอนรุ ักษ์ และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และบูรณาการ
ความรูม้ าใชใ้ นการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

3

โครงสร้าง
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

เพื่อให้การจดั การศกึ ษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้ ทีก่ าหนดไว้ จึงกาหนด
โครงสร้างของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไว้ดงั น้ี
ระดบั การศกึ ษา แบ่งออกเปน็ 3 ระดับ ดังน้ี

1. ระดบั การศกึ ษา
1.1 ระดบั ประถมศึกษา
1.2 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
1.3 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2. เนื้อหา ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดงั น้ี
2.1 สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเก่ียวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้การ

จดั การความรูก้ ารคดิ เปน็ และการวจิ ยั อย่างง่าย
2.2 สาระความรู้พ้ืนฐาน เปน็ สาระเก่ียวกับภาษา และการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี
2.3 สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเกี่ยวกับการมองเห็นช่องทางและการตัดสินใจประกอบ

อาชีพทักษะในอาชพี การจดั การอาชพี อย่างมคี ุณธรรม และการพัฒนาอาชีพใหม้ คี วามมนั่ คง
2.4 สาระทักษะการดาเนินชีวิต เป็นสาระเก่ียวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพอนามัย

และความปลอดภัยในการดาเนินชวี ติ ศิลปะและสุนทรยี ภาพ
2.5 สาระการพัฒนาสังคม เป็นสาระเก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง

การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าทพี่ ลเมือง และการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม
3. กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.)

4

เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่จัดข้ึนตามเง่ือนไขการจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเองครอบครัว ชุมชน สังคม และกาหนดให้
นกั ศกึ ษาทุกระดับการศกึ ษาตอ้ งเรียนรู้ และปฏบิ ัติกิจกรรมจานวนไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง

4. เวลาเรยี น
ในแต่ละระดับใช้เวลาเรียน 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีที่มีการเทียบโอนผลการเรียนท้ังนี้นักศึกษา

ต้องลงทะเบียนเรียนในสถานศกึ ษาอย่างน้อย 1 ภาคเรยี น
5. หน่วยกติ
ใชเ้ วลาเรยี น 40 ชว่ั โมง มีคา่ เท่ากบั 1 หนว่ ยกิต

โครงสรา้ งหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

ที่ เนอื้ หา ประถมศกึ ษา จานวนหน่วยกติ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
วิชาบงั คับ วิชาเลือก มัธยมศกึ ษาตอนตน้ วิชาบังคับ วิชาเลือก
1. ทกั ษะการเรยี นรู้ วชิ าบงั คบั วิชาเลอื ก
2. ความรพู้ น้ื ฐาน 5 5 5
3. การประกอบอาชพี 12 16 20
4. ทกั ษะการดาเนินชีวิต 8 8 8
5. การพฒั นาสงั คม 5 5 5
6 6 6
รวม 36 12 40 16 44 32
76 หน่วยกิต
กิจกรรม 48 หน่วยกติ 56 หน่วยกิต
พัฒนาคุณภาพชีวิต 200 ช่ัวโมง
200 ช่ัวโมง 200 ช่ัวโมง

หมายเหตุ ในแต่ละระดับสถานศึกษาต้องจัดใหน้ ักศึกษาเรยี นร้จู ากการทาโครงงานจานวนอยา่ งนอ้ ย
3 หน่วยกิต

5

การนาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
สกู่ ารจดั การเรียนรู้

1. การจดั หลักสตู ร
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีนาไปใช้จัดการเรียนรู้

นัน้ ประกอบด้วยเน้ือหา 5 สาระ คือ ทักษะการเรียนรู้ ความรพู้ ้ืนฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนิน
ชีวิต และการพัฒนาสังคม โดยโครงสรา้ งหลักสตู รได้กาหนดจานวนหน่วยกิตในแต่ละระดับทั้งวชิ าบังคับและ
วิชาเลือก ซ่ึงนักศึกษาทุกคนต้องเรียนวิชาบังคับตามท่ีกาหนด สาหรับวิชาเลือกให้นักศกึ ษาเลอื กเรียนได้ตาม
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และหรือกลุ่ม โดยเลือกเรียนในเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่งหรือหลายเนื้อหา
ใหค้ รบจานวนหน่วยกิต ตามโครงสร้างหลักสูตรในแตล่ ะระดบั ตามความต้องการของนกั ศึกษา

6

2. การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การจัดการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีวิธี

เรียนเดียว คอื วิธีเรียน กศน. ท่ีสามารถจัดการเรียนไดห้ ลายรปู แบบ โดยพิจารณาจากปัจจัยต่อไปน้ี
1. ความพรอ้ ม ความสนใจ และศักยภาพของนักศกึ ษา
2. ความพรอ้ มในการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
3. ความพรอ้ มและศักยภาพของครู

3. ความยากง่ายของเน้ือหารายวิชาวธิ เี รียน กศน.
มีรูปแบบการเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสมกบั นักศกึ ษา เชน่ การเรยี นรู้แบบพบกลุ่ม การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การ

เรียนรู้แบบทางไกล การเรียนรู้แบบช้ันเรียน และการเรียนรู้ แบบอ่ืน ๆ การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นวิธีการ
จัดการเรียนรูท้ ่ีผู้เรียนกาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเองตามรารายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน โดยมีครเู ป็น
ทปี่ รกึ ษาและใหค้ าแนะนาในการศกึ ษาหาความรู้ด้วยตนเองจากภูมปิ ญั ญา ผรู้ ู้ และสื่อต่างๆ

การเรยี นร้แู บบพบกลมุ่
เปน็ วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ที่กาหนดให้ผู้เรยี นมาพบกัน โดยมคี รเู ป็นผู้ดาเนินการใหเ้ กิดกระบวนการกลุ่ม
เพ่อื ให้มกี ารอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละหาข้อสรปุ ร่วมกนั
การเรียนรู้แบบทางไกล
เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้จากส่ือต่าง ๆ โดยที่ผู้เรียนและครูจะส่ือสารกันทางสื่ออิเล็คทรอนิคส์เป็นส่วน
ใหญ่ หรอื ถา้ มคี วามจาเป็นอาจพบกันเปน็ ครั้งคราว
การเรียนรแู้ บบช้นั เรยี น
เป็นวิธีการจดั การเรยี นรู้ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดรายวิชา เวลาเรยี น และสถานที่
ท่ชี ดั เจน ซึ่งการจดั การเรยี นร้นู ีเ้ หมาะสาหรับผ้เู รยี นท่มี เี วลาเข้าชัน้ เรยี น
การเรียนรู้ตามอธั ยาศยั
เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความต้องการและความสนใจ จากสื่อเอกสาร
ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ หรือจากการฝกึ ปฏิบัติตามแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วนาความรู้และประสบการณ์มาเทียบโอน
เขา้ สูห่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

การเรยี นรู้จากการทาโครงงาน
เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนกาหนดเร่ืองโดยสมัครใจตามความสนใจ ความต้องการ หรือสภาพ
ปัญหา ท่ีจะนาไปสู่การศึกษาค้นคว้า ทดลอง ลงมือปฏิบัติจริงและมีการสรุปผลการดาเนินงานตามโครงงาน
โดยมีครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนา อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ และกระตุ้นเสริมแรงให้เกิดการเรียนรู้

7

การเรียนรู้รูปแบบอื่น ๆ สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบอ่ืน ๆ ได้ตาม
ความต้องการของผู้เรียน

เวลาเรียน ในปกี ารศึกษาหน่งึ ๆ ใหแ้ บ่งภาคเรียนออกเปน็ 2 ภาคเรยี น ภาคเรยี นละ 20 สัปดาห์

4. การวดั และประเมนิ ผลตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551
4.1 การวดั และประเมินผลการเรียน ไดแ้ ก่
1) การวัดและประเมินผลการเรียนรายวิชา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดเน้ือหา ประกอบด้วย 5 เนื้อหา คือ ทักษะการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน
การประกอบอาชีพ ทกั ษะการดาเนินชีวิต และการพฒั นาสังคม โดยแต่ละเน้ือหาประกอบด้วยรายวิชาต่าง ๆ
กาหนดให้มีการวัดและประเมินผลเป็นรายวิชาก่อนเรียน ระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน เพื่อทราบ
สภาพและความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรมอันเป็นผลมาจากการจัดการจัด
กระบวนการเรยี นรู้ ของสถานศึกษาในแต่ละรายวิชา ดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์
ประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ประเมินการปฏิบัตติ ามมาตรฐานการเรียนรู้ ประเมินการปฏิบัตจิ ริง ทดสอบย่อย
ประเมินจากกิจกรรมโครงงานหรือแบบฝึกหัดเป็นต้นโดยเลือกให้สอดคล้องและเหมาะสมกับธรรมชาติของ
รายวชิ าควบคไู่ ปกับการจดั กระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรยี น

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรายวิชากาหนดคะแนนระหว่างภาคเรยี น และปลายภาคเรียน
เป็นไปตามท่สี านักงาน กศน. กาหนด ดงั น้ี

คะแนนระหวา่ งภาคเรียน 60 คะแนน และ คะแนนปลายภาคเรยี น 40 คะแนน
การตดั สนิ ผลการเรียนรายวิชา ใหน้ าคะแนนระหว่างภาคเรยี นมารวมกับคะแนนปลายภาคเรยี น
และจะต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 50 จึงจะถือวา่ ผ่านการเรยี นในรายวชิ านั้น
ทั้งน้ี ผเู้ รียนตอ้ งเขา้ สอบปลายภาคเรียนดว้ ย แล้วนาคะแนนไปเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ที่กาหนด
โดยให้ค่าระดบั ผลการเรียนเป็น 8 ระดับ ดงั นี้
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 80 – 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถงึ ดีเยย่ี ม
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 75 - 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถึง ดีมาก
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 - 74 ใหร้ ะดับ 3 หมายถงึ ดี
ได้คะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดับ 2.5 หมายถึง ค่อนขา้ งดี
ไดค้ ะแนนร้อยละ 60 - 64 ให้ระดับ 2 หมายถงึ ปานกลาง
ได้คะแนนร้อยละ 55 - 59 ให้ระดับ 1.5 หมายถงึ พอใช้
ได้คะแนนร้อยละ 50 – 54 ให้ระดบั 1 หมายถงึ ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ต่าท่กี าหนด
ได้คะแนนร้อยละ 0 - 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถงึ ตา่ กวา่ เกณฑ์ขนั้ ต่าท่กี าหนด
การประเมินซอ่ มผูท้ ่ีมสี ิทธเิ์ ขา้ รบั การประเมินซ่อม คือนักศึกษาท่เี ขา้ สอบปลายภาคเรยี นแตผ่ ล
การประเมินไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินผลการเรยี นรายวชิ า โดยให้นักศึกษาเข้ารับการประเมนิ ซ่อม ตาม วัน
เวลา สถานที่ และวธิ ีที่สถานศกึ ษากาหนดและให้ค่าระดบั ผลการเรยี นไมเ่ กิน 1

8

2) การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ (กพช.) เปน็ เงือ่ นไขหนึง่ ทีผ่ เู้ รียนทุกคนจะตอ้ งได้รบั
การประเมนิ ตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด โดยผู้เรียนจะต้องทากจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิตไมน่ ้อยกว่า 200
ชวั่ โมง จงึ จะได้รบั การพจิ ารณาอนุมัตใิ ห้จบหลักสูตรในแตล่ ะระดบั การศึกษา

3) การประเมินคุณธรรมการประเมนิ คุณธรรมเป็นเง่ือนไขที่ผู้เรยี นทุกคนจะต้องได้รับการ
ประเมนิ ตามเกณฑ์ท่ีหลักสูตรกาหนด จงึ จะไดร้ ับการพจิ ารณาใหจ้ บหลักสตู รในแต่ละระดับการศึกษา โดย
สานักงาน กศน. ได้กาหนดคุณธรรมเบอื้ งต้นไว้ สาหรับผลการประเมนิ ใหเ้ ปน็ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี และดีมาก
คุณธรรมเบอ้ื งต้นทสี่ านักงาน กศน. กาหนดเพอื่ ใชเ้ ปน็ หลักในการประเมินมีจานวน 9 คุณธรรมตามหลกั สูตร
การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แบง่ ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

กลมุ่ ที่ 1 คุณธรรมเม่อื การพฒั นาตน ประกอบดว้ ย 1) สะอาด 2) สภุ าพ 3) กตัญญูกตเวที
กล่มุ ท่ี 2 คุณธรรมเพื่อการพฒั นาการทางาน ประกอบด้วย 1) ขยัน 2) ประหยัด 3)
ซื่อสตั ย์
กลุ่มที่ 3 คุณธรรมเพ่ือการพฒั นาการอยู่รว่ มกนั ในสงั คม ประกอบด้วย 1) สามัคคี 2) มีน้าใจ
3) มีวนิ ัย
4.2 การประเมินคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ
หลกั การประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ ผเู้ รียนทกุ คนท่ีเรียนในภาคเรยี นสุดท้าย
ของทกุ ระดับการศกึ ษา ได้แก่ ระดับประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ต้องเข้ารับ
การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ ในเน้ือหาตามที่สานักงาน กศน. กาหนดการประเมิน
คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติไม่มผี ลต่อการไดห้ รอื ตกของผเู้ รียน แต่มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือนาข้อมูลท่ไี ด้
จากการประเมินไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนาผู้เรียน และการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของ
สถานศึกษา รวมทั้งเป็นข้อมูลในการส่งเสรมิ สถานศึกษาในด้านวิชาการ และด้านอื่น ๆ ให้มีคุณภาพใกล้เคียงกัน
เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร
ผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ในแต่ละระดบั
การศึกษาต้องผ่านเกณฑ์การจบหลกั สตู ร ดังนี้
1. ผา่ นเกณฑ์การประเมินการเรยี นรู้รายวชิ าในแต่ละระดับการศึกษา ตามโครงสร้างหลกั สตู ร คอื
1.1 ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกวา่ 48 หน่วยกิต แบง่ เป็นวชิ าบังคบั 36 หนว่ ยกิต และวชิ า
เลอื กไมน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต
1.2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ไมน่ ้อยกว่า 56 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคบั 40 หนว่ ยกติ และ
วิชาเลือกไมน่ ้อยกวา่ 16 หนว่ ยกิต
1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไมน่ อ้ ยกวา่ 76 หน่วยกิต แบ่งเป็นวชิ าบงั คบั 44 หนว่ ยกิต และ
วชิ าเลือกไม่น้อยกวา่ 32 หนว่ ยกิต
2. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (กพช.) ไมน่ อ้ ยกวา่ 200 ช่ัวโมง

9

3. ผ่านการประเมินคุณธรรมในระดับพอใช้ขึ้นไป
4. เข้ารับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ

ขั้นตอนการจัดทาแผนการเรยี นรูร้ ายวชิ า

ขนั้ ตอนที่ 1 วิเคราะหค์ าอธิบายรายวิชา ตวั ชว้ี ดั และเน้ือหา ตารางวิเคราะห์ สาระการ
ของรายวชิ า เพอ่ื วเิ คราะหเ์ นอื้ หายาก ยากปาน เรยี นรรู้ ายวิชา
กลาง งา่ ย

ขนั้ ตอนที่ 2 นาเน้ือหาทีว่ ิเคราะหย์ ากปานกลาง มา แบบฟอร์มการจดั ทาแผนการ
จดั ทาแผนการเรียนรรู้ ายภาค เรียนรรู้ ายภาค

ข้นั ตอนที่ 3 นาแผนการจดั การเรียนรู้รายภาคมาเขยี น แบบฟอร์มการจดั ทาแผนการ
รายละเอียดของขน้ั ตอนการทากิจกรรมการ เรียนรรู้ ายสัปดาห์
เรยี นรู้ โดยจดั ทาแผนการเรยี นรรู้ ายสัปดาห์

ขัน้ ตอนท่ี 4 นาเนอ้ื หาทว่ี ิเคราะห์ง่ายมาจัดทาแผนการ แบบฟอรม์ การจดั ทาแผนการ
ขั้นตอนท่ี 5 เรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง(กรต.)

นาเนือ้ หาทีว่ เิ คราะหย์ ากมากมาจดั ทาแผนสอน แบบฟอรม์ การจดั ทาแผนสอน
เสรมิ เสรมิ

10

คาอธิบายรายวิชา สค12025 ลูกเสอื กศน. จานวน 2 หน่วยกติ
ระดับประถมศกึ ษา

มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เก่ยี วกับภมู ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรับใช้ในการดาเนินชวี ิต และการประกอบอาชีพ เพ่ือความมนั่ คงของชาติ
2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของทอ้ งถิ่น และ

ประเทศไทย
3. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชวี ิตตามวิถปี ระชาธิปไตย กฎหมายเบ้ืองตน้ กฎระเบยี บของชุมชน

สงั คม และประเทศ
4. มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพัฒนาชุมชน สงั คม และวิเคราะหข์ ้อมลู ในการพฒั นาตนเอง

ครอบครวั ชุมชน สงั คม

ศึกษาและฝกึ ทกั ษะเก่ียวกับเรอื่ งตอ่ ไปน้ี
ลูกเสือกบั การพฒั นา การลูกเสือไทย การลกู เสือโลก คุณธรรม จริยธรรมของลกู เสือ วนิ ยั และความ

เป็นระเบยี บเรยี บร้อยอลกู เสือกศน.กับการพัฒนา ลูกเสอื กศน.กับจติ อาสาและการบรกิ าร การเขยี นโครงการ
เพือ่ พัฒนาชุมชนและสังคม ทักษะลูกเสอื ความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล การ
เดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวคา่ ย และการฝึกปฏิบัติการเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรม และชีวิตชาวค่าย

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
ศึกษาคน้ คว้าจากตาราเอกสารแหล่งการเรยี นร้ใู นชุมชน สอ่ื เทคโนโลยอี ินเทอรเ์ น็ต และส่ือที่

หลากหลาย วิทยากรผูู้ร้ ปราชญ์ชุมชน ผู้ทรงคุณวฒุ ิจัดกลุ่มศึกษาค้นคว้าอภิปรายแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ศึกษา
นอกสถานท่ี นิทรรศการ สาธิต ฝึกปฏบิ ัติจริงในพน้ื ท/ี่ ชุมชน การฝกึ ปฏิบัติการเดนิ ทางไกลอยู่ค่ายพกั แรม และ

11

ชวี ิตชาวคา่ ย จดั ทาโครงงาน วางแผนและร่วมกันศกึ ษาจัดทาโครงการแกป้ ญั หาจรงิ ในชมุ ชน การฝกึ
ปฏบิ ัติการเดินทางไกลอยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวค่าย

การวัดและประเมนิ ผล
สังเกตพฤติกรรมในการเรยี นรู้การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ความสนใจ ความตงั้ ใจ ความรับผิดชอบ การ

ปฏิบตั จิ ริง การปฏบิ ัตงิ านกลุ่ม ความคดิ เห็นของเพ่ือน ๆ ในกลุ่ม แฟ้มสะสมงาน ใบงาน ชน้ิ งาน ผลงาน
แบบทดสอบ ผลการฝึกปฏิบัติการเดนิ ทางไกลอยู่ค่ายพักแรม และชวี ิตชาวคา่ ย

รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา สค12025 ลกู เสือ กศน. จานวน 2 หน่วยกิต
ระดับประถมศึกษา

มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เก่ยี วกับภมู ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรับใช้ในการดาเนนิ ชีวติ และการประกอบอาชีพ เพื่อความมัน่ คงของชาติ
2. มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ คา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของท้องถิ่น และ

ประเทศไทย
3. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชีวติ ตามวิถปี ระชาธิปไตย กฎหมายเบื้องต้น กฎระเบยี บของชมุ ชน

สังคม และประเทศ
4. มคี วามรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชมุ ชน สังคม และวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการพฒั นาตนเอง

ครอบครัว ชุมชน สังคม

ที่ หวั เรอ่ื ง ตัวชีว้ ัด เนอ้ื หา จานวนชว่ั โมง
1 ลกู เสอื กับการพฒั นา 1. อธิบายสาระสาคญั ของ 1. สาระสาคญั ของการ
การลกู เสอื ลูกเสอื 4
2. อธบิ ายความสาคัญของ 2. ความสาคัญของการ
การลกู เสือกบั การพฒั นา ลูกเสือกับการพัฒนา

12

ที่ หวั เร่อื ง ตวั ชี้วัด เนอื้ หา จานวนชัว่ โมง

.3 ยกตวั อย่างความเปน็ 3. ความเป็นพลเมืองดี

พลเมอื งดขี องลกู เสือ ของลูกเสอื

2 การลูกเสอื ไทย 1. อธิบายประวตั ลิ กู เสือไทย 1. ประวัติลกู เสือไทย 4
3 การลูกเสือโลก 4
2. อธิบายความรทู้ ่วั ไป 2. ความรทู้ ัว่ ไปเกี่ยวกับ

เกยี่ วกับคณะลูกเสือแห่งชาติ คณะลูกเสือแห่งชาติ

1. อธบิ ายประวตั ผิ ู้ให้กาเนดิ 1. ประวตั ิผู้ให้กาเนิด

ลกู เสอื โลก ลกู เสอื โลก

2. อธบิ ายความสาคญั ของ 2. ความสาคัญของ

องค์การลูกเสือโลก องค์การลูกเสอื โลก

4 คุณธรรม จริยธรรมของ 1. อธบิ ายคาปฏิญาณ กฎ 1. คาปฏิญาณ กฎ และ 4
ลูกเสอื และคติพจนข์ องลกู เสือ คตพิ จนข์ องลูกเสอื
2. อธบิ ายคุณธรรม 2. คณุ ธรรม จริยธรรม
จริยธรรมจากคาปฏญิ าณ จากคาปฏิญาณและกฎ
และกฎของลูกเสือ ของลกู เสือ

5 วนิ ยั และความเป็น 1. อธบิ ายวินยั และความ 1. วนิ ัยมคี วามจาเป็น 4
ระเบยี บเรียบรอ้ ย เปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยได้ อยา่ งไร
อย่างถูกต้อง 2. ประเภทของวนิ ัย
2. ปฏิบตั ติ นตามวินัย และ 3. สัญญาณมือรูปแถว
ความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ตา่ ง ๆ
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 4. สัญญาณมือในการ
เรยี กแถวของลูกเสือ
สากล
5. ผลกระทบจากการ
ขาดวินัยและขาดความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
6. แนวทางการ
เสริมสร้างวินยั และความ
เป็นระเบยี บเรียบร้อย

6 ลูกเสือ กศน. กบั การ 1. อธบิ ายความเป็นมา และ 1. ความเป็นมาและ 4
พฒั นา ความสาคัญของลูกเสือ ความสาคัญของลูกเสือ
กศน. กศน.

13

ท่ี หัวเร่ือง ตัวชีว้ ดั เนือ้ หา จานวนชัว่ โมง

2. อธิบายลกู เสือ กศน. กับ 2. ลูกเสือ กศน. กับการ

การพัฒนาตนเอง ครอบครวั พัฒนาตนเอง ครอบครัว

ชุมชน และสังคม ชุมชน และสังคม

3. อธิบายบทบาทหน้าท่ี 3. บทบาทหนา้ ท่ีของ

ของลกู เสือ กศน. ที่มตี อ่ ลูกเสอื กศน. ที่มตี อ่

ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน

และสังคม และสังคม

7 ลกู เสอื กศน. กบั จติ อาสา 1. อธบิ ายความหมายและ 1.จิตอาสา และการ 4

และการบริการ ความสาคัญของจิตอาสา บริการ

และการบริการ 2. หลักการของจติ อาสา

2. อธิบายหลักการของจติ และ การบริการ

อาสาและการบริการ 3. วธิ กี ารปฏิบัติตนใน

3. อธบิ ายและนาเสนอวธิ ีการ ฐานะลูกเสือ กศน. เพื่อ

ปฏบิ ัตติ นในฐานะลูกเสือ เป็นจติ อาสา และ การ

กศน. เพ่ือเปน็ จติ อาสาและ บรกิ าร

การบริการ

8 การเขียนโครงการเพ่ือ 1. อธบิ ายความหมายและ 1. โครงการเพื่อพฒั นา 4

พฒั นาชุมชนและสังคม ความสาคัญของโครงการ ชุมชนและสังคม

2. อธบิ ายลกั ษณะของ 2 ลักษณะของโครงการ
โครงการ 3. องคป์ ระกอบของ

3. อธบิ ายองคป์ ระกอบของ โครงการ
4. ขั้นตอนการเขียน
โครงการ
โครงการ
4. เขียนโครงการตาม
ข้ันตอนการเขียนโครงการ 5. การดาเนนิ การตาม
โครงการ
5. อธบิ ายข้นั ตอนการ 6. การสรุปรายงานผล
ดาเนนิ งานตามโครงการ การดาเนนิ งานโครงการ
เพ่ือการนาเสนอ
6. อภิปรายและสรปุ รายงาน
ผลการดาเนนิ งานโครงการ

เพ่ือการนาเสนอ

9 ทกั ษะลกู เสือ (แผนที่ - อธิบายความหมายและ 1. ความหมายและ 4

เขม็ ทิศ) ความสาคัญของแผนท่ี - เข็ม ความสาคัญของแผนที่

14

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จานวนชัว่ โมง

ทศิ 2. ความหมายและ

ความสาคญั ของเข็มทิศ

10 ทกั ษะลกู เสือ (วิธีการใช้ อธบิ ายวธิ ีการใชแ้ ผนท่ี - 1. วิธีการใชแ้ ผนท่ี 4
2. วธิ ีการใชเ้ ข็มทิศ 4
แผนที่ - เข็มทศิ ) เขม็ ทิศ 4

11 ทักษะลกู เสือ (เงื่อน อธิบายความสาคัญของเงื่อน 1. ความหมายของเงื่อน 4
4
เชือก) เชือก เชือก

2. ความสาคัญของเงื่อน

เชอื ก

3. การผูกเง่ือนเชือก

12 ความปลอดภยั ในการเขา้ 1. อธิบายความหมาย และ 1. ความปลอดภยั ในการ

ร่วมกิจกรรมลกู เสือ ความสาคัญของความ เข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ

ปลอดภยั ในการเขา้ ร่วม 2. การเฝ้าระวงั เบือ้ งต้น

กจิ กรรมลูกเสือ ในการเข้าร่วมกจิ กรรม

2. อธบิ ายและยกตัวอย่าง ลกู เสือ

การเฝ้าระวังเบ้ืองตน้ ในการ 3. การช่วยเหลือเมอ่ื เกดิ

เขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสือ เหตุความไมป่ ลอดภัยใน

3. สาธิตสถานการณ์การช่วยเหลกอืารเข้าร่วมกจิ กรรม

เม่อื เกดิ เหตุความไม่ปลอดภยั ในลูกเสอื

การเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสอื 4. การปฏิบัติตนตาม

4. อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง หลกั ความปลอดภยั

การปฏบิ ตั ิตนตามหลักความ

ปลอดภัย

13 การปฐมพยาบาล 1. อธิบายความหมายและ 1. การปฐมพยาบาล

ความจาเป็นของการปฐม 2. ความหมายของการ

พยาบาล ปฐมพยาบาล

2. อธบิ ายและยกตัวอยา่ ง 3. ความจาเป็นของการ

วธิ ีการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ปฐมพยาบาล

ได้อยา่ งถกู ต้อง

14 การวัดสญั ญาณชพี และ อธิบายการวัดสญั ญาณชพี การวัดสญั ญาณชีพและ

การประเมนิ เบ้ืองต้น และการประเมินเบ้ืองตน้ การประเมินเบ้ืองตน้

15

ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวช้วี ัด เน้อื หา จานวนชัว่ โมง

15 การเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ย 1 อธบิ ายความหมาย 1. ความหมาย 4

พกั แรมและชีวติ ชาวค่าย วตั ถปุ ระสงค์ และหลักการ วัตถุประสงค์ และ

ของการเดนิ ทางไกล หลักการของการของการ

2. อธิบายและสาธติ การ เดนิ ทางไกล

บรรจุเครื่องหลังสาหรบั การ 2. การบรรจเุ ครอ่ื งหลงั

เดนิ ทางไกล สาหรับการเดนิ ทางไกล

3. อธบิ ายความหมาย 3. ความหมาย

วตั ถปุ ระสงค์ และหลกั การ วตั ถุประสงค์ และ

ของการอยู่ค่ายพักแรม หลักการของการอยู่คา่ ย

4. อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง พักแรม

ชวี ติ ชาวคา่ ย 4. ชีวิตชาวคา่ ย

5. อธิบายและสาธติ วธิ กี าร 5. วธิ ีการจดั การคา่ ย

จดั ค่ายพักแรม พกั แรม

16 การวางแผนปฏบิ ตั ิ วางแผนและปฏิบัตกิ ิจกรรม 1. กิจกรรมเสริมสร้าง 4

กิจกรรมการเดนิ ทางไกล การเดินทางไกล อยู่ค่ายพกั คุณธรรมและอุดมการณ์

อยคู่ ่ายพักแรม แรมและชวี ิตชาวค่าย ทกุ ลกู เสอื

กจิ กรรม 2. กิจกรรมสร้างคา่ ยพัก

แรม

3. กจิ กรรมชีวิตชาวคา่ ย

4. กิจกรรมฝึกทักษะ

ลกู เสือ

17 กิจกรรมกลางแจ้ง อธิบายการรว่ มกิจกรรม 1. กจิ กรรมกลางแจ้ง 6

นันทนาการ ชมุ นุมรอบ นันทนาการ และชมุ นมุ รอบ 2. กจิ กรรมนนั ทนาการ

กองไฟ กองไฟ และชมุ นุมรอบกองไฟ

3. กิจกรรมนาเสนอผล

การดาเนินงาน ตาม

โครงการท่ี ได้ดาเนินการ

มาก่อนการเข้าคา่ ย

18 การใช้ชีวติ ชาวคา่ ย อธิบายหลกั การใช้ชีวติ ชาว ผู้เรียนใช้ชวี ติ ชาวคา่ ย 2

รว่ มกบั ผูอ้ น่ื ในค่ายพัก คา่ ยรว่ มกบั ผู้อ่ืนในค่ายพัก รว่ มกับผู้อนื่ ในคา่ ยพัก

แรมได้อย่างสนุกสนาน แรมได้อย่างสนุกสนานและมี แรมได้อย่างสนกุ สนาน

และมคี วามสขุ ความสขุ และมีความสุข

ที่ หัวเรอื่ ง ตวั ชีว้ ดั เน้ือหา 16

จานวนชวั่ โมง

ตารางวิเคราะห์มาตรฐา
รายวชิ า ลกู เสือ ก
ระดับประ

ครัง้ ที่ ตวั ช้วี ดั เน้ือหา

1 ลูกเสอื กบั การพัฒนา 1. สาระสาคัญของการลกู เสือ

1. อธิบายสาระสาคญั ของการ 2. ความสาคัญของการลูกเสือกับกา

ลูกเสอื พฒั นา

2. อธิบายความสาคญั ของการ 3. ความเป็นพลเมืองดีของลูกเสอื

ลกู เสือกบั การพฒั นา

.3 ยกตวั อย่างความเปน็ พลเมือง

ดีของลูกเสอื

2 การลูกเสือไทย 1. ประวัติลูกเสอื ไทย

1. อธิบายประวตั ิลูกเสือไทย 2.ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกบั คณะลูกเสือ

2. อธิบายความร้ทู ั่วไปเกี่ยวกับ แห่งชาติ

คณะลูกเสอื แห่งชาติ

3 การลูกเสือโลก 1. ประวัตผิ ูใ้ หก้ าเนดิ ลกู เสือโลก

1. อธบิ ายประวัตผิ ู้ใหก้ าเนิด 2. ความสาคัญขององค์การลูกเสอื โล
ลูกเสือโลก

2. อธิบายความสาคญั ของ
องค์การลกู เสอื โลก

17

านการเรียนรู้และตัวชว้ี ดั จานวน รูปแบบการจัดการเรยี นรู้
กศน. (สค 12025) ชั่วโมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เขา้ ค่าย อบรม
ะถมศึกษา
4  
วเิ คราะห์เนอื้ หา
ง่าย ปานกลาง ยาก

าร

 4 
4

ลก

คร้งั ท่ี ตัวชีว้ ัด เน้ือหา

4 คุณธรรม จรยิ ธรรมของลูกเสือ 1. คาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จนข์ อง

1. อธบิ ายคาปฏิญาณ กฎ และคติ ลกู เสือ

พจนข์ องลูกเสอื 2. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมจากคาปฏิญา

2. อธบิ ายคุณธรรม จรยิ ธรรมจาก และกฎของลกู เสือ

คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ

5 วนิ ัย และความเป็นระเบยี บ 1. วินัยมีความจาเป็นอยา่ งไร

เรียบรอ้ ย 2. ประเภทของวนิ ยั

1. อธบิ ายวนิ ยั และความเปน็ 3. สัญญาณมอื รูปแถวต่าง ๆ

ระเบยี บเรียบรอ้ ยได้อย่างถูกตอ้ ง 4. สัญญาณมอื ในการเรยี กแถวของ

2. ปฏบิ ัติตนตามวนิ ัย และความ ลูกเสือสากล

เปน็ ระเบียบเรยี บร้อยได้อยา่ ง 5. ผลกระทบจากการขาดวนิ ัยและข

ถูกต้อง ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย

6. แนวทางการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยและค

เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย

6 ลกู เสอื กศน. กับการพัฒนา 1. ความเปน็ มาและความสาคัญของ

1. อธบิ ายความเปน็ มา และ ลกู เสอื กศน.

ความสาคญั ของลูกเสอื กศน. 2. ลกู เสือ กศน. กับการพฒั นาตนเอ

2. อธิบายลกู เสอื กศน. กับการ ครอบครวั ชมุ ชน และสังคม

พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน 3. บทบาทหนา้ ทขี่ องลูกเสอื กศน. ท

18

วิเคราะห์เนื้อหา จานวน รปู แบบการจดั การเรยี นรู้

งา่ ย ปานกลาง ยาก ชัว่ โมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เข้าค่าย อบรม

ง 4 

าณ

 4 

16

ขาด 4 
ความ
ง
อง
ท่มี ี

ครง้ั ที่ ตวั ชีว้ ัด เน้ือหา

และสังคม ต่อตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสัง

3. อธิบายบทบาทหน้าที่ของ

ลูกเสือ กศน. ทมี่ ีตอ่ ตนเอง

ครอบครวั ชุมชน และสังคม

7 ลูกเสอื กศน. กับจติ อาสา และ 1.จิตอาสา และการบริการ

การบริการ 2. หลักการของจติ อาสา และ การ

1. อธบิ ายความหมายและ บริการ

ความสาคญั ของจิตอาสาและการ 3. วิธีการปฏิบัตติ นในฐานะลูกเสอื

บรกิ าร กศน. เพื่อเป็นจิตอาสา และ การบร

2. อธิบายหลักการของจิตอาสา

และการบริการ

3. อธบิ ายและนาเสนอวิธีการ

ปฏิบตั ติ นในฐานะลกู เสือ กศน.

เพอ่ื เป็นจิตอาสาและการบริการ

8 การเขียนโครงการเพ่ือพฒั นา 1. โครงการเพื่อพฒั นาชุมชนและสงั

ชุมชนและสังคม 2 ลักษณะของโครงการ

1. อธิบายความหมายและ 3. องค์ประกอบของโครงการ

ความสาคญั ของโครงการ 4. ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ

2. อธิบายลกั ษณะของโครงการ 5. การดาเนนิ การตามโครงการ

19

วิเคราะห์เนอ้ื หา จานวน รูปแบบการจัดการเรียนรู้

งา่ ย ปานกลาง ยาก ช่วั โมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เข้าคา่ ย อบรม

งคม

 4 

ริการ

งคม  4 

ครง้ั ที่ ตวั ช้วี ัด เน้ือหา

3. อธิบายองค์ประกอบของ 6. การสรุปรายงานผลการดาเนนิ งา

โครงการ โครงการเพ่ือการนาเสนอ

4. เขยี นโครงการตามข้นั ตอนการ

เขยี นโครงการ

5. อธิบายขั้นตอนการดาเนินงาน

ตามโครงการ

6. อภิปรายและสรุปรายงานผล

การดาเนนิ งานโครงการเพื่อการ

นาเสนอ

9 ทกั ษะลกู เสอื (แผนที่ - เข็มทิศ) 1. ความหมายและความสาคญั ของแ

อธบิ ายความหมายและ 2. ความหมายและความสาคัญของเข

ความสาคัญของแผนท่ี - เข็มทศิ

10 ทกั ษะลกู เสือ (วิธกี ารใชแ้ ผนท่ี - 1. วธิ กี ารใช้แผนที่

เข็มทศิ ) 2. วธิ กี ารใชเ้ ขม็ ทศิ

อธิบายวิธีการใช้แผนท่ี - เขม็ ทิศ

11 ทักษะลูกเสือ (เงื่อนเชือก) 1. ความหมายของเงื่อนเชือก

อธบิ ายความสาคัญของเงื่อนเชอื ก 2. ความสาคัญของเง่ือนเชอื ก

3. การผกู เงื่อนเชือก

12 ความปลอดภัยในการเข้าร่วม 1. ความปลอดภยั ในการเข้าร่วม

20

วิเคราะหเ์ นอ้ื หา จานวน รปู แบบการจดั การเรียนรู้

งา่ ย ปานกลาง ยาก ชว่ั โมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เข้าค่าย อบรม

าน

แผนที่ 4 
ข็มทิศ
4 

4 

4 

ครงั้ ที่ ตัวชวี้ ัด เนื้อหา

กจิ กรรมลูกเสอื กิจกรรมลูกเสือ

1. อธบิ ายความหมาย และ 2. การเฝ้าระวังเบอื้ งต้นในการเขา้ ร

ความสาคญั ของความปลอดภัยใน กจิ กรรมลกู เสือ

การเข้ารว่ ม กจิ กรรมลูกเสือ 3. การชว่ ยเหลือเม่ือเกดิ เหตุความไม

2. อธิบายและยกตวั อยา่ งการเฝ้า ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู

ระวังเบ้อื งตน้ ในการเข้าร่วม 4. การปฏิบัติตนตามหลกั ความ

กิจกรรมลูกเสือ ปลอดภัย

3. สาธติ สถานการณก์ ารชว่ ยเหลือเมื่อ

เกดิ เหตุความไมป่ ลอดภยั ในการเข้าร่วม

กิจกรรมลกู เสือ

4. อธิบายและยกตวั อย่างการ

ปฏิบัติตนตามหลักความปลอดภัย

13 การปฐมพยาบาล 1. การปฐมพยาบาล

1. อธิบายความหมายและความ 2. ความหมายของการปฐมพยาบาล

จาเปน็ ของการปฐมพยาบาล 3. ความจาเป็นของการปฐมพยาบา

2. อธบิ ายและยกตวั อย่างวธิ ีการ

ปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นได้อย่าง

ถกู ต้อง

14 การวัดสัญญาณชีพและการ การวัดสัญญาณชีพและการประเมนิ

21

วเิ คราะหเ์ นอื้ หา จานวน รปู แบบการจดั การเรยี นรู้

ง่าย ปานกลาง ยาก ชวั่ โมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เขา้ คา่ ย อบรม

ร่วม

ม่
กเสอื

4 



าล

น 4 

ครง้ั ที่ ตัวชว้ี ดั เน้ือหา

ประเมินเบอ้ื งต้น เบื้องต้น

อธิบายการวดั สัญญาณชีพและ

การประเมนิ เบ้ืองตน้

15 การเดนิ ทางไกล อยคู่ า่ ยพกั แรม 1. ความหมาย วัตถปุ ระสงค์ และ

และชวี ิตชาวค่าย หลกั การของการของการเดินทางไก

1 อธิบายความหมาย 2. การบรรจเุ คร่อื งหลังสาหรับการเ

วัตถปุ ระสงค์ และหลกั การของ ทางไกล

การเดนิ ทางไกล 3. ความหมาย วตั ถุประสงค์ และ

2. อธิบายและสาธติ การบรรจุ หลกั การของการอยู่คา่ ยพักแรม

เครอื่ งหลงั สาหรบั การเดนิ 4. ชีวติ ชาวค่าย

ทางไกล 5. วิธกี ารจดั การคา่ ย พักแรม

3. อธิบายความหมาย

วตั ถปุ ระสงค์ และหลกั การของ

การอยู่ค่ายพักแรม

4. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งชีวติ

ชาวคา่ ย

5. อธิบายและสาธติ วิธกี ารจัด

คา่ ยพักแรม

16 การวางแผนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการ 1. กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและ

22

วเิ คราะห์เนื้อหา จานวน รูปแบบการจดั การเรยี นรู้

ง่าย ปานกลาง ยาก ช่วั โมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เขา้ ค่าย อบรม

 4 
กล
เดนิ

4 

ครัง้ ที่ ตวั ช้ีวัด เนื้อหา

เดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม อดุ มการณ์ลกู เสือ

วางแผนและปฏิบัติกจิ กรรมการ 2. กจิ กรรมสร้างคา่ ยพักแรม

เดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรมและ 3. กิจกรรมชีวิตชาวค่าย

ชีวติ ชาวคา่ ย ทุกกจิ กรรม 4. กจิ กรรมฝกึ ทักษะลูกเสือ

17 กิจกรรมกลางแจ้ง นันทนาการ 1. กจิ กรรมกลางแจ้ง

ชมุ นุมรอบกองไฟ 2. กิจกรรมนนั ทนาการ และชุมนุมร

อธิบายการร่วมกิจกรรม กองไฟ

นันทนาการ และชุมนมุ รอบกอง 3. กิจกรรมนาเสนอผลการดาเนินงา

ไฟ ตามโครงการท่ี ได้ดาเนนิ การมาก่อน

การเขา้ คา่ ย

18 การใช้ชวี ติ ชาวค่ายร่วมกับผู้อนื่ ผู้เรียนใชช้ ีวติ ชาวค่ายรว่ มกับผู้อน่ื ใน

ในคา่ ยพกั แรมได้อย่าง ค่ายพักแรมได้อย่างสนกุ สนานและม

สนกุ สนานและมคี วามสุข ความสุข

อธิบายหลกั การใชช้ ีวติ ชาวคา่ ย

ร่วมกบั ผู้อืน่ ในค่ายพักแรมได้

อย่างสนุกสนานและมีความสุข

23

วิเคราะหเ์ น้อื หา จานวน รูปแบบการจัดการเรียนรู้

ง่าย ปานกลาง ยาก ชั่วโมง ตนเอง รายงาน พบกลุ่ม เข้าค่าย อบรม

6 

รอบ 2 

าน


น
มี

24

แผนการจัดการเรียนรู้รายภาค
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 รายวิชาลูกเสอื กศน. (สค 12025)

ครง้ั ท่ี ว/ด/ป รหสั วิชา เรอ่ื ง ชัว่ โมง
1 เรอื่ ง ปฐมนเิ ทศนักศึกษา 4
2 สค 12025 ลกู เสอื กับการพัฒนา 4
3 สค 12025 การลูกเสอื ไทย 4
4 สค 12025 การลกู เสือโลก 4
5 สค 12025 คุณธรรม จริยธรรมของลูกเสือ 4
6 สค 12025 วินยั และความเป็นระเบียบเรียบร้อย 4
7 สค 12025 ลูกเสือ กศน. กบั การพัฒนา 4
8 สค 12025 ลูกเสอื กศน. กับจติ อาสา และการบริการ 4
9 สค 12025 การเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสงั คม 4
10 สค 12025 ทกั ษะลกู เสือ (แผนท่ี - เข็มทิศ) 4
11 สค 12025 ทักษะลูกเสือ (วธิ กี ารใชแ้ ผนที่ - เข็มทิศ) 4
12 สค 12025 ทักษะลกู เสือ (เงื่อนเชือก) 4
13 สค 12025 ความปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสือ 4
14 สค 12025 การปฐมพยาบาล 4
15 สค 12025 การวดั สญั ญาณชพี และการประเมินเบื้องต้น 4
16 สค 12025 การเดินทางไกล อยูค่ ่ายพักแรมและชวี ิตชาวค่าย 4
17 สค 12025 การวางแผนปฏบิ ัติกจิ กรรมการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม 4
18 สค 12025 กจิ กรรมกลางแจ้ง นนั ทนาการ ชุมนมุ รอบกองไฟ 6
19 สค 12025 การใช้ชีวิตชาวค่ายร่วมกับผูอ้ ื่นในค่ายพักแรมได้อย่างสนุกสนาน 2
และมีความสุข
20 ปัจฉิมนิเทศ 4

25

แผนการเรียนรรู้ ายสัปดาห์

26

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

เร่ือง ลูกเสอื กบั การพัฒนา

รายวิชา ลูกเสือ กศน. รหสั วิชา สค12025 ระดบั ประถมศึกษา

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 สาระการพฒั นาสังคม เวลา 4 ชัว่ โมง

ครูผสู้ อน........................................... รูปแบบการสอน พบกลุ่ม/คน้ คว้าดว้ ยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเก่ยี วกับภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ และการประกอบอาชีพ เพ่อื ความมนั่ คงของชาติ
1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณขี องท้องถ่ิน และ

ประเทศไทย
1.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนนิ ชวี ิตตามวถิ ปี ระชาธิปไตย กฎหมายเบือ้ งต้น กฎระเบียบของชมุ ชน

สงั คม และประเทศ
1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพัฒนาชมุ ชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพัฒนาตนเอง

ครอบครวั ชุมชน สังคม

2. ตัวชี้วัด
2.1 อธิบายสาระสาคัญของการลูกเสือ
2.2 อธบิ ายความสาคัญของการลกู เสอื กับการพัฒนา
2.3 ยกตวั อย่างความเปน็ พลเมืองดีของลูกเสอื

3. สาระสาคัญของเน้ือหา
3.1 วัตถปุ ระสงค์ของการพัฒนาลูกเสือ
3.2 ความสาคญั ของการลูกเสือกบั การพฒั นา
3.3 ความเปน็ พลเมืองดีของลูกเสือ

27

4. เป้าหมายการเรียนรู้ (ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง)
4.1 อธิบายสาระสาคัญของการลกู เสอื ได้
4.2 อธิบายความสาคัญของการลูกเสอื กบั การพัฒนาได้
4.3 ยกตวั อยา่ งความเป็นพลเมืองดีของลูกเสือได้

5. ขัน้ จัดกระบวนการเรียนรู้
ขั้นท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรยี นรู้
1) ครแู ละผู้เรียนร่วมกันกาหนดสภาพความจาเปน็ ท่ีตอ้ งเรียนรู้ในเร่ืองต่อไปน้ี
(1) สาระสาคญั ของการลูกเสอื
(2) ความสาคัญของการลูกเสือกบั การพฒั นา
(3) ความเป็นพลเมืองดีของลกู เสือ

2) ครใู หผ้ ู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ เช่อื มโยงความร้ใู หม่

3) ครแู ละผู้เรียนทาความเขา้ ใจสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ใหผ้ ูเ้ รียนซกั ถาม
ขั้นท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้

1) ครูและผูเ้ รียนรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เร่ือง วัตถุประสงค์ของการพฒั นาลูกเสอื หลักการ
สาคญั ของการลูกเสอื

2) ครใู ห้ผูเ้ รียนดูคลปิ จาก YouTube เร่อื ง “100 ปี การลูกเสอื ไทย”

https://www.youtube.com/watch?v=MRCMDpJAw1E&ab_channel=scoutshare

3) ครูใหผ้ ูเ้ รียนอภปิ รายในหวั ขอ้ “หากผู้เรียนไดเ้ รยี นวิชาลกู เสือ กศน. จะชว่ ยพัฒนา
ประเทศชาติได้อย่างไร?”

28

4) ครแู บ่งกลุ่มผู้เรียนออกเปน็ 3 กลุ่ม
5) ครใู หผ้ ู้เรียนศกึ ษาใบความรู้ ดังนี้

กล่มุ ท่ี 1 ศึกษาใบความรู้ที่ 1 เร่ือง สาระสาคญั ของการลกู เสือ
กลมุ่ ท่ี 2 ศึกษาใบความร้ทู ่ี 2 เร่อื ง ความสาคัญของการลกู เสือกบั การพฒั นา
กลมุ่ ท่ี 3 ศึกษาใบความรทู้ ่ี 3 เรื่อง ความเปน็ พลเมืองดีของลูกเสือ
ข้นั ท่ี 3 ปฏบิ ตั ิและนาไปประยกุ ตใ์ ช้
1) ครใู ห้ผู้เรยี นแต่ละกลมุ่ สรปุ องค์ความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษาใบความรู้หนา้ ชั้นเรียน
2) ครแู ละผู้เรยี นสรปุ เนอื้ หาท่นี าเสนอร่วมกนั
3) ครูใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนทาใบงานท่ี 1 – 2
4) ครมู อบหมายใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาความร้เู พ่ิมเติมเรอ่ื ง ลูกเสือกับการพฒั นา จากแหลง่ เรยี นรู้
อืน่ ๆ เช่น หอ้ งสมดุ ประชาชน เวบ็ ไซต์ YouTube
5) ครใู ห้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น
ข้ันที่ 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้
1) ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
2) ประเมินจากใบงาน
3) ครูสงั เกตจากการนาเสนอผู้เรียน
4) บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
5) ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่ือการเรยี นรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. ชุดวิชาลกู เสอื กศน.รหัสวิชา สค 12025
4. เว็บไซต์
https://www.youtube.com/watch?v=MRCMDpJAw1E&ab_channel=scoutshare
5. ห้องสมุดประชาชน
6. แหลง่ เรียนรูอ้ ่นื ๆ

29

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
คาชแี้ จง จงทาเครอื่ งหมาย × หนา้ ข้อท่ีถูกต้องทส่ี ดุ
1. การลกู เสือ หมายถึงข้อใด

ก. ผู้ทส่ี มัครเปน็ ลูกเสือ
ข. ผูบ้ งั คบั บญั ชาลูกเสือ
ค. การพฒั นาผู้ใหญ่ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี
ง. กิจการทนี่ าอดุ มการณข์ องการลูกเสือมาพัฒนาเด็กและเยาวชน
2. กองลูกเสือกองแรกของโลกต้ังข้นึ ท่ีประเทศใด
ก. ประเทศรัสเซีย

30

ข. ประเทศองั กฤษ
ค. ประเทศฝรั่งเศส
ง. ประเทศฮอลันดา

3. ประมขุ ของคณะลูกเสือแห่งชาติ หมายถงึ ข้อใด
ก. พระมหากษตั รยิ ์
ข. นายกรฐั มนตรี
ค. ผวู้ า่ ราชการจังหวัด
ง. รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

4. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักการของลูกเสือ
ก. มีหนา้ ทต่ี อ่ ศาสนาทต่ี นเคารพนับถือ
ข. มีความรับผดิ ชอบในการพัฒนาตนเอง
ค. มคี วามจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมือง
ง. ถกู ทุกข้อ

5. ข้อใดคือการพัฒนาทางกาย
ก. การพฒั นาเจตคติ
ข. การควบคมุ อารมณ์
ค. การพฒั นาความสามารถในการแสวงหาความรู้
ง. การพฒั นารา่ งกายให้สมบรู ณ์ แข็งแรง

6. ข้อใดไม่ใชก่ ารพัฒนาทางจิตใจ
ก. การพัฒนาเจตคตทิ ีด่ ี
ข. การพัฒนาความสามารถในการควบคมุ ความรสู้ ึก
ค. การพัฒนาสขุ ภาพจติ ของตนเองให้อยใู่ นสถานการณ์ทเ่ี ปน็ ปกติ
ง. การพฒั นาความรู้สกึ ท่ดี ี หรอื การมองโลกในแง่ดี

7. การบารุงรักษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เปน็ การการพฒั นาสมั พนั ธภาพต่อเรอื่ งใด

31

ก. สัมพนั ธภาพพลเมืองดี
ข. สมั พันธภาพตอ่ คา่ นิยมพ้นื ฐาน
ค. สมั พันธภาพตอ่ ส่ิงแวดล้อม
ง. สมั พนั ธภาพระหวา่ งบคุ คล

8. ผทู้ ี่เขา้ แถวต่อคิวผู้อื่น หมายถึงข้อใด
ก. ผู้มวี นิ ัย
ข. ผู้มจี ติ บรกิ าร
ค. ผมู้ คี วามประพฤติดี
ง. ผมู้ ีความเป็นระเบยี บเรียบร้อย

9. ผู้ปฏิบัติตนไมต่ รงต่อเวลา มีความเกย่ี วข้องกับเรือ่ งใด
ก. เหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นตน
ข. ขาดความอดทน
ค. ขาดวินัย
ง. ไมย่ อมเสียสละ

10. บุคคลใดได้ช่ือว่าเป็นพลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย
ก. รับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่การงาน
ข. ติดตามขา่ วสารบา้ นเมือง
ค. ปอ้ งกันมใิ หผ้ ใู้ ดละเมิดสทิ ธิ์ของตน
ง. เคารพกฎหมายบา้ นเมือง
--------------------------------------------------------------------

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
1. ง 2.ข 3.ก 4.ง 5.ง 6.ข 7.ค 8.ก 9.ค 10. ง

ใบความรทู้ ี่ 1

32

เรอื่ ง สาระสาคญั ของการลูกเสอื

1. วตั ถปุ ระสงค์ของการพัฒนาลูกเสือ
การลูกเสือท่ัวโลก มีจุดประสงค์ร่วมกัน มีหลักการเดียวกัน มีวิธีการในแนวเดียวกัน และมีอุดมการณ์

เดียวกัน คือ การพฒั นาศักยภาพบุคคลให้เป็นพลเมืองดี มีจติ สาธารณะ มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง
ให้ดียิ่งข้ึน มีความรับผิดชอบในการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล เพื่อทาความรู้จักกัน มีความเป็นเพ่ือน
เป็นพี่ เป็นน้องกัน เพ่ือสร้างมิตรภาพ และความเข้าใจที่ดีต่อกัน ทั้งนี้ เพ่ือให้เกิดความเป็นพวกเดียวกัน ไม่
แตกแยกกัน และเปน็ พลงั ทจี่ ะกอ่ ให้เกิดความสงบสขุ และความสนั ตสิ ขุ ในฐานะของความเปน็ พลเมอื งดี

ขบวนการลูกเสือทั่วโลก เป็นขบวนการที่มุ่งพัฒนาศักยภาพของบุคคล ทุกเพศ ทุกวัย และทุกฐานะ
ใหไ้ ด้รบั การพัฒนาในทกุ ด้าน กลา่ วคือ

การพัฒนาทางกาย เพื่อให้มีร่างกายเจริญเติบโต แขง็ แรง เพียบพร้อมดว้ ยสขุ ภาพอนามัยท่สี มบรู ณ์
โดยการสง่ เสริมการใช้ชีวติ กลางแจง้

การพฒั นาทางจิตใจ เพอ่ื ให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการดารงชีวิต โดยยึดคาปฏญิ าณและกฎของ
ลูกเสือ เปน็ หลกั ประจาใจและนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน

การพฒั นาทางสตปิ ัญญา เพ่ือให้มสี ตปิ ัญญาเฉลียวฉลาด พ่งึ ตนเองได้ โดยการส่งเสรมิ การเรยี นรูด้ ้วย
การกระทาร่วมกนั

การพัฒนาทางสังคม เพื่อให้มีจิตสาธารณะ คิดดี ทาดี และมีความเป็นพลเมืองดี สามารถปรับตัวให้
อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยการบาเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อ่ืน สาหรับการลูกเสือไทย คณะลูกเสือแห่งชาติ
ไดก้ าหนดวตั ถุประสงคข์ องการพัฒนาลูกเสอื เพื่อพัฒนาลูกเสือท้ังทางกาย จิตใจ สติปัญญา และสังคม ให้เป็น
พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และช่วยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคี มีความเจริญก้าวหน้า ท้ังน้ี เพื่อ
ความสงบสุขและความม่ันคงของประเทศชาติ
แนวทางการพฒั นาลูกเสือ เพ่ือให้บรรลุวตั ถุประสงคข์ องคณะลูกเสอื แห่งชาติ มีดงั นี้

1) ให้มีนสิ ัยในการสงั เกต จดจา เชอื่ ฟัง และพ่งึ ตนเอง
2) ให้ซอ่ื สตั ย์สุจริต มีระเบียบวินัยและเหน็ อกเห็นใจผู้อ่ืน
3) ใหร้ จู้ ักบาเพญ็ ตนเพอื่ สาธารณประโยชน์
4) ใหร้ จู้ ักทาการฝมี ือ และฝึกฝนให้ทากจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
5) ใหร้ จู้ กั รักษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม และความมัน่ คงของประเทศชาติ

33

2. หลกั การสาคัญของการลกู เสอื
การลูกเสือทั่วโลก ยึดหลักการสาคัญเดียวกัน เพ่ือการไปสู่อุดมการณ์ของการลูกเสือ ซึ่งเป็นจุดหมาย

ปลายทางเดียวกัน อุดมการณ์ของการลูกเสือ หรือจุดหมายปลายทางของการลูกเสือ คือ การพัฒนาศักยภาพ
ของบุคคลให้เป็นพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ วิธีการที่จะบรรลุถึงอุดมการณ์ หรือจุดหมายปลายทางของการลูกเสือ คือ การจัดกิจกรรมที่
สนุกสนาน ดึงดูดใจ โดยอาศัยคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เป็นหลักในการสร้างความเข้าใจ เพื่อนาสู่การ
ปฏิบัติท่ีเน้นให้เห็นว่า พลเมืองดี ต้องเป็นผู้คิดดี ทาดี มีจิตสาธารณะ และบาเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อ่ืนโดยไม่
คานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ผิวพรรณ วรรณะ และไม่อยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมือง หรือไม่เก่ียวข้องกับลัทธิ
การเมอื งใด

หลกั การสาคัญของการลูกเสือ คอื การอาสาสมัครทางาน การพัฒนาศักยภาพของบุคคลใหเ้ ป็น
พลเมอื งดี ภายใต้พืน้ ฐาน ดังน้ี

1) มหี นา้ ทตี่ ่อศาสนาที่ตนเคารพนับถือ
2) มีความจงรักภักดตี ่อชาตบิ ้านเมือง
3) มีความรับผดิ ชอบในการพัฒนาตนเอง
4) เข้ารว่ มในการพัฒนาสงั คมด้วยการยกย่อง และเคารพในเกยี รติของบคุ คลอ่นื
5) ช่วยเสริมสรา้ งสนั ติภาพความเขา้ ใจอันดี เพื่อความมน่ั คงเปน็ อนั หนึ่ง อันเดียวกันทว่ั โลก

34

ใบความรู้ท่ี 2
เรื่อง ความสาคัญของการลูกเสือกับการพัฒนา

การพฒั นาตนเอง
การพัฒนาตนเอง หมายถึง ความต้องการของบุคคลในการพัฒนาความรู้ ความสามารถของตนจากที่

เป็นอยู่ให้มีความรู้ ความสามารถและพัฒนาศักยภาพของตนเอง ให้เพ่ิมข้ึน ดีขึ้นในทุกด้าน ได้แก่ การพัฒนา
ทางกาย จติ ใจ อารมณ์ สติปัญญา สงั คม ความรู้ อาชพี และสิง่ แวดล้อม โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้

1) การพัฒนาทางกาย หมายถึง การพัฒนาสุขภาพ อนามัย ให้ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง รวมถึงการ
พัฒนาบุคลิกภาพ กริยาท่าทาง การแสดงออก การใช้น้าเสียง วาจา การใช้คาพูดในการส่ือความหมาย และ
การแต่งกายท่สี ะอาด เหมาะสมกับกาลเทศะ เหมาะกับรปู รา่ งและผิวพรรณ

2) การพัฒนาทางจิตใจ หมายถึง การพัฒนาเจตคติที่ดี หรือความรู้สึกท่ีดี หรือการมองโลกในแง่ดี
รวมถึงการพัฒนาสุขภาพจิตของตนเองให้อยู่ในสถานการณ์ท่ีเป็นปกติ และเป็นสุข โดยมีคุณธรรมเป็นหลักใน
การพัฒนาจิตใจ ควบคุมความรู้สึก นึกคิด การควบคุมอารมณ์ท่ีเป็นโทษต่อตนเองและผู้อื่น โดยมีธรรมะเป็น
หลักพฒั นาทางอารมณ์

3) การพัฒนาทางอารมณ์ หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ
และมเี หตผุ ลที่ดี

4) การพัฒนาทางสติปัญญา หมายถึง การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยการ ช้ีนาตนเอง การพัฒนา
ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การพัฒนากระบวนการทางความคดิ เชงิ วิเคราะห์ การตัดสนิ ใจ
ด้วยความเฉลียวฉลาดและมีไหวพริบปฏิญาณ ภูมิคุ้มกันท่ีดีในตน และมีวิถีการดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ
และมีเหตุผลท่ีดี

35

5) การพัฒนาทางสงั คม หมายถึง การพัฒนาความเป็นพลเมืองดี คิดดี ทาดี มีจิตสาธารณะ สามารถ
ปรบั ตวั ให้อย่ใู นสังคมได้อยา่ งมีความสขุ

6) การพัฒนาทางความรู้ หมายถึง การพัฒนาความรอบรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า
สามารถนาเทคโนโลยที ม่ี ีอยมู่ าใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

7) การพัฒนาทางอาชีพ หมายถึง การพัฒนาทักษะฝีมือ ความรู้ ความสามารถ ความชานาญการ
ทางอาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยการฝึกทักษะฝีมอื

8) การพัฒนาส่ิงแวดล้อม หมายถึง การกระตุ้น และรักษา ตลอดจนแสวงหาแนวทาง ที่จะทาให้
สิ่งแวดลอ้ ม มีความยั่งยืน ด้วยการสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ในคุณค่า และ การดแู ลรักษา

36

การพัฒนาสัมพนั ธภาพระหว่างบคุ คล

การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล หมายถึง ความผูกพัน ความเก่ียวข้องเป็นกระบวนการติดต่อ
เก่ียวข้องระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อทาความรู้จักกัน โดยวัตถุประสงค์ร่วมกันด้วยความเต็มใจ
มีความรูส้ ึกท่ีดีตอ่ กัน อาศยั การแสดงออกทางกาย วาจา และใจ ในช่วงระยะเวลาหน่ึง ซ่ึงอาจไม่จากัดแนน่ อน
สามารถอยู่ร่วมกนั และทางานร่วมกับผอู้ นื่ ได้ โดยมสี ัมพันธภาพที่ดตี อ่ กันและสร้างสรรคผ์ ลงานที่เปน็ ประโยชน์
ให้เกดิ ข้ึน โดยอาศยั ความอดทนในการอยู่ร่วมกนั

การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล จาเปน็ อย่างยิ่งที่จะตอ้ งเริม่ ทต่ี นเอง ดังนี้
1) รู้จักปรับตนเองให้มีอารมณ์หนักแน่น ไมห่ วาดระแวง ไม่อ่อนแอหรือ แข็งกระด้าง ไม่เปล่ียนแปลง
หรอื ผันแปรงา่ ย
2) รู้จักปรับตนเองให้เข้ากับบุคคล และสถานการณ์ รวมท้ังยอมรับและปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ
ตา่ ง ๆ รู้จักบทบาทของตนเอง
3) รู้จักสังเกต รู้จด และรจู้ า การสังเกตจะช่วยให้เราสามารถเข้ากับทุกคน ทุกช้ัน ทุกเพศ และทุกวัย
ได้ดี
4) รู้จักตนเองและประมาณตน ช่วยให้คนลดทิฐิ และเห็นความสาคัญของผู้อื่น ซ่ึงช่วยสร้างความพึงพอใจ
ให้แกก่ ัน
5) รจู้ กั สาเหตแุ ละใช้เหตุผลตอ่ ผู้อ่นื ช่วยลดความวู่วาม ทาใหก้ ารคบหากนั ไปดว้ ยดี
6) มีความม่นั ใจในตนเอง และเป็นตัวของตัวเอง

การพฒั นาสัมพนั ธภาพภายในชมุ ชนและสังคม
การพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม หมายถึง กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในสังคม ทั้ง

ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพือ่ ให้ประชาชนมีชวี ิตความเปน็ อยทู่ ด่ี ีขึ้น ทง้ั ด้าน
ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม สุขภาพอนามัย การศึกษา การมีงานทา มีรายได้เพียงพอในการครองชีพ
ประชาชนได้รับความเสมอภาค ความยุติธรรม มีคุณภาพชีวิต ท้ังน้ี ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการ
เปลี่ยนแปลง ทุกขั้นตอนอย่างมีระบบ การพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม จาเป็นต้องเร่ิมต้นท่ี
ตนเอง โดย

1) พฒั นาบุคลิกภาพให้ผู้พบเห็นเกดิ ความชนื่ ชมและประทับใจดว้ ยการพูดและกริ ยิ าท่าทาง
2) พัฒนาพฤติกรรมการแสดงออกดว้ ยความจรงิ ใจ ใจกวา้ ง ใจดี
3) ให้ความช่วยเหลอื เอาใจใส่ในกิจกรรมและงานส่วนรวมด้วยความมนี า้ ใจและเสยี สละ
4) ให้คาแนะนาหรือเสนอแนะส่ิงที่เป็นประโยชนต์ ่อสว่ นรวม
5) ร่วมแก้ไขปญั หาข้อขดั แยง้ ในสงั คมใหด้ ีขึ้น
6) พดู คุยกับทุกคนด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และเป็นมิตรกับทุกคน

37

7) ยึดหลักปฏิบัติตามค่านิยมพ้ืนฐาน คือ การพึ่งตนเอง ขยันหม่ันเพียร มีความรับผิดชอบ ประหยัด
และออม มรี ะเบยี บวินัยและเคารพกฎหมาย ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา มคี วามจงรักภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตริย์ นอกจากนี้ ยังจาเป็นต้องพัฒนาสัมพันธภาพต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดย
การสารวจสภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ใหค้ วามสนใจ และรว่ มมือในการทากิจกรรม รวมทั้งการ
บารงุ รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มให้เกิดประโยชนต์ ่อชนรุน่ หลงั

ใบความรู้ท่ี 3
เรื่อง ความเป็นพลเมืองดขี องลูกเสือ

ความหมายของพลเมืองดี
พลเมืองดี หมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชาติ

คาสั่งสอนของพ่อแม่ ครู อาจารย์ มีความสามัคคี เอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ซึ่งกันและกัน รู้จักรับผิดชอบช่ัวดีตามหลัก
จริยธรรม และหลักธรรมของศาสนา มีความรอบรู้ มีสติปัญญา ขยันขันแข็ง สร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่
ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ไดค้ รบถว้ นทงั้ ภารกิจที่ต้องทาและภารกิจที่ควรทา

ภารกจิ ที่ต้องทา หมายถึง สิ่งที่คนส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทา หรือห้ามกระทา ถ้าทาก็จะ
ก่อให้เกิดผลดี เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว หรือสังคมส่วนรวม แล้วแต่กรณี ถ้าไม่ทาหรือไม่ละเว้นการ
กระทาตามที่กาหนดจะได้รับผลเสียโดยตรง คือ ได้รับโทษ หรือถูกบังคับ เช่น ปรับ จาคุก หรือประหารชีวิต
เป็นต้น โดยท่ัวไปสงิ่ ทีร่ ะบุภารกิจ ทต่ี อ้ งทา ได้แก่ กฎหมาย ขอ้ บังคับ ระเบียบตา่ ง ๆ เป็นต้น

ภารกิจที่ควรทา หมายถึง สิ่งที่คนส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นหน้าท่ีท่ีควรทา ถ้าไม่ทาหรือละเว้นการกระทา
จะได้รับผลเสียโดยทางอ้อม เช่น ได้รับการดูหม่ินเหยียดหยาม หรือไม่คบค้าสมาคมด้วย และถ้าจะได้รับการ
ยกย่อง สรรเสริญจากคนในสังคม โดยท่ัวไปส่งิ ท่ีระบภุ ารกจิ ทคี่ วรทา ไดแ้ ก่ วัฒนธรรม ประเพณี เป็นตน้

ความเป็นพลเมอื งดขี องลกู เสอื
กจิ กรรมลกู เสือ เปน็ การจดั มวลประสบการณท์ ี่มีประโยชน์ และท้าทาย ความสามารถ เพ่อื เปดิ โอกาส

ให้บคุ คลพัฒนาศักยภาพของตนเอง และสรา้ งลักษณะนิสยั ไมเ่ หน็ แก่ตัว และพร้อมทจ่ี ะเสยี สละประโยชน์
ส่วนตัว เพื่อใหม้ อี าชีพและให้ “บรกิ าร” แกบ่ คุ คลและสังคม สามารถดาเนนิ ชวี ติ ของตนเอง เป็นผมู้ ีความ
รบั ผดิ ชอบตามหน้าที่ของตน และดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมคี วามสุข

นอกจากนี้ กิจกรรมลูกเสือ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาบุคคล ท้ังทางกาย สติปัญญา ศีลธรรม จิตใจ
เพ่ือให้เป็นพลเมืองดี รู้จักหน้าที่รับผิดชอบ และบาเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในทัศนะ
ของการลูกเสือ คาว่า “พลเมืองดี” คือ บุคคลท่ีมีเกียรติ เชื่อถือได้ มีระเบียบวินัย สามารถบังคับใจตนเอง
สามารถพ่ึงตนเอง และสามารถที่จะช่วยเหลือชุมชน และบาเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น ท้ังนี้ ต้องคานึงถึงสภาวะ
แวดล้อม สถานภาพของตนเอง และ ขีดความสามารถของตนเอง เพ่ือป้องกันหรือไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน
แก่ตนเอง และครอบครัว

การพฒั นาตนเองให้เป็นพลเมอื งดีในทศั นะของการลูกเสอื มดี งั นี้

38

1. มีความจงรักภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. มเี กยี รตเิ ช่อื ถือได้
3. มีระเบียบวินัย สามารถบงั คับใจตนเองได้
4. สามารถพงึ่ ตนเองได้
5. เตม็ ใจและสามารถชว่ ยเหลือชุมชน และบาเพ็ญประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืนได้ทุกเม่ือ

ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง ลูกเสือกับการพัฒนา
คาชีแ้ จง ให้ผู้เรียนอธิบายสาระสาคัญของคาถามตอ่ ไปน้มี าพอสงั เขป

…………………………………………… 1.หลกั การสาคัญของการลกู เสอื
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………

……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………

39

2. ลูกเสือกับการพัฒนาชุมชน

ชอ่ื - สกลุ ............................................................................ กศน.ตาบล...................................

ใบงานที่ 2 เร่อื ง ความเปน็ พลเมืองดีของลกู เสือ

คาชี้แจง ให้ผูเ้ รยี นยกตัวอย่างความเปน็ พลเมืองดใี นทัศนะของการลกู เสอื ในประเด็นต่อไปนี้

ท่ี ประเดน็ ยกตวั อยา่ งความเปน็ พลเมืองดี

1 มีความจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา ....................................................................................

พระมหากษัตริย์ ....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

2 มเี กยี รตเิ ชอ่ื ถอื ได้ ....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

3 มรี ะเบยี บวนิ ยั สามารถบังคบั ใจตนเองได้ ....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................

....................................................................................


Click to View FlipBook Version